The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ฺBT Teacher, 2022-09-14 12:21:13

199

ชือ่ รายวชิ า ภาษาอังกฤษ3 รหัสวิชา อ32101
คาอธิบายรายวิชา

ศึกษาภาษาในการสอ่ื สาร โดยใช๎เทคโนโลยีการสรา๎ งความสัมพันธร์ ะหวาํ งบุคคล ในการเรยี น
การปฏบิ ัติงาน การสมัครงาน ขอและให๎ขอ๎ มูล ความชํวยเหลือและบริการแกผํ ู๎อื่น คา วลี สานวน
งาํ ย ๆ ประโยค คาสั่ง คาขอรอ๎ ง คาแนะนา คาอธบิ าย ขอ๎ ความ บทอาํ น เร่ืองราวสั้น ๆ ทัง้ ท่เี ป็น
ความเรียงและไมํใชคํ วามเรียง สื่อ ส่ิงพมิ พ์ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ขาํ วสาร เหตกุ ารณส์ าคัญตาํ ง ๆ ใน
ชวี ติ ประจาวนั ท๎องถิ่นและสงั คม ประสบการณส์ ํวนตวั การศึกษา การทางาน งานประเพณี วนั สาคัญ
วัฒนธรรมไทยและวฒั นธรรมของเจา๎ ของภาษา

โดยใช๎กระบวนการฟัง การพูด การอําน การเขียนอธิบาย ถาํ ยโอนขอ๎ มูล ถอ๎ ยคาของตนเอง
ในรูปแบบตําง ๆ อํานออกเสียง สรุป ตคี วาม แสดงความคิดเห็น ความต๎องการ ความร๎ูสึก และ
แสดงบทบาทสมมุติอยาํ งงาํ ย ๆ

เพ่อื ใหผ๎ ๎ูเรียนมคี วามเช่ือม่นั ในตนเอง รอบคอบ มีคณุ ธรรม จริยธรรม มีเจตคติท่ดี ตี ํอ
ภาษาองั กฤษ เห็นประโยชน์และคณุ คาํ ของภาษาอังกฤษ
ตัวช้วี ดั
ต 1.1ม.2/1-4
ต 1.2ม.2/1-5
ต 1.3ม.2/1-3
ต2.1ม.2/1-3
ต2.2ม.2/1-2
ต3.1ม.2/1
ต4.1ม.2/1
ต4.2ม.2/1-2
รวมทั้งหมด 21 ตัวชี้วัด

200

ช่อื รายวชิ า ภาษาอังกฤษ4 รหสั วิชา อ32102
คาอธิบายรายวิชา

ศกึ ษาภาษาในการส่อื สาร การเรยี น การปฏิบตั งิ าน การสมัครงาน ขอและใหข๎ ๎อมลู ความ
ชํวยเหลือและบรกิ ารแกผํ ๎ูอืน่ คา วลี สานวนงาํ ย ๆ ประโยค คาสงั่ คาขอร๎อง คาแนะนา
คาอธิบาย ข๎อความ บทอาํ น เรื่องราวสนั้ ๆ ทัง้ ทีเ่ ป็นความเรียงและไมใํ ชํความเรยี ง ส่ือ สิ่งพมิ พ์ ส่อื
อิเล็กทรอนกิ ส์ ขําวสาร เหตุการณส์ าคัญตําง ๆ ในชีวติ ประจาวนั ทอ๎ งถิ่นและสังคม ประสบการณ์
สวํ นตัว การศกึ ษา การทางาน งานประเพณี วันสาคัญ วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของเจา๎ ของภาษา

โดยใชก๎ ระบวนการฟงั การพูด การอาํ น การเขียนอธิบาย ถาํ ยโอนข๎อมลู ถอ๎ ยคาของตนเอง
ในรูปแบบตําง ๆ อํานออกเสียง สรปุ ตีความ แสดงความคิดเห็น ความต๎องการ ความร๎สู ึก และ
แสดงบทบาทสมมุติอยํางงําย ๆ

เพอ่ื ใหผ๎ ๎เู รียนมีความเช่ือมนั่ ในตนเอง รอบคอบ มีคณุ ธรรม จริยธรรม มีเจตคติท่ีดีตํอ
ภาษาอังกฤษ เหน็ ประโยชน์และคุณคําของภาษาองั กฤษ
ตัวชีว้ ัด
ต1.1ม.2/1-4
ต1.2ม.2/1-5
ต1.3ม.2/1-3
ต2.1ม.2/1-3
ต2.2ม.2/1-2
ต3.1ม.2/1
ต4.1ม.2/1
ต4.2ม.2/1-2
รวมทง้ั หมด 21 ตัวชี้วัด

201

ชอ่ื รายวชิ า ภาษาอังกฤษ5 รหัสวิชา อ33101
คาอธิบายรายวชิ า

ศกึ ษาคาขอร๎อง คาแนะนา คาชแี้ จงและคาอธบิ ายข๎อความ ขําว โฆษณา บทร๎อยกรองสั้นๆ
การแสดงความรส๎ู ึก การแสดงความต๎องการ เสนอการให๎ความชํวยเหลอื ความคดิ เหน็ เก่ยี วกับตนเอง
ประสบการณ์ ขาํ ว เหตกุ ารณ์ เรอ่ื ง ประเด็นตาํ ง ๆ สถานการณท์ ่ีอยํใู นความสนใจของสงั คมสอื่ ที่ไมํใชํ
ความเรียงรปู แบบตาํ ง ๆ ขอ๎ ความประโยคและส่อื ประเภทตําง ๆ ประโยคชนดิ ตาํ งๆการลาดับคาตาม
โครงสรา๎ งประโยคของภาษาตํางประเทศและภาษาไทย วฒั นธรรมของเจา๎ ของภาษากบั ของไทย
สถานการณจ์ รงิ สถานการณ์จาลองทเ่ี กิดข้ึนในห๎องเรยี น สถานศึกษา ชุมชนและสังคมความรู๎ ขอ๎ มูล
ตาํ ง ๆ ขอ๎ เท็จจริงทีเ่ ก่ยี วข๎องกับกลํมุ สาระการเรยี นรู๎อน่ื จากสอ่ื และแหลงํ เรียนร๎ูตาํ ง ๆ ใน
การศกึ ษาตํอและประกอบอาชีพ ขอ๎ มูล ขําวสารของโรงเรยี น ชุมชนและท๎องถ่นิ เปน็
ภาษาตํางประเทศ

โดยใช๎และปฏิบัติตามที่ฟงั และอาํ นได๎อยาํ งเหมาะสม อํานออกเสียงได๎ถกู ต๎องตามหลกั
การอาํ น พูดและเขียนโตต๎ อบ บรรยาย เลอื ก ระบุ สรุปใจความสาคัญ วิเคราะห์ ระบุ และเขียน
ให๎สัมพันธ์กนั การแสดงความคดิ เห็น ใหเ๎ หตุผล เลอื กใช๎ภาษา น้าเสยี งและกริ ิยาทาํ ทางเหมาะสมกบั
บคุ คลและโอกาสตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจา๎ ของภาษา เปรยี บเทียบ ใช๎ภาษาส่ือสาร ใช๎
ภาษาในการสบื คน๎ ค๎นควา๎ รวบรวม สรปุ และนาเสนอด๎วยการพูด การเขยี น เผยแพรํ ประชาสมั พนั ธ์

เพือ่ ใหผ๎ ๎ูเรียนมีความเช่ือม่ันในตนเอง รอบคอบ มีคุณธรรม จริยธรรม มเี จตคตทิ ด่ี ีตํอ
ภาษาองั กฤษ เห็นประโยชน์และคณุ คาํ ของภาษาอังกฤษ
ตวั ช้วี ดั
ต1.1ม.3/1-4
ต1.2ม.3/1-5
ต1.3ม.3/1-2
ต2.1ม.3/1
ต2.2ม.3/1-2
ต3.1ม.3/1
ต4.1ม.3/1
ต4.2ม.3/1-2
รวมท้งั หมด 18 ตวั ชี้วัด

202

ชอ่ื รายวชิ า ภาษาอังกฤษ6 รหสั วิชา อ33102
คาอธิบายรายวชิ า

ศกึ ษาคาขอร๎อง คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบาย ข๎อความ ขําว โฆษณา บทร๎อยกรองสนั้ ๆ
กจิ กรรม ประสบการณ์ ขาํ วเหตกุ ารณ์ เรื่องประเด็นตําง ๆ การออกเสยี งประโยคชนดิ ตาํ ง ๆ
การลาดบั คาตามโครงสร๎างประโยคของภาษาตาํ งประเทศและภาษาไทย ชวี ติ ความ เป็นอยูํ
ขนบธรรมเนียมและประเพณีของเจ๎าของภาษา ความเหมือนและความแตกตาํ งระหวาํ งชีวิตความ
เป็นอยแูํ ละวฒั นธรรมของเจา๎ ของภาษากับของไทย สถานการณ์ จริง สถานการณจ์ าลองที่เกดิ ข้นึ ใน
หอ๎ งเรยี น สถานศึกษา ชมุ ชนและสงั คม ความรู๎ ขอ๎ มูลตําง ๆ ขอ๎ เทจ็ จรงิ ท่ีเก่ยี วข๎องกับกลมุํ สาระ
การเรยี นรู๎อ่ืนจากสื่อและแหลํงเรียนรต๎ู ําง ๆ

โดยใช๎และปฏบิ ตั ิตามที่ฟงั และอาํ นได๎อยํางเหมาะสม อํานออกเสยี งได๎ถูกต๎องตามหลักการ
อาํ น พดู เขยี นโตต๎ อบ บรรยายความร๎สู ึก ความต๎องการ ความคดิ เห็น ใหเ๎ หตผุ ล เลอื ก ระบุ
เลือกใช๎ภาษา นา้ เสียงและกิริยาทําทางเหมาะสมกับบุคคลและโอกาสตามมารยาทสงั คมและวัฒนธรรม
ของเจา๎ ของภาษา เปรยี บเทียบ อธิบาย เขา๎ รวํ มและจดั กิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรม ตามความ
สนใจ เปรยี บเทยี บ ใชภ๎ าษาในการสบื คน๎ ค๎นคว๎า รวบรวม สรปุ และนาเสนอด๎วยการพูด การเขียน
นาไปใชไ๎ ด๎อยํางเหมาะสมในการส่อื สาร

เพ่ือให๎ผู๎เรยี นมคี วามเช่ือมน่ั ในตนเอง รอบคอบ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มเี จตคติทด่ี ตี ํอ
ภาษาองั กฤษ เหน็ ประโยชน์และคุณคาํ ของภาษาอังกฤษ
ตวั ชีว้ ดั
ต1.1 ม.3/1-4
ต1.2 ม.3/5
ต1.3ม.3/1,3
ต2.1ม.1/1-3
ต2.2ม.1/1-2
ต3.1ม.1/1
ต4.1ม.1/1
รวมทัง้ หมด 14 ตัวชวี้ ดั

203

ช่ือรายวชิ าภาษาอังกฤษฟัง-พดู 1 รหสั วิชา อ21201
คาอธิบายรายวชิ า

พฒั นาทักษะการฟงั -พูด โดยฝกึ ปฏิบัติตามข้ันตอนและทกั ษะยํอยของกระบวนการฟงั
กระบวนการพดู โดยใชภ๎ าษาส่ือสารในรปู แบบการสนทนา ในสถานการณท์ ห่ี ลากหลาย โดยใชค๎ าศัพท์
สานวน โครงสรา๎ งภาษา ไดถ๎ ูกตอ๎ งตามวตั ถปุ ระสงค์ของการสื่อสาร และสนทนากับชาวตํางชาติได๎อยาํ ง
เหมาะสม ตามกาลเทศะและมารยาทสังคม

เขา๎ รํวมกจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ เห็นคุณคําของภาษาอังกฤษ มีทกั ษะ
ในการสื่อสาร มวี นิ ยั ใฝเุ รยี นร๎ู มํุงมน่ั ในการทางาน และมจี ิตสาธารณะ มคี วามรกั และภาคภูมใิ จใน
ท๎องถิน่ ของตน
ผลการเรยี นรู้
1. ปฏิบตั ิตามขน้ั ตอนของกระบวนการฟัง
2. ปฏิบตั ิตามขน้ั ตอนของกระบวนการพดู ตามสถานการณต์ ํางๆ ในชีวติ ประจาวนั โดยสามารถพูด
นาเสนอในหัวข๎อตาํ งๆ ได๎
3. ใชภ๎ าษาในการสนทนา แลกเปลยี่ นขอ๎ มลู และสรา๎ งความสมั พนั ธ์ ระหวาํ งบคุ คลโดยใช๎ศัพท์ สานวน
โครงสรา๎ งภาษาใหเ๎ หมาะสมกับสถานการณ์ มารยาทสงั คมและวัฒนธรรมของเจ๎าของภาษา
4. ใช๎ภาษาองั กฤษในสถานการณ์จริง/จาลอง ในห๎องเรยี นและในสถานศึกษา
5. มคี วามเชอื่ มน่ั ในการใชภ๎ าษาองั กฤษกับชาวตํางชาติ
รวมทั้งหมดท้ังหมด 5 ผลการเรียนรู้

204

ชือ่ รายวิชา ภาษาอังกฤษฟัง-พูด 2 รหสั วิชา อ22202
คาอธบิ ายรายวิชา

พัฒนาทักษะการฟงั -พดู โดยฝกึ ปฏบิ ตั ิตามข้นั ตอนและทักษะยํอยของกระบวนการฟงั
กระบวนการพูด โดยใชภ๎ าษาสอ่ื สารในรปู แบบการสนทนา ในสถานการณท์ ห่ี ลากหลาย โดยใชค๎ าศัพท์
สานวน โครงสร๎างภาษา ได๎ถูกตอ๎ งตามวตั ถปุ ระสงค์ของการสอ่ื สาร และสนทนากับชาวตาํ งชาตไิ ด๎อยําง
เหมาะสม ตามกาลเทศะและมารยาทสังคม

เขา๎ รํวมกจิ กรรมทางภาษาและวฒั นธรรมตามความสนใจ เห็นคณุ คาํ ของภาษาอังกฤษ มีทกั ษะ
ในการสือ่ สาร มีวินยั ใฝุเรียนร๎ู มุํงมน่ั ในการทางาน และมีจิตสาธารณะ มีความรกั และภาคภูมใิ จใน
ท๎องถ่ินของตน
ผลการเรยี นรู้
1. ปฏิบตั ติ ามขน้ั ตอนของกระบวนการฟงั
2. ปฏิบตั ติ ามขน้ั ตอนของกระบวนการพูดตามสถานการณต์ ํางๆ ในชีวิตประจาวนั โดยสามารถพูด
นาเสนอในหัวข๎อตํางๆ ได๎
3. ใช๎ภาษาในการสนทนา แลกเปล่ียนข๎อมลู และสร๎างความสัมพันธ์ ระหวํางบุคคลโดยใชศ๎ ัพท์ สานวน
โครงสร๎างภาษาใหเ๎ หมาะสมกับสถานการณ์ มารยาทสังคมและวฒั นธรรมของเจ๎าของภาษา
4. ใชภ๎ าษาองั กฤษในสถานการณจ์ ริง/จาลอง ในห๎องเรยี นและในสถานศึกษา
5. มคี วามเชอ่ื มั่นในการใชภ๎ าษาอังกฤษกับชาวตาํ งชาติ
รวมท้ังหมด 5 ผลการเรยี นรู้

205

ช่อื รายวิชา ภาษาอังกฤษในชวี ติ ประจาวนั 1 รหสั วชิ า อ23201
คาอธบิ ายรายวชิ า

ฝึกทักษะ ฟัง พดู อําน เขียน โดยเนน๎ ใหผ๎ ู๎เรยี นมพี น้ื ฐานในการใช๎ภาษาเพื่อการส่อื สารใน
สถานการณ์ตํางๆ เกีย่ วกับชวี ติ ประจาวันและส่งิ แวดล๎อมที่อยูใํ กลต๎ นเองท้ังในสถานการณจ์ รงิ และ
สถานการณ์จาลอง โดยการใช๎ภาษา นา้ เสยี ง และกริยาทาํ ทางเหมาะสมตามมารยาททางสังคมและ
วฒั นธรรมของเจ๎าของภาษา

เข๎ารํวมกจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรม เหน็ คุณคาํ ของภาษาองั กฤษ และนาภาษาไปใชไ๎ ด๎
อยํางเหมาะสม เปน็ ผร๎ู ๎ูใฝเุ รยี น มีวนิ ยั ในตนเอง มงํุ มนั่ ในการทางานและมจี ิตสาธารณะ มีความรกั และ
ภาคภูมิใจในท๎องถน่ิ ของตน
ผลการเรียนรู้
1. ฟัง พูด บทสนทนา แสดงบทบาทสมมติเก่ียวกับการใช๎ภาษาเพ่ือการส่ือสารในสถานการณต์ ํางๆ ที่
เกย่ี วกับชวี ติ ประจาวนั และส่งิ แวดล๎อมซง่ึ อยูใํ กล๎ตนได๎
2. อาํ นขอ๎ ความ บทอําน บทสนทนาแล๎วสรุปใจความสาคญั และ/หรือตอบคาถามได๎
3. ตอบคาถามหรอื มีเหตผุ ลในการพูดโต๎ตอบจากเร่ืองที่ ฟงั พูด อําน เขียนโดยอสิ ระได๎
4. เขียนคา ประโยค บทสนทนา ขอ๎ ความตามเรื่องหรือหวั ข๎อท่ีกาหนดให๎ได๎
5. มีความมน่ั ใจในการใชภ๎ าษาองั กฤษได๎ถกู ต๎องตามกาลเทศะและบุคคล
6. ใช๎ภาษาอังกฤษเป็นเครื่องมือในการเรียนรู๎สาระอ่ืนอยํางมีประสิทธภิ าพ
รวมท้ังหมด 6 ผลการเรยี นรู้

206

ชือ่ รายวชิ า ภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวนั 2 รหสั วชิ า อ23202
คาอธบิ ายรายวชิ า

ฝกึ ทกั ษะ ฟัง พูด อําน เขียน โดยเนน๎ ให๎ผเู๎ รียนมพี ้ืนฐานในการใช๎ภาษาเพื่อการสอ่ื สารใน
สถานการณต์ ํางๆ เกยี่ วกับชีวติ ประจาวันและส่ิงแวดล๎อมที่อยํใู กล๎ตนเองทั้งในสถานการณ์จรงิ และ
สถานการณ์จาลอง โดยการใช๎ภาษา นา้ เสยี ง และกริยาทําทางเหมาะสมตามมารยาททางสงั คมและ
วฒั นธรรมของเจา๎ ของภาษา

เขา๎ รวํ มกจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรม เหน็ คุณคาํ ของภาษาองั กฤษ และนาภาษาไปใช๎ได๎
อยํางเหมาะสม เปน็ ผรู๎ ใ๎ู ฝุเรียน มีวนิ ยั ในตนเอง มุํงมั่นในการทางานและมีจิตสาธารณะ มีความรักและ
ภาคภมู ิใจในท๎องถ่ินของตน
ผลการเรียนรู้
1. ฟัง พูด บทสนทนา แสดงบทบาทสมมติเก่ียวกับการใชภ๎ าษาเพื่อการสอื่ สารในสถานการณ์ตํางๆ ที่
เก่ยี วกับชีวิตประจาวนั และส่ิงแวดล๎อมซึง่ อยใํู กล๎ตนได๎
2. อํานข๎อความ บทอําน บทสนทนาแล๎วสรุปใจความสาคัญและ/หรือตอบคาถามได๎
3. ตอบคาถามหรอื มีเหตผุ ลในการพูดโต๎ตอบจากเร่ืองที่ ฟัง พดู อําน เขยี นโดยอสิ ระได๎
4. เขยี นคา ประโยค บทสนทนา ขอ๎ ความตามเรื่องหรือหวั ข๎อทีก่ าหนดใหไ๎ ด๎
5. มคี วามมนั่ ใจในการใช๎ภาษาอังกฤษไดถ๎ ูกตอ๎ งตามกาลเทศะและบุคคล
6. ใชภ๎ าษาองั กฤษเปน็ เครื่องมือในการเรยี นร๎สู าระอื่นอยํางมปี ระสทิ ธภิ าพ
รวมทั้งหมด 6 ผลการเรียนรู้

207

ช่อื รายวชิ า ภาษาอังกฤษพื้นฐาน1 รหสั วชิ า อ31101
คาอธบิ ายรายวิชา

ปฏิบตั ิตามคาแนะนา คาชแี้ จง คาอธิบาย คาบรรยาย ในคํูมอื การใชง๎ านตําง ๆ ที่ฟงั และอําน
ได๎ อาํ นออกเสียงสารในรปู แบบตําง ๆได๎ถูกต๎อง อธบิ าย เขยี นประโยคและข๎อความ ตีความ และถาํ ย
โอนข๎อมูลใหส๎ ัมพันธ์กับส่ือท่ีไมใํ ชคํ วามเรียงในรูปแบบตําง ๆ จบั ใจความสาคัญ วเิ คราะหค์ วาม สรุป
ความ ตีความ และแสดงความคิดเหน็ จากการฟังและอํานเรอ่ื งทเี่ ปน็ สารคดีและบนั เทงิ คดี พร๎อมท้งั ให๎
เหตผุ ลและตัวอยาํ งประกอบ สนทนาและเขยี นโตต๎ อบข๎อมูลเกีย่ วกับตนเอง บุคคลใกลต๎ ัว สถานการณ์
ตาํ ง ๆ ในชีวิตประจาวนั เหตกุ ารณ์ ประเดน็ ทอ่ี ยูํในความสนใจของสังคม พดู และเขยี นเพ่อื แสดงความ
ตอ๎ งการ เสนอ ตอบรับและปฏิเสธการให๎ความชํวยเหลือ บรรยาย อธบิ าย เปรยี บเทยี บ และแสดง
ความคิดเห็น ความรสู๎ ึกของตนเกี่ยวกบั สถานการณ์จาลอง สถานการณ์จรงิ ประเดน็ ขาํ ว เหตกุ ารณ์
กิจกรรม ประสบการณ์ อยํางเหมาะสม

เลอื กใชภ๎ าษา น้าเสียง แสดงกริ ยิ าทําทางเหมาะกบั ระดบั ของบุคคล โอกาส และสถานที่ ตาม
มารยาทสังคมและวฒั นธรรมของเจ๎าของภาษา อธบิ าย อภิปรายวิถชี ีวติ ความคิด ความเชอ่ื และทีม่ า
ของขนบธรรมเนียม และประเพณีของเจ๎าของภาษา และนาวฒั นธรรมของเจ๎าของภาษาไปใชอ๎ ยาํ งมี
เหตุผล เขา๎ รํวม แนะนา และจัดกจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรม ไดอ๎ ยาํ งเหมาะสม อธิบาย
เปรียบเทียบ ความแตกตาํ งระหวํางโครงสร๎างประโยค ข๎อความ สานวน คาพังเพย สภุ าษิต และบท
กลอนของภาษาตาํ งประเทศและภาษาไทย

คน๎ คว๎า สืบค๎น บนั ทกึ สรุป และแสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกบั ขอ๎ มลู ท่ีเกี่ยวข๎องกับกลํมุ สาระการ
เรียนร๎ูอ่นื จากแหลํงการเรียนรต๎ู ําง ๆ และนาเสนอดว๎ ยการพดู และการเขียน ในสถานการณจ์ รงิ และ
สถานการณจ์ าลองในห๎องเรยี น สถานศกึ ษา ชมุ ชนและสังคม ใชภ๎ าษาตํางประเทศ เพ่ือการศึกษาตํอ
ประกอบอาชีพ เผยแพรํ ประชาสัมพันธ์ ขอ๎ มลู ขําวสาร ของโรงเรียน ชมุ ชน และท๎องถิ่น /
ประเทศชาติได๎
ตัวชี้วัด
ต1.1 ม4-6/1-4
ต1.2 ม4-6/1-5
ต1.3 ม4-6/1-3
ต2.1 ม4-6/1-3
ต2.2 ม4-6/1-2
ต4.1 ม4-6/1
ต4.2 ม4-6/1-2
รวมทงั้ หมด 20 ตัวช้วี ัด

208

ชื่อรายวิชา ภาษาอังกฤษพื้นฐาน2 รหัสวชิ า อ31102
คาอธิบายรายวิชา

ปฏบิ ตั ิตามคาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบาย คาบรรยาย ในคํูมือการใชง๎ านตําง ๆ ท่ีฟังและอําน
ได๎ อํานออกเสยี งสารในรปู แบบตาํ ง ๆได๎ถกู ต๎อง อธิบาย เขยี นประโยคและข๎อความ ตีความ และถาํ ย
โอนขอ๎ มูลให๎สมั พันธก์ ับสือ่ ที่ไมใํ ชคํ วามเรียงในรูปแบบตาํ ง ๆ จบั ใจความสาคัญ วิเคราะหค์ วาม สรุป
ความ ตีความ และแสดงความคิดเหน็ จากการฟังและอํานเร่อื งที่เป็นสารคดีและบันเทงิ คดี พร๎อมท้งั ให๎
เหตผุ ลและตวั อยาํ งประกอบ สนทนาและเขยี นโต๎ตอบข๎อมูลเกี่ยวกบั ตนเอง บุคคลใกล๎ตัว สถานการณ์
ตําง ๆ ในชีวิตประจาวนั เหตุการณ์ ประเดน็ ทอี่ ยูํในความสนใจของสงั คม พูดและเขียนเพอ่ื แสดงความ
ต๎องการ เสนอ ตอบรบั และปฏิเสธการใหค๎ วามชวํ ยเหลอื บรรยาย อธบิ าย เปรยี บเทียบ และแสดง
ความคดิ เห็น ความรูส๎ ึกของตนเกยี่ วกบั สถานการณ์จาลอง สถานการณ์จรงิ ประเดน็ ขําว เหตุการณ์
กิจกรรม ประสบการณ์ อยาํ งเหมาะสม

เลือกใช๎ภาษา นา้ เสยี ง แสดงกิรยิ าทาํ ทางเหมาะกับระดับของบุคคล โอกาส และสถานท่ี ตาม
มารยาทสงั คมและวฒั นธรรมของเจ๎าของภาษา อธิบาย อภปิ รายวถิ ีชวี ติ ความคดิ ความเช่อื และท่มี า
ของขนบธรรมเนยี ม และประเพณขี องเจา๎ ของภาษา และนาวัฒนธรรมของเจา๎ ของภาษาไปใช๎อยาํ งมี
เหตุผล เข๎ารํวม แนะนา และจัดกิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรม ได๎อยาํ งเหมาะสม อธิบาย
เปรยี บเทียบ ความแตกตาํ งระหวาํ งโครงสร๎างประโยค ข๎อความ สานวน คาพังเพย สุภาษติ และบท
กลอนของภาษาตํางประเทศและภาษาไทย

คน๎ ควา๎ สบื ค๎น บันทึก สรุป และแสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกับข๎อมูลท่ีเก่ียวข๎องกบั กลมํุ สาระการ
เรยี นรูอ๎ ่นื จากแหลํงการเรียนรู๎ตาํ ง ๆ และนาเสนอดว๎ ยการพดู และการเขียน ในสถานการณ์จรงิ และ
สถานการณ์จาลองในห๎องเรียน สถานศกึ ษา ชุมชนและสังคม ใช๎ภาษาตาํ งประเทศ เพื่อการศกึ ษาตํอ
ประกอบอาชีพ เผยแพรํ ประชาสัมพนั ธ์ ข๎อมูล ขําวสาร ของโรงเรียน ชุมชน และทอ๎ งถิ่น /
ประเทศชาติได๎
ตวั ชว้ี ัด
ต1.1 ม4-6/1-4
ต1.2 ม4-6/1-5
ต1.3 ม4-6/1-3
ต2.1 ม4-6/1-3
ต2.2 ม4-6/1-2
ต3.1 ม4-6/1
ต4.1 ม4-6/1
ต4.2 ม4-6/1-2
รวมท้ังหมด 21 ตัวช้วี ัด

209

ช่ือรายวชิ า ภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน3 รหสั วชิ า อ32101
คาอธิบายรายวิชา

ปฏบิ ตั ติ ามคา ส่ัง คาช้แี จง คาแนะนา คาอธบิ าย จากคาส่ัง คมํู อื การใชง๎ านตํางๆ จากการฟงั
และการ อําน ออกเสยี งข๎อความ ขําว ประกาศ โฆษณา บทร๎อยกรอง และบทละครสั้นไดถ๎ ูกต๎องตาม
หลักการอําน จับใจความสาคญั วิเคราะห์สรปุ ตีความ และแสดงความคิดเหน็
เขยี น ระบุ ประโยค ขอ๎ ความ รวมทัง้ สื่อรูปแบบตํางๆ ท่ไี มํใชํความเรยี งใหส๎ ัมพนั ธ์กบั ประโยคหรือ
ขอ๎ ความทีฟ่ ังหรืออาํ น จบั ใจความสาคญั วิเคราะห์ สรปุ ตีความ และแสดงความคิดเห็น
จากการฟังและการอาํ นสารคดี บนั เทิงคดี พร๎อมให๎เหตุผลและยกตวั อยาํ งประกอบได๎ สนทนาโตต๎ อบ
ขอ๎ มลู เกย่ี วกบั ตนเอง ขาํ ว ประสบการณ์ สถานการณ์ เหตุการณแ์ ละประเด็นท่ีอยํูในความสนใจของ
สังคมได๎อยํางตํอเนื่องและเหมาะสม เลือกใช๎ภาษาเก่ยี วกับคาชี้แจง คาอธบิ าย คาแนะนา คาขอร๎อง
การตอบรบั – ปฏเิ สธ จากสถานการณ์จาลองและสถานการณ์จรงิ ได๎อยํางเหมาะสมกับระดับบุคคล
โอกาส สถานท่ี และตามมารยาททางสงั คมและวัฒนธรรมของเจา๎ ของภาษา พดู และเขียนประโยค
ขอ๎ ความเพื่อขอและใหข๎ ๎อมลู เชิงประจกั ษ์ บรรยาย อธิบาย เปรยี บเทียบ และนาเสนอข๎อมูลได๎อยําง
ถูกต๎องเหมาะสม อธบิ ายเปรียบเทยี บความเหมือนความแตกตํางระหวาํ งโครงสรา๎ งทางภาษาไทย และ
ภาษาตาํ งประเทศ รวมถงึ เข๎ารวํ มกิจกรรมทางภาษาไดอ๎ ยํางมีประสทิ ธภิ าพ คน๎ คว๎าสบื ค๎นและบนั ทึก
ข๎อมลู จากแหลงํ เรียนรู๎ตํางๆเพอื่ การศึกษาตํอประกอบอาชีพและเผยแพรํ ประชาสมั พนั ธ์ข๎อมูล
ขาํ วสารของโรงเรยี น ชมุ ชน ท๎องถ่ินและประเทศชาตไิ ด๎อยํางเหมาะสม
ตวั ช้ีวดั
ต1.1 ม4-6/1-4
ต1.2 ม4-6/1-5
ต1.3 ม4-6/1-3
ต2.1 ม4-6/1-3
ต2.2 ม4-6/1-2
ต3.1 ม4-6/1
ต4.1 ม4-6/1
ต4.2 ม4-6/1
รวมทัง้ หมด 20 ตวั ช้ีวัด

210

ชอื่ รายวชิ า ภาษาอังกฤษพื้นฐาน4 รหสั วชิ า อ32102
คาอธบิ ายรายวิชา

ปฏิบตั ติ ามคาสั่ง คาแนะนา คาชแี้ จงคา อธบิ าย จากคาส่ัง คมํู ือการใช๎งานตาํ งๆ จากการฟงั
และการอาํ น อํานออกเสยี งข๎อความ ขําว ประกาศ โฆษณา บทรอ๎ ยกรอง และบทละครสัน้ ไดถ๎ ูกต๎อง
ตามหลกั การอาํ น จบั ใจความสาคญั วิเคราะห์สรปุ ตีความ และแสดงความคิดเห็น
จากการฟงั และการอาํ นสารคดี บนั เทิงคดี พรอ๎ มให๎เหตผุ ลและยกตวั อยาํ งประกอบได๎ สนทนาโตต๎ อบ
ข๎อมูลเกย่ี วกบั ตนเอง ขาํ ว ประสบการณ์ สถานการณ์ เหตุการณ์และประเด็นท่ีอยูํในความสนใจของ
สงั คมได๎อยาํ งตํอเนื่องและเหมาะสม เลอื กใชภ๎ าษาเกยี่ วกับคาชแี้ จง คาอธิบาย คาแนะนา คาขอร๎อง
การตอบรับ – ปฏิเสธ จากสถานการณ์จาลองและสถานการณ์จริงได๎อยาํ งเหมาะสมกบั ระดบั บคุ คล
โอกาส สถานท่ี และตามมารยาททางสังคมและวฒั นธรรมของเจ๎าของภาษา พดู และเขียนประโยค
ขอ๎ ความ เพ่ือขอและใหข๎ ๎อมูลเชงิ ประจักษ์ บรรยาย อธิบาย เปรยี บเทียบ และนาเสนอข๎อมลู ได๎
อยาํ งถูกต๎องเหมาะสม อธบิ ายเปรียบเทยี บความเหมือน
ความแตกตํางระหวาํ งโครงสร๎างทางภาษาไทย และภาษาตํางประเทศ รวมถึงเข๎ารวํ มกิจกรรมทาง
ภาษาได๎อยาํ งมปี ระสิทธิภาพ ค๎นควา๎ สบื คน๎ และบนั ทกึ ขอ๎ มูลจากแหลํงเรยี นรต๎ู าํ งๆเพื่อการศึกษาตอํ
ประกอบอาชีพและเผยแพรํ ประชาสมั พนั ธ์ข๎อมูล ขาํ วสารของโรงเรียน ชมุ ชน ท๎องถ่ินและ
ประเทศชาติได๎อยํางเหมาะสม
ตวั ช้วี ดั
ต1.1 ม4-6/1-4
ต1.2 ม4-6/1-5
ต1.3 ม4-6/1-3
ต2.1 ม4-6/1-3
ต2.2 ม4-6/1-2
ต3.1 ม4-6/1
ต4.1 ม4-6/1
ต4.2 ม4-6/1-2
รวมท้ังหมด 21 ตัวช้วี ัด

211

ชอ่ื รายวิชา ภาษาอังกฤษพื้นฐาน5 รหสั วิชา อ33101
คาอธบิ ายรายวชิ า

เข๎าใจน้าเสียง ความรสู๎ ึกของผพ๎ู ูด คาขอร๎อง คาแนะนา ความแตกตํางดา๎ นภาษา วัฒนธรรม
ประเพณี อํานออกเสยี งได๎อยํางถกู ต๎องตามหลักภาษาและเหมาะสมกบั เนอื้ หาทอี่ ําน ตีความ วิเคราะห์
ข๎อความ ขอ๎ มลู ขาํ วสาร บทความ สารคดี บนั เทิงคดี ส่ือท่ีเป็นความเรียง และท่ีไมํใชํความเรยี งในแบบ
ตํางๆ จากสอ่ื ส่ิงพมิ พ์ หรอื ส่ืออเิ ลกทรอนิกส์ ในหวั ขอ๎ ขําวตํางๆเก่ยี วกับตนเอง ครอบครัว โรงเรยี น
ส่ิงแวดล๎อม อาหาร เคร่อื งดม่ื ความสมั พนั ธ์ระหวาํ งบุคคล เวลาวาํ งและสวสั ดิการ การศึกษา และ
อาชีพ การซอ้ื ขาย การเดนิ ทางทอํ งเทยี่ ว ภาษา วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ใช๎ภาษาตามมารยาททาง
สังคม สร๎างความสมั พนั ธ์ระหวํางบคุ คล แสดงความคิดเห็น เจรจาโนม๎ นา๎ วตอํ รองเกี่ยวกับ
ประสบการณ์ และสถานการณ์ตํางๆในทอ๎ งถ่ิน ดว๎ ยวธิ ีการท่ีหลากหลายอยาํ งสร๎างสรรค์และมี
ประสิทธภิ าพ นาเสนอบทกวีและบทละครสน้ั โดยใช๎เค๎าโครงตามแนวความคิดเจ๎าของภาษา ดว๎ ยความ
เพลดิ เพลนิ เข๎ารํวมกจิ กรรม เปรียบเทยี บ และนาความรู๎ด๎านภาษา วัฒนธรรม ประเพณี ความเชือ่ ไป
ใช๎อยาํ งมีวจิ ารณญาณ เหน็ ประโยชน์ของการร๎ภู าษาอังกฤษ ในการแสวงหาความร๎ู เพื่อขยายโลกทัศน์
จากแหลงํ ข๎อมลู ทีห่ ลากหลาย การเขา๎ สูสํ ังคมและอาชพี สามารถใช๎ภาษาสือ่ สารในรปู แบบตํางๆ ตาม
สถานการณ์ในสถานศึกษาและชุมชน
ตวั ชีว้ ดั
ต1.1 ม4-6/1-4
ต1.2 ม4-6/1-5
ต1.3 ม4-6/1-3
ต2.1 ม4-6/1-3
ต2.2 ม4-6/1-2
ต3.1 ม4-6/1
ต4.1 ม4-6/1
ต4.2 ม4-6/1-2
รวมท้งั หมด 21 ตวั ชี้วดั

212

ชอ่ื รายวิชา ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 6 รหัสวิชา อ33102
คาอธิบายรายวิชา

เข๎าใจน้าเสียง ความรสู๎ กึ ของผพ๎ู ดู คาขอรอ๎ ง คาแนะนา ความแตกตํางด๎านภาษา วฒั นธรรม
ประเพณี อํานออกเสยี งได๎อยํางถกู ต๎องตามหลักภาษาและเหมาะสมกบั เนื้อหาทอี่ ําน ตีความ วเิ คราะห์
ข๎อความ ขอ๎ มลู ขาํ วสาร บทความ สารคดี บันเทงิ คดี สอื่ ท่ีเป็นความเรียง และทีไ่ มใํ ชคํ วามเรยี งในแบบ
ตํางๆ จากสอ่ื ส่ิงพมิ พ์ หรือส่ืออเิ ลกทรอนิกส์ ในหวั ข๎อขําวตํางๆเก่ยี วกับตนเอง ครอบครัว โรงเรยี น
สิง่ แวดล๎อม อาหาร เคร่อื งดม่ื ความสมั พันธร์ ะหวาํ งบุคคล เวลาวาํ งและสวสั ดกิ าร การศึกษา และ
อาชีพ การซอ้ื ขาย การเดนิ ทางทอํ งเทยี่ ว ภาษา วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ใช๎ภาษาตามมารยาททาง
สังคม สร๎างความสมั พนั ธ์ระหวาํ งบคุ คล แสดงความคิดเห็น เจรจาโนม๎ น๎าวตํอรองเกยี่ วกับ
ประสบการณ์ และสถานการณต์ ํางๆในท๎องถนิ่ ดว๎ ยวิธีการท่ีหลากหลายอยํางสร๎างสรรค์และมี
ประสิทธภิ าพ นาเสนอบทกวีและบทละครส้นั โดยใชเ๎ ค๎าโครงตามแนวความคิดเจ๎าของภาษา ดว๎ ยความ
เพลดิ เพลนิ เข๎ารํวมกจิ กรรม เปรียบเทยี บ และนาความรด๎ู ๎านภาษา วฒั นธรรม ประเพณี ความเชอ่ื ไป
ใช๎อยาํ งมีวจิ ารณญาณ เหน็ ประโยชน์ของการร๎ภู าษาอังกฤษ ในการแสวงหาความรู๎ เพ่ือขยายโลกทัศน์
จากแหลงํ ข๎อมลู ทีห่ ลากหลาย การเขา๎ สูสํ งั คมและอาชีพ สามารถใช๎ภาษาสื่อสารในรูปแบบตาํ งๆ ตาม
สถานการณ์ในสถานศึกษาและชุมชน
ตวั ชีว้ ัด
ต1.1 ม4-6/1-4
ต1.2 ม4-6/1-5
ต1.3 ม4-6/1-3
ต2.1 ม4-6/1-3
ต2.2 ม4-6/1,3
ต3.1 ม4-6/1
ต4.1 ม4-6/1
ต4.2 ม4-6/1-2
รวมท้งั หมด 22 ตวั ชี้วดั

213

ชอ่ื รายวิชา ภาษาองั กฤษฟัง-พดู 1 รหสั วิชา อ31201
คาอธบิ ายรายวชิ า

พฒั นาทกั ษะการฟงั และการพูด โดยฝึกปฏบิ ตั ติ ามข้นั ตอนและทักษะยํอยของ กระบวนการพดู
ใช๎ภาษาส่ือสาร รบั และสํงสารในรูปแบบการสนทนาในสถานการณท์ ่ีหลากหลาย โดยใช๎คาศัพทส์ านวน
โครงสร๎าง ภาษาได๎ถูกต๎องตามวตั ถุประสงค์ของการสื่อสาร สรา๎ งสรรคแ์ ละดาเนินการสนทนาได๎อยําง
เหมาะสมตามกาลเทศะและมารยาททางสังคมเข๎ารวํ มกจิ กรรมทางภาษา เหน็ คุณคาํ และตระหนกั ใน
ความสาคญั ของการใช๎ภาษาส่ือสารอยาํ งสรา๎ งสรรค์ มที ักษะในการสื่อสาร ใฝุรู๎ใฝุเรยี น มีวินัย มุํงม่ันใน
การทางาน และมีจติ สาธารณะ มีความเปน็ ไทย รักและภมู ใิ จในท๎องถน่ิ ของตน
ผลการเรียนร๎ู
1. ปฏิบตั ิตามข้ันตอนของกระบวนการฟงั ไดอ๎ ยํางมีประสิทธภิ าพ มที กั ษะในการตีความ วเิ คราะห์

สงิ่ ท่ฟี ัง น้าเสียงกรยิ าทาํ ทางและสรุปความถาํ ยโอนเป็นภาษาพดู และเขยี นได๎
2. ปฏิบตั ติ ามขน้ั ตอนของกระบวนการพูดได๎อยํางถูกต๎อง โดยสามารถพูดนาเสนอในที่ชุมชน
ในหัวขอ๎ ตําง ๆได๎อยาํ งสร๎างสรรค์
3.สรา๎ งสรรคภ์ าษาในการสนทนาแสดงความต๎องการ ความคิดเห็น แลกเปล่ยี นข๎อมลู และสร๎าง
ความสมั พันธร์ ะหวํางบคุ คลโดยใชค๎ าศัพท์ สานวน โครงสร๎างภาษา นา้ เสียงและกรยิ า ทาํ ทางให๎
เหมาะสมกบั สถานการณ์และมารยาททางสังคม
4. ใช๎ภาษาอังกฤษในการส่ือสารได๎ทุกสถานการณ์
5. มคี วามเชื่อมั่นในการใช๎ภาษาองั กฤษในการรํวมกิจกรรมทางภาษา สถานการณจ์ าลองสถานการณ์
จรงิ ท้ังในห๎องเรียน นอกหอ๎ งเรยี น สถานศกึ ษา ชุมชนและสังคม
รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้

214

ชอ่ื รายวชิ าภาษาอังกฤษฟัง-พดู 2 รหัสวชิ าอ31202
คาอธิบายรายวิชา

พฒั นาทักษะการฟงั และการพูด โดยฝึกปฏิบตั ติ ามขั้นตอนและทกั ษะยํอยของ กระบวนการพดู
ใช๎ภาษาสื่อสาร รับและสงํ สารในรูปแบบการสนทนาในสถานการณท์ ่ีหลากหลาย โดยใชค๎ าศัพท์ สานวน
โครงสรา๎ ง ภาษาไดถ๎ ูกต๎องตามวัตถปุ ระสงค์ของการสื่อสาร ตคี วาม วเิ คราะห์ สิง่ ท่ีฟัง คาพูด น้าเสียง
กริยาทําทาง สรุปความถํายโอนเปน็ ภาษาพูดและภาษาเขียน สรา๎ งสรรค์ และดาเนินการสนทนาได๎
อยํางตํอเนื่อง เหมาะสมตามกาลเทศะและมารยาททางสงั คม พูดนาเสนอ ตามหัวข๎อทก่ี าหนด โดยเรียบ
เรยี งเนื้อหาอยาํ งเป็นระบบ นาเสนอความคดิ เหน็ ได๎อยํางสร๎างสรรค์ เป็นผ๎ฟู ังที่ดี เข๎ารวํ มกิจกรรม ทาง
ภาษา

เห็นคณุ คําและตระหนกั ในความสาคัญของการใชภ๎ าษาสือ่ สารอยาํ งสร๎างสรรค์ มีทักษะในการ
ส่ือสาร ใฝุรูใ๎ ฝเุ รยี น มีวนิ ัย มํงุ มนั่ ในการทางานและมีจติ สาธารณะ มคี วามเป็นไทย
รกั และภูมิใจในท๎องถ่ินของตน
ผลการเรยี นรู๎
1. ปฏิบัตติ ามขนั้ ตอนของกระบวนการฟังได๎อยํางมปี ระสิทธิภาพ มีทักษะในการตีความ เคราะห์ส่งิ ที่ฟัง
น้าเสียงกริยาทําทางและสรุปความถํายโอนเป็นภาษาพูดและเขียนได๎
2. ปฏิบัตติ ามข้ันตอนของกระบวนการพูดได๎อยํางถูกต๎อง โดยสามารถพดู นาเสนอในท่ชี ุมชนในหวั ข๎อ
ตาํ งๆได๎อยาํ งสร๎างสรรค์
3. สรา๎ งสรรค์ภาษาในการสนทนาแสดงความต๎องการ ความคิดเหน็ แลกเปลีย่ นข๎อมูลและสรา๎ ง
ความสมั พนั ธ์ระหวํางบคุ คลโดยใชค๎ าศัพท์ สานวน โครงสร๎างภาษา เสยี งและกริยาทําทางให๎เหมาะสม
กบั สถานการณ์และมารยาททางสงั คม
4. ใช๎ภาษาอังกฤษในการสือ่ สารไดท๎ กุ สถานการณ์
5. มีความเช่ือม่นั ในการใช๎ภาษาอังกฤษในการรํวมกิจกรรมทางภาษา สถานการณจ์ าลองสถานการณ์
จริงท้งั ในห๎องเรียน นอกหอ๎ งเรยี น สถานศึกษา ชมุ ชนและสงั คม
รวมทัง้ หมด 5 ผลการเรียนรู๎

215

ช่อื รายวิชา ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร1 รหสั วชิ า อ32202
คาอธบิ ายรายวิชา

สนทนาและโตต๎ อบข๎อมูลเก่ยี วกับตนเอง เร่ืองตํางๆใกลต๎ วั ประสบการณ์ สถานการณ์
ขาํ ว เหตุการณ์ เรอื่ งราวท่ีอยูํในความสนใจของสงั คม อํานและเขียนสรุปใจความสาคัญ แกนํ สาระที่ได๎
จากการอําน เร่อื ง กิจกรรม ขําว เหตกุ ารณแ์ ละสถานการณ์ตามความสนใจ เลอื กใช๎ภาษา นา้ เสยี ง และ
กริยาทาํ ทางเหมาะสม กับระดับของบุคคล โอกาส และสถานทตี่ ามมารยาทสงั คมและวัฒนธรรมของ
เจ๎าของภาษา
ผลการเรียนรู้
1. สนทนาและโต๎ตอบข๎อมลู เกีย่ วกบั ตนเอง เรอื่ งตํางๆใกล๎ตัว ประสบการณ์ สถานการณ์
ขาํ ว/เหตกุ ารณ์ เรื่องราวท่ีอยูํในความสนใจของสงั คม
2. พูดและเขยี นสรปุ ใจความสาคัญ แกนํ สาระท่ีได๎จากการอํานเร่ือง กจิ กรรม ขําว เหตกุ ารณ์และ
สถานการณต์ ามความสนใจ
3. เลอื กใชภ๎ าษา น้าเสียง และกรยิ าทําทางเหมาะสมกบั ระดับของบุคคล โอกาส และสถานท่ีตาม
มารยาท สังคมและวฒั นธรรมของเจ๎าของภาษา
รวมทั้งหมด 3 ผลการเรยี นรู้

216

ชอ่ื รายวชิ า ภาษาอังกฤษเพื่อการสอ่ื สาร2 รหสั วชิ า อ32202
คาอธิบายรายวชิ า

อธบิ ายวิถชี ีวติ ความคิด ความเชอ่ื และท่ีมาของขนบธรรมเนยี มและประเพณขี องเจา๎ ของภาษา
อธบิ าย /เปรียบเทยี บความ แตกตาํ งระหวาํ งโครงสร๎างประโยค ขอ๎ ความ สานวน คาพังเพย สุภาษติ ของ
ภาษาตาํ งประเทศและภาษาไทย ค๎นควา๎ /สบื ค๎น สรปุ และแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับข๎อมลู ท่ีเกย่ี วข๎อง
กับกลํมุ สาระการเรยี นร๎ูอื่นจากแหลงํ การ เรียนรูต๎ าํ งๆ ใชภ๎ าษาสอ่ื สารในสถานการณ์จรงิ /สถานการณ์
จาลองทเ่ี กิดขึน้ ในห๎องเรยี น สถานศึกษาและ ชุมชน และใช๎ภาษาในการสืบค๎น ค๎นคว๎า รวบรวม สรุป
ความรู๎/ขอ๎ มูลตํางๆ จากส่อื และแหลงํ เรยี นรต๎ู ํางๆ
ผลการเรยี นรู้
1. อธบิ าย/เปรียบเทียบความแตกตํางระหวํางโครงสรา๎ งประโยค ข๎อความ สานวน คาพังเพย สุภาษติ
ของ ภาษาตํางประเทศและภาษาไทย
2. คน๎ คว๎า/สืบค๎น สรปุ และแสดงความคดิ เหน็ เกีย่ วกบั ข๎อมูลท่ีเก่ียวข๎องกับกลํุมสาระการเรยี นร๎อู ่ืนจาก
แหลงํ การเรียนรตู๎ ํางๆ
3. ใช๎ภาษาส่อื สารในสถานการณจ์ รงิ /สถานการณจ์ าลองทีเ่ กิดข้นึ ในห๎องเรยี น สถานศึกษาและชุมชน
4. ใช๎ภาษาในการสืบค๎น ค๎นคว๎า รวบรวมและสรุปความรู๎ /ขอ๎ มลู ตาํ งๆ จากสื่อและ
แหลงํ เรยี นรต๎ู ํางๆ
รวมท้ังหมด 4 ผลการเรียนรู้

217

คาอธิบายรายวชิ า
กลุม่ กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น

218

โครงสร้างการจดั การเรียนรู้กลมุ่ กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น

โรงเรียนบา้ นตรวจ อาเภอศรณี รงค์ จังหวดั สรุ นิ ทร์

..................................................................................................................................................

ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1

ภาคเรยี นท่ี 1 ก21901 แนะแนว1 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์

ก21902 ลกู เสอื 1 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

ก21903 ชมุ นุมสงํ เสริมวิชาการ1 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

ภาคเรียนที่ 2 ก21904 แนะแนว2 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์

ก21905 ลกู เสอื 2 1 ช่ัวโมง/สัปดาห์

ก21906 ชมุ นมุ สงํ เสรมิ วชิ าการ2 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์

ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1

ภาคเรยี นที่ 1 ก22901 แนะแนว3 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

ก22902 ลูกเสอื 3 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

ก22903 ชมุ นมุ สงํ เสริมวชิ าการ3 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์

ภาคเรียนท่ี 2 ก22904 แนะแนว4 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์

ก22905 ลูกเสอื 4 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์

ก22906 ชุมนมุ สงํ เสรมิ วิชาการ4 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1

ภาคเรยี นที่ 1 ก23901 แนะแนว5 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

ก23902 ลูกเสอื 5 1 ช่วั โมง/สัปดาห์

ก23903 ชมุ นุมสํงเสริมวชิ าการ5 1 ชว่ั โมง/สัปดาห์

ภาคเรียนท่ี 2 ก23904 แนะแนว6 1 ช่ัวโมง/สปั ดาห์

ก23905 กจิ กรรมสบื สานภมู ปิ ัญญาท๎องถิน่ 6 1 ชวั่ โมง/สปั ดาห์

ก23906 ชมุ นุมสํงเสรมิ วชิ าการ6 1 ช่วั โมง/สปั ดาห์

219

ชอื่ วิชา แนะแนว1 รหัสวชิ า ก21901
คาอธิบายรายวชิ า

แนะแนว เพ่ือใหผ๎ เ๎ู รยี นสามารถเรียนได๎อยํางมปี ระสทิ ธิภาพ มเี จตคติทีด่ ีตํออาชพี ปรบั ตัวเข๎า
กับผูอ๎ ่ืนได๎ ตลอดจนมีทักษะท่ีดใี นการแกป๎ ัญหาและตัดสนิ ใจทเ่ี หมาะสมกับวยั

ศกึ ษาหลักสูตร จุดมํงุ หมาย โครงสรา๎ ง การวัดและการประเมนิ ผล เกณฑ์การจบหลักสตู ร
มธั ยมศกึ ษาตอนตน๎ การใชห๎ ๎องสมุด การจดั แบํงเวลา ความหมาย ความสาคัญของอาชพี และการ
สารวจอาชีพ การร๎จู กั และเขา๎ ใจตนเองในดา๎ นพฤติกรรมและความร๎ูสึก ตลอดจนกระบวนการแก๎ปัญหา
และตัดสินใจ

เพศศึกษา เป็นกระบวนการจดั การเรยี นรู๎เกีย่ วกบั เพศ (Sexuality) ที่ครอบคลุมพฒั นาการ
ทางรํางกาย จติ ใจ การทางานของสรรี ะและการดูแลสุขอนามยั ทศั นคติ คํานยิ ม สมั พนั ธภาพ
พฤติกรรมทางเพศ มิติทางสงั คมและวัฒนธรรม ท่ีมผี ลตํอวิถชี วี ิตทางเพศ เปน็ กระบวนการการพฒั นา
ท้ังดา๎ นความรู๎ ความคดิ ทศั นคติ อารมณ์ และทักษะท่จี าเปน็ สาหรบั บุคคลทีจ่ ะชวํ ยให๎สามารถเลอื ก
ดาเนนิ ชวี ิตทางเพศอยํางเปน็ สขุ และปลอดภยั สามารถพัฒนาและดารงความสมั พันธ์กับผอู๎ ืน่ ได๎อยาํ งมี
ความรับผิดชอบและสมดลุ

ดงั น้ัน การเร่มิ จดั กระบวนการเรียนรโู๎ ดยให๎ขอ๎ มูลท่ีเหมาะสมกับแตลํ ะชวํ งของวยั การ
พัฒนาทักษะในการคดิ วิเคราะห์ จึงทาใหน๎ ักเรียนมีทักษะการจัดการสถานการณ์ในชวี ิต และสงํ ผลใน
การปูองกนั และบรรเทาผลด๎านลบในตนเอง
ผลการเรียนรู้
1. รูจ๎ ัก เข๎าใจ และเหน็ คุณคําในตนเองและผอ๎ู นื่

1.1 การรับรูแ๎ ละเขา๎ ใจความต๎องการและความรู๎สึกของตนเอง
1.2 การแสวงหาแบบอยาํ งที่ดแี ละเหมาะสมกับตนเอง
1.3 การร๎ูและเข๎าใจ ความสนใจ ความถนัดด๎านการเรยี น อาชีพและบุคลกิ ภาพของตนเอง
1.4 การรักและนบั ถือตนเองและผอู๎ ่นื
1.5 การรบั ร๎ูและเข๎าใจสาเหตุของปัญหาของตนเองและมีแนวทางในการแกป๎ ญั หา
2. การปรับตัวและการดารงชีวติ
2.1 การเข๎าใจและยอมรบั ความแตกตํางระหวาํ งบุคคลและความคิดเหน็ ของผู๎อนื่ อยาํ งมเี หตุผล
2.2 ความสามารถในการส่ือสารความคิด ความร๎ูสึกใหผ๎ ูอ๎ ืน่ เข๎าใจได๎อยํางเหมาะสมกับกาลเทศะ
และบุคคล
2.3 ความสามารถในการจัดการกบั อารมณแ์ ละแสดงออกไดอ๎ ยํางเหมาะสมกบั วยั และ
สถานการณ์
2.4 การปฏิบัตติ นใหเ๎ ป็นประโยชน์ตอํ สวํ นรวม
2.5 ความสามารถในการทางานตามบทบาทในฐานะผนู๎ า ผ๎ตู ามท่ีดี และอยูํรวํ มกบั ผ๎ูอืน่ ได๎อยําง
มคี วามสุข
3. การตัดสนิ ใจและแก๎ปัญหา
3.1 ความสามารถในการตดั สินใจและแก๎ไขปญั หาของตนอง
3.2 การรํวมตัดสินใจแก๎ไขปัญหาเก่ยี วกบั ครอบครวั โรงเรียนและสงั คม
4. การแสวงหาและใชข๎ ๎อมลู สารสนเทศ

220

4.1 ความสามารถในดา๎ นค๎นหา รวบรวม วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ข๎อมูลเฉพาะด๎านจากแหลงํ ตํางๆ
ด๎วยวธิ ีการท่ีหลากหาย ทันสมยั

4.2 ความสามารถในการเลือกสรรและใชข๎ ๎อมลู สารสนเทศให๎เป็นประโยชน์ตํอตนเองและสงั คม
รวมผลการเรยี นรู้ 14 ผลการเรียนรู้

221

ชอื่ วิชา แนะแนว2 รหสั วชิ า ก21904
คาอธิบายรายวชิ า

แนะแนว เพื่อใหผ๎ ๎เู รียนสามารถเรียนได๎อยํางมปี ระสิทธภิ าพ มเี จตคตทิ ่ดี ตี ํออาชพี ปรบั ตวั เข๎า
กบั ผ๎ูอืน่ ได๎ ตลอดจนมีทกั ษะท่ีดใี นการแก๎ปัญหาและตัดสนิ ใจท่เี หมาะสมกับวัย

อภิปรายและนาเสนอเก่ียวกบั หลกั สตู ร จดุ มงํุ หมาย โครงสร๎าง การวดั และการประเมนิ ผล
เกณฑ์การจบหลักสตู รมธั ยมศึกษาตอนตน๎ การใช๎ห๎องสมุด การจดั แบํงเวลา ความหมาย ความสาคญั
ของอาชีพ และการสารวจอาชพี การรจ๎ู ักและเขา๎ ใจตนเองในดา๎ นพฤติกรรมและความร๎ูสกึ ตลอดจน
กระบวนการแกป๎ ญั หาและตดั สินใจ

เพศศึกษา เป็นกระบวนการจดั การเรียนรู๎เก่ยี วกับเพศ (Sexuality) ทค่ี รอบคลุมพัฒนาการ
ทางรํางกาย จิตใจ การทางานของสรีระและการดแู ลสขุ อนามยั ทัศนคติ คํานิยม สมั พนั ธภาพ
พฤติกรรมทางเพศ มติ ทิ างสังคมและวัฒนธรรม ทมี่ ผี ลตํอวถิ ชี วี ิตทางเพศ เป็นกระบวนการการพัฒนา
ทั้งด๎านความร๎ู ความคิด ทศั นคติ อารมณ์ และทักษะท่จี าเปน็ สาหรบั บคุ คลทจี่ ะชวํ ยให๎สามารถเลือก
ดาเนินชวี ติ ทางเพศอยํางเป็นสุขและปลอดภยั สามารถพัฒนาและดารงความสัมพนั ธ์กับผู๎อนื่ ได๎อยาํ งมี
ความรบั ผิดชอบและสมดุล

ดงั นน้ั การเรม่ิ จัดกระบวนการเรียนรู๎โดยใหข๎ อ๎ มูลทเี่ หมาะสมกับแตลํ ะชํวงของวัย การ
พัฒนาทักษะในการคดิ วิเคราะห์ จงึ ทาให๎นักเรยี นมีทักษะการจัดการสถานการณ์ในชีวติ และสงํ ผลใน
การปูองกันและบรรเทาผลดา๎ นลบในตนเอง
ผลการเรยี นรู้
1. ร๎ูจัก เข๎าใจ และเหน็ คณุ คาํ ในตนเองและผอ๎ู น่ื

1.1 การรบั รแ๎ู ละเข๎าใจความต๎องการและความรส๎ู ึกของตนเอง
1.2 การแสวงหาแบบอยํางที่ดแี ละเหมาะสมกับตนเอง
1.3 การรู๎และเขา๎ ใจ ความสนใจ ความถนดั ด๎านการเรียน อาชีพและบุคลกิ ภาพของตนเอง
1.4 การรักและนับถือตนเองและผูอ๎ ืน่
1.5 การรบั รูแ๎ ละเข๎าใจสาเหตุของปัญหาของตนเองและมีแนวทางในการแกป๎ ัญหา
2. การปรับตวั และการดารงชวี ิต
2.1 การเขา๎ ใจและยอมรับความแตกตํางระหวํางบุคคลและความคิดเหน็ ของผู๎อ่ืนอยํางมเี หตุผล
2.2 ความสามารถในการสอื่ สารความคดิ ความร๎สู ึกให๎ผอู๎ นื่ เขา๎ ใจได๎อยาํ งเหมาะสมกับกาลเทศะ
และบุคคล
2.3 ความสามารถในการจดั การกับอารมณแ์ ละแสดงออกได๎อยํางเหมาะสมกบั วยั และ
สถานการณ์
2.4 การปฏบิ ตั ติ นให๎เป็นประโยชนต์ ํอสํวนรวม
2.5 ความสามารถในการทางานตามบทบาทในฐานะผน๎ู า ผตู๎ ามทด่ี ี และอยรํู ํวมกับผู๎อ่ืนได๎อยาํ ง
มคี วามสขุ
3. การตดั สนิ ใจและแก๎ปัญหา
3.1 ความสามารถในการตัดสินใจและแกไ๎ ขปัญหาของตนอง
3.2 การรํวมตัดสินใจแก๎ไขปัญหาเกย่ี วกับครอบครัว โรงเรียนและสงั คม

222

4. การแสวงหาและใช๎ข๎อมลู สารสนเทศ
4.1 ความสามารถในด๎านค๎นหา รวบรวม วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ข๎อมูลเฉพาะด๎านจากแหลงํ ตํางๆ

ด๎วยวธิ กี ารท่ีหลากหาย ทันสมยั
4.2 ความสามารถในการเลือกสรรและใชข๎ ๎อมลู สารสนเทศให๎เป็นประโยชน์ตํอตนเองและสงั คม

รวมผลการเรียนรู้ 14 ผลการเรียนรู้

223

ชอ่ื วิชา แนะแนว3 รหสั วชิ า ก22901
คาอธิบายรายวิชา

แนะแนวเพ่อื ใหผ๎ ๎ูเรียนตระหนกั ในคุณคําของวชิ าที่เรียนสามารถเรยี นได๎อยํางมปี ระสิทธภิ าพ มี
เจตคตทิ ่ีดตี ํออาชีพปรบั ตัวเขา๎ กับผ๎อู ืน่ ไดต๎ ลอดจนมีทักษะที่ดีในการแกป๎ ัญหาและตดั สินใจทเ่ี หมาะสม
กับวัย

ศกึ ษาคุณคําการเรียนรายวชิ า การจดั แบงํ เวลา สังคมกับการแก๎ปัญหา บริการแนะแนวของ
โรงเรียน ข๎อมูลเกี่ยวกับอาชีพ ข๎อมลู สวํ นตวั ข๎อมลู การศึกษา

เพศศกึ ษา เปน็ กระบวนการจดั การเรียนรูเ๎ ก่ียวกบั เพศ (Sexuality) ท่คี รอบคลมุ พฒั นาการ
ทางรํางกาย จติ ใจ การทางานของสรรี ะและการดูแลสขุ อนามยั ทศั นคติ คํานิยม สัมพันธภาพ
พฤติกรรมทางเพศ มติ ิทางสังคมและวัฒนธรรม ที่มีผลตํอวถิ ีชวี ติ ทางเพศ เป็นกระบวนการการพฒั นา
ทั้งด๎านความร๎ู ความคิด ทัศนคติ อารมณ์ และทักษะทจี่ าเป็นสาหรับบคุ คลทีจ่ ะชํวยใหส๎ ามารถเลอื ก
ดาเนินชวี ติ ทางเพศอยํางเป็นสุขและปลอดภัย สามารถพัฒนาและดารงความสมั พันธ์กับผูอ๎ ่นื ได๎อยาํ งมี
ความรับผิดชอบและสมดลุ

ดังน้นั การเร่มิ จดั กระบวนการเรยี นร๎ูโดยให๎ข๎อมูลทเ่ี หมาะสมกับแตลํ ะชํวงของวยั
การพฒั นาทักษะในการคดิ วิเคราะห์ จึงทาให๎นกั เรยี นมที ักษะการจัดการสถานการณ์ในชวี ิต และสงํ ผล
ในการปอู งกันและบรรเทาผลด๎านลบในตนเอง
ผลการเรยี นรู้
1. ร๎จู กั เข๎าใจ และเหน็ คณุ คําในตนเองและผอ๎ู น่ื

1.1 การรบั รู๎และเข๎าใจความต๎องการและความรูส๎ ึกของตนเอง
1.2 การแสวงหาแบบอยํางท่ีดีและเหมาะสมกับตนเอง
1.3 การรู๎และเขา๎ ใจ ความสนใจ ความถนดั ด๎านการเรยี น อาชีพและบุคลกิ ภาพของตนเอง
1.4 การรักและนับถือตนเองและผูอ๎ ื่น
1.5 การรับรู๎และเข๎าใจสาเหตุของปัญหาของตนเองและมีแนวทางในการแก๎ปญั หา
2. การปรบั ตวั และการดารงชวี ติ
2.1 การเขา๎ ใจและยอมรบั ความแตกตํางระหวาํ งบุคคลและความคดิ เหน็ ของผ๎ูอ่นื อยาํ งมีเหตผุ ล
2.2 ความสามารถในการส่ือสารความคดิ ความรส๎ู ึกใหผ๎ ๎อู ืน่ เขา๎ ใจได๎อยํางเหมาะสมกับกาลเทศะ
และบคุ คล
2.3 ความสามารถในการจดั การกบั อารมณแ์ ละแสดงออกได๎อยาํ งเหมาะสมกบั วัยและ
สถานการณ์
2.4 การปฏบิ ตั ิตนใหเ๎ ป็นประโยชนต์ อํ สวํ นรวม
2.5 ความสามารถในการทางานตามบทบาทในฐานะผูน๎ า ผู๎ตามทดี่ ี และอยํูรวํ มกบั ผู๎อื่นได๎อยําง
มคี วามสุข

3. การตดั สินใจและแกป๎ ัญหา
3.1 ความสามารถในการตัดสินใจและแก๎ไขปญั หาของตนอง
3.2 การรวํ มตดั สินใจแก๎ไขปัญหาเกี่ยวกับครอบครวั โรงเรียนและสังคม

4. การแสวงหาและใช๎ข๎อมูลสารสนเทศ

224

4.1 ความสามารถในดา๎ นค๎นหา รวบรวม วิเคราะห์ สงั เคราะห์ข๎อมูลเฉพาะด๎านจากแหลงํ ตํางๆ
ด๎วยวธิ ีการท่ีหลากหาย ทันสมยั

4.2 ความสามารถในการเลือกสรรและใชข๎ ๎อมลู สารสนเทศให๎เป็นประโยชน์ตํอตนเองและสงั คม
รวมผลการเรียนรู้ 14 ผลการเรียนรู้

225

ชือ่ วิชา แนะแนว4 รหสั วชิ า ก22904
คาอธบิ ายรายวิชา

แนะแนวเพ่ือให๎ผ๎ูเรยี นตระหนักในคุณคําของวชิ าท่เี รียนสามารถเรยี นได๎อยาํ งมปี ระสิทธิภาพ
มีเจตคติทีด่ ีตอํ อาชพี ปรบั ตัวเขา๎ กบั ผู๎อ่ืนได๎ตลอดจนมีทักษะทดี่ ีในการแก๎ปญั หาและตดั สินใจที่เหมาะสม
กับวัย

อภปิ รายและนาเสนอคุณคาํ การเรยี นรายวิชา การจัดแบํงเวลา สงั คมกับการแก๎ปัญหา
บรกิ ารแนะแนวของโรงเรยี น ข๎อมูลเกีย่ วกับอาชพี ข๎อมูลสํวนตัว ขอ๎ มลู การศกึ ษา

เพศศกึ ษา เปน็ กระบวนการจัดการเรียนรเ๎ู กยี่ วกับเพศ (Sexuality) ท่คี รอบคลมุ พฒั นาการ
ทางรํางกาย จิตใจ การทางานของสรีระและการดูแลสขุ อนามัย ทศั นคติ คํานยิ ม สัมพนั ธภาพ
พฤติกรรมทางเพศ มติ ิทางสงั คมและวฒั นธรรม ทีม่ ีผลตํอวิถีชวี ิตทางเพศ เปน็ กระบวนการการพฒั นา
ท้งั ด๎านความรู๎ ความคิด ทัศนคติ อารมณ์ และทักษะทจี่ าเปน็ สาหรบั บคุ คลท่ีจะชํวยใหส๎ ามารถเลือก
ดาเนินชวี ติ ทางเพศอยํางเปน็ สขุ และปลอดภยั สามารถพัฒนาและดารงความสมั พนั ธ์กับผอู๎ ืน่ ได๎อยาํ งมี
ความรับผดิ ชอบและสมดลุ

ดงั น้ัน การเริ่มจดั กระบวนการเรยี นรูโ๎ ดยให๎ขอ๎ มูลทเ่ี หมาะสมกับแตลํ ะชวํ งของ
วยั การพัฒนาทักษะในการคิด วเิ คราะห์ จงึ ทาใหน๎ ักเรยี นมีทกั ษะการจัดการสถานการณ์ในชวี ติ และ
สํงผลในการปอู งกนั และบรรเทาผลด๎านลบในตนเอง
ผลการเรียนรู้
1. ร๎ูจกั เข๎าใจ และเหน็ คุณคําในตนเองและผอ๎ู นื่

1.1 การรบั ร๎ูและเขา๎ ใจความต๎องการและความรู๎สึกของตนเอง
1.2 การแสวงหาแบบอยาํ งที่ดีและเหมาะสมกบั ตนเอง
1.3 การรูแ๎ ละเขา๎ ใจ ความสนใจ ความถนดั ด๎านการเรียน อาชีพและบุคลกิ ภาพของตนเอง
1.4 การรกั และนบั ถือตนเองและผ๎ูอ่นื
1.5 การรับร๎ูและเข๎าใจสาเหตุของปญั หาของตนเองและมแี นวทางในการแก๎ปญั หา
2. การปรบั ตัวและการดารงชีวติ
2.1 การเข๎าใจและยอมรบั ความแตกตํางระหวํางบุคคลและความคดิ เห็นของผ๎ูอนื่ อยาํ งมเี หตุผล
2.2 ความสามารถในการสอื่ สารความคิด ความร๎สู ึกให๎ผอ๎ู ืน่ เขา๎ ใจได๎อยาํ งเหมาะสมกับกาลเทศะ
และบคุ คล
2.3 ความสามารถในการจดั การกบั อารมณ์และแสดงออกได๎อยาํ งเหมาะสมกับวัยและ
สถานการณ์
2.4 การปฏบิ ัติตนใหเ๎ ป็นประโยชนต์ ํอสํวนรวม
2.5 ความสามารถในการทางานตามบทบาทในฐานะผนู๎ า ผต๎ู ามทีด่ ี และอยํรู วํ มกับผู๎อื่นได๎อยําง
มีความสุข
3. การตัดสนิ ใจและแก๎ปัญหา
3.1 ความสามารถในการตัดสินใจและแก๎ไขปญั หาของตนอง
3.2 การรวํ มตดั สนิ ใจแก๎ไขปัญหาเกยี่ วกบั ครอบครวั โรงเรียนและสังคม
4. การแสวงหาและใช๎ข๎อมูลสารสนเทศ
4.1 ความสามารถในดา๎ นค๎นหา รวบรวม วเิ คราะห์ สังเคราะห์ข๎อมลู เฉพาะดา๎ นจากแหลงํ ตํางๆ

226

ด๎วยวิธกี ารท่หี ลากหาย ทันสมัย
4.2 ความสามารถในการเลือกสรรและใชข๎ ๎อมูลสารสนเทศให๎เปน็ ประโยชนต์ อํ ตนเองและสงั คม

รวมผลการเรียนรู้ 14 ผลการเรยี นรู้

227

ชือ่ วิชา แนะแนว5 รหสั วิชา ก23901
คาอธบิ ายรายวิชา

แนะแนว เพือ่ ให๎นักเรียนทราบข๎อมลู เกีย่ วกบั อาชีพ และแนวทางการศึกษาตํอในระดับช้ัน
มธั ยมศึกษาตอนปลาย เขา๎ ใจและยอมรับตนเอง ในด๎านความถนดั ความสามารถและ ความสนใจ เพอื่
เป็นแนวทางในการเลือกและตัดสินใจเกี่ยวกบั การศึกษาตํอของตนเองได๎

ศกึ ษาสารวจและวิเคราะห์ ความถนดั ความสามารถ ความสนใจ และคํานยิ มของตนเอง
ศึกษาคน๎ ควา๎ ข๎อมลู เกี่ยวกับอาชพี และสถาบันการศึกษา เลือกและตัดสินใจแนวทางการศึกษาใน
ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาตอนปลายทเ่ี หมาะสมกบั เปูาหมายของตนเอง

เพศศึกษา เปน็ กระบวนการจดั การเรยี นรเ๎ู กีย่ วกบั เพศ (Sexuality) ท่คี รอบคลุมพฒั นาการ
ทางราํ งกาย จิตใจ การทางานของสรีระและการดแู ลสุขอนามยั ทัศนคติ คํานิยม สมั พนั ธภาพ
พฤติกรรมทางเพศ มติ ทิ างสงั คมและวัฒนธรรม ทีม่ ีผลตํอวิถีชีวิตทางเพศ เปน็ กระบวนการการพฒั นา
ทัง้ ด๎านความร๎ู ความคิด ทศั นคติ อารมณ์ และทักษะทีจ่ าเป็นสาหรบั บุคคลทจ่ี ะชํวยให๎สามารถเลือก
ดาเนนิ ชวี ติ ทางเพศอยาํ งเปน็ สขุ และปลอดภัย สามารถพัฒนาและดารงความสัมพนั ธ์กับผ๎ูอน่ื ได๎อยาํ งมี
ความรับผิดชอบและสมดลุ

ดงั นัน้ การเริม่ จดั กระบวนการเรียนร๎โู ดยใหข๎ ๎อมูลท่ีเหมาะสมกบั แตํละชวํ งของวัย การ
พัฒนาทกั ษะในการคดิ วเิ คราะห์ จงึ ทาให๎นักเรียนมที ักษะการจัดการสถานการณ์ในชีวติ และสงํ ผลใน
การปูองกันและบรรเทาผลดา๎ นลบในตนเอง
ผลการเรียนรู้
1. ร๎จู กั เขา๎ ใจ และเหน็ คุณคาํ ในตนเองและผ๎ูอื่น

1.1 การรับรแ๎ู ละเข๎าใจความต๎องการและความร๎สู กึ ของตนเอง
1.2 การแสวงหาแบบอยํางที่ดแี ละเหมาะสมกบั ตนเอง
1.3 การรู๎และเขา๎ ใจ ความสนใจ ความถนัดด๎านการเรียน อาชพี และบุคลิกภาพของตนเอง
1.4 การรักและนับถือตนเองและผ๎ูอ่ืน
1.5 การรบั ร๎แู ละเขา๎ ใจสาเหตุของปญั หาของตนเองและมีแนวทางในการแก๎ปญั หา
2. การปรบั ตัวและการดารงชวี ติ
2.1 การเขา๎ ใจและยอมรับความแตกตํางระหวาํ งบุคคลและความคดิ เห็นของผู๎อ่ืนอยํางมเี หตผุ ล
2.2 ความสามารถในการสอ่ื สารความคิด ความรู๎สึกให๎ผอู๎ ่นื เข๎าใจได๎อยาํ งเหมาะสมกับกาลเทศะ
และบุคคล
2.3 ความสามารถในการจดั การกบั อารมณแ์ ละแสดงออกไดอ๎ ยาํ งเหมาะสมกับวยั และ
สถานการณ์
2.4 การปฏบิ ตั ิตนใหเ๎ ปน็ ประโยชนต์ ํอสํวนรวม
2.5 ความสามารถในการทางานตามบทบาทในฐานะผ๎นู า ผต๎ู ามท่ดี ี และอยูรํ วํ มกบั ผู๎อน่ื ไดอ๎ ยาํ ง
มีความสุข
3. การตดั สนิ ใจและแก๎ปญั หา
3.1 ความสามารถในการตัดสินใจและแกไ๎ ขปญั หาของตนอง
3.2 การรํวมตัดสินใจแก๎ไขปัญหาเกีย่ วกับครอบครัว โรงเรียนและสังคม
4. การแสวงหาและใช๎ข๎อมลู สารสนเทศ

228

4.1 ความสามารถในดา๎ นคน๎ หา รวบรวม วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ข๎อมูลเฉพาะด๎านจากแหลงํ ตํางๆ
ดว๎ ยวธิ กี ารที่หลากหลาย ทันสมยั

4.2 ความสามารถในการเลือกสรรและใชข๎ ๎อมลู สารสนเทศให๎เป็นประโยชน์ตํอตนเองและสงั คม
รวมผลการเรียนรู้ 14 ผลการเรียนรู้

229

ชือ่ วิชา แนะแนว6 รหสั วชิ า ก23904
คาอธบิ ายรายวชิ า

แนะแนว เพ่อื ให๎นักเรยี นทราบข๎อมูลเก่ียวกับอาชีพ และแนวทางการศึกษาตํอในระดบั ชั้น
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เขา๎ ใจและยอมรับตนเอง ในดา๎ นความถนดั ความสามารถและ ความสนใจ เพ่ือ
เปน็ แนวทางในการเลือกและตดั สินใจเกยี่ วกบั การศกึ ษาตํอของตนเองได๎

อภปิ รายและนาเสนอ ความถนัด ความสามารถ ความสนใจ และคํานิยมของตนเอง ศึกษา
ค๎นคว๎าข๎อมลู เกีย่ วกับอาชีพและสถาบันการศึกษา เลอื กและตดั สนิ ใจแนวทางการศึกษาในระดับชั้น
มัธยมศกึ ษาตอนปลายทีเ่ หมาะสมกับเปูาหมายของตนเอง

เพศศึกษา เปน็ กระบวนการจดั การเรียนร๎ูเก่ยี วกบั เพศ (Sexuality) ทีค่ รอบคลุมพัฒนาการ
ทางรํางกาย จติ ใจ การทางานของสรรี ะและการดูแลสุขอนามัย ทัศนคติ คํานยิ ม สัมพันธภาพ
พฤติกรรมทางเพศ มิตทิ างสงั คมและวฒั นธรรม ทม่ี ผี ลตํอวถิ ชี วี ิตทางเพศ เป็นกระบวนการการพัฒนา
ท้งั ดา๎ นความรู๎ ความคิด ทัศนคติ อารมณ์ และทักษะทจ่ี าเปน็ สาหรบั บคุ คลทจี่ ะชํวยให๎สามารถเลอื ก
ดาเนนิ ชวี ติ ทางเพศอยาํ งเป็นสขุ และปลอดภยั สามารถพัฒนาและดารงความสมั พันธ์กับผู๎อืน่ ได๎อยาํ งมี
ความรับผิดชอบและสมดุล

ดังนั้น การเรมิ่ จัดกระบวนการเรยี นร๎ูโดยให๎ขอ๎ มลู ที่เหมาะสมกับแตลํ ะชํวงของวยั การ
พัฒนาทักษะในการคดิ วิเคราะห์ จึงทาให๎นักเรยี นมที ักษะการจัดการสถานการณ์ในชวี ติ และสํงผลใน
การปูองกันและบรรเทาผลด๎านลบในตนเอง
ผลการเรียนรู้
1. รจ๎ู กั เขา๎ ใจ และเห็นคุณคําในตนเองและผอ๎ู ่นื

1.1 การรบั ร๎แู ละเข๎าใจความต๎องการและความรู๎สกึ ของตนเอง
1.2 การแสวงหาแบบอยาํ งที่ดแี ละเหมาะสมกับตนเอง
1.3 การรแ๎ู ละเข๎าใจ ความสนใจ ความถนัดด๎านการเรยี น อาชพี และบุคลิกภาพของตนเอง
1.4 การรกั และนบั ถือตนเองและผู๎อนื่
1.5 การรบั รแู๎ ละเข๎าใจสาเหตุของปญั หาของตนเองและมีแนวทางในการแก๎ปญั หา
2. การปรบั ตัวและการดารงชวี ติ
2.1 การเข๎าใจและยอมรับความแตกตํางระหวํางบุคคลและความคิดเหน็ ของผ๎ูอ่ืนอยาํ งมีเหตุผล
2.2 ความสามารถในการสอ่ื สารความคดิ ความรส๎ู ึกให๎ผ๎อู ื่นเข๎าใจได๎อยาํ งเหมาะสมกบั กาลเทศะ
และบคุ คล
2.3 ความสามารถในการจัดการกับอารมณแ์ ละแสดงออกได๎อยาํ งเหมาะสมกับวยั และ
สถานการณ์
2.4 การปฏบิ ตั ติ นใหเ๎ ป็นประโยชนต์ ํอสํวนรวม
2.5 ความสามารถในการทางานตามบทบาทในฐานะผู๎นา ผ๎ูตามที่ดี และอยูรํ ํวมกับผู๎อื่นไดอ๎ ยาํ ง
มีความสขุ
3. การตดั สนิ ใจและแกป๎ ญั หา
3.1 ความสามารถในการตัดสินใจและแก๎ไขปญั หาของตนอง
3.2 การรวํ มตัดสินใจแก๎ไขปัญหาเกีย่ วกบั ครอบครัว โรงเรียนและสงั คม

230

4. การแสวงหาและใช๎ข๎อมลู สารสนเทศ
4.1 ความสามารถในด๎านค๎นหา รวบรวม วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ข๎อมูลเฉพาะด๎านจากแหลงํ ตํางๆ

ด๎วยวธิ กี ารท่ีหลากหาย ทันสมยั
4.2 ความสามารถในการเลือกสรรและใชข๎ ๎อมลู สารสนเทศให๎เป็นประโยชน์ตํอตนเองและสงั คม

รวมผลการเรียนรู้ 14 ผลการเรียนรู้

231

ช่อื วิชา ลกู เสือ1(เครอ่ื งหมายลกู เสือโลก 1) รหสั วิชา ก21902
คาอธิบายรายวชิ า

ศึกษากจิ การลูกเสือแหํงชาติ กิจการลกู เสอื โลก ความสัมพนั ธ์ของลูกเสอื นานาชาติ คา
ปฏิญาณ กฎ และคติพจนข์ องลูกเสือ-เนตรนารี สามัญรํุนใหญํ บทบาทของตนในฐานะเป็นลกู เสือ –
เนตรนารีสามญั รนุํ ใหญํ ความรแู๎ ละทักษะพืน้ ฐานในเร่อื ง ระเบียบแถว เง่ือน การผูกแนํน การปฐม
พยาบาล โดยใช๎ระบบหมแูํ ละวิธกี ารฝึกแบบฐาน การสาธิต การปฏบิ ัติจริง และการสืบค๎นข๎อมูล
ด๎วยตนเอง เพ่อื ให๎เกิดความรู๎ ความคิด ความเข๎าใจ และ ทกั ษะในการทางานรํวมกัน สามารถ
นาไปใช๎ในชีวติ ประจาวนั ดว๎ ยคุณธรรม จริยธรรม และคํานิยมที่เหมาะสม

232

ช่ือวิชา ลูกเสือ2 (เครือ่ งหมายลกู เสอื โลก 2) รหสั วิชา ก21905
คาอธิบายรายวชิ า

ศึกษาความรแ๎ู ละทกั ษะพนื้ ฐานในเรอื่ ง การบรรจุเครือ่ งหลัง การใช๎เต็นทน์ อน การกํอไฟ
การประกอบ อาหาร การอํานแผนทที่ หาร การใช๎เข็มทิศ และหลกั ความปลอดภัยในการปฏิบตั ิ
กจิ กรรม โดยใช๎ระบบหมูํและ วิธกี ารฝกึ แบบฐาน การสาธิต การปฏิบัตจิ ริง และการสืบคน๎ ข๎อมูล
ดว๎ ยตนเอง เพ่ือให๎เกดิ ความรู๎ ความคดิ ความเข๎าใจและทักษะในการทางานรวํ มกัน สามารถนา
ความร๎ไู ปใช๎ในชีวิตประจาวนั และปฏิบัติงานเพื่อชวํ ยเหลือชุมชน ด๎วยคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ
คํานิยมทเ่ี หมาะสม
หมายเหตุ
ในภาคเรียนท่ี 2 ใหศ๎ กึ ษาวชิ าพเิ ศษเพมิ่ เตมิ ท้ังในเวลาและนอกเวลา อยํางน๎อย 3 วชิ า โดย
ศึกษากบั ครูและแหลงํ เรียนร๎ูอื่นๆ ตามความเหมาะสม วชิ าพิเศษที่เหมาะสม เชํน ผจญภยั นกั
ดาราศาสตร์ ผจู๎ ัดการคาํ ยพักแรม ผพ๎ู ทิ ักษ์ปุา นักเดินทางไกล หัวหนา๎ ครอบครัว นักบุกเบิก นกั
สะกดรอย นกั ธรรมชาติวิทยา นกั สะสม นกั ดนตรี นกั กีฬา นกั กรีฑา นักพิมพ์ดดี นกั แสดงการ
บนั เทิง ผชู๎ ํวยการจราจร ชาํ งเขยี น การฝีมือ การชํวยผปู๎ ระสบภัย การพยาบาล การอนุรักษ์
ธรรมชาติ นักวํายนา้ นกั พายเรือ แผนท่ีทหารและเข็มทศิ นักไตหํ น๎าผา เป็นตน๎
อนึ่ง วิชาพเิ ศษดังกลาํ วให๎เป็นไปตามข๎อบงั คบั คณะลูกเสือแหงํ ชาติ วาํ ด๎วยการปกครอง หลกั สูตรและ
วิชาพิเศษลูกเสือสามญั รํนุ ใหญํ ฉบับที่ 14 พ.ศ. 2528

233

ช่อื วิชา ลูกเสือ3(เครอ่ื งหมายลกู เสือช้ันพิเศษ 1) รหัสวชิ า ก22902
คาอธิบายรายวิชา

ศึกษาความรพ๎ู ื้นฐาน วิชาการบริการ วชิ าหนา้ ทีพ่ ลเมือง และวิชาสิ่งแวดล้อม โดยใช๎
ระบบหมูแํ ละวธิ ีการฝึกแบบฐาน การสาธิต การปฏิบัตจิ รงิ การสืบค๎นข๎อมลู ด๎วยตนเองและการ
ปฏิบตั ิงานตามโครงการ (Project work group) เพอ่ื ให๎เกิดความร๎ู ความเขา๎ ใจ เกดิ ความคดิ และ
ทักษะในการทางานรํวมกนั สามารถนาไปใช๎ในชวี ิตประจาวนั และปฏิบัตงิ านเพื่อชํวยเหลอื ชุมชน ด๎วย
คุณธรรม จรยิ ธรรม และคํานิยมท่เี หมาะสม
หมายเหตุ
ในภาคเรียนที่ 1 ให๎ศึกษาวชิ าพเิ ศษเพมิ่ เติมท่ีไมํซา้ กันกบั วชิ าทสี่ อบได๎แลว๎ ทง้ั ในและนอกเวลา อยําง
น๎อย 2 วชิ า โดยศกึ ษากับครูและแหลงํ เรียนรู๎อื่นๆ ตามความเหมาะสม วิชาพเิ ศษท่เี หมาะสม
เชนํ นักผจญภยั นักดาราศาสตร์ ผู๎จัดการคาํ ยพักแรม ผู๎พทิ กั ษ์ปุา นกั เดินทางไกล หัวหนา๎ คนครวั
นกั บกุ เบิก นกั สะกดรอย นักธรรมชาตวิ ิทยา นักสะสม นกั ดนตรี นกั กีฬา นกั กรีฑา นักพมิ พ์ดีด
นกั แสดงการบันเทงิ ผช๎ู วํ ยการจราจร ชาํ งเขียน การฝมี อื การชํวยผปู๎ ระสบภยั การพยาบาล การ
อนรุ ักษธ์ รรมชาติ นกั วาํ ยน้า นักพายเรอื แผนท่ีทหารและเขม็ ทิศ และนักไตํหนา๎ ผา เปน็ ตน๎
อน่ึง วิชาพเิ ศษดังกลาํ วใหเ๎ ป็นไปตามข๎อบังคับคณะลุกเสอื แหงํ ชาติ วําดว๎ ยการปกครอง หลักสตู รและ
วชิ าพิเศษลูกเสือสามัญรํนุ ใหญํ ฉบับท่ี 14 พ.ศ. 2528

234

ช่อื วิชา ลูกเสือ4(เคร่ืองหมายลูกเสือชัน้ พิเศษ 1) รหสั วิชา ก22905
คาอธิบายรายวิชา
วชิ าการเดนิ ทางสารวจ วิชาอุดมคติ และวิชาความคิดริเรมิ่ (Initiative course) โดยใชร๎ ะบบหมํู
และวิธกี ารฝึกแบบฐาน การสาธิต การปฏบิ ัติจริง การสืบคน๎ ข๎อมูลดว๎ ยตนเอง และการปฏบิ ตั ิงาน
ตามโครงการ (Project work group) เพอื่ ใหเ๎ กิดความร๎ูความเข๎าใจ เกิดความคิด และ ทักษะใน
การทางานรวํ มกัน สามารถนาไปใชใ๎ นชีวิตประจาวนั และปฏิบตั งิ านเพื่อชํวยเหลอื ชุมชน ด๎วยคุณธรรม
จรยิ ธรรม และคํานิยมที่เหมาะสม
หมายเหตุ
ในภาคเรยี นท่ี 2 ให๎ศกึ ษาวชิ าพเิ ศษเพมิ่ เติมท่ีไมซํ ้ากบั วิชาทสี่ อบได๎แลว๎ ท้ังในและนอกเวลา อยาํ ง
นอ๎ ย 2 วิชา โดยศกึ ษากบั ครแู ละแหลํงเรยี นรู๎อน่ื ๆ ตามความเหมาะสม วชิ าพิเศษท่ีเหมาะสม เชํน
นกั ผจญภัย นักดาราศาสตร์ ผ๎ูจัดการคํายพักแรม ผพู๎ ทิ ักษ์ปาุ นักเดินทางไกล หัวหนา๎ คนครวั
นกั บุกเบิก นกั สะกดรอย นักธรรมชาติวทิ ยา นกั สะสม นกั ดนตรี นกั กีฬา
นกั กรีฑา นักพมิ พ์ดีด นักแสดงการบนั เทิง ผ๎ูชํวยการจราจร ชํางเขียน การฝีมอื การชํวยผ๎ชู วํ ย
ผู๎ประสบภัย การพยาบาล การอนุรักษ์ธรรมชาติ นกั วาํ ยนา้ นักพายเรือ แผนท่ีทหารและเข็มทศิ
และนักไตํหนา๎ ผา เป็นต๎น
อนึ่ง วิชาพเิ ศษดังกลําวให๎เป็นไปตามข๎อบังคับคณะลูกเสอื แหงํ ชาติ วาํ ดว๎ ยการปกครอง หลักสตู ร
และวชิ าพิเศษลูกเสอื สามัญรํุนใหญํ ฉบับท่ี 14 พ.ศ. 2528

235

ชอ่ื วิชา ลกู เสือ5(เครอ่ื งหมายลูกเสือหลวง 1) รหสั วชิ า ก23902
คาอธิบายรายวชิ า

ศึกษาความรพ๎ู ื้นฐาน วิชากจิ กรรมท่ีสนใจเป็นพิเศษ วชิ าการแสดงออกทางศลิ ปะ วิชา
สมรรถภาพทางกาย และวชิ าการเป็นผู๎นาตามหลักสูตรท่ีกาหนดไว๎ โดยใช๎ระบบหมูํและวธิ ีการฝกึ
แบบฐาน การสาธติ การปฏิบัตจิ รงิ การสืบคน๎ ข๎อมูลดว๎ ยตนเองและการปฏิบัติงานตามโครงการ
(Project work group) เพื่อใหเ๎ กดิ ความร๎ู ความเข๎าใจ เกดิ ความคิด และทักษะในการทางาน
รวํ มกนั สามารถนาไปใชใ๎ นชีวิตประจาวันและปฏิบตั ิงานเพ่ือชํวยเหลือชมุ ชน ดว๎ ยคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
และคํานยิ มท่ีเหมาะสม
หมายเหตุ
ในภาคเรยี นท่ี 1 ใหศ๎ กึ ษาวิชาพเิ ศษเพม่ิ เติมที่ไมซํ ้ากันกับวิชาท่ีสอบได๎แลว๎ ทั้งในและนอกเวลา อยาํ ง
น๎อย 2 วิชา โดยศกึ ษากับครแู ละแหลํงเรียนรู๎อ่ืนๆ ตามความเหมาะสม วิชาพิเศษท่เี หมาะสม
เชํน นกั ผจญภัย นักดาราศาสตร์ ผ๎จู ดั การคํายพักแรม ผูพ๎ ิทักษ์ปุา นักเดินทางไกล หัวหนา๎ คนครัว
นกั บุกเบิก นักสะกดรอย นักธรรมชาตวิ ทิ ยา นักสะสม นักดนตรี นักกีฬา นกั กรีฑา นักพิมพด์ ดี
นักแสดงการบันเทงิ ผชู๎ วํ ยการจราจร ชาํ งเขียน การฝมี ือ
การชํวยผปู๎ ระสบภยั การพยาบาล การอนุรกั ษธ์ รรมชาติ นักวาํ ยน้า นักพายเรือ แผนทีท่ หารและ
เข็มทิศ และนักไตํหน๎าผา เป็นต๎น
อนึง่ วชิ าพเิ ศษดังกลาํ วใหเ๎ ป็นไปตามขอ๎ บงั คับคณะลุกเสอื แหงํ ชาติ วาํ ดว๎ ยการปกครอง หลกั สูตรและ
วชิ าพิเศษลูกเสือสามัญรํุนใหญํ ฉบบั ท่ี 14 พ.ศ. 2528

236

ชอ่ื วิชา ลกู เสือ6 (เครือ่ งหมายลูกเสือหลวง 2) รหสั วิชา ก23905
คาอธบิ ายรายวชิ า

ศกึ ษาความรแ๎ู ละทกั ษะพ้นื ฐานในเร่ือง บริการและเลอื กศึกษาวชิ าอ่นื อีก 3 วิชา ได๎แกํ หนา๎
ทีพลเมือง วชิ าสง่ิ แวดลอ๎ ม วิชาการเดนิ ทางสารวจ วชิ าการแสดงออกทางศลิ ปะ วิชาสมรรถภาพทาง
กาย วิชาอดุ มคติ และวชิ าทสี่ นใจเปน็ พิเศษ ศึกษา5วามรแู๎ ละทกั ษะวชิ าการเป็นผนู๎ าตามหลักสูตรท่ี
กาหนดไว๎ โดยใช๎ระบบหมํแู ละวิธีการฝึกแบบฐาน การสาธิต การปฏิบัติจรงิ การสืบค๎นข๎อมูลด๎วย
ตนเอง และการปฏบิ ัติงานตามโครงการ (Project work group) เพ่อื ใหเ๎ กดิ ความร๎ูความเขา๎ ใจ เกิด
ความคดิ และ ทักษะในการทางานรํวมกนั สามารถนาไปใช๎ในชวี ิตประจาวนั และปฏบิ ัติงานเพื่อ
ชวํ ยเหลือชมุ ชน ด๎วยคณุ ธรรม จริยธรรม และคาํ นยิ มทีเ่ หมาะสม
หมายเหตุ
ในภาคเรียนที่ 2 ให๎ศึกษาวิชาพเิ ศษเพม่ิ เติมทัง้ ใน และนอกเวลา อยาํ งนอ๎ ย 3 วชิ า โดยศกึ ษากับ
ครแู ละแหลํงเรียนร๎ูอื่นๆ ตามความเหมาะสม วิชาพิเศษท่ีเหมาะสม เชํน นักผจญภัย นกั ดารา
ศาสตร์ ผู๎จดั การคาํ ยพักแรม ผพ๎ู ิทกั ษป์ าุ นักเดินทางไกล หวั หนา๎ คนครวั นกั บุกเบกิ นักสะกด
รอย นกั ธรรมชาติวิทยา นักสะสม นกั ดนตรี นักกีฬา นกั กรีฑา นักพมิ พด์ ดี นกั แสดง การบนั เทงิ
ผู๎ชวํ ยการจราจร ชาํ งเขยี น การฝมี ือ การชํวยผช๎ู วํ ยผปู๎ ระสบภยั การพยาบาล การอนุรักษ์ธรรมชาติ
นกั วํายนา้ นกั พายเรือ แผนที่ทหารและเขม็ ทศิ และนักไตหํ นา๎ ผา เปน็ ต๎น
อน่ึง วชิ าพเิ ศษดังกลําวใหเ๎ ป็นไปตามขอ๎ บังคับคณะลูกเสือแหงํ ชาติ วาํ ดว๎ ยการปกครอง หลักสูตร
และวิชาพเิ ศษลูกเสอื สามัญรุํนใหญํ ฉบบั ที่ 14 พ.ศ. 2528

237

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

กิจกรรมพัฒนาผ๎ูเรียน เป็นกิจกรรมท่ีมุํงเน๎นให๎ผู๎เรียนพัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอยําง
รอบด๎านเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ท้ังรํางกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร๎างให๎เป็นผู๎มี
ศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร๎างจิตสานึกของการทาประโยชน์เพ่ือสังคม สามารถ
จัดการตนเอง ได๎ อยูรํ วํ มกับผู๎อ่นื อยํางมคี วามสขุ

โรงเรยี นบ๎านตรวจ ไดจ๎ ดั กจิ กรรมพฒั นาผ๎ูเรยี น โดยแบงํ ออกเป็น 3 ลักษณะ ดงั น้ี
1. กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมทสี่ ํงเสรมิ และพฒั นานกั เรียนให๎ รจ๎ู ักตนเอง รร๎ู ักษ์
สิ่งแวดล๎อม สามารถคิดตัดสินใจได๎ คิดแก๎ปัญหา กาหนดเปูาหมาย วางแผนชีวิต ท้ังทางด๎าน การ
เรียน อาชีพและการมีทักษะชีวิตสามารถปรับตัวได๎อยํางเหมาะสม อยูํในสังคมได๎อยํางมีความสุข
นอกจากนีย้ งั เปน็ กิจกรรมท่สี ามารถดาเนินการชวํ ยเหลอื และให๎คาปรึกษาแกํผู๎ปกครองเพ่ือให๎มีสํวนรํวม
ในการพัฒนาศักยภาพของผเ๎ู รียน
นักเรียนทุกคนตอ๎ งเข๎ารวํ มกิจกรรมแนะแนว 40 ชั่วโมง ตอํ ปีการศึกษา 20 ชั่วโมง ตอํ
ภาคเรียน
แนวการจดั กิจกรรมแนะแนว
นกั เรยี นทกุ คนต๎องเรียนกิจกรรมแนะแนว ซงึ่ จดั เข๎าเปน็ ชั่วโมงเรยี นในตารางสอนห๎องละ
1 ช่ัวโมงตํอสัปดาห์ โดยครูแนะแนวเป็นผู๎สอนตามหลักสูตรแนะแนวของสถานศึกษา และมี
การประเมินผลเม่ือส้ินภาคเรียนในระดับผํานกับไมํผําน ถ๎านักเรียนไมํผํานกิจกรรมแนะแนว
จะมผี ลทาใหน๎ กั เรียนไมจํ บหลกั สตู ร
2. กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมท่ีสํงเสริมพัฒนาให๎นักเรียนมีระเบียบวินัย ความเป็นผ๎ูนา
ความรับผิดชอบการทางานรํวมกบั ผ๎ูอ่นื การรจู๎ กั แก๎ปัญหา การตัดสินใจอยํางเหมาะสม ความ
มีเหตุผล การชํวยเหลือแบํงปนั เอ้อื อาทร โดยจัดให๎สอดคล๎องกับความสามารถ ความถนัด ความสนใจ
ของผ๎ูเรียน สามารถดาเนินการได๎ด๎วยตนเอง โดยเร่ิมต้ังแตํการศึกษา วิเคราะห์ วางแผนปฏิบัติ
ประเมิน ปรับปรุง และพัฒนาให๎ดียิ่งๆ ขึ้น การปฏิบัติดังกลําวต๎องสอดคล๎องกับวุฒิภาวะของผู๎เรียน
บริบทของโรงเรยี นและทอ๎ งถน่ิ กิจกรรมนกั เรยี นของโรงเรียน ประกอบดว๎ ย
2.1 กิจกรรมลูกเสือเนตรนารี ยุวกาชาด นักเรียนทุกคนต๎องเข๎ารํวมกิจกรรมลูกเสือ เนตร
นารี หรอื ยวุ กาชาด 20 ช่วั โมงตํอภาคเรยี น (ระดบั มัธยมศึกษา)
แนวการจัดกิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด
นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต๎นทุกคนต๎องเรียน ลูกเสือ เนตรนารี หรือ ยุวกาชาด
1 ช่ัวโมงตํอสัปดาห์ โดยจัดเป็นวิชาเรียนในตารางเรียน เม่ือสิ้นภาคเรียนจะได๎รับการประเมินผล ผําน
หรือ ไมํผําน ถ๎าไมํผํานมีการซํอมเสริมและประเมินใหมํ และถ๎าไมํผํานกิจกรรมดังกลําว จะทาให๎
นกั เรยี นไมจํ บหลักสตู ร
2.2 กิจกรรมชมุ นุม/โครงาน นักเรียนทุกคนต๎องเข๎ารํวมกิจกรรมชุมนุม/โครงงาน 20 ช่ัวโมง
ตํอภาคเรียน
แนวทางการจดั กิจกรรมชุมนมุ
โรงเรียนจัดกิจกรรมชุมนุม/โครงงาน 1 ชั่วโมง ตํอสัปดาห์ โดยเป็นชั่วโมงเรียนในตารางสอน
นกั เรียนทกุ คนต๎องมชี ่วั โมงชมุ นุม/โครงงาน โดยนกั เรียนในหอ๎ งจะแบํงกลํุมที่มีความสนใจเหมือนกันโดย

238

รวบรวมสมาชิกเข๎าเป็นชุมนุม/โครงงาน โดยครูที่ปรึกษาจะให๎ความร๎ูเกี่ยวกับการทาโครงงานกับ
นักเรียนกํอน เม่ือนักเรียนได๎รับความร๎ู ความเข๎าใจแล๎ว นักเรียนจะเป็นผ๎ูวางแผนการทากิจกรรม
กาหนดข้ันตอนตํางๆ และดาเนินการเองตามรูปแบบการทาโครงงาน เมื่อสิ้นภาคเรียนทุกชุมนุม/
โครงงาน รํวมกันจัดนิทรรศการ แสดงผลงาน ของชุมนุม/โครงงานของตนเอง โดยมีการประเมินผล
ผํานหรอื ไมผํ ําน ถา๎ ไมผํ ําน มีการซํอมเสริมและประเมินผลใหมํและ ถ๎าไมํผํานกิจกรรมชุมนุม/โครงงาน
จะทาใหน๎ กั เรยี นไมจํ บหลกั สตู ร

3.กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกจิ กรรมทส่ี งํ เสริมและการพัฒนานักเรียนให๎
แสดงถึง ความดีงาม ความรับผิดชอบ ความเสียสละ การมีจิตสาธารณะการมีสํวนรํวมกันในสังคม
เชํน กิจกรรมอาสาพัฒนา กจิ กรรมสร๎างสรรคส์ ังคมตํางๆ

นักเรยี นทกุ คนตอ๎ งเข๎ารํวมกิจกรรมเพ่ือสงั คม และสาธารณะประโยชน์ 15 ช่วั โมงตํอ
ปีการศึกษา (ระดับมัธยมศึกษาตอนต๎น ) และ 20 ช่ัวโมงตํอปีการศึกษา (ระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลาย)

แนวการจดั เพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์
ให๎นักเรียนทุกคนบริหารเวลาด๎วยตนเองในการบาเพ็ญประโยชน์ ด๎วยการมีสํวนรํวมในการ
พัฒนาสังคมด๎านตํางๆ ทั้งภายในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา แล๎วให๎จดบันทึกจานวนช่ัวโมงที่
ใหบ๎ รกิ ารสงั คม หรอื รํวมกจิ กรรมเพ่ือสงั คม โดยมผี ร๎ู บั รอง ใหค๎ รบตามจานวนชว่ั โมงท่ีกาหนด

แนวทางการประเมินผลกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน
กิจกรรมพัฒนาผ๎ูเรียนทุกกิจกรรม (ยกเว๎นกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์) จะต๎อง
ได๎รบั การประเมินผลตามหลักสูตรเมื่อสิ้นภาคเรียนด๎วย “ผําน” หรือ “ไมํผําน”นักเรียนทุกคนต๎องมีผล
การประเมินผํานทุกกจิ กรรมทุกภาคเรยี น จงึ จะจบหลกั สูตรการศกึ ษา

239

เกณฑก์ ารจบการศึกษา

เกณฑ์การจบระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น

1. ผเ๎ู รียนรายวิชาพน้ื ฐาน ละรายวิชาเพิม่ เตมิ ไมเํ กิน จานวน 81 หนวํ ยกิต โดยเปน็ วิชาพน้ื ฐาน
จานวน 66 หนํวยกติ และรายวชิ าเพิ่มเติมไมเํ กนิ 15 หนวํ ยกติ

2. ผ๎ูเรียนต๎องได๎หนํวยกิตตลอดหลักสูตร ไมํน๎อยกวํา 77 หนํวยกิต โดยป็นรายวิชาพื้นฐาน
จานวน 66 หนวํ ยกิต และรายวชิ าเพิม่ เตมิ ไมํนอ๎ ยกวาํ 11 หนวํ ยกติ

3. ผเ๎ู รียนต๎องมผี ลการประเมนิ การอาํ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น ระดับ “ผําน” ขึน้ ไป
4. ผู๎เรยี นตอ๎ งมผี ลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงคร์ ะดับ “ผาํ น ” ขึ้นไป
5. ผ๎ูเรยี นตอ๎ งเขา๎ รวํ มกิจกรรมพฒั นาผ๎เู รยี นและได๎รับการตดั สินผลการเรยี น “ ผาํ น” ขน้ึ ไป

เกณฑ์การจบระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
1. ผู๎เรียนรายวิชาพ้ืนฐานและรายวิชาเพ่ิมเติม จานวน 81 หนํวยกิต เป็นรายวิชาพ้ืนฐาน

จานวน 41 หนํวยกติ และรายวชิ าเพิ่มเติม จานวนไมํน๎อยกวาํ 36หนํวยกิต
2. ผู๎เรยี นต๎องได๎หนํวยกิตตลอดหลักสูตร ไมํน๎อยกวํา 77 หนํวยกิต เป็นรายวิชา พ้ืนฐาน 41

หนํวยกิตและรายวชิ าเพิม่ เติม ไมํน๎อยกวํา 36 หนํวยกิต
3. ผเู๎ รียนตอ๎ งมีผลการประเมนิ การอําน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน ระดับ “ ผําน ” ขน้ึ ไป
4. ผ๎ูเรียนต๎องเข๎ารํวมกิจกรรมพัฒนาผ๎ูเรียน และได๎รับการตัดสินผลการเรียน “ผําน”

ทุกกิจกรรม

240

หลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นบ้านตรวจ
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๒

ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ – ๖
(ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๑)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

โรงเรียนบ้านตรวจ อาเภอเมืองศรีณรงค์ จงั หวดั สรุ ินทร์
สานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต ๓

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ


Click to View FlipBook Version