2) ข้าพเจ้ามีการประเมินผลสำเร็จที่จะบรรลุเป้าประสงค์ขององค์กร ประเมนิ ผล ประเมินผล ไม่มีการ
ครบถว้ น ครบถ้วน ประเมนิ ผล
โดยพิจารณาจากอัตราการประสบอันตราย อัตราการเจ็บป่วย ความถ่ี ทุกเร่อื งตาม ทุกเรื่องตาม ตาม
และความรนุ แรงของการเกดิ อุบตั ิเหตุ หรอื การเจ็บป่วย เปา้ ประสงค์ เปา้ ประสงค์
เปา้ ประสงค์
บางเร่ือง
มกี ารประเมินผลสำเรจ็ ของโครงการต่าง ๆ ซึ่งสามารถวดั ไดจ้ าก
• จำนวนรายอุบัตเิ หตุหรือการเจ็บป่วยลดลง หรือ ไมเ่ พมิ่ ข้ึน เม่ือ
เทยี บกับเปา้ หมาย
• อัตราการประสบอันตรายขั้นรุนแรง หรอื หยุดงานลดน้อยลง
• บันทกึ จำนวนวนั ที่ปลอดการประสบอนั ตรายข้นั หยุดงาน
• จำนวนการรายงานอุบตั ิการณ์ หรือ สิง่ ทีไ่ ม่ปลอดภัยมากข้ึนใน
ระยะแรก และเมื่อได้รับการแก้ไขปรับปรุงแล้วจำนวนลดน้อยลง
เมื่อเวลาผ่านไป
• อืน่ ๆ
(อธบิ าย สาธติ หรือ แสดงตัวอย่าง)
3) ถ้าผลลัพธ์ท่ีไดร้ บั ไมเ่ ป็นทน่ี ่าพอใจ ขา้ พเจ้าจะดำเนินการทบทวน มีการ มีการ ไม่มกี าร
กจิ กรรม และแผนงานของข้าพเจ้าใหม่ ทบทวน ทบทวนแต่ ทบทวน
ครบทุกขอ้ ไมเ่ ป็นระบบ
เปน็ ระบบ
• มีการกำหนดให้ทบทวนผลการปฏิบัติเป็นประจำ หรือเป็น
ระยะ ๆ
• มีการปรับเปลี่ยน/ปรับปรุงแผนงาน เมื่อผลปฏิบัติงานไม่
เป็นไปตามแผนงาน
• มกี ารใชก้ ระบวนการเดมมิ่งโมเดล (Plan-Do-Check-Act) หรือ
คล้าย ๆ กันในการทบทวนผลการปฏิบัติงาน เพื่อการปรับปรุง
อยา่ งตอ่ เนื่อง
(อธิบาย สาธิต หรือ แสดงตัวอยา่ ง)
4) ข้าพเจ้าเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานด้านความปลอดภัย ฯ ใน
สถานประกอบกิจการของข้าพเจ้ากับหน่วยงานอื่นในอุตสาหกรรม มีหลกั เกณฑ์ มกี าร ไม่มีการ
ประเภทหรือขนาดใกล้เคียงกนั เท่าทีจ่ ะเปน็ ไปได้ และมกี าร เปรียบเทยี บ เปรยี บเทยี บ
สถานประกอบกิจการมีการศึกษาเปรียบเทียบข้อมูลการจัดการ เปรียบเทยี บ ดา้ นเดยี ว
ข้อมลู
ด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัยในการทำงานของตนกับ หลายดา้ น
สถานประกอบกจิ การอืน่ ทีอ่ ย่ใู นอุตสาหกรรมคลา้ ยกัน และขนาด
96
ใกล้เคียงกัน (ถ้าสามารถทำได้) หรือเทียบกับผู้นำหรือกลุ่ม ปฏบิ ตั ิ ปฏบิ ัติ
อุตสาหกรรมเดยี วกัน 3-5 ขอ้ < 2 ข้อ
• มีหลักเกณฑ์หรือมาตรวัดผลการปฏิบัติงานที่ใช้ และผลการ
ดำเนนิ งานในแต่ละหลักเกณฑ์
• สถิติอุบัติเหตุหรือการเจ็บป่วย (อัตรา ราย ประเภท อวัยวะ
สาเหตุ หรืออ่ืน ๆ)
• ประเดน็ เกี่ยวกับปัญหาสุขภาพ และการให้บริการ
• ประเด็นเกยี่ วกับผลการตรวจวัดสภาพแวดล้อมในการทำงาน
(อธบิ าย สาธิต หรือแสดงตัวอย่าง)
5) ข้าพเจ้าสื่อสารผลงานและผลสำเร็จตามเป้าประสงค์ด้านความ
ปลอดภัยฯ ให้ผู้ปฏิบัติงานและผู้ใต้บังคับบัญชาระดับบริหารของ ปฏบิ ตั คิ รบ
ข้าพเจ้ารับทราบอย่างสม่ำเสมอ ตัวอย่างเช่น แจ้งในที่ประชุม หรือ ทุกขอ้
ประกาศบนกระดานข่าวในสถานประกอบกิจการ เปน็ ต้น
• มีการสอ่ื สารเรื่องต่าง ๆ ให้กบั ผ้ปู ฏิบตั ิงาน และผใู้ ต้บงั คับบัญชา
ครอบคลุมเรื่องผลงาน และผลสำเร็จด้านความปลอดภัย ฯ ด้วยใน
คราวเดยี วกนั
• มีการสื่อสารในการประชุมประจำสัปดาห์ ประจำเดือน หรือ
ประจำไตรมาสของผู้บรหิ ารสถานประกอบกิจการ
• มีการสื่อสารในการประชุมชี้แจงผลประกอบการของสถาน
ประกอบกจิ การใหก้ ับบคุ ลากรทุกภาคส่วนขององคก์ รทกุ ไตรมาส
• มีการสื่อสารในการประชุมพนักงานประจำเดือน หรือประจำ
ไตรมาส
• มีการสอ่ื สารในการประชมุ คณะกรรมการความปลอดภัย
• มีการสื่อสารโดยการติดประกาศบนบอร์ดประชาสัมพันธ์ การลง
เว็บไซต์ของสถานประกอบกิจการ และการส่งจดหมาย
อเิ ล็กทรอนิกส์
(อธิบาย สาธิต หรอื แสดงตวั อยา่ ง)
รวมคะแนน 3.3
รวมคะแนน 3.1 - 3.3
97
กฎทองข้อที่ 4 : มีระบบการจัดการความปลอดภัยและสุขภาพอนามัย - ที่ได้มีการจัดการที่ดี (Ensure
a Safe and Healthy System - Be Well Organized)
การจัดการเรื่องความปลอดภัย และอาชีวอนามัยในสถานประกอบกิจการอย่างเป็นระบบเป็นสิ่งที่ดี เป็น
เรอ่ื งท่ดี ำเนินการได้ไม่ยากและคุ้มคา่ ต่อการลงทนุ
4.1 สถานประกอบกิจการของข้าพเจ้า มีการจัดการที่ดีในเรื่อง ผลการประเมนิ ตนเอง
ความปลอดภัย และอาชีวอนามัย โดยการจัดให้มีโครงสร้าง
องค์กร บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ สมรรถนะ ระเบียบ
ปฏบิ ตั ิงาน และกระบวนการทำงาน
1) มกี ารจัดโครงสร้างองค์กรดา้ นความปลอดภยั และอาชีวอนามัย ปฏิบัติครบ ปฏิบตั ิ ปฏิบตั ิ
พร้อมทง้ั กำหนดสมรรถนะ และบทบาทหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบ ทุกขอ้ 2-3 ข้อ 0-1 ข้อ
• จัดโครงสร้างองค์กรตามสายบังคับบัญชาโดยตรง หรือ
หนว่ ยงานสนบั สนุนปฏิบตั ิการ รวมถงึ หน่วยงานความปลอดภัย
ฯ ซง่ึ มีการประกาศแต่งตั้งพรอ้ มกบั กำหนดบทบาทหน้าท่ีความ
รบั ผิดชอบดา้ นความปลอดภัย ฯ
• มีประกาศ หรือคำสั่งแต่งตั้งเจา้ หนา้ ที่ความปลอดภัยในการ
ทำงาน ระดับบริหาร ระดับหัวหน้างาน และระดับวิชาชีพ
พร้อมกำหนดบทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบด้านความ
ปลอดภัย ฯ
• มีประกาศ หรือ คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการความปลอดภัย ฯ
ตามกฎหมาย
• มีประกาศ หรือคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานด้านความปลอดภัย ฯ
ในแต่ละด้านตามความรู้ หรือ ความสามารถ พร้อมกำหนด
บทบาท หนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ
(อธิบาย สาธิต หรือ แสดงตัวอย่าง)
98
2) มีการจัดทำลักษณะงาน บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ และ
สมรรถนะของผู้ใต้บังคับบัญชาระดับบริหารในด้านด้านความ ปฏิบัติครบ ปฏิบตั ิ ไม่ปฏบิ ตั เิ ลย
บางข้อ
ปลอดภยั และสุขภาพอนามัย โดยกำหนดเป็นลายลกั ษณอ์ ักษร ทุกขอ้
ปฏบิ ัติ ไม่ปฏิบตั ิเลย
• ลักษณะงาน บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบ และสมรรถนะ บางขอ้
ของพนักงานระดับตา่ ง ๆ ซ่ึงสถานประกอบกิจการมีอยู่แล้วนั้น
กำหนดให้ครอบคลุมงานด้านความปลอดภัย และสุขภาพ
อนามัย บรู ณาการโดยเพิ่มหน้าท่ีของ จป.บรหิ ารเขา้ ไป
• มีการประกาศแต่งตั้งจป.บริหาร ซึ่งรวมถึงบทบาท หน้าที่
ความรบั ผิดชอบด้านความปลอดภยั ฯ
• การแต่งตั้งพนักงานระดับบริหารหรือหัวหน้าหน่วยงานให้
รับผิดชอบโครงการต่าง ๆ ด้านความปลอดภัยฯ ตัวอย่าง เช่น
ประธานโครงการตรวจประเมินความปลอดภัย ฯ ภายใน
ประธานโครงการความปลอดภัยของเครื่องจักร และอุปกรณ์
ประธานระบบบริหารจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย
เป็นตน้
(อธิบาย สาธติ หรอื แสดงตวั อยา่ ง)
3) สถานประกอบกิจการ มีผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยและ
สุขภาพอนามัย (เช่น เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน วิศวกร ปฏิบัติครบ
ความปลอดภัย แพทย์ พยาบาล นักจิตวิทยาอุตสาหกรรม หรือนัก ทกุ ข้อ
สุขศาสตร์อุตสาหกรรม เป็นต้น) ให้การสนับสนุน และคำแนะนำ
ด้านความปลอดภัย และสุขภาพอนามัย พร้อมทั้งรายงานตรงต่อ
ผบู้ รหิ ารระดับสงู สดุ
• มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน/วิศวกรความ
ปลอดภัย/แพทย์/พยาบาล ฯลฯ ตามท่ีกฎหมายกำหนด
• เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน/วิศวกรความ
ปลอดภัย/แพทย์/พยาบาล ฯลฯ ให้การสนับสนุนและให้
คำแนะนำดา้ นความปลอดภัย และสุขภาพอนามยั และรายงาน
ตรงตอ่ ผบู้ รหิ ารระดบั สงู
• บุคลากรด้านความปลอดภัย ฯ อย่างใดอย่างหนึ่ง ทั้งหมด
หรือเกือบทัง้ หมดมกี ารรายงานเรื่องต่าง ๆ ที่เกย่ี วข้องกับความ
ปลอดภยั และอาชีวอนามัยต่อผู้บงั คับบัญชาตามสายงาน หรือ
ตามขอ้ กำหนดขององคก์ ร
(อธบิ าย สาธิต หรอื แสดงตวั อย่าง)
99
4) มีการรายงานเรอื่ งความปลอดภัย และสุขภาพอนามัยตรงตอ่ ปฏิบตั คิ รบ ปฏิบตั ิ ไมป่ ฏิบตั ิเลย
ผู้บังคับบัญชาตามสายงานของโครงสรา้ งองค์กร ทกุ ขอ้ บางข้อ
• มีการกำหนดระบบ/ขั้นตอนในการรายงานเรื่องต่าง ๆ ต่อ
หัวหนา้ หรอื ผูบ้ ริหารตามสายงานหรอื การบงั คบั บญั ชา
• มีระเบียบปฏิบัติในการรายงานเรื่องต่าง ๆ ต่อหัวหน้า หรือ
ผบู้ รหิ ารตามสายงานหรือการบงั คับบญั ชา
• มีการกำหนดขั้นตอนการรายงานเรื่องอื่น ๆ เช่น การ
รายงานอุบัติภัยร้ายแรง หรือ ภาวะฉุกเฉิน อาจมีระเบียบ
ปฏบิ ตั ทิ เี่ ฉพาะเจาะจง
(อธิบาย สาธติ หรือแสดงตัวอย่าง)
5) การประเมนิ ความเสี่ยงและวธิ ีการปฏิบัติอย่างปลอดภัยได้รับการ
ปรับปรุงอยู่เสมอ และพนักงานทุกคนได้รับการแจ้งให้ทราบ และ ปฏบิ ัติครบ ปฏบิ ตั ิ ไมป่ ฏบิ ตั เิ ลย
ไดร้ บั การสอนใหป้ ฏิบัตเิ ป็นประจำ ทุกขอ้ บางข้อ
• มีการกำหนดความถี่และเงื่อนไขในการปรับปรุงบัญชีความ
เสี่ยงและวิธีการปฏิบัติงานตามความเหมาะสม และมีการ
ดำเนนิ การอย่างเป็นระบบ
• มีการกำหนดให้มีการปรบั ปรุงทุกครั้งเฉพาะส่วนงานที่ได้รบั
ผลกระทบ และมีการสื่อสารหรือสอนงาน (On the Job
Training) ให้แก่ผู้ปฏิบัติงานทุกครั้งที่มีการปรับปรุงตามการ
เปลยี่ นแปลง
• มีการกำหนดให้ดำเนินการปรับปรุงปีละครั้งกรณีที่ไม่มีการ
เปลีย่ นแปลง
• มีบันทกึ การเปล่ียนแปลง (Change log) และ
• มีการสื่อสาร หรือการอบรมทบทวน (Refresher Training)
ใหแ้ ก่ผปู้ ฏบิ ตั งิ านเชน่ กนั
(อธิบาย สาธิต หรอื แสดงตวั อยา่ ง)
6) มีผู้แทนลูกจ้างด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัย ผู้ทำหน้าท่ี
ปฐมพยาบาล และบุคลากรตามแผนการป้องกัน และระงับอัคคีภัย ปฏบิ ัติครบ ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏบิ ตั ิเลย
ในจำนวนที่เพียงพอ และได้รับการอบรมอยา่ งสม่ำเสมอ
ทกุ ขอ้ บางข้อ
• ได้จัดตั้งทีมปฏิบัติฉุกเฉินซึ่งมาจากผู้ปฏิบัติงานจากสายงาน
ฝา่ ยตา่ ง ๆ จำนวนทเ่ี หมาะสม เพือ่ ทำหน้าท่ีในการตอบโต้หรือ
ระงับสถานการณ์ฉุกเฉินเรอ่ื งตา่ ง ๆ อยา่ งปลอดภัย
100
• มีการกำหนดบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ และการ
พฒั นาความรคู้ วามสามารถเพิ่มเติมให้กับบุคลากรกลุ่มนี้
• บุคลากรกลุ่มนี้ได้รับการอบรมความรู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น การ
ตรวจตรา การป้องกันและระงับ อัคคีภัย การปฐมพยาบาล
การเคล่อื นย้ายผู้บาดเจบ็ ฯลฯ
• มีการจัดแผนฝึกอบรม และการฝึกซ้อมประจำปี และให้
ความร้ทู บทวนตอ่ เน่อื งเป็นประจำ
** กรณีที่สถานประกอบกิจการ มีแผนปฏิบัติฉุกเฉิน ซึ่ง
ครอบคลมุ การแต่งตงั้ ทมี ปฏบิ ัติการฉกุ เฉิน พร้อมกำหนดหน้าที่
รับผดิ ชอบ และรวมถึงแผนอบรมประจำปีสำหรับทมี ปฏิบัติการ
ฉุกเฉิน และมีการดำเนินการตามแผนสม่ำเสมอ กล่าวได้ว่าได้
ปฏบิ ัติครบถ้วน
(อธบิ าย สาธติ หรือ แสดงตวั อย่าง)
7) มีการวางแผนและดำเนินการตรวจสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานตาม
ปจั จยั เส่ียง และมีการทบทวนการตรวจสุขภาพตามปัจจัยเส่ียงอย่าง ปฏบิ ัตคิ รบ ปฏบิ ตั ิ ปฏิบัติ
ทกุ ข้อ 3-6 ข้อ 0-2 ขอ้
สม่ำเสมอ
• เข้าใจว่าการตรวจสุขภาพประจำปีท่ัวไปที่จัดให้ผู้ปฏิบัติงาน
ตามปกติไม่ใช่การตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสย่ี ง
• มกี ารจดั ใหผ้ ปู้ ฏบิ ัติงานตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงเพ่ิมเติม
จากการตรวจสขุ ภาพประจำปีตามปกติ
• มีการระบุผู้ปฏิบัตงิ านท่ีทำงานเกี่ยวกับปัจจยั เสี่ยง ทำงานท่ี
สมั ผสั กับ
- สารเคมีอนั ตรายตามทีร่ ฐั มนตรกี ำหนด
- จุลชีพ (ไวรัส แบคทีเรีย รา หรือสารชีวภาพอื่นตามท่ี
รัฐมนตรกี ำหนด)
- ความรอ้ น ความเยน็ เสียง แสง กมั มันตรังสี ความสั่นสะเทือน
หรืออนื่ ๆ ที่อาจเป็นอันตรายตามทร่ี ฐั มนตรีกำหนด
• มีการนำผลการประเมินความเสี่ยงและผลการตรวจวัด
สิ่งแวดล้อมในการทำงานของผู้ปฏิบัติงาน ในแต่ละปฏิบัติการ
มากำหนดโปรแกรม และแผนตรวจสขุ ภาพให้ผู้ปฏบิ ตั ิงาน
• มกี ารแจง้ ผลตรวจแก่ผู้ปฏิบัตงิ านให้ทราบดว้ ย
• มีมาตรการในการดำเนินการ กรณีที่พบผลตรวจสุขภาพ
ผิดปกติ
101
• กรณีที่ผู้ปฏิบตั ิงานมีการหมุนเวียนงานหรือมีการเปลีย่ นงาน
ซึ่งมีปัจจัยเสี่ยงแตกต่างกัน มีการทบทวนโปรแกรมและแผน
ตรวจสุขภาพสม่ำเสมอเป็นระยะ ๆ
(อธบิ าย สาธิต หรอื แสดงตัวอยา่ ง)
รวมคะแนน 4.1
4.2 ความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยเป็นปัจจยั หนึ่งทีส่ ำคญั ใน ผลการประเมนิ ตนเอง
การพิจารณาบรรจบุ คุ ลากรในตำแหนง่ ผบู้ ริหาร
1) ผู้ที่จะได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้บริหารจะต้องมีคุณสมบัติที่สำคัญ
ประการหนง่ึ คอื การปฏบิ ัติตามกฎระเบียบดา้ นความปลอดภัยและ ปฏบิ ัติครบ ปฏิบัติ ไมป่ ฏบิ ตั เิ ลย
ทุกขอ้ บางข้อ
สุขภาพอนามยั อย่างสมำ่ เสมอ
• มีข้อกำหนด/ระเบียบข้อบังคับในการทำงานที่พนักงานของ
สถานประกอบกิจการหรือองค์กรทุกคนพึงปฏิบัติ โดยไม่การ
ยกเวน้ สำหรบั ผบู้ ริหาร หรือ หัวหนา้ หนว่ ยงาน
• มีการประพฤติปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ที่รับผิดชอบ
ภายใตก้ ฎระเบยี บและขอ้ บงั คบั ในการทำงาน
• การประพฤติปฏิบัติเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับพนักงาน
ตวั อย่างเชน่
- การสบู บุหรใี่ นบรเิ วณทก่ี ำหนดไว้ เช่นเดยี วกบั บคุ คลอื่น ๆ
- การสวมอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยที่จำเป็น และ
เหมาะสม เมื่อเข้าไปในบริเวณที่มีความเสี่ยงอันตราย ท่ี
กำหนด
- การไม่เข้าไปในพื้นที่ควบคุม (Restricted Area) โดยไม่มี
อำนาจหนา้ ท่ี
- การเดนิ บนช่องทางทกี่ ำหนดเท่าน้ัน เปน็ ต้น
(อธิบาย สาธติ หรอื แสดงตวั อย่าง)
102
2) ก่อนที่ข้าพเจ้าจะแต่งตั้งผูบ้ รหิ ารคนใหม่ บุคคลนั้นต้องเข้าอบรม
หลกั สตู ร ความปลอดภัย และอาชวี อนามยั ทีก่ ำหนดสำหรบั ผู้บริหาร ปฏบิ ตั ิครบ ปฏิบตั ิ ไม่ปฏิบตั ิเลย
บางข้อ
แลว้ มมี าตรฝกึ อบรม (Training matrix) ของพนักงานทุกระดบั ทุกขอ้
• มาตรฝึกอบรม (Training matrix) และความจำเป็นในการ
ฝึกอบรม (Training needs) ครอบคลุมเรื่องความปลอดภัย
และอาชีวอนามัย และเรื่องที่เกี่ยวข้องสำหรับพนักงานแต่ละ
ระดับเพื่อเตรียมตัวสำหรับโยกย้ายตำแหน่งเพื่อความก้าวหน้า
ในงานหน้าที่หรือการเลื่อนตำแหน่งงานที่สูงขึ้นในอนาคต
(Career Path)
• ผู้บริหารสถานประกอบกิจการจัดให้บุคคลได้รับการอบรม
หลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับผู้บริหาร
ภายหลังการแต่งตั้งเป็นผู้บริหารคนใหม่ และแต่งตั้งเป็น จป.
บริหารตามกฎหมายน้ัน
(อธิบาย สาธิต หรือ แสดงตวั อย่าง)
3) ขา้ พเจ้ากำหนดใหผ้ ทู้ เ่ี ป็นผู้บังคบั บัญชาต้องมีการประชุมชีแ้ จง ปฏิบตั ิครบ ปฏบิ ัติ ไม่ปฏิบตั ิเลย
เรื่องความปลอดภยั กบั ผูป้ ฏิบัติงานก่อนเร่ิมการปฏิบตั งิ าน ทุกข้อ บางข้อ
• มีระบุหน้าที่ความรับผิดชอบไว้ในข้อบังคับการทำงานหรือ
ระเบียบปฏิบัติ ของสถานประกอบกิจการ ให้ผู้บังคับบัญชา
หรือหัวหน้างานชี้แจงข้อปฏิบัติต่าง ๆ เกี่ยวกับการทำงานซ่ึง
ครอบคลมุ ด้านความปลอดภยั และอาชีวอนามยั
• จัดให้มีการแนะนำการปฏิบัติงาน และการฝึกอบรมความ
ปลอดภัย
• อาชวี อนามัย ให้ผู้ปฏบิ ัติงานของตนก่อนทจี่ ะเรมิ่ ปฏบิ ตั งิ าน
• ผู้บังคับบัญชาหรือหัวหน้างานมีการประชุมชี้แจงเรื่องที่
เกี่ยวข้องกับทำงานต่าง ๆ รวมถึงด้านความปลอดภัยและอาชี
วอนามัยใหแ้ กผ่ ้ปู ฏบิ ตั งิ านกอ่ นเรม่ิ ปฏบิ ัติงาน
(อธบิ าย สาธิต หรอื แสดงตวั อยา่ ง)
103
4) ผู้ใต้บังคับบัญชาระดับบริหารของข้าพเจ้าทำการตรวจด้าน
ความปลอดภัยในพ้นื ทที่ ่ีรับผิดชอบอย่างสม่ำเสมอ โดยให้ความ ปฏิบัติครบ ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏบิ ตั เิ ลย
สนใจเป็นพเิ ศษในเร่ืองความสะอาด และความเป็นระเบียบ ทกุ ข้อ บางข้อ
• มโี ครงการ 5 ส และดำเนินการตามโครงการ
• ในการเดินตรวจตราด้านความปลอดภัยในพื้นที่ที่รับผิดชอบ
ม่งุ เน้นเร่อื งต่อไปน้ี
- พื้นที่ทำงาน และทางเดินปราศจากน้ำ หรือสิ่งอันตรายที่
เปน็ สาเหตุให้เกดิ การ ลน่ื สะดุด หรอื หกลม้
- มีการรักษาความสะอาดในพื้นที่ แยกขยะหรือของเสีย
และทงิ้ อยา่ งถูกตอ้ ง
- ประตขู องตู้ควบคมุ ไฟฟ้าปิดเรียบรอ้ ยตลอดเวลา
- มีการมัดรวบสายไฟให้เรียบร้อยหรือเก็บในท่อร้อยสายไฟ
ไม่ระโยงระยาง
- ไม่วางวัสดุ/อุปกรณ์ในโซนสีแดงที่ห้ามวาง หรือกีดขวาง
อุปกรณด์ ับเพลิง ทางเดนิ ของบันไดหนีไฟรวมถงึ ทางพักและ
ใตบ้ นั ได
- ไม่มสี ง่ิ ของวางกีดขวางประตูทางออกฉุกเฉิน
- มีการจัดเก็บ/วางวัสดุ และสิ่งของต่างๆ บนชั้นอย่างเป็น
ระเบียบ ตามความถี่ และลักษณะการใชง้ าน
(อธิบาย สาธติ หรือแสดงตวั อยา่ ง)
5) ข้าพเจ้าพูดคุยเป็นประจำกับผู้ใต้บังคับบัญชาระดับบริหารของ
ข้าพเจ้า เก่ียวกบั ความรบั ผดิ ชอบด้านความปลอดภัย และอาชีวอนา ปฏิบัติครบ ปฏบิ ตั ิ ไมป่ ฏบิ ตั เิ ลย
ทกุ ขอ้ บางขอ้
มยั และให้มกี ารตดิ ตามการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ดี ังกลา่ วดว้ ย
• ผู้บริหารมีการประชุมหรือพูดคุยกับผู้ใต้บังคับบัญชาเพ่ือ
มอบหมายงานและหน้าที่ความรับผิดชอบการปฏิบัติงานซึ่ง
ครอบคลุมด้านความปลอดภยั และอาชวี อนามยั
• มกี ารตดิ ตามการดำเนินงานเก่ียวกบั ความปลอดภัย และอาชี
วอนามัยให้เป็นไปตามแผนงาน และโครงการของสถาน
ประกอบกิจการ
• มีการกำกับ ดูแล ติดตามให้มีการแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ
ตามข้อเสนอแนะหรือที่ได้รับรายงาน เพื่อความปลอดภัยของ
ผปู้ ฏิบตั งิ าน
มีการพูดคุยเพื่อทบทวนผลการปฏิบัติงานกับผู้ใต้บังคับบัญชาใน
เรื่องผลการปฏิบัติงานตามเป้าหมายของสถานประกอบกิจการ
104
รวมถึงการปฏิบัติงานตามหน้าที่ และความรับผิดชอบด้านความ ผลการประเมนิ ตนเอง
ปลอดภยั และอาชวี อนามัยเป็นระยะ ๆ
(อธบิ าย สาธิต หรอื แสดงตัวอย่าง)
รวมคะแนน 4.2
4.3 การจัดองค์กรด้านความปลอดภัย และสุขภาพอนามัยใน
สถานประกอบกิจการเปน็ ไปตามทกี่ ฎหมายกำหนด
1) มกี ารทบทวนการจัดองค์กรใหเ้ ป็นไปตามท่กี ฎหมายกำหนด ปฏบิ ตั ิครบ ปฏิบตั ิ ไมป่ ฏิบตั เิ ลย
ทุกข้อ บางขอ้
• มีการทบทวนกฎหมายหรือข้อกำหนดใหม่ ๆ อยู่เป็นประจำ
(อาจกำหนดเปน็ ทุกสปั ดาห์ ทกุ เดอื น หรอื ทกุ ไตรมาส) ปฏิบัตคิ รบ ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏิบตั เิ ลย
• มีการตรวจสอบภายในว่าการปฏิบัติของสถานประกอบ ทกุ ข้อ บางข้อ
กจิ การสอดคล้องตามข้อกำหนดของกฎหมาย และขอ้ บังคับต่าง
ๆ (Legal & Regulatory Compliance Audit) หรือ ไม่
• มีการทบทวน และจัดองค์กรที่เป็นไปตามกฎหมายกำหนด
เกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในระดับต่าง ๆ บุคลากร
หน่วยงาน หรือ คณะบุคคลเพื่อดำเนินการด้านความปลอดภัย
และสุขภาพอนามัยในสถานประกอบกจิ การ
• มีการทบทวนว่าการปฏิบัติสอดคล้องกับกฎหมาย หรือ ไม่
ในการประชุม คปอ.การประชุมผู้บริหาร หรือ การประชุมเพ่ือ
ทบทวนการบริหาร ฯลฯ ตามที่สถานประกอบกิจการได้ระบุ
วธิ กี ารและการดำเนนิ การไว้
(อธิบาย สาธิต หรอื แสดงตัวอยา่ ง)
2) ข้าพเจ้าเขา้ รว่ มสัมมนา ที่จัดใหแ้ ก่ผ้ปู ระกอบการ หรือ ผู้บรหิ าร
ระดบั สูงด้วยตนเอง
• ได้รับเอกสารเชิญชวนเขา้ ร่วมการสัมมนาตา่ ง ๆ จากช่องทาง
ใด ๆ โดยตรงหรอื โดยออ้ ม
• มกี ารตอบรับเข้าร่วมการสัมมนาตา่ งๆ
• เข้ารว่ มการสัมมนาตา่ งๆ ด้วยตนเองทกุ คร้ัง
(อธบิ าย สาธติ หรือแสดงตัวอยา่ ง)
105
3) ผเู้ ชี่ยวชาญด้านความปลอดภยั และสุขภาพอนามยั ของข้าพเจ้า มี
ส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย และ ปฏิบัติครบ ปฏิบตั ิ ไมป่ ฏบิ ตั ิเลย
สขุ ภาพอนามยั ทุกข้อ บางขอ้
สถานประกอบกิจการมีการดำเนินการดังนี้
• นำประเด็นเกี่ยวกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัยท่ี
เกี่ยวข้องซึ่งอาจต้องการข้อเสนอแนะหรือความคิดเห็นจาก
ผู้เชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ เข้าเป็นวาระในการประชุม
คณะกรรมการความปลอดภัย ฯ และเชิญผู้เชี่ยวชาญหรือ
ผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม เพื่อทบทวน และขอมติจาก
คณะกรรมการ ฯ
• จัดตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงานที่ประกอบด้วย
ผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัย ฯ และ ผู้เชี่ยวชาญด้านอื่น ๆ
จากแต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อศึกษา ทบทวน ประเด็น
และรว่ มกันตดั สินใจ
(อธบิ าย สาธติ หรือแสดงตวั อยา่ ง)
4) มกี ารจดั ตั้งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชวี อนามยั และ ปฏบิ ัตคิ รบ ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏบิ ตั ิเลย
สภาพแวดลอ้ มในการทำงาน ทุกขอ้ บางขอ้
• สถานประกอบกิจการดำเนินการสรรหาคณะกรรมการความ
ปลอดภยั ฯ ดว้ ยวิธีการและจำนวนตามท่ีกฎหมายกำหนด
• ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการความปลอดภัยฯ และกำหนด
บทบาทหน้าที่ความรบั ผิดชอบ ภายในระยะเวลาท่ีกำหนด
• มกี ารติดประกาศคณะกรรมการความปลอดภัย ฯ
• คณะกรรมการความปลอดภัย ฯ ได้รับการอบรมตามท่ี
กฎหมายกำหนด
(อธิบาย สาธติ หรอื แสดงตัวอยา่ ง)
5) ข้าพเจ้าเป็นประธานคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทำงานขององค์กรด้วยตนเอง (หรือ ปฏบิ ตั ิครบ ปฏบิ ัติ ไมเ่ ขา้
ทกุ ข้อ บางขอ้ ประชุมเลย
มอบหมายให้ผอู้ น่ื เป็นประธาน ฯ) แทน กรณมี อบอำนาจ
• มีหนังสือได้รับมอบอำนาจเป็นประธานคณะกรรมการความ
ปลอดภัยฯ (กรณนี ิตบิ ุคคล ตามการจดทะเบยี นบริคณหส์ นธ)ิ
• มีหนังสือแต่งตั้งเป็นประธานคณะกรรมการความปลอดภัยฯ
พร้อมกับการมอบหมายบทบาทหนา้ ท่ี
106
• ประธานคณะกรรมการความปลอดภัย ฯ เข้าประชุมและทำ
หน้าทีใ่ นฐานะประธานคณะกรรมการความปลอดภัย ฯ ทกุ ครั้ง
• กรณที ่ีอาจไม่สามารถเขา้ ประชุมได้ มกี ารมอบอำนาจเป็นลาย
ลักษณ์อักษรทุกครั้งและติดตามผลการประชุมทุกครั้งประธาน
คณะกรรมการความปลอดภยั ฯ ตามคำสัง่ แตง่ ตัง้ คณะกรรมการ
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
(กรณผี ้ไู ด้รบั มอบหมายเป็นประธาน คปอ. ตอ้ งเป็นลกู จ้างระดับ
บรหิ ารทม่ี อี ำนาจหน้าท่ีกระทำการแทนนายจ้างสำหรับกรณีการ
จ้าง การลดคา่ จ้าง การเลกิ จ้าง การใหบ้ ำเหนจ็ การลงโทษ หรือ
การวินิจฉัยข้อร้องทุกข์ และได้รับมอบหมายเป็นหนังสือจาก
นายจา้ ง)
6) การประชุมคณะกรรมการความปลอดภัยอาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทำงาน ตอ้ งมีผ้แู ทนนายจ้างระดับบงั คับบัญชา ปฏบิ ัติครบ ปฏิบตั ิ ไมป่ ฏบิ ตั ิเลย
ผู้แทนลูกจ้างระดับปฏิบัติการ และผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัย ทุกข้อ บางขอ้
และสุขภาพอนามัย (ถ้ามี) เข้าร่วมประชุมด้วยทุกครั้ง โดยมีการ
ประชุมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครงั้
• ดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการความปลอดภัยและอาชี
วอนามยั ตามกฎหมายครบองคร์ วม เป็นประจำทกุ เดอื น
• มีการเชิญผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ผู้ชำนาญการ เข้าร่วมประชุม
หารือในกรณีทีม่ ีประเดน็ เรื่องความปลอดภัยและอาชวี อนามัยท่ี
เกีย่ วข้องซึง่ อาจต้องการข้อเสนอแนะความคิดเห็น หรอื แนวทาง
การป้องกันแก้ไขเฉพาะด้านที่ต้องการผู้เชี่ยวชาญพิเศษ
ผู้ชำนาญการ และมีบันทึกไวใ้ นรายงานการประชมุ
• มีการบันทกึ รายงานการประชุมทุกคร้ัง
• มกี ารสอ่ื สารรายงานการประชมุ คณะกรรมการความปลอดภัย
ฯ
(รายช่ือผมู้ าประชมุ และผู้เข้าร่วมประชมุ ในรายงานการประชุม
คณะกรรมการความปลอดภัย ฯ)
7) สถานประกอบกิจการมีการเตรยี มความพรอ้ มกรณีเกดิ เหตุ
ฉกุ เฉิน โดยมกี ารฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนไี ฟ อย่าง ปฏบิ ตั ิครบ ปฏิบตั ิ ปฏิบตั ิ
นอ้ ยปีละคร้ัง ตามแผนป้องกันและระงบั อคั คีภยั ทกุ ข้อ สว่ นใหญ่ บางข้อ
• สถานประกอบกิจการมีแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยตาม
กฎหมายซึ่งประกอบด้วยแผนการอบรม แผนรณรงค์ แผนตรวจ
ตรา แผนดับเพลิง แผนอพยพหนีไฟ แผนบรรเทาทุกข์ และอาจ
107
มีแผนฉุกเฉินกรณีอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม เช่น สารเคมีรั่วหก
กมั มันตรังสี ฯลฯ
• มีการดำเนินการตามแผนรับมือกับเหตุฉุกเฉินต่างๆ เพื่อ
เตรยี มพรอ้ มในการป้องกันและลดความสูญเสียจากเหตุภัยต่างๆ
โดยเฉพาะอย่างย่ิงจากอคั คภี ยั
• มีการฝึกซอ้ มดับเพลงิ และซอ้ มอพยพหนไี ฟ อย่างนอ้ ยปลี ะคร้ัง
- 40% ของผ้ปู ฏิบัตงิ านแตล่ ะสว่ นงานไดร้ ับการอบรมดับเพลิง
ขัน้ ตน้
- ส่งรายงานตามกฎหมาย
• มกี ารประเมนิ และทบทวนประสิทธิภาพแผนฉกุ เฉิน เพื่อนำไป
ดำเนินการแก้ไขและปรบั ปรงุ อยา่ งตอ่ เน่ือง
(อธิบาย สาธิต หรอื แสดงตัวอยา่ ง)
8) มีการตรวจตดิ ตามปฏิบตั ติ ามแผนงานด้านความปลอดภัยและอา ปฏบิ ัตคิ รบ ปฏิบัติ ปฏิบัติ
ชีวอนามัย ทกุ ข้อ ส่วนใหญ่ บางขอ้
• สถานประกอบกิจการมีการทบทวน ประเมิน หรือตรวจสอบ
เช่นเดียวกับระบบการจัดการคุณภาพและระบบอื่นๆ เพื่อให้
ทราบผลการดำเนินงานว่าเป็นไปเป้าหมายหรือแผนงานที่ตั้งไว้
หรือ ไม่
• มกี ารนำผลการติดตามแผนงานนำไปปรบั ปรงุ อยา่ งต่อเน่ือง
• ความถี่และวิธีการติดตามความสำเร็จขึ้นกับนโยบาย และ
แผนการจัดการของสถานประกอบกจิ การ
• มีการดำเนินการตรวจประเมินความปลอดภัยและอาชีวอนา
มัยของสถานประกอบกจิ การหลายรปู แบบ เชน่
- การตรวจประเมนิ ระบบการจดั การความปลอดภัยและ
อาชวี อนามยั ภายใน (Internal Audit)
- การตรวจประเมินระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชี
วอนามัย โดยหน่วยงานภายนอก (Second or Third Party
Audit or CB)
- การตรวจประเมินการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนา
มัยตามข้อกำหนดของกฎหมาย (Legal Compliance Audit)
หรือ ข้อบังคับของ สถานประกอบกิจการโดยบุคลากรภายใน
(Cross Function Audit)
108
• สถานประกอบกิจการมีแผนการตรวจประเมิน วิธีตรวจ
ประเมิน และรายงานผลการตรวจประเมิน
(อธิบาย สาธติ หรอื แสดงตัวอยา่ ง)
9) สถานประกอบกิจการของข้าพเจ้ามีระบบการจัดการด้านความ
ปลอดภัย และอาชีวอนามัย มกี ารตรวจประเมินตามระบบโดยผู้ตรวจ ปฏิบตั ิครบ ปฏิบัติ ปฏิบัติ
ส่วนใหญ่ บางขอ้
ประเมนิ ภายนอก และมีเอกสารผา่ นการรับรองใหต้ รวจสอบได้ ทุกข้อ
• สถานประกอบกิจการมีระบบการจัดการความปลอดภัยและ
อาชีวอนามัย เช่น Vision Zero, QSR, RBA, TIS, TLS8001,
ISO, SA8000, SMETA ฯลฯ
• มีการกำหนดแผนการจดั การตามระบบ
• มีการดำเนินการตรวจประเมินระบบการจัดการความ
ปลอดภัย และอาชีวอนามัย โดยหน่วยงานภายใน (Internal
Audit)
• ได้รับการตรวจประเมินระบบการจัดการความปลอดภัยและ
อาชีวอนามัย โดยหน่วยงานภายนอก (Third Party Auditor
หรือ CB)
• สถานประกอบกิจการได้รับรายงานผลการตรวจประเมินตาม
ระบบ หรือเอกสารที่แสดงถึงการผ่านการรับรองระบบการ
จดั การใด ๆ
(อธบิ าย สาธติ หรือแสดงตวั อย่าง)
รวมคะแนน 4.3
รวมคะแนน 4.1-4.3
109
กฎทองขอ้ ที่ 5: เคร่อื งจกั ร อปุ กรณ์ และสถานทีท่ ำงานมีความปลอดภัย และไม่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
อนามยั (Ensure safety and health in machines, equipment and workplaces)
ความปลอดภัยของเคร่อื งจกั รและอปุ กรณ์ในการผลิต และสถานที่ทำงาน เปน็ ส่ิงจำเปน็ ทต่ี อ้ งนำมาพิจารณา
เพ่ือให้การทำงานปราศจากอุบัตเิ หตุ และผลกระทบตอ่ สุขภาพอนามัย
5) ขา้ พเจา้ จัดใหม้ เี สน้ ทางการจราจรท่ปี ลอดภัยตลอดเวลา ในสถาน ปฏบิ ัตคิ รบ ปฏบิ ัติ ไม่ปฏบิ ตั เิ ลย
ทุกข้อ บางข้อ
ประกอบกจิ การของข้าพเจา้
• มีการกำหนด และจัดทำเสน้ ทางการจราจรเพื่อความปลอดภยั ฯ
• ได้มีการทาสีตีเส้นกำหนดเสน้ ทางจราจรที่ชัดเจนภายในสถาน
ประกอบกิจการ เช่น ทางเดินเท้าสำหรับพนักงาน เส้นทางว่ิง
ของรถโฟลค์ ลิฟท์
• เส้นทางเดนิ รถทวั่ ไป ชอ่ งจอดรถ เปน็ ต้น
• มกี ารตดิ ตง้ั ป้ายกำหนดความเร็ว สัญญาณจราจร และอน่ื ๆ
(หลักฐานการดำเนนิ การ)
6) เส้นทางหนีไฟ อุปกรณ์ป้องกนั และระงบั อัคคีภัย และการระเบิด ปฏิบตั ิครบ ปฏบิ ตั ิ ปฏบิ ตั ิ
อย่ใู นสภาพที่ปลอดภยั และพรอ้ มใช้งานไดต้ ลอดเวลา ทุกขอ้ 2-5 ขอ้ 0-1 ข้อ
• มีการกำหนด และจัดทำแผนผังเส้นทางหนีไฟ จุดติดต้ัง
อุปกรณ์แจ้งเหตุ และอุปกรณ์เตือนภัยเกี่ยวกับอัคคีภัย และการ
ระเบิด อุปกรณ์ดบั เพลงิ
• มีการติดตั้งอุปกรณ์แจ้งเหตุ และอุปกรณ์เตือนภัยเกี่ยวกับ
อัคคภี ัย และการระเบิดทใ่ี ช้งานได้ สามารถเหน็ ชดั เจน
• มีการติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิงชนิดต่าง ๆ ตามประเภทของ
อัคคีภยั ใชก้ ารได้ และสามารถเข้าถงึ ไดง้ า่ ย
• มีการส่ือสารให้กับพนักงาน และพนักงานทราบวิธีการใช้งาน
• มีการดำเนินการตรวจตรา และบำรุงรักษาตามกำหนด พร้อม
ใชง้ านตลอดเวลา
• มีการบันทึกการตรวจเสน้ ทางหนีไฟ อุปกรณ์แจ้งเหตุ อุปกรณ์
เตือนภัย และอปุ กรณ์ดับเพลิงต่าง ๆ
(แผนงาน หลักฐานการดำเนนิ การ การตรวจ)
รวมคะแนน 5.2
110
5.3 เราดูแลให้แน่ใจว่าหน่วยผลิตของเรา เครื่องมือ เครื่องจักร ผลการประเมินตนเอง
และอุปกรณ์ ไม่ก่อให้เกิดอันอันตรายต่อสุขภาพ หรือ มีอันตราย
น้อยท่สี ดุ
1) สภาพแวดล้อมในการทำงาน เช่น ฝุ่น สารเคมีอันตราย เสียงดัง
และการสั่นสะเทือน ได้รับการตรวจวัด มีมาตรการควบคุมและ ปฏบิ ตั ิครบ ปฏบิ ัติ ปฏบิ ตั ิ
ป้องกนั เพื่อลดอันตรายลงให้น้อยทีส่ ุดเท่าท่จี ะทำได้ รวมท้งั ทบทวน ทกุ ข้อ 2-5 ขอ้ 0-1 ขอ้
มาตรการดังกล่าว เปน็ ระยะ ๆ อย่างสม่ำเสมอ
• มีแผนการตรวจวัดสภาพแวดล้อมในการทำงานสอดคล้องกับ
ผลการประเมนิ ความเส่ียง
•มีการดำเนินการตรวจวัดสภาพแวดล้อมตามแผนงาน และ
บันทกึ ผลการตรวจวดั
• มี การ ว ิ เ คร าะห ์ ผ ล การ ต ร ว จ ว ั ด ส ภ าพแว ด ล ้ อมแล ะด ำเ นิ น
มาตรการควบคุมป้องกนั
•มีการจัดทำมาตรการควบคุมและป้องกันอันตรายจาก
สภาพแวดลอ้ มในการทำงานทช่ี ัดเจน และดำเนินการ
• มีการทบทวนมาตรการควบคุมป้องกันอย่างสม่ำเสมอและมี
การตรวจสอบ หรอื ตรวจติดตาม
•มีการรายงานผลการตรวจสภาพแวดล้อมในการทำงานตาม
กฎหมาย
(แผนงาน รายงาน หลกั ฐานการตรวจและการรายงาน)
2) มีการตรวจสอบประสทิ ธผิ ลของหน่วยลดการระบายมลพษิ เชน่ ปฏิบตั ิครบ ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏิบตั เิ ลย
ระบบการกำจดั ฝุ่น ไดร้ บั การบำรงุ รกั ษาเป็นระยะ ๆ อย่างสม่ำเสมอ ทกุ ข้อ ขอ้ ใด
ข้อหนึง่
• มีแผนบำรุงรักษา และตรวจสอบระบบควบคุม หรือ ระบบ
ปอ้ งกันอนั ตรายตา่ ง ๆ
• มีการปฏิบัติ หรือ ดำเนินการตรวจสอบตามแผนตรวจสอบ
อยา่ งสมำ่ เสมอ
(แผนงาน หลกั ฐานการตรวจสอบมาตรการ)
111
3) สถานประกอบกิจการให้ความสนใจเกี่ยวกับการออกแบบด้าน
การยศาสตร์ของสถานที่ทำงาน และอุปกรณ์การทำงาน เช่น แสง ปฏบิ ัตคิ รบ ปฏิบัติ ปฏิบัติ
สว่างที่เพียงพอ การเคลื่อนยา้ ยสิ่งของตามหลักการยศาสตร์ ท่าทาง ทกุ ข้อ 2-3 ขอ้ 0-1 ข้อ
หรือไม่ครบ
การนั่งที่ถูกต้อง และการหลีกเลี่ยงท่าทางการทำงานที่ไม่เหมาะสม ในแต่ละข้อ
เป็นตน้
ดำเนินการในเรื่องการจัดสภาพการทำงานให้เป็นไปตาม
หลักการยศาสตร์
• จัดหา และใช้เครื่องจักรกล หรืออุปกรณ์เพื่อช่วยทุ่นแรงใน
การทำงาน
• ยกย้ายโดยใชก้ ำลังคน
• จัดสถานีทำงานที่มีแสงสว่างเพียงพอ ไม่มีแสงจ้าหรือแสง
สะท้อน
• จัดสถานที่ทำงานที่สามารถทำให้ผู้ปฏิบัติงานเคลื่อนไหวได้
สะดวก
• จัดลักษณะงาน/สถานที่ทำงานให้เหมาะสมกับผู้ปฏิบัติงาน
ตวั อย่างได้แก่
- ผู้ปฏิบัติงานไม่ทำงานในท่าทางเดียวซ้ำ ๆ เป็นระยะเวลา
นาน
- ผู้ปฏิบัติงานสามารถปรับความสูงของสถานีทำงานได้ (โต๊ะ
เก้าอ้ี จอมอนิเตอร์ เปน็ ตน้ )
- ผู้ปฏิบัติงานไม่ต้องเอื้อมมือเหนือศีรษะ ก้ม/เอี้ยว/บิดตัว
ทำงาน เป็นเวลานาน ๆ
(หลักฐานการจดั สภาพการทำงาน)
รวมคะแนน 5.3
รวมคะแนน 5.1 - 5.3
112
กฎทองข้อท่ี 6: ปรับปรงุ คณุ สมบัติของบคุ ลากร - พัฒนาความรคู้ วามสามารถ
(Improve Qualification - Develop Competence)
เราลงทนุ ในเรอ่ื งการอบรมและการพัฒนาทักษะของบคุ ลากรเพอ่ื ให้มีองค์ความร้ตู ามที่ต้องการในทกุ
สถานที่ทำงาน
6.1 กำหนดคุณวุฒิ/คุณสมบัติ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับ ผลการประเมินตนเอง
การปฏบิ ตั ิงานท่ีสอดคลอ้ งกับเทคโนโลยกี ารผลิต เพื่อใหม้ ีความ
ปลอดภัย ไม่เปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ และไม่ให้งานหยดุ ชะงัก
1) มกี ารพจิ ารณาเปน็ ประจำเก่ยี วกับการกำหนดด้านคุณวุฒ/ิ ปฏิบัติครบ ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏบิ ตั ิเลย
คณุ สมบตั ิของผู้ปฏบิ ตั งิ านให้เหมาะสมกบั ลักษณะงานในสถาน ทุกขอ้ 1-2 ขอ้
ประกอบกิจการ หรอื ไม่ครบ
ในแตล่ ะข้อ
สถานประกอบกจิ การมีการดำเนินการ
• มกี ารกำหนดคณุ วฒุ ิ/คุณสมบัติของผูป้ ฏบิ ตั งิ านชดั เจน
• มีการระบุคุณวุฒิ/คุณสมบัติ/ความสามารถของผู้สมัครงาน
ตรงกับงานอาชีพหรือตำแหน่งงาน ในการประกาศรับสมัคร
งานทงั้ ภายใน และภายนอก
• มีการกำหนดคุณวุฒิการศึกษา ความรู้ความสามารถเทียบ
กบั รายละเอียด และลักษณะของงาน (Job Details หรือ Job
Description)
(เอกสารการกำหนดคณุ วฒุ ิ และคณุ สมบัตขิ องผูป้ ฏิบตั งิ าน
กบั งาน )
2) เมื่อมีการจ้างผู้ปฏิบัติงานใหม่ ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดด้าน
คุณวุฒิ/คุณสมบัติตามข้อ 6.1.1 ซึ่งได้รับการทบทวนอย่างเป็น ปฏบิ ตั คิ รบ ปฏบิ ัติ ปฏิบตั ิ
ระบบ รวมทั้งมีการเตรียมแผนการอบรมให้กับผู้ปฏิบัติงานใหม่ ทกุ ขอ้ 2-3 ข้อ 0-1 ข้อ
ด้วย หรือไมค่ รบ
ในแต่ละข้อ
สถานประกอบกิจการมีการดำเนนิ การ
• มรี ะบบในการทบทวนคณุ วุฒ/ิ คุณสมบัติของผูป้ ฏิบัติงาน
• มีการจ้างงานผู้ปฏิบัติงานใหม่ตามคุณวุฒิ/คุณสมบัติของ
ผปู้ ฏิบตั งิ าน
• มแี ผนการอบรมผปู้ ฏิบตั ิงานใหม่
• จัดให้ผูป้ ฏบิ ตั ิงาน/บุคลากรใหมไ่ ด้รับการฝกึ อบรมหลักสูตร
ต่าง ๆ ทเี่ กยี่ วข้องตามแผนงานหรอื ตามมาตรฝึกอบรม
(เอกสารการทบทวน/ประเมนิ คณุ วุฒิและคุณสมบัติของ
ผ้สู มัคร/ผ้ปู ฏบิ ตั ิงาน)
113
3) ผู้ปฏิบตั งิ านทกี่ ำลงั จะพ้นหนา้ ที่ มีการสอนงาน และสง่ มอบ ปฏิบตั คิ รบ ปฏิบตั ิ ปฏบิ ตั ิ
งานต่อให้แก่ผู้ทรี่ บั ชว่ งการปฏบิ ตั งิ านตอ่ จากเขา ทุกขอ้ 2-4 ข้อ 0-1 ข้อ
หรือไม่ครบ
สถานประกอบกิจการดำเนินการ ในแต่ละขอ้ ไมป่ ฏิบตั ิ
• มีระบบหรือแผนงานในการพัฒนาบุคลากรเพื่อเตรียมความ 0-1 ข้อ
พรอ้ มสกู่ าร
• เปลีย่ นแปลงในอนาคต (Succession Plan)
• มีการกำหนดให้ผู้ที่จะพ้นหน้าที่สอนงานและส่งมอบงาน
ให้แกผ่ ูร้ บั ช่วงงาน
• มีระบบ บัญชีรายการ (List of work) หรือแผนงานในการส่ง
มอบหรือส่งต่อการรบั ช่วงงานของบุคลากร เม่อื มีการเปลี่ยนงาน
ทั้งในการด้านการเรียนรู้งานโดยตรง การอบรมและคู่มือหรือ
เอกสาร
• จัดให้มีการเรียนรู้แบบเงา (shadow) ก่อนหรือระหว่างส่ง
มอบงาน เพ่ือให้แน่ใจว่างานถูกส่งมอบอย่างราบรื่น และมีความ
ต่อเนือ่ ง
• มีรายการบัญชีสิ่งที่ต้องทำ กำหนดการงานที่ต้องส่งต่อ และ
การติดตามผล
(เอกสาร แผนงาน บัญชีรายการ ฯลฯ)
4) ข้าพเจ้าวิเคราะห์โอกาสความเป็นไปได้และเสนอให้ผู้ปฏิบัติงาน
ของขา้ พเจา้ ได้รับการเรียนรู้เพ่ิมเติม/ต่อเนื่อง รวมทั้งการเพ่ิมคุณวุฒิ ปฏบิ ตั ิครบ ปฏิบตั ิ
คุณสมบัติของเขา ให้โอกาสผู้ปฏิบัติงานของข้าพเจ้าได้รับการศึกษา ทุกขอ้ 2-3 ข้อ
หรอื ไมค่ รบ
เพิม่ เติม/ตอ่ เนื่อง
ในแต่ละข้อ
สถานประกอบกิจการดำเนนิ การ
• มีการสำรวจหรือวิเคราะห์ความต้องการการฝึกอบรมและการ
เรยี นร้เู พ่ิมเตมิ /ต่อเนื่องของผ้ปู ฏบิ ัติงาน
• มีโครงการพัฒนาบุคลากรทุกระดบั เป็นลายลักษณ์อักษร และ
มีแผนงานในการพฒั นาผู้ปฏบิ ตั ิงาน/บุคลากร
• มีการดำเนินการพัฒนาบุคลากรตามแผนงา เช่นโครงการ
ศกึ ษาตอ่ เนื่อง การศกึ ษาเพิ่มเติม และอื่น ๆ
• ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานไดร้ ับโอกาสเรียนรู้เพิ่มเติม/ต่อเน่ือง
(เอกสารการสำรวจความต้องการการฝึกอบรม แผนงานโครงการ
แผนพฒั นาบุคลากร ฯลฯ)
รวมคะแนน 6.1
114
6.2 มีการลงทุนการอบรมอย่างเป็นระบบและการศึกษา ผลการประเมินตนเอง
เพิ่มเติม/ต่อเนื่องของผู้ปฏิบัติงาน รวมถึงสนับสนุนให้
ผปู้ ฏิบตั งิ านพฒั นาตนเองเพิ่มเติมดว้ ย
1) เรามีการสอบถามความต้องการในการฝึกอบรมและการศึกษา
เพิ่มเติม/ต่อเนื่องของผู้ปฏิบัติงานเป็นประจำ และนำไปจัดเตรียม ปฏบิ ตั คิ รบ ปฏิบัติ ปฏิบตั ิ
ทกุ ขอ้ 3-4 ข้อ 1-2 ขอ้
แผนการพัฒนาบคุ ลากรตอ่ ไป
สถานประกอบกจิ การดำเนินการ
• มีการจดั ทำมาตรฝกึ อบรม (Training Matrix)
• มีการสำรวจความต้องการในการฝึกอบรม (Training
needs) เปน็ ประจำ
• มีการนำผลการสำรวจความต้องการในการฝึกอบรมไป
จดั ทำแผนงานพฒั นาบุคลากร
• มแี ผนการพัฒนาบุคลากร
• บคุ ลากรได้รบั การฝกึ อบรม/พฒั นาตามแผน
(บันทึกการสำรวจความต้องการ มาตรและแผนฝึกอบรม
บนั ทึกการอบรม)
2) ข้าพเจ้าได้ใช้ประโยชน์จากหลักสูตรการอบรมและการศึกษา
เพิ่มเติม/ต่อเนื่อง ที่จัดโดยสถาบันการศึกษา รวมทั้งหน่วยงาน ปฏิบตั คิ รบ ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏิบตั ิเลย
ทกุ ข้อ บางข้อ
ภาครฐั หรอื เอกชน โดยสง่ ผปู้ ฏบิ ตั ิงานไปเขา้ อบรมเป็นประจำ
สถานประกอบกิจการ
• มีหลักสูตรการอบรมและการเรียนร้เู พม่ิ เตมิ /ตอ่ เนื่องทจ่ี ดั
โดยสถาบัน การศกึ ษา รวมท้ังหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน
• มีหลักฐานการเข้าอบรม/การเรยี นรเู้ พม่ิ เตมิ /ต่อเน่ือง
• มโี ครงการส่งเสริมการศกึ ษาตอ่ เน่อื งสำหรับผูป้ ฏบิ ัติงาน
• มีการส่งผู้ปฏิบัติงานไปเข้าอบรมหลักสูตรต่าง ๆ เพิ่มเติม
เปน็ ประจำ
• ส่งเสรมิ หรอื สง่ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านไปศึกษาตอ่ เน่อื ง
(เอกสาร หรอื บันทึก)
115
3) ข้าพเจ้าได้ใช้ประโยชน์จากข้อเสนอของผู้ผลิต ผู้จำหน่าย และ
องค์กรต่าง ๆ ในการศึกษาเพิ่มเติม/ต่อเนื่อง รวมทั้งข้าพเจ้ายังได้ ปฏบิ ตั ิครบ ปฏิบัติ ไม่ปฏบิ ตั เิ ลย
ใช้ช่องทางสื่อใหม่ ๆ (เช่น อินเทอร์เน็ต การเรียนรู้ผ่านสื่อ ทุกขอ้ บางข้อ
อเิ ลก็ ทรอนิกส์) เพื่อให้ได้ขอ้ มลู ที่ทนั สมัยอยตู่ ลอดเวลา
สถานประกอบกจิ การ
• มีการทำข้อตกลงในการแบ่งปันข้อมูลความรู้จากผู้ผลิต ผู้
จำหน่าย และองค์กรตา่ ง ๆ
• มีการใช้ประโยชน์จากข้อมูลของผู้ผลิต ผู้จำหน่าย และ
องค์กรต่าง ๆ รวมทั้งสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้ได้ข้อมูลท่ี
ทันสมยั นำมาใช้พัฒนาบคุ ลากร
• มีการส่งเสริมผู้ปฏิบัติงานให้สามารถพัฒนาตนเองโดยการ
ใช้ประโยชน์จากสื่อหรือช่องทางใหม่ ๆ ในการรับข้อมูล
ข่าวสารที่ทันสมัยเพื่อการเรียนรู้ตลอดเวลา เช่น ส่ือ
อิเล็กทรอนกิ ส์ อนิ ทราเน็ต แอพพลเิ คช่ันต่าง ๆ เปน็ ตน้
(เอกสาร หรือบันทึก)
4) ผบู้ ริหารใหค้ วามสำคัญตอ่ คุณภาพของการอบรมหรือศึกษา
เพ่มิ เติม/ตอ่ เน่ือง ซ่งึ มเี นอ้ื หาหลักสตู รที่มภี าคปฏิบัติรวมอย่ดู ว้ ย ปฏบิ ตั คิ รบ ปฏิบตั ิ ไม่ปฏบิ ตั ิเลย
ทกุ ขอ้ บางข้อ
• มีแผนการอบรม หรอื เรยี นรู้เพิ่มเตมิ /ต่อเน่ืองที่กำหนดให้มี
ภาคปฏิบัติดว้ ย
• มีการจัดอบรมหลักสูตร หรือศึกษาเพิ่มเติม ที่ครอบคลุม
ภาคปฏบิ ตั ิ ใหก้ บั ผูป้ ฏบิ ัติงาน
• มีการจัด workshop
• มีการมอบหมายงานกลุ่ม การทำโครงการ และการนำเสนอ
(เอกสาร หรือบนั ทึก)
รวมคะแนน 6.2
116
6.3 มีการนำสมรรถนะใหม่ที่ได้รับหรือพัฒนาเพิ่มเติมของ ผลการประเมนิ ตนเอง
ผู้ปฏิบัติงาน มาพิจารณาเพือ่ มอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบ
ใหมท่ ีเ่ หมาะสม
1) หลังจากที่ผู้ปฏิบัติงานของข้าพเจ้าเข้ารับการอบรมหรือศึกษา
เพิ่มเติม/ต่อเนื่องแล้ว ข้าพเจ้าจะสอบถามเกี่ยวกับความรู้และ ปฏิบัตคิ รบ ปฏิบตั ิ ปฏบิ ตั ิ
0-1 ขอ้
ความคดิ ทีไ่ ด้รบั มาใหม่ ทุกข้อ 2-3 ข้อ
สถานประกอบกิจการดำเนินการทั้งที่เป็นทางการและไม่เปน็ หรอื ไม่ครบ
ทางการ ในแต่ละขอ้
• มกี ารกำหนดแบบแผนหรือระเบียบปฏิบัตใิ หผ้ ู้ปฏิบัติงานที่ ทกุ ขอ้
ไปรับการอบรม ศึกษาเพิ่มเติมหรือต่อเนื่อง รายงานหรือ
แบง่ ปันความรูท้ ่ีได้รบั ตอ่ ผ้บู ังคับบัญชา เมอ่ื กลบั มาทำงาน
• ผู้บริหาร หรือหัวหน้าหน่วยงาน มีการดำเนินการ พูดคุย
สอบถาม เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นที่ผู้ปฏิบัติงาน
ได้รบั จากการอบรม
• จัดใหม้ ชี อ่ งทางต่าง ๆ ในการแบง่ ปนั ขอ้ มูลความรู้กับเพ่ือน
ร่วมงานที่เกี่ยวข้องทราบ เช่น การจัดเวลา ให้นำเสนอ การ
นำเขา้ ในการประชมุ ฯลฯ
• ผู้ปฏิบัติงานที่ไปรับการอบรมมีการแบ่งปันข้อมูลให้กับ
เพือ่ นรว่ มงานหรือผเู้ กีย่ วขอ้ ง
(เอกสาร รายงานการอบรม บันทึกการอบรม ฯลฯ)
2) ข้าพเจ้าหาโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานที่ได้สำเร็จการศึกษาเพิ่มเติม/
ต่อเนื่องแล้ว สามารถนำสิ่งที่เขาได้เรียนรู้มาถ่ายทอดให้กับเพื่อน ปฏิบัติครบ ปฏบิ ตั ิ ไมป่ ฏบิ ตั ิเลย
รว่ มงานดว้ ย
ทุกข้อ บางขอ้
• มีแบบแผนหรือจัดช่วงเวล (จัด session) เพื่อให้
ผู้ปฏิบัติงานที่ได้รับจากการอบรม/ศึกษาเพิ่มเติม นำสิ่งที่
เรียนรู้หรือประสบการณ์มาถ่ายทอดให้เพื่อนร่วมงานได้รับ
ทราบ
• มีการถ่ายทอดความรู้ของผู้ที่ได้รับการอบรมหรือเรียนรู้
เพม่ิ เตมิ /ตอ่ เน่ือง ใหก้ ับเพ่อื นร่วมงาน
(แผนงาน บนั ทกึ ฯลฯ)
117
3) ข้าพเจ้าเช่ืออย่างยิ่งว่าการศกึ ษาเพิ่มเตมิ /ต่อเนื่องน้ัน เป็นสิง่ ที่
จำเป็นเพื่อทำให้ความปลอดภัย และสุขภาพอนามัยในสถาน ปฏบิ ัตคิ รบ ปฏิบัติ ไมป่ ฏบิ ตั ิเลย
ทุกขอ้ บางข้อ
ประกอบกจิ การยังธำรงอยู่ในระดับสูงได้
• มีโครงการพัฒนาบุคลากร ส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานให้ได้รับ
ความรู้ดา้ นตา่ ง ๆ ทเี่ กี่ยวข้องรวมถงึ ด้านความปลอดภยั ฯ
• มีการดำเนินการฝึกอบรม การสัมมนา การจดั กจิ กรรมต่าง ๆ ฯลฯ
• มกี ารประเมนิ ผลการอบรม การสมั มนา กจิ กรรมตา่ ง ๆ
• (โครงการ บันทึก ฯลฯ)
รวมคะแนน 6.3
6.4 ความรู้นำไปสู่ความปลอดภัย - เป็นเหตุผลที่สำคัญในการ ผลการประเมนิ ตนเอง
สอนงานแก่ผู้ปฏิบัติงานให้มีความรู้ ความเข้าใจ เพื่อจะได้
ปฏบิ ตั ิงานไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและปลอดภัย
1) การสอนงานควรจัดให้สอดคล้องกับผู้เรียน โดยใช้รูปแบบการ ปฏิบตั คิ รบ ปฏิบตั ิ ปฏิบัติ
พูดคุยแลกเปลี่ยน มากกว่าการสอนแบบบรรยายอย่างเดียว และ ทกุ ข้อ 2-4 ข้อ 0-1 ขอ้
ควรมีการจัดอบรมให้แก่ผูใ้ ต้บังคับบัญชาระดบั บริหาร ในรูปแบบ
หรือไมค่ รบ
เดยี วกนั ดว้ ย ในแต่ละขอ้
ทกุ ขอ้
• มรี ะเบียบปฏบิ ตั ิ/วิธกี ารสอนงานให้ผ้ปู ฏบิ ตั ิงาน
• มเี ครอื่ งมอื และส่ือในการสอนงานทสี่ อดคล้องกบั หลักสูตร
การสอน และการปฏิบัติ
• มีการให้เรียนด้วยการลงมือปฏิบัติ ( On the Job
Training)
• มกี ารทบทวนหลงั การสอนงาน
• มีการประเมินผล เพือ่ ใหแ้ น่ใจว่าผู้ปฏิบัติงานรู้ ความเข้าใจ
ปฏบิ ตั ิงานได้อย่างถกู ต้อง และปลอดภยั
(รายละเอยี ดการสอนงาน การประเมินผล ฯลฯ)
118
2) มีการนำความแตกต่างในเรื่องความรู้และทักษะด้านภาษาที่ ปฏิบตั ิครบ ปฏิบัติ ปฏิบตั ิ
ทุกข้อ 2-4 ขอ้ 0-1 ข้อ
หลากหลายของผู้ปฏิบตั งิ าน มาพิจารณาในการสอนงานด้วย
หรอื ไมค่ รบ
• ในการฝึกอบรมหรือสอนงานของสถานประกอบกิจการ ในแตล่ ะขอ้
ทกุ ขอ้
คำนึงถึงหรือระบุถึงความแตกต่างของบุคคลในด้านต่าง ๆ
(Diversity)
• มีแผนการจัดทำหลักสูตรการเรียนรู้และการสอนงานที่
เหมาะสมกับความแตกต่างของบุคคลในการเรียนรู้ เช่น
ภาษา ศักยภาพในการเรียนรู้ ความสามารถ/ข้อจำกัดทาง
ร่างกาย และขอ้ จำกดั อนื่ ๆ)
• ใช้วิธีการเหมาะสมกับสภาพร่างกายหรือข้อจำกัดทาง
ร่างกาย
• ใช้สื่อหรือวิธีการที่เหมาะสมกับความหลากหลายของ
ผู้ปฏบิ ตั ิงานสว่ นใหญ่
• มีการดำเนินการตามแผน
(เอกสารหรือบนั ทึกทเ่ี กยี่ วขอ้ ง)
3) ข้าพเจ้าตรวจสอบว่า ผู้ปฏิบัติงานได้เข้าใจในเนื้อหาสาระของ
การสอนงาน โดยที่การสอนงานมีการจัดทำเป็นรูปแบบเอกสาร ปฏบิ ัติครบ ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏบิ ตั ิเลย
ทกุ ข้อ บางข้อ
เชน่ เดียวกับการฝึกอบรมและการศึกษาเพ่ิมเติม/ต่อเนื่อง
• สถานประกอบกิจการมีการจัดทำหลักสูตร หรือสาระ
รายละเอียดของการสอนงาน โดยระบุวิธกี ารทใี่ ช้ในการอบรม
เช่น เอกสารประกอบ (อักษรและภาพ) การสาธิตด้วย
ภาพเคล่อื นไหว/ภาพนงิ่ การลงมือปฏบิ ัติ ฯลฯ
• สถานประกอบกิจการมีเครื่องมือที่เหมาะสมเพื่อใช้ในการ
ประเมนิ ความรู้และความเขา้ ใจของผ้ปู ฏิบัตงิ าน
• มีการประเมินหรือตรวจสอบ/วัดระดับความรู้ความเข้าใจ
ของผปู้ ฏิบตั งิ าน
(เอกสารหรือบันทึกทเี่ กย่ี วขอ้ ง)
รวมคะแนน 6.4
รวมคะแนน 6.1 - 6.4
119
กฎทองข้อที่ 7: ลงทุนในด้านบุคลากร - สร้างแรงจูงใจโดยการให้มีส่วนร่วม (Invest in People -
Motivate by Participation)
สร้างแรงจูงใจผู้ปฏิบัติงาน โดยการให้ทุกคนมีส่วนร่วมในทุกเรื่องที่เกี่ยวกับความปลอดภัย และสุขภาพ
อนามัย เปน็ การลงทุนท่ีให้ผลตอบแทนทค่ี ้มุ ค่า
7.1 ข้าพเจ้าแสดงความชื่นชมต่อผู้ปฏิบัติงานในเรื่องที่เกี่ยวกับ ผลการประเมนิ ตนเอง
ค วามปลอดภ ัยแ ละสุขภ าพอน า มั ย แ ละค าดหวัง ว่ า
ผใู้ ตบ้ งั คับบัญชาระดับบรหิ ารและพนักงานอาวุโส
ทุกคนจะทำเช่นน้ันดว้ ย
1) ข้าพเจ้าให้ผู้ปฏิบัติงานของข้าพเจ้ามีส่วนร่วมในการตัดสินใจท่ี
เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในสถานประกอบ ปฏิบัตคิ รบ ปฏบิ ัติ ปฏิบตั ิ
กิจการ ข้าพเจ้ายกย่องชมเชยผูป้ ฏิบัติงานที่มีพฤติกรรมทีป่ ลอดภยั ทุกขอ้ 3-7 ข้อ 0-2 ขอ้
และว่ากล่าวทนั ทีเม่ือมพี ฤติกรรมทไ่ี ม่ปลอดภยั หรือไม่ครบ
สถานประกอบกิจการเปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานมีส่วนร่วมใน ในแต่ละข้อ
การตดั สนิ ใจหรือแสดงความคิดเห็นดา้ นความปลอดภยั และอา
ชีวอนามัย อยา่ งเหมาะสม
• นำเขา้ ในการประชุมคณะกรรมการความปลอดภยั ฯ
• มีโครงการการแสดงความคิดเห็น หรือโครงการสำรวจความ
คิดเห็นดา้ นความปลอดภัย ฯ
• มกี ลอ่ งรับความคดิ เหน็ เว็บไซต์ แอพพลิเคช่ันต่าง ๆ
• มีการรวบรวมผลการตัดสินใจเกี่ยวกับความคิดเห็นและ
ข้อเสนอแนะ
• มีการสอ่ื สารใหผ้ ้ปู ฏบิ ัตงิ านได้รบั ทราบ
• มีโครงการยกย่องชมเชยผู้ปฏิบัติงานที่ประพฤติปฏิบัติเป็น
ตัวอย่างท่ีดีดา้ นตา่ งๆ ครอบคลมุ ด้านความปลอดภยั ฯ
• มีการดำเนินการ การยกยอ่ งชมเชยท้งั ทเ่ี ปน็ รางวัลหรอื คำ
ชมเชยก็ได้
• มีระเบียบข้อบังคับในการทำงานเป็นขั้นตอน ในการลงโทษ
กรณีที่ผู้ปฏิบัติงานฝ่าฝืนกฎระเบียบหรือข้อปฏิบัติเกี่ยวกับ
ความปลอดภัย
• มีการดำเนนิ การตามระเบียบขอ้ บงั คับในการทำงาน
(เอกสาร ระเบียบขอ้ บังคับ บันทึกการประชุม บันทึกส่ือสาร ฯลฯ)
120
2) ผปู้ ฏิบัตงิ านสามารถเข้าถงึ ขา้ พเจา้ ไดเ้ สมอ และขา้ พเจ้า ปฏบิ ัตคิ รบ ปฏบิ ัติ ปฏบิ ัติ
แสดงใหเ้ หน็ ว่าข้าพเจา้ อยู่กับเขาในทท่ี ำงานดว้ ย ทุกข้อ 2-3 ขอ้ 0-1 ขอ้
หรือไมค่ รบ
• มีนโยบายเปิดกว้างให้ผู้ปฏิบัติงานเข้าพบหรือเข้าถึงได้ ในแต่ละข้อ
(Open door policy)
• มีช่องทางที่ผู้ปฏิบัติงานสามารถเข้าถึงผู้บริหารหรือหัวหน้า ปฏิบัตคิ รบ ปฏิบัติ ปฏิบัติ
หนว่ ยงานโดยตรง เชน่ ไลนก์ ลุ่ม โทรศัพท์ การประชุมกลุ่มย่อย ทกุ ขอ้ 2-3 ข้อ 0-1 ขอ้
โครงการพบผู้บริหาร ฯลฯ หรือไม่ครบ
• ผู้บริหารหรือหัวหน้างานหน่วยงานมีการทำกิจกรรมร่วมกับ ในแต่ละขอ้
ผู้ปฏบิ ตั งิ าน
• มีบันทึกการรับทราบของผู้บริหารในเรื่องที่ผู้ปฏิบัติงานเข้า
พบ/พดู คุย
• (นโยบาย บันทกึ การประชมุ บนั ทกึ ส่ือสาร ฯลฯ)
3) ข้าพเจ้าถือว่าข้อมูล รายงานเกี่ยวกับปัญหา และความ
คิดเห็นของผู้ปฏิบัติงานเป็นเรื่องจริงจัง ที่จะนำมาหาวิธีการ
แก้ไขปญั หา และพร้อมท่ีจะใหค้ ำตอบในช่วงเวลาทเ่ี หมาะสม
สถานประกอบกิจการจดั ใหม้ กี ารดำเนินการ ดงั น้ี
• มีระบบในการรับฟังและรวบรวมข้อมูล/รายงานปัญหา/
ขอ้ ขัดขอ้ ง/ความคิดเห็นของผู้ปฏิบัติงาน
• มีระบบหรือขั้นตอนในการตอบสนองต่อรายงาน/ข้อคิดเห็น
ของผ้ปู ฏิบัติงาน (การนำขอ้ มลู /รายงานปัญหาไปวิเคราะห์ เพ่ือ
จัดทำแผนดำเนนิ การแก้ไขปรบั ปรุง)
• มีการจดั ทำแผนการดำเนินการแกไ้ ข
• มีการดำเนินการ ติดตามผล และสื่อสารหรือแจ้งให้
ผ้ปู ฏิบตั ิงานทเ่ี กี่ยวข้องทราบ
(บันทึกขอ้ มูล การดำเนินการ การสือ่ สาร ฯลฯ)
รวมคะแนน 7.1
121
7.2 ข้าพเจ้าใช้หัวข้อเรื่องความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยใน ผลการประเมินตนเอง
การทำงาน ในการสรา้ งและพฒั นาวฒั นธรรมองค์กรเชงิ บวก
1) เราธำรงไวซ้ ่งึ วัฒนธรรมองคก์ รที่อยบู่ นพน้ื ฐานความไวว้ างใจ ปฏิบัตคิ รบ ปฏิบัติ ปฏิบัติ
ความเคารพนบั ถือและความร่วมมือกนั ทุกขอ้ 2-5 ขอ้ 0-1 ข้อ
หรอื ไมค่ รบ
• มีการจัดกิจกรรมที่เสริมสร้างการทำงานเป็นทีม เช่น การ ในแตล่ ะข้อ
มอบหมายการทำงานเป็นกลุ่ม (Groupwork Assignment)
การสร้างทมี สมั พันธ์ (Teamwork Building)
• มีผลการประเมินหรือตอบรบั จากผูป้ ฏบิ ตั งิ านในเชงิ บวก
• มีโครงการพี่เลย้ี ง (Mentoring Program) เพื่อนช่วยเพอื่ น ฯลฯ
• มีการประเมนิ โครงการ และความพึงพอใจ
• มีการรายงานของผู้ปฏิบัตงิ านในเชงิ สร้างสรรค์
• ผู้ปฏบิ ัตสิ ามารถตกั เตอื นซึง่ กนั และกัน ด้วยความมีมิตรไมตรี
(หลกั ฐาน/กิจกรรม)
2) ปญั หาต่าง ๆ ไดร้ ับการกล่าวถงึ อยา่ งเปิดเผยในสถานประกอบ ปฏบิ ัตคิ รบ ปฏบิ ัติ ปฏิบตั ิ
กจิ การของขา้ พเจ้า ทกุ คนมีสิทธแิ ละหน้าท่ีทจี่ ะบอก “หยุด” ไดใ้ น ทุกข้อ 2-4 ขอ้ 0-1 ขอ้
กรณที ีม่ ีอันตราย และมีสภาพการทำงานทไ่ี มป่ ลอดภยั หรือไมค่ รบ
ในแต่ละข้อ
• มีประกาศ/ระเบียบ/ข้อบังคับการทำงานที่กำหนดให้ลูกจ้าง
สามารถหยดุ ปฏบิ ตั งิ านท่อี าจกอ่ ใหเ้ กิดอนั ตรายได้
• มีการสื่อสารประกาศ/ระเบียบ/ข้อบังคับการทำงาน ให้
ผู้ปฏบิ ตั ิงานทราบ
• ผู้ปฏิบัติงานมีการรับทราบประกาศ/ระเบียบ/ข้อบังคับการ
ทำงาน
• ผู้บังคับบัญชามีการบอกกล่าว/สื่อสารให้ผู้ปฏิบัติงานทราบ
ปญั หาหรอื สภาพการทำงานท่ีไมป่ ลอดภัย กอ่ นมอบหมายงาน
• มีการหยุดงานเมอื่ พบว่างานอาจกอ่ ใหเ้ กดิ อันตรายได้
(เอกสาร หลกั ฐาน/กิจกรรม )
122
3) ข้าพเจ้าแสดงความมงุ่ มั่นว่า ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านและครอบครัวของเขา ปฏบิ ตั ิครบ ปฏิบตั ิ ปฏิบตั ิ
ทราบว่าผูป้ ฏิบัติงานทกุ คน ทำงานอยูใ่ นสถานประกอบกจิ การท่ีมี ทุกข้อ 2-4 ข้อ 0-1 ข้อ
ความปลอดภยั หรอื ไมค่ รบ
ในแต่ละขอ้
• สถานประกอบกิจการมีนโยบายด้านความปลอดภัยและอาชี
วอนามัยในการทำงาน ปฏิบัติครบ ปฏบิ ตั ิ ไมป่ ฏิบตั เิ ลย
• นโยบายด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทำงาน ทุกข้อ บางข้อ
แสดงถึงหรือเน้นย้ำความปลอดภัยและความเป็นอยู่ที่ดีของ
ผ้ปู ฏบิ ตั ิงาน
• มีแผนการดำเนินงาน/กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย และ
อาชวี อนามัยในการทำงานของผ้ปู ฏบิ ตั ิงาน
• มีการดำเนินงาน/กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย และอาชีวอนามัย
ในการทำงานของผปู้ ฏิบตั งิ านอย่างแขง็ ขนั จริงจงั เปน็ รปู ธรรม
• มีการสื่อสารไปยังผปู้ ฏิบัตงิ านและครอบครัวของผปู้ ฏิบัติงาน
ให้ทราบถงึ นโยบาย การดำเนนิ การและผลการดำเนินการ
(เอกสาร หลักฐาน/กิจกรรม)
4) ผปู้ ฏิบัตงิ านในสถานประกอบกจิ การของขา้ พเจา้ เฝา้ ระวงั และ
ดูแลซ่ึงกันและกัน
• มีการระบุ/กำหนดบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบของ
ผู้ปฏิบัติงานในระเบียบปฏิบัติคู่มือ หรือประกาศว่าด้วยความ
ปลอดภัย และอาชีวอนามยั ในการทำงาน
• ให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนมีบทบาทหน้าที่ในการเฝ้าระวังและ
ดแู ลซงึ่ กนั และกนั
• มีการสื่อสารให้ทราบถึงบทบาทหน้าที่ในการเฝ้าระวังและ
ดูแลซงึ่ กัน และกนั
• ผู้ปฏิบัติงานทราบว่าทุกคนมีบทบาทหน้าที่ในการเฝ้าระวัง
และดูแลซงึ่ กนั และกนั
(เอกสาร ระเบียบปฏบิ ัติ การดำเนินการ)
123
5) ข้าพเจา้ ไม่เพยี งเชิญเฉพาะผปู้ ฏบิ ัตงิ านของข้าพเจ้าเทา่ น้ัน แตย่ งั ปฏบิ ัติครบ ปฏบิ ัติ ปฏบิ ัติ
ไดเ้ ชญิ ครอบครัวของเขาดว้ ย รวมทัง้ ลกู ค้า และพนั ธมิตรของเรา ทกุ ข้อ 2-3 ข้อ 0-1 ข้อ
มาร่วมในกิจกรรมสง่ เสรมิ ความปลอดภัยและสุขภาพอนามัย หรอื ไม่ครบ
ในแตล่ ะข้อ
• มีการจัดกิจกรรมสง่ เสริมความปลอดภัย และสุขภาพอนามยั
ใหก้ ับผูป้ ฏบิ ัตงิ าน
• มนี โยบายในการแบง่ ปันข้อมูล สง่ เสรมิ รณรงค์ พัฒนาความ
ปลอดภัยและอาชีวอนามัยให้แกผ่ ู้รับเหมา ผรู้ ับเหมาชว่ ง ลกู ค้า
และพันธมติ ร
• มีการเชิญชวนครอบครัวของผู้ปฏิบัติงาน ผู้รับเหมาช่วง
ลูกค้าและพันธมิตร เข้าร่วมในกิจกรรมตามนโยบาย ความ
เกยี่ วขอ้ ง และความเหมาะสมของกิจกรรม
• มีการเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยและสุขภาพ
อนามัยของครอบครัว ผู้ปฏิบัติงาน ผู้รับเหมาช่วง ลูกค้า และ
พนั ธมติ ร
• (นโยบาย เอกสาร การดำเนนิ การ) ผลการประเมนิ ตนเอง
รวมคะแนน 7.2
7.3 ในสถานประกอบกิจการของเรา ได้มีการจัดทำโครงสร้าง
องค์กรที่เอื้อต่อการมีส่วนร่วม และการสร้างแรงจูงใจภายใน
องค์กร
1) ข้าพเจา้ ให้รางวัลทง้ั ที่เป็นหรือไม่เป็นตัวเงินแกผ่ ปู้ ฏบิ ัตงิ าน ปฏิบัติครบ ปฏบิ ัติ ปฏบิ ัติ
รวมถงึ ผู้ใต้บงั คับบัญชาระดับบรหิ าร (ถา้ ม)ี สำหรับผลการ ทุกขอ้ 2-5 ข้อ 0-1 ข้อ
ปฏบิ ตั ิงานท่ีสำเรจ็ และปลอดภัย หรอื ไมค่ รบ
ในแตล่ ะข้อ
สถานประกอบกิจการมีโครงการให้รางวัลทั้งที่เป็นตัวเงินและ
ไมเ่ ปน็ ตัวเงินให้แกผ่ ู้ปฏิบัตงิ านท่ีทำงาน สำเรจ็ หรือที่มีส่วนร่วม
ในงานดา้ นความปลอดภัย ฯ
• การกลา่ วช่นื ชม/ชมเชยในทปี่ ระชมุ หรือต่อหนา้ บุคคลอืน่
• การกล่าวแสดงความขอบคุณทางจดหมาย กระดานข่าว
อเี มล์ ไลน์กลุ่ม ฯลฯ
• การถา่ ยรปู ตดิ บอรด์ ประชาสมั พนั ธ์
• การประกาศเกียรติคุณ และมอบใบประกาศเกยี รติคณุ
• การใหร้ างวลั ของขวัญ ของทร่ี ะลึก
124
• การนำไปพจิ ารณาเพิ่มเติมจากผลการปฏบิ ัติงานตามปกติ
(เอกสาร/หลักฐาน)
2) ข้าพเจ้ากระตุ้นให้ผู้ปฏิบัติงานออกความคิดเห็นเกี่ยวกับความ
ปลอดภัย และสุขภาพอนามัย เช่น ผ่านทางกล่องรับข้อเสนอแนะ ปฏิบัตคิ รบ ปฏิบัติ ปฏบิ ตั ิ
ทางกระดานข่าว หรือทางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายใน ทุกขอ้ 2-4 ข้อ 0-1 ขอ้
องค์กร (อนิ ทราเน็ต) หรือไมค่ รบ
ในแตล่ ะข้อ
• มีระบบในการให้ผู้ปฏิบัติงานเสนอแนะความคิดเห็นด้าน
ความปลอดภยั และ
• อาชวี อนามัยในการทำงาน
• มชี อ่ งทางในการรับความคิดเห็น
- กลอ่ งรบั ความคดิ เห็น
- สายดว่ นความปลอดภยั
- อเี มล์
- เว็บไซต์
- ไลนก์ ลมุ่ และแอพพลเิ คชน่ั ต่าง ๆ
• มีการประกาศหรือกิจกรรมเชิญชวนให้ผู้ปฏิบัติงานแสดง
ความคดิ เหน็
• มีการตอบสนองตอ่ ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะ และตดิ ตามผล
• มกี ารสอื่ สารผลการดำเนินการ ปฏิบตั ิ ปฏบิ ัติ ไมป่ ฏิบตั ิเลย
(เอกสาร/บนั ทกึ การดำเนินการ) 2 ระดับ ระดับ
ประเทศ
3) ในการสร้างการมีส่วนร่วมและจูงใจของผู้ปฏิบัติงาน ข้าพเจ้าใช้
เวทีทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติเกี่ยวกับการแสดงความคิด
ใหม่ ๆ การรณรงค์และการประกวดให้รางวัลต่าง ๆ ด้านความ
ปลอดภัยและอาชีวอนามัย เพื่อนำเสนอผลงานดีเด่นของ
ผู้ปฏิบัตงิ านของข้าพเจา้ อีกด้วย
• ระดบั ประเทศ
- การประกวดสถานประกอบกิจการต้นแบบดเี ด่นดา้ นความ
ปลอดภัย ฯ
- การประกวดโครงการอุบัตเิ หตุเปน็ ศนู ย์
- การนำเสนอผลงานดา้ นความปลอดภัย ฯ ในการสมั มนา
ระดบั ประเทศ
• ระดบั นานาชาติ
- การนำเสนอผลงานด้านความปลอดภยั ฯ ในโกลบอลฟอร่มั
125
- การนำเสนอผลงานด้านความปลอดภัย ฯ ในการประชมุ
วชิ าการนานาชาติ
(เอกสาร/บันทกึ ผลงาน ฯลฯ)
4) ขา้ พเจ้าสรา้ งแรงจูงใจใหผ้ ้ปู ฏิบัตงิ านของขา้ พเจ้า รายงาน ปฏิบตั ิครบ ปฏบิ ัติ ปฏบิ ัติ
เหตุการณเ์ กอื บเกิดอุบัตเิ หตุอยา่ งเปิดเผย และมอบรางวลั ให้ ทกุ ข้อ 2-3 ขอ้ 0-1 ขอ้
สำหรบั การรายงานดงั กล่าว หรอื ไมค่ รบ
ในแตล่ ะข้อ
• มีการตั้งเป้าหมายในการรายงานอุบัติการณ์แต่ละหน่วยงาน
(จำนวนท่ีรายงาน และจำนวนที่ดำเนนิ การแล้วเสร็จ)
• มีโครงการ การแข่งขัน กิจกรรมต่าง ๆ ในการส่งเสริมให้
ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านรายงานอบุ ัตกิ ารณ์
• มีการมอบรางวัลแก่ผู้ปฏิบัติงานที่รายงานเหตุการณ์เกือบ
เปน็ อุบัตเิ หตุ ตัวอย่างเชน่
- การเพ่มิ คะแนนผลการปฏบิ ตั งิ านดา้ นความปลอดภัย
- การใหร้ างวลั หรอื ของทีร่ ะลกึ เพื่อตอบแทน
• มกี ารดำเนินการแก้ไขปรบั ปรุงเพอ่ื ลดหรือขจัดอนั ตราย
(เอกสาร/บันทกึ ฯลฯ)
5) ขา้ พเจา้ ต้องการให้พฤตกิ รรมท่ีปลอดภยั เป็นข้อกำหนดพ้ืนฐาน ปฏิบัติครบ ปฏิบตั ิ ปฏบิ ตั ิ
ในการปฏิบตั ิงานของผู้ปฏบิ ตั ิงานทุกคนในสถานประกอบกิจการ ทุกข้อ 2-3 ขอ้ 0-1 ข้อ
ของข้าพเจา้ หรอื ไมค่ รบ
• กำหนดเป็นลายลักษณ์อักษรว่าการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย ในแต่ละขอ้
เปน็ พ้นื ฐานในการปฏิบตั ิงานของผูป้ ฏบิ ัตงิ านทุกคน
• มีการสื่อสาร หรือประกาศให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนทุกสายงาน
ทราบถึงความมุ่งหวังของผู้บริหารในเรื่องพฤติกรรมความ
ปลอดภยั ของผ้ปู ฏิบตั ิงาน
• มีการกำกบั ดแู ลใหม้ ีการปฏบิ ัติ
• ผู้บริหารประพฤติปฏิบัติตามข้อกำหนดความปลอดภัยใน
การทำงานหรือมาตรฐานความปลอดภัยของสถานประกอบ
กิจการ เปน็ ตวั อย่างที่ดีแก่ผูป้ ฏิบตั งิ านทกุ ระดบั เช่น
- สวมอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภยั ส่วนบุคคลที่ระบุไว้เมื่อ
เดนิ ตรวจโรงงาน
126
- สวมที่ครอบหูหรือปลั๊กอุดหูเมื่อเข้าไปในสถานที่ที่มีเสียงดัง
เปน็ ตน้
- กำกับดูแลใหพ้ นักงานสวมใส่เช่นเดยี วกัน
- ใหห้ ยดุ ปฏิบัติงานจนกวา่ จะสวมใส่
- มกี ารตักเตอื นหากพบผู้ปฏบิ ัตไิ ม่สวมใส่
(เอกสาร ขอ้ กำหนด ประกาศ การดำเนินการ ฯลฯ)
6) ผู้ปฏิบัตงิ านไดร้ ับทราบถึงความเสยี่ งดา้ นสขุ ภาพที่อาจเกดิ ขนึ้ ปฏิบตั คิ รบ ปฏบิ ัติ ปฏบิ ัติ
และมาตรการป้องกันท่ีได้กำหนดไว้ ทกุ ข้อ 2-3 ข้อ 0-1 ขอ้
หรอื ไมค่ รบ
• มปี ้ายเตอื น คำเตอื น สญั ลกั ษณ์ ขอ้ ความ ในแตล่ ะขอ้
• มีการแจ้งให้ผู้ปฏิบัติงานทราบความเสี่ยงด้านสุขภาพที่อาจ
เกดิ ขึน้ รวมถึงมาตรการปอ้ งกนั เชน่
- ส่อื สารโดยการตดิ บอรด์ ประชาสัมพันธ์
- โพสตบ์ นเว็ปบอร์ด
- แจง้ ในการอบรมหรอื การประชมุ
- จดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์ (อีเมล์)
- ส่ือสารผ่านหวั หนา้ งาน
• มีการรบั ทราบของผปู้ ฏิบัตงิ าน และลงบนั ทึกการรับทราบ
• ผู้ปฏิบตั ิงานมกี ารปฏบิ ตั ิตามมาตรการปอ้ งกนั ที่กำหนด เชน่
- สวมใส่แว่นตานิรภัยเพื่อป้องกันวัสดุกระเด็นเข้าตา ที่
ครอบหูหรือปลั๊กอุดหูเพื่อลดการสัมผัสเสียง สวมถุงมือ
ป้องกันสารเคมี ของมีคม
- การยกย้ายวัสดุด้วยท่าทางที่ถูกต้องปลอดภัย หรือใช้
เครอ่ื งมือกลช่วย
- การต้ังวางวสั ดุตามจำนวนที่ระบุไว้
- ไมค่ ากญุ แจท่ีรถโฟลค์ ลฟิ ทเ์ ม่อื ไม่ใชง้ าน
- ติดป้ายซ่อมบำรุงหรือห้ามใช้งานเมื่อเครื่องจักรชำรุด/ใช้
การไม่ได้ เปน็ ต้น
(อธบิ าย สาธติ หรอื แสดงตัวอยา่ ง)
รวมคะแนน 7.3
รวมคะแนน 7.1 - 7.3
127
VISION ZERO เป็นกลยุทธ์ในการลดความสูญเสียจากอุบัติเหตุและการเจ็บป่วยในการทำงาน และ
เป็นวิธีเปลี่ยนแปลงไปสู่การป้องกันซึ่งครอบคลุมมิติด้านความปลอดภัย สุขภาพอนามัย และความผาสุก
โดยใช้แนวปฏิบัติตามรูปแบบกฎทอง 7 ประการของ VISION ZERO ซึ่งเมื่อผู้บริหารหรือผู้นำของสถาน
ประกอบกิจการได้ทำการประเมินตนเองครบทั้ง 110 ข้อแล้ว ก็จะทราบว่ามีข้อปฏิบัติใดบ้างที่ท่านยัง
ดำเนินการไม่ครบ และสามารถปรับปรุงหรือพัฒนาได้อีก นำข้อปฏิบัติเหล่านั้นมาจัดทำเป็นแผนการ
ปรับปรุง ทั้งนี้ท่านอาจกำหนดเวลาระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว ตามความจำเป็นเร่งด่วน โดย
ดำเนินการขอ้ สแี ดงทัง้ หมด หรือเฉพาะบางข้อ ดำเนินการข้อสีเหลืองตามความสำคัญ ความยากง่าย เป็น
ตน้ และมีการตดิ ตามการปรบั ปรุงตอ่ เน่อื งไปอย่างความย่งั ยืน
ตารางแสดงตัวอย่างแผนปรับปรุงความปลอดภัยอาชีวอนามัย และความผาสกุ
ชื่อสถานประกอบกจิ การ XXXXXXXX คร้งั ที่ 1 คร้งั ท่ี 2 คร้งั ท่ี 3 คร้ังท่ี 4
วันทต่ี ดิ ตามผล
วันทจ่ี ดั ทาแผน xx/xx/2563
แผนปรับปรุงความปลอดภยั และความผาสุกตามแนวทาง Vision Zero เฉพาะข้อสีแดงและสีเหลือง
ปี งบประมาณ 25xx
ลาดับ กฎทอง ก่อน ผู้รับผิดชอบ งบประมาณ ปี 2563 ปี 2564 หลกั ฐาน หลงั
ที่ ข้อที่ ปรับปรุง ชื่อ-นามสกลุ การดาเนินการ ปรับปรุง
การดาเนนิ การ (บาท) มยิ . กค. สค. กย. ตค. พย. ธค. มค. กพ. มคี . เมย. พค. มยิ . กค. สค. กย. ตค. พย. ธค.
1 1.1.3 Y จดั ทำแบบตรวจควำมปลอดภยั ตำมลกั ษณะงำนแต่ นำยยิ่งยศ ยอดเย่ียม 0 บำท แบบตรวจควำมปลอดภยั G
ละพ้นื ที่ ตำมลกั ษณะงำน
2 1.1.3 Y กำหนดหนำ้ ที่ใหพ้ นกั งำนตรวจตำมแบบตรวจ นำยยิ่งยศ ยอดเย่ียม 0 บำท คำสงั่ หรือระเบียบปฏิบตั ิ G
ก่อนลงมือปฏิบตั ิงำน และแบบตรวจท่ีทำแลว้
3 1.1.4 Y พดู เกี่ยวกบั ขอ้ มลู ขำ่ วสำรควำมปลอดภยั และ นำยมงั่ มี ศรีสุข 0 บำท วำระกำรประชมุ หรือ G
สุขภำพ หรือส่ือสำรเสน้ ทำงหนีไฟและควำม Slide Presentation
ปลอดภยั ก่อนกำรนำเสนอ ฯลฯ เป็ นเร่ืองแรก
ก่อนกำรประชมุ ตำ่ งๆ ของบริษทั
4 5.1.1, R ปรับปรุงระเบียบปฏิบตั ใิ นกำรจดั ซ้ือจดั จำ้ งโดย นำยบุญเลิศ เฟื่ องฟู 0 บำท ระเบียบปฏิบตั ิ (SOP) ที่ Y
5.1.2, กำหนดเงื่อนไขดำ้ นควำมปลอดภยั ฯ กำรประเมิน ปรับปรุงแลว้ หรือ TOR
5.1.3 ควำมเส่ียง และกำรจดั ทำคมู่ ือควำมปลอดภยั และ
ดำเนินกำรเม่ือมีกำรจดั ซ้ือจดั จำ้ งใหม่
5 7.2.3 R สื่อสำรกิจกรรมควำมปลอดภยั และสุขภำพอนำมยั นำงสำวสุขศิริ มีทรัพย์ 0 บำท ภำพถ่ำย สำเนำจดหมำย Y
ใหผ้ ปู้ ฏิบตั งิ ำนและครอบครัวทรำบโดยกำรปิ ด โบรชวั ร์
ประกำศบนบอร์ดและหนำ้ โรงงำน ส่งจดหมำย
โบรชวั ร์ ฯลฯ เมื่อมีกำรจดั กิจกรรม
128
หลักสูตรที่ 4: 14 ตวั ช้วี ัดนำเชงิ รกุ สำหรับที่ปรึกษา
(14 PROACTIVE LEADING INDICATORS FOR CONSULT)
คู่มือ ISSA ฉบับนี้ช่วยเสริมคู่มือ ISSA สำหรับ VISION ZERO และกฎทองเจ็ดประการ
(7 Golden Rules) ตัวชี้วัดนำเชิงรุก (Proactive Leading Indicators) ที่นำเสนอนี้ไม่ใช่มาตรฐาน แต่
ISSA นำเสนอเป็นเครื่องมือเสริมสำหรับสถานประกอบกิจการ หรือองค์กรทุกแห่งที่มุ่งมั่นพัฒนา
VISION ZERO ในระดับกา้ วหน้าหรือระดับเริ่มต้น ขนาดใหญ่หรือขนาดเล็ก ในประเทศหรอื ต่างประเทศ
จากการที่ ISSA ได้ริเริ่มโครงการป้องกันนี้และเผยแพร่ผลลัพธ์สู่สาธารณะ ISSA กำลังติดตาม
ความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ของกลยุทธ์เชิงป้องกัน และกฎทองเจ็ดประการ ซึ่งได้เปิดตัวในงานประชุมสัมมนาด้าน
ความปลอดภัย และสุขภาพทั่วโลกครั้งที่ 21 ณ ประเทศสิงคโปร์ เมื่อปี ค.ศ. 2017 (The XXI World
Congress on Safety and Health in Singapore, 2017) เรามีความยินดที ีจ่ ะรายงานการเติบโตอยา่ งต่อเนื่อง
ของประชาคม VISION ZERO ทั่วโลกในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา ซึ่งได้นำสถานประกอบกิจการกว่า 11,000 แห่ง
ผฝู้ ึกสอนมอื อาชพี และผ้สู นบั สนนุ ม่งุ ม่ันเข้าร่วมโครงการ VISION ZERO จำนวนมากจากทั่วโลกในทุกสาขา
อตุ สาหกรรม และจากบรษิ ทั ทุกขนาด
เพื่อวัดและประเมินคุณภาพ และความสำเร็จของประสิทธิภาพขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับความ
ปลอดภัยและสุขภาพ โดยทั่วไปเราจะมุง่ เน้นที่สถิติอุบัติเหตุและโรคจากการทำงาน - ที่เรียกว่าตัวชี้วัดตาม
(lagging indicators) อย่างไรก็ตาม หลายองคก์ รพบวา่ แนวทางที่ใช้ตัวชวี้ ัดตามในการวัดผลน้ียังไม่เพียงพอ
พวกเขากำลังมองหาตัวช้ีวัดซึ่งไมเ่ พยี งแต่เน้นข้อมูลในอดตี (สถิติ) เท่านั้น แต่ยังรวมถึงสถานการณ์ปัจจบุ นั
หรือแม้กระทั่งสิ่งที่ควรทำในอนาคต นี่คือเหตุผลในการริเริ่มโครงการตัวชี้วัดนำเชิงรุก VISION ZERO
(VISION ZERO Proactive Leading Indicators) พรอ้ มด้วยกฎทอง 7 ประการของ VISION ZERO ซึ่งเป็น
ที่ยอมรบั อย่างกวา้ งขวาง
โครงการตัวชี้วัดนำเชิงรุก VISION ZERO เป็นโครงการร่วมระหว่าง 7 หน่วยงานของ ISSA เพื่อการ
ป้องกัน และได้รับการสนับสนนุ จาก 14 หน่วยงานภายใต้คณะกรรมาธิการพิเศษด้านการป้องกันของ ISSA
(ISSA Special Commission on Prevention) - เพราะวา่ ตวั ชว้ี ัดทีเ่ สนอแนะน้ีสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้
กับภาคอุตสาหกรรมทั้งหมด เชน่ เดียวกับกฎทอง 7 ประการ
ตัวชี้วัดนำเชิงรุก VISION ZERO สามารถใช้ได้หลายวัตถุประสงค์ ทั้งใช้ภายในองค์กรเพื่อปรับปรุง
ความปลอดภัย สุขภาพ และความผาสุก (SHW) ตลอดจนเพื่อสร้างความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับองค์กร
ภายนอก เช่น ห่วงโซ่อุปทาน (supply chains) หรือเพื่อวัตถุประสงค์ในการเปรียบเทียบระหว่างกัน
(benchmarking)
เราขอขอบคุณสำหรับการสนับสนุนและข้อคิดเห็นที่เราได้รับจากส่วนงานที่เข้าร่วมโครงการ และ
ขอขอบคุณสำหรับผลงานที่ยอดเยีย่ มของกลุ่มนักวิจยั ทั้ง 4 คน และสำหรับข้อเสนอแนะที่เราได้รับระหว่าง
การดำเนินโครงการจากอตุ สาหกิจ องคก์ ร และผู้เช่ียวชาญตา่ ง ๆ
การจดั พิมพ์ค่มู อื นแ้ี ละตัวช้วี ัดนำเชงิ รุก 14 ตวั เป็นเพียงจุดเรมิ่ ตน้ เท่านัน้ ซ่งึ คมู่ ือนี้ตอ้ งเปน็ เอกสารท่ี
ไมห่ ยดุ นิง่ โปรดตดิ ต่อสอื่ สารกบั เราตอ่ ไปเก่ยี วกบั แนวคิด และประสบการณ์ของทา่ นในการใช้ตวั ชี้วัดชดุ น้ี
เพอื่ สร้างกระบวนการปรบั ปรุงอยา่ งต่อเนื่อง
129
Martina Hesse-Spötter
Chair of the ISSA Special Commission on Prevention
Helmut Ehnes
Chair of the VISION ZERO Steering Committee of the ISSA Special Commission on
Prevention
ความเป็นมา
ทำไมจงึ มีการพฒั นาตัวช้ีวดั
การพัฒนาตัวชี้วัดนำเชิงรุก ดำเนินการเพื่อตอบสนองคำร้องขอจากบริษัท และองค์กรที่มีความ
เกี่ยวข้องกับกลยุทธ์ ISSA VISION ZERO คู่มือ ISSA “VISION ZERO - กฎทอง 7 ประการเพื่อให้อุบัติเหตุ
เป็นศนู ย์ และงานมสี ขุ ภาวะทดี่ ี” ต่อมาไดม้ กี ารสร้างกรอบสำหรับตัวชวี้ ัดขึ้น โดยกฎทองแตล่ ะข้อได้มีการ
พัฒนาตัวช้วี ัดขนึ้ มากฎละ 2 ขอ้
ตวั ชี้วัดพฒั นาขึน้ ไดอ้ ย่างไร
กระบวนการพัฒนาเกี่ยวข้องกับการจัดหาข้อมูลและหลักฐานจากองค์กร VISION ZERO ชั้นนำ
วรรณกรรมทางวิทยาศาสตร์ สิ่งพิมพ์จากแหล่งข้อมูลที่มีชื่อเสียงอื่น ๆ (เช่น หน่วยงานระดับชาติ
อตุ สาหกรรม) และความเชยี่ วชาญกับประสบการณท์ ่ีมีอย่ใู นทีมงานโครงการ และคณะกรรมการอำนวยการ
นอกจากนี้ยังเกี่ยวข้องกับการนำเสนอ และการอภิปรายในที่ประชุมต่าง ๆ เช่น: การทำงานด้านความ
ปลอดภัย (Austria, September 2019) สุขภาพ และความเครียดจากการทำงานของ APA/NIOSH (USA,
November 2019) VISION ZERO ซัมมิท (Finland, November 2019) ตลอดจนจากการประชุม
ตา่ ง ๆ ของเครือขา่ ย ISSA และคณะกรรมการอำนวยการ ร่างเอกสารข้อเทจ็ จรงิ (fact sheets) ของตวั ชีว้ ดั
เชิงรุก 7 ตัว ได้รับการพัฒนา และสื่อสารกันอย่างแพร่หลาย และข้อเสนอแนะได้มาจากแบบสำรวจ
ออนไลน์พรอ้ มคำตอบจากบริษัท และองค์กรตา่ ง ๆ ในกว่า 20 ประเทศ และ 20 ภาคสว่ น ซ่งึ ตวั ชว้ี ัด และ
เอกสารข้อเทจ็ จรงิ น้ี ได้รับการปรับ และแกไ้ ขใหเ้ หมาะสม และรา่ งตวั ช้ีวดั ชดุ ทีส่ องทม่ี ี 14 ตัวชี้วัด ได้มีการ
พัฒนา และหารือกับคณะกรรมการอำนวยการแล้ว ผลลัพธ์สุดท้ายที่ได้รับ คือชุดเอกสารข้อเท็จจริงข อง
ตวั ชว้ี ดั 14 ตวั รวมทงั้ คูม่ ือฉบับน้ี
ผพู้ ฒั นา
เอกสารข้อเท็จจริง และคู่มือได้พัฒนาขึ้นสำหรับ ISSA โดย Professor Gerard Zwetsloot
(Netherlands), Senior Researcher Pete Kines (Denmark), and Professor Stavroula Leka
(Ireland) รว่ มกับ Associate Professor Aditya Jain (UK) ในระหวา่ งปี ค.ศ. 2019 ถึง ค.ศ. 2020 ทีมงาน
ชุดนี้ได้มีการผสมผสานประสบการณ์ทั้งทางวิชาการ และการปฏิบัติในด้านความปลอดภัย สุขภาพ และ
ความผาสุก (SHW)
130
คณะกรรมการจดั หาทนุ และอำนวยการ
โครงการนไี้ ดร้ ับการสนบั สนุนและจัดสรรค่าใช้จา่ ยจาก 7 หน่วยงานระหว่างประเทศของ ISSA ที่
เก่ยี วกับการป้องกัน ประกอบด้วย:
• ISSA Section on Prevention in the Construction Industry
• ISSA Section on Education and Training for Prevention
• ISSA Section for Electricity, Gas and Water
• ISSA Section on Information for Prevention
• ISSA Section on Prevention in the Mining Industry
• ISSA Section on Prevention in Trade, Goods Logistics and Port Handling
• ISSA Section on Prevention in Transportation
คณะกรรมการอำนวยการโครงการของ ISSA ได้ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะแก่ทีมงานโครงการ
ในระหว่างการจัดทำโครงการ พร้อมทั้งได้สนับสนุนทีมงานในการรับข้อมูลจากบริษัท และองค์กรต่างๆ
คณะกรรมการ ประกอบดว้ ย ผูแ้ ทนจากแหล่งทุนของหน่วยงาน ISSA และจากหนว่ ยงานกองทนุ ของ ISSA
และจากฝ่ายเลขานุการทั่วไป: Helmut Ehnes (ประธาน), Gisela Derrick, Christian Felten, Martina
Hesse-Spötter, Petra Jackisch, Jens Jühling, Karl-Heinz Noetel, Sigrid Roth, UdoSchöpf, Alan
Stevens, Sven Timm, and Bernd Treichel (ISSA General Secretariat)
VISION ZERO
VISION ZERO ในการทำงาน ต้ังบนสมมติฐานวา่ อบุ ตั ิเหตุ อนั ตราย และสขุ ภาพท่ีไมด่ จี ากการทำงาน
ทั้งหมดสามารถป้องกันได้ VISION ZERO คือความใฝ่ฝันและความมุ่งมั่นที่จะสรา้ งและทำให้มั่นใจว่างานที่
ทำนั้นปลอดภัย และมีสุขภาวะที่ดีโดยการป้องกันอุบัติเหตุ อันตราย และโรคที่เกี่ยวเนื่องจากการทำงาน
พร้อมทั้งส่งเสริมความเป็นเลิศอย่างต่อเนื่องในด้านความปลอดภัย สุขภาพ และความผาสุก ทั้งนี้ควรทำ
ความเข้าใจว่า VISION ZERO เป็นการเดินทาง เป็นกระบวนการไปสู่อุดมคติ นอกจากนี้ยังเป็นวิสัยทัศน์ที่
องิ คณุ ค่า ซึง่ หมายความวา่ งานไม่ควรสง่ ผลเสียตอ่ ความปลอดภยั สุขภาพ และความผาสกุ ของผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน
และถ้าเป็นไปได้ ควรช่วยเหลือพวกเขาธำรงรักษา หรือปรับปรุงความปลอดภัย สุขภาพ และความผาสุก
ของพวกเขา และพฒั นาให้เขามคี วามมัน่ ใจในตนเอง มีความสามารถ และใหไ้ ดร้ บั การจ้างงาน
องคก์ รสามารถมุ่งม่ันต่อ VISION ZERO ในระดับใด ๆ ของประสทิ ธภิ าพด้านความปลอดภยั สุขภาพ
และความผาสุกก็ได้ ความมุ่งมั่นอย่างจริงจังต่อ VISION ZERO สามารถทำให้เกิดการริเริ่ม และรักษา
กระบวนการ และการสนับสนุนทางสังคมที่จำเป็นสำหรับการเดินทางของ VISION ZERO ได้ VISION
ZERO ไม่ใช่สิ่งที่คุณมีหรือบรรลุแต่เป็นสิ่งที่คุณต้องทำ VISION ZERO ไม่ใช่สำหรับองค์กรที่ดีที่สุด หรือ
องค์กรขนาดใหญ่ที่มีผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัย สุขภาพ และความผาสุก เป็นของตนเองเท่านั้น แต่ยัง
เก่ยี วข้องกบั องค์กรขนาดเล็กที่ไม่มีประสบการณ์มากนักในการบูรณาการความปลอดภัย สขุ ภาพ และความ
ผาสกุ ใหเ้ ปน็ สว่ นหนึง่ ของกลยุทธท์ างธุรกิจ
131
สิง่ สำคญั คอื ตอ้ งตระหนักวา่ วสิ ยั ทัศน์ (ความคิด จนิ ตภาพทส่ี ดใสวา่ อนาคตจะเปน็ อย่างไร หรือเป็น
เช่นไร) หมายถึง ความใฝ่ฝันในระยะยาว; มันไม่ได้หมายความว่าเป้าหมายจะต้องเป็น ‘ศูนย์’ หรือควรจะ
เป็น ‘ศูนย์’ แต่เป็นความทะเยอทะยานบนพืน้ ฐานของความเขา้ ใจวา่ อุบัติเหตุ อันตราย และสุขภาพที่ไมด่ ี
จากการทำงาน สามารถป้องกันได้โดยการออกแบบ การวางแผน การกำหนดขั้นตอน และการปฏิบัติท่ี
เหมาะสม และทันทว่ งที
ความปลอดภยั สุขภาพ และความผาสุก (Safety, Health and Wellbeing)
ความหมายของความปลอดภัยสุขภาพ และความผาสุก ที่จะใช้กับตัวชี้วัดชั้นนำเชิงรุก ในคู่มือนี้ มี
ดงั น้ี:
• ความปลอดภัยในการทำงาน (Safety at work) มีลักษณะโดดเด่นด้วยการส่งเสริมให้มีอยู่และ
บำรุงรักษาไว้ หรือมีความยั่งยืนของสภาวะและพฤติกรรมที่ปลอดภัยในที่ทำงาน เพื่อคงไว้ซึ่ง
สถานที่ทำงานที่ปราศจากการบาดเจ็บ และการป้องกันมิให้เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์อย่างไม่
คาดคิด เช่น อุบัติเหตุ (accidents) อุบัติการณ์ (incidents) และเหตุการณ์เกือบเป็นอุบัติเหตุ
(near misses) ตลอดจนสภาวะการทำงานทไี่ มป่ ลอดภัย
• สุขภาพ - สุขภาพทางกายในที่ทำงาน (Health - Physical health at work) มีลักษณะโดดเด่น
ด้วยการส่งเสริมให้มีอยู่ และบำรุงรักษาไว้ หรือมีความยั่งยืนของสภาวะทางสุขภาพและ
พฤติกรรมที่ดีในที่ทำงาน เพื่อคงไว้ซึ่งสุขภาพทางกาย และความสามารถในการทำงานของ
ผู้ปฏิบัติงาน (working capacity) และมีการป้องกันสภาวะที่ไม่ดีต่อสุขภาพ และสภาวะด้านจิต
สังคมทไี่ ม่ดีในการทำงาน (poor psychosocial working conditions)
• ความผาสุก - สุขภาพจิตในท่ีทำงาน (Wellbeing - Psychological health at work) มีลักษณะ
โดดเด่นด้วยการส่งเสริมให้มีอยู่ และบำรุงรักษาไว้ หรือมีความยั่งยืนของสภาวะจิตสังคมในการ
ทำงานที่ดีต่อสุขภาพ เพื่อคงไว้ซึ่งสุขภาพจิตเชิงบวกของบุคคล และความสามารถในการทำงาน
อย่างมีประสิทธิผลและสร้างสรรค์ (work productively and creatively) และมีการป้องกัน
สภาวะที่ไม่ดีต่อสุขภาพ และสภาวะด้านจิตสังคมที่ไม่ดใี นการทำงาน ปัจจัยทั้งสามดา้ น - "ความ
ปลอดภัย สุขภาพ และความผาสุก" - เกี่ยวข้องและมีปฏิสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด ซึ่งหมายถึง
โอกาสในการเสริมแรงกัน (synergy) และนั่นคือเหตุผลที่ตัวชี้วัดนำเชิงรุกทั้งหมดสัมพันธ์กับ
ปัจจัยทั้ง 3 ด้านเป็นอย่างดี ดังนั้น จึงขอแนะนำให้จัดการกับปัจจัยทั้ง 3 ด้านดังกล่าวด้วยวิธี
การบูรณาการ และถ้าเป็นไปได้ให้บูรณาการเข้ากับกระบวนการทางธุรกิจ อย่างไรก็ตาม เพ่ือ
ประกันว่าในแต่ละด้านของทัง้ 3 ด้านจะไดร้ ับความสนใจอย่างเพียงพอ ดังนั้นตัวช้ีวัดนำเชิงรุกใน
คู่มือน้ี จึงถูกเสนอให้ประเมินแต่ละด้านแยกกัน ในปัจจุบันหลายองค์กรมีนโยบาย และระบบท่ี
ก้าวหน้ามากขึ้นเพื่อให้แน่ใจในด้านความปลอดภัยมากกว่าด้านสุขภาพและ ความผาสุก
ความหมายของปฏสิ มั พันธ์ระหว่างความปลอดภัย สุขภาพ และความผาสุก กค็ อื แมว้ ่าองค์กรจะ
พิจารณาเฉพาะการมุ่งมั่นต่อเป้าหมายระยะยาวในการส่งเสริมความปลอดภัยเท่านั้น แต่ก็ยัง
จำเปน็ ต้องจัดการกบั สุขภาพ และความผาสกุ อยา่ งเพียงพออีกด้วย
132
จาก “ความปลอดภัย”สู่ “ความปลอดภัย สุขภาพ และความผาสกุ ”
(From “Safety” to “Safety, Health & Wellbeing”)
เม่ือองค์กรกล่าวว่า "เราดแู ลสขุ ภาพและความปลอดภัย" นน่ั มกั จะหมายความว่า มีการดูแลเอาใจใส่
ด้านความปลอดภัยเป็นหลัก และครอบคลุมด้านสุขภาพ ที่จับต้องได้เพียงบางส่วนเท่านั้น หลายองค์กร
ตระหนักดวี ่าด้านความผาสุก ของบคุ ลากรมีความสำคญั มากขึ้นเรอ่ื ย ๆ แตก่ ย็ งั ไมม่ ีวธิ ีการเชงิ รุกที่เป็นระบบ
ในการจัดการเลย
เอาใจใสแ่ บบบูรณาการหรอื เฉพาะเจาะจงสำหรับดา้ นสขุ ภาพ และความผาสุก
(Integrated or specific attention for health and wellbeing?)
ตัวชี้วัดเชิงรุกแต่ละตัว มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับปัจจัยทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ความปลอดภัย (Safety)
สุขภาพ (Health) และความผาสุก (Wellbeing) ซึ่งต่อไปจะใช้ตัวย่อ SHW ในคู่มือนี้และในเอกสาร
ข้อเท็จจริง (fact sheets) ทั้ง 14 ชุด โดยขอเสนอแนะให้บูรณาการปัจจัยทั้ง 3 ด้านเข้าด้วยกันและให้
บูรณาการเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทางธุรกิจขององค์กร เพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้ SHW ลงเอยด้วยการ
จัดการความปลอดภัยเพียงด้านเดียว โดยเอาใจใส่เพียงเล็กน้อยต่อสุขภาพและความผาสุก ดังนั้นจึงขอ
แนะนำให้ใช้ตัวชี้วัดปัจจัยทั้ง 3 ด้านโดยแยกแต่ละด้าน ซึ่งจะช่วยให้องค์กรต่าง ๆ ได้มองเห็นภาพที่ดีว่า
การจัดการอย่างเป็นระบบ และเชิงรุกไม่ได้เน้นเฉพาะด้านความปลอดภัยเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการจัดการ
ด้านสุขภาพ และความผาสุกด้วย นอกจากนี้ยังสามารถกระตุ้นให้องค์กรต่าง ๆ ใช้แนวทางการพัฒนาด้าน
ความปลอดภัยที่ประสบความสำเร็จในการนำมาปรับปรุงด้านสุขภาพ และความผาสุกเมื่อมีการพัฒนาการ
จัดการด้านสุขภาพ และความผาสุกที่ใกล้เคียงกับระดับการจัดการความปลอดภัยในองค์กรแล้ว จึงนับว่า
เปน็ โอกาสท่ดี ที ่จี ะบูรณาการปัจจยั ทัง้ 3 ด้านเข้าสกู่ ระบวนการทางธรุ กิจเพิม่ เตมิ ขนึ้
โอกาสสำหรบั การเสริมกันของกิจกรรมตา่ งๆ (Opportunities for synergies)
มีโอกาสสำคัญและแหล่งที่มาที่เป็นไปได้สำหรับการเสริมกันระหว่างปัจจัยทั้ง 3 ด้าน คือความ
ปลอดภัย สุขภาพ และความผาสุก ซงึ่ แสดงถึงคณุ คา่ ของมนุษย์และสงั คมท่ีเทา่ เทยี มกนั และแต่ละปัจจัยอยู่
บนพื้นฐานของการให้คุณค่ากับผู้คนนอกจากนี้ยังมี "คุณค่าสนับสนุน" ทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยทั้ง
3 ด้าน เช่น ความไว้วางใจ เป็นสิ่งสำคัญสำหรับความผาสุก และเป็นสิ่งสำคัญสำหรับวัฒนธรรมที่ผู้คน
สามารถที่จะรายงานอุบัติการณ์ และเหตุการณ์เกือบเป็นอุบัติเหตุ หรือปัญหาสุขภาพได้อย่างอิสระ อน่ึง
‘ความเหมาะสมกับงาน’ ทั้งทางร่างกาย และจิตใจของบุคคลนับเป็นสิ่งสำคัญยิ่งในการบริหารความ
ปลอดภัย ทั้งการบริหารความปลอดภัยและความผาสุกแสดงให้เห็นถึงการลด และการควบคุม
‘การเบี่ยงเบนจากปกติ’ ในกระบวนการทำงาน และในการเพ่มิ ความแม่นยำในการทำงาน สุขภาพจิตท่ีดีจะ
ช่วยป้องกันข้อผิดพลาด (ที่ไม่จำเป็น) ของมนุษย์ ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการป้องกันอุบัติการณ์ด้วย
นอกจากนี้ยังมีการเกื้อกูลกันที่สำคัญระหว่างความปลอดภัย และความผาสุก: ด้วยเหตุผลด้านความ
ปลอดภัยทำให้มีความเอาใจใส่เพิ่มมากขึ้นในการพัฒนาวัฒนธรรมความปลอดภัยที่ดี และการส่งเสริม
พฤติกรรมที่ปลอดภัย ซึ่งทั้งสองส่วนมหี ลักเกณฑ์ทางจิตวิทยาที่แข็งแกร่ง ในเอกสารวรรณกรรมที่เกีย่ วกบั
ความผาสุก ได้ให้ความเอาใจใส่เป็นอย่างมากต่อการจัดระบบงาน ซึ่งเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับความปลอดภัย
133
ด้วย สำหรบั พฤตกิ รรมท่ีปลอดภยั มกั ใหม้ งุ่ เนน้ ที่แต่ละบุคคล ในขณะที่ความผาสกุ นนั้ เปน็ กระบวนการทาง
สังคม เช่น การสนับสนุนทางสังคม การสื่อสารและการประสานความร่วมมือที่ดี และความเป็นอิสระ ใน
ระดับหนึ่งที่มีความสำคัญมาก ดังนั้นการมีเหตุผลที่ดีที่ระบุว่า แม้จุดมุ่งหมายจะมุ่งเน้นไปที่ความปลอดภัย
เพียงด้านเดียว และมีวิสัยทัศน์ของอุบัติเหตุเป็นศูนย์ เพียงด้านเดียวก็ตามเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับองค์กรใน
การจัดการความผาสุก อยา่ งเพียงพอเพ่อื ให้บรรลุผลการเสริมแรงกนั ดงั ทีก่ ล่าวไวข้ ้างตน้
ความผาสุก (Wellbeing)
ทั้งสุขภาพกาย สุขภาพจิต และความผาสุกในการทำงานได้รับผลกระทบจากอันตรายทางจิตสังคม
(psychosocial hazards) ในแง่ของการจัดระบบงาน (เช่น เนื้อหาของงาน ภาระงานสูง ความรีบเร่งของ
งาน ทำงานหนักเกินไปเป็นประจำ ขาดการควบคุม บทบาทคลุมเครือ ความขัดแยง้ ของบทบาท ตารางการ
ทำงานที่ไม่ยืดหยุ่น) และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในที่ทำงาน (เช่น [กลัว] ความขัดแย้ง การล่วงละเมิด
การกลน่ั แกล้ง) สภาพแวดล้อมการทำงานทางกายภาพสามารถส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และความผาสกุ ของ
เราโดยตรงได้อีกด้วย: เช่น ไม่มีใครชอบที่จะทำงานในที่ทำงานที่มีเสียงดัง หรือที่สกปรก หรือทำงานกับ
อุปกรณ์ทีไ่ ม่ดี อนง่ึ ความเสีย่ งท่ีเกิดจากอนั ตรายทางจิตสังคม ก็สามารถจัดการอยา่ งเป็นระบบได้เหมือนกับ
ความเส่ียงประเภทอืน่ ๆ สำหรับงานสภาพแวดล้อมทางจติ สังคมท่ดี ีต่อสุขภาพ ในแง่ของ ตวั อย่างเช่น การ
สนับสนุนทางสังคมที่เหมาะสมจากผู้นำและเพื่อนร่วมงาน ระดับความเป็นอิสระที่เหมาะสม และโอกาสใน
การเรยี นรแู้ ละการพฒั นา สามารถส่งผลดีต่อสขุ ภาพ และความผาสุก ตลอดจนความปลอดภัย
ในหลาย ๆ องค์กร ฝ่ายทรัพยากรบุคคล เป็นผู้รับผิดชอบในการสนับสนุนการพัฒนาความผาสุก
ในขณะที่วศิ วกรหรือผู้เชยี่ วชาญท่ีได้รบั มอบหมายเฉพาะด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัย ส่วนใหญ่จะ
เป็นผู้สนับสนุนงานด้านสุขภาพและความปลอดภัย ขณะที่ฝ่ายทรัพยากรบุคคลมีประสบการณ์มากมายใน
การติดต่อกับผู้คน พวกเขามักไม่ค่อยมีประสบการณ์ในการจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัยอย่าง
เปน็ ระบบ ในทำนองเดียวกนั ผูเ้ ช่ียวชาญดา้ นอาชวี อนามัย และความปลอดภยั มักจะมีประสบการณ์น้อยใน
การจัดการระบบงาน ดังนั้น การจัดการปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ขององค์กรที่ทำงานแบบแยกส่วน และ
สร้างกลยุทธ์ SHW ร่วมกัน ซึ่งหมายถึงโอกาสในการเพิ่มประสิทธิผล และการเสริมแรงกันขององค์กร
134
กฎทอง 7 ประการสำหรับ VISION ZERO (The 7 Golden Rules for VISION ZERO)
กลยทุ ธ์ VISION ZERO ของ ISSA ครอบคลุมกฎทอง 7 ประการ
คำแนะนำสำหรับกฎทอง 7 ประการซึ่งกล่าวถึงนายจ้างและผู้จัดการ สามารถดาวน์โหลดได้จากเว็บไซต์
ISSA VISION ZERO (visionzero.global) และมีหลายภาษานอกจากนี้คุณยังสามารถดาวน์โหลด
แอพพลิเคชั่นกฎทอง 7 ประการของ ISSA ลง ในอุปกรณ์สมาร์ทโฟนได้ หรือหาได้จากอินเทอร์เน็ต
(sevengoldenrules.com)
ตวั ชีว้ ดั นำเชงิ รกุ - การอธิบายกฎทอง 7 ประการ
(Proactive leading indicators - Elaborating on the 7 Golden Rules)
คู่มือกฎทอง 7 ประการของประกันสังคมระหว่างประเทศ (ISSA) เป็นพื้นฐานสำหรับการพัฒนา
VISION ZERO ในระดับองค์กร คู่มือเสริมฉบับนี้เกี่ยวกับตัวชี้วัดนำเชิงรุก สำหรับ VISION ZERO ได้ถูก
พัฒนาขึ้นเพื่ออธิบายกฎทอง 7 ประการ จึงขอแนะนำให้เริ่มจากการใช้คู่มือกฎทอง 7 ประการ เพื่อระบุ
สว่ นทเ่ี ก่ียวข้อง และสำคญั ท่สี ดุ สำหรับการปรบั ปรงุ ในองคก์ รของคุณ ตัวชว้ี ดั นำเชิงรกุ ทีน่ ำเสนอในคูม่ ือนี้จะ
ชว่ ยเน้นกจิ กรรมหลักท่เี ก่ียวขอ้ งกบั กฎทองทง้ั หมด
ตัวชี้วัดทั้งหมดในคู่มือนี้เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย สุขภาพ และความผาสุก แต่จะดีที่สุดเมื่อได้บูรณาการ
SHW เข้ากบั ธรุ กิจปกตแิ ละกระบวนการทำงาน กา้ วแรกสู่อดุ มคตนิ ั้น คอื การตรวจสอบให้แน่ใจว่า SHW ไม่ได้
รับการปฏิบัติแยกกันแต่ได้รับการจัดการ และพิจารณาว่าเป็นแบบพึ่งพาซึ่งกัน และกันซึ่งสัมพันธ์กับ SHW
ของผู้ปฏิบัติงาน เรื่องนี้อาจต้องการการประสานความร่วมมือที่มีประสิทธิภาพ และการเรียนรู้ร่วมกันของ
เจา้ หนา้ ทท่ี ่ีรบั ผิดชอบดา้ น SHW และผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสยี จากฝา่ ยต่าง ๆ ผ้รู ับเหมา และองค์กรพันธมิตร ฯลฯ
135
ตวั ชี้วดั นำ และตัวชี้วดั ตำม คืออะไร
(What are leading indicators and lagging indicators?)
ตัวชี้วัดนำ และตัวชี้วัดตามสำหรับด้านความปลอดภัย สุขภาพ และความผาสุก สามารถนำมาใช้ใน
รูปแบบเสริมกัน แทนที่จะใช้เป็นใช้เป็นตัวชี้วัด 2 ตัว โดยสามารถเปรียบได้กับการขับรถ ซึ่งเรามองเห็น
ตัวชี้วัดนำได้จากการมองตรงผ่านกระจกหน้าและทิศทางที่คุณกำลังมุ่งหน้าไป ในขณะที่ตัวชี้วัด ตาม
เกี่ยวข้องกบั การมองย้อนกลบั ไปในกระจกมองขา้ งและกระจกมองดา้ นหลังของคุณ
ตัวชี้วัดตาม มักจะเน้นที่ผลลัพธ์ และเกี่ยวข้องกับการสะสมของข้อมูลในอดีตในระยะยาว
ตัวอย่างเช่น รายงานอุบตั เิ หตุ และ การบาดเจ็บ การขาดงานจากการเจ็บปว่ ย (เช่น โรค ปญั หาสุขภาพทาง
กายและทางจิตใจ); การเรียกร้องค่าทดแทน; อุบัติการณ์ หรือ เหตุการณ์เกือบเป็นอุบัติเหตุ (รวมถึง
เหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นแล้วทำให้เกิดการบาดเจ็บ การเจ็บป่วย หรือการสูญเสีย); การเกษียณก่อนเวลา;
และจำนวนวันที่สูญเสียการผลิตอันเนื่องจากการขาดงานของผู้ปฏิบัติงานจากการเจ็บป่ว ยระยะสั้นหรือ
ระยะยาว ตัวชี้วัดตามนี้สามารถใช้ในการกำหนดเป้าหมายในการปรับปรุงงานได้ (เช่น เกิดอุบัติการณ์
น้อยลง หรือ การขาดงานจากการเจ็บป่วยลดลง) แต่มักจะไม่มีการบอกว่าจะบรรลุเป้าหมายดังกล่าวได้
อยา่ งไร
ตัวชี้วัดนำมักจะเน้นที่กระบวนการและเป็นตัวชี้วัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่คาดว่าจะปรับปรุงด้าน SHW
ตัวชี้วดั นำหลายตัวจะบง่ บอกถงึ กจิ กรรมท่โี ดยทัว่ ไปมักเป็นแนวปฏิบตั ิท่ีดี (good practice) เช่น การบูรณา
การ SHW ใน: บทบาทและความรับผิดชอบของผ้นู ำ การเข้ารบั ตำแหน่งและการฝึกอบรม การประชมุ และ
การจัดซ้ือจัดจ้าง ผู้นำทำหน้าทีช่ ้บี ่งแนวโน้มของจุดแขง็ และจดุ ออ่ นในกระบวนการดา้ น SHW ท่ีสนใจ และ
สามารถใช้ในการตดั สินใจ เพอ่ื ปรบั ปรุงกระบวนการเฉพาะอีกดว้ ย
ตัวชี้วัดนำเชิงรุก สะท้อนถึงกระบวนการที่ดำเนินการได้ ทั้งปัจจุบัน และที่จะทำต่อไปอย่างต่อเนื่อง
เป็นกิจกรรม และการดำเนินการที่ทำมากกวา่ การควบคุมความเสย่ี งท่ีมีอยู่ และการปกป้องสถานะที่เป็นอยู่
เท่านั้น แต่มุ่งเน้นไปที่การรับรู้ การสร้าง การใช้ และการประเมินโอกาสในการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ด้วย
วิธีนี้จะมีศักยภาพในการสร้างผลกระทบมากขึ้น ลักษณะที่เกี่ยวข้องบางประการเกี่ยวข้องกับการใช้
นวตั กรรม และการมอี ิทธิพลต่อการเปล่ียนแปลงเพื่อปรบั ปรุง SHW; การคาดการณ์ความเส่ียงของ SHW ท่ี
ระยะเริ่มต้น (เช่น ในการออกแบบและการจัดซื้อจัดจ้าง); การพัฒนารูปแบบธุรกิจที่เป็นมิตรกับพนักงาน;
การใช้มาตรการที่สูงขึ้นตามลำดบั ชั้นของมาตรการควบคุม; และสง่ เสรมิ การพฒั นาการเรียนรู้วัฒนธรรมเชิง
ปอ้ งกนั โดยทกี่ ารสนบั สนุนทางสงั คม) ความไว้วางใจ (trust) ความยุตธิ รรม (justice) และการเปิดกวา้ งเป็น
สง่ิ สำคญั เป็นตน้
136
ทำไมตวั ชี้วดั นำเชิงรุกจึงนำมำใช้สำหรับ VISION ZERO
(Why progressive leading indicators for VISION ZERO?)
องค์กรขนาดเล็กสามารถใช้ตัวชี้วัดนำเชิงรุกเพื่อเน้นกิจกรรมต่าง ๆ ที่ช่วยสร้าง SHW ที่ดี และ
แนวทางปฏบิ ัติที่ดที ีเ่ กยี่ วขอ้ ง องคก์ รขนาดกลาง และขนาดใหญ่สามารถใชต้ ัวชวี้ ัดในการวัดผล (เชงิ ปริมาณ)
ว่าทำงานได้ดีเพียงใดเกี่ยวกับองค์ประกอบหลักที่เกี่ยวข้องกับกฎทอง 7 ประการ นอกจากนี้ยังสามารถใช้
ตัวชี้วัดในการเปรียบเทียบทั้งภายในองค์กร (เปรียบเทียบระหว่างคนละที่ตั้ง หรือคนละหน่วยงาน)
ในภาคส่วนเดียวกัน (เปรียบเทียบกับคู่แข่งในภาคสว่ นเดียวกัน) และข้ามภาคส่วน (เปรียบเทียบกับองค์กร
ธุรกจิ ชั้นนำจากภาคส่วนอื่น ๆ)
คำพูดยอดนิยมคือ “อะไรที่วัดได้ - ก็ทำสำเร็จได้” แม้ว่า VISION ZERO หมายถึงการเดินทางที่ไม่
เคย ‘ทำสำเร็จ’ อย่างเต็มที่ก็ตาม แต่ตัวชี้วัดก็สามารถช่วยให้องค์กรมั่นใจได้อย่างแน่นอนว่ากิจกรรมหลัก
เพื่อให้ SHW ที่ดี ‘สำเร็จลุล่วง’ และยั่งยืนได้ ดังนั้นการกำหนดจำนวนกรณีที่จะดำเนินการในแต่ละเดือน
นัน้ จะเห็นวา่ แตล่ ะด้านของ SHW กไ็ ดถ้ ูกบูรณาการเป็นส่วนหน่งึ ของกระบวนการอยู่แล้ว ตวั อย่างเชน่ การ
เข้ารับตำแหน่ง การฝึกอบรม การจัดซื้อจัดจ้าง การบรรยายสรุปก่อนการทำงาน การวางแผน และการจัด
ระบบงาน และอื่น ๆ ช่วยให้มุ่งเน้นไปที่การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องด้วย SHW ตัวชี้วัดนี้มีประโยชน์สำหรับ
"การตัดสินใจครั้งใหญ่" ในการบอกทิศทางสำหรับการพัฒนาในปีต่อ ๆ ไปตลอดจนการพัฒนา การ
ประเมินผล และทบทวนกิจกรรมจากเดือนล่าสดุ และการกำหนดทิศทางสำหรับเดือนตอ่ ๆ ไป เหตุผลบาง
ประการในการใช้ตัวชว้ี ดั นำ (เชงิ รกุ ) คือจะชว่ ยในกรณ:ี
• เน้นกจิ กรรมทที่ ำให้เกิด SHW ทีด่ ี
• การคาดการณ์ประสทิ ธภิ าพ SHW ในอนาคต
• ระบจุ ุดแข็งและจุดอ่อน - ในปจั จัยสำคัญและกระบวนการที่กำหนดประสิทธิภาพของ SHW (เช่น
การส่งเสริม SHW และลดความเสี่ยงของ SHW)
• จัดหากลไกป้อนกลับ และข้อเสนอแนะที่ทันเวลา เชิงรุก และตรงประเด็น ให้แก่ผู้นำ
และผปู้ ฏิบตั งิ าน
• ให้มีการเปรียบเทยี บภายใน และระหวา่ งองคก์ ร และภาคส่วน ทง้ั ในประเทศและต่างประเทศ
• แสดงใหเ้ หน็ ถึงแนวทางปฏิบตั ทิ ดี่ ี และวัฒนธรรมเชิงปอ้ งกันทแี่ ทจ้ รงิ สผู่ ู้มีสว่ นได้สว่ นเสยี ภายนอก
เชน่ ลูกค้า พันธมิตรทางธุรกจิ นกั ลงทุน บรษิ ทั ประกัน และหนว่ ยงานรฐั และยังเปน็ การแสดงผล
งานที่ดีต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น ธนาคาร ผู้ให้บริการประกันภัย คู่สัญญา และแม้แต่ลูกค้า
และต่อสงั คมโดยรวม
• ต้องมีการกำหนดแนวทางปฏิบัติที่ดี และวัฒนธรรมเชิงป้องกันที่แท้จริง จากผู้รับเหมา
และซพั พลายเออร์
137
• ส่งเสริมความเชื่อมโยงระหว่างเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ ในความ
รับผดิ ชอบต่อสังคม และ SHW
การวิเคราะห์ความคุ้มทุนของการใช้ตัวชี้วัดนำเชิงรุกยังไม่ได้สรุปผลอย่างไรก็ตาม ตามที่กล่าวไว้ใน
เอกสาร VISION ZERO ของ ISSA และได้รับการสนับสนุนจากหลักฐานที่เพียงพอในปัจจุบัน ที่ระบุว่า
ผลตอบแทนจากการลงทุนด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัย อยู่ที่ประมาณ 2.2 เท่า สำหรับทุก ๆ
หนว่ ยการเงนิ (เชน่ 1 ดอลลาร์ ยโู ร หรือเปโซ) ทล่ี งทุน
เกณฑใ์ นการเลอื กตัวช้ีวดั นำเชิงรุก สำหรบั VISION ZERO
(The criteria for selecting the proactive leading indicators for VISION ZERO)
เกณฑ์ตอ่ ไปนี้เปน็ รากฐานสำหรบั การเลอื กและพฒั นาชดุ ตัวชี้วดั นำเชงิ รุก:
• ทำทกุ อยา่ งในเชงิ รกุ
• ประโยชนใ์ นการบรรลุการปฏบิ ัติตามกฎหมายและก้าวไปเกนิ กว่าการปฏิบัติตามกฎหมาย
• ความเก่ยี วข้องสำหรับแตล่ ะด้านของท้งั สามด้าน: ความปลอดภัย สขุ ภาพ ความผาสกุ
• ศักยภาพในการเสริมแรงกัน ระหว่างกฎทอง 7 ประการสำหรับ VISION ZERO และ SHW
ทัง้ 3 ดา้ น
• หลักฐานของประสทิ ธผิ ลจากการปฏิบตั ใิ นอตุ สาหกรรม/องคก์ ร
• หลักฐานทางวิทยาศาสตร์ของประสทิ ธิผล1
• ความเหมาะสมสำหรบั การใช้งานเชิงคณุ ภาพในองค์กรขนาดเล็ก
• ความงา่ ยในการวดั เชงิ ปริมาณ (ไมต่ ้องใชเ้ ครอื่ งมือเพ่มิ เติม)
• ความเหมาะสมในการคำนวณประสิทธภิ าพของ SHW (ในองค์กรขนาดใหญ่และขนาดกลาง)
• ความสามารถในการจัดหา "พลังในการส่อื สาร" ทเี่ พยี งพอ
• การเสริมกันและทำใหเ้ กดิ ความสมดุลทด่ี กี ับตวั ชี้วดั ตาม
• ประโยชน์ในการทบทวนนโยบาย SHW และการทบทวนการตัดสินใจเกี่ยวกับการวางแผนและ
วธิ ีการทำงานปกติ (ตวั อย่าง เชน่ รายเดอื น)
• ประกอบด้วยการผสมผสานของตวั ชว้ี ดั ทง้ั แบบด้งั เดิมและตัวช้วี ดั แบบใหมม่ ากข้ึน
• ประโยชน์ในการปรับปรุงประสิทธิผลของระบบการจดั การทม่ี ีอยู่และเพื่อการพัฒนาวฒั นธรรมเชิง
ปอ้ งกัน
138
1. หลักฐานทางวิทยาศาสตร์และหลักฐานของประสิทธิผลจากการปฏิบัติส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับตัวชี้วัดเพ่ือ
ความปลอดภัย เนื่องจากมงี านวิจยั และหลกั ฐานทางวิทยาศาสตรท์ ่ีจำกัด เก่ยี วกับสุขภาพ และตวั ช้ีบ่งความ
ผาสกุ
ตัวชีว้ ดั นำเชิงรุกเกยี่ วข้องกบั ใครบ้ำง
(Who are the proactive leading indicators relevant for?)
ตัวชี้วัดนำเชิงรุกมีความเกี่ยวข้องกับองค์กรที่นำ VISION ZERO มาใช้ หรือกำลังพิจารณาที่จะใช้
VISION ZERO ตัวชี้วดั ชุดน้ีมปี ระโยชนส์ ำหรบั ภาคอุตสาหกรรมตลอดจนภาคบริการ ท้ังองคก์ รที่ไม่แสวงหา
ผลกำไร และองค์กรที่แสวงหาผลกำไร และสำหรับองค์กรขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก VISION
ZERO เป็นกลยุทธ์ความมุ่งมั่น ซึ่งความมุ่งมั่นสามารถก่อให้เกิดการเริ่มต้นของกลยุทธ์ SHW ในระดับ
เร่ิมต้นของประสทิ ธภิ าพดา้ น SHW เรือ่ งนไ้ี ม่เพยี งสำหรบั นกั ปฏิบัตทิ ด่ี ีทสี่ ุดเท่านั้น และในหลาย ๆ องค์กรท่ี
ดำเนินการ VISION ZERO กระบวนการด้านความปลอดภัยได้รับการพัฒนามากกว่ากระบวนการด้าน
สขุ ภาพ และความผาสุก ซ่งึ ตัวช้ีวัดนำเชิงรกุ สำหรับ SHW จะช่วยได้มากในบรบิ ทเหล่านี้
กลุ่มผูใ้ ช้หลกั ของตัวชีว้ ัดเหล่าน้ี ไดแ้ ก่ นายจา้ ง ผูน้ ำ ผ้จู ัดการระดับสูง และระดบั กลาง ทง้ั นเี้ พราะ VISION
ZERO ต้องการความมุ่งม่นั ของผนู้ ำองคก์ ร และผู้จัดการสายงานบังคบั บญั ชาทม่ี คี วามรบั ผดิ ชอบหลักในการ
ปฏิบัติการด้าน SHW ในองค์กรของตนกลุ่มผู้ใช้รองลงไป คือ ตัวแทนผู้ปฏิบัตงิ าน ซึ่งตัวแทนผู้ปฏิบัติงานมี
ความสำคัญอย่างยิ่งในการทำให้แน่ใจว่าเสียงของผู้ปฏิบัติงานจะไม่สูญหายไป เพื่อการสะท้อนถึงการใช้
ตัวชีว้ ัดในทางปฏบิ ัติ และในการอำนวยความสะดวกในการปฏบิ ัติท่ดี ใี นองค์กรให้สอดคล้องกบั ตัวช้วี ดั
ในองคก์ รขนาดใหญ่ หรอื ขนาดกลางท่ีต้องการใช้ตวั ชี้วัดในเชิงปริมาณ (เชน่ เพ่อื วัตถุประสงค์ในการ
เปรียบเทียบ) กลุ่มผู้ใช้รอง คือ ผู้เชี่ยวชาญ/มืออาชีพด้าน SHW (ภายใน) ด้าน SHW มืออาชีพเหล่านี้มี
139
บทบาทสำคัญในการเสนอและอธิบายถึงความสำคัญของตัวชี้วัดต่อผู้นำขององค์กร ภารกิจสำคัญถัดมาคือ
การรวบรวมข้อมลู ที่จำเป็นในการใช้ตัวชี้วัด และเพอ่ื ช่วยนำเสนอและส่ือสารตวั ชีว้ ัดภายในองคก์ ร
กลุ่มผู้ใช้ระดับตติยภูมิของตัวชี้วัด คือ ผู้กำหนดนโยบายและผู้มีอำนาจตามกฎหมายด้าน SHW
องค์กรประกันสังคม ตลอดจนองค์กรภาคส่วนธุรกิจ และพันธมิตรด้านการจัดหาเงินทุน และพันธมิตรด้าน
ประกนั ภัย องคก์ รเหลา่ น้ีสามารถใช้ตัวชว้ี ัดเพ่ือกระตุ้นกิจกรรม VISION ZERO ในองค์กรภาคอุตสาหกรรม
และภาคบริการที่พวกเขามุ่งเน้น เพื่อวัดประสิทธิภาพด้าน SHW และเพื่อกระตุ้นให้มีการเปรียบเทียบกับ
องคก์ รเป้าหมาย ในทส่ี ุด บางองค์กรอาจต้องการรวมตัวช้ีวัดไว้ในชุดตัวชี้วดั ประสิทธิภาพหลัก (KPI) ท่ีกว้าง
ขึ้น เช่น เทคนิคการวัดผลการดำเนินงานแบบสมดุล (balanced scorecards) หรือ ในกิจกรรมการ
เปรยี บเทยี บสมรรถนะท่ีกวา้ งข้ึน
ชุดตัวชี้วัดนำเชิงรุกสำหรับ VISION ZERO ประกอบด้วยตัวชี้วัดนำเชิงรุก 14 ตัว - สองตัวจาก
แต่ละกฎทอง 7 ประการของ ISSA VISION ZERO จดุ มุ่งหมาย แนวคดิ หลัก วิธกี ารปฏบิ ัติท่ีดี ข้อจำกัด และ
ทางเลอื กเพอ่ื วัดตัวชว้ี ัดแตล่ ะตัวไดจ้ ัดทำไวใ้ นเอกสารแต่ละแผน่ ของเอกสารขอ้ เท็จจริง ดหู น้า 24-39
ท่ี ตัวชวี้ ดั เชิงรุก จดุ มุ่งหมาย (คำอธิบายสั้นๆ ดรู ายละเอียดใน Fact
Sheet)
1.1 ความมงุ่ ม่นั ในการเป็นผนู้ ำทม่ี องเห็น ประสบความสำเร็จในความมุ่งมั่นในการเป็นผู้นำที่มองเห็น
ได้ ได้ ผู้นำแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นต่อ SHW และส่งเสริม
(Visible leadership ปรับปรงุ SHW อย่างจรงิ จัง
commitment)
1.2 ความเปน็ ผนู้ ำท่มี ีความสามารถ ความเป็นผู้นำที่มุ่งมั่น และมีแรงจูงใจจากภายในด้าน SHW
(Competent leadership) เป็นสิ่งสำคัญในการขับเคลื่อนกระบวนการปรับปรุงของ
VISION ZERO
ความเป็นผู้นำที่มีความสามารถและมุ่งมั่นต่อ SHW เป็นส่ิง
สำคญั ในการขับเคลอื่ นกระบวนการพฒั นา VISION ZERO
2.1 การประเมนิ ผลการบรหิ ารความเสี่ยง การประเมนิ ประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยงดา้ น SHW
(Evaluating risk management) แสดงให้เห็นถึงความสนใจและความมุ่งมั่นของผู้นำในการ
ปรับปรุงด้าน SHW และสนับสนุนการเรียนรู้และการ
ปรบั ปรุงอยา่ งต่อเนอ่ื งขององค์กร
2.2 การเรียนร้จู ากเหตุการณ์ท่ีไม่ได้ การเรียนรู้จากเหตุการณ์ที่ไม่ได้วางแผนไว้ (อุบัติการณ์
วางแผนไว้ เหตุการณ์ กรณี) มีส่วนช่วยในการป้องกันเหตุการณ์ที่ไม่พึง
(Learning from unplanned ปรารถนาท่คี ลา้ ยคลงึ กนั ไมใ่ หเ้ กดิ ขน้ึ อกี
events)
3.1 การแนะนำเกี่ยวกบั การทำงานใน การบูรณาการ SHW ในกระบวนการเข้ารับตำแหน่งงาน
สถานท่ที ำงานใหม่ แสดงให้เห็นวา่ SHW เป็นส่วนประกอบสำคญั ของแต่ละงาน
(Workplace and job induction) และแต่ละกระบวนการทางธุรกิจ
140
3.2 การประเมินผลโปรแกรมเป้าหมาย การประเมินผลโปรแกรมเป้าหมายด้าน SHW (ตัวอย่าง เช่น
(Evaluating targeted การรณรงค์ชัว่ คราว)ช่วยในการตรวจสอบว่ามกี ารดำเนนิ งาน
programmes) ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งใจไว้ และเป้าหมายการปรับปรุงได้
บรรลุผล
4.1 การบรรยายสรปุ ก่อนการทำงาน การบูรณาการ SHW เข้าในการบรรยายสรุปก่อนการทำงาน
(Pre-work briefings) ช่วยในการระบุบริบทอันตราย ความเสี่ยง และมาตรการ
ป้องกนั ท่เี ฉพาะเจาะจงก่อนการทำงาน
4.2 การวางแผนและการจัดระบบงาน การวางแผนและการจัดระบบงานมีความสำคัญต่อ
(Planning and organization of ความสำเร็จของทุกองค์กร และเพื่อสร้างความมั่นใจด้าน
work) SHW
5.1 นวัตกรรมและการเปลยี่ นแปลง การเปลี่ยนแปลงบุคลากร องค์กร และเทคโนโลยีในองค์กร
(Innovation and change) เกิดขึ้นบ่อยครั้งในองค์กร และควรได้รับการพิจารณาในเชิง
รุกเพ่อื ปรบั ปรุง SHW ตั้งแต่เรมิ่ ตน้ ในขนั้ ตอนการออกแบบ
5.2 การจัดซอ้ื จัดจ้าง การจัดซื้อจัดจ้างสามารถกำหนดความเสี่ยงดา้ น SHW ระยะ
(Procurement) ยาว ตัวชี้วัดมีจุดมุ่งหมายที่จะกระตุ้นการจัดซื้อจัดจ้างอย่าง
เป็นระบบ เพื่อปรับปรุงความปลอดภัย สุขภาพ และความ
ผาสกุ
6.1 การฝึกอบรมเบ้อื งต้น การฝึกอบรมเบื้องต้นเป็นกุญแจสำคัญเพื่อที่จะมั่นใจใน
(Initial training) SHW และเพื่อให้ผู้นำและผู้ปฏิบัติงานมีคุณสมบัติเหมาะสม
กอ่ นเร่ิมการทำงาน
6.2 การฝกึ อบรมทบทวน การฝึกอบรมทบทวนทำให้มั่นใจได้ว่าความรู้ และทักษะด้าน
(Refresher training) SHW ของผนู้ ำและผู้ปฏิบตั งิ าน ยงั คงเป็นปัจจุบัน
7.1 ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง เมอื่ ข้อเสนอแนะสำหรับการปรบั ปรงุ SHW ได้รบั การตอ้ นรับ
(Suggestions for improvement) และดำเนินการอย่างจริงจัง จะช่วยกระตุ้นความมุ่งมั่นท่ี
กระตือรอื ร้นและมีสว่ นชว่ ยในการปรบั ปรุง SHW
7.2 การยกย่องชมเชย และใหร้ างวัล การยกย่องชมเชย และให้รางวัลในด้าน SHW เกี่ยวข้องกับ
(Recognition and reward) การแสดงความชื่นชมสำหรับการมีส่วนรว่ มในพฤติกรรมด้าน
SHW ที่ต้องการ
141
หลักสตู รท่ี 5: แนวทางการเป็นที่ปรกึ ษา VISION ZERO (VISION ZERO FOR CONSULT)
คู่มือสำหรับการเป็นผู้ให้คำปรึกษา VISION ZERO น้ี พัฒนาขึ้นเพื่อช่วยผู้ให้คำปรึกษา
VISION ZERO ไดเ้ ข้าใจแนวทางการดำเนินการสรา้ งวฒั นธรรมเชิงป้องกันของสถานประกอบกิจการด้วยกล
ยุทธ์ VISION ZERO ของสมาคมส่งเสริมความปลอดภัย และอนามัยในการทำงาน (ประเทศไทย) ในพระ
ราชูปถัมภ์ ฯ ในการใหค้ ำปรกึ ษา
สิ่งสำคัญของการเป็นผู้ให้คำปรึกษา VISION ZERO คือควรเข้าใจในหลักการ และกลยุทธ์
VISION ZERO ว่าเป็นความใฝ่ฝันและความมุ่งมั่นที่จะสร้างและทำให้มั่นใจว่างานที่ทำนั้นปลอดภัย และมี
สขุ ภาวะที่ดี โดยการป้องกันอบุ ัติเหตุ อันตราย และโรคทีเ่ ก่ยี วเนอ่ื งจากการทำงาน รวมถึงการส่งเสริมความ
เป็นเลิศอย่างต่อเนื่องในดา้ นความปลอดภัย สุขภาพ และความผาสุก VISION ZERO เป็นการเดินทาง เป็น
กระบวนการไปสู่อุดมคติ นอกจากนี้ยังเป็นวิสัยทัศน์ที่อิงคุณค่า ซึ่งหมายความว่า งานไม่ควรส่งผลเสียต่อ
ความปลอดภัย สุขภาพ และความผาสุก ของผู้ปฏิบัติงาน และถ้าเป็นไปได้ ควรช่วยเหลือพวกเขาให้ธำรง
รักษา หรือปรับปรุงความปลอดภัย สุขภาพ และความผาสุกของพวกเขา และพัฒนาให้เขามีความมั่นใจใน
ตนเอง มคี วามสามารถในการสร้างวฒั นธรรมความปลอดภยั เชงิ ป้องกนั ได้อยา่ งยั่งยนื
สถานประกอบกิจการสามารถมุ่งมั่นต่อ VISION ZERO ในระดับใด ๆ ของประสิทธิภาพด้านความ
ปลอดภัย สขุ ภาพ และความผาสุกก็ได้ ซึ่งความมุ่งม่ันอย่างจริงจังต่อ VISION ZERO สามารถทำให้เกิดการ
รเิ ร่ิมและรักษากระบวนการ และการสนับสนุนทางสงั คมที่จำเป็นสำหรับการเดินทางของ VISION ZERO ได้
VISION ZERO ไมใ่ ชส่ ิง่ ทส่ี ถานประกอบกิจการ หรือผ้บู รหิ ารมี หรือบรรลุแต่เปน็ สิ่งท่ีสถานประกอบกิจการ
หรือผู้บริหารต้องทำ VISION ZERO ไม่ใช่สำหรับสถานประกอบกิจการที่ดีที่สุด หรือสถานประกอบกิจการ
ขนาดใหญท่ ม่ี ผี ู้เชย่ี วชาญดา้ นความปลอดภัย สขุ ภาพ และความผาสุก เป็นของตนเองเทา่ น้นั แต่ยงั เกีย่ วข้อง
กบั สถานประกอบกิจการขนาดเล็กที่ไม่มีประสบการณ์มากนักในการบูรณาการความปลอดภัย สุขภาพ และ
ความผาสุกใหเ้ ป็นสว่ นหนึ่งของกลยุทธ์ทางธรุ กิจ
VISION ZERO เชื่อว่า องค์กรกำหนดวิสัยทัศน์ เพื่อทำให้ผู้บริหาร หัวหน้าหน่วยงาน และ
ผู้ปฏิบัตงิ าน มีความรับผิดชอบในหน้าท่ีของตน (ซึ่งทำแทนกันไม่ได้) มุ่งมั่นดำเนินการตามแต่ละข้อกำหนด
จึงทำใหอ้ งคก์ รปลอดภยั มีสุขภาพอนามัย และความผาสุกอยา่ งยง่ั ยืน ดังนน้ั การเป็นผู้ใหค้ ำปรึกษาโครงการ
VISION ZERO จึงแตกต่างจากการเป็นผู้ให้คำปรึกษาด้านอื่น ๆ ต้องชี้แนะเพื่อให้ผู้บริหาร หัวหน้า
หน่วยงาน และผู้ปฏิบัติงานแต่ละคนได้ดำเนินการตามแต่ละข้อกำหนดจริง ๆ โดยไม่อาจโกหกตนเองได้ มี
หลักฐานการดำเนินการ แต่ไม่จำเป็นต้องแสดงหลักฐานต่อผู้อื่น ผู้ที่ไม่ดำเนินการจะรู้สึกถึงความบกพร่อง
ต่อความรบั ผดิ ชอบของตนเอง ทำใหอ้ งคก์ รไม่บรรลเุ ปา้ หมาย หรือวสิ ัยทัศน์
142
ความรู้ท่วั ไปเก่ียวกับการเป็นผูใ้ หค้ ำปรึกษา
ผทู้ ่เี ป็นผ้ใู หค้ ำปรึกษาได้นน้ั ต้องมีความรคู้ วามเข้าใจท่ีถูกต้องในหลกั การของการใหค้ ำปรึกษาเป็น
ลำดับแรกรวมถงึ การต้องมีทกั ษะและความสามารถเบื้องต้นอันเปน็ คุณสมบตั ขิ องนักให้คำปรึกษาท่ดี ี
คณุ สมบัติ 7 ประการ ของผู้ให้คำปรกึ ษา
1. สนใจและใส่ใจผู้อื่นอย่างแทจ้ ริง
คณุ สมบัตแิ รกที่ไม่ใช่ทักษะแต่เป็นสิง่ สำคัญยิ่งยวดตอ่ การเป็นผ้ใู ห้คำปรึกษา เราจะไม่สามารถ
ตื่นขึ้นมาทำงานอย่างมีพลังได้หากเราไม่รักที่จะนั่งอยู่กับคนอื่น รับฟัง และสนใจเรื่องราวของคน
เหล่านั้นอย่างลึกซึ้งความสำเร็จของการให้คำปรึกษา คือ การปฏิสัมพันธ์กับบุคคลและการเชื่อมโยง
ขอ้ มูล
2. การตระหนกั รู้และตกผลกึ ความคดิ
ผู้ให้คำปรึกษาจำเป็นต้องสังเกต มีความตระหนักรู้ถึงประเด็นปัญหา และเข้าใจหลักการใน
เรอื่ งนน้ั ๆ อย่างแทจ้ รงิ และตกผลึกความคิด ซง่ึ จะทำให้ช่วยเหลอื ใหค้ ำปรึกษาไดด้ ีขึน้
3. ความสามารถในการ “ฟงั ” ในหลายระดบั
สิ่งทแ่ี ตกต่างระหว่างคนทว่ั ไปกับผู้ให้คำปรึกษาทด่ี ี คือ การฟงั โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงการฟัง โดย
ไร้ซึง่ การตัดสนิ การตคี วาม หรืออคตใิ ด ๆ ท้ังปวง ผใู้ หค้ ำปรกึ ษาไมค่ วรด่วนสรุปซ่งึ ส่ิงน้ีเป็นความท้า
ทาย ผู้คนส่วนใหญ่มักจะรับฟังข้อมูลหรือประเด็นต่าง ๆ โดยใช้ประสบการณ์และมุมมองของตัวเอง
มาเป็นกรอบความคิด ซึ่งจะทำให้การให้คำปรึกษาไม่ประสบความสำเร็จทั้งนี้ ผู้ให้คำปรึกษา
จำเปน็ ต้องฟงั ทั้งส่ิงทีบ่ คุ คลบอกกลา่ ว และไม่ไดบ้ อกกล่าวออกมา ความยากอยูต่ รงที่หลายครั้งท่ีผู้รับ
คำปรกึ ษาไมไ่ ดบ้ อกเลา่ ออกมาทง้ั หมด อาจเนื่องจากความไม่ไว้วางใจหรอื อาจคิดว่าไม่ใชป่ ระเดน็ แต่
ผู้ให้คำปรึกษาที่เชี่ยวชาญจะสามารถวิเคราะห์สิ่งทีไ่ ม่ได้บอกเล่าออกมา และเข้าใจตามมุมมอง และ
บรบิ ทของเจา้ ของเรือ่ งไดอ้ ย่างแท้จริง ซึง่ ทักษะน้ีตอ้ งใช้เวลานานในการฝึกฝน
4. การเข้าถงึ งา่ ยและความจริงใจ
ผู้ให้คำปรึกษาจำเป็นต้องสร้างความไว้วางใจให้เกิดกับผู้รับคำปรึกษาให้ได้ สิ่งสำคัญ คือต้อง
ใช้ความจริงใจและปรารถนาดีอย่างแท้จริง รวมถึงการเข้าถึงได้ง่ายเพื่อผ่อนคลายความไม่ไว้วางใจ
ดังน้ันการพฒั นาความสมั พันธท์ ี่ไว้วางใจกันระหว่างผู้รับคำปรึกษากบั ผใู้ ห้คำปรึกษา จงึ สำคญั มาก
5. ความยดื หยุ่นและเข้าใจความหลากหลาย
บุคคลแต่ละบุคคลมีที่มาจากพื้นฐานชีวิตและประสบการณ์ที่แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง การ
เตบิ โตทา่ มกลางสภาพแวดล้อม วฒั นธรรม ความเช่อื ฐานะทางเศรษฐกิจ และพนื้ ฐานครอบครัวท่ีไม่
เหมือนกัน ผู้ให้คำปรึกษาที่ดีจำเป็นต้องเข้าใจถึง ความหลากหลายนี้ และปรับให้เข้ากับผู้รับ
คำปรกึ ษาแตล่ ะบุคคลโดยไมย่ ึดติดกับกรอบใดกรอบหนึ่งหรือแนวทางใดแนวทางหนึ่ง รวมถึงมีความ
ยดื หยนุ่ ในการส่งมอบไปใหผ้ ใู้ ห้คำปรกึ ษาคนอืน่ ๆ กรณีทม่ี ีความจำเป็นตามความเหมาะสม
143
6. การมกี ระบวนการแก้ปัญหา
ในความเป็นจริงแล้ว ผู้ให้คำปรึกษาไม่ได้มีหน้าที่ในการแก้ปัญหา หรือบอกคำตอบว่าผู้รับ
คำปรึกษาจะต้องทำอะไรในประเด็นปัญหาต่าง ๆ ที่พบแต่ผู้ให้คำปรึกษาที่ดีต้องสามารถเป็นผู้นำ
กระบวนการให้ผู้เข้ารับคำปรึกษาสามารถค้นพบคำตอบได้ด้วยตัวเอง รวมทั้งเข้าใจตัวเองอย่างถ่อง
แท้จนรู้วา่ ตอ้ งทำอยา่ งไรต่อไป และสามารถเปลี่ยนแปลงตวั เองได้อย่างแทจ้ รงิ
7. การมีจรรยาบรรณของผู้ให้คำปรึกษา
การเป็นผู้ใหค้ ำปรึกษาทเ่ี ปน็ มืออาชีพน้ัน ล้วนตอ้ งยดึ ถือหลักจรรยาบรรณ เชน่ ตอ้ งไมเ่ ปิดเผย
เรอื่ งราวของผู้รบั คำปรึกษา ไมต่ ัดสนิ ผู้รับคำปรกึ ษา และรีบบอกคำตอบโดยไมเ่ ขา้ ใจอย่างถอ่ งแท้
หรือช้แี นะวิธกี ารหรือชักจูงไปในทางที่เป็นความคิดของตนเองทง้ั ท่ที ราบวา่ อาจไม่ถกู ตอ้ ง
ทั้งหมดที่กลา่ วข้างต้นคือคุณสมบัติสำคัญทั้ง 7 ประการของผู้ให้คำปรึกษา ทั้งนี้ทั้งนั้นยังมคี ุณสมบตั ิ
อื่น ๆ ที่เป็นส่วนเติมเต็มอีกจำนวนมากสำหรับผู้ให้คำปรึกษา ซึ่งต้องอาศัยการสั่งสมประสบการณ์จากการ
ฝึกฝนกรณจี รงิ มากเพยี งพอ แตส่ ำหรับผู้ที่มีใจรัก และมีความมงุ่ ม่นั จริง ส่งิ เหล่านไ้ี มย่ ากเกนิ ความสามารถที่
จะส่ังสมจนเปน็ ผูใ้ หค้ ำปรกึ ษามอื อาชพี ได้ สร้างคณุ คา่ ให้กบั ผคู้ น และสังคมได้อย่างยงั่ ยนื
กฎ 3 ขอ้ สำหรับการเป็นผู้ให้คำปรึกษาท่ีดี
ขอ้ 1. เป็นผฟู้ ังทด่ี ี
เมื่อบุคคลต้องการคำปรึกษาหรือขอคำแนะนำเก่ียวกับประเด็นปัญหาส่ิงแรกที่บุคคลเหล่านัน้
อยากทำคือ การบอกเลา่ เรื่องราวหรือสิ่งที่เป็นประเด็นปัญหา ดงั นั้นสิ่งทีผ่ ใู้ ห้คำปรึกษาควรทำลำดับแรกคือ
การฟัง และต้องเป็นผู้ฟังท่ีดี โดยให้ความสนใจ และตงั้ ใจฟงั ทุก ๆ ประเดน็ ท่ีพดู คยุ หรอื บอกเลา่ จนจบโดยไม่
พูดขัด เพราะอาจจะทำให้รู้สึกอึดอัด และคิดว่าผู้ให้คำปรึกษาไม่ได้ตั้งใจรับฟังรวมถึงควรมีการสบตาด้วย
เพื่อแสดงให้เห็นว่าผู้ให้คำปรึกษาตั้งใจฟังในเรื่องนั้น ๆ นอกจากนี้ลักษณะท่าทางก็มีส่วนช่วยได้มากควร
พยักหน้าเปน็ ระยะ ๆ ตามที่เขาพูด และน่งั หันตวั เข้าหาเขา ไมบ่ ิดตวั ไปมา เพ่ือแสดงถึงการฟงั อยา่ งต้งั ใจ
ขอ้ 2. ให้คำแนะนำท่ดี ี
การให้คำแนะนำด้วยแนวความคิดดี ๆ ในเชิงสร้างสรรค์ เป็นจริงและเป็นไปได้ เพื่อให้ผู้รับฟัง
สามารถนำไปวิเคราะห์ประเด็นปัญหาด้วยเหตุ และผลแล้วนำไปแก้ไข เปลี่ยนแปลง และปรับปรุงให้ดีขึ้น
หากผใู้ ห้คำปรึกษารสู้ ึก หรอื อยากแสดงความคิดเห็นหรือถามข้อมูลเพิ่มเติมน้ันก็สามารถทำได้เพียงทบทวน
ดูว่าเหมาะสม หรือไม่ และสิง่ ที่สำคัญที่สดุ คอื ความจรงิ ใจ และความหว่ งใย
ข้อ 3. “อย่เู พ่ือเขา” ในยามท่ีเขาต้องการ
การทีผ่ ้ใู ห้คำปรกึ ษาถามไถ่วา่ เปน็ อย่างไรบา้ ง เป็นการแสดงถึงความหว่ งใยอย่างหนึ่ง โดยแสดงให้
เห็นว่าเรามั่นใจในการตัดสินใจของเขา และจะสนับสนุนการดำเนินการที่เหมาะสม และเป็นประโยชน์ทุก
กรณี และยินดีช่วยเหลือให้คำแนะนำเท่าที่สามารถทำได้หลาย ๆ คนอาจคิดว่าการเป็นผู้ให้คำปรึกษาที่ดี
เป็นเรื่องยาก แต่พึงระลึกไว้เสมอว่า การเป็นผู้ฟังที่ดีสามารถช่วยให้ผู้ที่ขอรับคำปรึกษารู้สึกดีขึ้นมากว่า
ครึ่งหนึ่งได้ในชีวิตประจำวัน เราพบผู้พูดจำนวนมากแล้ว เราต้องการผู้ฟังที่ดีบ้าง ดังนั้นเราควรตั้งใจฟัง
144
มากกว่าที่จะพูด และถ้าทำตรงน้ีได้ก็จะทำให้ผูท้ ี่ขอคำปรึกษารู้สึกดี สบายใจ ถึงแม้ว่าไมอ่ าจช่วยได้ท้งั หมด
อยา่ งน้อยจะทำใหผ้ ้ใู ห้คำปรกึ ษามคี วามสุขใจด้วยเช่นกนั
ทกั ษะสำคญั ของผ้ใู หค้ ำปรึกษา
ทักษะการใหค้ ำปรึกษา (Consulting Skills) คอื ทักษะในการใหค้ ำปรึกษา และการใชก้ ระบวนการ
ให้คำปรึกษาอยา่ งมืออาชีพ ประกอบด้วยทกั ษะด้านตา่ งๆ ตอ่ ไปน้ี
1. ทักษะในการวิเคราะห์ (Analytical skills)
ทักษะการคิดวิเคราะห์ เปน็ ทักษะอันดบั หนึ่งท่ีผู้ใหค้ ำปรึกษาทกุ คนจะต้องมใี นระดับทสี่ งู มากถึงมากที่สุด
ให้ลองนึกภาพถึงวันที่เดินเข้าไปในสถานประกอบกิจการ หรือโรงงาน กวาดสายตาไปโดยรอบ แล้วเห็น
ผู้ปฏิบัติงานกับเครื่องจักร และอุปกรณ์ต่าง ๆ ในสายการผลิต หรือมองเห็นสภาพแวดล้อมทั่วไป ท่ี
ประกอบด้วยสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ สำหรับพนักงาน ไม่ว่าจะเป็นห้องพยาบาล ตู้น้ำดื่ม สุขา ห้อง
รับประทานอาหาร สถานที่นั่งพักผ่อน สนามกีฬา ฯลฯ เป็นข้อมูลที่ต้องเลือกเก็บ และนำเอาไปวิเคราะห์
เพื่อได้คำอธิบายประเด็นที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ เพื่อใช้ในการให้คำปรึกษาได้ ดังนั้นการเป็นผู้ให้คำปรึกษาที่ดี
ไมว่ า่ จะอาวโุ สน้อย หรอื อาวุโสมาก จะตอ้ งสามารถทำงานกบั ข้อมูลจำนวนมากได้ ขอแบ่งตามลำดับขั้นการ
ทำงานดังน้ี
1.1 การเก็บรวบรวมข้อมลู (Data Collection)
ก่อนการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ให้คำปรึกษาต้องรู้วิธีการได้มาซึ่งข้อมูลที่อยากได้ อาจโดยการ
สัมภาษณ์ขอดูเอกสาร สังเกตการณ์ทำแบบสำรวจ หรือแบบสอบถาม ฯลฯ อย่างไรก็ตาม หาก
ข้อมูลที่ได้มามากเกินไปจนไม่รู้จะวิเคราะห์ส่วนไหนดี หรือได้ข้อมูลมาไม่ตรงกับที่ต้องการจะไม่เป็น
ประโยชน์สำหรับผู้ให้คำปรึกษา ต้องหาวิธอี ธบิ ายใหส้ ถานประกอบกิจการฟังอยา่ งง่าย ๆ ว่าสิ่งทีเ่ รา
ต้องการคืออะไรเมื่อรับข้อมูลมาต้องกลั่นกรอง ตัด และลดทอนอคติและอารมณ์ของผู้ให้ข้อมูล
ออกไป หรือกรณไี ม่ได้ข้อมูลเลย ซง่ึ อาจเกิดจากผู้รบั คำปรึกษาไม่ทราบเกยี่ วกับข้อมลู น้ันจริง ๆ หรือ
ใครเป็นเจ้าของข้อมูล หรือคิดว่าข้อมูลสำคัญ (confidential) เกินกว่าที่จะให้เราได้ ดังนั้นผู้ให้
คำปรึกษาต้องชัดเจนว่าจะเอาข้อมูลไปทำอะไร เพื่ออะไร และหากขอข้อมูลเป็นจำนวนมากจาก
หลายหน่วยงาน ต้องหาวธิ ีการติดตามว่าได้ข้อมูลใด จากใครเปน็ ต้น และจะรักษาข้อมลู เปน็ ความลับด้วย
1.2 การวจิ ยั (Research)
อาจมบี างครัง้ หรือบ่อยคร้ังที่สถานประกอบกจิ การถามถึงขอ้ ปฏิบัติท่ีดี (best practice) โครงร่าง
งาน (framework) ข้อมูลเปรียบเทียบในแวดวงธุรกิจ/อุตสาหกรรมเดียวกัน ฯลฯ แน่นอนว่าสถาน
ประกอบกิจการไม่ผิดที่ถามคำถามแบบน้ี ดังนั้นทักษะการค้นคว้าหาข้อมูลจึงสำคัญ และจำเป็นยิ่ง
การค้นหาจากอินเทอร์เน็ตก็ต้องรู้ด้วยว่าแหล่งข้อมูลไหนที่น่าเชื่อถือ และสามารถเอาไปอ้างอิงได้
โครงร่างงานหรือมาตรฐานใดที่ใช้กันในแวดวงอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องหลายครั้งข้อมูลที่ต้องการอาจ
ไม่ได้มีอยู่ในอินเทอร์เน็ต กต็ อ้ งรู้ว่าจะไปหาได้จากที่ใดโดยทวั่ ไปแลว้ หน่วยงานให้คำปรึกษาจะมีแหล่ง
หรือฐานข้อมูลความรู้ (portal or knowledge base) ไว้สำหรับเก็บ และแชร์ข้อมูลใครในหน่วยงาน
ใหค้ ำปรกึ ษาทเี่ ปน็ ผเู้ ช่ยี วชาญที่ควรจะมีข้อมลู ดา้ นน้ัน ๆ หรอื การใช้เส้นสายคนรู้จักสืบเสาะหาข้อมูล
145