The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือฝึกอบรมหลักสูตรแนวทางการเป็นพี่เลี้ยง Vision Zero

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chalikor Pasertadisor, 2022-04-06 02:58:56

คู่มือฝึกอบรมหลักสูตรแนวทางการเป็นพี่เลี้ยง Vision Zero

คู่มือฝึกอบรมหลักสูตรแนวทางการเป็นพี่เลี้ยง Vision Zero

เปดิ สไลดท์ ี่ 111

อธิบาย
สิ่งอำนวยความสะดวกในการผลิต เครื่องจักร และสถานที่ทำงานที่ปลอดภัย เป็นสิ่งจำเป็นใน

การทำงานที่ปราศจากอบุ ตั ิเหตุ ท้งั นี้ตอ้ งพจิ ารณาถงึ ผลกระทบต่อสุขภาพอนามยั ของผทู้ ำงานด้วย
กลยุทธ์ที่ใช้ได้ผลในเรื่องอาชีวอนามัย และความปลอดภัย ประกอบด้วยมาตรการด้านเทคนิค

ด้านองค์กรและด้านบุคคล (Technical - Organizational - Personal Measures) มาตรการด้าน
เทคนคิ เปน็ เร่อื งทต่ี ้องนำมาพจิ ารณากอ่ นเร่ืองอ่ืนๆ

การดูแลบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance) เครื่องจักร อุปกรณ์ สิ่งอำนวย
ความสะดวก และสถานที่ทำงานที่เป็นอยู่ในงานประจำวัน ให้ได้มาตรฐานอาชีวอนามัย
และความปลอดภัย ผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย และความปลอดภัยของผู้ทำงานก็จะลดน้อยลงจนถึง
ไม่มี ขณะเดียวกันนวัตกรรม และเทคโนโลยีเกิดขึ้นใหม่ตลอดเวลา การดัดแปลงแก้ไขเครื่องจักร
อุปกรณ์ต่าง ๆ ให้ทันสมัยสอดรับกับการเปลี่ยนแปลง หรือการนำเครื่องจักร อุปกรณ์ใหม่ ๆ เข้ามานั้น
การพจิ ารณาเรอ่ื งความปลอดภัย และบูรณาการเข้าไปในกระบวนการจัดซ้ือจดั จ้างเปน็ ส่งิ สำคัญ ท่จี ะทำ
ให้เคร่อื งจกั รถูกส่งมอบพร้อมกับอปุ กรณค์ วามปลอดภยั และคู่มือความปลอดภยั ของเครอ่ื งจกั รนน้ั ๆ
เปิดสไลดท์ ี่ 112

อธิบาย แจก worksheet กฎขอ้ ที่ 5
ให้ผู้เรียนเขียนเป้าหมายที่ต้องการบรรลุ การพัฒนาแผนงาน หรือโปรแกรมการจัดการ

อาชีวอนามัยและความปลอดภัย การสนับสนุน/ผู้มีส่วนร่วม และกำหนดเสร็จลงใน worksheet ที่
แจกให้ ใช้เวลาประมาณ 10 นาที สุ่มเลือกผู้เรียน 2 - 3 คน ให้บอกเล่าสิ่งที่เขียนลงใน worksheet
มาไลเ่ รยี งแนวทางของ Vision Zero ทแ่ี นะนำผู้บร1หิ 9า7รสำหรับกฎขอ้ ท่ี 5

เปิดสไลด์ท่ี 113

อธิบาย กฎขอ้ ท่ี 5 มี 3 ขอ้
ข้อท่ี 5.1 ของกฎทองข้อ 5 สถานประกอบกิจการมีการดำเนินการตามมาตรฐานความปลอดภยั ท่ีกำหนด
เก่ียวกบั การออกแบบโครงสร้าง อาคาร สถานที่ การวางผัง การตดิ ตัง้ อปุ กรณ์ เคร่ืองมอื เครอ่ื งจักร และ
ส่งิ อำนวยความสะดวกอื่น ๆ รวมทั้งการจัดซื้อ/จัดจ้าง

เปิดสไลดท์ ่ี 114

อธิบาย
การควบคุมกำกับดูแลเครื่องจักร อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกในการทำงานตั้งแต่การ

ออกแบบ และการจัดซื้อจัดจ้างเป็นการดำเนินการป้องกันทางวิศวกรรมที่ต้นทาง ซึ่งเป็นสิ่งที่ดีที่สุด
ดังนั้นการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะหรือเงื่อนไขด้านความปลอดภัย และสุขภาพอนามัยในการจัดซ้ือ
จัดจ้างเครื่องจักร อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกในการทำงาน รวมถึงการจัดจ้างงานผู้รับเหมา

ควรบรู ณาการเขา้ ไปในทกุ กระบวนการในการจดั ซอื้ จัดจา้ ง

สถานประกอบกิจการส่วนใหญ่ท่ีมีระเบียบปฏิบัติในการจัดซื้อจัดจ้างเดิมอยู่แล้ว เพียงใส่
ข้อกำหนดเพิ่มเติม เช่น สารเคมีที่ซื้อทุกตัวต้องมีเอกสารความปลอดภัย (SDS) อุปกรณ์ไฟฟ้าทุกชนิด
ต้องมี Test Mark หรือมาตรฐานความปลอดภัย หรืออย่างน้อย มอก. เครื่องจักรควรมีแปลน
คู่มือปฏิบัติงานและคู่มือบำรุงรักษา หรือกรณีจัดจ้างผู้รับเหมาที่ให้บริการงานในที่อับอากาศต้องผ่าน

การอบรม 4 ผู้ งานไฟฟ้าตอ้ งไดร้ บั การอบรมตามกฎหมาย เปน็ ตน้

ขึ้นมาใหกมร่ ณแลที ะ่ีสอถอากนแปบระบกใหอบ้คกริจอกบาครลทุมี่ไมขม่้อีรกะำเหบนียบด1คป9ว8ฏาิบมัตปใิ นลอกดารภจัยัดแซล้ือะจอัดาจช้าีงวออนาาจมตัย้อไงวพ้ดฒั ้วนยา หรือเขียน
การจัดซื้อ

จดั จ้างทเี่ ปน็ ระบบมีระเบยี บจะทำให้เกิดความเป็นธรรมควบคู่ไปกับความปลอดภยั ของสถานประกอบกจิ การ

เปิดสไลดท์ ่ี 115

อธิบาย
นอกจากการกำหนดคุณลักษณะหรือเงื่อนไขด้านความปลอดภัย และสุขภาพอนามัยในการ

จดั ซือ้ จัดจ้างเคร่ืองจักร อปุ กรณ์ และสง่ิ อำนวยความสะดวกในการทำงาน และการจดั จา้ งผูร้ ับเหมาแล้ว
สถานประกอบกิจการควรระบุเงื่อนไขเรื่องการประเมินความเสี่ยงของกิจกรรมงานไว้ในขั้นตอนการ
จัดซื้อจัดจ้างดว้ ย

มีการทำประเมินความเสี่ยง ได้รับการทบทวนและอนุมัติโดยฝ่ายความปลอดภัย ฯ หรือฝ่ายที่
เก่ยี วขอ้ ง และนำผลการประเมนิ ความเสีย่ งนั้นมาพจิ ารณาก่อนดำเนินการจดั ซ้ือ/จัดจา้ ง
เปดิ สไลด์ท่ี 116

อธบิ าย
ในกรณีที่มีการจัดซื้ออุปกรณ์และเครื่องจักรใหม่ ระบุเป็นข้อกำหนดให้บริษัทผู้ผลิต หรือ

บรษิ ัทผ้จู ัดจำหนา่ ยเคร่อื งจกั รจะต้องจัดทำ หรือจัดหาและสง่ มอบคู่มอื ปฏิบตั ิงานกับเครอื่ งจักร และการ
บำรงุ รักษาเครอ่ื งจกั ร

กรณีที่ซื้อเครื่องจักรเก่าหรือที่มีการใช้งานมาแล้ว กำหนดไว้ในใบจัดซื้อจัดจ้างให้ผู้จำหน่าย
เครื่องจักรต้องจัดหา และส่งมอบคู่มือปฏิบัติงานกับเครื่องจักร และการบำรุงรักษาเครื่องจักรอย่าง
ปลอดภัย หากผู้จำหน่ายไม่สามารถจัดหาคู่มือแรกเริ่มที่มากับเครื่องจักรได้ อย่างน้อยผู้จำหน่ายควรมี
การให้วิศวกรเคร่ืองจักรท่ีมีความรู้ความชำนาญในการทำงานของเครือ่ งจักรชนิดนั้น ๆ พัฒนาคู่มือการ
ปฏบิ ตั ิงานขน้ึ มาโดยครอบคลุมความปลอดภยั ในการทำงานดว้ ย

199

เปิดสไลดท์ ี่ 117

อธบิ าย
ระเบียบปฏิบัติโดยทั่วไป จะระบุบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานไว้อยู่แล้ว

ในกรณีของระเบียบปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างนี้ก็เช่นกัน สถานประกอบกิจการอาจระบุบุคคล หรือคณะ
บุคคลที่มีความรู้ความเขา้ ใจ หรือผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัย ฯ เป็นคณะกรรมการในการจัดซื้อ/จดั
จา้ งทเ่ี กี่ยวขอ้ ง เช่น

• จปว./พยาบาลอาชีวอนามัย/แพทย์ประจำบริษัท ในเรื่องการจัดจ้างการตรวจสุขภาพตาม
ความเส่ยี ง

• จปว./วิศวกรความปลอดภัยในเรื่องการจัดซื้ออุปกรณ์ เครื่องจักร การจัดจ้างงานปรับปรุง
ก่อสร้างตอ่ เตมิ อาคาร เป็นตน้

• ฝ่ายความปลอดภัย ฯ ทบทวนว่ามกี ารช้ีบ่งและประเมนิ ความเสย่ี ง และเสนอขอ้ คดิ เห็นก่อน
ดำเนินการ และสนับสนุน หรอื ให้คำแนะนำทเี่ กี่ยวข้องกับการฝึกอบรมด้านความปลอดภัย ฯ
แกฝ่ ่ายผู้ใชห้ รือผู้ทอ่ี อกใบจัดซื้อ/จดั จ้าง เป็นต้น

เปิดสไลด์ท่ี 118

อธิบาย
การจัดซื้อเครื่องจักร และอุปกรณ์ต้องสอดคล้องกับกฎระเบียบ และมาตรฐานด้านความ

ปลอดภัยที่เกี่ยวข้อง และมีเครื่องหมายหรือเอกสารรับรองด้านความปลอดภัยจากหน่วยงานที่ให้การ
รับรอง ในการนี้สถานประกอบกิจการควรต้องระบุในระเบียบปฏิบัติการจัดซื้อ/จัดจ้างว่าเครื่องจักร
และอุปกรณ์จะต้องได้รับการรับรองมาตรฐาน200หรือได้รับการรับรองมาตรฐานความปลอดภัย
หรือ Safety Test Mark อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง เช่น UL, FM, CE, TUV, VDE, DIN, NEC,
JIS, SA, ETI, ETL, TIS เป็นต้น

เปิดสไลดท์ ่ี 119

อธิบาย กฎขอ้ ท่ี 5 มี 3 ขอ้
ข้อที่ 5.2 ของกฎทองข้อ 5 การปฏิบัติการประจำวันในหน่วยผลิต หรือกับเครื่องจักร

และอุปกรณ์ ข้าพเจ้าดูแลใหแ้ นใ่ จว่ามกี ารใชง้ านเครื่องปอ้ งกนั อนั ตรายท่ีทำงานได้อยา่ งนา่ เชอ่ื ถือ
เปิดสไลด์ที่ 120

อธบิ าย
การทบทวน ตรวจตรา ตรวจสอบความปลอดภัยของอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักรต่าง ๆ เป็นประจำ
และสม่ำเสมอ มคี วามจำเปน็ และสำคัญ ทำใหเ้ ราทราบถึงสภาพความพร้อม และประสทิ ธิผลการใช้งาน
ซงึ่ กระทบต่อท้งั ต้นทนุ ผลการดำเนินงาน และความปลอดภยั ในการทำงานทัง้ โดยตรง และโดยออ้ ม
สถานประกอบการที่ใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักรต่าง ๆ ส่วนใหญ่ที่มีแผนการตรวจสอบ หรือแผน
บำรุงรักษา และกำหนดเวลาอยู่แล้ว อาจปรับปรุงโดยเพิ่มเติมหัวข้อการตรวจสอบระบบความปลอดภยั
ของอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องจักรเข้าไป หรือแผนงาน การตรวจตรา และตรวจสอบโดยให้ครอบคลุม
ระบบความปลอดภัยของอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักรในคราวเดียวกัน การมีแบบตรวจ และกำหนด
รายการตรวจความปลอดภัยหลัก ๆ ของอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร จะทำให้ดำเนินการสะดวก
และงา่ ยตอ่ ผ้ปู ฏิบัตงิ าน

201

เปดิ สไลดท์ ี่ 121

อธิบาย
ในการจัดซื้อเคร่ืองจกั ร อุปกรณเ์ ข้ามาใหม่เพื่อใช้งาน ตามท่ีสถานประกอบกิจการได้กำหนดให้

ผู้ผลิต หรือผู้จัดจำหน่ายจัดหา หรือจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน และส่งให้สถานประกอบกิจการ
เมื่อทำการส่งมอบอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร นั้นสถานประกอบกิจการได้มีการนำข้อมูลการทำงาน
และความปลอดภัยของอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักรนั้น ๆ ไปบรรจุในข้อกำหนด กระบวนการทำงาน
หรือวิธีปฏิบัติงาน เช่น Process Instruction (PI) Work Instruction (WI) หรือ คู่มือการทำงาน
(Manual) เปน็ ต้น เพ่ือสอื่ สาร และสอนใหแ้ ก่ผู้ปฏิบัตงิ านให้ทำงานไดอ้ ยา่ งถูกต้องปลอดภัย
เปดิ สไลด์ท่ี 122

อธิบาย
การตรวจสอบสภาพการทำงาน เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัย

ก่อนลงมือปฏิบัติงานประจำวัน เป็นหน้าที่ของจป.หัวหน้างาน และผู้บริหารหน่วยงานในฐานะ
จป.บริหาร มีหน้าที่กำกบั ดูแล จป.ทกุ ระดบั ในบงั คบั บัญชา

สถานประกอบกิจการอาจกำหนดแผนการตรวจความปลอดภัย เช่น พื้นที่ รายการตรวจ แบบ
ตรวจผู้รับผิดชอบ ความถี่ บันทึกผลการตรวจ รายงานการตรวจ และการแก้ไขปรับปรุง เป็นต้น
และมอบหมายผรู้ บั ผิดชอบ ในการตรวจความปลอดภยั ของแต่ละพื้นท่ีทำงานท่ีตนรับผดิ ชอบ และจัดให้
มรี ะบบการบนั ทึกผลการตรวจด้วย เพ่อื ใหส้ ามารถตดิ ตามการแกไ้ ขปรับปรงุ จนเสรจ็ สมบูรณ์

202

เปดิ สไลด์ที่ 123

อธิบาย
ความเสย่ี งอนั ตรายในทำงานกับเครื่องจักร เกิดข้ึนได้ขณะท่เี คร่ืองจักรทำงานปกติ หรือขณะทำ

การบำรุง รักษาเครื่องจักร การจัดทำขั้นตอน/วิธีการทำงานที่ถูกต้องสำหรับงานบำรุงรักษา งาน
ซ่อมแซม และงานแกป้ ญั หาเคร่ืองจักรไวอ้ ย่างชัดเจน กจ็ ะสามารถป้องกันอุบตั ิเหตุได้ ทำใหผ้ ู้ปฏิบัติงาน
มีความปลอดภยั ตัวอย่าง เช่น การทำขั้นตอนการปิดล็อคและแขวนป้าย (Lock-out/Tag-out) เพื่อตัด
แยกพลงั งานหรือไฟฟา้ ของอปุ กรณ์ เครือ่ งจักร การปดิ ปมุ่ หยุดเครือ่ งทุกครัง้ เพื่อเคลียรแ์ จม เป็นตน้
เปิดสไลด์ที่ 124

อธิบาย
สถานประกอบกิจการมีการจัดเสน้ ทางการจราจร ทาสตี เี ส้นแบง่ ชอ่ งสัญจรต่าง ๆ ภายในสถาน

ประกอบกิจการชัดเจน และมีการติดตั้งป้ายสัญญาณจราจรเพื่อความปลอดภัย เช่น ทางเท้า
ทางข้ามถนน เส้นทางวิ่งของรถยก เส้นทางวิ่งรถบรรทุก เส้นทางเดินรถทั่วไป ช่องจอดรถ ป้ายกำหนด
ความเร็ว เป็นต้น

203

เปิดสไลดท์ ่ี 125

อธิบาย
ความเตรียมพร้อมเรื่องการป้องกันและระงับอัคคีภัยเป็นสิ่งสำคัญและ สิ่งจำเป็นต่อทุกสถาน

ประกอบกิจการ ปัจจุบันสถานประกอบกิจการหลายแห่งมีแผนฉุกเฉิน เพื่อป้องกัน รับมือ และบรรเทา
เหตุ นอกจากการมีแผนงานแล้ว สถานประกอบกิจการควรต้องมีการดำเนินการเพื่อให้แน่ใจในความ
ปลอดภัยโดยกำหนดเส้นทาง และจัดทำแผนผังเส้นทางหนีไฟ ไม่มีการกีดขวางประตูทางออกฉุกเฉิน
และเสน้ ทางอพยพหนีไฟ มีการติดตัง้ อุปกรณแ์ จ้งเหตุ อุปกรณ์เตอื นภยั และอปุ กรณด์ ับเพลงิ ชนิดต่าง ๆ
อยา่ งเหมาะสม และเข้าถงึ ไดง้ า่ ย มกี ารตรวจตราและตรวจสอบอุปกรณเ์ หล่าน้วี า่ พรอ้ มใช้งานตลอดเวลา
และมกี ารบนั ทกึ ผลการตรวจสอบ
เปิดสไลดท์ ่ี 126

อธิบาย กฎข้อท่ี 5 มี 3 ขอ้
ข้อที่ 5.3 ของกฎทองข้อ 5 เราดูแลให้แน่ใจว่าหน่วยผลิตของเรา เครื่องมือ เครื่องจักร

และอุปกรณ์ ไม่กอ่ ให้เกดิ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ หรอื มอี ันตรายน้อยทส่ี ุด

204

เปิดสไลด์ที่ 127

อธบิ าย
สภาพแวดล้อมในการทำงาน เช่น ฝุน่ สารเคมอี ันตราย เสียงดงั และการส่นั สะเทือน ได้รับการ

ตรวจวัด มีมาตรการควบคุมและป้องกัน เพื่อลดอันตรายลงให้น้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้ รวมทั้งทบทวน
มาตรการดังกล่าว เปน็ ระยะ ๆ อยา่ งสม่ำเสมอ
สถานประกอบกิจการดำเนินการด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน ดังน้ี

• มแี ผนการตรวจวัดสภาพแวดล้อมในการทำงานสอดคล้องกับผลการประเมินความเสย่ี ง
• มีการตรวจวดั สภาพแวดล้อมตามแผนงาน และบันทึกผลการตรวจวัด
• มีการวิเคราะห์ผลการตรวจวดั สภาพแวดล้อมและดำเนินมาตรการควบคมุ ป้องกัน
• มีการทบทวนมาตรการควบคุมป้องกัน อย่างสม่ำเสมอและมีการตรวจสอบ หรือตรวจ

ตดิ ตาม
เปดิ สไลดท์ •่ี 1ม2ีก8ารรายงานผลการตรวจสภาพแวดล้อมในการทำงานตามกฎหมาย

อธิบาย
มีการตรวจสอบประสิทธิผลของหน่วยลดการระบายมลพิษ เช่น ระบบการกำจัดฝุ่นได้รับการ

บำรุงรักษาเป็นระยะ ๆ อย่างสม่ำเสมอ สถานประกอบกิจการดำเนินมาตรการเพื่อควบคุม และป้องกัน
อันตรายโดย

• มีแผนการบำรุงรกั ษาระบบควบคุมหรือระบบป้องกันต่างๆ
• สมมีวำ่ิธเีกสามรอปฏิบัติหรือมีการตรวจสอบปร2ะ0ส5ิทธิภาพของมาตรการควบคุมและป้องกันอย่าง

เปิดสไลด์ท่ี 129

อธิบาย
สถานประกอบกิจการให้ความสนใจเกี่ยวกับการออกแบบด้านการยศาสตร์ของสถานที่ทำงาน

และอุปกรณ์ การทำงาน เช่น แสงสว่างที่เพียงพอ การเคลื่อนย้ายสิ่งของตามหลักการยศาสตร์ ท่าทาง
การน่งั ทีถ่ ูกตอ้ ง และการหลีกเล่ยี งทา่ ทางการทำงานที่ไมเ่ หมาะสม เปน็ ตน้

ในเรื่องการจัดสภาพการทำงานใหเ้ ปน็ ไปตามหลักการยศาสตร์ เช่น จัดหาและใช้เครื่องจักรกล
หรืออุปกรณ์เพื่อช่วยทุ่นแรงในการทำงานยกย้ายโดยใช้กำลังคน จัดสถานีทำงานที่มีแสงสว่างเพียงพอ
ไม่มแี สงจา้ หรอื แสงสะท้อน หรือจัดลักษณะงาน/สถานท่ีทำงานใหเ้ หมาะสมกับผปู้ ฏิบัตงิ าน เปน็ ตน้
เปิดสไลด์ที่ 130 และ สไลดท์ ี่ 131

อธิบาย กฎทองข้อที่ 5 มี 3 ขอ้ ใหญ่
อ่าน และประเมินแต่ละข้อโดยใส่คะแนน 1 ช่องสีตามที่ปฏิบัติปัจจุบัน เมื่อทำครบทั้ง 3 ข้อ

ใหญ่แล้ว รวมคะแนนทั้งหมดตั้งแต่ข้อ 5.1 ถึง 5.3 ดูว่าแต่ละช่องสีได้คะแนนเท่าไร ใช้เวลา 5 นาที
เสรจ็ แล้วค้างไว้ พดู กฎทองขอ้ ท่ี 6 ตอ่

206

เปิดสไลดท์ ี่ 132

อธบิ าย
เป็นความรับผิดชอบของผู้บริหารระดับสูงสุดของสถานประกอบกิจการที่จะต้องทำให้แน่ใจว่า

คำอธิบายโดยละเอียดเกี่ยวกับข้อกำหนดคุณสมบัติสำหรับทุกตำแหน่งในองค์กรของคุณได้ถูกจัดทำขึ้น
และผู้ปฏิบตั ิงานทกุ คนสามารถที่จะปฏิบตั ิหน้าท่ีในตำแหนง่ งานของตน ความรคู้ รึ่งชวี ิตนัน้ ส้ันลงเรื่อย ๆ
และทักษะความชำนาญของคนงานจำเป็นต้องได้รับการทบทวนเป็นระยะอย่างสม่ำเสมอการ
จัดฝกึ อบรม และการใหก้ ารศกึ ษาอยา่ งต่อเน่ืองเปน็ ส่ิงท่ตี ้องกระทำ
เปิดสไลด์ท่ี 133

อธบิ าย
ถึงแม้ว่าปัจจุบันกิจกรรมงานบางอย่างถูกแทนที่ด้วยเทคโนโลยีและเครื่องจักรก็ตาม บุคลากร

นับเป็นทรัพยากรที่มีค่ามากที่สุดในสถานประกอบกิจการ ต้องได้รับการพัฒนาความรู้ความสามารถ
และทักษะ เพอื่ ให้มีองคค์ วามรู้ที่จะรับมือกบั การเปล่ียนแปลงใหม่ ๆ ทางเทคโนโลยี และนวตั กรรม

ดังนั้นการลงทุนในการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะความรู้ความสามารถของผู้ปฏิบัติงาน จึงมี
ความจำเป็นสำหรบั สถานประกอบกจิ การ

207

เปิดสไลดท์ ่ี 134

อธิบาย แจก worksheet กฎขอ้ ที่ 6
ให้ผู้เรียนเขียนเป้าหมายที่ต้องการบรรลุ การพัฒนาแผนงาน หรือโปรแกรมการจัดการ

อาชีวอนามัย และความปลอดภัย การสนับสนุน/ผู้มีส่วนร่วม และกำหนดเสร็จลงใน worksheet
ที่แจกให้ ใชเ้ วลาประมาณ 10 นาที

สุ่มเลือกผู้เรียน 2 - 3 คน ให้บอกเล่าสิ่งที่เขียนลงใน worksheet มาไล่เรียงแนวทางของ
Vision Zero ท่แี นะนำผ้บู รหิ ารสำหรบั กฎข้อที่ 6
เปิดสไลด์ท่ี 135

อธิบาย กฎข้อที่ 6 มี 4 ขอ้
ข้อที่ 6.1 ของกฎทองข้อ 6 กำหนดคุณวุฒิ/คุณสมบัติ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับการ

ปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับเทคโนโลยีการผลิต เพื่อให้มีความปลอดภัย ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
และไม่ให้งานหยดุ ชะงกั

208

เปดิ สไลดท์ ่ี 136

อธิบาย
มีการพิจารณาเป็นประจำเกี่ยวกับการกำหนดด้านคุณวุฒิ/คุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงานให้

เหมาะสมกบั ลกั ษณะงานในสถานประกอบกจิ การ
สถานประกอบกิจการได้มีการกำหนดคุณวุฒิ/คุณสมบัติของผู้ปฏบิ ตั งิ าน เช่น

• การระบุคุณวุฒิ/คุณสมบัติ/ความสามารถของผู้สมัครงานตรงกับงานอาชีพหรือตำแหน่งงาน ใน
การประกาศรับสมัครงานทง้ั ภายใน และภายนอก

• คณุ วุฒิการศกึ ษา ความร้คู วามสามารถ เทยี บกับรายละเอียดและลกั ษณะของงาน (Job Details
หรือ Job Description)

เปดิ สไลดท์ ี่ 137

อธิบาย
เมื่อมีการจ้างผู้ปฏิบัติงานใหม่ ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านคุณวุฒิ/คุณสมบัติตามข้อ 6.1.1

ซงึ่ ไดร้ บั การทบทวนอยา่ งเป็นระบบ รวมทงั้ มีการเตรียมแผนการอบรมให้กบั ผู้ปฏิบัตงิ านใหมด่ ว้ ย
• สถานประกอบกิจการควรต้องมีระบบในการทบทวนคุณวุฒิ/คุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงานว่า
ยังคงเปน็ ปัจจุบนั และสอดคล้องกบั การเปล่ยี นแปลงอยู่ หรอื ไม่
• ในการจ้างงานผู้ปฏิบัติงานใหม่ ควรต้องเป็นไปตามคุณวุฒิ/คุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงานท่ี
กำหนดไว้
• ฝจึกัดอใหบ้ผรมู้ปหฏริบือัตติงาามนม/าบตุครฝลึกาอกบรใรหมมท่ไก่ี ดำ้รหั2บน0กด9าสรำฝหึกรอบั บพรนมักหงาลนักใสหูตมร่ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องตามแผน

เปิดสไลดท์ ่ี 138

อธบิ าย
ผูป้ ฏบิ ตั งิ านที่กำลงั จะพ้นหน้าท่ีมีการสอนงานและสง่ มอบงานให้แก่ผู้ทร่ี ับชว่ งการปฏิบัติงานต่อ

จากเขาเพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ราบรื่น และลดสภาวะเครียดของผู้รับช่วงงาน
สถานประกอบกจิ การควรดำเนนิ การ ดังน้ี

• มีระบบ หรือแผนงานในการพัฒนาบุคลากรเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเปลี่ยนแปลงในอนาคต
(Succession Plan)

• มีระบบ บัญชรี ายการ (List of work) หรือแผนงานในการส่งมอบ หรอื สง่ ตอ่ การรับชว่ งงานของ
บุคลากร เมื่อมีการเปลี่ยนงาน ทั้งในการด้านการเรียนรู้งานโดยตรง การอบรม และคู่มือหรือ
เอกสาร

• จัดให้มีการเรียนรู้แบบเงา (shadow) ก่อนหรือระหว่างส่งมอบงาน เพื่อให้แน่ใจว่างานถูกส่ง
มอบอยา่ งราบรื่น และมคี วามต่อเน่ือง

• มรี ายการบัญชสี ง่ิ ทตี่ ้องทำ กำหนดการงานที่ตอ้ งสง่ ต่อ และการตดิ ตามผล
เปิดสไลดท์ ่ี 139

อธิบาย
ข้าพเจ้าวิเคราะห์โอกาสความเป็นไปได้และเสนอให้ผู้ปฏิบัติงานของข้าพเจ้าได้รับการเรียนรู้

เพิ่มเติม/ต่อเนื่อง รวมทั้งการเพิ่มคุณวุฒิคุณสมบัติของเขา ให้โอกาสผู้ปฏิบัติงานของข้าพเจ้า
ได้รับการศึกษาเพิ่มเติม/ต่อเนื่อง ในการน้ีสถานประกอบกิจการอาจจัดทำโครงการพัฒนาบุคลากรทุก
ระดับเป็นลายลักษณ์อักษร และมีแผนงานในการ2พ10ัฒนาผู้ปฏิบัติงาน/บุคลากร และมีการดำเนินการ
พัฒนาบุคลากรตามแผนงาน เช่น การศึกษาต่อเนอื่ ง การศกึ ษาเพม่ิ เตมิ และอ่นื ๆ

เปดิ สไลดท์ ่ี 140

อธบิ าย กฎขอ้ ท่ี 6 มี 4 ขอ้
ข้อที่ 6.2 ของกฎทองข้อ 6 มีการลงทุนการอบรมอย่างเป็นระบบและการศึกษาเพิ่มเติม/

ต่อเนอ่ื งของผ้ปู ฏบิ ัตงิ าน รวมถงึ สนบั สนุนใหผ้ ปู้ ฏบิ ัตงิ านพฒั นาตนเองเพิ่มเติมด้วย
เปดิ สไลด์ท่ี 141

อธิบาย
เรามกี ารสอบถามความต้องการในการฝึกอบรมและการศึกษาเพมิ่ เติม/ต่อเนื่องของผู้ปฏิบัติงาน

เป็นประจำ และนำไปจัดเตรยี มแผนการพัฒนาบุคลากรตอ่ ไป
ก่อนการจดั เตรียมแผนในการพัฒนาบุคคล ส่ิงทีส่ ถานประกอบกจิ การควรต้องดำเนินการ

• จัดทำมาตรฝกึ อบรม (Training Matrix)
• ดำเนินการในการสำรวจความต้องการในการฝึกอบรม (Training needs) เป็นประจำ

และนำผลการสำรวจความต้องการในการฝึกอบรมทีเ่ ปน็ ปจั จบุ ันมากทีส่ ุด ไปจัดทำแผนงาน
พฒั นาบุคลากร

211

เปดิ สไลด์ท่ี 142

อธิบาย
ข้าพเจ้าได้ใช้ประโยชน์จากหลักสูตรการอบรมและการศึกษาเพิ่มเติม/ต่อเนื่อง ที่จัดโดย

สถาบนั การศกึ ษา รวมทง้ั หนว่ ยงานภาครัฐหรอื เอกชน โดยสง่ ผปู้ ฏิบตั งิ านไปเขา้ อบรมเปน็ ประจำ ในกรณี
ที่มีหลักสูตรการอบรมใหม่ ๆ ที่ได้รับการพัฒนาโดยหน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน ซึ่งสถาน
ประกอบกิจการรับทราบ ได้ส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานไปเข้าอบรมหลักสูตรต่าง ๆ เหล่านั้นเพิ่มเติม
หรือศึกษาต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ และทักษะของผู้ปฏิบัติงาน หรือสถานประกอบกิจการอาจ
จัดทำโครงการส่งเสริมการศึกษาต่อเน่ืองสำหรบั ผูป้ ฏิบัตงิ าน
เปดิ สไลด์ท่ี 143

อธบิ าย
ข้าพเจ้าได้ใช้ประโยชน์จากข้อเสนอของผู้ผลิต ผู้จำหน่าย และองค์กรต่างๆ ในการศึกษา

เพิ่มเติม/ต่อเนื่อง รวมทั้งข้าพเจ้ายังได้ใช้ช่องทางสื่อใหม่ ๆ (เช่น อินเทอร์เน็ต การเรียนรู้ผ่านส่ือ
อิเลก็ ทรอนกิ ส์) เพ่อื ใหไ้ ด้ขอ้ มูลทีท่ ันสมยั อยู่ตลอดเวลา

• สถานประกอบกิจการอาจทำข้อตกลงในการแบ่งปันข้อมลู ความร้จู ากผู้ผลิต ผ้จู ำหน่าย และ
องค์กรตา่ ง ๆ เพ่อื ให้ผปู้ ฏบิ ตั งิ านไดร้ บั ความรู้ใหม่ ๆ และเป็นการศึกษาเพิม่ เตมิ

• สถานประกอบกิจการส่งเสริมผู้ปฏิบัติงานให้สามารถพัฒนาตนเองโดยการใช้ประโยชน์จาก
สื่อหรือช่องทางใหม่ ๆ ในการรับข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย เพื่อเรียนรู้ได้ตลอดเวลา เช่น ส่ือ
อิเล็กทรอนิกส์ อินทราเน็ต แอพพลิเคช2ั่น12ตา่ ง ๆ เป็นต้น

เปดิ สไลด์ท่ี 144

อธบิ าย
ผู้บริหารให้ความสำคัญต่อคุณภาพของการอบรมหรือศึกษาเพิ่มเติม/ต่อเนื่อง ซึ่งมีเนื้อหา

หลกั สตู รท่มี ภี าคปฏิบตั ิรวมอยดู่ ว้ ย
ในการเรียนรู้หลักสูตรใหม่ ๆ โดยภาคทฤษฎี หรือการฟังบรรยายเพียงอย่างเดียวนั้น อาจไม่

เพียงพอในการพัฒนาองค์ความรู้ของผู้เรียนให้ได้ตามความมุ่งหมาย ดังนั้นในการเรียนรู้ หรือศึกษา
เพิ่มเติมของผู้ปฏิบัติงาน ควรครอบคลุมภาคปฏิบัติ เช่น การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ (workshop)
การมอบหมายงานเป็นกลมุ่ การทำโครงการ และการนำเสนอ เปน็ ต้น
เปดิ สไลดท์ ี่ 145

อธิบาย กฎขอ้ ที่ 6 มี 4 ข้อ
ข้อที่ 6.3 ของกฎทองข้อ 6 มีการนำสมรรถนะใหมท่ ีไ่ ด้รบั หรือพัฒนาเพ่ิมเตมิ ของผู้ปฏิบัติงาน

มาพจิ ารณาเพอ่ื มอบหมายหนา้ ทีค่ วามรับผดิ ชอบใหมท่ เ่ี หมาะสม

213

เปดิ สไลดท์ ่ี 146

อธิบาย
หลังจากที่ผู้ปฏิบัตงิ านของข้าพเจ้าเข้ารบั การอบรมหรือศึกษาเพิ่มเติม/ต่อเน่ืองแล้ว ข้าพเจ้าจะ

สอบถามเกีย่ วกบั ความรแู้ ละความคิดที่ไดร้ บั มาใหม่
การที่ผู้ปฏิบัติงานคนหนึ่ง ๆ ไปรับการอบรมความรู้เพิ่มเติมนับเป็นโอกาสที่ดีสำหรับบุคคลนั้น

การรับความรู้ดังกล่าว และนำมาแบ่งปันให้เพื่อนร่วมงานหรือผู้ปฏิบัติงานคนอื่น ๆ นอกจากเป็นการ
พัฒนาความรู้แล้ว ยังจะเสริมสร้างศักยภาพของบุคคลนั้น ๆ ด้วย ซึ่งอาจดำเนินการทั้งที่เป็นทางการ
และไมเ่ ปน็ ทางการโดย

• กำหนดเป็นแบบแผน หรือระเบียบปฏิบัติให้ผู้ปฏิบัติงานที่ไปรับการอบรม ศึกษาเพิ่มเติม
หรือต่อเน่อื ง ให้รายงาน หรือแบ่งปันความรทู้ ไี่ ดร้ ับตอ่ ผู้บงั คบั บัญชา เมื่อกลบั มาทำงาน

• ผู้บริหาร หรือหัวหน้าหน่วยงาน มีการดำเนินการ พูดคุย สอบถาม เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้
ความคดิ เหน็ ที่ผู้ปฏิบัติงานได้รบั จากการอบรม

• จัดให้มีช่องทางต่าง ๆ ในการแบ่งปันข้อมูลความรู้กับเพื่อนร่วมงานที่เกี่ยวข้องทราบ
เชน่ การจัดตาราง เวลาการนำเสนอ การนำเขา้ ในทป่ี ระชมุ ฯลฯ

เปดิ สไลด์ที่ 147

อธิบาย
ข้าพเจ้าหาโอกาสให้ผูป้ ฏิบัตงิ านทีไ่ ด้สำเร็จการศกึ ษาเพ่ิมเติม/ต่อเนือ่ งแล้ว สามารถนำส่ิงที่เขา

ได้เรียนรใ้มู นาฐถา่านยะทผอ้บู ดรใิหหาก้ รับอเาพจอื่ ทนำรแ่วบมบงาแนผดน้วหยรือจัดช2ว่ 1ง4เวลา (จัด session) เพ่ือให้ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านท่ีไปอบรม/
ศกึ ษาเพิ่มเติม นำส่ิงทีเ่ รียนรู้ หรอื ประสบการณ์มาถ่ายทอดให้เพ่อื นร่วมงานได้รบั ทราบ

เปิดสไลด์ที่ 148

อธิบาย
ข้าพเจ้าเชื่ออย่างยิง่ วา่ การศกึ ษาเพิม่ เติม/ตอ่ เนือ่ งนั้น เป็นสิ่งที่จำเป็นเพื่อทำให้ความปลอดภัย

และสุขภาพอนามยั ในสถานประกอบกิจการยังธำรงอยู่ในระดบั สงู ได้
การที่สถานประกอบกิจการมีโครงการพัฒนาบุคลากร ส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานให้ได้รับความรู้

ด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องรวมถึงด้านความปลอดภัย ฯ จะเป็นการเพิ่มพูนศักยภาพในการปฏิบัติงาน
ซึ่งอาจดำเนินการโดยการฝึกอบรม การสัมมนา การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ฯลฯ และมีการประเมินผล
การอบรม/ศึกษาเพ่มิ เติม
เปดิ สไลดท์ ่ี 149

อธบิ าย กฎขอ้ ท่ี 6 มี 4 ขอ้
ข้อที่ 6.4 ของกฎทองข้อ 6 ความรู้นำไปสู่ความปลอดภยั - เป็นเหตุผลทีส่ ำคัญในการสอนงาน

แกผ่ ้ปู ฏิบัตงิ านให้มีความรู้ ความเข้าใจ เพือ่ จะไดป้ ฏิบตั ิงานไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและปลอดภยั

215

เปดิ สไลด์ที่ 150

อธบิ าย
การสอนงานควรจัดให้สอดคล้องกับผู้เรียน โดยใช้รูปแบบการพูดคุยแลกเปลี่ยน มากกว่าการ

สอนแบบบรรยายอย่างเดียว และควรมีการจัดอบรมให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชาระดับบริหาร ในรูปแบบ
เดยี วกนั ดว้ ย

การสอนงานที่ได้ผลดนี ัน้ ต้องทำให้ผู้เรียนจดจำพร้อมๆ กับความเข้าใจซึ่งนอกจากการบรรยาย
และการให้ผู้เรียนอ่านแล้ว ควรให้มีเครื่องมืออื่น ๆ ประกอบการสอนงาน/อบรมด้วย เช่น รูปภาพ
การสาธิต (Demonstration) การแสดงความคิดเห็น (Discussion) และการทบทวนด้วยการให้ลงมือ
ปฏิบัติ หรือให้มีการเรียนระหว่างการปฏิบัติงานจริง (On the Job Training) และมีการประเมินผล
เพอื่ ใหแ้ น่ใจว่า ผปู้ ฏิบตั งิ านมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ปฏิบัตงิ านได้อย่างถกู ต้อง และปลอดภัย
เปดิ สไลด์ที่ 151

อธบิ าย
มีการนำความแตกต่างในเรื่องความรู้และทักษะด้านภาษาที่หลากหลายของผู้ปฏิบัติงานมา

พิจารณาในการสอนงานดว้ ย
• ในการฝึกอบรมหรือสอนงานแก่ผู้ปฏิบัติงานนั้น ควรคำนึงถึงความแตกต่างของบุคคลในด้าน
ต่าง ๆ (Diversity) ไม่ว่าจะเป็นด้านเชื้อชาติ ศักยภาพในการเรียนรู้ ความสามารถ ข้อจำกัด
ทางรา่ งกาย และอืน่ ๆ
• เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดทั้งต่อสถานประกอบกิจการและต่อผู้ปฏิบัติงาน การจัดทำหลักสูตร
การเรียนรู้ และการสอนงานควรเหมาะส21ม6กับศักยภาพในการเรียนรู้ มีความหลากหลายทาง
ภาษา วิธีการเหมาะสมกับสภาพร่างกาย หรือข้อจำกัดทางร่างกาย และสื่อหรือวิธีการท่ี
เหมาะสมกบั ความหลากหลายของผู้ปฏิบตั ิงาน

เปิดสไลดท์ ี่ 152

อธบิ าย
ขา้ พเจ้าตรวจสอบว่า ผูป้ ฏิบัตงิ านได้เขา้ ใจในเนื้อหาสาระของการสอนงาน โดยที่การสอนงานมี

การจดั ทำเปน็ รูปแบบเอกสาร เช่นเดียวกับการฝึกอบรม และการศกึ ษาเพม่ิ เติม/ตอ่ เน่ือง
สถานประกอบกจิ การมีการจัดทำหลักสตู รหรือสาระรายละเอยี ดของการสอนงาน โดยระบุวิธกี ารท่ีใช้ใน
การอบรม เช่น เอกสารประกอบ (อักษรและภาพ) การสาธิตด้วยภาพเคลื่อนไหว/ภาพนิ่ง การลงมือ
ปฏิบัติ ฯลฯ และควรมีเครื่องมือที่เหมาะสมเพื่อใช้ในการประเมินความรู้ และความเข้าใจของ
ผู้ปฏิบัตงิ าน เพอื่ ตรวจสอบ หรอื วัดระดบั ความรคู้ วามเขา้ ใจของผู้ปฏิบตั งิ านดว้ ย
เปดิ สไลด์ที่ 153 และสไลด์ท่ี 154

อธิบาย กฎทองข้อที่ 6 มี 4 ขอ้ ใหญ่
อ่าน และประเมินแต่ละข้อโดยใส่คะแนน 1 ช่องสีตามที่ปฏิบตั ิปัจจุบัน เมื่อทำครบทั้ง 3 ข้อใหญ่แลว้

รวมคะแนนท้ังหมดตงั้ แตข่ อ้ 6.1 ถึง 6.4 ดูว่าแตล่ ะช่องสไี ด้คะแนนเทา่ ไร
ใชเ้ วลา 5 นาที เสร็จแล้วคา้ งไว้ พดู กฎทองขอ้ ท่ี 7 ตอ่

217

เปิดสไลดท์ ี่ 155

อธบิ าย
การสร้างแรงจูงใจให้กับพนักงานเพื่อให้กระทำการอย่างปลอดภัย และมีสุขภาพดีเป็นหนึ่งใน

ความรับผิดชอบของผู้บริหารในภาวะการเป็นผู้นำที่สำคัญที่สุด สถานประกอบกิจการซึ่งแสดงความ
ช่นื ชมพนกั งานของตน และยงั ให้พนักงานมีส่วนร่วมด้านความปลอดภัย และสุขภาพภายในองค์กร เป็น
การแสดงจดุ ยืนในเรื่องทีม่ ีความสำคัญถึงความรู้ ความสามารถ และความคิดเปา้ หมายเพ่ือให้ทุกคนดูแล
เพ่อื นร่วมงานของตนเองเชน่ เดียวกับดูแลตัวเอง
เปิดสไลด์ท่ี 156

อธบิ าย

ทรัพยากรที่มีค่ามากที่สุดขององค์กร คือทรัพยากรมนุษย์หรือบุคลากร แม้ว่าปัจจุบันสถาน

ประกอบกิจการหลายแห่งจะนำเทคโนโลยี เครื่องกล หรือหุ่นยนต์เข้ามาทำงานแทนบางส่วน

หรือส่วนมาก นั่นไม่ได้แปลว่าจักรกลจะสามารถทำงานแทนบุคลากรของสถานประกอบกิจการได้

ท้งั หมด การปฏิบัตกิ ารก็ยังคงต้องอาศัยพนักงานเปน็ ผู้ควบคมุ กำกบั ดแู ล อำนวยการ บำรงุ รกั ษา ฯลฯ

ซึ่งงานเหล่านี้ยังคงต้องใช้ทักษะความรู้ ความสามารถของบุคคลในการรับรู้ ดำเนินการ ประมวลผล

ตอบสนองสิ่งต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ ซึ่งรวมไปถึงการค้นหาวิธีแก้ไขปัญหา ความขัดแย้ง และการมี

ปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับคนอื่น ที่เรียกว่า Soft skill เพราะทักษะเกี่ยวกับเรื่องงานมีการเปลี่ยนแปลงเสมอ

การลงทุนเพื่อพัฒนาบุคลากรให้รู้เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลง รวมถึงการให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วม

จึงมีความสำคัญ และจำเป็น และคุ้มค่า ที่จะทำให้สถานประกอบกิจการพร้อมรับมือกับความ

เปลีย่ นแปลงได้ 218

เปิดสไลดท์ ี่ 157

อธิบาย แจก worksheet กฎขอ้ ที่ 7
ให้ผู้เรยี นเขียนเปา้ หมายท่ตี ้องการบรรลุ การพฒั นาแผนงาน หรอื โปรแกรมการจัดการอา

ชวี อนามัยและความปลอดภัย การสนบั สนุน / ผู้มีส่วนรว่ ม และกำหนดเสรจ็ ลงใน worksheet ท่ี
แจกให้ ใช้เวลาประมาณ 10 นาที

สุ่มเลือกผู้เรียน 2 - 3 คน ให้บอกเล่าสิ่งที่เขียนลงใน worksheet มาไล่เรียงแนวทางของ
Vision Zero ท่แี นะนำผบู้ ริหารสำหรบั กฎขอ้ ที่ 7
เปดิ สไลดท์ ่ี 158

อธบิ าย กฎขอ้ ท่ี 7 มี 3 ข้อ
ข้อที่ 7.1 ของกฎทองข้อ 7 ข้าพเจ้าแสดงความชื่นชมต่อผู้ปฏิบัติงานในเรื่องที่เกี่ยวกับความ

ปลอดภัยและสขุ ภาพอนามัย และคาดหวงั วา่ ผใู้ ต้บงั คบั บญั ชาระดับบริหารและพนักงานอาวุโสทุกคนจะ
ทำเชน่ น้ันดว้ ย

219

เปดิ สไลด์ท่ี 159

อธบิ าย
ข้าพเจ้าให้ผู้ปฏิบัติงานของข้าพเจ้ามีส่วนร่วมในการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย

และสขุ ภาพอนามยั ในสถานประกอบกิจการ ขา้ พเจา้ ยกย่องชมเชยผูป้ ฏิบตั ิงานท่ีมีพฤติกรรมท่ีปลอดภัย
และว่ากลา่ วทันทเี มอ่ื มีพฤติกรรมทไ่ี มป่ ลอดภัย

การที่ผู้บริหารส่งเสริมให้พนักงานในสถานประกอบกิจการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจด้านความ
ปลอดภัย และอาชวี อนามัยทเี่ กี่ยวข้องกับพนักงานดว้ ยความจริงใจจะทำให้เกิดความไว้เนื้อเช่ือใจต่อกัน
การยกยอ่ งชมเชยพนักงานที่ประพฤติปฏิบตั ิดี และปลอดภยั จะสร้างต้นแบบท่ีดีให้กับพนักงานคนอื่น ๆ
ขณะเดียวกันการว่ากล่าวตักเตือนพฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัยทันทีก็จะเป็นการป้องปรามพฤติกรรมเสี่ยง
แตท่ ้ังน้ีควรต้องดำเนนิ การอยา่ งมีทักษะในเชงิ จติ วิทยาด้วย

การเปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานมีส่วนร่วมในการตัดสิ นใจหรือแสดงความคิดเห็นด้าน ควา ม
ปลอดภัย และอาชีวอนามัย อย่างเหมาะสม สามารถทำได้โดยผ่านช่องทางต่าง ๆ เช่น

- การประชุมคณะกรรมการความปลอดภัย ฯ
- โครงการการแสดงความคิดเห็น หรอื โครงการสำรวจความคดิ เห็นดา้ นความปลอดภัย ฯ
- กล่องรับความคิดเห็น เว็บไซต์
ผลการตัดสนิ ใจเกีย่ วกับความคดิ เห็น และข้อเสนอแนะได้ถูกรวบรวม และสอื่ สารใหผ้ ู้ปฏบิ ัตงิ าน
ได้รับทราบในเรื่องการยกย่องชมเชย สถานประกอบกจิ การอาจจัดทำในรูปแบบโครงการเพ่ือส่งเสริมให้
ผู้ปฏิบัติงานที่ประพฤติปฏิบัติเป็นตัวอย่างที่ดีด้านต่าง ๆ ครอบคลุมด้านความปลอดภัย ฯ และมีการ
ดำเนินการ การยกยอ่ งชมเชยอาจเป็นท้ังท่ีเป็นรางวัลหรอื คำชมเชยก็ได้
ส่วนการว่ากล่าวตักเตือนหรือลงโทษกรณีที่ผู้ปฏิบัติงานฝ่าฝืนกฎระเบียบหรือข้อปฏิบัติด้าน
ความปลอดภัยฯ การดำเนินการควรเป็นไปตามขั้นตอนที่กำหนดในระเบียบข้อบังคับในการทำงานของ
สถานประกอบกิจการ

220

เปิดสไลด์ท่ี 160

อธิบาย
ผู้ปฏิบัติงานสามารถเข้าถึงข้าพเจ้าได้เสมอและข้าพเจ้าแสดงให้เห็นว่าข้าพเจ้าอยู่กับเขาในท่ี

ทำงานด้วย การที่ผู้บริหารหรือหัวหน้าหน่วยงานเปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถพูดคุย รายงาน
แสดงความคิดเห็น หรือให้ข้อเสนอแนะโดยตรงอย่างอิสระภายในขอบเขตที่เหมาะสม จะเป็นการ
ส่งเสริมความไว้วางใจต่อกัน และความเชื่อมั่นว่าผู้บริหารหรือหัวหน้าหน่วยงานของสถานประกอบ
กจิ การอยูเ่ คยี งขา้ งพนักงานเสมอ
ในเร่ืองนสี้ ถานประกอบกิจการอาจดำเนินการดงั น้ี

- มนี โยบายเปดิ กวา้ งใหผ้ ้ปู ฏิบัติงานเข้าพบหรอื เข้าถงึ ได้ (Open door policy)
- จดั ช่องทางให้ผู้ปฏิบตั งิ านสามารถเข้าถึงผู้บริหารหรือหัวหน้าหน่วยงานโดยตรง เชน่ โทรศัพท์
สายตรง ไลน์กลมุ่ การประชมุ กล่มุ ยอ่ ย โครงการพบผูบ้ รหิ าร ฯลฯ
- ผู้บริหารหรอื หวั หน้างานหน่วยงานทำกิจกรรมรว่ มกบั ผู้ปฏิบัติงานเปน็ ประจำ
เปดิ สไลดท์ ี่ 161

อธบิ าย
ข้าพเจ้าถือว่าข้อมูลรายงานเกี่ยวกับปัญหา และความคิดเห็นของผู้ปฏิบัติงานเป็นเรื่องจริงจัง

ท่จี ะนำไปหาวธิ ีการแก้ไขปัญหา และพร้อมท่ีจะให้คำตอบในช่วงเวลาท่ีเหมาะสม สถานประกอบกิจการ
อาจมีระบบในการรับฟังและรวบรวมข้อมูล/รายงานปัญหา/ข้อขัดข้อง/ความคิดเห็นของผู้ปฏิบัติงาน
มีระบบ หรือขั้นตอนในการตอบสนองต่อรายงาน/ข้อคิดเห็นของผู้ปฏิบัติงาน การนำข้อมูล/รายงาน
ปใหัญผ้ ห้ปู าฏไบิปัตวิงิเคานราทะ่ีเหกีย่์เพวื่ขออ้จงัดททรำาแบผนดำเนินการแก้ไข2ป2ร1ับปรุง รวมถึงมีการติดตามผล และสื่อสารหรือแจง้

เปิดสไลด์ที่ 162

อธบิ าย กฎขอ้ ท่ี 7 มี 5 ข้อ
ข้อที่ 7.2 ของกฎทองข้อ 7 ข้าพเจ้าใช้หัวข้อเรื่องความปลอดภัย และสุขภาพอนามัยในการ

ทำงานในการสรา้ ง และพัฒนาวัฒนธรรมองค์กรเชงิ บวก
เปิดสไลดท์ ี่ 163

อธบิ าย
เราธำรงไว้ซึ่งวัฒนธรรมองค์กรที่อยู่บนพื้นฐานความไว้วางใจ ความเคารพนับถือ และความ

ร่วมมอื กัน ความเปน็ มติ รไมตรี ความมนี ้ำใจ และความจริงใจตอ่ กนั ของบคุ คลจะสรา้ งความไวเ้ นื้อเช่ือใจ
การยอมรับความเคารพนับถือ และความร่วมมือระหว่างกัน ทำให้การอยู่ร่วมกันเป็นความผาสุก
สถานประกอบกิจการสามารถพัฒนาสิ่งเหล่านี้ได้จากการทำโครงการ หรือการจัดกิจกรรมที่เสริมสร้าง
การทำงานเป็นทีม เช่น การมอบหมายการทำงานเป็นกลุ่ม (Groupwork Assignment) การสร้างทีม
สมั พันธ์ (Teamwork Building) โครงการพี่เลี้ยง (Mentoring Program) เพอื่ นช่วยเพอ่ื น ฯลฯ

222

เปิดสไลด์ท่ี 164

อธิบาย
ปัญหาตา่ ง ๆ ไดร้ ับการกล่าวถึงอย่างเปดิ เผยในสถานประกอบกิจการของข้าพเจ้า ทุกคนมีสิทธิ

และหนา้ ที่ ท่ีจะบอก “หยดุ ” ได้ในกรณที ี่มอี ันตรายและมีสภาพการทำงานที่ไมป่ ลอดภัย
การหยุดอันตราย หรือสภาพการทำงานที่ไม่ปลอดภัย เป็นสิทธิ และหน้าที่ ที่พึงของ

ผ้ปู ฏิบัติงานทกุ คน ในการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ พนักงานในสถานประกอบกิจการสามารถที่จะพูดคุย
กันถึงปัญหา หรือประเด็นต่าง ๆ รวมถึงด้านความปลอดภัย ฯ ในเชิงสร้างสรรค์ และเปิดเผยได้ ซึ่งจะ
เสริมสร้างความปลอดภยั และความผาสกุ ในการทำงาน โดย

• ผู้บังคับบัญชามีการบอกกล่าว/สื่อสารให้ผู้ปฏิบัติงานทราบปัญหาหรือสภาพการทำงานที่ไม่
ปลอดภัย

• มีประกาศ/ระเบียบ/ข้อบังคับการทำงานที่กำหนดให้สามารถหยุดปฏิบัติงานที่อาจก่อให้เกิด
อันตรายได้

• ผปู้ ฏิบตั งิ านทราบถึงประกาศ/ระเบยี บ/ข้อบังคบั การทำงาน และปฏิบัติตาม
เปิดสไลด์ท่ี 165

อธบิ าย
ข้าพเจ้าแสดงความมุ่งมั่นว่า ผู้ปฏิบัติงานและครอบครัวของเขาทราบว่าผู้ปฏิบัติงานทุกคน

ทำงานอยใู่ นสถานประกอบกิจการทม่ี ีความปลอดภยั ซ่ึงสามารถแสดงใหเ้ หน็ ไดจ้ าก
• การกำหนดนโยบายในการส่งเสริมความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทำงาน
• การดำเนนิ งาน/กจิ กรรมสง่ เสรมิ ความปล22อ3ดภัยฯ ของผปู้ ฏิบตั ิงานอย่างแข็งขนั จริงจงั
• การสื่อสารนโยบายและผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยฯไปยังผู้ปฏิบัติงานและ
ครอบครัวของผปู้ ฏบิ ัตงิ าน

เปิดสไลดท์ ี่ 166

อธบิ าย
ผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบกิจการของข้าพเจ้าเฝ้าระวังและดูแลซึ่งกัน และกัน ความมีน้ำใจ

และความเอื้ออาทรต่อกันเป็นวัฒนธรรมที่ดีงามของคนไทยซึ่งพบเห็นเป็นปกติในสังคมไทย
สถานประกอบกิจการ หรือองค์กรเปรียบเสมือนบ้าน และผู้ปฏิบัติงานในองค์กรทุกคนเป็นเหมือน
ครอบครัวเดียวกัน การเฝ้าระวังและการดูแลซึ่งกัน และกัน เป็นสิ่งที่คนในสถานประกอบกิจการส่วน
ใหญป่ ฏบิ ตั ิกนั อยู่

อย่างไรก็ตาม การที่คนหมู่มากจากพื้นเพที่แตกต่างกันมาอยู่ด้วยกันในสถานประกอบกิจการ
จึงควรมกี ารกำหนดไว้ชัดเจนในคู่มือการปฏิบตั ิงาน ใหผ้ ูป้ ฏิบตั งิ านทุกคนมีบทบาทหน้าที่ในการเฝ้าระวัง
และดแู ลซงึ่ กนั และกัน
เปิดสไลดท์ ่ี 167

อธิบาย
ข้าพเจ้าไม่เพียงเชิญเฉพาะผู้ปฏิบัติงานของข้าพเจ้าเท่านั้น แต่ยังได้เชิญครอบครัวของเขา

รวมทัง้ ลกู คา้ และพันธมิตรของเรา มารว่ มในกจิ กรรมส่งเสรมิ ความปลอดภัย และสุขภาพอนามยั
ในเรื่องนี้สามารถทำได้โดย เมื่อสถานประกอบกิจการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมความปลอดภัย
และสุขภาพหรือกิจกรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องให้กับพนักงาน ได้เชิญชวนครอบครัว ผู้ปฏิบัติงาน ผู้รับเหมา
ช่วง ลูกค้าและพันธมิตร เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมเหลา่ น้ีอย่างต่อเนื่อง ตามนโยบาย ความเกี่ยวข้อง
และความเหมาะสมของกิจกรรม

224

เปดิ สไลด์ท่ี 168

อธิบาย กฎข้อท่ี 7 มี 5 ข้อ
ข้อที่ 7.3 ของกฎทองข้อ 7 ในสถานประกอบกิจการของเรา ได้มีการจัดทำโครงสร้างองค์กร

ทเ่ี อื้อตอ่ การมสี ่วนร่วม และการสรา้ งแรงจูงใจภายในองค์กร
เปดิ สไลด์ท่ี 169

อธิบาย
ขา้ พเจา้ ใหร้ างวัลทั้งทเ่ี ป็นหรือไม่เป็นตัวเงินแกผ่ ู้ปฏบิ ัติงานรวมถงึ ผู้ใต้บังคับบัญชาระดับบริหาร

(ถ้าม)ี สำหรบั ผลการปฏบิ ัติงานที่สำเรจ็ และปลอดภัย
ผลที่คาดหวังในการทำงานของผู้ปฏบิ ัติงานในสถานประกอบกิจการ คือ ความสำเร็จตามเป้าหมายที่ต้งั
ไว้ ซึ่งเป็นปกติสำหรับทุกองค์กร ส่วนผลการปฏิบัติงานที่สำเร็จและปลอดภัยด้วยนั้น เป็นสิ่งที่ควร
ส่งเสริมให้เป็นแบบอย่างที่ดีสำหรับผู้ปฏิบัติงานคนอื่น ๆ เพื่อสร้างขวัญ และกำลังใจในการปฏิบัติงาน
ผู้บริหาร หรือหัวหน้าหน่วยงานอาจจัดให้มีโครงการให้รางวัลทั้งที่เป็นตัวเงิน และไม่เป็นตัวเงินให้แก่
ผ้ปู ฏิบตั งิ านท่ที ำงานสำเรจ็ หรือทม่ี ีส่วนรว่ มในงานด้านความปลอดภยั ฯ ได้ เช่น

- การกล่าวชมเชยในท่ีประชุม หรอื ตอ่ หนา้ บุคคลอน่ื
- การประกาศเกยี รตคิ ุณ
- การให้รางวลั ของขวญั ของทร่ี ะลกึ
- การนำไปพจิ ารณาเพ่มิ เติมจากผลการปฏบิ ตั ิงานตามปกติ

225

เปิดสไลดท์ ่ี 170

อธิบาย
ข้าพเจ้ากระตุ้นให้ผู้ปฏิบัติงานออกความคิดเห็นเกี่ยวกับความปลอดภัย และสุขภาพอนามัย

เช่น ผ่านทางกล่องรบั ข้อเสนอแนะ ทางกระดานข่าว หรอื ทางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอรภ์ ายในองค์กร
(อินทราเน็ต) การที่ผู้บริหารหรือหัวหน้าหน่วยงานเปิดให้ผู้ปฏิบัติงานแสดงความคิดเห็นประเด็นด้าน
ความปลอดภัยฯ อย่างเหมาะสมจะทำให้สร้างสรรค์และนำไปสู่การปรับปรุงสถานประกอบกิจการให้ดี
ยิ่งขึ้น ในการน้ีสถานประกอบกิจการมีอาจจัดทำช่องทางในการให้ผู้ปฏิบัติงานเสนอแนะความคิดเห็น
ด้านความปลอดภัยและสุขอนามัยในการทำงาน เช่น กล่องรับความคิดเห็น สายด่วนความปลอดภัย
อีเมล์ เว็บไซต์ และแอพพลิเคชั่นต่าง ๆ พร้อมกับมีการประกาศหรือกิจกรรมเชิญชวนให้ผู้ปฏิบัติงาน
แสดงความคิดเห็น รวมถึงการตอบสนองต่อความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ และการสื่อสารผลการ
ดำเนินการด้วย
เปิดสไลด์ที่ 171

อธบิ าย
ในการสร้างการมีส่วนร่วมและจูงใจของผู้ปฏิบัติงาน ข้าพเจ้าใช้เวทีทั้งในระดับชาติและระดับ

นานาชาติเกี่ยวกับการแสดงความคิดใหม่ ๆ การรณรงค์และการประกวดให้รางวัลต่างๆ ด้านความ
ปลอดภัย และอาชีวอนามยั เพ่ือนำเสนอผลงานดีเดน่ ของผ้ปู ฏิบตั งิ านของข้าพเจ้าอีกด้วย

การที่สถานประกอบกิจการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ด้านความปลอดภัย ฯ ทั้งระดับประเทศ
และระดับนานาชาติ เพื่อนำเสนอนวัตกรรมใหม่ ๆ ในการทำงานแสดงความคิดเห็น หรือการประกวด
นับเป็นการนำเสนอผลการปฏิบตั ิงานท่ปี ลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน

226

เปดิ สไลดท์ ่ี 172

อธิบาย
ข้าพเจ้าสร้างแรงจูงใจให้ผู้ปฏิบัติงานของข้าพเจ้ารายงานเหตุการณ์เกือบเกิดอุบัติเหตุอย่าง

เปดิ เผย และมอบรางวลั ให้สำหรับการรายงานดงั กล่าว
ในการจูงใจผู้ปฏิบัติงาน ผู้บริหาร หรือหัวหน้าหน่วยงานอาจจัดทำเป็นโครงการ หรือกิจกรรม

ตา่ ง ๆ ให้ผปู้ ฏิบตั งิ านรายงานอุบตั ิการณ์ เช่น
• ตั้งเป้าหมายการรายงานอุบัติการณ์แต่ละหน่วยงาน (จำนวนที่รายงาน และจำนวนที่
ดำเนนิ การแล้วเสรจ็ )
• การให้รางวัลแก่ผู้ปฏิบัติงานที่รายงานเหตุการณ์เกือบเป็นอุบัติเหตุ ตัวอย่างได้แก่ การเพิ่ม
คะแนนผลการปฏิบัติงานด้านความปลอดภัย การให้รางวัลหรือของที่ระลึกเพื่อตอบแทน
และมกี ารดำเนินการแกไ้ ขปรบั ปรงุ เพ่ือลด หรอื ขจัดอนั ตราย

เปดิ สไลด์ท่ี 173

อธบิ าย
ข้าพเจ้าต้องการให้พฤติกรรมที่ปลอดภัยเป็นข้อกำหนดพื้นฐานในการป ฏิบัติงานของ

ผู้ปฏิบัติงานทุกคน ในสถานประกอบกิจการของข้าพเจ้า ผู้บริหาร หรือหัวหน้าหน่วยงานอาจกำหนด
เป็นลายลักษณ์อักษรว่าการปฏิบัติงานที่ปลอดภัยเป็นพื้นฐานในการปฏิบัติงานของพนักงานทุกคน
ประกาศให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนทุกสายงานทราบถึงความมุ่งหวังของผู้บริหารในเรื่องพฤติกรรมความ
ปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน และกำกับดูแลให้มีการปฏิบัติ และการที่ผู้บริหารประพฤติปฏิบัติตาม
ขเป้อน็ กตำัวหอนยด่างคทวี่ดาีแมกป่ผล้ปู อฏดบิ ภตั ัยงิ าในนทกุการระทดำบังาแนละหกรำือกมับ2าด2ตูแ7รลฐใหานพ้ คนวักางมานปปลฏอิบดตั ภิเัยช่นขเอดงียสวถกาันนดปว้ ยระกอบกิจการ

เปิดสไลดท์ ี่ 174

อธิบาย
ผูป้ ฏบิ ัตงิ านไดร้ บั ทราบถึงความเส่ียงดา้ นสขุ ภาพที่อาจเกิดขึน้ และมาตรการป้องกันท่ีได้กำหนด

ไว้กฎหมายกำหนดไว้ว่านายจ้างให้ลูกจ้างทำงานในสภาพการทำงาน หรือสภาพแวดล้อมในการทำงาน
ที่อาจทำให้ได้รับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพอนามัย ให้นายจ้างแจ้งให้ลูกจ้างทราบถึง
อันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทำงาน และแจกคู่มือปฏิบัติงานให้ลูกจ้างทุกคนก่อนที่ลูกจ้างจะเข้า
ทำงาน เปลยี่ นงาน หรือเปล่ียนสถานทที่ ำงาน

ผู้บริหารหรือหัวหน้าหน่วยงานแจ้ง/สื่อสารให้ผู้ปฏิบัติงานทราบความเสี่ยงด้านสุขภาพที่อาจ
เกิดขึ้น และมาตรการป้องกัน โดยการติดบอร์ดประชาสัมพันธ์ หรือโพสต์บนเว็ปบอร์ด การแจ้งในการ
อบรมหรือการประชุม จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (อีเมล์) สื่อสารผ่านหัวหน้างาน และลงบันทึกรับทราบ
เป็นตน้ ขณะเดยี วกัน ผู้ปฏิบัติงานมีการปฏบิ ัตติ ามมาตรการป้องกนั ท่กี ำหนดไว้เชน่ กนั
เปดิ สไลดท์ ่ี 175 และสไลด์ที่ 176

อธิบาย กฎทองขอ้ ที่ 7 มี 3 ขอ้ ใหญ่
อา่ นและประเมินแต่ละข้อโดยใส่คะแนน 1 ชอ่ งสีตามทีป่ ฏิบัติปจั จุบัน เมอื่ ทำครบทั้ง 3 ข้อใหญ่

แล้วรวมคะแนนทง้ั หมดตั้งแต่ขอ้ 7.1 ถงึ 7.3 ดูว่าแตล่ ะชอ่ งสไี ด้คะแนนเทา่ ไร ใชเ้ วลา 5 นาที
เสร็จแล้วรวมคะแนน และค้างไวก้ ่อน

228

เปดิ สไลด์ท่ี 177

อธิบาย
เมื่อทำแบบประเมินกฎทอง 7 ประการ ครบ 110 ข้อ แล้วเปิดสรปุ ผลคะแนนการประเมินว่ามี

สีเขยี วกี่ขอ้ สีเหลอื งกข่ี อ้ และสีแดงกข่ี อ้
สีเขยี วเป็นส่ิงท่ีปฏิบัติดอี ย่แู ลว้ อาจมที ำให้ดขี ึน้ ไดอ้ กี
สแี ดงและสเี หลือง เป็นสิ่งทีค่ วรพจิ ารณานำไปปรับปรงุ และพัฒนาแผนงาน
เปิดสไลด์ที่ 178

อธิบาย
การทำแบบประเมินที่ตรงต่อการปฏิบัติที่แท้จริงภายในสถานประกอบกิจการ จะทำให้ผู้เรียน

ทราบว่ามีประเด็นใดที่สามารถปรับปรุงให้ดีขึ้นได้อีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อที่เป็นสีแดงและสีเหลือง
เพื่อที่จะทำให้พนักงานมีความปลอดภัย และความเสี่ยงหรืออันตรายในสถานประกอบกิจการลดลงจน
เป็นศูนย์ ในการทำแผนพัฒนาเพื่อการปรับปรงุ พิจารณาข้อที่เป็นสีแดงก่อน ว่าสามารถทำอะไรได้บ้าง
เพื่อเปลี่ยนจากสีแดงทีย่ ังไม่เคยปฏิบตั เิ ลยไปเปน็ เร่มิ มีมีการปฏบิ ตั ิ และขอ้ สีเหลอื งทเ่ี คยมกี ารดำเนินการ
อยู่บ้างแล้ว แต่ยังขาดบางสว่ น ซงึ่ เมอ่ื ปฏิบตั แิ ล้ว สามารถเปล่ียนจากสีเหลอื งเป็นสีเขียวได้

229

เปิดสไลดท์ ี่ 190

อธิบาย
ที่แสดงอยู่นี้เป็นตัวอย่าง เป็นแบบแผนปรับปรุงความปลอดภัยและความผาสุกตามแนวทาง

Vision Zero เฉพาะข้อสแี ดง และข้อสเี หลือง
สถานประกอบกิจการสามารถออกแบบแผนปรับปรุงของตนเองครอบคลุมทั้งกิจกรรม

ผู้รับผดิ ชอบ งบประมาณ กำหนดเสรจ็ และการติดตามผล และบรู ณาการเข้ากับตามแนวทางปฏิบัติของ
สถานประกอบกิจการของตนเองได้

230


Click to View FlipBook Version