แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู ู้สอน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๔๕
ชื่อ..................................................................สกลุ ....................................................ชน้ั .....................เลขที่......
คณุ ค่าเรื่อง โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์
............................................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................. .............................................
..........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................. .............................................
..........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............................................
.............................................................................................................................. ............................................
..........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................... ...........................................
..........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............................................
................................................................................................................................ ..........................................
ความรูแ้ ละขอ้ คดิ เรอ่ื ง โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์
...................................................................................................................................................................... ....
............................................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................. .............................................
....................................................................................................................................................................... ...
............................................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................. .............................................
....................................................................................................................................................................... ...
............................................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................. .............................................
........................................................................................................................................................................ .
(พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยูใ่ นดุลยพนิ ิจของคร)ู
แผนการจัดการเรียนรรู้ ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครูผู้สอน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๔๖
บันทึกหลังสอนแผนการสอนท่ี ๑๔
๑. ผลการสอนระดับชัน้ ม.๒/………
สอนได้ตามแผนการจดั การเรยี นรู้
สอนไมไ่ ด้ตามแผนการจัดการเรยี นรู้ เนื่องจาก
..............................................................................................................................................................................................................
๒. ผลท่ีเกดิ กบั ผู้เรยี น
๑.) การประเมินผลความรูห้ ลงั การเรียน โดยใช้……………………….....................................พบวา่ นกั เรยี นผ่านการประเมนิ คดิ เป็น
รอ้ ยละ...................……. ไมผ่ า่ นเกณฑ์ข้ันต่ำทก่ี ำหนดไว้คิดเปน็ ร้อยละ................................................................................................
ได้แก่ ...................................................................................................................................................................................................
๒.) การประเมนิ ดา้ นทักษะกระบวนการเรยี น โดยใช…้ ………………...….….........................พบว่านกั เรยี นผ่านการประเมินคิดเปน็
ร้อยละ.........................……. ไม่ผ่านเกณฑ์ขัน้ ตำ่ ท่กี ำหนดไวค้ ิดเปน็ รอ้ ยละ..........................................................................................
ได้แก่ ....................................................................................................................................................................................................
๓.) การประเมินดา้ นคุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ เรียน โดยใช…้ …………………….............................................พบว่านักเรยี นผา่ นการ
ประเมินคดิ เป็นรอ้ ยละ............... ไม่ผ่านเกณฑ์ขน้ั ตำ่ ทกี่ ำหนดไว้คดิ เป็นรอ้ ยละ.................ได้แก่.........................................................
............................................................................................................................................................ ..................................................
๓. ปัญหาและอปุ สรรค
กจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้ ไมเ่ หมาะสมกบั เวลา
มนี กั เรียนทำใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทนั ตามกำหนดเวลา
มีนกั เรยี นทไ่ี มส่ นใจเรียน
อื่น ๆ ............................................................................................................................................................................
๔. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
ควรนำแผนไปปรบั ปรงุ เร่อื ง .....................................................................................................................................
แนวทางแก้ไขนกั เรยี นทีไ่ มผ่ า่ นการประเมิน ................................................................................................................
ไมม่ ีข้อเสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………………….…………………………
ลงช่ือ ผ้สู อน
(นางสาวอาภาพร เทพบรรจง)
ความคิดเห็นของหวั หนา้ กลุม่ สาระฯ ความคดิ เหน็ ของหวั หนา้ วิชาการ
๑.เป็นแผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ …………………………………………………………………………………………………………
ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ ……………………………………………………………………………………………………..…
๒.การจดั กจิ กรรมการเรยี นรไู้ ด้นำเอากระบวนการเรียนรู้ ลงชือ่ ................................................
ท่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ย่าง
(นางสาวณัฐิญา คาโส)
เหมาะสมกบั ศกั ยภาพทีแ่ ตกต่างกันของผเู้ รียน ความคดิ เห็นของผู้อำนวยการโรงเรียนพนมศกึ ษา
…………………………………………………………………………………………………………
ทยี่ ังไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป …………………………………………………………………………………………………………
๓.เป็นแผนการจดั การเรียนรู้
นำไปใช้ไดจ้ ริง ควรปรบั ปรงุ กอ่ นนำไปใช้
๔.ขอ้ เสนอแนะอ่ืนๆ ลงชือ่ ................................................
…………………………………………………………………………………………………
(นางผกา สามารถ)
ลงช่ือ....................................................... ผู้อำนวยการโรงเรียนพนมศกึ ษา
(นางสาวอาภาพร เทพบรรจง)
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครูผู้สอน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๔๗
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑๕
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๒
รายวิชา ภาษาไทย รหสั วิชา ท๒๒๑๐๒
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๓ เรื่อง สานต่อความเป็นไทย จำนวน ๑๕ ชวั่ โมง
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑๕ เรือ่ ง โคลงสภุ าษติ โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
จำนวน ๒ ชว่ั โมง
*************************************************************************************
๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ัด
ท ๕.๑ ม.๒/๑ สรุปเนื้อหาวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอี่ ่านในระดบั ท่ยี ากข้นึ
ม.๒/๒ วเิ คราะหแ์ ละวิจารณว์ รรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถ่ินท่อี ่าน พร้อมยกเหตผุ ลประกอบ
ม.๒/๓ อธบิ ายคุณคา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรมทอี่ า่ น
ม.๒/๔ สรุปความรูแ้ ละข้อคิดจากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ จริง
๒. สาระสำคญั
การศกึ ษาเรือ่ ง โคลงสุภาษติ นฤทุมนาการ จะต้องสรุปเนอ้ื หาจากเรื่องทอี่ ่าน วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และอธิบาย
คุณค่า สรุปความรแู้ ละข้อคิดนำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริง
๓. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้
-วเิ คราะหค์ ณุ ค่าจากการอ่านเรอ่ื งโคลงสภุ าษติ นฤทมุ นาการ ได้
๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ
-สรปุ เนอ้ื หาและอธิบายความหมายของคำศัพทต์ ่างๆ ในเรื่องโคลงสภุ าษิตนฤทมุ นาการ ได้
๓.๓ ด้านเจตคต/ิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์/คุณธรรมจริยธรรมท่สี อดแทรก
-มีมารยาทในการอา่ น
๔. สมรรถนะของผเู้ รียน
๔.๑ ความสามารถในการส่ือสาร
๔.๒ ความสามารถในการคดิ
๔.๓ ความสามารถในการแก้ปัญหา
๔.๔ ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
๔.๕ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
๕. สาระการเรียนรู้
- วรรณคดีเกยี่ วกบั สุภาษติ คำสอน
- การวเิ คราะห์คุณค่าและข้อคิดจากวรรณคดี
๖. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการเรียนความรู้ความเข้าใจ
ขัน้ ท่ี ๑ สงั เกต ตระหนกั
แผนการจัดการเรยี นร้รู ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู ้สู อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๔๘
๑. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สนทนาเกี่ยวกบั สงิ่ ตา่ งๆ ทเ่ี คยทำในอดีตท้งั ทเ่ี ปน็ สงิ่ ที่ควรทำและสงิ่ ทไี่ ม่
ควรทำ เพราะเปน็ สาเหตุทำให้เกดิ ความรู้สึกเสยี ใจ
๒.นกั เรยี นรวมกลุ่มเดมิ (จากแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑) จากนัน้ ครใู ห้แตล่ ะกลุ่มร่วมกนั แสดงความ
คดิ เหน็ ในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี
- จากการศึกษาเรื่อง โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ นกั เรียน ชอบสามสง่ิ ทวี่ ่าดว้ ยเร่ืองอะไรมาก
ท่สี ุด เพราะเหตใุ ด
- การตอ่ ส้เู พ่ือรักษาสามสิง่ คือ ช่ือเสียงยศศักดิ์ บา้ นเมอื ง และมติ รสหาย จะส่งผลดีอย่างไรต่อ
นักเรยี นโดยครคู อยกระตนุ้ ใหน้ ักเรียนทกุ คนมีส่วนร่วมในการตอบคำถาม
ขั้นท่ี ๒ วางแผนปฏิบัติ
๓. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั วางแผนศึกษาความรเู้ ร่ือง โคลงสภุ าษติ นฤทมุ นาการ จากหนังสือเรียน
ตามประเดน็ ทคี่ รกู ำหนด ดงั น้ี
๑) ความเป็นมา ลักษณะคำประพันธ์ เร่ืองยอ่
๒)เน้ือเร่อื งและคำศัพท์
๓)คณุ ค่าของเรอ่ื ง
๔)ความรู้และข้อคดิ
๔.สมาชกิ แต่ละกล่มุ แบ่งหนา้ ท่ีกันรบั ผิดชอบในการศึกษาและสืบค้นประเดน็ ความรู้ ตามความเหมาะสม
ขัน้ ที่ ๓ ลงมือปฏบิ ัติ
๕. นักเรยี นแตล่ ะคนในกลุ่มศึกษาและสืบค้นความรู้เรือ่ ง โคลงสุภาษิตนฤทมุ นาการ จากหนงั สือเรยี น
ตามทีไ่ ด้วางแผนร่วมกนั ไว้ แลว้ บันทกึ ความรู้ทีไ่ ด้จากการศกึ ษาลงในแบบบันทกึ การอ่าน
ขัน้ ที่ ๔ พัฒนาความรู้ ความเข้าใจ
๖. นักเรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกนั อภปิ รายความรเู้ ร่ือง โคลงสุภาษิตนฤทมุ นาการ ตามประเด็นท่คี รู
กำหนด ผลัดกันซกั ถามข้อสงสยั และอธบิ ายจนทุกคนมคี วามเขา้ ใจชัดเจนตรงกนั
๗.นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ ออกมานำเสนอผลการอภปิ ราย หนา้ ชั้นเรยี น โดยครูและเพ่อื นนักเรยี นรว่ มกนั แสดง
ความคิดเหน็ และใหข้ อ้ เสนอแนะ
ข้ันท่ี ๕ สรปุ
๘.ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรุปความรู้เรอ่ื ง โคลงสุภาษิตนฤทมุ นาการ
๗. การบูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (๓ หว่ ง ๒ เงอื่ นไข ๔ มติ ิ)
หลักความพอประมาณ - สรปุ คุณคา่ ของวรรณคดีตามเนอื้ ท่กี ำหนด
- วางแผนสรุปความร้โู ดยแบ่งหน้าที่ความรบั ผดิ ชอบได้ตามความ
หลกั มเี หตผุ ล
หลักสรา้ งภมู คิ ุ้มกันในตวั เหมาะสมสบื คน้ และซกั ถามจนทุกคนเกิดความเข้าใจ
ทดี่ ี
- นำคณุ ค่าทีไ่ ด้จากการศกึ ษาวรรณคดไี ปปรบั ใช้ในชีวิตประจำวันได้
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู ู้สอน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๔๙
เงอื่ นไขความรู้ - อธิบายคุณค่าวรรณคดจี ากเรื่องท่อี ่านได้
เงื่อนไขคุณธรรม - มีมารยาทในการอ่านส่ือสารไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ๔ มติ ิ
เศรษฐกิจ สงั คม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม
๘. สื่อการเรยี นรู้ (หนังสอื / เอกสารประกอบการสอน / ใบงาน / ใบความรู้ เป็นตน้ )
สื่อการเรยี นรู้
๗.หนงั สือเรียน ภาษาไทย : วรรณคดแี ละวรรณกรรม ม.๒
๒.ใบงาน เร่ืองโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์
๙. แหลง่ เรียนรู้ (สถานทีจ่ ริง / ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน / สถานประกอบการ / อินเตอรเ์ นต็ เปน็ ต้น)
-
๑๐. การวัดและการประเมินผล
การวัดและการประเมินผล วิธกี ารวดั และการ เครอื่ งมอื เกณฑ์
ประเมินผล - แบบบนั ทึกการอ่าน
-ระดบั คุณภาพ ๒
(K) –วเิ คราะห์คุณค่าจากการ -ตรวจแบบบนั ทึกการ -แบบสงั เกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์
อา่ นเร่ืองโคลงสุภาษิตนฤทุม อา่ น เปน็ รายบคุ คล
นาการ ได้ - ระดับคณุ ภาพ ๒
(P)- สรปุ เน้ือหาและอธิบาย -สังเกตพฤตกิ รรมเปน็ -แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ผ่านเกณฑ์
ความหมายของคำศัพทต์ ่างๆ รายบคุ คล เปน็ รายบุคคล
ในเรือ่ งโคลงสภุ าษติ นฤทมุ นา -ระดับคณุ ภาพ ๒
การ ได้ ผา่ นเกณฑ์
(A) -มมี ารยาทในการอ่าน -สงั เกตพฤติกรรมเปน็
รายบุคคล
ลงช่ือ……………………………………………ครผู ู้สอน
(นางสาวอาภาพร เทพบรรจง )
………/…………/…………
แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู ู้สอน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๕๐
แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานของผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล
คำชแ้ี จง ผสู้ อนสงั เกตการทำงานของผเู้ รียน โดยทำเครอื่ งหมายถูกลงในชอ่ งที่ตรงกับความเป็นจรงิ
พฤติกรรม ความสนใจ การมสี ว่ น การรบั ฟงั การตอบ ความรบั ผดิ รวม
ในการเรียน ร่วมแสดง ความคิด คำถาม คะแนน
ความคดิ เหน็ ของผู้ ชอบตอ่ งาน
ทไี่ ด้รับมอบ
หมาย
เห็นในการ อ่นื
อภิปราย
ชอื่ -สกลุ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๑๐
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
เกณฑก์ ารประเมิน
ให้คะแนน ๐-๔ ถ้าการทำงานน้ันอยู่ในระดับตอ้ งปรบั ปรงุ
ใหค้ ะแนน ๕-๗ ถ้าการทำงานน้ันอยใู่ นระดบั พอใช้
ใหค้ ะแนน ๘-๑๐ ถ้าการทำงานน้นั อยใู่ นระดบั ดี
ลงชื่อ……………………………………………………
(…………………………………………………..)
ผปู้ ระเมนิ
แผนการจัดการเรียนรรู้ ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู สู้ อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๕๑
ชือ่ ..................................................................สกลุ ....................................................ชั้น.....................เลขท่ี......
แบบบันทึกการอา่ น
ชอ่ื หนงั สอื ชอื่ ผูแ้ ตง่ นามปากกา
สำนักพิมพ์ สถานทพ่ี มิ พ์ ปีทีพ่ ิมพ์
จำนวนหนา้ ราคา บาท อ่านวนั ท่ี เดอื น พ.ศ. เวลา
๑.สาระสำคญั ของเรือ่ ง
............................................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................. .............................................
..........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................. .............................................
..........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............................................
๒.วิเคราะห์ขอ้ คดิ /ประโยชน์ทไ่ี ดจ้ ากเรือ่ งท่อี ่าน
............................................................................................................................. .............................................
..................................................................................................................................... .....................................
..........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............................................
๓.สิ่งท่ีสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำวัน
............................................................................................................................. .............................................
....................................................................................................................................................................... ...
............................................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................. .............................................
๔.ข้อเสนอแนะของครู
.................................................................................................................................................... ......................
..........................................................................................................................................................................
ลงช่ือ นักเรียน
( )
แผนการจัดการเรียนรูร้ ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู ู้สอน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๕๒
บันทึกหลงั สอนแผนการสอนที่ ๑๕
๑. ผลการสอนระดับชัน้ ม.๒/………
สอนได้ตามแผนการจดั การเรยี นรู้
สอนไมไ่ ด้ตามแผนการจัดการเรยี นรู้ เนื่องจาก
..............................................................................................................................................................................................................
๒. ผลท่ีเกดิ กบั ผู้เรยี น
๑.) การประเมินผลความรูห้ ลงั การเรียน โดยใช้……………………….....................................พบว่านกั เรียนผ่านการประเมนิ คดิ เป็น
รอ้ ยละ...................……. ไมผ่ า่ นเกณฑ์ขั้นต่ำทก่ี ำหนดไวค้ ิดเป็นรอ้ ยละ................................................................................................
ได้แก่ ...................................................................................................................................................................................................
๒.) การประเมนิ ดา้ นทักษะกระบวนการเรียน โดยใช…้ ………………...….….........................พบวา่ นกั เรียนผ่านการประเมินคดิ เปน็
ร้อยละ.........................……. ไม่ผ่านเกณฑ์ข้ันตำ่ ทีก่ ำหนดไว้คดิ เป็นรอ้ ยละ..........................................................................................
ได้แก่ ....................................................................................................................................................................................................
๓.) การประเมินดา้ นคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ เรียน โดยใช…้ …………………….............................................พบวา่ นักเรยี นผ่านการ
ประเมินคดิ เป็นรอ้ ยละ............... ไมผ่ ่านเกณฑ์ขัน้ ตำ่ ท่กี ำหนดไวค้ ิดเป็นรอ้ ยละ.................ได้แก่.........................................................
..............................................................................................................................................................................................................
๓. ปัญหาและอปุ สรรค
กจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้ ไมเ่ หมาะสมกบั เวลา
มนี กั เรียนทำใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกำหนดเวลา
มีนกั เรยี นทไ่ี มส่ นใจเรียน
อื่น ๆ ............................................................................................................................................................................
๔. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
ควรนำแผนไปปรับปรงุ เรื่อง .....................................................................................................................................
แนวทางแก้ไขนกั เรยี นทีไ่ ม่ผ่านการประเมิน ................................................................................................................
ไมม่ ีข้อเสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………………….…………………………
ลงชื่อ ผู้สอน
(นางสาวอาภาพร เทพบรรจง)
ความคิดเห็นของหวั หนา้ กลุม่ สาระฯ ความคดิ เห็นของหัวหนา้ วชิ าการ
๑.เป็นแผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ …………………………………………………………………………………………………………
ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ ……………………………………………………………………………………………………..…
๒.การจดั กจิ กรรมการเรยี นรไู้ ด้นำเอากระบวนการเรียนรู้ ลงชือ่ ................................................
ท่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ย่าง
(นางสาวณฐั ญิ า คาโส)
เหมาะสมกบั ศกั ยภาพทีแ่ ตกต่างกันของผเู้ รยี น ความคิดเหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรยี นพนมศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………
ทยี่ ังไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป …………………………………………………………………………………………………………
๓.เป็นแผนการจดั การเรียนรู้
นำไปใช้ไดจ้ ริง ควรปรบั ปรงุ กอ่ นนำไปใช้
๔.ขอ้ เสนอแนะอ่ืนๆ ลงชอื่ ................................................
…………………………………………………………………………………………………
(นางผกา สามารถ)
ลงช่ือ....................................................... ผู้อำนวยการโรงเรยี นพนมศกึ ษา
(นางสาวอาภาพร เทพบรรจง)
แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครูผูส้ อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๕๓
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑๖
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒
รายวิชา ภาษาไทย รหสั วิชา ท๒๒๑๐๒
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๓ เรื่อง สานต่อความเปน็ ไทย จำนวน ๑๕ ชั่วโมง
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๑๖ เร่ือง โคลงสุภาษติ อิศปปกรณำ จำนวน ๓ ชัว่ โมง
*************************************************************************************
๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ัด
ท ๕.๑ ม.๒/๑ สรปุ เนือ้ หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมทีอ่ ่านในระดับทย่ี ากขึ้น
ม.๒/๒ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถ่นิ ทีอ่ า่ น พร้อมยกเหตผุ ลประกอบ
ม.๒/๓ อธิบายคุณคา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรมท่อี ่าน
ม.๒/๔ สรุปความรู้และขอ้ คดิ จากการอา่ นไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ
๒. สาระสำคญั
การศกึ ษาเรื่อง โคลงสุภาษติ อิศปปกรณำ จะต้องสรุปเน้อื หาจากเรอื่ งทอ่ี ่าน วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และอธบิ าย
คณุ ค่า สรปุ ความร้แู ละข้อคิดนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตจรงิ
๓. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
๓.๑ ด้านความรู้
-วเิ คราะหค์ ุณค่าจากการอา่ นเรอ่ื งโคลงสุภาษิตอิศปปกรณำได้
๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ
-สรุปเนื้อหาและอธิบายความหมายของคำศพั ทต์ ่างๆ ในเร่ืองโคลงสภุ าษติ อิศปปกรณำได้
๓.๓ ดา้ นเจตคติ/คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์/คุณธรรมจรยิ ธรรมท่สี อดแทรก
-มมี ารยาทในการอ่าน
๔. สมรรถนะของผู้เรียน
๔.๑ ความสามารถในการส่อื สาร
๔.๒ ความสามารถในการคิด
๔.๓ ความสามารถในการแกป้ ัญหา
๔.๔ ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต
๔.๕ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
๕. สาระการเรียนรู้
- วรรณคดีเกย่ี วกบั สภุ าษิต คำสอน
-การวิเคราะห์คณุ คา่ และขอ้ คดิ จากวรรณคดี
๖. กระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
วิธสี อนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการกลุ่ม
ขั้นที่ ๑ มผี ู้นำและมีการแบง่ หนา้ ท่ีรับผดิ ชอบ
๑. ครูเลา่ นทิ านอีสปเรื่อง สนุ ขั จิ้งจอกกบั นกกระสา ใหน้ กั เรยี นฟัง แล้วให้นกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ ความรู้
แผนการจัดการเรยี นรู้รายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู ้สู อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๕๔
และข้อคิดท่ไี ด้รบั
๒.ครแู จ้งใหน้ กั เรียนทราบวา่ นกั เรียนแต่ละกล่มุ จะต้องร่วมกนั ศึกษาความรู้เรือ่ ง โคลงสภุ าษติ
อศิ ปปกรณำ ตามประเด็นท่ีครูกำหนด ดงั นี้
๑) ความเปน็ มาและประวตั ิผแู้ ตง่
๒)เนือ้ เรื่องและคำศพั ท์
๓)คณุ ค่าของเร่ือง
๔)ขอ้ คิดและแนวทางในการนำไปใช้ในชีวิตจริง
๓.นักเรยี นแต่ละกลุ่ม (กลมุ่ เดมิ จากแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ) เลือกผนู้ ำกลุม่ และเลขานุการกล่มุ แลว้
แบง่ หนา้ ทค่ี วามรบั ผิดชอบให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มตามความเหมาะสมหรอื ตามความสนใจ ครเู นน้ ย้ำให้
สมาชิกทกุ คนในกลุ่มร่วมมือกันในการทำกิจกรรม
ขน้ั ท่ี ๒ วางแผน
๔.นกั เรียนแต่ละกล่มุ ร่วมกนั วางแผนและกำหนดขอบเขตในการศึกษาความร้เู รือ่ ง โคลงสุภาษติ
อิศปปกรณำ จากหนงั สือเรียน ตามประเดน็ ท่รี บั ผิดชอบ
ข้นั ท่ี ๓ ปฏบิ ตั ิตามแผน
๕. นักเรียนแตล่ ะกล่มุ รว่ มกันศกึ ษาความรตู้ ามแผนท่ีได้วางไว้ จากหนังสือเรยี น แลว้ บนั ทึกความรู้ที่
ไดล้ งในแบบบนั ทึกการอา่ น
ขั้นที่ ๔ ประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงาน
๖. นกั เรยี นแต่ละกล่มุ รว่ มกันอภปิ รายความรตู้ ามประเด็นท่รี บั ผดิ ชอบ แลว้ สรุปเป็นองคค์ วามร้ขู อง
กลุ่ม
๗.นักเรียนแต่ละกลมุ่ นำเสนอผลงานหน้าช้ันเรียน โดยครแู ละเพ่ือนกลมุ่ อ่นื ช่วยกันตรวจสอบความถกู
ต้อง และให้ขอ้ เสนอแนะ
ขั้นท่ี ๖ ปรับปรุงและพฒั นา
๘. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกันปรับปรุงและพฒั นาผลงานทีย่ ังบกพร่องใหถ้ กู ต้องสมบูรณ์ เพกื่ ารศึกษา
ในเร่อื งตอ่ ไป
๘. ครูและนักเรยี นรว่ มกันสรุปความรูเ้ ร่อื ง โคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ
แผนการจัดการเรยี นรู้รายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู สู้ อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง ๑๕๕
๗. การบูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (๓ ห่วง ๒ เง่อื นไข ๔ มิติ)
หลักความพอประมาณ - ศึกษาหัวขอ้ วรรณคดีวรรณกรรมตามที่กำหนดโดยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำ
กิจกรรมอย่างทัว่ ถึงภายในเวลาทกี่ ำหนด
หลักมีเหตุผล - แบ่งหนา้ ทีก่ ันศึกษาตามความเหมาะสมหรอื ความสนใจศกึ ษาความรู้ตาม
แผนทไี่ ด้วางไว้
หลกั สร้างภูมคิ ุ้มกันในตัว - นำความรู้หรือข้อคดิ มาปรบั ใช้ในชีวิตประจำวัน
ทด่ี ี
เง่อื นไขความรู้ - อธิบายและสรปุ คณุ คา่ จากวรรณคดีจากเรื่องที่อา่ นได้
เงอื่ นไขคณุ ธรรม - มีมารยาทในการอา่ น ส่ือสารไดถ้ ูกตอ้ งตามหลักการใชภ้ าษาไทย
ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ๔ มิติ
เศรษฐกิจ สงั คม ส่ิงแวดล้อม วัฒนธรรม
๘. สอ่ื การเรียนรู้ (หนังสอื / เอกสารประกอบการสอน / ใบงาน / ใบความรู้ เปน็ ตน้ )
ส่อื การเรยี นรู้
๙.หนงั สอื เรียน ภาษาไทย : ม.๒
๒.นทิ านอีสปเรื่อง สนุ ัขจิ้งจอกกบั นกกระสา
๙. แหล่งเรยี นรู้ (สถานทจี่ ริง / ภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ / สถานประกอบการ / อนิ เตอร์เนต็ เปน็ ตน้ )
-
แผนการจัดการเรยี นรรู้ ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู สู้ อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๕๖
๑๐. การวดั และการประเมินผล
การวัดและการ วธิ กี ารวัดและการ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินผล ประเมินผล - แบบบนั ทกึ การอ่าน
-ระดบั คุณภาพ ๒ ผ่าน
(K) –วิเคราะหค์ ุณคา่ จาก -ตรวจแบบบันทกึ การอ่าน -แบบสงั เกตพฤตกิ รรม เกณฑ์
เปน็ รายบุคคล - ระดับคุณภาพ ๒ ผ่าน
การอา่ นเรือ่ ง โคลง เกณฑ์
สุภาษติ อิศปปกรณำได้ -แบบสังเกตพฤติกรรม
เปน็ รายบคุ คล -ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผา่ น
(P)- สรปุ เน้ือหาและ -สงั เกตพฤติกรรมเปน็ เกณฑ์
อธบิ ายความหมายของ รายบุคคล
คำศพั ท์ตา่ งๆ ในเร่ือง
โคลงสภุ าษิต
อิศปปกรณำได้
(A) -มมี ารยาทในการ -สงั เกตพฤตกิ รรมเป็น
อา่ น รายบุคคล
ลงชื่อ……………………………………………ครูผู้สอน
(นางสาวอาภาพร เทพบรรจง )
………/…………/…………
แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู ู้สอน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๕๗
แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานของผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล
คำชแ้ี จง ผสู้ อนสงั เกตการทำงานของผเู้ รียน โดยทำเครอื่ งหมายถูกลงในชอ่ งที่ตรงกับความเป็นจรงิ
พฤติกรรม ความสนใจ การมสี ว่ น การรบั ฟงั การตอบ ความรบั ผดิ รวม
ในการเรียน ร่วมแสดง ความคดิ คำถาม ชอบตอ่ งาน คะแนน
ความคดิ เหน็ ของผู้
ทไี่ ด้รับมอบ
หมาย
เห็นในการ อนื่
อภิปราย
ชอื่ -สกลุ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๑๐
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
เกณฑก์ ารประเมิน
ให้คะแนน ๐-๔ ถ้าการทำงานน้ันอยู่ในระดับตอ้ งปรบั ปรงุ
ใหค้ ะแนน ๕-๗ ถ้าการทำงานน้ันอยใู่ นระดบั พอใช้
ใหค้ ะแนน ๘-๑๐ ถ้าการทำงานน้นั อยใู่ นระดบั ดี
ลงชื่อ……………………………………………………
(…………………………………………………..)
ผปู้ ระเมนิ
แผนการจัดการเรียนรรู้ ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู ู้สอน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๕๘
ชอ่ื ..................................................................สกุล....................................................ชนั้ .....................เลขท่ี......
แบบบันทึกการอา่ น
ชอื่ หนังสอื ช่อื ผู้แตง่ นามปากกา
สำนกั พมิ พ์ สถานท่พี มิ พ์ ปที ่พี มิ พ์
จำนวนหน้า ราคา บาท อา่ นวนั ท่ี เดอื น พ.ศ. เวลา
๑.สาระสำคัญของเรือ่ ง
............................................................................................................................. .............................................
..........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............................................
............................................................................................................................. .............................................
..........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............................................
.............................................................................................................................. ............................................
..
๒.วิเคราะห์ข้อคิด/ประโยชนท์ ่ีไดจ้ ากเร่อื งท่อี า่ น
................................................................................................................................................................ ..........
......................................................................................................................... .................................................
............................................................................................................................. .............................................
................................................................................................................................................................. .........
๓.สิ่งทส่ี ามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวัน
............................................................................................................................. .............................................
..........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............................................
.............................................................................................................................. ............................................
๔.ข้อเสนอแนะของครู
..........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............................................
ลงชือ่ นกั เรียน
( )
แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครูผู้สอน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๕๙
นทิ านอีสปเร่ือง สนุ ขั จงิ้ จอกกับนกกระสา
วันหน่ึงสุนขั จิง้ จอกไดเ้ ชิญนกกระสาใหม้ ากินอาหารเย็นทบ่ี า้ นของมนั และดว้ ยตอ้ งการทจ่ี ะทำให้แขกท่ี
มันได้เชิญมากับตวั ของมนั เองเกิดความสนุกสนาน จงึ เอาอาหารจำพวกซปุ ใสจ่ านแบนๆ กน้ ต้ืนออกมาให้นกกระสา
กนิ สุนัขจงิ้ จอกกนิ น้ำซปุ ที่อย่ใู นจานแบนๆ ก้นตืน้ น้ันอย่างสะดวกสบายและรวดเรว็ สว่ นนกกระสาดว้ ยมนั มีปากท่ี
แหลมยาวน่นั เองจะดืม่ กินกไ็ ม่ถนัด จึงได้แต่จิกๆ ไปตามเรอื่ ง เสรจ็ งานเล้ยี งแล้วกย็ ังไม่หายหิว เพราะเกอื บจะ
เรยี กวา่ ไมไ่ ดก้ ินเอาเลยทเี ดียว ในชัว่ ขณะหน่งึ สุนัขจ้ิงจอกแอบหัวเราะกบั ตวั เองอยา่ งสนุกสนาน แล้วยังถามนก
กระสาวา่ อาหารของมันไมถ่ กู ปากหรือไงถึงไดก้ นิ นอ้ ยนกั
นกกระสาพูดเล็กน้อยและตอบขอบใจสนุ ขั จ้งิ จอกทไี่ ดเ้ ชญิ ใหม้ นั มากนิ อาหาร และสดุ ท้ายมันกไ็ ด้บอกเชญิ
ให้ไปกนิ อาหารที่บา้ นของมันบ้างเป็นการตอบแทน สุนขั จง้ิ จอกรบี รบั คำ ตกลงทจ่ี ะไปในวนั รุง่ ข้นึ ทเี ดียว คร้นั ได้
เวลาสุนัขจิ้งจอกก็มาถึงท่บี า้ นของนกกระสา สุนัขจง้ิ จอกกล่าวคำสวสั ดีแล้วลงน่ังที่โตะ๊ ท่ีนกกระสา ไดจ้ ัดเตรียม
เอาไวใ้ ห้ นกกระสายกอาหารใส่ถว้ ยปากแคบทรงสูงออกมา พลางเชิญให้สุนัขจ้งิ จอกกนิ สนุ ขั จิ้งจอกทำหนา้ เจื่อนๆ
ด้วยเพราะไม่สามารถ
ท่จี ะเอื้อมปากของมนั ลงไปกนิ อาหารในถ้วยปากแคบทรงสูงนัน้ ได้ จงึ ได้แตเ่ ลียๆ อาหารทตี่ ิดอย่ทู ี่ขา้ งๆ ปากถว้ ย
น้ันอย่างเดยี ว และมองดนู กกระสาเพลิดเพลินกบั การกินอาหารของมัน นกกระสาน่ังกนิ อาหารเหล่านั้นอย่าง
สะดวกสบายและรวดเร็วตามที่มันตอ้ งการ สุนขั จ้ิงจอกยงั คงอยใู่ นความหวิ และในทสี่ ุดก็บอกลาเจ้าของบ้านด้วย
กริยาทส่ี ุภาพที่สุดท่มี นั จะแสรง้ ทำได้ พลางพดู วา่ อาหารมอ้ื น้ีดเี สมอมอื้ ท่ีมนั จัดเล้ยี งเม่อื วนั กอ่ น และมันกแ็ นใ่ จ
ว่านกกระสาจะต้องแอบหวั เราะเยาะมนั เหมอื นอย่างทม่ี ันแอบหัวเราะเยาะนกกระสาวนั น้ันอย่างแนน่ อน
ทมี่ า http://sukumal.brinkster.net/isoppu/surutookami/surutookami01.html
แผนการจัดการเรียนรรู้ ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู สู้ อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๖๐
บนั ทึกหลังสอนแผนการสอนที่ ๑๖
๑. ผลการสอนระดับชัน้ ม.๒/………
สอนได้ตามแผนการจดั การเรยี นรู้
สอนไมไ่ ด้ตามแผนการจัดการเรยี นรู้ เนื่องจาก
..............................................................................................................................................................................................................
๒. ผลท่ีเกดิ กบั ผู้เรยี น
๑.) การประเมินผลความรูห้ ลงั การเรียน โดยใช…้ …………………….....................................พบวา่ นกั เรียนผ่านการประเมนิ คิดเปน็
รอ้ ยละ...................……. ไมผ่ า่ นเกณฑ์ข้ันต่ำทก่ี ำหนดไวค้ ิดเป็นรอ้ ยละ................................................................................................
ได้แก่ ...................................................................................................................................................................................................
๒.) การประเมนิ ดา้ นทักษะกระบวนการเรยี น โดยใช้…………………...….….........................พบวา่ นกั เรียนผ่านการประเมินคดิ เปน็
ร้อยละ.........................……. ไม่ผา่ นเกณฑ์ขัน้ ตำ่ ทกี่ ำหนดไว้คิดเปน็ ร้อยละ..........................................................................................
ได้แก่ ....................................................................................................................................................................................................
๓.) การประเมินดา้ นคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ เรยี น โดยใช้……………………….............................................พบว่านักเรยี นผ่านการ
ประเมินคดิ เป็นรอ้ ยละ............... ไมผ่ ่านเกณฑ์ขัน้ ต่ำทกี่ ำหนดไว้คดิ เป็นร้อยละ.................ได้แก่.........................................................
............................................................................................................................................................ ..................................................
๓. ปัญหาและอปุ สรรค
กจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้ ไมเ่ หมาะสมกบั เวลา
มนี กั เรียนทำใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทนั ตามกำหนดเวลา
มีนกั เรยี นทไ่ี มส่ นใจเรียน
อื่น ๆ ............................................................................................................................................................................
๔. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
ควรนำแผนไปปรบั ปรงุ เร่อื ง .....................................................................................................................................
แนวทางแก้ไขนกั เรยี นทีไ่ มผ่ า่ นการประเมิน ................................................................................................................
ไมม่ ีข้อเสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………………….…………………………
ลงชื่อ ผู้สอน
(นางสาวอาภาพร เทพบรรจง)
ความคิดเห็นของหวั หนา้ กลุม่ สาระฯ ความคดิ เหน็ ของหัวหนา้ วิชาการ
๑.เป็นแผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ …………………………………………………………………………………………………………
ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ ……………………………………………………………………………………………………..…
๒.การจดั กจิ กรรมการเรยี นรไู้ ด้นำเอากระบวนการเรียนรู้ ลงชอ่ื ................................................
ท่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ย่าง
(นางสาวณฐั ิญา คาโส)
เหมาะสมกบั ศกั ยภาพทีแ่ ตกต่างกันของผเู้ รียน ความคดิ เหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรยี นพนมศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………
ทยี่ ังไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป …………………………………………………………………………………………………………
๓.เป็นแผนการจดั การเรียนรู้
นำไปใช้ไดจ้ ริง ควรปรบั ปรงุ กอ่ นนำไปใช้
๔.ขอ้ เสนอแนะอ่ืนๆ ลงช่อื ................................................
…………………………………………………………………………………………………
(นางผกา สามารถ)
ลงช่ือ....................................................... ผู้อำนวยการโรงเรยี นพนมศกึ ษา
(นางสาวอาภาพร เทพบรรจง)
แผนการจัดการเรยี นรู้รายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครูผูส้ อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๖๑
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๔
สขุ ใจไขวค่ ว้า
แผนการจัดการเรยี นร้รู ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครูผสู้ อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๖๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๗
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒
รายวิชา ภาษาไทย รหสั วชิ า ท๒๒๑๐๒
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๔ เร่อื ง สขุ ใจไขว่ควา้ จำนวน ๑๐ ชว่ั โมง
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑๗ เร่ือง ประโยคในภาษาไทย จำนวน ๓ ชั่วโมง
******************************************************************************************************
๑. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวช้วี ัด
ท ๔.๑ ม.๒/๒ วิเคราะหโ์ ครงสรา้ งประโยคสามัญประโยคความรวม และประโยคความซ้อน
๒. สาระสำคัญ
ประโยคเกิดจากการนำคำและกลุ่มคำมาร้อยเรียงกัน โดยคำและกลุ่มคำนี้ต้องมีการลำดับตามหน้าที่
ตำแหน่ง และชนิดของคำแต่ละประเภทที่มีความเกี่ยวเนื่องกันในทางไวยากรณ์ เพื่อทำให้ประโยคที่สื่อสารน้ัน
แสดงความคดิ ไดช้ ดั เจนและตรงตามวัตถุประสงคข์ องผสู้ ง่ สาร
๓. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
๓.๑ ด้านความรู้
-อธบิ ายโครงสรา้ งประโยคในภาษาไทยได้
๓.๒ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ
- วิเคราะห์และจำแนกประโยคแต่ละชนิดในภาษาไทยได้
๓.๓ ดา้ นเจตคติ/คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค/์ คณุ ธรรมจริยธรรมทีส่ อดแทรก
-มมี ารยาทในการเขียน
๔. สมรรถนะของผู้เรียน
๔.๑ ความสามารถในการสือ่ สาร
๔.๒ ความสามารถในการคิด
๔.๓ ความสามารถในการแกป้ ัญหา
๔.๔ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๔.๕ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
๕. สาระการเรียนรู้
ลกั ษณะของประโยคในภาษาไทย
-ประโยคสามัญ
-ประโยคความรวม
-ประโยคความซ้อน
๖. กระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมการเรยี นรู้
ช่วั โมงที่ ๑
๑. นกั เรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน
๒.ครแู จ้งจดุ ประสงค์การเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู ้สู อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๖๓
๓. ครแู ละนักเรียนพดู คยุ กนั ถงึ เร่ือง ความหมายของประโยค
๔. ครูอธิบายความหมายของประโยค ยกตัวอย่างประโยค เช่น นกบิน ฉันกนิ ขา้ ว
๕.ครูใหน้ กั เรียนยกตัวอย่างประโยคงา่ ยๆ ที่ใช้ในชวี ิตประจำวัน คนละ ๑ ประโยค
๖. ใหน้ ักเรยี นศกึ ษาใบความรู้ เรือ่ ง ประโยคความเดียว แล้วจดลงในสมุด
๗. ครูสรุปความรเู้ ร่ืองประโยคความเดยี วร่วมกับนักเรยี น
๘. ใหน้ กั เรยี นทำใบงานท่ี ๑ เร่ือง จำแนกแยกประโยค
ช่วั โมงท่ี ๒
๑. ครูทบทวนเรื่อง ประโยคความเดยี วหรอื ประโยคสามัญ ว่าประโยคต้องมีภาคประธานและภาคแสดง
ประโยคความเดียวหรือประโยคสามัญ หมายถงึ ประโยคทีม่ ีใจความเดยี ว ซ่ึงหมายถึงจะมปี ระธาน ๑ กริ ยิ า ๑
เท่านนั้
๒.ครูยกตัวอยา่ งประโยคให้นักเรยี นชว่ ยกันพจิ ารณาว่าประโยคเหล่าน้เี ปน็ ประโยคความเดยี วหรอื ไม่ เช่น
ครูและนกั เรียนอยใู่ นหอ้ ง แมไ่ ปซ้ือของแตพ่ ่อไปดหู นงั
๓.ครูอธิบายถึงประโยค ทต่ี ัวอย่าง วา่ เป็นประโยคความรวมเพราะหากแยกประโยคเปน็ ประโยคความ
เดียวได้ ๒ ประโยค เชน่ ครอู ยใู่ นหอ้ ง นักเรยี นอยใู่ นห้อง
๔.ครแู ละนักเรยี นช่วยกนั สรปุ ความหมายของประโยคความรวม ทห่ี มายถงึ ประโยคที่นำประโยคความ
รวมต้งั แตส่ องประโยคขน้ึ ไปมารวมกันโดยใช้สันธานเชือ่ ม แบง่ ออกตามเน้ือหาได้ ๔ ประเภทตามเนื้อความ
๕.ครใู หน้ กั เรียนศกึ ษาใบความรู้ เรอื่ ง ประโยคความรวม และบันทกึ ลงในสมุด
๖.ให้นักเรยี นทำใบงาน เรือ่ ง ประโยคความรวม
ช่วั โมงที่ ๓
๑.ครูทบทวนเรอ่ื งประโยคความเดยี ว ความรวม และสอบถามความเขา้ ใจของนักเรยี น หลงั เล่นเกมตอ่
ประโยคแล้ว
๒.ครอู ธิบายถงึ ประโยคท่มี ีในภาษาไทย มหี ลายประเภท ประเภทที่จะตอ้ งศกึ ษากัน คอื ประโยคความ
ซ้อนโดยครูยกตัวอย่างบนกระดาน เช่น ครทู ่ีสวมชดุ สีแดงเป็นครสู อนวชิ าภาษาไทย และอธิบายชนิดของประโยค
ความซอ้ นในแต่ละประเภท
๓.นักเรยี นศึกษาใบความรู้ เรื่อง ประโยคความซ้อน และจดลงในสมุด
๔.นักเรยี นทำใบงานท่ี ๓ เรื่อง ประโยคความซ้อน
๕.นกั เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนเรื่องประโยค
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครูผู้สอน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง ๑๖๔
๗. การบรู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (๓ หว่ ง ๒ เงือ่ นไข ๔ มิติ)
หลกั ความพอประมาณ - วิเคราะห์โครงสรา้ งของประโยคชนดิ ของประโยคโดยจัดกิจกรรม
แลกเปลยี่ นเรยี นรู้โดยใหน้ กั เรียนทำกิจกรรมอยา่ งทว่ั ถงึ ภายในระยะเวลา
ทกี่ ำหนด
หลกั มีเหตผุ ล - จำแนกชนิดของประโยคไดถ้ กู ตอ้ งตามชนิดของประโยค
หลกั สรา้ งภูมคิ ุ้มกนั ในตวั - นกั เรยี นนำความรทู้ ไ่ี ดไ้ ปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน
ทด่ี ี
เงอื่ นไขความรู้ - นกั เรยี นมีความรเู้ ร่อื งประโยค
เงอ่ื นไขคณุ ธรรม - นกั เรียนมีความสามารถในการสอ่ื สารมีความรับผดิ ชอบในการทำงาน
ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ๔ มติ ิ
เศรษฐกจิ สังคม ส่ิงแวดลอ้ ม วัฒนธรรม
๘. สอื่ การเรียนรู้ (หนังสอื / เอกสารประกอบการสอน / ใบงาน / ใบความรู้ เปน็ ตน้ )
ส่ือการเรยี นรู้
๑.หนงั สอื เรียน ภาษาไทย : ม.๒
๒.ใบความรู้ เรอ่ื ง ประโยค
๓.ใบงานที่ ๑ เร่อื ง จำแนกแยกประโยค
๔.ใบงานที่ ๒ เร่อื ง ประโยคความรวม
๕.ใบงานท่ี ๓ เรอ่ื ง ประโยคความซ้อน
๖. แบบทดสอบก่อนเรียนหลงั เรียน เรื่อง ประโยค
๙. แหล่งเรียนรู้ (สถานที่จริง / ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ / สถานประกอบการ / อนิ เตอรเ์ น็ต เปน็ ต้น)
-
แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครูผสู้ อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๖๕
๑๐. การวัดและการประเมินผล
การวัดและการ วิธกี ารวัดและการ เครื่องมอื เกณฑ์
ประเมินผล ประเมินผล -ใบงานที่ ๑ -ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
(K) –อธบิ ายโครงสร้าง -ตรวจใบงานท่ี ๑
ประโยคในภาษาไทยได้
(P)- วเิ คราะหแ์ ละจำแนก -ตรวจใบงานท่ี ๒ -ใบงานที่ ๒ -ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์
-ใบงานที่ ๓ -ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์
ประโยคแต่ละชนดิ ใน ตรวจใบงานที่ ๒
ภาษาไทยได้
(A) -มีมารยาทในการ -สังเกตพฤติกรรมเปน็ -แบบสังเกตพฤติกรรม -ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผา่ น
เขียน รายบคุ คล
เป็นรายบคุ คล เกณฑ์
ลงช่ือ……………………………………………ครูผู้สอน
(นางสาวอาภาพร เทพบรรจง )
………/…………/…………
แผนการจัดการเรยี นรรู้ ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครูผูส้ อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๖๖
ใบความรู้
เรือ่ ง ประโยค
ความหมายของประโยค
ประโยค เกิดจากคำหลายๆ คำ หรอื วลีท่ีนำมาเรยี งตอ่ กนั อย่างเปน็ ระเบยี บให้แต่ละคำมีความสัมพนั ธก์ นั มี
ใจความสมบรู ณ์ แสดงให้ร้วู ่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร เช่นสมคั รไปโรงเรียน , ตำรวจจบั คนร้าย เปน็ ต้น
สว่ นประกอบของประโยค
ประโยคหน่งึ ๆ จะตอ้ งมภี าคประธานและภาคแสดงเป็นหลัก และอาจมีคำขยายสว่ นตา่ งๆ ได้
๑. ภาคประธาน
ภาคประธานในประโยค คือ คำหรอื กลมุ่ คำท่ีทำหน้าท่เี ปน็ ผกู้ ระทำ ผู้แสดงซง่ึ เป็นสว่ นสำคัญของประโยค
ภาคประธานนี้ อาจมีบทขยายซง่ึ เป็นคำหรอื กลมุ่ คำมาประกอบ เพอื่ ทำให้มใี จความชดั เจนยง่ิ ข้ึน
๒. ภาคแสดง
ภาคแสดงในประโยค คือ คำหรอื กลมุ่ คำที่ประกอบไปด้วยบทกริยา บทกรรมและ
สว่ นเตมิ เต็ม บทกรรมทำหนา้ ท่ีเปน็ ตวั กระทำหรอื ตัวแสดงของประธาน สว่ นบทกรรมทำหน้าที่
เปน็ ผู้ถกู กระทำ และสว่ นเตมิ เต็มทำหนา้ ทเี่ สริมใจความของประโยคใหส้ มบรู ณ์ คอื ทำหน้าท่ีคล้ายบทกรรม แต่ไม่
ใช้กรรม เพราะมิไดถ้ ูกกระทำ
ชนิดของประโยคประโยคในภาษาไทยแบง่ เปน็ ๓ ชนดิ ตามโครงสรา้ งการสื่อสารดังนี้
๑. ประโยคความเดยี ว
ประโยคความเดียว คือ ประโยคท่ีมีข้อความหรอื ใจความเดียว ซึ่งเรยี กอกี อยา่ งหนึ่งวา่ เอกรรตถประโยค
เปน็ ประโยคทมี่ ภี าคประธานเพยี งบทเดยี ว และมภี าคแสดงหรอื กริยาสำคญั เพยี งบทเดียว หากภาคประธานและ
ภาคแสดงเพิ่มบทขยายเขา้ ไป ประโยคความเดียวนัน้ กจ็ ะเป็นประโยคความเดียวท่ซี ับซ้อนยงิ่ ข้นึ
ประโยคความเดียว แบง่ ออกเปน็ ๒ ชนิด คอื
๑. ประโยคท่ีไมม่ ีกรรมมารบั
ภาคประธาน ภาคแสดง
ประโยค ประธาน ขยาย กรยิ า ขยาย กรรม ขยาย
ประธาน กริยา กรรม
๑. ฝนตก ฝน - ตก - - -
๒. หน้าตา่ งเปดิ หน้าตา่ ง - เปิด - - -
๓. กระจกแตก กระจก - แตก - - -
๔. ต้นไมโ้ คน่ ตน้ ไม้ - โค่น - - -
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู สู้ อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๖๗
๒. ประโยคที่มกี รรมมารบั
ภาคประธาน ภาคแสดง
ประโยค ประธาน ขยาย กริยา ขยาย กรรม ขยาย
กรรม
ประธาน กริยา
-
๑. ตาปลูกผัก ตา - ปลกู - ผกั -
-
๒. แมซ่ อ้ื อาหาร แม่ - ซอื้ - อาหาร -
คะน้า
๓. ตาดำปลูกผกั ตา ดำ ปลูก - ผกั -
คะน้า
๔. แม่ซื้ออาหารแล้ว แม่ - ซื้อ แล้ว อาหาร
๕. ตาดำปลูกผักคะน้า ตา ดำ ปลกู - ผัก
๖. แม่ของเธอซื้ออาหารแลว้ แม่ ของเธอ ซอื้ แล้ว อาหาร
๗. ตาดำปลูกผักคะน้าเม่อื วาน ตา ดำ ปลกู เม่อื วานนี้ ผกั
น้ี
๘. แม่ของเธอซือ้ อาหาร แม่ ของเธอ ซ้อื แลว้ อาหาร สำเรจ็ รูป
สำเรจ็ รปู แล้ว
การจำแนกประโยคความเดียว โดยจำแนกตามเจตนาของผ้สู ่งสาร แบ่งออกเป็น ๔ ชนิด คอื
๑. ประโยคบอกเลา่ ซง่ึ เป็นประโยคบอกใหร้ ู้หรือแจง้ ใหท้ ราบ เชน่
- ความรเู้ ปน็ ทรัพยอ์ ันประเสรฐิ
- คุณครูให้การบ้านนกั เรยี น
๒. ประโยคปฏิเสธ เป็นประโยคทีบ่ อกความปฏิเสธ ประโยคนจี้ ะมคี ำว่า “ไม่ มใิ ช่ มิได้ ไมไ่ ด้” ใน
ประโยค เช่น
- เดก็ ๆ ไมค่ วรนอนดึก
- นักท่องเทยี่ วไมช่ อบเดนิ ไกล ๆ
๓. ประโยคคำถาม เปน็ ประโยคท่ีตอ้ งการคำตอบ มี ๒ ลกั ษณะ คอื
๓.๑ ประโยคคำถามทีม่ ักตอ้ งการคำตอบเปน็ คำอธบิ าย มักใช้คำว่า “ ใคร อะไร ทีไ่ หน เมือ่ ไร
อย่างไร” เช่น
- ใครเปน็ ผู้ค้นพบเรอ่ื งแรงโนม้ ถ่วงของโลก
- ตกึ ทส่ี งู ท่ีสดุ อย่ทู ี่ไหน
- หนงั สอื เล่มนี้มเี นอ้ื หาสาระในด้านใด
๓.๒ ประโยคท่ีมีใจความเป็นคำถาม โดยมีคำว่า “หรอื หรอื ไม่ ใชห่ รือไม่” ประโยคนี้ตอ้ งการ
คำตอบเพยี ง “รับ” หรือ “ปฏิเสธ” เท่าน้ัน เช่น
- นกั เรยี นเข้าใจคำพูดครหู รอื ไม่
- เขาจะไปบางแสนกบั เราหรอื ไม่
- เธอดืม่ น้ำเพยี งพอแลว้ หรือ
แผนการจัดการเรียนรรู้ ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครูผู้สอน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๖๘
๔. ประโยคคำสงั่ และขอร้อง ประโยคชนิดนถี้ า้ เป็นประโยคคำส่ังมักขึ้นต้นดว้ ยคำกริยา และประโยคขอร้อง
มักขน้ึ ตน้ ด้วย “โปรด กรุณา” เชน่
- อยา่ ทำเสยี งดงั นะ
- โปรดถอดรองเทา้ ไวข้ ้างนอก
- ขึน้ รถมาให้หมดทุกคน
๒.ประโยคความรวม
ประโยคความรวม หรอื อเนกรรถประโยค คือ ประโยคทนี่ ำประโยคความเดียวตั้งแต่ ๒ ประโยคขึ้นไป
มารวมกัน โดยใชส้ นั ธานเช่ือมเพ่อื ใหไ้ ด้ความชัดเจน แต่เม่ือแยกประโยค ๒ ประโยคออกจากกันก็จะมีใจความใน
ประโยคทส่ี มบูรณ์ในตนเอง
โครงสรา้ ง
ประโยคความเดยี ว + สนั ธาน+ ประโยคความเดยี ว = ประโยครวม
เช่น เรยารับประทานอาหารแล้วจงึ ไปโรงเรยี น
แยกได้เป็นประโยคความเดียว ๒ ประโยค
๑. เรยารบั ประทานอาหาร
๒. เรยาไปโรงเรียน
ใช้คำสนั ธาน แลว้ จึง เชอื่ ม
ประโยคความรวมแบง่ ออกเป็น ๔ ชนิด ดังน้ี
๑. ประโยคความรวมเช่ือมความคลอ้ ยตามกัน
๒. ประโยคความรวมเชื่อมความขัดแย้งกนั
๓. ประโยคความรวมเชือ่ มความใหเ้ ลอื กเอาอยา่ งใดอย่างหน่ึง
๔. ประโยคความรวมเชอ่ื มความเป็นเหตเุ ป็นผลกัน
๑. ประโยคความรวมเช่ือมความคลอ้ ยตามกัน
คอื ลกั ษณะเนือ้ ความของประโยคหน้าและประโยคหลังจะมีความหมายไปในแนวเดยี วกนั หรอื สอดคล้องกัน
โดยใชส้ นั ธาน และ ทัง้ ....และ แล้วก็ แล้ว...ก็ แลว้ จึง แลว้ ...จงึ พอ...ก็ ครั้น.....จงึ ฯลฯ ดังตวั อย่าง
คณุ พอ่ ไปต่างจงั หวัด
คณุ พ่อและคณุ แมไ่ ปต่างจงั หวัด คุณแมไ่ ปต่างจงั หวัด
สดุ าไปงานเล้ียง
สดุ าไปงานเลีย้ งแลว้ สดุ ากก็ ลับบ้าน
สดุ ากลบั บ้าน
เขาเรยี นจบ
พอเขาเรียนจบกไ็ ดง้ านทำทันที
เขาไดง้ านทำทันที
แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครูผูส้ อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๖๙
๒. ประโยคความรวมเชอื่ มความขัดแย้งกัน แต่
คือ ลักษณะเน้อื ความของประโยคหน้าและประโยคหลังจะมคี วามหมายขดั แย้งกนั โดยใช้สนั ธาน
แตท่ วา่ แต.่ ..ก็ กวา่ ...ก็ ถงึ ...ก็ ฯลฯ ดังตัวอย่าง
เธอนอนดึก
เธอนอนดึกแต่ตน่ื เช้าเสมอ
เธอต่นื เช้าเสมอ
ครสู อนให้ดนยั เปน็ คนดี
ครูสอนให้ดนัยเปน็ คนดีแตท่ ว่าดนยั ไม่ยอมเชื่อฟงั
ดนัยไมย่ อมเช่อื ฟงั
กว่าพอ่ จะรู้วา่ เขาติดยาเสพติดเขากถ็ กู ตำรวจจบั เสียแล้ว พอ่ จะรู้ว่าเขาตดิ ยาเสพตดิ
เขาถกู ตำรวจจบั เสียแลว้
๓. ประโยคความรวมเชื่อมความใหเ้ ลือกเอาอยา่ งใดอย่างหนึง่ (วกิ ลั ปาเนกรรถประโยค)
คอื ลักษณะเน้ือความของประโยคหนา้ และประโยคหลงั จะตอ้ งเลือกเพียงอย่างใดอยา่ งหนึ่ง โดยใช้
สันธาน หรือ หรอื ไม่ก็ ไม.่ ...ก็ มิฉะน้ัน ไม.่ ..ก็ ฯลฯ
ดังตัวอย่าง
เธอชอบทานข้าว
เธอชอบทานขา้ วหรือกว๋ ยเตีย๋ ว เธอชอบทานกว๋ ยเตยี๋ ว
พวกเราต้องอา่ นหนงั สอื สอบ
พวกเราต้องอา่ นหนังสือสอบมิฉะนน้ั จะสอบตก
พวกเราจะสอบตก
คุณลุงจะมากรงุ เทพฯ วันนี้
ไม่คณุ ลุงกค็ ุณปา้ จะมากรุงเทพฯ วนั นี้
คุณป้าจะมากรุงเทพฯ วนั นี้
๕. ประโยคความรวมเชอื่ มความเปน็ เหตเุ ป็นผลกนั
คอื ลักษณะเน้อื ความของประโยคหนา้ และประโยคหลงั จะเป็นเหตุเป็นผล
โดยใชส้ นั ธาน เพราะ จึง เพราะ....จึง ดังนัน้ ....จงึ เพราะฉะนน้ั ....จงึ ฉะนน้ั ....จงึ ฯลฯ ดังตวั อยา่ ง
ฝนตก
เพราะฝนตกน้ำจึงทว่ ม
น้ำทว่ ม
แผนการจัดการเรียนรูร้ ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครูผู้สอน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๗๐
สุพจนท์ ำงานมากดงั นั้นเขาจงึ ปว่ ย สุพจน์ทำงานมาก
นำ้ เนา่ เขาป่วย
น้ำเนา่ ยุงจึงชุม
ยุงชุม
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซอ้ น หรอื สังกรประโยค คือ ประโยคใหญ่ท่ีมีประโยคเล็กตั้งแต่ ๒ ประโยคขน้ึ ไปรวมกัน
โดยมปี ระโยคหวั หนา้ หรอื ประโยคหลกั ท่ีมใี จความสำคัญเพียงประโยคเดียว นอกจากนั้นเป็นเพียงประโยคเลก็ ท่ี
ทำหน้าทปี่ ระกอบประโยคหวั หนา้ หรือประโยคหลัก
ประโยคเล็กท่นี ำมารวมกนั เป็นสังกรประโยคนน้ั ใช้ประพันธสรรพนาม (ผู้, ท,่ี ซึง่ , อัน) ประพันธวิเศษณ์
หรอื บุพบทเป็นบทเช่ือม ตวั อย่างเชน่
- ฉันเห็นสนุ ขั ท่ี คาบเน้อื (ประพันธสรรพนามเปน็ บทเชอื่ ม)
- เขาเป็นเด็ก ท่ี เรียนเกง่ มาก (ประพนั ธสรรพนามเป็นบทเชื่อม)
- คนสวย ท่ี เธอพูดถงึ เขา มาแล้ว (ประพันธวเิ ศษณเ์ ป็นบทเช่อื ม)
- เขามาท่ีนี่ เพ่ือ เขาจะได้พบฉนั (บพุ บทเปน็ บทเชือ่ ม)
สังกรประโยคประกอบดว้ ยประโยคเลก็ ๒ ชนดิ คือ
๑. มุขยประโยค คอื ประโยคหัวหน้าหรอื ประโยคหลกั นับเปน็ ประโยคสำคัญซง่ึ จะขาดไมไ่ ด้ และมีเพียง
ประโยคเดียวเท่านัน้ เชน่
- คน ท่ีปรารถนาความสขุ จะตอ้ งมีหลักธรรมในใจ
- เขามีหนงั สอื ซ่ึงฉนั ไมม่ ี
- คนเกียจคร้าน ทีร่ ้องไห้อย่ใู นหอ้ ง สอบตก
ตวั อย่างเช่น
ประโยคความซอ้ น ประโยคหวั หนา้ ประโยคเลก็ คำเช่อื ม
(สังกรประโยค) (มขุ ยประโยค) (อนปุ ระโยค)
คนท่ีปรารถนาความสุข จะตอ้ ง คนจะตอ้ งมีหลกั ธรรมใน คนปรารถนาความสขุ ที่
มีหลักธรรมในใจ ใจ
เขามีหนังสอื ซงึ่ ฉนั ไม่มี เขามหี นังสอื ฉนั ไมม่ ี ซ่ึง
แม่นอนเมื่อลกู หลบั แมน่ อน ลูกหลบั เมือ่
คนเกยี จครา้ นทรี่ ้องไห้อยใู่ น คนเกยี จคร้านสอบตก ร้องไห้อยูใ่ นหอ้ ง ที่
ห้องสอบตก
แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู สู้ อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๗๑
๒. อนุประโยค คอื ประโยคเล็กที่ทำหน้าที่แตง่ มุขยประโยคให้ไดค้ วามดขี ้ึน แบง่ เปน็ ๓ ชนิด คอื
๒.๑ นามานปุ ระโยค คืออนปุ ระโยคคลา้ ยกับนาม อาจเป็นบทประธาน บทกรรม หรือบทขยายกไ็ ด้
เช่น
ตัวอย่าง ประโยคยอ่ ยทำหนา้ ท่ีเป็นบทประธาน บทกรรม หรือบทขยาย
ประโยคความซอ้ น ประโยคหัวหนา้ อนปุ ระโยค หน้าทขี่ อง
(สงั กรประโยค) (มขุ ยประโยค) (นามานุประโยค) คำเช่อื ม ประโยคย่อย
คนทำดียอ่ มได้รบั ผลดี คน ... ยอ่ มได้รับ คนทำดี - ประธาน
ผลดี
ครูดุนักเรียนไมท่ ำการบ้าน ครูดนุ ักเรยี น นักเรียนไมท่ ำ - กรรม
การบ้าน
เขาพูดให้ฉนั เสยี ใจ เขาพดู ฉนั เสียใจ ให้ กรรม
ครูเล่าว่าบา้ นครูเลยี้ งไก้แจ้ ครเู ลา่ บ้านครเู ล้ยี งไกแ่ จ้ วา่ กรรม
เดก็ นอนหลบั เป็นเด็กมสี ุขภาพ เด็ก...เปน็ เด็กมี เดก็ นอนหลับ - ประธาน
ดี สขุ ภาพดี
อาหารสำหรบั นักเรยี นเล่น อาหาร...มอี ย่ใู น นกั เรยี นเลน่ ละคร สำหรบั ขยาย
ละครมีอย่ใู นห้อง หอ้ ง
คนเดนิ ริมถนนมองดตู ำรวจ คน..มองดูตำรวจ คนเดินรมิ ถนน - ประธาน
๒.๒. คุณานุประโยค คอื อนปุ ระโยคทที่ ำหนา้ ทขี่ ยายนามหรือสรรพนาม เช่นเดียวกบั คำวเิ ศษณ์ และใช้
ประพันธสรรพนามเปน็ บทเชอื่ ม
แผนการจัดการเรียนร้รู ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครูผูส้ อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๗๒
ตัวอย่าง ประโยคหัวหน้า อนุประโยค หนา้ ทีข่ อง
ประโยคความซอ้ น (คุณานปุ ระโยค) คำเชือ่ ม ประโยคยอ่ ย
(มขุ ยประโยค)
(สังกรประโยค) ทจ่ี ับจ้งิ จก ท่ี ขยายนาม
แมว...มีนัยนต์ า
แมวทีจ่ บั จิ้งจกมีนัยนต์ า สนี ้ำเงนิ
สนี ้ำเงนิ
ประโยคความซ้อน ประโยคหัวหนา้ อนุประโยค คำเช่อื ม หน้าท่ีของ
(คณุ านปุ ระโยค) ประโยคยอ่ ย
(สังกรประโยค) (มขุ ยประโยค)
ท่ีรักชาติไทย
ฉนั รักคนไทยท่รี ักชาติไทย ฉันรกั คนไทย ทีร่ อ้ งเพลง ท่ี ขยายนาม
ทา่ นท่ีร้องเพลงโปรดรับรางวัล ทา่ น...โปรดรบั ซึง่ กำลังเทศน์ ที่ ขยาย สรรพ
รางวลั นาม
พระคณุ เจา้ ซึ่งกำลังเทศน์ พระคุณเจ้า... ซึ่ง ขยาย สรรพ
นาม
มีความรูด้ ี มคี วามรู้ดี
ขอ้ สังเกต
อนปุ ระโยคท่ีพมิ พต์ วั ดำน้ันทำหน้าท่ีขยายนามและสรรพนามเชน่ เดยี วกบั คำวเิ ศษณ์ แต่เพราะเหตุ
ที่เปน็ ประโยคจงึ ช่อื วา่ คุณานุประโยค
๒.๓ วิเศษณานุประโยค คอื อนุประโยคซึ่งทำหน้าทขี่ ยายคำกริยาหรือ คำวิเศษณ์ และใช้
ประพนั ธวิเศษณ์ หรือบุพบทซ่ึงทำหน้าท่ีอย่างประพนั ธวิเศษณ์ เป็นบทเช่ือม เชน่ คำ ที่ ซงึ่ อัน
เมอ่ื จน ตาม เพราะ เปน็ ตน้
แผนการจัดการเรยี นรู้รายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู สู้ อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๗๓
ตัวอยา่ ง ประโยคหวั หน้า อนุประโยค คำเช่ือม หนา้ ทข่ี อง
(มุขยประโยค) (วิเศษณานุประโยค) ประโยคยอ่ ย
ประโยคความซ้อน
(สงั กรประโยค)
คนอ้วนท่ีนัง่ อยู่บนเกา้ อี้มี คนอ้วน...มีปากกา ทน่ี ่งั อยูบ่ นเก้าอ้ี ท่ี ขยาย
ปากกาสองดา้ ม สองด้าม คำวเิ ศษณ์
เขาพดู ตามฉนั บอก เขาพูด ตามฉนั บอก ตาม ขยายคำกริยา
เขาอ่อนเพลยี จนเขาตอ้ ง เขาอ่อนเพลีย จนเขาตอ้ งพกั ผอ่ น จน ขยาย
พักผ่อน
คำวิเศษณ์
ประโยคความซอ้ น ประโยคหวั หน้า อนุประโยค คำเชอื่ ม หนา้ ทีข่ อง
(สงั กรประโยค) (มขุ ยประโยค) (วเิ ศษณานปุ ระโยค) ประโยคย่อย
เขาเรยี นเก่งเพราะเขา เขาเรียนเก่ง
ตัง้ ใจเรยี น เพราะเขาตง้ั ใจเรยี น เพราะ ขยายคำกริยา
ข้อสังเกต ประโยคความซอ้ น
- ถา้ มอี นปุ ระโยคทำหนา้ ทเ่ี ปน็ นามหรือมคี ำ "ว่า" อยู่ในประโยคเรียกวา่ นามานุ
ประโยค
- ถา้ อนุประโยคมีคำวา่ "ที่" "ซึง่ " "อนั " อยูห่ นา้ ประโยค
เรยี กวา่ คณุ านุประโยค
- ถ้าอนปุ ระโยคมีคำว่า "เมอ่ื " "เพราะ" "แมว้ า่ " อยู่หน้าประโยคเรียกวา่ วเิ ศษณานุประโยค
แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู ูส้ อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๗๔
แบบทดสอบก่อนเรียนหลังเรยี น
เร่อื ง ประโยค
คำสงั่ : ให้นักเรยี นเลอื กคำตอบที่ถกู ต้องทีส่ ดุ
๑. ประโยคมคี วามหมายตรงตามข้อใดมากทสี่ ดุ
ก. คำหรอื กลุ่มคำ
ข. การนำกลมุ่ คำมาเรยี บเรยี งกนั
ค. มภี าคประธานและภาคแสดง
ง. คำหรือกลุ่มคำทน่ี ำมาเรยี งกนั แลว้ มีความหมายสมบรู ณ์ ประกอบด้วยภาคประธานและภาคแสดง
๒. ข้อใดไม่ใช่ประโยคความเดยี ว
ก. นกตัวสขี าวจกิ หนอน
ข. พอ่ ซอื้ บ้านซ่ึงอย่บู นเนินเขา
ค. พวกเราทุกคนรักประเทศไทย
ง. ความเออื้ เฟ้ือเป็นคณุ สมบตั ขิ องคนไทย
๓. “หม่บู ้านแหง่ น้ีมผี ู้ใหญ่บ้านที่มคี วามรบั ผิดชอบต่อชมุ ชน” ประโยคข้างต้นเป็นประโยคประเภทใด
ก. ประโยคแบบ ๓ ส่วน
ข. ประโยคความเดียว
ค. ประโยคความรวม
ง. ประโยคความซ้อน
๔. ประโยคในข้อใดตา่ งจากพวก
ก. แมซ่ ื้อเสอื้ ซึ่งแขวนอย่ใู นตู้
ข. คนเดนิ ริมถนนมองดูตำรวจ
ค. สปั ดาห์หน้าเธอจะไปเทย่ี วทะเลหรือนำ้ ตก
ง. เขาทำงานหนักเพราะต้องหาเลี้ยงดูลูก ๔ คน
๕. ประโยคใดเป็นประโยคความรวม
ก. นกั กีฬาทมี ชาติไทยมุง่ มั่นไปสูจ่ ุดหมาย
ข. กมลอา่ นหนังสอื สารคดีซ่งึ แมซ่ อ้ื มาให้
ค. พอพ่อกลบั ถึงบา้ นแม่กเ็ ตรยี มอาหารเย็นเสร็จแลว้
ง. นักแสดงท่ีมีความสามรถย่อมได้รบั การกล่าวขาน
๖.“สรพงษเ์ ดนิ ทางไปสงขลาเพ่อื แสดงภาพยนตร์” จากประโยคขา้ งตน้ ประโยคใดเปน็ ประโยคหลกั
ก. สรพงษเ์ ดินทาง
ข. สรพงษเ์ ดินทางไปสงขลา
ค. สรพงษแ์ สดงภาพยนตร์
ง. สรพงษ์เดินทางไปแสดงภาพยนตร์
แผนการจัดการเรยี นรู้รายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู ูส้ อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง ๑๗๕
๗.ขอ้ ใดเปน็ ประโยคความซ้อน
ก. ฉนั รอ้ งเพลง
ข. ฉนั และแมก่ ินขา้ ว
ค. ฉนั ชอบบ้านท่อี ยู่ชายทะเล
ง. ฉันจะรอ้ งเพลงแต่พ่ีจะเตะฟตุ บอล
จงเลอื กประโยคต่อไปนี้ตอบคำถามขอ้ ที่ ๘-๑๐
ก.“นกพิราบ”
ข. “ฉันกนิ ขา้ วผัด”
ค. “กระเปา๋ ทว่ี างอยบู่ นโซฟาเป็นของพ่อ”
ง. “เขาชอบอ่านหนงั สอื หรือชอบเขยี นหนังสอื ”
๘. จากตัวเลือกขา้ งตน้ ขอ้ ใดคอื ประโยคความเดยี ว
๙. จากตัวเลือกขา้ งตน้ ขอ้ ใดประโยคความรวม
๑๐ จากตัวเลอื กขา้ งต้นขอ้ ใดประโยคความซ้อน
แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู สู้ อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๗๖
เฉลย แบบทดสอบกอ่ นเรยี นหลงั เรียน
เรอ่ื งประโยค
คำสั่ง : ใหน้ ักเรียนเลอื กคำตอบท่ถี ูกต้องท่ีสุด
๑. ประโยคมีความหมายตรงตามข้อใดมากท่สี ุด
ก. คำหรอื กลมุ่ คำ
ข. การนำกล่มุ คำมาเรยี บเรยี งกนั
ค. มีภาคประธานและภาคแสดง
ง. คำหรอื กล่มุ คำทีน่ ำมาเรียงกันแลว้ มีความหมายสมบรู ณ์ ประกอบดว้ ยภาคประธานและภาคแสดง
๒. ข้อใดไมใ่ ช่ประโยคความเดยี ว
ก. นกตัวสีขาวจกิ หนอน
ข. พอ่ ซ้อื บ้านซ่งึ อยู่บนเนินเขา
ค. พวกเราทุกคนรกั ประเทศไทย
ง. ความเอ้อื เฟอ้ื เป็นคณุ สมบตั ขิ องคนไทย
๓. “หมบู่ า้ นแห่งนมี้ ผี ใู้ หญ่บา้ นทม่ี คี วามรบั ผิดชอบตอ่ ชมุ ชน” ประโยคขา้ งต้นเป็นประโยคประเภทใด
ก. ประโยคแบบ ๓ สว่ น
ข. ประโยคความเดียว
ค. ประโยคความรวม
ง. ประโยคความซอ้ น
๔. ประโยคในขอ้ ใดต่างจากพวก
ก. แมซ่ อ้ื เสื้อซ่ึงแขวนอยู่ในตู้
ข. คนเดินรมิ ถนนมองดูตำรวจ
ค. สัปดาห์หนา้ เธอจะไปเทีย่ วทะเลหรือนำ้ ตก
ง. เขาทำงานหนักเพราะต้องหาเลี้ยงดลู กู ๔ คน
๕. ประโยคใดเป็นประโยคความรวม
ก. นกั กีฬาทมี ชาตไิ ทยมุ่งม่นั ไปสู่จดุ หมาย
ข. กมลอ่านหนังสือสารคดซี ง่ึ แม่ซ้อื มาให้
ค. พอพอ่ กลับถึงบ้านแมก่ ็เตรียมอาหารเย็นเสรจ็ แลว้
ง. นักแสดงท่ีมีความสามรถยอ่ มไดร้ บั การกล่าวขาน
๖.“สรพงษ์เดินทางไปสงขลาเพอื่ แสดงภาพยนตร์” จากประโยคขา้ งต้นประโยคใดเปน็ ประโยคหลัก
ก. สรพงษ์เดนิ ทาง
ข. สรพงษ์เดินทางไปสงขลา
ค. สรพงษแ์ สดงภาพยนตร์
ง. สรพงษ์เดนิ ทางไปแสดงภาพยนตร์
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครูผูส้ อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๗๗
๗.ขอ้ ใดเปน็ ประโยคความซ้อน
ก. ฉันร้องเพลง
ข. ฉันและแม่กินขา้ ว
ค. ฉนั ชอบบา้ นทอ่ี ยชู่ ายทะเล
ง. ฉนั จะรอ้ งเพลงแตพ่ ่ีจะเตะฟตุ บอล
จงเลือกประโยคต่อไปนี้ตอบคำถามข้อท่ี ๘-๑๐
ก.“นกพริ าบ”
ข. “ฉนั กินข้าวผัด”
ค. “กระเปา๋ ทว่ี างอยบู่ นโซฟาเป็นของพอ่ ”
ง. “เขาชอบอา่ นหนังสือหรือชอบเขียนหนงั สอื ”
๘. จากตัวเลอื กข้างตน้ ขอ้ ใดคือ ประโยคความเดียว (ข)
๙. จากตัวเลอื กข้างต้นขอ้ ใดประโยคความรวม (ง)
๑๐ จากตวั เลอื กขา้ งต้นข้อใดประโยคความซ้อน (ค)
แผนการจัดการเรียนรรู้ ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครูผสู้ อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๗๘
ใบงานที่ ๑ เรือ่ ง จำแนกแยกประโยค
คำชแี้ จง ใหน้ กั เรียนจำแนกชนิดประโยคและแยกโครงสร้างของประโยคต่อไปนีใ้ หถ้ ูกตอ้ ง
๑.ปลาน้ำจดื หลายชนดิ ว่ายทวนน้ำ
ภาคประธาน ภาคแสดง
………………………………………………………. …………………………………………………….
๒.ทองคำบรสิ ทุ ธกิ์ ำลงั ขึ้นราคา ภาคแสดง
ภาคประธาน
………………………………………………………. …………………………………………………….
๓.สวนสตั วด์ ุสติ เป็นสมบตั ขิ องสวนรวม ภาคแสดง
ภาคประธาน …………………………………………………….
………………………………………………………. ภาคแสดง
๔ คุณพอ่ เป็นตำรวจ …………………………………………………….
ภาคประธาน
……………………………………………………….
๕. นกั เรียนทำการบ้าน ภาคแสดง
ภาคประธาน …………………………………………………….
……………………………………………………….
แผนการจดั การเรียนรูร้ ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู ู้สอน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๗๙
เฉลยใบงานที่ ๑ เร่อื ง จำแนกแยกประโยค
คำชแี้ จง ให้นักเรยี นจำแนกชนดิ ประโยคและแยกโครงสรา้ งของประโยคตอ่ ไปนใ้ี ห้ถูกตอ้ ง
๑.ปลาน้ำจดื หลายชนดิ ว่ายทวนนำ้
ภาคประธาน ภาคแสดง
…………………ปลานำ้ จดื หลายชนิด…………… ………………………ว่ายทวนน้ำ………………..
๒.ทองคำบริสุทธ์กิ ำลังขึ้นราคา ภาคแสดง
ภาคประธาน
……………………ทองคำบริสทุ ธิ์……………… ………………………กำลังขน้ึ ราคา………………
๓.สวนสตั ว์ดสุ ิตเปน็ สมบัติของสวนรวม ภาคแสดง
ภาคประธาน …………………เป็นสมบตั ขิ องสวนรวม…………
…………………สวนสัตวด์ ุสิต…………………… ภาคแสดง
๔ คุณพ่อเป็นตำรวจ ……………………เป็นตำรวจ……………………
ภาคประธาน
…………………คณุ พ่อ……………………………
๕. นกั เรยี นทำการบ้าน ภาคแสดง
ภาคประธาน …………………ทำการบ้าน………………………
…………………นักเรยี น…………………
แผนการจัดการเรยี นร้รู ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู ้สู อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๘๐
ใบงานที่ ๒
เร่อื ง ประโยคความซ้อน
คำชแี้ จง วเิ คราะหป์ ระโยคความซอ้ นทกี่ ำหนดให้ โดยแบง่ ออกเปน็ ประโยคหลกั และประโยคย่อยพร้อมท้งั บอกวา่
เปน็ ประโยคความซ้อนชนิดใด
๑. ผลผลิตทม่ี รี าคาแพงคอื มะนาว
ประโยคหลัก ………………………………………………………………………………………………………..…
ประโยคย่อย…………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………
๒. คนทย่ี นื อยูห่ นา้ ชัน้ เรียนเป็นครูประจำชั้นของพวกเรา
ประโยคหลัก ………………………………………………………………………………………………………..…
ประโยคยอ่ ย…………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………
๓. น้ำหวานดุนอ้ งทไ่ี มท่ ำการบ้าน
ประโยคหลัก ………………………………………………………………………………………………………..…
ประโยคย่อย…………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………
๔. ตำรวจจราจรที่ยนื โบกรถอยูเ่ ป็นพอ่ ของสมถวิล
ประโยคหลกั ………………………………………………………………………………………………………..…
ประโยคย่อย…………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………
๕. เรยี งความที่ตดิ อยูบ่ นปา้ ยนิเทศเป็นของนิตยา
ประโยคหลกั ………………………………………………………………………………………………………..…
ประโยคย่อย…………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู สู้ อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง ๑๘๑
เฉลย ใบงานท่ี ๒ เร่อื ง ประโยคความซ้อน
คำช้ีแจง วเิ คราะห์ประโยคความซอ้ นทกี่ ำหนดให้ โดยแบ่งออกเปน็ ประโยคหลักและประโยคย่อยพร้อม
ทงั้ บอกวา่ เปน็ ประโยคความซ้อนชนิดใด
๑. ผลผลิตท่ีมรี าคาแพงคือ มะนาว
ประโยคหลัก ผลผลติ คอื มะนาว
ประโยคยอ่ ย ผลผลติ มีราคาแพง
เปน็ คณุ านปุ ระโยค
๒. คนทยี่ ืนอยหู่ น้าชน้ั เรยี นเป็นครปู ระจำชัน้ ของพวกเรา
ประโยคหลัก คนทยี่ ืนอยหู่ นา้ ช้นั เรยี นเป็นครูประจำชนั้ ของพวกเรา
ประโยคยอ่ ย คนทีย่ ืนอยูห่ นา้ ชนั้ เรียน
เปน็ นามานปุ ระโยค
๓. นำ้ หวานดนุ อ้ งทไี่ ม่ทำการบ้าน
ประโยคหลัก นำ้ หวานดุนอ้ ง
ประโยคยอ่ ย น้องไม่ทำการบา้ น
เป็นนามานุประโยค
๔. ตำรวจจราจรท่ยี ืนโบกรถอยู่เปน็ พอ่ ของสมถวิล
ประโยคหลกั ตำรวจจราจรเป็นพอ่ ของสมถวิล
ประโยคย่อย ตำรวจจราจรท่ียนื โบกรถอยู่
เปน็ นามานปุ ระโยค
๕. เรยี งความท่ีตดิ อยู่บนปา้ ยนิเทศเปน็ ของนิตยา
ประโยคหลกั เรยี งความท่ีติดอยบู่ นป้ายนเิ ทศเป็นของนติ ยา
ประโยคย่อย เรยี งความติดอยู่บนป้ายนิเทศ
เป็นนามานปุ ระโยค
แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู สู้ อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๘๒
ใบงานท่ี ๓
เร่ือง ประโยคความรวม
คำส่ัง : นำคำในวงเล็บประโยคความรวมชนดิ ต่างๆไปเติมให้ถูกต้องประโยคความรวมทม่ี ีใจความคล้อยตามกัน
(และ, กบั , แลว้ ก็..., แล้วจึง..., ครน้ั จงึ ..., พอก.็ ..)
ตัวอย่าง
น้องกินข้าว, นอ้ งกนิ ขนม → นอ้ งกนิ ขา้ วและขนม
อรอนิ ทร์ทำการบา้ น, อรอินทร์เขา้ นอน → อรอินทร์ทำการบ้านแล้วอรอนิ ทร์จึงเข้านอน
๑) ประโยคความรวมท่ีมใี จความขัดแยง้ กัน (แต,่ แตท่ ว่า, ถงึ ก็..., กวา่ ก็..)
ตัวอย่าง
พี่ไปโรงเรยี น, น้องไปดูหนงั → ……………………………………………......………...………..
ฉนั จะกินขา้ ว, เธอจะกินขนม → ………………………………………………..…...……..……..
๒)ประโยคความรวมทมี่ ีใจความให้เลือกเอาอย่างใดอยา่ งหนงึ่ (หรอื , หรือไม,่ มิฉะนนั้ ก.็ ., หรือไม่ก)็
ตัวอยา่ ง
วีรดาจะอ่านหนงั สอื , วีรดาจะเช้านอน →………………………………..……….……….….……
เธอเป็นคนกรงุ เทพ, เธอเป็นคนต่างจงั หวดั →……………………………………..…………..…..
๓)ประโยคความรวมที่มใี จความเปน็ เหตุเปน็ ผลกัน (จึง, ฉะน้นั , เพราะจึง..., ดังนั้น, เพราะฉะนน้ั )
ตวั อยา่ ง
เขาตงั้ ใจเรยี น, เขา,สอบผา่ น →………………………………….......…………………
เราเข้าใจกันเรา,เปน็ เพ่ือนกนั ได้ →…………………..…………………………………………..
๔)ประโยคความรวมทีม่ เี นอ้ื ความคลอ้ ยตามกัน( และ , แล้ว , แลว้ ....ก็ , พอ...ก็ ,ครั้น..จึง )
ตวั อยา่ ง
ป้อมกนิ ขา้ ว,รีบทำรายงาน →……………….………………………………….…………..
ทีมฟุตซอลโรงเรยี นเราชนะเลิศ,ไดร้ บั ถ้วยมารยาทดี→……………….……………………………
๕.ประโยคความรวมท่มี เี นือ้ ความให้เลือกอยา่ งใดอยา่ งหน่งึ
ตัวอย่าง
เธอต้องเขยี นเรียงความนะ,จะไมไ่ ด้คะแนนเพิ่ม→……………….………………………………
พงศธรจะเป็นวศิ วกร,สถาปนิก→…………………………….…….……………………………
แผนการจัดการเรยี นรรู้ ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครูผู้สอน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๘๓
เฉลย ใบงานท่ี ๓
เรือ่ ง ประโยคความรวม
คำส่งั : นำคำในวงเลบ็ ประโยคความรวมชนดิ ตา่ งๆไปเติมใหถ้ กู ตอ้ งประโยคความรวมทีม่ ีใจความคล้อยตามกัน
(และ, กบั , แลว้ ก็..., แล้วจงึ ..., ครน้ั จงึ ..., พอก็...)
ตัวอยา่ ง
นอ้ งกนิ ข้าว, น้องกนิ ขนม → น้องกนิ ข้าวและขนม
อรอินทรท์ ำการบ้าน, อรอินทร์เขา้ นอน → อรอนิ ทร์ทำการบา้ นแลว้ อรอนิ ทร์จงึ เข้านอน
๑) ประโยคความรวมที่มีใจความขัดแยง้ กัน (แต,่ แต่ทว่า, ถงึ ก.็ .., กว่าก็..)
ตวั อยา่ ง
พ่ไี ปโรงเรยี น, น้องไปดหู นงั → พีไ่ ปโรงเรยี นแต่น้องไปดหู นงั
ฉนั จะกินขา้ ว, เธอจะกนิ ขนม → ฉันจะกินข้าวแต่เธอจะกนิ ขนม
๒)ประโยคความรวมทม่ี ีใจความให้เลือกเอาอย่างใดอยา่ งหนงึ่ (หรือ, หรือไม่, มฉิ ะนน้ั ก.็ ., หรือไม่ก็)
ตวั อย่าง
วีรดาจะอา่ นหนงั สือ, วรี ดาจะเชา้ นอน →วรี ดาจะอา่ นหนงั สือหรอื วรี ดาจะเชา้ นอน
เธอเป็นคนกรงุ เทพ, เธอเปน็ คนตา่ งจังหวัด →เธอเป็นคนกรุงเทพหรอื ไม่กเ็ ธอเปน็ คนตา่ งจังหวดั
๓)ประโยคความรวมท่มี ใี จความเปน็ เหตเุ ปน็ ผลกัน (จงึ , ฉะน้ัน, เพราะจึง..., ดังนัน้ , เพราะฉะน้นั )
ตัวอยา่ ง
เขาตง้ั ใจเรยี น, เขา,สอบผา่ น →เขาต้ังใจเรียนเพราะฉะน้ันเขาจึงสอบผ่าน
เราเข้าใจกนั เรา,เปน็ เพื่อนกนั ได้ →เราเขา้ ใจกันเราจึงเปน็ เพือ่ นกันได้
๔)ประโยคความรวมทม่ี ีเนอื้ ความคล้อยตามกัน( และ , แลว้ , แลว้ ....ก็ , พอ...ก็ ,ครั้น..จึง )
ตวั อย่าง
ป้อมกนิ ข้าว,รบี ทำรายงาน → ป้อมกินขา้ วแลว้ ก็รบี ทำรายงาน
ทมี ฟตุ ซอลโรงเรยี นเราชนะเลศิ ,ไดร้ ับถ้วยมารยาทดี→ ทีมฟุตซอลโรงเรียนเราชนะเลิศและได้รบั ถ้วย
มารยาทดี
๕.ประโยคความรวมทมี่ เี น้ือความใหเ้ ลอื กอยา่ งใดอยา่ งหน่งึ
ตวั อย่าง
เธอต้องเขียนเรียงความนะ,จะไมไ่ ดค้ ะแนนเพิ่ม→เธอต้องเขยี นเรยี งความนะมฉิ ะนั้นจะไม่ได้คะแนน
เพิ่ม
พงศธรจะเป็นวศิ วกร,สถาปนกิ → พงศธรจะเป็นวิศวกรหรือสถาปนกิ
แผนการจัดการเรยี นรรู้ ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู ้สู อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๘๔
ตวั อยา่ งแบบประเมินพฤตกิ รรมรายบคุ คล
เรือ่ ง _______________________________________________
ชนั้ ______________ วันที่ ____ เดือน _____________ พ.ศ. _____
รายการประเมนิ ผลการ
ประเมนิ
ท่ี ช่ือ-สกลุ ความสนใจ (๔ คะแนน)
การตอบคำถาม (๔ คะแนน)
การแสดงความ ิคดเ ็หน (๔ คะแนน)
การรับ ัฟงความ ิคดเ ็หน (๔ คะแนน)
ทำงานตา ี่ทไ ้ดรับมอบหมาย (๔
คะแนน) รวมคะแนน (๒๐ คะแนน)
่ผาน
ไ ่ม ่ผาน
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
เกณฑก์ ารประเมิน
ไดค้ ะแนนร้อยละ ๖๐ ขึน้ ไปถอื ว่าผา่ น หรอื อาจใชเ้ กณฑ์เป็นระดบั คุณภาพ ๔, ๓, ๒, ๑ ดงั น้ี
ระดบั ๔ ดมี าก คะแนน ๑๖–๒๐ คะแนน
ระดับ ๓ ดี คะแนน ๑๒–๑๕ คะแนน
ระดบั ๒ พอใช้ คะแนน ๘–๑๑ คะแนน
ระดบั ๑ ควรปรบั ปรุง คะแนน ๐–๗ คะแนน
แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครูผ้สู อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๘๕
บนั ทกึ หลังสอนแผนการสอนที่ ๑๗
๑. ผลการสอนระดบั ช้นั ม.๒/………
สอนได้ตามแผนการจดั การเรยี นรู้
สอนไมไ่ ด้ตามแผนการจดั การเรยี นรู้ เนื่องจาก
..............................................................................................................................................................................................................
๒. ผลทีเ่ กิดกบั ผู้เรยี น
๑.) การประเมินผลความรูห้ ลังการเรียน โดยใช้……………………….....................................พบว่านกั เรยี นผ่านการประเมนิ คดิ เป็น
ร้อยละ...................……. ไมผ่ ่านเกณฑ์ข้นั ต่ำที่กำหนดไวค้ ิดเป็นร้อยละ................................................................................................
ไดแ้ ก่ ...................................................................................................................................................................................................
๒.) การประเมนิ ดา้ นทักษะกระบวนการเรยี น โดยใช้…………………...….….........................พบวา่ นักเรียนผา่ นการประเมนิ คิดเปน็
รอ้ ยละ.........................……. ไมผ่ า่ นเกณฑ์ข้ันตำ่ ท่กี ำหนดไวค้ ดิ เปน็ รอ้ ยละ..........................................................................................
ไดแ้ ก่ ....................................................................................................................................................................................................
๓.) การประเมินด้านคณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ เรยี น โดยใช้……………………….............................................พบวา่ นักเรียนผา่ นการ
ประเมนิ คิดเป็นรอ้ ยละ............... ไม่ผ่านเกณฑ์ขน้ั ต่ำท่ีกำหนดไว้คดิ เป็นรอ้ ยละ.................ได้แก่.........................................................
............................................................................................................................................................ ..................................................
๓. ปญั หาและอปุ สรรค
กจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้ ไม่เหมาะสมกบั เวลา
มีนกั เรียนทำใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกำหนดเวลา
มนี กั เรียนทไี่ ม่สนใจเรียน
อน่ื ๆ ............................................................................................................................................................................
๔. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข
ควรนำแผนไปปรบั ปรงุ เร่อื ง .....................................................................................................................................
แนวทางแกไ้ ขนักเรียนที่ไมผ่ า่ นการประเมิน ................................................................................................................
ไม่มขี ้อเสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………………….…………………………
ลงช่อื ผูส้ อน
(นางสาวอาภาพร เทพบรรจง)
ความคิดเห็นของหัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ ความคิดเหน็ ของหวั หนา้ วิชาการ
๑.เป็นแผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ …………………………………………………………………………………………………………
ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ……………………………………………………………………………………………………..…
๒.การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ได้นำเอากระบวนการเรยี นรู้ ลงช่ือ................................................
ท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญมาใชใ้ นการสอนได้อยา่ ง
(นางสาวณฐั ิญา คาโส)
เหมาะสมกับศกั ยภาพทแี่ ตกตา่ งกันของผเู้ รียน ความคดิ เห็นของผู้อำนวยการโรงเรียนพนมศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………
ทย่ี งั ไม่เน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป …………………………………………………………………………………………………………
๓.เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้
นำไปใช้ได้จรงิ ควรปรบั ปรุงก่อนนำไปใช้
๔.ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ลงชื่อ................................................
…………………………………………………………………………………………………
(นางผกา สามารถ)
ลงชอ่ื ....................................................... ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนพนมศึกษา
(นางสาวอาภาพร เทพบรรจง)
แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู สู้ อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๘๖
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑๘
กล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒
รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๒๑๐๒
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๔ เรอ่ื ง สุขใจไขว่คว้า จำนวน ๑๐ ชั่วโมง
แผนการจัดการเรยี นรู้ ๑๘ เร่อื งคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย จำนวน ๓ ชัว่ โมง
******************************************************************************************************
๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ัด
ท ๔.๑ ม.๒/๕ รวบรวมและอธบิ ายความหมายของคำภาษาต่างประเทศท่ีใชใ้ นภาษาไทย
๒. สาระสำคัญ
การศึกษาเรื่องการใช้คำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย จะต้องอธบิ ายความหมายของคำ จำแนกและใช้
คำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทยใหถ้ ูกตอ้ ง
๓. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
๓.๑ ดา้ นความรู้
-รวบรวมและอธบิ ายความหมายของคำภาษาต่างประเทศท่ีใช้ในภาษาไทยได้
๓.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ
- จำแนกและใชค้ ำภาษาต่างประเทศท่ีใชใ้ นภาษาไทยได้
๓.๓ ด้านเจตคติ/คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์/คณุ ธรรมจริยธรรมท่ีสอดแทรก
-มีมารยาทในการเขยี น
๔. สมรรถนะของผเู้ รียน
๔.๑ ความสามารถในการส่อื สาร
๔.๒ ความสามารถในการคดิ
๔.๓ ความสามารถในการแกป้ ญั หา
๔.๔ ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต
๔.๕ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
๕. สาระการเรียนรู้
-คำทีม่ าจากภาษาตา่ งประเทศ
๖. กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
วธิ ีสอนโดยการจัดการเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื : เทคนคิ การตอ่ เรอื่ งราว (Jigsaw)
ขัน้ นำเข้าสบู่ ทเรียน
๑.ครถู ามนักเรียนถึงช่อื จริงและชื่อเล่นของนกั เรยี นว่าเป็นคำท่มี าจากภาษาใด
๒.นกั เรยี นช่วยกันสรุปวา่ ช่อื จริงและชอื่ เลน่ ของนกั เรียนเป็นภาษาใดมากที่สดุ
๓.ครูอธิบายเพิ่มเติมถึงความนิยมนำคำภาษาต่างประเทศ มาตั้งชื่อ
ข้ันสอน
๔.นักเรยี นกลุ่มเดมิ (จากแผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๑) เรียกวา่ กลมุ่ บ้าน แล้วกำหนดหมายเลข
แผนการจัดการเรียนรรู้ ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู ้สู อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๘๗
ประจำตวั ให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มเปน็ หมายเลข ๑-๔ จากนัน้ ใหน้ กั เรียนที่มีหมายเลขเดียวกันมานั่งรวมกนั
เรียกวา่ กลุ่มผู้เช่ยี วชาญ เพื่อร่วมกันศึกษาความรู้เรือ่ ง คำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย จากหนงั สือเรยี น
หอ้ งสมุด และแหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ ตามประเดน็ ทคี่ รกู ำหนด ดังน้ี
-กลมุ่ หมายเลข ๑ ศึกษาเรอ่ื ง คำไทยแทแ้ ละคำภาษาบาลี-สนั สกฤต
-กลมุ่ หมายเลข ๒ ศึกษาเรื่อง คำภาษาจีนและคำภาษาเขมรในภาษาไทย
-กลมุ่ หมายเลข ๓ ศกึ ษาเร่อื ง คำภาษาองั กฤษและคำภาษาฝรง่ั เศสในภาษาไทย
-กลุ่มหมายเลข๔ ศกึ ษาเรอ่ื ง คำภาษาชวาและคำภาษาพมา่ ในภาษาไทย
๕. ครูแจง้ กตกิ าวา่ ห้ามสมาชกิ ออกจากกลมุ่ จนกวา่ จะศกึ ษาความรทู้ ่ไี ดร้ ับมอบหมายแลว้ เสรจ็ ถ้า
คนใดสงสยั หรือไม่เขา้ ใจจะตอ้ งขอความชว่ ยเหลอื จากเพือ่ นในกล่มุ
๖. สมาชกิ ในแต่ละกลุ่มรว่ มกันศกึ ษา อภิปราย และแสดงความคดิ เห็น จนทกุ คนมีความรู้ความเข้าใจ
กระจา่ งชัดในหวั ข้อเรือ่ ง คำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย ได้เปน็ อยา่ งดี จากนั้นบนั ทึกความรู้ลงในแบบบันทึก
การอ่าน
๗. สมาชกิ กลมุ่ ผู้เชย่ี วชาญกลบั ไปยงั กลมุ่ เดิมของตนท่เี รยี กวา่ กลุ่มบ้าน แล้วผลดั กนั อธิบายเพือ่
ถา่ ยทอดความรู้ท่ีตนไดไ้ ปศึกษามา โดยเรม่ิ จากหมายเลข ๑-๔ ตามลำดับ หรืออาจให้ถ่ายทอดความรตู้ าม
ความสมคั รใจ โดยไม่เรยี งก็ได้ แตท่ กุ คนต้องถ่ายทอดความรูจ้ นครบ
๘. ครขู ออาสาสมัครตัวแทนนักเรยี น ๑-๒ กลุ่ม นำเสนอความรู้เร่อื ง คำภาษาตา่ งประเทศใน
ภาษาไทย ครตู รวจสอบความถกู ตอ้ ง พรอ้ มกลา่ วชมเชยนกั เรียนทนี่ ำเสนอความรไู้ ด้ถูกตอ้ ง เพอื่ เสริมสรา้ ง
กำลังใจ
๙.นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันทำใบงาน เรอื่ ง คำภาษา ต่างประเทศในภาษาไทย เม่ือทำเสรจ็
แล้วให้แลกเปล่ยี นใบงานกนั ตรวจสอบกบั เพ่ือนกล่มุ อ่นื ตามที่ไดร้ ว่ มกนั เฉลย กับครู
ข้นั สรุป
๑.นักเรยี นและครรู ว่ มกนั อภิปรายความรู้เรอ่ื ง คำภาษา ต่างประเทศในภาษาไทย และความจำเป็นใน
การนำ คำภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทย
๗. การบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (๓ ห่วง ๒ เงอ่ื นไข ๔ มิต)ิ
หลกั ความพอประมาณ - รวบรวมคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทยได้ตามความเหมาะสมกับ
เนื้อหาทก่ี ำหนดให้
หลักมเี หตผุ ล - จำแนกคำภาษาต่างประเทศโดยนักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ถา่ ยทอดความรู้จากทตี่ นเองไปศกึ ษามาจนเกิดความเข้าใจ
หลักสรา้ งภมู คิ ุ้มกนั ในตวั
ท่ีดี - สามารถนำความรู้ที่ได้จากการศึกษาคำภาษาต่างประเทศมาใช้ใน
ชวี ติ ประจำวัน
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู ู้สอน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๘๘
เงอ่ื นไขความรู้ - คำภาษาตา่ งประเทศทใี่ ช้ในภาษาไทย
เงอื่ นไขคณุ ธรรม - มีมารยาทในการเขียน มีทกั ษะในการสอ่ื สาร
ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ๔ มิติ
เศรษฐกิจ สงั คม สิง่ แวดลอ้ ม วัฒนธรรม
๘. สือ่ การเรยี นรู้ (หนงั สือ / เอกสารประกอบการสอน / ใบงาน / ใบความรู้ เปน็ ตน้ )
สอื่ การเรยี นรู้
๑.หนงั สอื เรียน ภาษาไทย : ม.๒
๒.ใบงาน เร่อื ง คำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย
๙. แหลง่ เรยี นรู้ (สถานทีจ่ รงิ / ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ / สถานประกอบการ / อนิ เตอรเ์ นต็ เปน็ ตน้ )
-
๑๐. การวดั และการประเมินผล
การวดั และการ วิธกี ารวัดและการ เคร่อื งมอื เกณฑ์
ประเมนิ ผล ประเมินผล -รอ้ ยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์
-ใบงาน เร่ือง คำ
(K) –รวบรวมและอธบิ าย - ตรวจใบงาน เรอ่ื ง คำ ภาษาตา่ งประเทศใน
ภาษาไทย
ความหมายของคำ ภาษาต่างประเทศใน
ภาษาตา่ งประเทศทใี่ ช้ใน ภาษาไทย
ภาษาไทยได้
(P)- จำแนกและใช้คำ - สงั เกตพฤติกรรมเปน็ -สังเกตพฤติกรรมเป็น -ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผา่ น
ภาษาตา่ งประเทศที่ใช้ใน รายบคุ คล
ภาษาไทยได้ รายบคุ คล เกณฑ์
(A) -มมี ารยาทในการ -สงั เกตพฤตกิ รรมเป็น -แบบสังเกตพฤตกิ รรม -ระดับคุณภาพ ๒ ผา่ น
เขยี น รายบุคคล
เปน็ รายบุคคล เกณฑ์
ลงช่อื ……………………………………………ครูผู้สอน
(นางสาวอาภาพร เทพบรรจง )
………/…………/…………
แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครูผู้สอน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๘๙
แบบประเมนิ พฤตกิ รรมรายบคุ คล
เร่อื ง _______________________________________________
ช้ัน ______________ วันที่ ____ เดอื น _____________ พ.ศ. _____
รายการประเมิน ผลการ
ประเมิน
ท่ี ช่อื -สกลุ ความสนใจ (๔ คะแนน)
การตอบคำถาม (๔ คะแนน)
การแสดงความ ิคดเ ็หน (๔ คะแนน)
การรับ ัฟงความ ิคดเ ็หน (๔ คะแนน)
ทำงานตา ี่ทไ ้ดรับมอบหมาย (๔
คะแนน) รวมคะแนน (๒๐ คะแนน)
่ผาน
ไ ่ม ่ผาน
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
เกณฑ์การประเมนิ
ได้คะแนนรอ้ ยละ ๖๐ ขนึ้ ไปถือว่าผา่ น หรืออาจใชเ้ กณฑ์เปน็ ระดบั คุณภาพ ๔, ๓, ๒, ๑ ดังนี้
ระดับ ๔ ดมี าก คะแนน ๑๖–๒๐ คะแนน
ระดบั ๓ ดี คะแนน ๑๒–๑๕ คะแนน
ระดับ ๒ พอใช้ คะแนน ๘–๑๑ คะแนน
ระดบั ๑ ควรปรบั ปรงุ คะแนน ๐–๗ คะแนน
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครูผ้สู อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๙๐
ใบงาน
เร่อื ง คำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ชอื่ .............................................สกลุ ...........................................เลขท่ี............................ช้ัน.............................
คำชี้แจง:ให้นักเรียนนำคำทก่ี ำหนด เขยี นลงในตารางให้ถกู ตอ้ ง
เฆ่ยี น บหุ งา โกเ้ ก๋ แบงก์ โชเฟอร์ จบั กัง กะปิ ละออ บาป ใหญ่ นกกระจบิ คปู อง บุฟเฟต์
คอมพวิ เตอร์ มะงุมมะงาหรา สามัญ บังคม เรสเตอรองต์ กวยจ๊ับ เพกา สนั ติ ผจญ สมภาร ปญั ญา
สำเนา ภรรยา โอเค โลภ สงั คม ซา่ โบะ ขมีขมนั เก๊ียว แฟช่นั บาท ฉบับ ทกุ ข์ กิโลกรมั กรชิ
กรวดนำ้ เซง็ ลี้ กำจาย ดาหลัง เขยี ง กระทรวง เฉ่ง ข่าว โนรี ฮัลโหล แผนก โสห้ยุ ปาร์เกต์
ปนั จุเหรจ็ ฟุตบอล กยุ๊ แมกกาซีน แตะ๊ เอยี แทก็ ซี่ ปะหนัน ดาบ ออกซิเจน ตุนาหงนั ก๋ง กิโยตนิ
กระดุกกระดิก เมอแรง การะบหุ นงิ ส่วย กงสุล สะใภ้ ฉะนัน้ ศอก เหว เจา้ สัว จวน เชลย ครวั ซองท์
คำภาษาไทยแท้
คำภาษาชวา
คำภาษาฝรัง่ เศส
คำภาษาอังกฤษ
คำภาษาจนี
คำภาษาเขมร
คำภาษาบาลี-
สันสกฤต
คำภาษาพมา่
แผนการจัดการเรียนรรู้ ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู สู้ อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๙๑
เฉลย ใบงาน
เรือ่ ง คำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย(เฉลย)
คำช้แี จง:ใหน้ กั เรียนนำคำทก่ี ำหนด เขยี นลงในตารางใหถ้ ูกต้อง
เฆี่ยน บหุ งา โกเ้ ก๋ แบงก์ โชเฟอร์ จับกงั กะปิ ละออ บาป ใหญ่ นกกระจิบ คปู อง บุฟเฟต์
คอมพิวเตอร์ มะงุมมะงาหรา สามัญ บงั คม เรสเตอรองต์ กวยจับ๊ เพกา สันติ ผจญ สมภาร ปญั ญา
สำเนา ภรรยา โอเค โลภ สังคม ซา่ โบะ ขมีขมนั เกย๊ี ว แฟชัน่ บาท ฉบบั ทุกข์ กโิ ลกรมั กริช
กรวดนำ้ เซ็งล้ี กำจาย ดาหลัง เขยี ง กระทรวง เฉ่ง ขา่ ว โนรี ฮัลโหล แผนก โสหยุ้ ปาร์เกต์
ปนั จเุ หร็จ ฟตุ บอล กยุ๊ แมกกาซนี แตะ๊ เอยี แท็กซ่ี ปะหนัน ดาบ ออกซิเจน ตนุ าหงนั ก๋ง กโิ ยติน
กระดกุ กระดิก เมอแรง การะบหุ นงิ ส่วย กงสุล สะใภ้ ฉะนน้ั ศอก เหว เจ้าสัว จวน เชลย ครัวซองท์
คำภาษาไทยแท้ เฆ่ียน ใหญ่ นกกระจบิ เขียง สะใภ้ ฉะนน้ั กระดุกกระดกิ ข่าว ศอก เหว
คำภาษาชวา บหุ งา มะงุมมะงาหรา ดาหลัง ปนั จุเหรจ็ ซ่าโบะ ตุนาหงนั โนรี กริช ปะหนัน
การะบหุ นงิ
โก้เก๋ คูปอง ครัวซองท์ โชเฟอร์ กิโยติน กงสลุ บฟุ เฟต์ ปารเ์ กต์ เรสเตอรองต์
คำภาษาฝรัง่ เศส เมอแรง
แบงก์ คอมพวิ เตอร์ ฟตุ บอล โอเค กโิ ลกรัม ฮลั โหล แฟชน่ั แมกกาซีน แท็กซ่ี
คำภาษาองั กฤษ ออกซเิ จน
คำภาษาจีน จบั กัง กวยจบั๊ เกย๊ี ว เซง็ ลี้ โสหยุ้ เฉ่ง กุย๊ แตะ๊ เอีย กง๋ เจา้ สวั
ละออ บงั คม ผจญ สำเนา ขมีขมนั กรวดน้ำ ฉบับ กำจาย กระทรวง แผนก
คำภาษาเขมร บาป สามญั สนั ติ สมภาร ปัญญา ภรรยา โลภ สงั คม บาท ทกุ ข์
คำภาษาบาลี- กะปิ เพกา ดาบ จวน สว่ ย เชลย
สนั สกฤต
คำภาษาพม่า
แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู ้สู อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๙๒
บันทกึ หลังสอนแผนการสอนที่ ๑๘
๑. ผลการสอนระดับชน้ั ม.๒/………
สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
สอนไมไ่ ด้ตามแผนการจดั การเรยี นรู้ เนื่องจาก
............................................................................................................................. .................................................................................
๒. ผลทีเ่ กิดกบั ผู้เรยี น
๑.) การประเมนิ ผลความรู้หลังการเรียน โดยใช…้ …………………….....................................พบว่านักเรียนผ่านการประเมินคดิ เปน็
ร้อยละ...................……. ไม่ผ่านเกณฑ์ข้ันต่ำที่กำหนดไวค้ ิดเปน็ รอ้ ยละ................................................................................................
ไดแ้ ก่ ...................................................................................................................................................................................................
๒.) การประเมินดา้ นทกั ษะกระบวนการเรยี น โดยใช้…………………...….….........................พบวา่ นกั เรยี นผา่ นการประเมินคิดเปน็
ร้อยละ.........................……. ไม่ผ่านเกณฑ์ขน้ั ต่ำทก่ี ำหนดไว้คิดเปน็ ร้อยละ..........................................................................................
ไดแ้ ก่ ....................................................................................................................................................................................................
๓.) การประเมนิ ดา้ นคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ เรียน โดยใช้……………………….............................................พบว่านักเรยี นผา่ นการ
ประเมนิ คิดเป็นร้อยละ............... ไมผ่ า่ นเกณฑ์ขนั้ ตำ่ ท่ีกำหนดไว้คดิ เป็นร้อยละ.................ได้แก่.........................................................
............................................................................................................................. .................................................................................
๓. ปญั หาและอปุ สรรค
กจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้ ไมเ่ หมาะสมกบั เวลา
มีนกั เรียนทำใบงาน/ใบกจิ กรรมไมท่ ันตามกำหนดเวลา
มีนักเรียนทไ่ี ม่สนใจเรียน
อ่ืน ๆ ............................................................................................................................................................................
๔. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
ควรนำแผนไปปรับปรงุ เรือ่ ง .....................................................................................................................................
แนวทางแก้ไขนักเรียนทไี่ ม่ผ่านการประเมนิ ................................................................................................................
ไมม่ ขี อ้ เสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………………….…………………………
ลงชื่อ ผสู้ อน
(นางสาวอาภาพร เทพบรรจง)
ความคดิ เห็นของหัวหนา้ กลุม่ สาระฯ ความคิดเหน็ ของหัวหนา้ วิชาการ
๑.เป็นแผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ …………………………………………………………………………………………………………
ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ ……………………………………………………………………………………………………..…
๒.การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้ ลงช่อื ................................................
ทเี่ น้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ ง
(นางสาวณัฐิญา คาโส)
เหมาะสมกบั ศกั ยภาพท่ีแตกตา่ งกนั ของผู้เรยี น ความคดิ เหน็ ของผ้อู ำนวยการโรงเรยี นพนมศกึ ษา
ท่ยี ังไม่เน้นผูเ้ รียนเป็นสำคญั ควรปรับปรงุ พฒั นาต่อไป …………………………………………………………………………………………………………
๓.เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ …………………………………………………………………………………………………………
นำไปใช้ไดจ้ ริง ควรปรับปรงุ ก่อนนำไปใช้
๔.ขอ้ เสนอแนะอ่ืนๆ ลงช่อื ................................................
…………………………………………………………………………………………………
(นางผกา สามารถ)
ลงชอ่ื ....................................................... ผอู้ ำนวยการโรงเรียนพนมศึกษา
(นางสาวอาภาพร เทพบรรจง)
แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครูผสู้ อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๙๓
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑๙
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒
รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วิชา ท๒๒๑๐๒
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๔ เร่อื ง สขุ ใจไขว่ควา้ จำนวน ๑๐ ชว่ั โมง
แผนการจัดการเรียนรู้ ๑๙ เรือ่ ง คำราชาศพั ท์ จำนวน ๒ ชัว่ โมง
******************************************************************************************************
๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชี้วัด
ท ๔.๑ ม.๒/ ๔ใช้คำราชาศัพท์
๒. สาระสำคญั
คำราชาศัพท์เปน็ ระเบียบแบบแผนในการใช้ภาษาที่ตอ้ งใช้ให้ถูกต้องตามระดับของบุคคล ซึ่งมีท่ีมาและมี
ประโยชน์ในการศึกษา
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้
๓.๑ ดา้ นความรู้
-บอกที่มาของคำราชาศัพทไ์ ด้
๓.๒ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ
- เขยี นประโยชน์ของการเรียนคำราชาศัพท์ได้
๓.๓ ดา้ นเจตคติ/คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค/์ คณุ ธรรมจริยธรรมทสี่ อดแทรก
-มีมารยาทในการเขยี น
๔. สมรรถนะของผู้เรยี น
๔.๑ ความสามารถในการสอ่ื สาร
๔.๒ ความสามารถในการคิด
๔.๓ ความสามารถในการแก้ปญั หา
๔.๔ ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต
๔.๕ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
๕. สาระการเรียนรู้
-คำราชาศพั ท์
๖. กระบวนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
วธิ สี อนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการสร้างความตระหนกั
ขัน้ ที่ ๑ สังเกต
๑.ครูแบ่งนักเรยี นเป็นกลุม่ กลุ่มละ ๔ คน คละกนั ตามความ สามารถ คือ เกง่ ปานกลางค่อนข้างเก่ง
ปานกลางค่อนขา้ งออ่ น และอ่อน
๒.นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เร่ือง ที่มาของคำราชาศัพท์ และประโยชน์ของการ
เรียนคำราชาศัพท์ จากหนังสือเรียน
๓.ครูให้นักเรียนดูข่าวในพระราชสำนัก จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศ แล้วสังเกตการบรรยายและ
การใช้คำราชาศัพท์
แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย ท๒๒๑๐๒ ครผู ูส้ อน นางสาวอาภาพร เทพบรรจง
๑๙๔
ขั้นท่ี ๒ วเิ คราะห์วิจารณ์
๔.นักเรยี นร่วมกนั วเิ คราะหค์ ำที่ใชใ้ นการบรรยายขา่ วในพระราชสำนักว่า มคี วามเหมอื นหรือความ
แตกตา่ งจากคำท่ีใชโ้ ดยทัว่ ไป
๕.นักเรียนร่วมกนั อภปิ รายแสดงความคิดเห็นว่า เหตุใดคำทใี่ ชใ้ นการบรรยายข่าวใพระราชสำนกั จงึ
แตกตา่ งจากคำทีใ่ ชโ้ ดยท่วั ไป นกั เรยี นคิดวา่ คำราชาศัพทม์ ีความเป็นมาอย่างไร เพราะเหตุใด และการเรียนเรอื่ ง
คำราชาศัพท์ จะมปี ระโยชนส์ ำหรับนกั เรียนอยา่ งไร
ขนั้ ที่ ๓ สรปุ
๖.นกั เรยี นแต่ละคนทำใบงาน เรือ่ ง ทีม่ าและประโยชน์ของการเรยี นคำราชาศพั ท์
๗.ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรุปความสำคญั ของคำราชาศพั ท์และความจำเป็นในการเรยี น
คำราชาศพั ท์
๗. การบรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (๓ ห่วง ๒ เงอื่ นไข ๔ มิต)ิ
หลักความพอประมาณ - นักเรียนใช้คำราชาศพั ท์ได้ถูกตอ้ งเหมาะสมกบั บุคคลตามท่กี ำหนด
หลกั มีเหตุผล - นักเรียนสามารถเลือกดูสื่อที่มีคำเกี่ยวกับราชาศัพท์และเข้าใจ
ความหมายของคำใช้ราชาศพั ทไ์ ดถ้ ูกตอ้ ง
หลักสร้างภูมคิ ุ้มกันในตวั - นักเรยี นนำความรู้ทไี่ ดไ้ ปปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจำวัน
ทีด่ ี
เงอื่ นไขความรู้ - นกั เรยี นมีความรคู้ วามเข้าใจเร่ืองคำราชาศัพท์
เงือ่ นไขคณุ ธรรม - นักเรียนมมี ารยาทในการเขยี นมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อการทำงาน
ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๔ มติ ิ
เศรษฐกิจ สงั คม สงิ่ แวดล้อม วฒั นธรรม
๘. ส่อื การเรียนรู้ (หนงั สอื / เอกสารประกอบการสอน / ใบงาน / ใบความรู้ เปน็ ตน้ )
สือ่ การเรยี นรู้
๑.หนังสือเรยี น ภาษาไทย : ม.๒
๒.ขา่ วในพระราชสำนัก
๓.ใบงาน เรือ่ ง ทม่ี าและประโยชน์ของการเรยี นคำราชาศัพท์
๙. แหล่งเรยี นรู้ (สถานท่จี รงิ / ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ / สถานประกอบการ / อินเตอร์เนต็ เปน็ ตน้ )
-