The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nitarnalanta, 2022-11-29 03:33:21

บทความ

บทความ

การสง่ ออกของประเทศเศรษฐกจิ เกิดใหม่ มีรายงานศกึ ษาที่ระบวุ ่า การค้มุ ครองทรพั ย์สินทางปญั ญาในสหรฐั ฯ ถูกนามาใช้เป็น
กาแพงกีดกนั การส่งออกของเกาหลใี นอดตี และจีนในปัจจุบัน หากมองใหก้ วา้ งออกไป การกีดกันน้ีควรจะรวมถึงองคก์ าร
การคา้ โลก (World Trade Organization) ดว้ ย ที่ Ha-Joon Chang นกั เศรษฐศาสตรพ์ ฒั นาของมหาวทิ ยาลยั เคมบริดจ์
เรยี กวา่ “การถีบบนั ไดท้ิง” (kick away the ladder) ไม่ให้ประเทศพัฒนาตามหลัง ไมม่ โี อกาสไล่ตาม The Art of
Economic Catch-Up สรุปวา่ สองความล้มเหลวและหน่งึ อุปสรรค ทาใหก้ ารเปล่ยี นผ่านทางเศรษฐกจิ ของประเทศ
กาลังพฒั นายากลาบากมากขนึ้ จาเป็นทป่ี ระเทศเหลา่ น้ตี อ้ งหาเสน้ ทางลดั แบบทอี่ นิ เดยี ไดป้ ระโยชน์จาก “ธรุ กิจบริการ
เทคโนโลยสี ารสนเทศ”

ทาไม ประเทศไทยจงึ ถกู ประเมิน “นโยบายลดโลกร้อน” ใหแ้ ย่ทีส่ ุดถงึ ขัน้ วกิ ฤต?ิ 2 พฤศจิกายน 2022
เม่อื พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรีออกตรวจนา้ ทว่ มในพนื้ ทจ่ี ังหวดั สงิ หบ์ ุรี ท่านไดต้ อบคาถามในเชิงยอ้ นถามกลบั
กับชาวบา้ นท่ีได้รับความเดือดรอ้ นว่า “ตอ้ งเข้าใจวา่ สาเหตุเกดิ จากอะไร ในช่วง 16 ปีท่ผี า่ นมา อะไรเปล่ียนแปลงไปบา้ ง
สภาพอากาศ ฝน ใช่ไหม…เป็นนกั ขา่ วไมร่ ู้เหรอ… แตเ่ ราก็ดูแลอยู่” (PPTV 25 ต.ค.65)
แมค้ าพดู ดังกลา่ วของท่านออกจะกระท่อนกระแทน่ ไม่ครบถ้วน แตก่ พ็ อจะประเมินไดว้ า่ ท่านคดิ ว่าสาเหตสุ าคัญเกิดจากการ
เปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศหรอื “โลกรอ้ น” นัน่ เอง
สง่ิ ทชี่ าวบา้ นทีถ่ กู นา้ ทว่ มมาร้องเรยี นกับทา่ น ไม่ใช่แค่ความเดือดร้อนเฉพาะหน้าเท่านน้ั แตร่ วมถงึ ความสูญเสยี ทางเศรษฐกิจ
ทง้ั บา้ นเรือนและผลผลติ ทางการเกษตร หนี้สิน เปน็ ต้น แล้วจะเยียวยากนั อยา่ งไร สง่ิ ที่พลเอกประยทุ ธพ์ ูดข้างตน้ นี้เปน็ ความ
จริง แตค่ าถามกค็ ือ ท่านไดท้ าอะไรไปบา้ งเพ่ือลดปัญหาโลกร้อนซึ่งเปน็ ปัญหาใหญม่ ากในระยะยาวเราลองมาย้อนดเู มอื่
7-8 ปีก่อน นับตัง้ แต่วันลงนามในข้อตกลงปารสี ซง่ึ ทา่ นในฐานะนายกรฐั มนตรีเปน็ ผลู้ งนามรว่ มกับผนู้ าอกี กวา่ 190 ประเทศ
เมื่อปี 2558 (ใน COP21) เพ่อื ร่วมลดการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกตามความสมคั รใจ (Nationally Determined
Contribution, NDC) เพอื่ ปอ้ งกนั ไม่ใหอ้ ุณหภูมเิ ฉลีย่ ของโลกในปี 2100 สงู เกิน 1.5 องศา C เมือ่ เทียบกบั ยคุ กอ่ น
อุตสาหกรรม เม่อื ขอ้ ตกลงปารสี ผา่ นไปได้ 6 ปี (ใน COP26 ปี 2564 ชา้ กว่ากาหนดเดิม 1 ปเี พราะสถานการณโ์ ควดิ -19) ทาง
องค์การสหประชาชาตไิ ด้ประเมนิ ว่า คาประกาศของทกุ ประเทศตาม NDC เม่ือปี 2558 นัน้ เมื่อรวมกันแลว้ ยังลดไดไ้ มเ่ พียง
พอทีจ่ ะนาโลกไปสเู่ ปา้ หมายไมเ่ กนิ 1.5 องศา C ได้ แตจ่ ะนาไปสู่ 2.7 องศา C ซ่ึงจะสง่ ผลเสยี หายมากกว่านีห้ ลายเท่าตวั ทาง
องค์การสหประชาชาติจงึ ไดข้ อรอ้ งว่า “ใหล้ ดลงการปลอ่ ยกา๊ ซฯมาเหลอื 50% ของระดับท่ีเคยปลอ่ ยในปี 2010 ภายในปี
2030 กอ่ น ไม่ใชไ่ ปรอลดเอาในตอนปลายศตวรรษซึง่ จะไมท่ ันสถานการณ์ พร้อมกบั ให้ประกาศว่าจะปล่อยกา๊ ซเรอื น
กระจกสุทธเิ ป็นศนู ย์ (Net Zero Emission) ในปีใด” ว่าไปแล้วในชว่ ง 8 ปีที่พลเอกประยทุ ธเ์ ข้ามามีอานาจ เป็นชว่ งท่ี
องค์การสหประชาชาตกิ าลงั ปรับเปลี่ยนวิธกี ารท่จี ะปกปอ้ งโลกทกี่ าลงั วกิ ฤติพอดี หากท่านใชโ้ อกาสนใ้ี ห้เตม็ ท่แี ละมี
ประสทิ ธภิ าพก็จะเปน็ ผลดกี ับประเทศไทยและโลก และจะเป็นผลงานชิน้ โบแดงของทา่ นดว้ ย แต่…เสยี ดายจัง ก่อนที่จะดผู ล
การการประเมิน เรามาดูขอ้ มลู สาคัญทเี่ กีย่ วกับการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในอดีตจนถึงปจั จบุ ันและเปา้ หมายขององค์การ
สหประชาชาตดิ ้วย ผมได้นามาแสดงรวมในภาพแรกครบั ซ่งึ พอสรปุ ไดว้ ่า
1.ปี 2021 ทวั่ โลกปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกรวมกันปลี ะ 52,000 ลา้ นตนั อณุ หภูมเิ ฉลี่ยเทา่ กับ 1.2 องศา C
2.เพ่ือบรรลเุ ปา้ หมาย ต้องลดการปลอ่ ยลงมาเหลือ 26,000 ล้านตันภายในปี 2030
3.นบั ถงึ พ.ค. 2021 มผี ู้ประกาศรว่ มลดแลว้ แต่ยังปล่อยรวมกันใน ปี 2030 เท่ากบั 48,000 ลา้ นตัน คอื มีผู้ประกาศลดเพิม่ อีก
4,000 ล้านตนั จงึ ยงั มีชอ่ งว่างอกี (Emission Gap) อีก 22,000 ล้านตนั

ผูป้ ระเมินคือ “Climate Action Tracker, CAT” หรอื “ผ้ตู ดิ ตามการดาเนนิ การด้านภมู ิอากาศ”เป็นกล่มุ วจิ ยั ทอ่ี ิสระ มี
จุดมงุ่ หมายเพื่อตดิ ตามการดาเนนิ การของรฐั บาลเพือ่ ลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรือนกระจกตามขอ้ ตกลงให้มีความโปร่งใส CAT เร่ิม
ออกรายงานการตดิ ตามคร้งั แรกในปี 2009 โดยความร่วมมอื กับอีก 2 องคก์ รคอื Climate Analytics และ New Climate
Institute ปจั จบุ ันได้เพมิ่ จานวนประเทศเปน็ 37 ประเทศและสหภาพยโุ รปดว้ ยซึง่ รวมกันแลว้ ปลอ่ ยกา๊ ซฯรวม 85% ของโลก
มีจานวนประชากร 70% ของโลก โดยรวมประเทศไทยเราดว้ ย ประเด็นทใ่ี ช้ในการประเมินประกอบดว้ ย เปา้ หมายการ
บรรเทาการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ นโยบายและและการลงมอื กระทา ผ้ปู ระเมินได้แบง่ ผลเปน็ 5 ระดับ ต้ังแต่ระดบั ที่ดี
ที่สามารถทาให้ขอ้ ตกลงปารสี เปน็ ความจรงิ ได้ จนถงึ ระดบั แยท่ ี่สดุ คอื “ไมเ่ พียงพอข้นั วกิ ฤต (Critically Insufficient)” ซึ่ง
เป็นระดบั ทีส่ ะท้อนว่านโยบายดา้ นภมู ิอากาศและการปฏิบัตติ ามคามน่ั สญั ญาตามขอ้ ตกลงปารสี อยูใ่ นระดับตา่ ที่สดุ ถึงขน้ั ไม่ได้
ทาอะไรเลย พรอ้ มกบั ขยายความว่า ถา้ ทกุ ประเทศใชน้ โยบายลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและลงมอื กระทาจรงิ ตามที่ 5
ประเทศนไี้ ดป้ ระกาศไว้ อุณหภมู ิเฉลยี่ ของโลกในปี 2100 จะสูงกวา่ 4 องศา C เมอื่ เทยี บกับยคุ ก่อนอตุ สาหกรรม ซงึ่ ประเทศ
ไทยถูกจดั อยใู่ นกลมุ่ นดี้ ว้ ย รายงานของ CAT ใช้คาวา่ “perform so badly on climate action”

คนไทยเราทราบกนั ดีว่า รัฐบาลไทยไดร้ ว่ มลงนามดังกลา่ ว แต่ทาไมจงึ ได้รับการประเมนิ ใหอ้ ยูใ่ นระดับ “แย่ที่สดุ ถึงขนั้ วิกฤต”
สาหรบั ระดับอื่นทีเ่ หลือ โปรดดขู อ้ มลู จากภาพนะครบั มีเพยี ง 1 ประเทศเทา่ น้ันท่ีเขา้ ข่ายของขอ้ ตกลงปารสี คือ The
Gambia ตงั้ อยู่ทางตะวนั ตกของทวปี แอฟริกา มปี ระชากร 2.4 ล้านคน เปน็ ประเทศกาลังพฒั นา ปล่อยกา๊ ซ
คาร์บอนไดออกไซดเ์ ฉลย่ี ในปี 2021 เพียง 0.21 ตนั ตอ่ คนต่อปี ในขณะที่ค่าเฉลยี่ ของโลกเท่ากบั 4.21 ตันตอ่ คนต่อปี
โปรดสงั เกตว่า สหรฐั อเมริกา และจีนซึ่งปล่อยกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ 14.2 และ 7.4 ตันต่อคนต่อปี ตามลาดบั แตไ่ ดร้ บั การ
ประเมินใหอ้ ยตู่ า่ งเกรดกัน โดยทีจ่ นี อยู่ในเกรดท่แี ยก่ วา่ สหรฐั อเมรกิ า แต่ยังแย่น้อยกว่าประเทศไทยซงึ่ ในปี 2020 ปลอ่ ย 3.69
ตันต่อคนต่อปี นัน่ แสดงวา่ เกณฑใ์ นการประเมนิ ไม่ได้ข้นึ อยู่กบั ปรมิ าณการปลอ่ ยกา๊ ซฯเพยี งอย่างเดยี ว แตข่ ึ้นอยู่กบั นโยบาย
การลงมือทาจริงและเป้าหมายทไี่ ดป้ ระกาศด้วย

ทาไมประเทศไทยจึงไดเ้ กรด “ไมเ่ พียงพอขน้ั วิกฤต”ิ
ผมขอเลา่ แบบสรุป ๆ เป็น 7 ข้อซึง่ เป็นเหตุผลของ CAT ดงั นี้
หน่งึ ก่อนการประชุม COP26 เพียงเลก็ น้อย (ตลุ าคม 2021) ประเทศไทยได้ยื่นเป้าหมายตอ่ องคก์ ารสหประชาชาติว่าจะถงึ
เปา้ หมายเป็นกลางทางคารบ์ อน (Carbon Neutrality Target) ในปี 2065 แตพ่ ลเอกประยุทธไ์ ดป้ ระกาศในเวทีว่าจะเลอื่ น
เป้าหมาย Carbon Neutrality มาเป็น 2050 และ Net Zero ในปี 2065 แต่จนถงึ สิงหาคม 2022 ทาง CAT พบว่ายงั ไมม่ ี
เปา้ หมายใดบรรจอุ ยู่ในเอกสารนโยบายและกฎหมายใด ๆเลย ทาง CAT ถือว่ายังมคี วามกากวม
สอง ในเวบ็ ไซต์ของ CAT ให้ขอ้ มูลว่า “ในการประชุม COP26 (ตุลาคม 2020) ประเทศไทยเสนอเปา้ หมายเดมิ ทีไ่ ด้เคยเสนอ
ไวใ้ นปี 2015 คอื จะลดลง 20% ของแผนการดาเนินการตามปกติ(BAU) ท่ีคาดหมายไวใ้ นปี 2030 โดยไมม่ เี ง่ือนไข แตถ่ า้
ได้รับการช่วยเหลือจากตา่ งประเทศจะลดลง 25% ของเปา้ หมายเดมิ ” ท้งั ๆท่ใี นปี 2020 ทางสหประชาชาตไิ ด้ขอใหล้ ด
มากกว่าของปี 2015 ทาง CAT ใช้คาว่า “reiterate” นอกจากนท้ี าง CAT ไดใ้ หข้ อ้ มลู วา่ ในปี 2020 ประเทศไทยปล่อยก๊าซ
เรอื นกระจก 342 ล้านตนั แต่ได้คาดการณ์ไวว้ า่ ในปี 2030 จะเพิ่มขนึ้ 41% ดงั นน้ั หากประเทศไทยจะลด 20% จริง แตส่ ุทธิ
แลว้ ในปี 2030 ประเทศไทยกย็ งั ปล่อยมากกวา่ ปี 2020
สาม รฐั บาลได้แสดงความตง้ั ใจใหอ้ ยู่ในร่องรอยตามข้อตกลง โดยการเสนอร่างกฎหมายการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ ทาง
CAT ไดอ้ ้างถงึ คาพดู ของรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มวา่ จะเสนอรา่ งให้ ครม.อนมุ ัตภิ ายในสิ้น
ปี 2020 แต่สองปผี ่านมาเรายังไมเ่ ห็นความคบื หนา้ ของเรอื่ งนเ้ี ลย
สี่ ประเทศไทยไดใ้ ช้ความพยายามอย่างมากทีจ่ ะออกจากการใช้ถ่านหนิ แตแ่ ผนของรฐั บาลในช่วง 20 ปขี ้างหนา้ กห็ นั ไปใช้กา๊ ซ
ซ่ึงก็เป็นเชื้อเพลงิ ฟอสซลิ เหมือนกนั
หา้ “ดว้ ยการลงนามในขอ้ ตกลงปารีส แตร่ ัสเซีย ซาอุดอิ าระเบยี สิงคโปร์และประเทศไทยได้ผูกมดั ทจ่ี ะสนบั สนุนดว้ ยการ
ปฏบิ ตั ิ แตพ่ ฤติการณ์ในปัจจบุ นั ของประเทศเหล่านี้คือการฝ่าฝนื ขอ้ ตกลงอยา่ งชดั เจน(clear breach of the
agreement)” (ไม่มอี ิหรา่ น)
หก CAT ได้อ้างขอ้ มลู ของทางราชการไทยเอง (Thailand’s Third Biennial Update Report ,BUR3) ว่า “ในปี 2016 ภาค
พลงั งานมีสว่ นในการปล่อยกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ถงึ 88%” ผมขอสรปุ เองวา่ ความล้มเหลวในการลดโลกร้อนของไทยเกิด
จากภาคพลงั งานนี่แหละทคี่ อยขัดขวาง
เจด็ จากข้อมลู ของ CAT พบว่า ประเทศไทยได้เสนอการเข้าสู่ Net Zero ด้วยการเพม่ิ พ้ืนท่ีป่าไมเ้ พือ่ ดดู ซับคาร์บอนใหไ้ ดป้ ีละ
120 ลา้ นตนั ภายในปี 2037 และจะกับเก็บคารบ์ อน (Carbon Capture Storage) ไว้ใต้ดินในอัตรา 18 ลา้ นตันตอ่ ปี ภายใน
ปี 2050 (หมายเหตุ โรงไฟฟ้าถ่านหนิ ขนาด 2-3 เมกะวตั ต์ กป็ ล่อยกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์เกือบ 18 ล้านตนั ตอ่ ปี)
ในประเดน็ ท่ี 7 น่ี ผมว่าเราค่อยมาคยุ กันอยา่ งละเอยี ดว่า “ชวั ร์หรือมว่ั นม่ิ ” ในโอกาสอืน่ นะครับ
สาหรบั วันน้ี ผมขอนาขอ้ เขียนของ CAT มาสรุปว่า ในชว่ งไม่กี่ปมี านี้ ประเทศไทยไดป้ ระกาศนโยบายทสี่ าคัญมากมาย
เพ่อื ม่งุ ทีจ่ ะแสดงถงึ ความทะเยอทะยานดา้ นภูมอิ ากาศและการพฒั นาทย่ี ั่งยืน แตม่ นั ไดอ้ อกนอกเปา้ หมายดงั กลา่ วและมี
ความก้าวหนา้ ในทางปฏิบตั เิ พียงเลก็ น้อยเพอ่ื จะให้สอดคล้องกับขอ้ ตกลงปารีส เรา(หมายถงึ CAT) จึงได้ประเมนิ ให้
“นโยบายและการลงมือทาของประเทศไทย” ในระดับ “ไมเ่ พียงพอขนั้ วิกฤต”ิ

IMF เม่อื วันวาน กบั ประเทศไทย ในวันนี้
10 ตุลาคม 2022
อาทติ ยน์ ้ีเป็นการประชมุ ประจาปขี องกองทุนการเงนิ ระหวา่ งประเทศ และกลมุ่ ธนาคารโลก IMF/ WB Annual
Meetings ในช่วง 10-16 ตุลาคม 2565 นี้ ณ กรุงวอชิงตนั ด.ี ซ.ี ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยรฐั มนตรวี ่าการ
กระทรวงการคลงั และผ้วู ่าการธนาคารกลางสมาชกิ 190 ประเทศเขา้ ร่วมประชมุ ท่ามกลางภาวะความผันผวนของตลาด
การเงินโลกอยา่ งท่ไี มเ่ คยปรากฏมากอ่ นในขณะที่องคก์ รชัน้ นาตา่ งพากนั ปรับลดประมาณการเศรษฐกจิ โลกในปีหนา้ วิกฤตโิ ค
วิด-19 เมอ่ื 3 ปีกอ่ นทที่ าให้ประเทศต่างๆ ต้องใชน้ โยบายการเงินการคลงั ขนานใหญเ่ พื่อรับมอื กับวกิ ฤตสิ าธารณสขุ ครง้ั น้นั มา
วันนีไ้ ด้สร้างความเสีย่ งใหมใ่ หก้ บั เศรษฐกจิ โลกทต่ี ้องเรง่ ถอนคันเรง่ ของนโยบายการเงนิ ทาใหโ้ ลกดูจะเผชญิ ความเสย่ี งซา้ แล้ว
ซา้ เล่า เพราะยาแรงท่ีใช้ไปเพื่อรกั ษาโรครา้ ย ไดบ้ ม่ เพาะความเส่ียงใหม่ๆ ใหก้ บั ระบบการเงินโลกอย่างหลีกเลย่ี งได้ยาก
ในภูมิภาคเอเซียจงึ ไม่ใชเ่ รื่องแปลกทีม่ ีผอู้ อกมาแสดงความกงั วลและต้ังคาถามว่า สถานการณ์เศรษฐกิจการเงินทโี่ ลกกาลงั
เผชิญอยู่ขณะนีจ้ ะทาใหต้ ้องหนั ไปพึง่ เงินกู้ IMF อีกหรือไม่ โดยเฉพาะในประเทศท่เี คยผ่านวกิ ฤตเิ ศรษฐกจิ การเงินเอเชยี ในช่วง
ปี 2540 สาหรบั ประเทศไทย นักวชิ าการและหนว่ ยงานภาครัฐไดอ้ อกมาให้ความเหน็ กันอยา่ งแพรห่ ลายแลว้ วา่ ประเทศไทย

วนั น้ตี ่างจากประเทศไทยในปี 2540 อย่างชัดเจน ประเทศไทยมีฐานะด้านต่างประเทศท่ีม่ันคงขึน้ มรี ะบบอตั รา
แลกเปลีย่ นทยี่ ืดหยนุ่ ไม่ไดเ้ ปน็ เปา้ นงิ่ ใหเ้ กดิ การเกง็ กาไร และภาคธุรกิจได้ให้ความสาคญั กบั การบรหิ ารความเสี่ยงทาง
การเงินมากขึ้นในทุก ๆ มติ ิ โดยเฉพาะความเสีย่ งจากความผันผวนของอตั ราแลกเปลยี่ นทจี่ ะกระทบตอ่ ผลการดาเนนิ งานของ
กจิ การ และความเสีย่ งจากความไมส่ มดลุ ระหว่างแหลง่ เงินกแู้ ละแหล่งรายได้เพ่ือการชาระเงนิ กู้ (FX mismatch)
แตส่ ว่ นทไ่ี ม่ค่อยได้มีการพูดถึงมากนกั คอื องคก์ รระหวา่ งประเทศอย่าง IMF ว่าในวนั นไี้ ด้เปล่ียนไปจาก IMF เมือ่ ปี 2540 มาก
นอ้ ยเพยี งใด ในชว่ งท่ีประเทศไทย อนิ โดนเี ซยี และเกาหลใี ต้ ประสบปัญหาวิกฤตใิ นปี 2540 และตอ้ งเขา้ รบั ความช่วยเหลอื ทาง
การเงินจาก IMF มคี าพดู หนึง่ ทีถ่ ูกกลา่ วขานกนั มากในขณะน้ัน คือ ฉนั ทามตแิ ห่งวอชงิ ตนั หรอื Washington Consensus
ซ่ึงเปน็ แนวคดิ การแก้ปญั หาเศรษฐกิจท่ีชเู รอื่ งกลไกตลาด ไม่วา่ จะเปน็ เรอ่ื งการปลอ่ ยใหอ้ ตั ราดอกเบย้ี และอตั ราแลกเปลยี่ น
เคลื่อนไหวโดยปราศจากการแทรกแซง การเปิดเสรขี องระบบเศรษฐกิจและการเงนิ การลดบทบาทของภาครัฐ การเปดิ ให้
ตลาดมผี เู้ ลน่ ท่เี ขา้ และออก (entry and exit) ได้อยา่ งเสรี ซง่ึ ลว้ นเปน็ ส่ิงท่ตี าราเศรษฐศาสตรต์ ะวันตกพรา่ สอนกันมา
หลักการของ Washington Consensus ทีใ่ ชใ้ นการแก้ปญั หาของเอเชียทัง้ 3 ประเทศในขณะนัน้ ถกู วิพากษ์วิจารณ์
คอ่ นขา้ งมาก วา่ เป็นเงอื่ นไขใหเ้ ปดิ เสรอี ย่างสดุ โตง่ ไมไ่ ด้คานงึ ถึงความจาเปน็ ของมาตรการต่างๆ ท่ีจะแก้ปญั หาเศรษฐกจิ
ในขณะนนั้ ซ่ึงคือ ปญั หาการขาดดุลบญั ชีเดินสะพดั และปญั หาสถาบันการเงนิ (currency and banking crisis) การไป
กาหนดเงอ่ื นไขการปฏิรูปเศรษฐกจิ ทีเ่ ข้มงวดและกา้ วลว่ งเข้าไปในวิถชี ีวติ ของผคู้ น แต่ไมไ่ ด้มคี วามเกย่ี วข้องกับการแกไ้ ขปัญหา
การเงินการธนาคารของประเทศ จึงได้รับเสยี งวพิ ากษว์ ิจารณอ์ ยา่ งหนกั ตัวอยา่ งทช่ี ดั เจนคือ ในกรณขี องอนิ โดนเี ซีย ท่ี IMF
กาหนดใหร้ ัฐบาลต้องขายทรพั ยส์ นิ และแปรรปู รัฐวสิ าหกจิ ที่ดูแลเรอ่ื งบริหารจดั การเครื่องเทศ (garlic and clove trade)
โดยที่อินโดนเี ซยี เป็นประเทศหมูเ่ กาะกว่า 10,000 หมเู่ กาะ และวิถชี วี ติ ของประชาชนก็พ่ึงพาเครื่องเทศในชวี ติ ประจาวนั
ค่อนข้างมาก ลาพังเอกชนในขณะนั้นไมส่ ามารถทาหนา้ บริหารจัดการ กระจายเครื่องเทศให้ประชาชนเข้าถึงได้ในวงกว้าง
เพราะตน้ ทนุ การเดินทางทสี่ ูง จึงเปน็ ภาระหน้าท่ีของภาครฐั ในการดาเนินการ แต่เนือ่ งจากฉนั ทามตแิ หง่ วอชงิ ตันพยายาม
จากดั บทบาทของภาครฐั อะไรทถี่ กู มองว่าภาครัฐไมค่ วรจะทา กจ็ ะถกู กาหนดเง่ือนไขใหต้ อ้ งยกเลิก มาวันนี้ ดเู จ้าของตาราจะ
ยืดหยนุ่ กบั แนวคดิ เสรีสดุ โต่งนม้ี ากขนึ้ ซึ่งนา่ จะมาจากการถกู วิพากษ์วจิ ารณว์ า่ ใช้ตาราแรงกบั เอเชยี และ วกิ ฤติ
เศรษฐกิจการเงินโลก (Global Financial Crisis — GFC) ปี 2551 ซ่งึ ศนู ยก์ ลางของวิกฤติเกิดขึน้ ในประเทศตะวนั ตก
นน่ั เอง ประเทศขนาดเล็กในยโุ รปอยา่ งไซปรสั , กรีซ, ไอซแ์ ลนด์ จาเปน็ ตอ้ งหันไปใช้มาตรการควบคมุ เงนิ ทนุ เคลื่อนยา้ ย
(capital controls) เพือ่ ป้องกนั การแห่ถอนเงินข้ามประเทศจากระบบธนาคารในช่วงวกิ ฤติ โดยบางประเทศ เช่น ไอซ์แลนด์
ใช้มาตรการ capital control นานถงึ 8 ปี ในขณะทส่ี หรฐั ระงับการอนญุ าตธรุ กรรม short selling ในตลาดหุ้นสหรฐั ฯ เพือ่
เฝา้ ระวงั ปัญหาเสถียรภาพทางการเงิน และปฏเิ สธรับมาตรฐานการกากับดูแลธนาคารพาณชิ ย์ Basel III และอีกหลาย
มาตรการ ทีห่ ากเปน็ ประเทศตลาดเกิดใหมก่ ค็ งถูกเร่งรัดใหย้ กเลิกโดยพลนั ในชว่ งทศวรรษ 2550 IMF ลกุ ขึน้ มาทบทวน
เง่ือนไขและกฎเกณฑ์ ท่ปี ระเทศสมาชิกจะต้องปฏิบัตเิ พื่อแลกกับการรับเงนิ ทุนช่วยเหลือ เชน่ เงอ่ื นไขการปฏริ ปู ด้าน
โครงสรา้ งพืน้ ฐานเป็นส่งิ จาเปน็ เพอ่ื ยกระดบั ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศในระยะยาวก็จริง แตบ่ างเร่ืองอาจจะยัง
ไม่ใชเ่ ปา้ หมายหลกั ในการแกไ้ ขวกิ ฤตเิ ศรษฐกจิ และการเงินเฉพาะหนา้ (not macro-critical) จึงควรพยายามหลีกเลยี่ งท่จี ะ
นามาใสเ่ ป็นเงอ่ื นไขปฏิบัติ พร้อมกนั นี้ ไดถ้ อื โอกาสทบทวนหลกั การท่ีองคก์ รจะยดึ ปฏิบตั ิในการให้คาแนะนาเชิงนโยบายแก่
สมาชิกท้งั หมด เพอ่ื รักษาเสถียรภาพระบบการเงินโลก (international monetary system) ในประเดน็ เกีย่ วกับมาตรการ
ดูแลเงนิ ทนุ เคลอ่ื นย้าย โดยแนวคดิ institutional view ของ IMF ทส่ี รุปได้ในขณะนน้ั คอื การใช้มาตรการ capital control
เป็นทีย่ อมรับมากข้ึน เพียงแตป่ รบั คาเป็น capital flows management measure แตย่ งั คงเนน้ วา่ ให้ใช้เพือ่ แก้ไข
สถานการณ์เม่ือเกิดปัญหาเงนิ ทุนเคล่ือนย้ายรนุ แรงจนทาให้กระทบเสถยี รภาพการเงินแล้ว (corrective actions) ต่อมาในปี
2560 ประเทศไทยร่วมกับประเทศกาลังพัฒนาและประเทศตะวันตกขนาดเล็กจานวนหนึ่ง ได้พยายามผลกั ดันแนวคิดวา่ การ
ทามาตรการตา่ งๆ ด้านเงินทุนเคลอื่ นยา้ ยอาจจาเปน็ ต้องทาก่อนที่จะเกิดปญั หา (preemptive) เพราะตน้ ทุนในการแก้ไขเม่อื
ปญั หาเกดิ ข้นึ แล้ว เช่น ต้นทนุ ทางการคลงั (fiscalization of the costs of financial sector restructuring) ในกรณขี อง
ประเทศกาลังพัฒนายอ่ มสูงกวา่ ประเทศพัฒนาแลว้ และดว้ ยตลาดการเงินท่ยี ังมีขนาดเล็กเมื่อเทียบกบั ปริมาณมหาศาลของ
เงนิ ทนุ เคล่ือนย้ายในแตล่ ะวัน (disproportionate) แรงกระแทกตอ่ ค่าเงนิ ท่ีเกิดจากความผนั ผวนหรือความตน่ื ตระหนกของ
ตลาด ยอ่ มรุนแรงกว่าประเทศอตุ สาหกรรมหลกั แนวคิด preemptive measures ไดร้ ับการยอมรบั มากขึน้ ในปี 2565 โดย
เน้นการดาเนินการเพอื่ ปอ้ งกนั ปัญหาเสถยี รภาพการเงินเปน็ หลกั (macroprudential measure)
แมป้ ระเทศเล็กอยา่ งไทยจะไมส่ ามารถปรับแนวคดิ ของตะวันตกไดท้ ง้ั หมด แตก่ น็ ับวา่ มาไดไ้ กลแลว้ ในวนั น้ี ที่ประเทศตลาดเกดิ
ใหม่ตอ้ งการเคร่ืองมอื ในการดแู ลเสถียรภาพการเงนิ ในทกุ ๆ มิติ ในวนั น้ี นอกจากการสร้างภูมิคมุ้ กันใหก้ ับประเทศในภาวะ

ของความผนั ผวนและความไม่แนน่ อนในตลาดการเงนิ และภมู ริ ัฐศาสตรโ์ ลกแลว้ ประเทศไทยยงั คงเดินหนา้ โน้มนา้ ว
ความคิดขององค์กรทเ่ี ปน็ ผูน้ าในเรือ่ งการสร้างบรรทัดฐานการปฏิบตั ิ (standard setter) เพื่อให้องค์กรเหลา่ น้ีได้
ปรับปรุงวธิ ีการให้คาแนะนาแก่สมาชิกให้ยืดหย่นุ เหมาะสมกบั สถานการณ์ และเพ่ือใหห้ ลักคิดในการดาเนนิ นโยบายเพอ่ื
รกั ษาเสถยี รภาพของประเทศตลาดเกิดใหมไ่ ด้รบั การยอมรับในระดบั สากลมากขึ้นทกุ วัน

Metaverse โลกขอ้ มลู ที่ลึกกวา่ ทคี่ ณุ คดิ
Facebook ประกาศขา่ วใหญก่ บั การเปลยี่ นชอื่ เป็น Meta เพื่อที่จะนาแนวคิด Metaverseแนวคดิ Metaverse (แปลจากราก
ศพั ทก์ ค็ ือเหนอื จกั รวาล) ที่เป็นการนาโลก digital ทีเ่ ปน็ ท้งั Virtual & Augmented Reality (VR/AR) มาขยายเป็นตวั เชอ่ื ม
เพ่ือสรา้ งธุรกิจระบบนเิ วศในเชิงประสบการณ์ Virtual Experience Ecosystem Business ถา้ ใครไดเ้ คยดูหนงั Ready
Player One ลกั ษณะของ Metaverse กจ็ ะมีความคล้ายๆหนงั เรื่องน้ัน ท่ีคนไดร้ ับประสบการณ์ใชช้ วี ติ เหมอื นอยู่ในโลก
เสมอื น หรือถ้าเป็นบรรยากาศประสบการณก์ ็จะคล้ายกบั อย่ใู นเกมส์ Minecraft หรือ Roblox
เรามาดูว่า Metaverse มอี ะไรและนาไปสู่ขอ้ มลู มหาศาลอยางไร
Metaverse ประกอบไปดว้ ย
Hardware อปุ กรณท์ ่ชี ่วยให้ผ้ใู ชเ้ ขา้ ไปอยูใ่ น Metaverse ซึง่ อาจจะเป็นแวน่ ตา ทท่ี าให้ผ้ใู ช้มองเห็น Metaspace (พ้นื ทบี่ น
Metaverse) อุปกรณ์ IoT Sensor ตา่ งๆท่ีจะเอาไวส้ รา้ งโลกเสมือน เก็บบนั ทึก และ ตอบโตก้ บั อากัปกิริยาตา่ งๆ ของผใู้ ช้หรือ
ผทู้ ีอ่ ยใู่ น Metaspace เพือ่ นาไปใช้แสดงผลใน Metaverse Virtual Platform Platform ทีใ่ ชส้ รา้ งภาพเสมือน แบบจาลอง
Simulation หรือกิจกรรม เพอื่ ใหผ้ ใู้ ช้ไดม้ ปี ฎสิ มั พันธ์กับผ้ใู ชอ้ ่นื ในโลกเสมอื น รวมทั้งสามารถสร้างธรุ กิจตอ่ ยอดได้
Data/Network Infrastructure ระบบโครงสรา้ งพน้ื ฐานท่ีต้องรองรบั ขอ้ มูล video ภาพ เสยี ง sensor ทกี่ ระจายรวมทั้งการ
คานวณประมวลดา้ น graphic ทต่ี ้องใช้เยอะเพราะภาพทุกอย่างเป็นโลกเสมือน 3D Content Provider ในเม่อื ทุกอย่างใน
Metaverse เปน็ โลกเสมอื น ของทกุ ส่งิ ไม่วา่ จะเปน็ บ้าน ทีด่ ิน รา้ นค้า สง่ิ ของ เ่สอ่ื ผ้า ภาพ สถานที่ เนื้อหาของกิจกรรมตา่ งๆ
ต้องถกู ออกแบบและสรา้ งขึ้นมา สง่ิ เหล่าน้จี ะกลายเป็น digital asset ใน Metaverse ที่ตอ้ งมีคนหรือธรุ กจิ ในการสร้าง
Payment สง่ิ ต่างๆ ใน Metaverse สามารถเป็น digital asset กส็ ามารถที่ทาใหเ้ กิดการซอื้ ขายกนั ได้ ซ่งึ สามารถนา
Blockchain Technology และ NFT มาชว่ ยในการดแู ลไดิ Tools & Standards โลก Metaverse มอี งคป์ ระกอบมากมาย
หลายส่วน ก็ตอ้ งพึง่ การเคร่ืองมือในการสรา้ งตอ่ ยอดท้งั ในเชงิ เทคนคิ และธรุ กจิ รวมทง้ั มมี าตรฐานของสงิ่ ต่างๆท่ีจะตอ้ งทางาน
รว่ มกันด้วย ตอนนี้ Facebook, Epic Games, Tencent กาลังขยับตัวเองเขา้ มาในธุรกิจน้ีซ่งึ ในอนาคตคงต้องดวู ่าจะมีการ
สรา้ งมาตรฐานเพื่อทาให้ asset ขา้ ม Metaverse ไดม้ ยั้ ตวั อย่างอนั หนึง่ ของ Metaverse คือการทา Digital Twins คือการ
เลยี นแบบสิ่งตา่ งๆในโลกแห่งความจริงบนโลกเสมือนเช่นการมรี ้านคา้ ขายรองเทา้ บน Online ทมี่ หี น้ารา้ น ชัน้ วางรองเท้า
เสมอื นรา้ นจรงิ พอมีรองเท้าสขี าวท่ีวางบนช้นั ดา้ นลา่ งสุดถกู ซอ้ื ที่หนา้ ร้านจริง ในรา้ น Virtual ก็จะเหน็ วา่ รองเทา้ คู่น้นั ใน
ตาแหน่งเดียวกนั กไ็ ม่มอี ยบู่ นช้ันวาง จากองค์ประกอบทก่ี ลา่ วมาเราจะเห็นวา่ ทุกสว่ นของ Metaverse จะสร้างและเก็บขอ้ มลู
มหาศาล ข้อมลู จากแวน่ ตา ท่ีบง่ บอกพฤตกิ รรมของผูใ้ ชใ้ นฐานะ First Party เจ้าของ Platform สามารถทจ่ี ะเหน็ วา่ เรามอง
อะไร (Eyeball tracking) มองนานแค่ไหน ผใู้ ชต้ อบสนองกับส่ิงตา่ งๆอยา่ งไร เห็นทุกการขยบั รา่ งกาย
ข้อมลู digital asset เราอยใู่ นโลกท่ที กุ อยา่ งถูกสร้าง ในทางเดียวกนั มนั กส็ ามารถถกู ติดตาม track ไดว้ า่ ผใู้ ชม้ ีพฤติกรรมใน
การซื้อของอย่างไร ข้อมลู payment การใช้จ่ายท่เี ปน็ ทงั้ digital asset หรอื service สามารถบง่ บอกตัวตนของผู้ใช้ได้
ข้อมูลของ คนสร้าง Content/Asset/Service เมอ่ื ประกอบกับ payment กเ็ ปน็ ขอ้ มลู เชิงเศรษฐศาสตรข์ องประเทศใหม่
Metaverseทุกอณขู องขอ้ มูลถูกบนั ทึกในโลกของ Metaverse การสรา้ งสง่ิ ตา่ งๆ การปกครองสามารถทาได้ด้วยการสร้าง
แบบจาลอง สงิ่ ต่างๆเหล่านจี้ ะทาให้เราเข้าใจกลไกของโลกมากขึ้น ในขณะเดียวกนั ผลกระทบอ่นื ๆทีน่ า่ คดิ คงเป็นเรอื่ งของ
ความเปน็ สว่ นตัวจะเปลี่ยนไปอยา่ งไรเมอื่ เราใชช้ ีวิตบน Platform ทเี่ ห็นทกุ ส่งิ ท่ีเราทา
เราจะมที างเลือกทจี่ ะปกป้องความเป็นส่วนตวั มย้ั ความเป็นมนษุ ย์และพฤตกิ รรมของเราจะเปลยี่ นไปมยั้ เมือ่ เราสามารถ
สรา้ งตัวตนในอุดมคตใิ นแบบท่ีเราอยากจะเป็น ในโลกที่เราอยากจะสรา้ งให้มนั เปน็ ความทเ่ี ราต้องพึง่ พาโลก
Metaverse มากขึ้น จะเปล่ยี นแปลงอะไรบา้ งเป็นสง่ิ ที่นา่ ชวนคิดครับ
มองกระบวนการทางานข้อมลู ผา่ น Pandora Papers14 ตลุ าคม 2021
ชว่ งนขี้ ่าวคราวเรื่องการพวั พันของผู้มีช่อื เสยี งต่างๆทัว่ โลกกับขา่ วสืบสวน Pandora Papers ของทีมงาน ICIJ (International
Consortium of Investigative Journalists) เป็นทกี่ ล่าวขวัญกันอย่างทวั่ หนา้ งานนเี้ ปน็ งานขา่ วสืบสวนท่ีใหญท่ สี่ ดุ ทเี คยมมี า

ความใหญ่ของมันมีนักข่าวรว่ ม 600 ชีวติ จาก 117 ประเทศรว่ มกนั ขดุ ค้ยุ และวเิ คราะหเ์ อกสารกว่า 11.9 ลา้ นชน้ิ กบั ขอ้ มลู
การหลบเลีย่ งภาษีของผู้มีช่ือเสยี งรวมทั้งนักการเมือง 330 คนจาก 90 ประเทศทั่วโลก
ทวา่ วันนีเ้ ราจะไม่มาพดู เรอื่ ง Pandora Papers แตเ่ ราจะมาดวู า่ การเอาข้อมูลมาใชส้ ืบสวนงานนีม้ ีกระบวนคร่าวๆ อยา่ งไร
ข้อมลู เริ่มต้นมาจากเอกสารกว่า 11.9 ล้านชนิ้ ท่ยี งั ไมไ่ ดม้ โี ครงสร้างเปน็ ตาราง (unstructured) เอกสารส่วนใหญ่ 6.4
ล้านไฟล์อยใู่ นรปู แบบตวั หนังสือ ซึ่ง 4 ล้านเป็นไฟล์ PDF บางไฟล์มขี นาดใหญ่กว่า 10,000 หน้า เอกสารมที พั้ าสปอรต์ ,
เอกสารการเงินและภาษี เอกสารทมี่ ีโครงสร้างเป็นตาราง spreadsheet แล้วมปี ระมาณกวา่ 467,000 ไฟล์ ขอ้ มลู
บางสว่ นเป็นสไลดน์ าเสนอ ขอ้ มลู เสยี ง และวีดีโอ
การประมวลข้อมลู แตล่ ะประเภทตอ้ งใช้กระบวนการต่างกนั ข้อมลู spreadsheet กส็ ามารถกาจดั ขอ้ มูลซา้ ซอ้ น
(deduplication) แล้วรวมไปเป็น master spreadsheet ถา้ เปน็ ขอ้ มูล PDF หรอื เอกสารทเ่ี ปน็ ตัวหนังสือ ICIJ ก็เขยี นภาษา
Python มาดึงคาหรือข้อความท่สี นใจแลว้ มาทาใหเ้ ปน็ โครงสร้าง บางอยา่ งท่ีซบั ซอ้ นมากกใ็ ช้เครื่องมือด้าน machine
learning (การเรียนรขู้ องเครือ่ งจักร) มาดงึ ข้อมูลที่น่าสนใจออกมา ข้อมูลเสยี งหรอื วดี โิ อ อาจตอ้ งถอดแกะมาเปน็ ตวั หนังสือ
หลงั จากทด่ี ึงข้อมูลและจดั เรยี งใหเ้ ปน็ โครงสรา้ งตารางมาแล้ว ICIJ ก็ใช้เคร่อื งมือการวเิ คราะหก์ ราฟ เช่น Neo4J หรอื
Linkurious เพอื่ มาหาความสัมพนั ธข์ องส่วนตา่ งๆ ของบริษัท ผู้ถอื หนุ้ หน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เพอ่ื ทาใหเ้ หน็ ภาพเครอื ข่ายความ
เชอ่ื มโยงตา่ งๆ แลว้ นาไปใชใ้ นการสอบสวน พอไดต้ ัวละครจากขอ้ มลู ICIJ กต็ รวจสอบดว้ ยการใชข้ อ้ มลู จากแหลง่ อื่น เชน่
เอกสารบริษทั รายชือ่ จากส่อื ตางๆ รวมทงั้ แชร์ขอ้ มลู กับพันธมติ รทเ่ี ป็นสือ่ เจา้ อน่ื ๆ ผา่ นเคร่อื งมอื ที่ใชใ้ นการแชร์ข้อมูล ข้อมูล
รัว่ ไหลทีไ่ ดร้ บั มาจากผใู้ ห้บริการกเ็ ก็บมาจากขา่ ว, Wikipedia, สถาบันให้บริการขอ้ มลู ทางการเงิน โดย ICIJ ใช้การเรียนร้ขู อง
เครื่องจกั รในการแทก็ ชอื่ หวั ข้อต่างเพอ่ื ทาให้สะดวกในการค้นหา พนั ธมติ รทีเ่ ปน็ ส่อื เจ้าอน่ื ๆ 150 แหง่ ทางานร่วมกันผา่ น
แพลตฟอร์มสง่ ขอ้ ความท่เี รยี กวา่ I-Hub เพือ่ มาแชรข์ อ้ มลู ทีน่ ่าสนใจให้กัน ทมี งาน ICIJ ใชก้ ารค้นหาคาสาคัญในการหา
นักการเมอื งในฐานขอ้ มูล รวมทง้ั ตรวจสอบผ่านฐานขอ้ มูลอ่ืนๆ ทเ่ี ช่อื ถือได้ เชน่ Dow Jones Risk and Compliance
database, Sayari, Nexis, OpenCorporates สุดท้ายกพ็ บนกั การเมืองทีพ่ วั พนั อยู่ 330 ราย เศรษฐกี ว่า 130 รายทม่ี บี ริษทั
ในทท่ี ่ีไม่เปดิ เผยกว่า 100 รายมที รัพย์สินกว่า 6 แสนลา้ นเหรยี ญสหรฐั ในปี 2021 บรษิ ทั เหลา่ นม้ี ีความสัมพันธก์ บั บริษทั
กฎหมายชอื่ ดัง และหนว่ ยงานอื่นๆ ทวั่ โลก

กบั สานักงานกฎหมาย ส่ิงทเี่ ราเห็นไดก้ ค็ ือ การจะไดข้ อ้ มลู มามากมายตอ้ งใชค้ วามร่วมมอื จากหลาย
ส่วน กวา่ จะทาให้ขอ้ มลู นน้ั นามาใชป้ ระโยชน์ไดต้ อ้ งผ่านกระบวนการเตรียมท่ีแตกตา่ งให้สอดคล้องกบั ลักษณะของขอ้ มลู การ
วเิ คราะหก์ ต็ ้องใชก้ ารร่วมมือกันของเครือข่ายรวมท้งั การตรวจสอบจากแหล่งข้อมูลทเ่ี ช่ือถอื ได้ เพอื่ ทาให้การวิเคราะห์และ
นาไปสูก่ ารสบื สวนของทีมนักข่าว ICIJ กระบวนการน้ใี ช้ไดก้ บั งานขอ้ มูลทว่ั ไป แกน่ ของงานข้อมลู คิดคอื เราตอ้ งมกี าร
ตรวจสอบข้อมลู ทมี่ ีความน่าเช่อื ถือมีคณุ ภาพ (เหมือนวตั ถดุ ิบอาหาร) ก่อนทเ่ี ราจะนาไปใชว้ เิ คราะห์หรือใช้ประโยชน์
อย่างอ่นื ต่อไป

ภาพสะท้อนของสงั คมทขี่ บั เคลื่อนดว้ ยขอ้ มลู (Reflection on Data Driven Society)14 พฤศจิกายน 2020
21 มกราคม 2560 คอื วันแรกที่บทความบทแรกเกย่ี วกบั Data Driven Society ของผมไดเ้ ผยแพรล่ งในช่องทางของ
ThaiPublica กว่า 3 ปที ผี่ า่ นมาจากวนั นัน้ ผมยงั คงเขยี นบทความนอ้ี อกมาอย่างตอ่ เนือ่ ง ด้วยความต้ังใจท่ีอยากจะแชร์
แนวคดิ และชวนใหท้ กุ คนได้เห็นถงึ การนา “Data” แทนการใช้ “Drama” ในการขบั เคลื่อนประเทศ และใช้ “Fact”
ไม่ใช่ “Fake” ในการแก้ปญั หาสงั คม เพราะผมเชื่อวา่ ปัญหาหลายอยา่ งสามารถแกไ้ ขหรือทาใหด้ ีขน้ึ ได้ ถ้าทุกภาคสว่ นท่ี
เกยี่ วข้องร่วมกันนาข้อมลู มาแชร์ พูดคุย แลกเปลย่ี นมมุ มอง สรา้ งความเข้าใจใหแ้ กก่ นั จนนาไปสูก่ ารสังเคราะห์ และริเริม่
แนวคดิ ใหมใ่ นการแกป้ ญั หา แตจ่ ากการทางานเปน็ ท่ีปรกึ ษาใหก้ ับทง้ั ภาครัฐและเอกชนทาใหพ้ บว่า แทจ้ ริงแล้วอปุ สรรค
สาคญั ที่ยงั ฉุดรั้งไมใ่ ห้สงั คมของเราพฒั นาเดนิ หน้าไปเป็น Data Driven Society ได้น่ันก็คือ “การไม่มขี ้อมลู ”
อย่างไรก็ตามผมกเ็ รมิ่ มองเหน็ เป้าหมายท่ตี ้ังใจไวไ้ ดอ้ ย่างชัดเจนขึน้ เม่ือพบว่าในชว่ งระยะเวลาท่ีผ่านมา หลาย ๆ องค์กร
มองเหน็ และตระหนักถึงปัญหาน้ี และเริม่ กระบวนการจดั เก็บขอ้ มลู เพือ่ วางรากฐานของการนาข้อมลู มาชว่ ยใช้ในการตัดสนิ ใจ
ทางธรุ กิจมากย่ิงข้ึนปัจจุบนั เราได้เห็นตวั อย่างประเทศทใ่ี ชป้ ระโยชนจ์ ากข้อมลู และมีการนาเทคโนโลยี AI/ML มาใช้ในการ
บรหิ าร จดั การ และกาหนดนโยบายอยหู่ ลายประเทศ (บทความก้าวกระโดดดว้ ยนโยบาย AI) เชน่ สหรฐั อเมริกา องั กฤษ
เกาหลใี ต้ จนี หรอื แม้กระทงั่ ประเทศเล็ก ๆ อย่างเอสโตเนียกม็ กี ารนาเทคโนโลยมี าใช้และเรยี กได้วา่ เป็นประเทศทม่ี ี
ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยสี งู ซง่ึ พอจะสรุปและนามาเปน็ แนวทางในการปฏบิ ัติใช้กบั ประเทศไทยได้ ดงั น้ี
1. ทาให้เรว็ และตรวจสอบไดด้ ว้ ยเทคโนโลยดี ิจิทลั (Digitalization for Speed and Traceability)

ภาครัฐควรออกระเบยี บเปลยี่ นรูปแบบการจัดเก็บข้อมลู ด้วยกระดาษ ใหอ้ ยใู่ นรปู แบบดจิ ทิ ัลแทน เพอื่ ใหส้ ามารถค้นหาและ
ประมวลผลขอ้ มลู ตอ่ ได้ อกี ท้งั ช่วยให้กระบวนการทางานมีประสิทธิภาพ ตรวจสอบได้ และรวดเร็วย่งิ ขึ้น รวมทง้ั การออกแบบ
องคก์ รใหอ้ ย่ใู นรปู แบบ Topology (บทความออกแบบองคก์ ร) เพอ่ื สร้างอานาจในการตดั สนิ ใจและเพม่ิ ความคล่องตวั ในการ
ทางาน เช่น การสร้างหน่วยงานเฉพาะกิจในแต่ละกระทรวงเพอื่ ทางานรว่ มกบั หน่วยงานกลางอยา่ ง DGA หรือ GBDi เพอื่ ให้
เกดิ การทางานร่วมกนั เป็น Community of Practice (CoP) ซง่ึ จะชว่ ยให้ทกุ คนไดแ้ บ่งปนั ประสบการณ์ สรา้ งความรู้ ความ
เขา้ ใจในการทางานด้านขอ้ มลู ในวงกวา้ งมากขึน้ ซง่ึ รปู แบบนี้เหมาะกับการช่วยกนั วางแผนปรบั เปลี่ยนกระบวนการทางาน
แบบไร้กระดาษ (paperless) ทีก่ ลา่ วมาขา้ งตน้ ไปสู่การออกแบบวิธกี ารจัดเก็บขอ้ มลู โดยใช้เครือ่ งมอื ดิจทิ ลั
2. เปิดขอ้ มูลเป็นหลกั (Open Data by Default) ภาครัฐตอ้ งมนี โยบายเปดิ ข้อมลู เพอื่ สรา้ งแนวทางใหท้ กุ องค์กรรว่ มกัน
จัดเกบ็ ขอ้ มลู และสรา้ งระเบยี บการจัดการขอ้ มูลท่ดี ี โดยเฉพาะข้อมลู บางชดุ ท่สี ่งผลกระทบต่อการเปล่ียนแปลงไปในทางทด่ี ี
ใหก้ ับประเทศได้ จากการจดั อนั ดบั ของ Global Open Data Index ปี 2016 ประเทศไทยอย่อู ันดบั ที่ 51 แตบ่ างท่ี
อยา่ ง Open Data Barometer เราก็ไมต่ ิดอนั ดบั ซึ่งตามมาตรฐานสากลของ Open Data Charter กาหนดว่า การเปดิ ขอ้ มูล
ไม่ไดแ้ ปลวา่ ต้องเปิดทุกอย่าง อาจจะมีข้อยกเวน้ บางประการได้ เชน่ ข้อมลู ความเปน็ สว่ นตวั ของประชาชนและเมอื่ ข้อมลู ถกู
จัดเก็บในรูปแบบดจิ ิทัลแล้ว ก็จะสามารถเปดิ เผยขอ้ มลู เพ่อื ใหเ้ กดิ Ecosystem อกี ท้งั ยังทาใหเ้ กิดความโปรง่ ใส ตรวจสอบได้
โดยอาจจะเรมิ่ จากการมีโจทยส์ าคญั ๆ ท่ีทง้ั รัฐและเอกชนสามารถทางานรว่ มกันได้ เช่น ขอ้ มลู การจดั ซ้ือจดั จา้ ง ขอ้ มูลท่ดี นิ
อสังหารมิ ทรพั ย์ เปน็ ต้น (อ่านเพ่ิมเติม ตวั อย่างการนา Open Data ไปใช)้ นอกจากน้ี การใช้โครงสร้างการกระจายตวั เพื่อให้
องคก์ รตา่ ง ๆ แบ่งปนั ขอ้ มลู รว่ มกนั (อา่ นเพม่ิ เติม บทความการแชรข์ อ้ มูลรว่ มกนั ) จะช่วยสร้างความไวว้ างใจท่จี ะทาให้ Open
Data เกดิ ขึ้นได้ในท่ีสุด
3. สรา้ งความเขา้ ใจเกย่ี วกบั วิธีการนาข้อมูลไปใช้เบ้ืองตน้ ใหแ้ กป่ ระชาชน (Civic Data Literacy)
เราต้องปลกู ฝงั ใหป้ ระชาชนอา่ น เขา้ ใจและใช้ประโยชน์จากขอ้ มูลเบ้ืองต้นเป็น รวมทัง้ สามารถตรวจสอบทีม่ าของขอ้ มูล
ข่าวสารเพอื่ หลกี เลยี่ งการถกู หลอกลวง ส่วนสอ่ื ตา่ ง ๆ ควรผลติ งานทีใ่ ช้ Data Journalism เพอื่ สรา้ งความต้องการให้ผเู้ สพ
สนใจและอยากเรยี นรู้เร่อื งขอ้ มลู มากขึ้น (บทความ Data Literacy) ยกตัวอยา่ งงานทนี่ า่ สนใจคือ การเก็บขอ้ มลู เพอ่ื ดคู ณุ ภาพ
ของผู้แทนราษฎร เช่น จานวน ส.ส. ทเ่ี ปดิ อภิปราย โดยใชข้ ้อมลู ทเี่ หมาะสมมาสนับสนนุ เชน่ หัวข้อท่ีอภปิ ราย ผลงานท่ีเปน็
รูปธรรม เป็นตน้ สิ่งเหลา่ น้ีทาใหเ้ กดิ การตรวจสอบและให้ประชาชนเข้าใจการทางานของ ส.ส. มากข้นึ เพอื่ สรา้ งให้เกิดการมี
ส่วนร่วมของประชาชน
4. สรา้ งสภาพแวดลอ้ มท่ีทาใหเ้ กิดความร่วมมอื กนั ทกุ ภาคสว่ น (Supporting Environment for Civic Collaboration/
Participation) เราได้เหน็ พลงั ของความร่วมมอื กนั จากประชาชน ภาครฐั และภาคเอกชนในการชว่ ยประเทศไทยฝ่าฝันกับ
วิกฤตโควดิ -19 ในช่วงท่ผี ่านมา ซึง่ การรว่ มมือกนั น้เี ปน็ โมเดลทด่ี ที ท่ี กุ คนสามารถช่วยเหลอื กนั เพื่อแกไ้ ขปญั หาดา้ นอืน่ ๆ ของ
ประเทศ เพยี งแตจ่ ะต้องมเี จ้าภาพและกระบวนการทกี่ ่อใหเ้ กดิ การขบั เคลือ่ นไดจ้ รงิ โดยเฉพาะในยุคดจิ ิทลั ท่ีการส่ือสารและ
การรว่ มมือกันสามารถทาไดอ้ ย่างไรพ้ รมแดน ยกตวั อย่าง vTaiwan (บทความ Collective Intelligence 3) มีการใชด้ ิจิทลั
แพลตฟอรม์ เปิดโอกาสใหป้ ระชาชนมสี ว่ นรว่ มกบั รัฐบาลในการกาหนดนโยบายตา่ ง ๆ แนวทางทีก่ ลา่ วมาน้ี ผมเชื่อว่าเราทาได้
ถา้ ทุกภาคสว่ นรว่ มกันให้ความสาคญั ท้ังการแก้ปญั หาเร่อื งความเหลือ่ มล้า เร่ืองการศกึ ษา การเกษตร และอน่ื ๆ แตเ่ รายงั ไม่มี
ข้อมลู เชงิ ลกึ ท่จี ะนามาชี้วัดตรวจสอบการทางานในระดบั นโยบายว่าทาแล้วไดผ้ ลจรงิ แคไ่ หน (Outcome Based) ไม่ใช่แค่การ
สร้างโครงการ (Output Based) เพอื่ ตอบสนองยทุ ธศาสตร์ชาตโิ ดยไมร่ ผู้ ลลพั ธ์
จะสังเกตได้วา่ ผมไมไ่ ดใ้ ชค้ าวา่ big data เลย (ยกเวน้ ประโยคน้ี :)) เพราะสิง่ สาคญั ของข้อมลู ไมใ่ ช่ความใหญ่หรือเลก็
แต่คอื ประโยชน์ในการนามาตัดสนิ ใจในเรอ่ื งตา่ ง ๆ ใหก้ ับองค์กรหรือสังคมได้พฒั นาไปในทางที่ดีข้ึน ซงึ่ การสืบสาว
กจิ กรรมทที่ า (Traceability) นาไปสคู่ วามโปรง่ ใส (Transparency) และการตรวจสอบได้ (Accountability) ซง่ึ จะ
วางรากฐานนาไปสู่ความยุตธิ รรมและทาใหส้ ังคมเรานา่ อยู่ข้นึ แลว้ เราจะรออะไรครับ

Data Art – เล่าเร่ือง data ใกล้ตวั ดว้ ยภาพ17 กมุ ภาพันธ์ 2017
รอบๆ ตวั เรามอี ะไรหลายส่งิ ที่มองไมเ่ หน็ เชน่ อากาศ เสยี ง พลงั งานไฟฟา้ สญั ญาณมือถือหรือแมแ้ ต่ “ขอ้ มลู หรอื data”
ขอ้ มลู มอี ยรู่ อบๆ ตัวเราแตเ่ รามักไม่เคยสังเกตและชอบคิดไปว่าเมอื่ พดู ถงึ ขอ้ มลู กต็ ้องเป็นอะไรที่แสดงผลออกมาเป็น
ตวั เลขหรอื กราฟรปู แบบตา่ งๆ เท่านนั้ วนั น้ีผมจะเอาเรือ่ งที่คนคิดวา่ ไกลตวั อยา่ ง “ข้อมูล” มาทาใหเ้ ป็นเรือ่ งใกล้ตัวมากขึ้น
โดยการวาดภาพวเิ คราะห์ “ข้อมลู ” ชีวติ ส่วนตัวจากเฟซบุ๊กของผม (personal analytics visualization) เพอ่ื เป็นตวั อยา่ งให้
ท่านผู้อ่านไดเ้ ห็นภาพตามกนั กอ่ นจะเรมิ่ วเิ คราะห์ขอ้ มลู น้ัน ผมขอเกร่นิ ก่อนว่าจรงิ ๆ แล้วการเขยี นเร่อื งนี้ ผมไดแ้ รงบนั ดาลใจ

มาจากการอา่ นเจอเรอื่ งราวของนกั ออกแบบสารสนเทศ (information designer) 2 คน คือ Stefanie Posavec (London,
UK) กบั Giorgia Lupi (Brooklyn, New York) ท่ีอยู่กันคนละทวปี แล้วบังเอญิ ได้เจอกนั ในงานประชมุ หนึ่ง จากนนั้ ทง้ั สองได้
ตกลงใจทจี่ ะทาโปรเจกตร์ ่วมกัน ดว้ ยการเขียนโปสตก์ าร์ดเพือ่ ทาความรู้จักซงึ่ กนั และกนั โดยท้ังสองจะวาดภาพเกยี่ วกับขอ้ มลู
ในชีวติ ประจาวนั ข้ามทวีปทุกสัปดาหเ์ ป็นเวลา 1 ปี (52 สปั ดาห์) และเป็นท่ีมาของหนังสือ “Dear Data” ซึ่งเป็นการ
ผสมผสานระหวา่ งข้อมลู กบั ศลิ ปะ (data art) ไดอ้ ยา่ งสวยงามและเปน็ ตวั อย่างที่ทาใหเ้ ราเหน็ กระบวนการและการเล่น
กับข้อมลู ทีม่ ปี ระโยชน์ นอกจากน้ี โดยส่วนตัวผมอยากจะใช้การผสานระหว่างขอ้ มูลกบั ศลิ ปะ หรอื data art นี้เปน็
กจิ กรรมไวส้ อนให้ลกู ผมไดร้ ู้ว่า ข้อมลู สามารถเชือ่ มโยงกับศลิ ปะได้ ตอนแรกคิดว่าจะเกบ็ ขอ้ มลู พฤติกรรมของตัวเองทน่ี า่
ศึกษา แต่นึกไดว้ ่า Facebook นา่ จะมี activity log ท่ีบนั ทึกกจิ กรรมต่างๆ และ สามารถ export ได้ แลว้ ผมกไ็ ดเ้ จอ
วธิ ีการ Archive Facebook Information จากนัน้ จงึ เริม่ ดู activity log ว่ามีระยะเวลานานแคไ่ หน กเ็ หน็ ว่ามีไปจนถึงปี
2550 แตผ่ มอยากดูว่าปีที่ผา่ นมาผมทาอะไรบา้ ง ก็เลยเลอื กปี 2559 มาทา data art
หลังจากได้ปที ีส่ นใจ ผมกเ็ รม่ิ ดูครา่ วๆ ว่าในปี 2559 มกี จิ กรรมประเภทไหนเกดิ ขึ้นเพอ่ื ที่จะมาออกแบบวา่ ควรจะใช้คาอธบิ าย
ประเภท (legend) ไหนใน data art ชิ้นนี้ ในกรณนี ้ี ผมเลือกท่ีจะใช้สีกบั เส้นตรงเปน็ ตัวแบง่ ประเภท (คุณอาจจะใชเ้ ส้นแบบ
อืน่ ได้) แล้วคดิ ครา่ วๆ ว่าจะใชโ้ ครงหลักเปน็ ก่งิ ไมท้ ่ีมเี ส้นก่งิ เลก็ แสดงกิจกรรมของแต่ละเดือน ตอนแรกคิดว่าจะแสดงด้วยการ
นบั รวมประเภทกจิ กรรมในแต่ละเดือน แต่คดิ วา่ ถา้ แสดงภาพดว้ ยการนับรวมอาจทาใหจ้ ับพฤตกิ รรมวา่ เหตุการณ์อะไรเกิด
กอ่ นไม่ได้ ผมกเ็ ลยบันทึกกจิ กรรมตามจงั หวะทเ่ี กดิ แทน

ภาพท่ี 1: กระดาษโนต้ ของผมแสดงผลการนบั รวมการทากจิ กรรมตา่ งๆ ออกมาเป็นตัวเลข

ภาพที่ 2: data art อยา่ งง่ายๆ ที่เกดิ จากการวเิ คราะห์ “ข้อมลู ” ชวี ิตสว่ นตวั จากเฟซบุก๊ ของผมในปี 2559
สงิ่ ทผ่ี มได้เรียนรู้จากกระบวนการทา data art ในครง้ั น้ี อยา่ งแรก คือ การลองผดิ ลองถูกเพือ่ ให้เหน็ หน้าตาของ data บนก่งิ
ไม้พรอ้ มกับการปรับแต่งไปดว้ ย ระหว่างทาก็นกึ ไดว้ า่ อาจจะแบง่ ก่งิ เป็น 2 ซกี ซีกซ้ายเป็นเดือนค่ี ซกี ขวาเปน็ เดือนคู่ หลงั จาก
นนั้ อาจเพิม่ ผลสรุปเชงิ สถิตขิ องการนบั จานวนกจิ กรรมแตล่ ะประเภทในแต่ละเดอื น อย่างท่สี องที่ได้เรยี นรู้ คอื เรียนรู้
พฤตกิ รรมของตัวเองผา่ นกระบวนการ personal analytics เชน่ เปน็ คนทมี่ ักจะ share กบั like มากกวา่ post หรอื
update ข้อมลู ต่างๆ อกี เร่ืองทผี่ มสังเกตเหน็ คือ กิจกรรมของผมในเดอื นกมุ ภาพนั ธ์น้นั มลี กั ษณะพิเศษกว่าเดือนอื่น เพราะมี
คนอวยพรวนั เกิดให้มากผมจงึ ใชเ้ ส้นผสมน้าตาลกับแดงลากยาวๆ (ความขเ้ี กยี จสว่ นตัว :)) เพ่อื แสดงผลทีแ่ ตกต่าง ผมคดิ วา่ ถ้า
มกี ารเกบ็ data จากแหล่งอ่ืนๆ เชน่ การกนิ อารมณ์ การใช้จ่าย แลว้ เราลองนามาวเิ คราะหห์ รือแสดงผลโดยการใช้ data art
น่าจะทาใหเ้ ราเข้าใจตัวเองมากข้นึ อาจช่วยใหเ้ ราปรับปรงุ นสิ ยั ทไี่ มด่ ใี หด้ ีได้
การเขยี นบทความของผมครงั้ นย้ี ังทาใหผ้ มนกึ ถึงบทความเก่ยี วกบั Stephen Wolfram (ผ้กู อ่ ตง้ั Mahematica บรษิ ัท
ซอฟต์แวร์เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ช่ือดัง) ท่เี ก็บ data ละเอียดเกีย่ วกบั การใชโ้ ทรศัพท์ การตอบรบั อีเมล และจานวนการเคาะ
แปน้ พิมพ์ (keystroke) ซ่งึ ในยคุ นเี้ ปน็ ยคุ ทม่ี เี ครือ่ งมอื ชว่ ยเกบ็ ข้อมลู มากข้นึ เพียงแตเ่ ราต้องรู้จักนามาหาความเข้าใจอย่าง
ลกึ ซง้ึ (insight) ก็หวังว่ากจิ กรรมวนั นีค้ งจุดประกายใหผ้ ูอ้ า่ นไดล้ องอะไรสนุกๆ อาจเป็นกิจกรรมที่ทากนั ในครอบครัวก็ได้ ลอง
หาโจทย์แล้วมา share กันท่ี Facebook page link: https://www.facebook.com/sertiscorp/ (คลิกทภ่ี าพเพื่อขยาย)

ควันหลงหลงั Valentine’s day: โอกาสเจอเนอ้ื คู่ของเราดว้ ยการเดาอย่างเปน็ ระบบ
ในปี 2010 Peter Backus นกั วจิ ยั ดา้ นคณติ ศาสตรไ์ ดแ้ รงบนั ดาลใจจาก Drake equation (สมการคานวณความนา่ จะเป็น
ของสิ่งมชี วี ิตที่มอี ารยธรรมในจกั รวาล) เขาไดเ้ ขียนงานวจิ ัยเล่นๆ ทม่ี ีชื่อว่า “Why I Don’t Have a Girlfriend” ที่พยายาม
จะคานวณโอกาสทเี่ ขาจะหาแฟนใน London ซ่ึงไอเดยี นค้ี ลา้ ยกับสง่ิ ทเี่ ราพูดถงึ ในบทความท่แี ลว้ “การเดาอย่างมี
ระบบ” โดยเริ่มที่
1. จานวนเพศทเี่ ราสนใจรอบๆ เรา? (กรุงเทพฯ ครึ่งหน่ึงของประชากรเปน็ หญงิ 4,000,000)
2. จานวนของคนในช่วงอายุท่ีสนใจ? (20% -> หญิง 800,000 คน)
3. จานวนคนท่นี ่าจะเป็นโสด? (50% -> 400,000 คน)
4. จานวนคนทน่ี ่าจะจบการศกึ ษาปริญญาตร?ี (30% -> 120,000 คน)
5. จานวนคนทเ่ี ป็นคนมีเสนห่ ์ดงึ ดดู ใจ? (20% -> 24,000 คน)
6. จานวนคนทค่ี ดิ วา่ ฉันมีเสน่ห?์ (20% -> 4,800 คน)
7. จานวนคนทีจ่ ะเข้ากันได?้ (20% -> 960 คน)

จะเห็นไดว้ ่า การตง้ั เลขเป็นเปอรเ์ ซน็ ต์ข้างต้นเปน็ การคิดเล่นๆ แบบสนกุ ๆ โดยการประมาณตัวเลขของจานวนคนประเภท
ต่างๆ ขึน้ มา เช่น คนทีน่ า่ จะจบการศกึ ษาปรญิ ญาตรี คนทม่ี เี สน่ห์ดึงดูดใจ คนท่ีคิดวา่ ฉนั มเี สนห่ ์ เป็นตน้ แลว้ จะพบวา่ โอกาสที่
เราจะเจอคนที่เขา้ กบั เราไดน้ นั้ มปี ระมาณ 960 คน
แตถ่ ้าใครมีขอ้ มลู ส่วนตวั ทจ่ี ะบันทกึ ไวจ้ ะสามารถทา personal analytics เพื่อหาความนา่ จะเปน็ (probability) ของการ
ประเมินแต่ละขนั้ จากประสบการณ์ได้ ก็ตอ้ งบอกกันกอ่ นวา่ ตวั เลขนเ้ี ปน็ แค่เพยี งบรรทดั ฐานที่เราสรา้ งขึน้ มาเพ่ือประเมนิ อยา่ ง
คร่าวๆ การจะพบเจอคนทเ่ี ราสนใจจริงๆ ยังข้ึนกับการสรา้ งโอกาสทที่ าให้เราไดเ้ จอประชากรทเ่ี ราสนใจด้วย ซึง่ อาจทาให้
ตวั เลขสงู ขึน้ หรอื ลดลงได้ การประเมนิ ขา้ งตน้ แคเ่ ปน็ การทดลองทางความคิดครับอยา่ ครา่ เครยี ด

Blockchain Technology จะเปล่ียนโลกของขอ้ มลู อย่างไร
หากพดู ถงึ ส่ิงทเี่ ป็นกระแสในสังคมไทย ณ เวลาน้ี คงปฏเิ สธไมไ่ ด้ว่า สกุลเงนิ ดจิ ทิ ัล (Crypto Currency) เปน็ หนึ่งในเรือ่ งที่
ไดร้ บั ความสนใจอยา่ งลน้ หลาม ไมว่ ่าจะเปน็ Bitcoin หรอื Ripple รวมทัง้ สกลุ เงนิ อื่นๆ จนตัวผมเองก็อดไมไ่ ดท้ ีจ่ ะต้องติดตาม
และทาความเข้าใจเพราะอาจจะมผี ลกระทบกับงานที่ทาอยู่
เทคโนโลยที ่ีถอื ไดว้ ่าเป็นโครงสร้างพืน้ ฐาน (Infrastructure) สาหรับธรุ กิจสกลุ เงนิ ดจิ ิทลั นนั่ ก็คือ Blockchain ซง่ึ ต้องขอชแ้ี จง
กอ่ นวา่ Bitcoin และ Blockchain ไม่ใช่สง่ิ เดยี วกนั อย่างท่ีหลายคนเขา้ ใจ แรกเรม่ิ เดมิ ที Blockchain เป็นแอปพลเิ คช่นั ท่ีถูก
สรา้ งขน้ึ มาพรอ้ มกับ Bitcoin เพ่อื ใชส้ าหรบั เกบ็ ข้อมลู Transaction ทเ่ี กิดขึ้นหลากหลายรูปแบบ หลังจากน้ันจึงมกี ารพัฒนา
ความสามารถและบริการเพื่อรองรับลูกค้า ตลอดจนธรุ กรรมท่ีเก่ยี วข้องกับสกุลเงนิ ดิจิทัล โดยหลักการแลว้ Blockchain ทา
หน้าทเี่ ปรียบเสมือนฐานขอ้ มลู หรอื บัญชี (Ledger) ชดุ เดยี วที่กระจายตามเคร่ืองคอมพิวเตอร์ตา่ งๆโดยไม่มีตัวกลาง ซึ่ง
Blockchain Network ในแต่ละเครื่อง จะทาหนา้ ทบ่ี นั ทกึ ตรวจสอบ และรบั รอง Transaction ทเ่ี กดิ ขึ้นในระบบบญั ชี หรือ
พดู อีกแงห่ น่งึ คอื Blockchain สามารถทาหน้าท่ีในการบันทึกกจิ กรรมทางเศรษฐกิจ ตัวตน เจา้ ของ สภานภาพ สิทธิ หรือ
เรอื่ งราวอน่ื ๆภายในองคก์ รได้ มาถึงตอนน้ี หลายคนคงเรม่ิ ตงั้ คาถามว่า แล้วเทคโนโลยอี ยา่ ง Blockchain มีความเกย่ี วข้องกับ
สายงาน Data Science หรอื Data Analytics ของผมอยา่ งไร ความเป็นจรงิ แล้ว บริการของเทคโนโลยี Blockchain ถอื ได้
ว่าเปน็ ตัวขับเคลอื่ นหนึง่ ทท่ี าให้เกิดความเปลย่ี นแปลงในวงการ Data ไดอ้ ยา่ งมากมาย ยกตัวอยา่ งเชน่
1.ลดปญั หาขอ้ มูลถูกปลอมแปลงหรอื ทาซ้า รวมถึงลดภยั ทเ่ี กิดบนโลกไซเบอร์ (Cybersecurity) หรือ การหลอกลวง
(Fraud) ผา่ นทางระบบอนิ เตอรเ์ นต็ ปัจจบุ นั ข้อมลู อยกู่ ระจดั กระจายตามทต่ี า่ งๆในองค์กร ทาใหเ้ กดิ ความเสยี่ งทจ่ี ะเกดิ
ความซา้ ซ้อน ผดิ พลาด หรือเกิดการปลอมแปลง ซ่งึ Blockchain จะเขา้ มาชว่ ยให้เหน็ ผใู้ ช้เห็นขอ้ มลู เป็นชุดเดียวกนั (Single
version of truth) เพราะในโลกของ Blockchain ขอ้ มลู transaction ทกุ ตวั จะถกู บันทกึ ในระบบ และกระจายสเู่ ครื่อง
คอมพิวเตอรห์ ลายๆเครื่อง การปลอมแปลงหรือแฮกข้อมลู จงึ เกดิ ขนึ้ ไดย้ าก เพราะจะต้องเจาะเขา้ สรู่ ะบบของทกุ เคร่อื งท่มี ี
บัญชีบนั ทกึ ขอ้ มูล Transaction เหล่านัน้ นอกจากนี้ การเขา้ รหสั (Encryption) ของขอ้ มูลใน Blockchain มกี ระบวนการ
ตรวจสอบความถกู ต้องของขอ้ มูล (Data integrity) และกระบวนการรบั รอง Transaction เพือ่ ตรวจสอบความถกู ต้องและ
ไม่ใหเ้ กดิ ความซา้ ซ้อน ดว้ ยประโยชนข์ อ้ นีท้ าให้ Blockchain ถูกนาไปใชใ้ นธรุ กจิ Supply Chain เชน่ Walmart ใช้
เทคโนโลยีนเี้ พ่ือตรวจสอบท่มี าของแหล่งอาหาร จุดเก็บของและขนสง่ ระหวา่ งทาง (Traceability) เพ่ือสร้างมาตรการทรี่ ดั กมุ
สาหรบั ความปลอดภยั ด้านอาหาร (Food Safety) และอกี ตัวอยา่ งคอื e-estonia ทนี่ า Blockchain มาใช้เก็บขอ้ มลู ของ
ประชาชนในประเทศ โดยสามารถปอ้ งกันการปลอมแปลงตวั ตน และทาใหป้ ระชาชนสามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มูลได้อย่างปลอดภัย
2. เทคโนโลยี Blockchain จะทาให้เกิดองค์กรแบบใหมท่ ใ่ี ช้ขอ้ มูลไดช้ าญฉลาดขน้ึ การประสานงานเพ่อื แลกเปลีย่ นข้อมลู
เปน็ สง่ิ หน่งึ ท่สี รา้ งความลาบากใหก้ ับองคก์ ร Smart Contractเป็นอีกหนึ่งบรกิ ารบน Blockchain ซึง่ ใช้ระบบคอมพวิ เตอรใ์ น
การสร้างเงือ่ นไขของสัญญา (Contract) ส่งผลใหก้ ารเซน็ สญั ญามีความปลอดภยั สงู และดาเนนิ การไดด้ ้วยระบบอตั โนมตั ิ จึง
สามารถลดขั้นตอนในการทางาน ลดจานวนบคุ ลากรดา้ นบญั ชีและกฎหมาย และเพ่มิ อานาจในการกาหนดเงอื่ นไขการเผยแพร่
ข้อมูลของเจ้าของสญั ญา ยกตัวอยา่ งของ Smart Contract เช่น Decentralized Autonomous Organisations(DAOs)
เป็นองค์กรสาหรับระดมทนุ จากคนท่วั ไป (Crowdfunding) ซง่ึ ใช้ Smart Contract ในการสร้างสญั ญาระหวา่ งผรู้ ะดมทนุ กบั
ผรู้ ว่ มลงทุนโดยอตั โนมตั ิ ผา่ นการซื้อ Token (คล้าย Token ของ Line)
3. Open data ที่กวา้ งขวางมากข้ึน ข้อมลู บางอย่างทม่ี ีอยใู่ นองค์กรหรอื ตา่ งองค์กรทุกวนั น้ีไม่สามารถนามาใชใ้ หเ้ กิด
ประโยชนอ์ ย่างสงู สดุ แต่การทา Transaction โดยไมพ่ ึ่งพาคนกลางและมคี วามปลอดภัย ทาให้ข้อมลู สามารถเปดิ เผยไดอ้ ยา่ ง
กว้างขวาง ซึ่งสง่ ผลดีท้งั ต่อหน่วยงานภาครฐั และเอกชน โดยสามารถทางานไดอ้ ยา่ งคลอ่ งตัวและโปร่งใสมากขนึ้ ยกตัวอย่าง

เช่น ธนาคารสามารถเผยแพรข่ อ้ มลู ภายใตเ้ งอื่ นไขของสัญญาทเี่ ขียนอยใู่ น Smart Contract กบั ธนาคารอืน่ ตลอดจนการ
เผยแพรข่ อ้ มลู ของผปู้ ว่ ยใหก้ บั หนว่ ยงานทที่ าการวจิ ยั และพฒั นาทางการแพทย์ โดยไม่ตอ้ งเปดิ เผยตวั ตนของผปู้ ว่ ย
4. เพ่ิมความเปน็ ส่วนตัวของขอ้ มลู (Data Privacy) และความลบั ของขอ้ มลู (Confidentiality)
ความเป็นสว่ นตวั ของขอ้ มลู เป็นอกี ประเดน็ ทผี่ ู้ใช้ Blockchain เปน็ ห่วง ชว่ งท่ีผ่านมา Blockchain บางระบบได้เพมิ่ Zero
Knowledge Proof (ZKP) ซ่งึ เปน็ กระบวนการทส่ี ามารถพสิ จู นข์ ้อมูลบางอย่างโดยทไี่ มต่ ้องเปิดเผยขอ้ มูลน้นั โดยตรงแกผ่ ้ขู อ
อ่านดูแล้วคงชวนใหห้ ลายคนเรม่ิ ขมวดคิ้วไปตามๆกัน ดงั นน้ั เพ่อื ใหเ้ หน็ ภาพและเขา้ ใจชดั เจนขึ้น ผมจงึ ขอยกตัวอยา่ ง
สถานการณ์ท่ีดัดแปลงมาจาก Wikipedia (ดรู ปู ภาพประกอบ) ซึง่ มลี าดบั เหตกุ ารณด์ งั น้ี
– ภายในอโุ มงค์รูปตัวยู มปี ระตบู านหนงึ่ ท่จี ะตอ้ งใชร้ หัสในการเปิดติดตง้ั อยู่
– สมชาย (ผูท้ ดสอบ) ยนื อยภู่ ายนอกอโุ มงค์ และ สมศรี (ผ้ถู ูกทดสอบ) ยนื อยูภ่ ายในอโุ มงค์ท่มี ีประตู โดยท่ีสมชายไมร่ ูว้ ่า
สมศรไี ดเ้ ดินเขา้ ไปในอุโมงคด์ ้วยทางเขา้ 1 หรือ 2
– สมชายจะทาการทดสอบวา่ สมศรีรรู้ หสั ผา่ นของกลอนประตนู น้ั ดว้ ยการบอกใหส้ มศรอี อกมาตามทางท่เี ขาต้องการ ซง่ึ ถา้
หากสมศรีรรู้ หสั ประตกู จ็ ะตอ้ งสามารถทาได้
– จากน้ันสมชายจะทดสอบแบบเดมิ อีกหลายครั้งเพ่ือความม่นั ใจ หากสมศรไี มร่ รู้ หสั ประตู เธอก็จะไมส่ ามารถทาตามคาส่ังของ
สมชายไดต้ ลอดการทดสอบ
นอกจากนี้ ผมขอยกตัวอยา่ งหน่วยงานทน่ี า ZKP มาใช้ ไดแ้ ก่ ING และ JPMorgan ทีน่ าระบบน้มี าใชส้ าหรบั พสิ จู นง์ าน
ทางดา้ นการเงนิ เชน่ การตรวจสอบบัญชี (Audit) ระหวา่ งหน่วยงาน โดยทยี่ ังรกั ษาความเป็นส่วนตวั ของข้อมลู เอาไว้ดว้ ย
ทกุ ทา่ นคงเหน็ แล้วว่าเทคโนโลยี Blockchain สามารถสรา้ งแรงกระเพือ่ มคร้ังยิ่งใหญ่ใหแ้ ก่วงการ Data พรอ้ มทง้ั เปดิ
โอกาสให้การเผยแพรแ่ ละเขา้ ถงึ ข้อมลู ทรงประสิทธภิ าพและมีความปลอดภยั สูงข้นึ ซึง่ ถือเปน็ แรงขบั เคล่อื นใหก้ ับ
คนทางานดา้ นขอ้ มลู และความสนุกของพวกเราก็คอื มขี อ้ มลู มาให้นาไปใช้มากขนึ้ สามารถนาไปสร้างประโยชน์ให้แก่ทง้ั
องคก์ ร สังคม และประเทศชาติ เรยี กไดว้ า่ เป็นเรือ่ งราวท่นี ่าสนใจและควรคา่ แก่การเรียนรู้
สุดทา้ ยผมมองวา่ น่ีเป็นเร่อื งท่ีน่าติดตามไม่แพ้เรอ่ื งราวของ Crypto Currency วา่ เราชาวไทยจะได้เห็นสิง่ ทน่ี ่าต่ืนเตน้
เหล่าน้ใี นประเทศไทยกนั บ้างหรือไม่
ถาม-ตอบ data แบบบา้ นๆ ภาค 2
จากบทความทแ่ี ล้วทผ่ี มไดร้ วบรวมคาถามทม่ี กั จะถกู ถามหรือขอคาปรกึ ษาบ่อยๆ เกยี่ วกบั การนาข้อมลู (data) และเทคโนโลยี
ปัญญาประดษิ ฐ์ หรือเอไอ (Artificial Intelligence/ AI) ไปใช้ในบริษัทหรือองคก์ รทงั้ ภาครัฐและเอกชน ในบทความนผ้ี มขอ
ยกตัวอยา่ งคาถามเพม่ิ เตมิ ซงึ่ เน้นไปในเร่อื งท่เี ก่ียวข้องกับคณุ สมบตั ทิ ่คี วรมขี องผ้ทู สี่ นใจทางานในดา้ นนี้ ไวใ้ หผ้ ู้อา่ นไดล้ อง
ศกึ ษาทาความเข้าใจกนั ครบั
1. มคี ากล่าวว่า “คนทา data ตอ้ งคิดเปน็ ” แล้วการคดิ เปน็ ตอ้ งมีลกั ษณะอย่างไร?
โดยทว่ั ไปคนเราเมือ่ ตดั สนิ ใจหรอื คิดจะลงมือทาอะไร จะมหี ลักการในการคิดบางอย่างท่เี หมาะสมกบั สถานการณแ์ ละโจทย์ที่
เจอ บางคนพดู คยุ แลกเปลย่ี นความรูก้ บั ผเู้ ชีย่ วชาญและหาข้อมลู เพมิ่ เติมก่อนลงมอื ทา บางคนใช้หลกั คดิ เศรษฐศาสตร์หา
ความคุม้ ค่า หรือบางคนมักจะคิดถึงข้อเสยี เพือ่ รองรบั ความผิดพลาดท่ีอาจเกิดขึ้น ในขณะทบ่ี างคนคดิ วางแผนการเดินทางไว้
ล่วงหน้าเพื่อจะไปให้ถงึ กอ่ นเวลาท่นี ัดหมาย ถ้าเป็นการลงทนุ กจ็ ะคดิ เผ่ือล่วงหนา้ ว่าควรลงทุนเท่าไหร่ อยา่ งไร
ส่วนบางคนก็มีแนวคดิ ตา่ งหรอื กลบั กัน (Inversion) ซ่ึงการคิดแบบนเี้ ป็นการช่วยขยายความคิดของเราท่ดี ีอย่างหนง่ึ
ยกตวั อย่างนกั คณติ ศาสตร์ชาวเยอรมนั Carl Jacobi ท่เี ชือ่ ว่าวิธีทีช่ ่วยให้เขาคดิ ได้อย่างแตกฉาน คือการตง้ั โจทยค์ ณติ ศาสตร์
ในทางตรงขา้ มหรือกลับกนั แทนการคดิ วา่ ควรจะทาอะไรที่จะแกป้ ญั หาทเ่ี จออยู่ใหเ้ ปลย่ี นไป แต่ใหค้ ิดใหมว่ า่ จะทาอย่างไร
เพอ่ื ท่ีจะ “ไมต่ อ้ งทาอะไร” เพอื่ แกป้ ญั หาเหลา่ นนั้ ดงั น้ันรปู แบบวธิ คี ิดเกดิ ขึน้ ไดจ้ ากประสบการณ์ และการเรียนรูท้ ่ีหล่อหลอม
ออกมาเป็นโลกทัศน์ (Worldview) สรปุ คอื คนที่คดิ เป็นจะมหี ลกั การคดิ และรปู แบบวธิ ีคิด (Mental model) ท่ีหลากหลาย
ทาให้สามารถคดิ ไดอ้ ย่างรอบดา้ น ซึ่งการไมม่ หี ลกั การคดิ อาจทาใหเ้ กดิ การตดั สินใจหรอื การแกป้ ญั หาบางอยา่ งท่ฉี าบฉวยไม่
รอบคอบ ผมเคยพดู ถงึ หวั ขอ้ นใ้ี นบทความอน่ื ๆ สามารถอา่ นย้อนหลงั ได้ครบั
2. คนทา data จาเปน็ ตอ้ งเขยี นโปรแกรมเกง่ ไหม ส่งิ เหล่านีข้ นึ้ อยกู่ ับลกั ษณะงานและเครื่องมที ใ่ี ช้ในการทางาน ถ้าทา
Visualization ก็จะมีเคร่ืองมือทีช่ ่วยจัดการ โดยไมจ่ าเป็นตอ้ งเขยี นโปรแกรม เชน่ Tableau, PowerBI และ DataStudio ถ้า
หากตอ้ งการทานาย คาดการณ์ หรือประมวลขอ้ มลู ทเี่ ป็นภาพหรอื ขอ้ ความ ก็มีเคร่อื งมือที่ใชท้ า ML/AI model เบือ้ งตน้ โดย
ไมจ่ าเปน็ ต้องเขียนโปรแกรมด้วยตัวเอง (ผู้อา่ นสามารถศกึ ษาขอ้ มลู เพิม่ เตมิ โดยค้นหาคาว่า AutoML หรอื RapidMiner,
Weka, Orange และ KNIME) แต่ถา้ คนทาข้อมูลมคี วามเช่ียวชาญในการเขยี นโปรแกรมภาษาหน่งึ ไดด้ ี บวกกับมีหลกั การคิด

แบบ algorithm (Computational Thinking) และมีความเขา้ ใจเรอื่ ง Software engineering วา่ จะวางโครงสร้างหรือจดั
ระเบียบของโปรแกรมให้ใชซ้ า้ ใหไ้ ดม้ ากทีส่ ดุ หรือต้องดูแลในภายหลงั ใหน้ ้อยทสี่ ุด ก็จะชว่ ยทาให้งานท่ีซบั ซอ้ นเป็นงานท่ีง่ายข้นึ
เชน่ การนา algorithm มาชว่ ยในการจัดสรรให้โรงงานมีการจดั เรยี งวัตถดุ ิบในการผลิตทเ่ี หมาะสม
3. ถ้าจะทางานด้าน Data Science จาเป็นตอ้ งเรยี นต่อไหม ตอ้ งถามกอ่ นว่าเราขาดทักษะอะไรทจ่ี ะสง่ เสรมิ ใหเ้ ราทางาน
ทางดา้ นนี้ให้ไดด้ หี รือไม่ เพราะคนทที่ างานทางด้าน Data Science มหี ลายระดับ ตงั้ แตช่ ว่ ยเตรียมขอ้ มูล ใช้ ML/AI model
จนถงึ การพัฒนา ML algorithm ซงึ่ หลกั ๆ ควรดวู ่าเรามีความรดู้ า้ นคณติ ศาสตร์ (probability, statistics, linear algebra,
multvariable calculus) Optimization, Programming (Python, R), Software Engineering และ Machine Learning
หรือไม่ นอกจากนีค้ วรพิจารณาวา่ เรามีความร้ทู างด้านการสรา้ ง data pipeline (Data engineering) และ data
manipulation (SQL) ไหม เพราะทักษะเหลา่ นเี้ ป็นสิ่งทม่ี ีประโยชน์ กลา่ วไดว้ ่าเราควรมองหาจดุ ทเี่ ราออ่ นแล้วดวู า่ มีทางเลือก
ท่ีคมุ้ คา่ กบั การลงทุนและเวลาทจี่ ะต้องใช้ไปกับการเรยี นเพิ่มเติมทักษะจดุ นีห้ รอื ไม่ โดยพิจารณาตามหลกั mental model
แบบเศรษฐศาสตร์ ซ่ึงปกตผิ มมักจะแนะนาว่า ถ้าพอมีพืน้ ฐานก็ใหล้ องเรยี นและไปแข่ง Kaggle เพ่ือสร้างประสบการณ์และได้
เรยี นรู้วา่ คนเก่งๆ เค้าสรา้ งโมเดลอย่างไร โดยสามารถอา่ นไดจ้ าก discussion board ซง่ึ ในส่วนของทางเลือกการเรยี นใน
ปัจจบุ นั มหี ลากหลายมาก ไม่ว่าจะเป็น Bootcamp ใชร้ ะยะเวลาประมาณ 6-12 สัปดาห์ มหี ลายประเทศ เช่น สิงคโปรค์ อร์
สเรยี นออนไลน์ เช่น Coursera, EdX, และ Udacity ไปจนถงึ ระดบั ปรญิ ญา ซง่ึ สว่ นตัวผมคดิ ว่าถ้าทางานไปดว้ ย เรยี นไปด้วย
จะคุ้มคา่ กว่าครบั ส่วนคาถามทวี่ ่าจะเรยี นต่อในประเทศหรอื ตา่ งประเทศ ผมคดิ วา่ ถ้าอยากเรยี นตา่ งประเทศเพื่อหา
ประสบการณ์อนั น้กี ็หา้ มยาก แคต่ อ้ งพิจารณาว่าคุม้ คา่ ในการลงทุนหรอื ไม่ แตถ่ ้าจะเรียนตอ่ ในไทยกม็ หี ลักสูตรทดี่ ีหลายแหง่
แต่สดุ ทา้ ยแล้วไมม่ ีอะไรดีเท่ากับการสร้างโอกาสใหต้ วั เองไดป้ ระสบการณใ์ นการลงมือทาจรงิ
4. การท่จี ะสรา้ ง ML/AI model มอี งค์ประกอบอ่ืนๆ ท่ีควรคานงึ อะไรบา้ ง โดยสว่ นมากลูกคา้ มกั จะเข้าใจว่า การทา ML/AI
model แคท่ าสาเร็จกส็ ามารถนาไปใช้งานได้ แตใ่ นความเป็นจรงิ ยงั ต้องมีงาน Data engineering การต่อท่อ data pipeline
เพอื่ ท่จี ะนาข้อมูลจากต้นทางแหลง่ ต่างๆ แปลงใหอ้ ยู่ในรปู แบบทีเ่ หมาะสม แล้วจงึ ทาการปอ้ นให้ model ประมวลผล โดยใน
ข้นั ตอนพัฒนา model กต็ ้องสร้างอยู่ใน development environment ทแ่ี ยกออกจากตอนทีเ่ อาไปใช้จริงในขนั้ ตอนการ
ผลติ (production) เพอ่ื ไม่ให้สงิ่ ทใี่ ช้อย่ไู ด้รบั ผลกระทบกบั ส่ิงทีก่ าลงั พัฒนาหรอื ทดลอง เพราะฉะน้นั การวางระบบเชื่อมตอ่ ทอ่
เชื่อมต่อ environment รวมท้งั การดแู ลหลงั จากท่ี model เรมิ่ ใชง้ านกเ็ ปน็ สิง่ สาคัญ ตอ้ งคานึงถึงการพัฒนา ทดลองและ
ตรวจสอบ ซึ่งในปจั จบุ ันระบบทีก่ า้ วหน้าจะมีการใชก้ ระบวนการอตั โนมตั ิ (automation) เพือ่ ตรวจสอบและดูแลใหร้ ะบบมี
การทางานท่เี สถียร นอกจากน้ี สง่ิ ทีล่ ูกคา้ เข้าใจผดิ คือ มองวา่ โปรเจค็ data เปน็ เหมอื นโปรเจค็ IT ซง่ึ เราต้องทาความเข้าใจ
และปรับเปลยี่ นแกไ้ ขข้อมลู ใหส้ ามารถใช้กบั model ได้ ซ่งึ ใชร้ ะยะเวลาไมแ่ น่นอน ข้นึ อยู่กบั ปจั จยั หลายดา้ น เชน่ ความ
พร้อมของขอ้ มูล ความสามารถของทีมงานของลกู ค้าท่เี ขา้ มาชว่ ยจดั การกับขอ้ มลู และโครงสรา้ งพ้นื ฐาน (infrastructure) ที่
ใช้ ดังนั้นการทางานกบั ลกู ค้าตอ้ งไดร้ บั ความร่วมมือท่ีดี และมีความพรอ้ มทจี่ ะทดลองรว่ มกันจงึ จะประสบความสาเร็จ
คาถามข้างต้นน้เี ปน็ เพยี งบางสว่ นเทา่ นน้ั ยงั มีคาถามอยอู่ ีกหลายคาถามทผ่ี มอยากตอบ หากท่านผูอ้ ่านมีคาถามเพ่ิมเตมิ
สามารถเข้าไปถามได้ท่เี ฟซบ๊กุ เพจ “ถาม-ตอบ data แบบบ้านๆ” นะ

ASEAN Roundup ผู้นาอาเซยี นรบั รองถอ้ ยแถลง 3 ฉบับ ตกลงในหลกั การตมิ อร-์ เลสเต สมาชกิ รายที่ 11
13 พฤศจกิ ายน 2022

ASEAN Roundup ประจาวันท่ี 7-12 พฤศจกิ ายน 2565
ผูน้ าอาเซียนรับรองถ้อยแถลง 3 ฉบับ ตกลงในหลกั การตมิ อร-์ เลสเต สมาชกิ รายที่ 11
สหรัฐฯ ถอดเวียดนามออกจากประเทศบดิ เบอื นคา่ เงิน
เวียดนามเลง็ สรา้ งรถไฟความเรว็ สงู ทว่ั ประเทศ
เวยี ดนาม-กมั พชู ากระชบั ความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกจิ
เมยี นมาคดิ ภาษนี าเข้ารถยนตไ์ ฟฟ้าเป็นศูนย์
กัมพูชาจ้างจีนสร้างทางดว่ นสายท่สี อง

ผูน้ าอาเซยี นรบั รองถอ้ ยแถลง 3 ฉบบั ตกลงในหลกั การตมิ อร-์ เลสเต สมาชิกรายที่ 11
วันท่ี 11 พฤศจกิ ายน 2565 ท่ีกรงุ พนมเปญ ผนู้ าสมาคมประชาชาตแิ หง่ เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ (อาเซยี น) ได้รับรองถอ้ ย
แถลงหลายฉบับในการประชุมสุดยอดท่ีกรงุ พนมเปญ เมืองหลวงของกมั พูชา โดยมีเป้าหมายเพอื่ สง่ เสริมความรว่ มมอื เพม่ิ เตมิ

เพอ่ื การฟ้ืนฟหู ลงั การแพรร่ ะบาด และเพือ่ จดั การกบั ความท้าทายทสี่ าคญั รว่ มกนั การประชุมคร้งั นม้ี ผี นู้ าประเทศสมาชิก
อาเซียน 9 ประเทศเขา้ รว่ ม ส่วนเมียนมาไมเ่ ขา้ รว่ ม ที่ประชุมสุดยอดครั้งที่ 40 ซึ่งมสี มเดจ็ อคั รมหาเสนาบดเี ดโช ฮุน เซน
นายกรฐั มนตรกี มั พูชาเปน็ ประธาน ได้รับรอง ถ้อยแถลง 3 ฉบับ ไดแ้ ก่ ถอ้ ยแถลงผู้นาอาเซียนในโอกาสครบรอบ 55 ปอี าเซยี น
ถอ้ ยแถลงวิสัยทศั นผ์ นู้ าอาเซยี นวา่ ดว้ ย ASEAN A.C.T: Addressing Challenges Together และถ้อยแถลงผู้นาอาเซยี นวา่
ด้วยวาระความเช่อื มโยงของอาเซียนหลงั ปี 2025

ครบรอบ 55 ปีอาเซยี น
ถอ้ ยแถลง ระบุว่า ผู้นาอาเซยี นเหน็ พอ้ งท่ีจะเสริมสรา้ งหลกั การของอาเซยี นตามท่บี ัญญตั ไิ วใ้ นกฎบตั รอาเซียน เพื่อสนับสนนุ
การพัฒนาอยา่ งตอ่ เนื่องของกลุ่มใหเ้ ปน็ ภูมภิ าคท่ีสงบสุข มนั่ คง มีความสามารถในการปรบั ตัว และแข่งขันทางเศรษฐกจิ ได้
ผนู้ าอาเซยี นเห็นพอ้ งทีจ่ ะ “เสรมิ สร้างความเป็นศนู ยก์ ลางของอาเซยี นในกลไกท่ีนาโดยอาเซยี นในการส่งเสรมิ สันตภิ าพ ความ
มน่ั คง และความเจรญิ รุ่งเรอื ง และสร้างสถาปตั ยกรรมระดับภมู ภิ าคทเ่ี ปดิ กวา้ ง โปร่งใส ครอบคลมุ และยดึ กฎหมายเปน็
พนื้ ฐาน” ถอ้ ยแถลงระบุวา่ บรรดาผ้นู าใหค้ ามัน่ ว่าจะสง่ เสรมิ การเตบิ โตทางเศรษฐกิจของภมู ภิ าค โดยผลกั ดนั ใหม้ กี าร
ดาเนนิ การตามขอ้ ตกลงเขตการคา้ เสรขี องอาเซยี น (FTA) อย่างมปี ระสิทธิภาพ และข้อตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกจิ ท่คี รอบคลมุ
(CEPs) กบั พันธมติ รภายนอก เช่น ความตกลงหุ้นสว่ นทางเศรษฐกจิ ระดับภมู ิภาค (RCEP) นอกจากน้ียังเหน็ พอ้ งทจี่ ะ “เรง่
พยายามจดั การผลกระทบทางเศรษฐกิจและสงั คมที่เกดิ จากโควิด-19 อยา่ งครอบคลมุ และเพือ่ พน้ื ฟูจากวกิ ฤตดิ ้วยเป้าหมายท่ี
จะรกั ษาการเตบิ โตอย่างทว่ั ถึง ความสามารถในการปรบั ตัว แข่งขนั ไดแ้ ละยั่งยนื ” ถ้อยแถลงระบุ ผู้นาอาเซยี นยงั เรยี กรอ้ งให้
ภาคภี ายนอกท้ังหมดของอาเซียนแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความพยายามรว่ มกันเพอ่ื บรรลสุ ันตภิ าพ ความมน่ั คง เสถียรภาพ และความ
เจรญิ รงุ่ เรอื งในภมู ภิ าคผา่ นกลไกและกรอบการทางานท่ีนาโดยอาเซยี น
ASEAN A.C.T. รบั มอื ความท้าทายไปด้วยกัน
บรรดาผูน้ าเห็นพอ้ งที่จะสง่ เสริมความรว่ มมือและความเป็นหนุ้ สว่ นภายในอาเซียนและกับพันธมติ รภายนอกผา่ นกลไกทน่ี าโดย
อาเซยี น โดยยึดหลกั การของการปรึกษาหารอื และมตเิ อกฉันท์ ความเสมอภาค ความเป็นหุน้ สว่ น และความเคารพซึง่ กันและ
กนั ถ้อยแถลงระบุ นอกจากน้ยี ังเห็นพอ้ งทจ่ี ะ “เสรมิ สรา้ งความเปน็ ศูนยก์ ลางของอาเซยี นในสถาปตั ยกรรมระดบั ภูมภิ าค มุ่งสู่
สนั ตภิ าพ เสถยี รภาพ ความปรองดอง และความเจรญิ รงุ่ เรือง” ผู้นาอาเซยี นยังให้คาม่นั ว่าจะ “คงอาเซยี นในฐานะภมู ภิ าคแห่ง
สนั ติภาพ เสรภี าพ เสถยี รภาพและความมัน่ คง ทซี่ ่งึ ความแตกต่างและขอ้ พพิ าทไดร้ บั การแกไ้ ขโดยสนั ติวธิ ี และปราศจากอาวุธ
นิวเคลียร์และอาวุธทาลายล้างสูงอื่น ๆ” ผนู้ าเห็นพอ้ งกนั ทจี่ ะเร่งการเปลยี่ นผา่ นของอาเซยี นไปสู่ภูมภิ าคเศรษฐกิจท่ีมกี ารบรู
ณาการสงู แข่งขนั ได้ ย่ังยนื ทั่วถึง และมง่ั คงั่ โดยสง่ เสรมิ นวตั กรรมและความคดิ สร้างสรรค์ นอกจากน้ี ยังเหน็ พอ้ งทจี่ ะ
สง่ เสรมิ การมสี ่วนรว่ มของอาเซยี นในเศรษฐกิจโลก โดยใช้ขอ้ ตกลงการคา้ เสรที ีม่ อี ยขู่ องอาเซยี นอย่างเต็มที่ และเสรมิ สร้าง
ความมั่นคงทางอาหาร โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในยคุ หลงั การระบาดของโควดิ -19 ถ้อยแถลงระบุ

ความเชอ่ื มโยงหลังปี 2025
ผนู้ าเห็นพ้องทจี่ ะผลักดนั “วาระความเช่อื มโยงของอาเซียนหลังปี 2025” โดยกลา่ วว่า สง่ิ สาคญั คอื ตอ้ งส่งเสรมิ แนวทางทม่ี ี
ประชาชนเป็นศูนยก์ ลาง การพัฒนาท่ยี งั่ ยนื การบรู ณาการระดบั ภมู ภิ าค และนโยบายทมี่ ่งุ เนน้ อนาคต รวมถงึ โครงสรา้ ง
พื้นฐานทีท่ นทานตอ่ สภาพภูมิอากาศและยงั่ ยืน เมอื งอจั ฉริยะ การเปล่ยี นโฉมทางดจิ ทิ ลั การเชอ่ื มโยงหว่ งโซ่อปุ ทาน และการ
เตบิ โตทเ่ี ป็นมติ รตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม ผนู้ า “ต้งั ใจแน่วแนท่ ี่จะสง่ เสรมิ ประชาคมอาเซยี นทเ่ี อ้อื อาทรและแบง่ ปนั สงบสขุ ม่ังคั่ง และ
เชื่อมโยงอยา่ งไรร้ อยต่อ เพื่อใหเ้ ปน็ อาเซยี นทพี่ ร้อมสาหรบั อนาคต” ถ้อยแถลงระบุ ผู้นา “เหน็ พ้องวา่ การพัฒนาวาระความ
เชอื่ มโยงของอาเซียนหลงั ปี 2025 จะต้องดาเนนิ การด้วยแนวทางของประชาคมโดยรวม ในลกั ษณะทค่ี รอบคลมุ ปฏิบตั ไิ ด้ มี
ส่วนร่วม ท่ัวถึง ตอบสนอง สอดคลอ้ งกนั และประสานกนั เพอื่ ประสานและส่งเสริมความพยายามในการเช่อื มตอ่ ข้ามภาค
สว่ น” ถ้อยแถลงระบุ ผู้นายงั เห็นพอ้ งท่จี ะเสริมสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มกบั ภาคเอกชน องคก์ รระหวา่ งประเทศและระดบั ภมู ภิ าค ผู้
มสี ่วนได้ส่วนเสยี ที่เกยี่ วขอ้ ง และพนั ธมติ รภายนอก เพือ่ สนับสนุนการดาเนนิ การตามแผนแมบ่ ทเก่ียวกับความเชื่อมโยงของ
อาเซยี น (Master Plan on ASEAN Connectivity-MPAC) ปี 2025 และการพฒั นาวาระความเชือ่ มโยงของอาเซยี นหลังปี
2025 ทัง้ นีไ้ ด้มอบหมายใหค้ ณะมนตรีประสานงานอาเซียน(ASEAN Coordinating Council) ดูแลการพฒั นาวาระความ
เชื่อมโยงของอาเซยี นหลงั ปี 2025 ซ่งึ จะสอดคล้องกบั การพฒั นาวสิ ยั ทศั น์หลังปี 2025 ของประชาคมอาเซยี น ถอ้ ยแถลงระบุ
อาเซยี นกอ่ ต้ังในปี 2510 สมาชกิ ประกอบดว้ ย บรูไน กมั พูชา อินโดนเี ซยี ลาว มาเลเซีย เมียนมา ฟิลปิ ปนิ ส์ สงิ คโปร์ ไทย และ
เวยี ดนาม

ตกลงในหลกั การรับตมิ อร์-เลสเต เปน็ สมาชกิ รายท่ี 11

ที่ประชุมสดุ ยอดอาเซยี นครัง้ ท่ี 40 และการประชมุ สดุ ยอดอาเซยี นครงั้ ท่ี 41 ยัง ตกลงในหลกั การทีจ่ ะรบั ตมิ อร-์ เลสเตเป็น
สมาชกิ ลาดับที่ 11 ของอาเซยี น โดยในข้นั แรกไดใ้ หส้ ถานะผสู้ งั เกตการณแ์ กต่ มิ อร-์ เลสเตและอนุญาตใหต้ มิ อร-์ เลสเตเข้ารว่ ม
การประชุมอาเซียนท้ังหมด รวมทง้ั ในการประชุมสดุ ยอด ขั้นตอนตอ่ ไปติมอร-์ เลสเตตอ้ งจดั ทาแผนงานเพอื่ เขา้ เปน็ สมาชกิ เตม็
รูปแบบ และมอบหมายใหค้ ณะมนตรีประสานงานอาเซียน (ACC) จัดทาแผนงานและรายงานต่อการประชุมสดุ ยอดอาเซยี น
ครง้ั ที่ 42 และให้ประเทศสมาชิกอาเซยี นและพนั ธมิตรภายนอกท้ังหมดสนบั สนนุ ตมิ อร์-เลสเตอย่างเตม็ ท่ี เพื่อบรรลเุ ปา้ หมาย
ดว้ ยการสง่ เสริมขดี ความสามารถ และการสนับสนุนทจ่ี าเป็นและเกยี่ วข้องอ่นื ๆในการเป็นสมาชิกเตม็ รปู แบบในอาเซยี น

เรยี กร้องผนู้ าเมียนมาเดนิ หนา้ แผนสนั ติภาพ
ผนู้ าเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ได้ยงั ไดเ้ รยี กรอ้ งให้ผู้นาทหารของเมียนมาดาเนินการตามแผนสันตภิ าพ โดยมงุ่ เป้าไปทก่ี ารหยุด
การนองเลือดในประเทศท่มี ผี ู้เสยี ชวี ิตหลายพันคนนับตั้งแต่กองทัพเขา้ ยึดอานาจในการรฐั ประหารเมอ่ื ปีท่ีแลว้
วิกฤตการณเ์ มียนมาเป็นประเดน็ สาคัญในการประชมุ วนั แรกของการประชุมสดุ ยอดอาเซียนครัง้ นี้
ผู้นาอาเซียนไม่ให้ ผู้นาทหารของเมยี นมา พลเอกอาวโุ ส มนิ อ่อง หลา่ ย เข้ารว่ มการประชมุ อนั เนื่องจากความขดั แย้งทที่ วี
ความรนุ แรงขนึ้ ในประเทศ และจากความไม่พอใจทผ่ี ้นู าทหารเมยี นมาไมส่ นใจที่จะดาเนินการตามแผนสันตภิ าพ
บรรดาผูน้ าของกลมุ่ อาเซยี นได้เหน็ ชอบแผนสันติภาพ “ฉันทามติ 5 ขอ้ ” กบั ผู้นาเมียนมาเมื่อเดอื นเมษายนปีทแ่ี ลว้ แตจ่ นถงึ
ตอนนี้ กองทัพกย็ งั เพิกเฉยต่อแผนดังกลา่ ว ประธานาธิบดโี จโก วิโดโด อนิ โดนเี ซีย กล่าวกับผสู้ ่ือข่าวนอกรอบการประชมุ เม่ือ
วนั ศกุ ร์ ว่า เขาไดเ้ สนอให้ขยายการห้ามผูแ้ ทนทางการเมืองเมยี นมาในกิจกรรมอาเซียน ซึ่งเป็นสิง่ ท่ีกลมุ่ สทิ ธมิ นุษยชนเรยี กร้อง
“อินโดนเี ซยี ผิดหวังอยา่ งย่งิ กบั สถานการณใ์ นเมียนมาทเ่ี ลวรา้ ยลง” วิโดโด กล่าว เม่อื วันศกุ ร์ ผู้นาประเทศเอเชียตะวนั ออก
เฉยี งใต้ออก “คาเตือน” ใหเ้ มยี นมาดาเนินการตามแผนสนั ตภิ าพทว่ี ดั ผลได้ มิฉะนน้ั เสย่ี งท่ีจะถกู กันออกจากการประชมุ ของ
กลุม่ ในขณะท่คี วามวุ่นวายทางสังคมและการเมืองทวีความรุนแรงขนึ้ ในประเทศ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉยี ง
ใต้ (อาเซยี น) ระบวุ า่ หลังจาก “มีความคืบหนา้ เลก็ นอ้ ย” เกี่ยวกบั ฉนั ทามติสนั ติภาพ 5 ขอ้ ทต่ี กลงร่วมกันเมอื่ ปีท่ีแล้ว ผู้นาได้
สรุปว่าจาเป็นตอ้ งมี “ตวั ชวี้ ดั ทเี่ ปน็ รูปธรรม ปฏิบัตไิ ด้ และวดั ผลไดโ้ ดยมีกรอบระยะเวลาท่ีชดั เจน” นอกจากนี้ อาเซียนจะ
ทบทวนการเขา้ ร่วมของเมยี นมาในการประชมุ ทกุ ระดบั หลงั จากหา้ มผู้นาทหารของเมยี นมาจากการประชมุ ระดับสูงต้งั แตป่ ที ี่
แล้ว ท่นี ง่ั ของเมียนมาจึงว่างในการประชมุ สุดยอดท่กี รุงพนมเปญเมอื่ วนั ศุกร์ เร็ตโน มาร์ซดู ี รฐั มนตรตี ่างประเทศอินโดนีเซยี
ซึง่ ในสัปดาห์ทแี่ ล้วชวี้ ่า ตอ้ งตาหนริ ฐั บาลทหารแต่เพยี งผ้เู ดยี วสาหรบั กระบวนการสนั ตภิ าพที่ลม้ เหลว ได้กล่าวว่าถอ้ ยแถลง
ของวนั ศุกร์นนั้ เป็น “สารทมี่ พี ลงั หรอื เรียกได้วา่ เปน็ คาเตอื นถงึ รัฐบาลทหาร” กระทรวงตา่ งประเทศของรฐั บาลทหารออกมา
คัดค้านแถลงการณข์ องอาเซยี น โดยกล่าวว่าจะไมป่ ฏิบตั ิตามคาแนะนาของอาเซยี นทกี่ อ่ นหน้าน้ีไดว้ จิ ารณ์วา่ ไมม่ คี วาม
คบื หน้าในการควบคุมการแพรร่ ะบาดและขดั ขวางการเคลือ่ นไหวตอ่ ตา้ นด้วยอาวุธ ความวนุ่ วายทางการเมือง สงั คม และ
เศรษฐกิจได้เกาะกุมเมียนมา นบั ตงั้ แต่กองทัพโคน่ ลม้ รัฐบาลท่ีมาจากการเลือกต้ังซ่งึ นาโดยออง ซาน ซจู เี มื่อปที ี่แล้ว และเปดิ
ฉากการปราบปรามอยา่ งรนุ แรงตอ่ ผูเ้ หน็ ต่าง ซึ่งเปน็ การขจดั การขับเคลอื่ นไปสปู่ ระชาธปิ ไตย อาเซียนซึ่งมปี ระเพณไี ม่
แทรกแซงกิจการอธิปไตยของสมาชกิ มานาน ไม่ได้ใชก้ ารคว่าบาตรแบบตะวนั ตกตอ่ เมียนมาหรอื ขับไลอ่ อกจากกลุม่ ท่ีมสี ามชิก
10 ประเทศ แมจ้ ะประณามการกระทาท่รี ุนแรงมากขน้ึ ของคณะรฐั ประหาร เช่น การประหารชวี ติ นกั เคล่ือนไหวเพ่ือ
ประชาธปิ ไตย และการโจมตีทางอากาศท่ีครา่ ชีวติ ผคู้ นไปอย่างน้อย 50 คน นักเคลือ่ นไหวบางคนกล่าววา่ การตดั สินใจของ
อาเซียนเมอื่ วนั ศกุ ร์ยงั ไมเ่ พียงพอ “ความจรงิ ก็คอื อาเซียนยังไม่ไดร้ ะงบั การมสี ว่ นร่วมของรัฐบาลทหารผ่านระบบอาเซยี น
ทั้งหมด แสดงถึงการขาดความเปน็ ผู้นาอยา่ งต่อเนอื่ งในประเด็นนี้ และถทอเป็นการอนญุ าตโดยปรยิ ายใหร้ ัฐบาลทหารในการ
กอ่ อาชญากรรมต่อไป” แพทรกิ พงศธร จากFortify Rightsกล่าว
สหรฐั ฯ ถอดเวยี ดนามออกจากประเทศบิดเบอื นค่าเงิน
เวยี ดนามถกู ถอดออกจากการตรวจสอบและ รายช่อื ประเทศที่มีการบดิ เบอื นคา่ เงิน(monetary manipulation monitoring
list)ของสหรฐั ฯ จากการรายงานของธนาคารกลางเวียดนาม (State Bank of Vietnam) ธนาคารกลางกล่าววา่ การตดั สนิ ใจ
ดงั กลา่ วไดป้ ระกาศในรายงานของกระทรวงการคลงั สหรัฐฯ ตอ่ สภาคองเกรส ว่าด้วยนโยบายเศรษฐกจิ มหภาคและการ
แลกเปลย่ี นเงนิ ตราต่างประเทศของประเทศคู่คา้ รายใหญ่ของสหรัฐฯ ซึ่งเผยแพรเ่ มื่อวนั ที่ 10 พฤศจิกายน กอ่ นหนา้ นี้
เวยี ดนามไดผ้ ่านเกณฑท์ ั้งสามเกณฑ์ตามทีร่ ะบุไวใ้ นรายงานเดือนธันวาคม 2564 เมษายน 2564 และธันวาคม 2563 ซึ่ง
กระทรวงการคลงั สหรัฐฯ ได้ทาการวเิ คราะหเ์ วยี ดนามอย่างละเอียด กระทรวงการคลังสหรฐั ยังคงมีสว่ นร่วมอยา่ งใกลช้ ดิ กบั
SBV เพื่อติดตามความคืบหน้าของเวียดนามในการจดั การกบั ขอ้ กงั วล และยงั คงพอใจกบั ความคืบหนา้ ของเวียดนาม

จากข้อมูลของ SBV ต้ังแตต่ น้ ปี 2564 กระทรวงการคลังสหรัฐฯ ไดด้ าเนนิ การยกระดับการตดิ ต่อระดบั ทวภิ าคกี บั เวียดนาม
และบรรลุข้อตกลงทัว่ ไปในเดือนกรกฎาคม 2564 เพื่อแก้ไขข้อกังวลของฝ่ายสหรัฐฯ เกี่ยวกับประเดน็ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั สกลุ เงนิ
และอตั ราแลกเปล่ียน ในรายงานนี้ กระทรวงการคลงั สหรัฐฯยังคงรบั รู้ความกา้ วหน้าของเวยี ดนาม ในคณะผูแ้ ทนของ
กระทรวงการต่างประเทศเยอื นเวยี ดนามเม่อื วนั ที่ 3 ตุลาคม 2565 ฝ่ายสหรฐั ฯ ชืน่ ชมการบรหิ ารนโยบายการเงินและอัตรา
แลกเปลยี่ นของ SBV ภายใตค้ วามยากลาบากและความทา้ ทายมากมายในระบบเศรษฐกจิ โลก ในรายงาน กระทรวงการคลงั
สหรัฐฯ ระบุคคู่ า้ ทบี่ ิดเบอื นค่าเงิน โดยพจิ ารณาจากสญั ญาณของการเกินดลุ การคา้ ทวภิ าคที ม่ี ีนยั สาคญั กบั สหรฐั ฯ การเกนิ ดลุ
บญั ชเี ดนิ สะพัดท่ีมีนัยสาคญั และมีสว่ นรว่ มในการแทรกแซงฝา่ ยเดยี วอยา่ งต่อเนือ่ งในตลาดแลกเปลยี่ นเงนิ ตราต่างประเทศ
เวียดนามเลง็ สร้างรถไฟความเร็วสูงท่วั ประเทศ
กระทรวงการวางแผนและการลงทุนและการขนสง่ จะศึกษาความเป็นไปไดใ้ น การสรา้ งรถไฟความเรว็ สูงทั่วประเทศเวยี ดนาม
เพอื่ ขนสง่ ท้งั ผโู้ ดยสารและสินคา้ กระทรวงวางแผนกลา่ ววา่ รถไฟรางค่ซู งึ่ ออกแบบให้มีความเร็ว 250 กิโลเมตรต่อชั่วโมงและมี
ความเรว็ ท่ที าไดจ้ ริง 180-225 กโิ ลเมตรต่อช่วั โมง มีความจาเปน็ เนอื่ งจากรถไฟบรรทกุ ผโู้ ดยสารได้เพยี ง 6% และสนิ คา้
1.4% ในเส้นทางสายเหนอื -ใต้ เมอื่ สรา้ งเสร็จแล้วจะเปน็ ตวั หลักในการขนสง่ ที่สามารถบรรทกุ สนิ คา้ ปรมิ าณมาก เชื่อม
ศูนยก์ ลางเศรษฐกิจสาคญั ๆ และกระตุ้นการเติบโต กระทรวงฯเสนอใหส้ ร้างทางรถไฟภายใตค้ วามร่วมมือระหวา่ งภาครฐั และ
เอกชน และใช้เงินทุนบางส่วนจากการประมูลทดี่ ินใกลส้ ถานี 50 แหง่ ตลอดเส้นทาง กลุ่มท่ปี รกึ ษาทีป่ ระกอบดว้ ยUniversity
of Transport and Communications Consultancy and Construction, Evo mc ของเยอรมน,ี Ove Arup & Partners
Hong Kong และ Hung Phu Trading และ Construction Consultant แนะนาใหเ้ ลอื กระดบั ความเรว็ ที่ 250 กโิ ลเมตรตอ่
ชวั่ โมงมากกวา่ 350 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง ซงึ่ สามารถขนส่งผโู้ ดยสารไดเ้ ท่าน้นั แมต้ น้ ทนุ การกอ่ สร้างจะสูงขึน้ แตก่ ม็ ีโอกาสสูงท่ี
จะไดเ้ งนิ ลงทุนคนื จากการขนส่งสนิ คา้ โดยมลู ค่าลงทุนจะอยู่ที่ 62.7-64.8 พันล้านดอลลาร์และ 58.7 พันลา้ นดอลลาร์
ตามลาดบั กระทรวงฯได้ศึกษาการสรา้ งรถไฟท่วั ประเทศตั้งแต่ปี 2019 เนอื่ งจากมีการใชถ้ นนและสนามบินเพ่ือขนสง่ สนิ ค้า
มากเกนิ ไป
เวยี ดนาม-กมั พชู ากระชับความสมั พันธ์ทางเศรษฐกิจ
เวยี ดนามและกมั พชู าตกลงทีจ่ ะกระชับความสัมพนั ธร์ ะหว่างสองประเทศ โดยเฉพาะในด้านโครงสรา้ งพ้ืนฐาน สถาบนั และ
นโยบาย เมอื่ วันพธุ (9 พ.ย.) ทงั้ สองประเทศออกแถลงการณร์ ่วมภายหลงั การเยือนกัมพูชาอย่างเปน็ ทางการของนายกรฐั มนตรี
ฝา่ ม มิงห์ จ๋ิงห์ ของเวยี ดนามเปน็ เวลา 2 วนั และเปน็ การเยือนกัมพชู าอย่างเปน็ ทางการครัง้ แรกของนายกรฐั มนตรี ฝ่าม มิงห์
จิ๋งห์ หลงั จากเขา้ รับตาแหน่ง นอกจากนี้ยงั ตรงกับวนั ครบรอบ 55 ปีของความสัมพันธท์ างการฑตู ของทั้งสองประเทศ
ในระหวา่ งการหารอื นายกรฐั มนตรฝี า่ ม มิงห์ จิ๋งห์ และสมเด็จ ฮุน เซน นายกรฐั มนตรีกมั พูชายนิ ดีกบั ความสาเรจ็ อันยิง่ ใหญ่
ของทงั้ สองฝา่ ยในดา้ นการพัฒนาเศรษฐกจิ ตลอดจนในการป้องกนั และควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโควิด-19
ผู้นาสองประเทศเห็นพ้องท่จี ะส่งเสรมิ ความสมั พนั ธ์ทวิภาคตี ่อไปภายใต้คาขวัญที่ว่า ‘เพอื่ นบ้านทดี่ ี มิตรภาพดง้ั เดมิ ความ
รว่ มมอื ทค่ี รอบคลมุ และความยัง่ ยนื ในระยะยาว’‘good neighborliness, traditional friendship, comprehensive
cooperation and long-term sustainability’นอกจากน้ียงั ช่ืนชมความสาเรจ็ ของการจดั กิจกรรมทม่ี คี วามหมายอย่างมาก
ในช่วงปีแหง่ มิตรภาพกมั พชู า-เวยี ดนาม ในปี 2565 ทง้ั สองฝา่ ยมงุ่ มน่ั ท่ีจะเสรมิ สร้างความรว่ มมอื ทางเศรษฐกิจ สนับสนุนซึง่
กนั และกันในการสรา้ งเศรษฐกจิ ทเ่ี ป็นอิสระและพ่งึ พาตนเอง ในขณะเดียวกนั กต็ อ้ งให้มีการบูรณาการระหว่างประเทศในวง
กวา้ งและมีประสิทธิภาพ โดยตอ้ งสง่ เสรมิ ความเชอื่ มโยงระหวา่ งสองประเทศในด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน สถาบนั และนโยบาย
ซึ่งรวมถงึ การสง่ เสรมิ ให้เสร็จสน้ิ ก่อนกาหนดของแผนแมบ่ ทเพ่ือเช่ือมโยงเศรษฐกจิ เวยี ดนาม – กมั พูชาภายในปี 2030 แถลง
รว่ มเน้นยา้ ทงั้ สองฝ่ายแสดงความมุ่งม่ันทีจ่ ะสง่ เสรมิ และอานวยความสะดวกดา้ นการค้าทวิภาคตี อ่ ไป โดยเฉพาะอย่างยง่ิ
การคา้ ชายแดน ผา่ นการดาเนนิ การตามข้อตกลงที่ลงนามใหม่ว่าด้วยการค้าชายแดน และบนั ทกึ ความเข้าใจว่าด้วยการพฒั นา
และเชือ่ มโยงโครงสร้างพ้ืนฐานการค้าชายแดนอย่างมีประสิทธิภาพ ในดา้ นความร่วมมอื ด้านการปอ้ งกนั และความม่นั คง ทงั้
สองฝา่ ยเหน็ พ้องท่ีจะเสรมิ สร้างความร่วมมอื ในหลักการที่จะไมย่ อมให้กองกาลังทเ่ี ป็นศตั รใู ช้อาณาเขตของทงั้ สองประเทศเปน็
ภยั ต่อความมั่นคงและผลประโยชน์ของแตล่ ะประเทศ โดยเนน้ ย้าถึงความสาคญั ของความรว่ มมือในการค้มุ ครองทางกงสลุ ใน
การจัดการกบั อาชญากรรมขา้ มพรมแดน เชน่ การคา้ มนษุ ย์และยาเสพตดิ ตลอดจนการปกปอ้ งความมัน่ คงทางไซเบอร์ ท้งั
สองฝา่ ยยังตกลงท่จี ะสง่ เสรมิ และปรับปรุงประสิทธิภาพของความรว่ มมือในด้านอนื่ ๆ ทส่ี าคญั เช่น กฎหมายและตลุ าการ
แรงงานและสังคม วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร พลงั งานทดแทน เกษตรกรรมอจั ฉรยิ ะ การศกึ ษา
และการฝึกอบรม การดูแลสุขภาพ วัฒนธรรม ทอ่ งเทย่ี ว กีฬา และการคมนาคมขนสง่ เป็นตน้ ทั้งสองประเทศใหค้ วามยินยอม

ท่ีจะสง่ เสริมความร่วมมือและการประสานงานอยา่ งใกล้ชดิ และมปี ระสทิ ธภิ าพภายในกรอบพหภุ าคี เช่น สหประชาชาตแิ ละ
อาเซียนเพอ่ื จัดการกับความท้าทายระดับโลกและระดบั ภมู ภิ าค
เมียนมาคดิ ภาษีนาเขา้ รถยนตไ์ ฟฟา้ เปน็ ศูนย์
กระทรวงการวางแผนและการคลงั ประกาศวา่ รถยนตไ์ ฟฟ้า (EVs) จะมอี ตั ราภาษีศลุ กากรเป็นศูนย์
เพื่อเพม่ิ จานวนผู้ใช้ EV และยกระดับธุรกิจทเี่ ก่ยี วข้อง อตั ราภาษีของรถยนตไ์ ฟฟ้าแบตเตอร่ี (BEV) ท่ีนาเข้าภายใต้
Completely Built Up (CBU หรอื รถยนตท์ ผ่ี ลติ ต่างประเทศ และนาเข้ามาทัง้ คัน), Completely Knocked Down (CKD
หรือรถยนต์ทผี่ ลติ ในประเทศ ไมว่ า่ อะไหล่ท่ีนามาประกอบจะเปน็ อะไหล่นาเข้าหรอื อะไหลท่ ่ผี ลติ ในประเทศ) และ Semi-
Knocked Down (SKD หรือ บางส่วนมีการประกอบมาจากตา่ งประเทศแลว้ แลว้ นาเขา้ มาประกอบใหเ้ ต็มคันในประเทศ ) ใน
ภาษศี ุลกากรของเมียนมา ปี 2565 ลดลงเหลือ 0% จากการพจิ ารณาของรฐั บาล โดยประเภทของ BEV ไดแ้ ก่ รถลากสาหรับ
รถกงึ่ พ่วง รถประจาทางหรอื รถตสู้ าหรบั ขนสง่ คนต้งั แตส่ ิบคนขนึ้ ไป รวมทง้ั ผ้ขู ับขี่ รถบรรทกุ ยานยนต์สาหรบั ใชส้ ่วนตวั
รถยนตส์ ามลอ้ สาหรับขนสง่ บคุ คล ยานพาหนะสามลอ้ สาหรบั การขนส่งสนิ คา้ รถจกั รยานยนตไ์ ฟฟา้ รถจักรยานไฟฟ้า
รถพยาบาล รถตู้เรือนจา และรถบรรทุก ตามประกาศคาสง่ั นี้ การนาเขา้ ชิน้ สว่ นอะไหล่ (เชน่ อปุ กรณส์ ถานีชารจ์ และอุปกรณ์)
โดยคาแนะนาของกระทรวงการไฟฟา้ และชนิ้ ส่วนอะไหล่ ตามทเ่ี สนอโดยกรมอุตสาหกรรม สามารถทาไดใ้ นระหว่างวนั ท่ี 2
พฤศจิกายน 2022 ถงึ 31 มนี าคม 2023 ปจั จุบัน รถยนต์ไฟฟ้าของจนี กาลังเตรียมเขา้ สูต่ ลาดรถยนต์ในเมยี นมา เมื่อวนั ท่ี 10
ตลุ าคม Hozon Auto Company ไดล้ งนามในขอ้ ตกลงความร่วมมือเชิงกลยทุ ธก์ บั Grand Sirius Limited (GSE) เพือ่ ทา
การตลาดรถยนตไ์ ฟฟา้ ตามข้อตกลง Hozon Auto จะนาแบรนด์ Neta U และ Neta V เข้าสู่ตลาดรถยนตข์ องเมยี นมาด้วย
มาตรฐานสากลสาหรับรถยนตไ์ ฟฟ้า Hozon Auto ไดล้ งทนุ ในอิสราเอล ลาว และเนปาล ในขณะเดยี วกัน Dongfeng Motor
Myanmar วางแผนทีจ่ ะนาเข้ารถยนต์ไฟฟา้ ยหี่ อ้ BYD ทผ่ี ลิตในประเทศจนี ในช่วงปลายปี 2565 โดยได้รบั อนญุ าตใหน้ าเข้า
รถยนต์ไฟฟ้าย่ีห้อ BYD แล้ว โดยมแี ผนจะนาเข้าภายในสิ้นปนี ้ี และคาดวา่ จะเริม่ จาหนา่ ยไดใ้ นชว่ งต้นปี 2566 กระทรวง
พลงั งานไฟฟ้าออกแถลงการณเ์ มือ่ วันท่ี 31 สงิ หาคม วา่ จะมีการกอ่ สร้างสถานีชารจ์ ไฟฟ้า 5 แหง่ บนทางด่วนย่างก้งุ -
มณั ฑะเลย์เปน็ โครงการนารอ่ ง แต่ละสถานีชารจ์ สามารถชาร์จรถEVs ได้ 50 คนั และจะดาเนินการใหส้ ถานชี ารจ์ ชาร์จไฟฟา้
บรกิ ารไดส้ งู สดุ 250 คัน กระทรวงฯระบุ นายสนุ่ จนั ทอล รฐั มนตรกี ระทรวงโยธาธิการและการขนส่ง เปิดเผยวา่ โครงการทาง
ด่วนแห่งที่ 2 ของกัมพชู า ซง่ึ จะว่งิ จากกรุงพนมเปญไปยังเมืองบาเวตในจงั หวัดสวายเรียงทีช่ ายแดนตดิ กับเวยี ดนาม มีมลู คา่
ประมาณกว่า 1.6 พนั ล้านดอลลาร์ สัญญาการก่อสรา้ งได้มีการลงนามเม่อื วันท่ี 10 พฤศจกิ ายน ระหว่างกระทรวงกับ China
Road and Bridge Corporation (CRBC) ซ่งึ เป็นบริษทั เดยี วกันที่อยู่เบอื้ งหลงั ทางด่วนสายเมืองหลวง-สีหนวุ ิลล์ โดยมนี ายจัน
ทอลเปน็ ประธานในพธิ ี นายจันทอลกลา่ วว่า ทางด่วนพนมเปญ-บาเวตจะเรม่ิ ก่อสรา้ งในปี 2566 และจะแลว้ เสรจ็ ในปลายปี
2569 หรือต้นปี 2570 ดว้ ยมลู ค่าประมาณ 1.638 พนั ล้านดอลลาร์ “ทางดว่ นจะมีความยาว 138 กิโลเมตร พร้อมสรา้ ง
สะพานยาว 1 แหง่ และทางเบี่ยงรวม 5 กโิ ลเมตร คา่ ใชจ้ า่ ยโดยประมาณนนั้ น้อยกวา่ ทางดว่ นสายพนมเปญ-สีหนวุ ิลล์เพยี ง
เล็กน้อย แม้ว่าระยะทางจะสัน้ กวา่ กต็ าม” นายจันทอลกล่าวอีกว่า การก่อสร้างทางด่วนพนมเปญ-บาเวต จะดาเนินการควบคู่
ไปกบั การกอ่ สร้างทางดว่ นในเวียดนามจากโฮจิมินหซ์ ติ ้ไี ปยงั มอ็ ก บ่าย เมื่อทางดว่ นทงั้ สองเสรจ็ แลว้ กจ็ ะมบี ทบาทสาคัญใน
การเช่อื มโยงจีน เมยี นมา ไทย กมั พชู า และเวยี ดนามผ่านทางหลวงสายเอเชยี สายใหม่ 1 (AH1) “ทางด่วนในเวยี ดนามจะว่งิ ไป
ตามถนนหมายเลข 22 ท่ีเชอ่ื มต่อกับทางดว่ นของเราทหี่ ลกั กโิ ลเมตรท่ี 164 เราจะจดั ทาแผนเป็นลายลกั ษณ์อักษรพร้อมทง้ั
เตรยี มแผนทข่ี องทางด่วน” นายจนั ทอลกล่าวว่ากมั พูชา กาลังขยายทางหลวงเอเชยี AH1 จากสองเลนแต่ละข้างเป็นส่เี ลน
ทางหลวงจะวงิ่ จากปอยเปตไปยงั พนมเปญ จากนน้ั ตอ่ ไปยงั บาเวตเพอ่ื เชื่อมตอ่ กับทางหลวง และอานวยความสะดวกในการ
ส่งออกและขนสง่ ผโู้ ดยสารไปและกลับจากจนี และเวยี ดนาม ทางดว่ นพนมเปญ-สหี นวุ ลิ ล์ ซง่ึ เป็นทางดว่ นสายแรกในกมั พูชา
ไดม้ กี ารใชใ้ นปริมาณมาก เนอื่ งจากทาใหส้ ามารถเดนิ ทางไปถงึ จังหวดั สหี นุวิลล์ทเี่ ป็นเมืองชายทะเลไดใ้ นเวลาเพียงสองช่ัวโมง
เมือ่ เทยี บกับห้าชว่ั โมงกบั การเดนิ ทางบนถนนทางหลวงเสน้ เดมิ กอ่ นหนา้ นี้ โดยมรี ถยนตม์ ากกว่า 440,000 คนั ในช่วงเดือนแรก
ท่เี ปดิ ให้ใช้ฟรใี นเดอื นตุลาคม ในชว่ ง 9 วนั แรกของเดือนพฤศจิกายน มีการเรยี กเก็บคา่ ผา่ นทางในอตั ราส่วนลด 20% ซง่ึ มี
รถยนต์มากกว่า 100,000 คนั ใช้ทางดว่ น เพ่มิ ขนึ้ เมื่อเทียบกับช่วงเดยี วกันของเดอื นตุลาคม

ASEAN Roundup อาเซยี นเดินหน้าหาพันธมติ รร่วมพัฒนาเศรษฐกจิ -ธรุ กิจ ธันวาคม 2021
ASEAN Roundup ประจาวนั ท่ี 12-18 ธนั วาคม 2564
อาเซียนเดินหนา้ หาพันธมิตรรว่ มพฒั นาเศรษฐกจิ -ธรุ กจิ

เวียดนามรว่ มอนิ เดยี พฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐาน-นวัตกรรม

กมั พชู า-จนี เซ็นข้อตกลงร่วมมอื เศรษฐกิจและการลงทุน
กว๋างบญ่ิ เวียดนาม- คาม่วนสปป.ลาว จับมอื ร่วมพฒั นา
ไทย-ฝรงั่ เศสรว่ มมือดา้ นคมนามขนสง่
เวยี ดนามเปิดตัวตลาดหลักทรพั ยแ์ ห่งชาติ
ธนาคารกลางเมยี นมาอนญุ าตใชห้ ยวน/จัตชาระเงนิ ตรงชายแดนจนี -เมยี นมา
อาเซยี นเดนิ หนา้ หาพนั ธมติ รรว่ มพัฒนาเศรษฐกจิ -ธรุ กจิ
การพัฒนาเศรษฐกจิ และการดาเนนิ ธุรกิจในโลกปจั จบุ ันท่มี กี ารเชื่อมโยงกันมากขึน้ การแสวงหาพันธมติ รหรือหุ้นส่วนจงึ มี
ความสาคญั เพ่อื เสรมิ จดุ แขง็ และกาจดั จุดอ่อนของแต่ละประเทศ หรือในระดับภูมิภาค หรือแมแ้ ต่ระดบั เมอื งกับเมอื ง ดังท่ไี ด้
เหน็ จากการลงนามในความตกลงในหลายดา้ น เชน่ ขอ้ ตกลงเขตการคา้ เสรี ทั้งรปู แบบพหภุ าค หรือทวภิ าคี หรือข้อตกลง
ความรว่ มมอื เศรษฐกจิ เฉพาะด้าน
ในสปั ดาหน์ ส้ี มาชิกประเทศอาเซยี นจานวนหนึง่ จึงได้มีการลงนามกับพันธมติ รนอกกลมุ่ หลายราย ได้แก่ กมั พูชาลงนามความ
รว่ มมือกับจีน เวียดนามกบั อินเดีย
เวยี ดนามรว่ มอินเดียพฒั นาโครงสรา้ งพ้ืนฐาน-นวตั กรรม
เมอ่ื วนั ท่ี 17 ธนั วาคมทกี่ รงุ เดลี ไดม้ ีการลงนามใน ขอ้ ตกลงความรว่ มมอื ด้านการลงทุนด้านโครงสรา้ งพน้ื ฐาน อุตสาหกรรม
และการพฒั นานวตั กรรมมลู ค่า 4 พันลา้ นดอลลารส์ หรัฐฯ ระหวา่ งเวียดนามและอินเดยี
ขอ้ ตกลงดังกล่าวลงนามโดย Saigon Telecommunications Technology Joint Stock Company (Saigontel) และ
Ecologic Engineering Private Limited ของอินเดีย ภายใตเ้ วทีการประชุมธรุ กิจเวียดนาม-อินเดยี ซึง่ จัดโดยกระทรวงการ
วางแผนและการลงทนุ สภาอุตสาหกรรมอินเดีย และ สถานทูตเวียดนามในอินเดยี และมีนายเวือง ดงิ่ ห์ เหวะ ประธานสภา
แหง่ ชาตเิ วยี ดนามและเจา้ หนา้ ท่อี นิ เดียได้เข้าร่วมการลงนาม
ภายใต้ข้อตกลงทลี่ งนาม ทง้ั สองบริษัทจะม่งุ เนน้ ไปที่โครงการลงทนุ โครงสรา้ งพน้ื ฐานด้วยวสิ ยั ทัศนร์ ะยะยาวในพนื้ ท่ตี า่ งๆ เชน่
จงั หวดั ทา้ ยเงวยี น, หายเซือง, ดง่ นาย และโฮจิมนิ ห์ซติ ขี้ องเวยี ดนามในอนิ เดยี ทั้งสองฝ่ายจะทุ่มทุนใหก้ บั ศูนยก์ ลาง
นวตั กรรมและศนู ยก์ ลางการผลิตท่ีมเี ทคโนโลยสี งู เชน่ รัฐกรณาฏกะ รฐั อานธรประเทศ รัฐเตลังกานา รัฐทมิฬนาฑู รัฐมหา
ราษฏระ รัฐอุตตรประเทศและบงั กาลอร์ ซงึ่ เปน็ พ้นื ทท่ี ไ่ี ดร้ บั การยกยอ่ งว่าเป็นซลิ คิ อนแวลลยี ์ของอินเดียนอกเหนอื จากการ
พัฒนาโครงการลงทนุ ขนาดใหญ่ดงั กลา่ วแลว้ Ecologic Engineering และ Saigontel จะมีส่วนรว่ มอยา่ งแขง็ ขนั ในการ
สง่ เสริมความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ ระดบั ทวิภาครี ะหว่างเวยี ดนามและอินเดีย โดยมงุ่ เน้นท่ีการฝกึ อบรมและการพัฒนา
ทรัพยากรมนษุ ยS์ aigontel บรษิ ทั ในเครอื Saigon Investment Group ซึ่งเป็นบรษิ ัทเอกชนช้นั นาของเวยี ดนาในการพฒั นา
โครงสรา้ งพน้ื ฐาน ดา้ นบรกิ ารในภาคอุตสาหกรรม ในเมอื ง นอกเหนอื จากการสร้างโครงสร้างพน้ื ฐานของนคิ มอุตสาหกรรมท่ี
อย่ตู ิดกนั พ้ืนที่ในเมอื ง และบรกิ ารท่จี าเป็นเพอ่ื ดงึ ดดู การลงทุนแล้ว Saigontel ยังเป็นผูบ้ กุ เบกิ ดา้ นการลงทนุ และการพัฒนา
เครอื ข่ายศนู ย์นวตั กรรมในท้องถน่ิ ในรปู แบบระหว่างประเทศและแนวโน้มระดับสากลEcologic Engineering เป็นบรษิ ัทลกู
ในอินเดียของบรษิ ทั ควอนตมั คอรป์ อเรชัน่ แหง่ สหรัฐฯ ซ่งึ เป็นกลมุ่ การลงทุนดา้ นอตุ สาหกรรมหลากหลายช้ันนาใน
สหรฐั อเมริกาและยโุ รป ปัจจบุ นั บริหารจดั การกองทุนเพอื่ การลงทนุ และบรษิ ัทการลงทนุ หลายแหง่ ในด้านนา้ มันและกา๊ ซ
พลงั งาน โครงสรา้ งพื้นฐาน โทรคมนาคม การดูแลสุขภาพและ เทคโนโลยขี นั้ สงู Ecologic Engineering ใหค้ วามสนใจกบั การ
พฒั นาเขตอุตสาหกรรม ศนู ยบ์ รกิ ารดา้ นโลจสิ ตกิ ส์ การขนสง่ และโครงสรา้ งพื้นฐานทางอตุ สาหกรรมในอินเดยี และเวียดนาม
ดว้ ยจานวนประชากร 1.39 พนั ล้านคน สูงเป็นอันดบั สองของโลก และมเี ศรษฐกจิ ท่ใี หญเ่ ป็นอันดับ 6 ในแงข่ องผลิตภัณฑ์มวล
รวมภายในประเทศ (GDP) และใหญ่เปน็ อนั ดบั 3 ของโลกเมื่อวดั จากกาลังซอื้ อนิ เดียจะเปน็ ตลาดทมี่ แี นวโน้มสดใส ตอกยา้
บทบาทใน ภูมภิ าคอินโดแปซฟิ กิ ในอนาคต
กมั พูชา-จนี เซน็ ขอ้ ตกลงร่วมมือเศรษฐกจิ และการลงทุน
กัมพชู าโดยสภาเพอ่ื การพฒั นากมั พูชาและจนี โดยกระทรวงพาณชิ ยแ์ หง่ สาธารณรัฐประชาชนจนี ไดล้ งนามในบันทกึ ความ
เขา้ ใจ (Memorandum of Understanding :MOU) ว่าด้วยการลงทนุ และความร่วมมือทางเศรษฐกจิ ผา่ นระบบวิดโี อคอน
เฟอเรนซเ์ ม่ือช่วงบ่ายของวันที่ 16 ธนั วาคม โดยมีนายสก เจนดา โสภา เลขาธิการสภาเพือ่ การพฒั นากัมพชู า และรฐั มนตรี
ช่วยวา่ การกระทรวงพาณิชยเ์ ข้ารว่ ม สาธารณรฐั ประชาชนจีน และรัฐมนตรกี ระทรวงพาณิชยก์ ัมพูชา นายสก โสภาค เขา้ ร่วม
ตัวแทนของทุกฝ่ายท่เี ขา้ รว่ มพธิ ีลงนามยืนยันความมงุ่ มั่นในการรว่ มกันส่งเสรมิ โครงการหน่ึงแถบหน่งึ เสน้ ทาง “Belts and
Roads” ท่ีสอดประสานกับนโยบายการพัฒนาอตุ สาหกรรมของกมั พูชาชว่ งปี 2558-2568

ทกุ ฝ่ายจะรว่ มกันส่งเสรมิ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการค้า รวมไปถงึ การเสรมิ สร้างความเขม้ แข็งของการลงทุนและความ
รว่ มมือทางเศรษฐกจิ ในดา้ นต่างๆ ระหว่างกนั และปรับปรงุ กลไกความรว่ มมอื ดา้ นการลงทนุ ของคณะกรรมาธิการวา่ ดว้ ยความ
รว่ มมือทางเศรษฐกิจและการค้าจนี -กัมพชู าเลขาธิการสภาเพือ่ การพัฒนากมั พูชา ช่นื ชมการลงนามใน MoU และเชื่อมนั่ วา่ จะ
ชว่ ยสง่ เสรมิ การลงทนุ และการค้าระดบั ทวภิ าคีระหวา่ งสองประเทศ นอกจากน้ี ยงั เนน้ ยา้ ถึงการประกาศใชก้ ฎหมายการลงทุน
ฉบับใหม่แห่งราชอาณาจกั รกัมพชู าในวันท่ี 15 ตลุ าคม ขณะทก่ี ัมพูชาอยู่ในขนั้ ตอนของการเปิดให้มกี ารดาเนินกจิ กรรมทาง
ธุรกจิ และการดาเนนิ การเพื่อการฟน้ื ตัวทางเศรษฐกิจตลอดจนได้เนน้ ยา้ ถงึ ความรว่ มมอื ด้านเงนิ ทุนจานวนมากจากจีน ผ่าน
ความชว่ ยเหลอื ด้านการพฒั นา ซ่งึ มีส่วนอย่างมากต่อกระบวนการสรา้ งโครงสรา้ งพนื้ ฐานทางกายภาพ และเปน็ ส่ิงสาคญั ต่อ
การพฒั นาทางเศรษฐกจิ และสงั คมของกัมพูชา

กวา๋ งบิญ่ เวียดนาม- คามว่ นสปป.ลาว จบั มอื ร่วมพัฒนา
เจา้ หน้าทีร่ ะดบั สงู ของจงั หวดั กว๋างบญ่ิ เวยี ดนาม และแขวงคาม่วนของสปป.ลาวไดล้ งนามในความตกลงรว่ มมอื ระหวา่ งการ
หารอื ท่ดี ้านสากลจาลอ ในจังหวัดกว๋างบญ่ิ เม่อื วันที่ 17 ธนั วาคม
นายหวู่ ได่ ทงั เลขาธิการคณะกรรมการพรรคจงั หวดั กวา๋ งบญ่ิ กลา่ วยืนยันความมุ่งมน่ั ในการสืบทอดและส่งเสรมิ ความเป็น
ปกึ แผ่น มิตรภาพที่ซ่อื สตั ย์ และความร่วมมอื ท่คี รอบคลมุ ระหว่างคณะกรรมการพรรค หน่วยงาน และประชาชนของท้งั สอง
เมืองในอนาคตอนั ใกลด้ ้านนาย วนั ไซ พงสะหวนั เลขาธกิ ารพรรคประจาแขวงคามว่ นและเจ้าแขวง กลา่ วว่า ในช่วงสองปีที่
ผา่ นมาแขวงคาม่วนไดร้ ับการสนบั สนุนจากจงั หวัดกวา๋ งบิ่ญ ในการบรรเทาผลกระทบจากการระบาดของไวรัสโควดิ และหวัง
วา่ ทง้ั สองฝา่ ยจะเร่งให้ข้อตกลงในความร่วมมอื ที่ไดล้ งนามเกดิ ข้ึน ซงึ่ จะมีสว่ นทาใหค้ วามสัมพันธร์ ะหวา่ งสองจังหวัดแน่น
แฟน้ มากขึ้น
ทั้งสองเมืองตกลงทจ่ี ะเสนอให้รัฐบาลทงั้ สองประเทศพิจารณาเพม่ิ ถนนหมายเลข 12 และดา่ นสากลจาลอ-นาโบ เขา้ ไปใน
ความตกลงวา่ ดว้ ยการขนสง่ ขา้ มพรมแดนในอนภุ มู ภิ าคลุม่ แม่นาโขง หรือ Greater Mekong Sub-Region (GMS) Cross-
Border Transport Facilitation Agreement รวมทงั้ จะรว่ มสรา้ งเงอ่ื นไขที่เอื้ออานวยต่อบรษิ ัทและนกั ลงทนุ ในดา้ นการคา้
การท่องเท่ยี ว และการขนส่ง
นอกจากการอนรุ ักษแ์ ละรักษาคณุ ค่าความหลากหลายทางชวี ภาพท่อี ุทยานแหง่ ชาตฟิ องญา – แกะบ่าง และพ้นื ทคี่ ุ้มครอง
แหง่ ชาตหิ นิ นา้ โนแลว้ ทัง้ สองฝา่ ยยงั จะทางานร่วมกันอยา่ งใกล้ชดิ ในการป้องกันประเทศ ความมัน่ คง การปอ้ งกนั ชายแดน
และการตอ่ ส้กู บั โรคระบาด

ไทย-ฝรั่งเศสร่วมมอื ด้านคมนาคมขนสง่
กอ่ นหน้านใี้ นวันท่ี 8 ธนั วาคม 2564 นายศักดสิ์ ยาม ชิดชอบ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงคมนาคมของไทยและนายตีแยรี มาตู
(H.E. Mr. Thierry Mathou) เอกอัครราชทูตสาธารณรฐั ฝรง่ั เศสประจาประเทศไทย เป็นประธานใน พิธีลงนามปฏญิ ญาแสดง
เจตจานงระหวา่ งรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคมแห่งราชอาณาจกั รไทยและเอกอคั รราชทูตสาธารณรฐั ฝร่ังเศสประจา
ประเทศไทยในนามของรัฐมนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวงการเปลย่ี นผ่านทางนเิ วศวทิ ยา กากบั ดแู ลการคมนาคมแหง่ สาธารณรัฐ
ฝรง่ั เศส วา่ ดว้ ยความรว่ มมอื ในสาขาคมนาคมขนสง่ โดยมี นายวริ ชั พิมพะนิตย์ ท่ีปรึกษารฐั มนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคม
นายชยธรรม์ พรหมศร ปลดั กระทรวงคมนาคม นายสรพงศ์ ไพฑรู ยพ์ งษ์ รองปลัดกระทรวงคมนาคม หวั หน้าหน่วยงานใน
สังกดั กระทรวงคมนาคมทเี่ กย่ี วข้อง และบริษทั เอกชนของฝรัง่ เศสท่ีใหค้ วามสนใจเขา้ ร่วมพธิ ลี งนาม
จากความรว่ มมอื ระหว่างประเทศไทยและฝรงั่ เศสทม่ี มี าอยา่ งยาวนาน ประกอบกบั พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา
นายกรฐั มนตรี ไดม้ นี โยบายในการขยายความร่วมมอื ด้านการค้าและการลงทนุ ระหวา่ งกนั มากขึ้น เพอื่ เป็นส่วนชว่ ยในการ
ฟนื้ ฟูเศรษฐกิจและสงั คมจากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั COVID-19 ในดา้ นการศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั
และนวัตกรรม โดยท้ังสองประเทศไดเ้ ห็นพ้องที่จะสานตอ่ ความร่วมมือระหว่างกันเชน่ ที่มมี าอย่างตอ่ เน่ือง ตลอดจนยนิ ดีใหม้ ี
การแลกเปลีย่ นองค์ความรทู้ ี่เป็นประโยชน์ระหวา่ งกัน ทัง้ นี้เมอ่ื วนั ที่ 18 มถิ ุนายน 2556 ประเทศไทยและฝรง่ั เศสไดร้ ่วมลง
นามอนสุ ญั ญาวา่ ดว้ ยความร่วมมือระบบรางระหว่างไทยและฝรง่ั เศส มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื การร่วมมือกนั อย่างใกล้ชิดและส่งเสริม
ผลประโยชนร์ ่วมกนั โดยการแลกเปลยี่ นนโยบายและประสบการณด์ า้ นการขนสง่ ทางราง เมอื่ อนสุ ญั ญาว่าดว้ ยความร่วมมอื
ระบบรางระหวา่ งไทยกบั ฝรัง่ เศสหมดอายลุ ง เม่อื วันที่ 17 มิถนุ ายน 2559 ทง้ั สองฝ่ายจึงเห็นชอบให้มกี ารจัดทาอนสุ ัญญาวา่
ดว้ ยความรว่ มมอื ด้านคมนาคมขนสง่ ฉบบั ใหม่ คือ ปฏิญญาแสดงเจตจานงฯ วา่ ดว้ ยความรว่ มมือในสาขาคมนาคมขนสง่ โดยมี
ความมงุ่ หมายทจ่ี ะพฒั นาความร่วมมือดา้ นการขนส่งให้ครอบคลุมทกุ มิติ ท้ังระบบราง การขนส่ง ทางบก ทางนา้ และทาง
อากาศ รวมทัง้ ม่งุ หวงั ทจี่ ะแลกเปลย่ี นองค์ความรู้และประสบการณร์ ะหวา่ งกันเกี่ยวกับการพัฒนา การขนส่งอยา่ งยัง่ ยืน อาทิ
การขนสง่ ทางราง การขนส่งมวลชนในเมือง การขนส่งดว้ ยเทคโนโลยีสะอาด การขนสง่ หลายรปู แบบและโลจสิ ตกิ ส์ การขนสง่

ทางทะเล ทางหลวง และความปลอดภยั ทางถนน รวมถึงมงุ่ ม่นั กระชับการแลกเปล่ยี นระหวา่ งสถาบันและความรว่ มมือดา้ น
เศรษฐกจิ ทงั้ ในสว่ นของภาครัฐ รฐั วสิ าหกิจ และภาคเอกชนที่มีต่อนโยบายการขนสง่ การบรู ณาการการพฒั นาระบบขนสง่ และ
โครงสรา้ งพ้นื ฐาน รวมทั้ง การรกั ษาสิ่งแวดล้อมอยา่ งยั่งยืน ดยการดาเนนิ การความร่วมมือดังกล่าวสอดคล้องกบั ภารกจิ หลกั
ของกระทรวงคมนาคมในการพฒั นาโครงสร้างพ้นื ฐานและการใหบ้ ริการด้านการขนสง่ ทมี่ ีวสิ ยั ทศั นใ์ นการดาเนนิ งาน คอื
“พัฒนาระบบขนส่งอยา่ งบรู ณาการ เพอ่ื ยกระดับคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนทกุ ภาคส่วน และขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ
อยา่ งย่งั ยืน” รวมถงึ ดาเนินโครงการตา่ ง ๆ ครอบคลมุ ทุกรปู แบบของการขนสง่ ส่งเสรมิ ความเช่อื มโยงภายในประเทศและ
ระหว่างภมู ภิ าค เพอ่ื ขบั เคล่อื นใหไ้ ทยเป็นศูนยก์ ลางการคมนาคมขนสง่ ของภมู ิภาคอาเซียนอยา่ งยงั่ ยืน ทงั้ นี้ การลงนามใน
ปฏิญญาแสดงเจตจานงฯ ถอื เป็นการกระชบั ความสมั พนั ธข์ องท้งั สองประเทศใหแ้ นน่ แฟน้ และแข็งแกรง่ ยง่ิ ข้ึน รวมถึงจะชว่ ย
สนบั สนนุ และสง่ เสรมิ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างผูม้ สี ่วนเกี่ยวข้องทงั้ ภาครฐั และเอกชนของทงั้ สองฝา่ ยในสาขาคมนาคมขนสง่ อย่าง
ครอบคลมุ และยั่งยืนต่อไป
เวียดนามเปิดตัวตลาดหลักทรัพยแ์ หง่ ชาติ
ตลาดหลักทรพั ยเ์ วียดนาม(VNX) ได้เริม่ ดาเนินการอยา่ งเปน็ ทางการในวนั เสาร์(18 ธ.ค.) หลังจากการควบรวมตลาดหลกั ทรพั ย์
ในประเทศ 2 แห่ง ถือเป็นก้าวสู่การพฒั นาใหม่ของตลาดหนุ้ ในประเทศ
ในพธิ ีเปิดตัวท่ีจัดข้ึนโดยกระทรวงการคลังในกรงุ ฮานอย รองนายกรฐั มนตรี เล มนิ ห์ ขา่ ย ไดส้ ง่ มอบอานาจต่อให้กับเหงียน
ทัน่ ลอง ประธานตลาดหลักทรพั ยแ์ ห่งชาติ VNX เปน็ บริษทั ทรี่ ฐั เปน็ เจ้าของเต็ม 100% มที ุนจดทะเบยี น 3 ล้านล้านดอง
(130 ล้านดอลลารส์ หรฐั ) และมสี านกั งานใหญ่ในกรงุ ฮานอย และดาเนินการภายใต้รปู แบบบริษัทแม่-บรษิ ัทยอ่ ย โดยองิ จาก
การปรับใหต้ ลาดหลักทรพั ย์ฮานอย (HNX) และตลาดหลักทรพั ยโ์ ฮจมิ นิ ห์ (HoSE) เปน็ บรษิ ทั ย่อยสองแห่ง
HNX รับผดิ ชอบในการจัดการและบรหิ ารตลาดอนุพันธ์ พนั ธบัตร และหลกั ทรัพยอ์ น่ื ๆ ในขณะที่ HoSE รบั ผิดชอบห้นุ
และหลักทรพั ยป์ ระเภทอ่ืน ๆ การจัดตงั้ VNX จะช่วยให้รปู แบบองคก์ ร กลไก นโยบาย และโครงสรา้ งพืน้ ฐานดา้ นเทคโนโลยี
สารสนเทศของตลาดหุ้นในประเทศเป็นหน่ึงเดียว รองนายกรัฐมนตรีกล่าวในพธิ ี ตลาดหลกั ทรัพย์ฯจะช่วยดึงดดู การลงทนุ ท้ัง
ในและตา่ งประเทศ เพ่ิมขนาดและสถานะของตลาดหุ้นเวียดนาม และสร้างเง่ือนไขทีด่ สี าหรบั การเชื่อมโยงเขา้ กบั ตลาดห้นุ
ตา่ งประเทศ นอกจากน้เี น้นย้าวา่ การพัฒนาตลาดหุ้นเพ่อื สร้างชอ่ งทางการระดมเงนิ ทุนระยะกลางและระยะยาวเพอื่ การ
พัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศเป็นนโยบายทีส่ าคัญและสมา่ เสมอของพรรคและรัฐ ในช่วง 25 ปีทผี่ า่ นมา ตลาดหุ้นเวยี ดนามมี
การพัฒนาอย่างตอ่ เน่อื ง กลายเปน็ ชอ่ งทางการระดมเงินทนุ ท่สี าคญั สาหรับเศรษฐกิจและส่งเสรมิ การพัฒนาตลาดการเงิน รอง
นายกรฐั มนตรีกลา่ ว รองนายกรฐั มนตรีมอบหมายให้กระทรวงการคลังกากับดแู ล สานกั งานคณะกรรมการกากบั หลักทรพั ย์
แหง่ ชาติ ตลาดหลักทรพั ย์ และหน่วยงานทีเ่ กยี่ วข้อง เพือ่ ประเมนิ ประสทิ ธภิ าพของ ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาตลาดห้นุ เวียดนาม
ในชว่ งปี 2554-2563 และเสนอแนะกลยทุ ธท์ ใี่ กลเ้ คยี งกันสาหรบั 10 ปีขา้ งหน้า รวมทัง้ การบรู ณาการเข้ากับตลาดการเงนิ
ระหว่างประเทศ เพม่ิ ความสามารถในการแข่งขันของตลาดหนุ้ เวยี ดนาม และค่อยๆ ลดชอ่ งว่างการพัฒนาระหว่างตลาดหุ้นใน
ประเทศและทัว่ โลก รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงการคลงั โฮ่ ดกึ๊ ฟ้อก ใหค้ ามน่ั ว่าจะ ผนวกทศิ ทางดังกลา่ วไวใ้ นยุทธศาสตรก์ าร
พัฒนาตลาดหนุ้ แหง่ ชาติในช่วงปี 2564-2573 และจะเปดิ ตัวแผนปฏบิ ตั ิการเพอื่ ทาให้ยทุ ธศาสตร์น้ีประสบความสาเรจ็
VNX ไดเ้ ตรียมกฎเกณฑ์ทางวิชาชีพ 7 ฉบับและอีกแผนหนึง่ เพื่อปรบั โครงสร้างตลาดตราสารหน้ขี องบรษิ ัท ซึง่ คาดว่าจะออก
ในเดอื นน้ี ดชั นี VN-Index ในตลาดหุ้นเพง่ิ ผ่านระดบั 1,500 จุด ซึง่ ถอื เปน็ ระดบั สงู สดุ นบั ตัง้ แตเ่ รม่ิ ดาเนนิ การอย่างเป็น
ทางการ และเพิม่ ขนึ้ 36% ตง้ั แตต่ ้นปีนม้ี ลู คา่ การซื้อขายเฉลย่ี ในเดอื นมกราคมถงึ พฤศจกิ ายนอยูท่ ่ี 37.2 ล้านล้านด่อง (1.61
พนั ล้านดอลลาร์) ตอ่ ช่วง เพ่ิมข้ึนกวา่ สองเท่าจากปี 2020 ในชว่ งมกราคม-ตุลาคม จานวนบญั ชีท่ีเปิดใหมข่ องนักลงทนุ ราว 1.1
ลา้ นบัญชี ซงึ่ สูงกว่าตัวเลขสะสมในปี 2560-2560
ธนาคารกลางเมียนมาอนญุ าตใชห้ ยวน/จัตชาระเงนิ ตรงชายแดนจนี -เมยี นมา
ธนาคารกลางเมยี นมาอนญุ าตใหใ้ ช้ชาระเงินดว้ ย เงนิ หยวนและจัตโดยตรงท่ชี ายแดนจนี -เมียนมา ตามประกาศเมอื่ วนั ที่ 14
ธนั วาคม ประกาศดังกลา่ วออกโดยใช้อานาจตามมาตรา 17 และ 22 ของกฎหมายการจดั การการแลกเปลีย่ นเงนิ ตรา
ตา่ งประเทศ เพอ่ื เพม่ิ การคา้ จนี -เมยี นมาและอานวยความสะดวกในการหมนุ เวยี นของสินค้า จงึ อนุญาตให้มกี ารชาระเงิน
โดยตรงของหยวน/จตั ที่ชายแดนจนี -เมียนมา เพือ่ อานวยความสะดวกให้กับระบบการชาระเงินและการหกั บัญชีของทั้งสอง
ประเทศ และเพ่มิ สกลุ เงนิ ในประเทศตามเปา้ หมายการรวมตัวทางการเงินของอาเซยี น.
ธนาคารทีไ่ ดร้ บั อนุญาต จะยงั ไดร้ บั อนญุ าตใหเ้ ปดิ บญั ชีหยวนของผนู้ าเขา้ และผ้สู ง่ ออกสาหรับการคา้ ขา้ มแดน ดังนั้น ธนาคาร
ทไ่ี ด้รบั การอนญุ าตให้รับชาระเงนิ จะต้องปฏิบัตติ ามแนวทางการใชเ้ งินหยวน/จตั โดยตรงในการคา้ ชายแดนจีน-เมยี นมา และ
ประกาศนจ้ี ะมีผลตงั้ แต่วันทธ่ี นาคารกลางประกาศ

ว่าด้วยเรอ่ื ง APEC กับ G20
11 พฤศจิกายน 2022
ก่อนอน่ื ต้องขอเทา้ ความวา่ ประเทศไทยไมไ่ ด้เปน็ สมาชกิ กลมุ่ G20 เพราะแรกเริ่มกอ่ ต้งั กลุ่มนีต้ ้องการสมาชกิ ท่ีเป็นประเทศ
มหาอานวจทางเศรษฐกิจท่มี ขี นาดใหญ่ ซึ่งมีอทิ ธิพลตอ่ การดาเนนิ นโยบายเศรษฐกิจการเงินของโลก โดยไม่ได้สนใจความเปน็
ภมู ภิ าคหรือทีต่ ัง้ ของประเทศ ต่างจากเวทีการประชุมอื่นๆ เช่น ASEM (Asia Europe Meeting) หรอื Asia Pacific
Economic Cooperation (APEC) ซ่ึงเนน้ ความรว่ มมือระหวา่ งสมาชิกในภมู ภิ าคนัน้ ๆ และโดยท่ี G20 เน้นบทบาททาง
เศรษฐกจิ การเงินเปน็ สาคญั จึงมจี ดุ เร่ิมตน้ จากการประชมุ ในระดบั รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงการคลังกบั ผูว้ า่ การธนาคารกลาง
เปน็ สาคญั เพง่ิ มาระยะหลงั ท่มี ีการยกระดบั การประชุม G20 ไปถึงระดบั ผนู้ าเมอ่ื ปี 2008 ทา่ มกลางวิกฤตแิ ฮมเบอรเ์ กอร์ทมี่ ี
สหรฐั อเมรกิ าเป็นศูนย์กลาง และโดยท่ี G20 เน้นขนาดของประเทศ ในกลุ่มอาเซยี นของเราจงึ มีประเทศอนิ โดเนเซียทีไ่ ดร้ ับ
เชญิ ให้เป็นสมาชกิ ผ้รู ว่ มก่อต้งั แตเ่ ร่ิมแรก แตก่ ารประชมุ G20 ในทุกๆ ปกี จ็ ะมกี ารเชญิ ตวั แทนของกลมุ่ ความรว่ มมอื ตา่ งๆ ใน
ทุกภูมภิ าคของโลกรวมทง้ั อาเซียนเข้ารว่ มดว้ ยในฐานะแขกพิเศษ ผ่านประเทศทที่ าหน้าท่ีเป็นประธานของอาเซียนในปีนนั้ ๆ
ดงั น้ัน ในปี 2019 ที่ประเทศไทยเป็นประธานอาเซยี น เราจึงมีโอกาสไดเ้ ขา้ รว่ มประชุมระดบั ต่างๆ ของ G20 ตลอดท้ังปี
หากจะเทียบเวทีการประชุมของเอเปคกบั เวทีของ G20 คงต้องมองวา่ เอเปคถอื กาเนิดขนึ้ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1987 หรือกวา่ หนง่ึ
ทศวรรษกอ่ น G20 ที่เพ่ิงจัดตั้งข้ึนในปี ค.ศ. 1999 และโดยที่เวทเี อเปคเนน้ ความรว่ มมอื ในภมู ิภาคของเอเชียและแปซิฟิก
เพ่ือผลักดนั การคา้ และการลงทุนระหวา่ งสมาชกิ ผา่ นการอานวยความสะดวกทางดา้ นการคา้ และการลงทุน เอเปคจงึ เป็น
เวทเี ดียวทมี่ ีเขตเศรษฐกจิ ของจนี เข้ารว่ มประชมุ ดว้ ย คอื ทง้ั จีนแผน่ ดนิ ใหญ่ ฮ่องกง และจนี ไทเป และเรียกสมาชกิ ว่าเขต
เศรษฐกจิ ไม่มีการประดบั ธงสัญญลกั ษณใ์ ดๆ ในการประชมุ การหารอื จะเนน้ เรื่องการอานวยความสะดวกทางด้านการเปดิ
ตลาด เหน็ ไดจ้ าก APEC Travel Card ท่นี ักธุรกจิ และเอกชนไดร้ ับประโยชนจ์ ากการเดินทางระหว่างเขตเศรษฐกจิ ผ่านช่อง
การตรวจคนเขา้ เมืองที่รวดเรว็ แยกต่างหาก ทาใหร้ น่ ระยะเวลาในการเขา้ ออกจากสนามบิน การสง่ เสรมิ การเช่อื มโยงด้าน
การเงนิ cross border payment connectivity ซ่ึงอาจจะยงั ไมก่ วา้ งขวางเทา่ กับ APEC Travel Card แต่กม็ ีโอกาสท่จี ะ
เติบโตต่อไป จากตัวอยา่ งความเชอ่ื มโยงท่ีอาเซียนได้ผลักดนั ในกลุ่ม และมีศกั ยภาพท่ีจะขยายผลตอ่ ในวงกว้างขนึ้
การประชุมกลุม่ G20 ทีถ่ อื กาเนดิ ขึน้ จากความรว่ มมอื ทางด้านการเงนิ การคลังเป็นหลกั จะเนน้ หวั ขอ้ ความรว่ มมือดา้ น
การเงิน การคลงั การยกระดบั มาตรฐาน (standard setter) การกากับดูแลสถาบันการเงิน ตลาดการเงิน ระบบการ
ชาระเงินระหว่างประเทศ รวมทั้งการติดตามความเสย่ี งต่างๆ ได้แก่ ความเส่ียงทางด้านเสถียรภาพการเงิน (financial
stability risks) ในปี 2019 ท่ีญ่ปี นุ่ เปน็ ประธาน G20 ได้หยบิ ยกหัวข้อเรือ่ ง สังคมผสู้ บู อายุและภาระการคลัง เปน็ ตน้
การประชมุ กลมุ่ G20 เกดิ ขึน้ ในปี 1999 หลงั วิกฤตเิ ศรษฐกิจเอเซียและวกิ ฤตหิ น้ีของรสั เซยี หวั ขอ้ การหารือจงึ เน้นเรอื่ งการ
สอดส่องดแู ลเศรษฐกจิ การเงินของสมาชกิ การพฒั นากลไกความช่วยเหลือเพื่อรกั ษาความมัน่ คงทางการเงิน (financial
safety net) เพือ่ เป็นกลไกจดั หาสภาพคล่องยามฉุกเฉนิ ให้กับสมาชกิ ท่ีประสบภาวะเงินทนุ ไหลออกเฉยี บพลนั ตอ่ มาเกดิ วกิ ฤติ
แฮมเบอรเกอร์ในปี 2008 (Global Financial Crisis) จึงเกดิ การยกระดับการกากบั ดแู ลธรุ กรรมทางการเงินขนานใหญ่ G20 ก็
ใหค้ วามสาคญั กับการปฏริ ปู ภาคการเงนิ พร้อมๆ กบั การยกระดับเวทีการประชมุ G20 ใหเ้ ปน็ การประชุมระดบั ผู้นา
ไม่ว่าจดุ กาเนดิ ของแตล่ ะเวทีการประชมุ ท้ังสองจะมาอยา่ งไร การหารอื ระดบั ผู้นาก็คงหนไี มพ่ น้ ความทา้ ทายของเศรษฐกจิ โลก
ไม่ว่าจะเป็นเรือ่ งของภูมิรัฐศาสตรโ์ ลก การเปลยี่ นแปลงของสภาพภมู ิอากาศโลก ข้อตดิ ขดั ในเร่ืองห่วงโซ่อุปทาน ฯลฯ แต่ที่
สาคญั การหารอื ระดบั เจ้าหนา้ ที่คงจะเดนิ หน้าต่อในเร่ืองเศรษฐกิจดจิ ทิ ัลและความย่ังยืน ซึง่ เป็นความทา้ ทายของประชาคม
โลกที่จะต้องทางานร่วมกัน และโดยทสี่ หรัฐฯ จะรับเปน็ เจา้ ภาพเอเปคตอ่ จากประเทศไทยในปีหนา้ การสานต่อวาระต่างๆ ที่
ประเทศไทยได้หยิบยกขึ้นในภาคการเงินในปนี ี้คงจะได้ยกยอดไปคยุ กนั ตอ่ ในปีหน้า โดยเฉพาะ เร่ืองการเงนิ ดจิ ิทลั ทส่ี หรัฐฯ
จะมีผลสรุปของรายงาน Presidential Executive Order ด้าน Digital Asset มาส่อื สารใหส้ มาชิกไดอ้ ภปิ รายแลกเปลี่ยน
ความเห็นกนั และเรื่องการเงินเพ่ือความยงั่ ยืน จะยงั คงเป็นหวั ขอ้ สาคัญของความรว่ มมือทางการค้าและการลงทนุ ระหวา่ ง
ประเทศตอ่ ไป สมาชกิ APEC ประกอบดว้ ยเขตเศรษฐกิจ 21 แห่ง ได้แก่ ออสเตรเลยี แคนาดา ญี่ป่นุ เกาหลใี ต้ จนี ฮ่องกง
นิวซีแลนด์ สหรัฐอเมรกิ า บรไู น อนิ โดเนเซยี มาเลเซยี สงิ คโปร์ ฟลิ ปิ ปนิ ส์ ไทย จีนไทเป ชิลี เมก็ ซโิ ก ปาปัวนิวกินี เปรู รัสเซีย
และเวยี ดนาม สมาชิก G20 ประกอบด้วย 19 ประเทศ ได้แก่ กลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชนั้ นา 8 ประเทศ (กลมุ่ 8) คือ
อังกฤษ แคนาดา ฝรงั่ เศส อิตาลี ญป่ี ุ่น เยอรมนี รสั เซีย และสหรัฐฯ และกลมุ่ ประเทศระบบเศรษฐกจิ เกดิ ใหมข่ นาดใหญ่อกี
11 ประเทศ ประกอบดว้ ย อาร์เจนตนิ า ออสเตรเลีย บราซลิ จีน อนิ เดีย อนิ โดเนเซยี เมก็ ซิโก ซาอดุ อี าระเบยี แอฟรกิ าใต้
เกาหลีใต้ และตรุ กี

5 ธนาคารกลางอาเซียน MoU ผนกึ กาลัง เชือ่ มโยงระบบชาระเงินภูมิภาค14 พฤศจกิ ายน 2022
ธนาคารกลางอินโดนีเซีย มาเลเซยี ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทยรว่ มลงนามบันทึกความเข้าใจ (MOU) วา่ ดว้ ยความรว่ มมอื ด้าน
การเชือ่ มโยงระบบการชาระเงนิ ในภูมิภาค ธนาคารกลางอินโดนเี ซยี (Bank Indonesia) ธนาคารกลางมาเลเซีย (Bank
Negara Malaysia) ธนาคารกลางสงิ คโปร์ (Monetary Authority of Singapore) ธนาคารกลางฟิลปิ ปินส์(Bangko Sentral
ng Pilipinas) และธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ไดต้ กลงทจี่ ะเสรมิ สรา้ งและยกระดบั ความร่วมมือดา้ นการเช่ือมโยงระบบ
การชาระเงนิ เพ่อื สนบั สนุนใหก้ ารชาระเงินข้ามพรมแดนทาได้เรว็ ขึ้น ในตน้ ทนุ ทต่ี ่าลง โปร่งใสข้ึน และทว่ั ถึงมากขึ้น บนั ทึก
ความเขา้ ใจ (MOU) ว่าดว้ ยความรว่ มมือในการเชื่อมโยงการชาระเงนิ ในภมู ภิ าค (Regional Payment Connectivity) มีการ
ลงนามเม่ือวนั ท่ี 14 พฤศจิกายน 2565 ที่บาหลี ประเทศอนิ โดนเี ซยี นอกรอบการประชุมสุดยอดผ้นู า G20 โดย
ประธานาธบิ ดโี จโก วิโดโด แหง่ อนิ โดนเี ซยี กลา่ วสนุ ทรพจน์ ประธานาธิบดวี ิโดโดกลา่ วสนุ ทรพจนใ์ นพธิ ีลงนาม โดยเน้นย้าถงึ
ความสาคญั ของการดาเนินการร่วมกันท่เี ป็นรูปธรรมในการจัดการกบั ความท้าทายระดับโลก และได้ขอบคณุ ผู้วา่ การธนาคาร
กลางทั้ง 5 แห่งสาหรบั ความมุง่ มนั่ ในการนาเสนอนวัตกรรมทก่ี ้าวหน้า ซงึ่ จะชว่ ยเรง่ การเชือ่ มโยงการชาระเงนิ ในภูมภิ าค การ
เช่ือมโยงการชาระเงินในภูมิภาค จะมสี ่วนสาคญั ในการเร่งการฟ้นื ตวั ของเศรษฐกจิ ในภมู ิภาคและสง่ เสรมิ การเตบิ โตอยา่ งทว่ั ถงึ
การดาเนินการเช่อื มโยงการชาระเงินขา้ มพรมแดนจะสนบั สนุนและอานวยความสะดวกในการคา้ ข้ามพรมแดน การลงทนุ
การเงนิ เชงิ ลึก การส่งเงินกลบั การท่องเท่ยี ว และกิจกรรมทางเศรษฐกิจอนื่ ๆ ตลอดจนระบบนเิ วศทางการเงินท่ีครอบคลมุ
มากขน้ึ ในภมู ิภาค ซึ่งเปน็ ประโยชน์อย่างมากสาหรับธรุ กิจขนาดย่อม ขนาดเลก็ และขนาดกลาง เน่อื งจากจะชว่ ยอานวยความ
สะดวกในการเข้ารว่ มในตลาดต่างประเทศ ความรว่ มมือดงั กลา่ วจะมีรูปแบบหลากหลาย ท้งั ผา่ นควิ อารโ์ ค้ดและการชาระเงนิ ท่ี
รวดเรว็ การเรง่ เปลย่ี นผา่ นเศรษฐกิจและการเงนิ ใหก้ ้าวส่ดู จิ ทิ ัลได้กลายเป็นความคิดรเิ รม่ิ ระดับโลก โดย G20 ได้กาหนด
แผนงานเพอ่ื ยกระดบั การชาระเงนิ ข้ามพรมแดน ความคิดรเิ รม่ิ ในความรว่ มมอื ยงั สอดคลอ้ งกบั วาระสาคัญด้านการขบั เค่ลอ่ื น
ไปสดู่ จิ ทิ ัลของอินโดนเี ซียในฐานะประธาน G20 ซ่ึงรวมถึงผ่านระบบการชาระเงนิ ในยุคดิจทิ ลั ซ่งึ เหน็ ไดจ้ ากความพยายาม
รว่ มกนั ในการดาเนินการยกระดับการเช่ือมโยงการชาระเงินขา้ มพรมแดนที่มอี นิ โดนเี ซยี มาเลเซยี ฟลิ ปิ ปนิ ส์ และสงิ คโปร์ และ
ประเทศไทยเขา้ ร่วมมองไปข้างหนา้ โครงการริเรม่ิ ด้านการเช่อื มโยงการชาระเงนิ น้ีสามารถขยายใหค้ รอบคลุมประเทศอน่ื ๆ ใน
ภมู ภิ าคและประเทศพันธมิตรอนื่ ๆ ท่ีอาจเป็นไปไดน้ อกภมู ภิ าค เหตกุ ารณส์ าคญั นย้ี งั เป็นจุดเริ่มตน้ ของการเป็นประธานสมาคม
ประชาชาตแิ หง่ เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) ของอินโดนีเซยี ในปี 2566 ความรว่ มมอื รว่ มน้ยี ังสนับสนนุ เปา้ หมายร่วมกนั
ของอาเซียนทจ่ี ะมีระบบการชาระเงนิ ท่เี ช่ือมโยงกนั ซ่งึ จะช่วยให้สามารถชาระเงนิ ขา้ มพรมแดนไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ไร้รอยตอ่ และ
มรี าคาจับตอ้ งไดท้ ว่ั ท้งั ภมู ภิ าค เพอ่ื ให้สอดคล้องกบั แนวทางปฏิบตั ิของอาเซยี นในการบูรณาการใหล้ ึกข้นึ ผ่านขอ้ ตกลงท่ีเป็น
ประโยชนร์ ่วมกนั โดยพจิ ารณาจากระดบั ความพร้อม การริเร่ิมนเ้ี ป็นการสร้างพน้ื ฐานสาหรับการมีส่วนรว่ มของอาเซยี นในวง
กวา้ งในอนาคตอันใกล้ ซึง่ จะเปน็ การเสรมิ สร้างความสัมพนั ธท์ างเศรษฐกิจในระดับภมู ิภาคทเี่ ข้มแข็ง
นายเพอร์รี วาร์จโิ ย ผวู้ ่าการธนาคารกลางอนิ โดนเี ซยี ยา้ วา่ “MOU ฉบับนีถ้ ือเปน็ หลักชยั สาคญั ในการปูทางไปสู่การพัฒนาการ
เชอื่ มโยงการชาระเงินขา้ มพรมแดน ขอ้ ตกลงการเช่ือมตอ่ การชาระเงนิ ทวภิ าคที ่มี ีอยู่จะถูกขยายใหเ้ ปน็ ส่วนหนึง่ ของความ
พยายามของภมู ภิ าคในการเสรมิ สรา้ งการบูรณาการทางเศรษฐกิจ ความรว่ มมือระหวา่ งธนาคารกลางดงั กลา่ วเปน็ ปัจจยั สาคญั
ในการเร่งการฟ้นื ตวั ของเศรษฐกจิ เราหวังวา่ ประเทศอน่ื ๆ จะดาเนนิ การตามตัวอยา่ งท่ดี แี ละความเปน็ ผูน้ าในการใชก้ าร
เชื่อมโยงการชาระเงนิ ขา้ มพรมแดน” นูร์ ชัมเซียะห์ ยนู สุ ผูว้ า่ การธนาคารกลางมาเลเซียกล่าวว่า “ความคิดรเิ รมิ่ นยี้ ้าถงึ
ความสาคญั ของการทางานร่วมกนั ของธนาคารกลางในการสนับสนนุ การพฒั นาการเช่อื มโยงการชาระเงนิ ยคุ หนา้ การทาให้
วสิ ยั ทัศนข์ องเครือขา่ ยระบบการชาระเงนิ ข้ามพรมแดนทร่ี วดเรว็ และมปี ระสทิ ธภิ าพระดบั ภมู ภิ าคของอาเซยี นเป็นจรงิ จะช่วย
พฒั นาเป้าหมายทางดจิ ิทลั ของเราและส่งเสรมิ การบรู ณาการทางการเงินทีล่ กึ ยิ่งขึ้นเพื่อประโยชน์ของการพฒั นาเศรษฐกิจของ
ภมู ิภาค” นายราวี เมนอน กรรมการผู้จดั การของ MAS กล่าวว่า “MOU ฉบับนี้เนน้ ยา้ ถงึ ความมุ่งมั่นของอาเซยี นในการบรรลุ
เป้าหมายท่จี ะทาให้การชาระเงนิ ในภมู ภิ าคสามารถเชือ่ มโยงกันได้ และมีการเช่ือมโยงภาบในปี 2568 ซง่ึ สง่ ผลใหก้ ารชาระเงิน
ข้ามแดนมรี าคาถูกลง เร็วข้ึน และโปร่งใสมากขน้ึ ความพยายามของอาเซยี นสอดคล้องกับเปา้ หมายของ G20 ในการจดั การ
กับข้อจากัดของการชาระเงนิ ขา้ มพรมแดนทว่ั โลก สรา้ งโอกาสทางธรุ กจิ ใหม่ ๆ และส่งเสรมิ การเตบิ โตอย่างท่วั ถึง” นายมารโิ ต
ทงั โกนาน รองผ้วู ่าการ ธนาคารกลางฟิลิปปินสซ์ ึ่งเป็นตัวแทนของ เฟลเิ ป เมดาลลา ผู้วา่ การ กล่าววา่ “ย่ิงเราตระหนกั ว่า
เศรษฐกิจของเราพงึ่ พาซง่ึ กันและกนั มากเพยี งใด เราย่งิ ต้องพิจารณาอย่างรอบคอบในการเดนิ หนา้ ตามวสิ ัยทศั น์ของภมู ภิ าค
อาเซียนท่เี ช่ือมโยงกัน บันทึกความเข้าใจนเ้ี นน้ ย้าถึงแนวทางการทางานรว่ มกันและครอบคลุมของเราในการยกระดับการชาระ
เงินข้ามแดนในอาเซยี น ซึ่งจะนาไปสูก่ ารเพม่ิ ประสทิ ธิภาพและการประหยดั ตน้ ทุนในการทาธุรกรรมทางการเงนิ ระหวา่ ง
ประเทศและกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ตา่ งๆ” นายรณดล นุม่ นนท์ รองผ้วู ่าการ ดา้ นเสถียรภาพระบบสถาบนั การเงนิ ธปท. ซงึ่ เขา้

รว่ มงานแทนดร.เศรษฐพฒุ ิ สทุ ธิวาทนฤพุฒ ผู้ว่าการ ธปท. กลา่ ววา่ “ปจั จุบันอาเซยี นเปน็ ภูมิภาคทีไ่ ดร้ ับความสนใจอยา่ งมาก
จากนานาประเทศในดา้ นการเชอื่ มโยงระบบการชาระเงนิ โดย MOU น้ีเปน็ การตอ่ ยอดจากส่ิงทปี่ ระเทศสมาชกิ ไดเ้ รม่ิ
ดาเนินการไปแล้วในช่วงท่ีผ่านมา และเปน็ อกี กา้ วสาคัญในการรว่ มกนั ก้าวขา้ มอปุ สรรคด้านการชาระเงนิ ระหวา่ งประเทศทมี่ ี
มายาวนาน ท้ังนี้ MOU ดังกลา่ วสอดคลอ้ งกับการเชือ่ มโยงระบบการชาระเงนิ ในปัจจุบนั ของอาเซียนซึง่ เปน็ การเช่อื มแบบทวิ
ภาคี และจะเปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ สาหรบั การเช่ือมแบบพหภุ าคี เพือ่ สนบั สนนุ การขบั เคลอื่ นทางดจิ ทิ ัล และการรวมกล่มุ ทางการเงนิ
ในภมู ภิ าคตอ่ ไป”

ภาคเอกชนเตรยี ม 69 ข้อเสนอแนะขับเคลื่อนเศรษฐกจิ สง่ มอบผู้นา APEC 16 พฤศจิกายน 2022
ภาคเอกชนเผยข้อสรปุ แนวทางการขบั เคลอื่ นเศรษฐกิจบนเวทีเอเปค 2022 ภายใต้แนวทาง ‘Embrace, Engage, Enable’
ภาคเอกชนภายใต้การนาของสภาทปี่ รกึ ษาทางธุรกจิ เอเปค (ABAC) ผรู้ ับหนา้ ที่ประธานและเจ้าภาพการจดั ประชุมสภาท่ี
ปรึกษาธรุ กจิ 2022 และ APEC CEO Summit 2022 ภายใตแ้ นวทาง “Embrace, Engage, Enable” พร้อมสง่ มอบ
ข้อเสนอแนะและแนวทางการขับเคลอ่ื นเศรษฐกจิ แกภ่ าคนโยบายผา่ นเวทกี ารประชุมเอเปค 2022 โดยพร้อมกนั น้ี ยงั ไดร้ บั
การสนับสนนุ จาก PwC ในฐานะ ‘พันธมติ รดา้ นองคค์ วามร’ู้ ของงาน APEC CEO Summit 2022 ในการส่งมอบรายงานทาง
ธรุ กิจ (Thought Leadership) แก่ภาคธรุ กจิ ทศิ ทางสาคญั ตอ่ การขับเคลอื่ นและก้าวข้ามความท้าทายของการดาเนินธุรกจิ
ภาคเอกชนในอนาคตอันใกล้ ขอ้ เสนอแนะต่อผนู้ าเขตเศรษฐกิจเอเปค สภาทีป่ รกึ ษาทางธรุ กจิ เอเปค คอื หนว่ ยงานภาคเอกชน
ท่ีกอ่ ต้งั ข้นึ ในปี ค.ศ.1995 ทาหนา้ ที่เปน็ ตวั แทนของภาคเอกชนในการสง่ มอบขอ้ เสนอแนะต่อผู้นาเอเปคในการเจรจาประจาปี
และใหค้ าแนะนาแกเ่ จา้ หนา้ ทีเ่ อเปคในขอ้ กังวลต่างๆ ของภาคธรุ กจิ ตลอดจนประเด็นตา่ งๆ ทสี่ าคัญของภาคธรุ กจิ โดยการ
ประชุมสภาท่ีปรกึ ษาทางธุรกจิ เอเปคจะจัดขนึ้ 4 คร้งั ต่อปี โดยระหวา่ งนี้ สมาชิกสภาทีป่ รกึ ษาทางธุรกจิ เอเปค จะเขา้ รว่ มการ
ประชุมของเจา้ หน้าทอี่ าวโุ ส การประชมุ ระดบั รฐั มนตรีประจาปี และการประชุมระดับรัฐมนตรรี ายสาขาของการประชุมเอเปค
ท่จี ดั ขึน้ ตลอดปี ด้วยชว่ งปที ่ีผา่ นมา ภูมิภาคเอเชียแปซฟิ กิ ได้เผชิญภาวะการหยดุ ชะงักคร้ังใหญ่ ไม่วา่ จากการแพรร่ ะบาดของ
โควดิ ความท้าทายดา้ นสงคราม วกิ ฤตความมนั่ คงดา้ นอาหาร วิกฤตพิ ลงั งาน ภาวะเงินเฟอ้ ฯลฯ การสง่ มอบข้อแนะนาจาก
สภาท่ปี รึกษาทางธรุ กจิ เอเปค 2022 (ABAC 2022) ภายใตแ้ นวทาง “Embrace, Engage, Enable” ในปีน้ี จึงนบั เป็นมติ ิใหม่
ทางสถานการณโ์ ลก ที่จะเปน็ การเปดิ รับโอกาส (Embrace), การสอดประสานความร่วมมอื (Engage) และการรว่ มผลกั ดนั สู่
ความเปน็ ไปไดใ้ หม่ๆ (Enable) โดยมีเปา้ หมายของการสนบั สนนุ การเร่งการฟนื้ ตัว และการกลบั มาสรา้ งแรงกระตนุ้ ทาง
เศรษฐกิจใหมอ่ ีกครัง้ เปน็ ประการสาคัญ นายเกรียงไกร เธียรนุกลุ ประธานสภาทีป่ รึกษาทางธุรกจิ 2022 กลา่ วว่า “คาแนะนา
ของสภาทีป่ รกึ ษาทางธุรกิจเอเปคในปนี ้ี รวบรวมขึน้ โดยมีฉากหลังของความขดั แยง้ และแนวโนม้ ของเศรษฐกจิ โลกซ่ึงมีความ
เกีย่ วข้องกนั อย่างลึกซึ้ง เราพบความทา้ ทายหลายประการ ไม่ว่า ความไมม่ นั่ คงด้านอาหารและพลงั งาน ผลกระทบอย่าง
ตอ่ เนื่องของการระบาดใหญ่ การหยุดชะงกั ในห่วงโซ่อุปทานทัว่ โลก และแรงกดดันด้านเงนิ เฟอ้ ทีเ่ พมิ่ ขน้ึ อนั บน่ั ทอน
ความสามารถของภูมภิ าคในการบรรลุวสิ ยั ทัศน์ของเอเปค น่ันคอื การเปน็ ชมุ ชนเอเชียแปซิฟกิ ทเี่ ปดิ กว้าง มีพลงั ยดื หยุน่ และ
สงบสุขภายในปี 2040 เพือ่ ความมงั่ ค่ังของประชาชนและคนรุน่ ตอ่ ไปในอนาคต อยา่ งไรก็ดี หลงั สภาท่ปี รกึ ษาทางธุรกจิ เอเปค
ผ่านการประชุมใหญม่ าตลอดปรี วม 3 ครง้ั ไม่วา่ ท่ีสงิ คโปร,์ แคนาดา และเวียดนาม จนมาถึงคร้ังสดุ ทา้ ยท่ี กรุงเทพฯ ประเทศ
ไทย ระหว่าง 13-16 พฤศจกิ ายนน”ี้
“ณ วนั น้ีเราสามารถกลา่ วได้ว่า เราได้ขอ้ สรปุ ของข้อเสนอแนะรวมทงั้ สน้ิ 69 ขอ้ ภายใต้เปา้ หมายใหญ่ 2 แนวทาง นน่ั
คือ “การสง่ เสริมการฟ้นื ตัวอยา่ งรวดเรว็ และย่งั ยนื ” และ “การกลบั มาสรา้ งแรงกระตุ้นสาหรบั การเตบิ โตอย่างยั่งยนื
ทวั่ ถึง และมคี วามยดื หยนุ่ ” โดยในขอ้ หลงั ประกอบด้วยการก้าวสคู่ วามยัง่ ยืน, การบรู ณาการทางเศรษฐกิจในระดับ
ภูมิภาคทล่ี กึ ซง้ึ ยิง่ ข้นึ และการส่งเสริมสภาพแวดลอ้ มท่ีเอือ้ อานวยผา่ นการทาใหเ้ ป็นดิจทิ ลั โดยคณะทางานจะทาการสง่
มอบรายงานฉบบั สมบูรณ์แก่ผูน้ าเอเปคในลาดับตอ่ ไป”

สภาท่ีปรกึ ษาทางธุรกิจเอเปคเตรียม 5 ข้อเสนอเรง่ ด่วนตอ่ ท่ปี ระชมุ สุดยอดAPEC
ขอ้ เสนอแนะต่อภาคธุรกจิ นอกจากขอ้ เสนอแนะตอ่ ภาคนโยบาย สภาทปี่ รึกษาทางธุรกิจเอเปค ยงั รับหน้าทก่ี ารเป็นประธาน
และเจา้ ภาพการจดั ประชมุ APEC CEO Summit 2022 ระหว่างวันท่ี 16 – 18 พฤศจิกายน ภายใตแ้ นวทาง “Embrace,
Engage, Enable” อกี เชน่ กัน อนั นบั เปน็ การประชมุ ทร่ี วมผูน้ าเขตเศรษฐกจิ ผู้นาทางความคดิ และซอี โี อชนั้ นาจานวนมากใน
การแลกเปลย่ี นมมุ มองทางการค้า การลงทนุ และการขบั เคลือ่ นทางสังคม เพือ่ ให้ชุมชนเอเชยี แปซฟิ คิ ได้ร่วมโอบรบั โอกาส
สอดประสานความรว่ มมอื และการผลกั ดันสคู่ วามเปน็ ไปไดใ้ หมๆ่ ระหว่างภาคเอกชนดว้ ยกัน นายมนตรี มหาพฤกษพ์ งศ์
APEC Business Advisory Council Executive Director 2022 และ APEC Business Advisory Council Thailand

Alternate Member กล่าวถงึ ความสาคญั ของการสนบั สนนุ ข้อมูลจากเอกชนต่อภาคธุรกจิ ซึ่งเปน็ ภาคสว่ นที่มีความสาคญั ยิ่ง
ของการขับเคลอ่ื นเศรษฐกิจ การคา้ และลงทนุ ในเอเชียแปซฟิ ิกไวว้ า่ “แม้บทบาทหลักของสภาทปี่ รึกษาทางธรุ กจิ เอเปค จะ
เปน็ การส่งมอบข้อเสนอแนะตอ่ ภาคนโยบาย แตเ่ พอื่ ให้กลไกของภาคเอกชนขับเคลือ่ นอยา่ งรอบดา้ นและมีพลวัต เราจงึ ให้
ความสาคญั ตอ่ การสง่ เสรมิ ผูป้ ระกอบการทุกระดับในอีกช่องทาง ผ่านรายงานทจ่ี ะเปน็ การให้คาแนะนาตอ่ ภาคธุรกจิ ใน
ประเด็นสาคญั ตา่ งๆ ดังทเี่ ราตา่ งพบว่า ภาคธุรกจิ กาลังเผชญิ กบั ความท้าทายรอบด้าน ไม่ว่า แรงกดดนั จากอัตราเงนิ ที่เฟ้อที่
สูงขนึ้ การปรับตัวหลงั โควดิ จากหลายปัจจยั ทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป ไมว่ า่ การปรับตัวส่ดู จิ ิทลั ของธุรกิจและผู้บรโิ ภคทร่ี วดเรว็ ข้ึน
รวมไปถงึ ปญั หาการเปลีย่ นแปลงดา้ นสภาพภูมิอากาศทีท่ ัง้ โลก รวมท้ังภูมิภาคเอเชยี แปซฟิ ิกกาลงั ให้ความสาคญั อย่ใู นเวลาน้ี…
เราเชื่อวา่ ช่วงเวลาน้เี ชน่ นี้ ภาคธรุ กิจกาลงั ต้องการขอ้ มลู ทนี่ ่าเช่ือถอื ในนาไปเป็นแนวทางในการปรับใช้เป็นการเร่งดว่ น”
รายงานดงั กล่าว เกดิ จากความร่วมมอื จาก PwC หรอื พันธมติ รดา้ นองคค์ วามรู้ (Knowledge Partner) ของการประชมุ APEC
CEO Summit 2022 ในการสง่ มอบข้อมลู เชงิ ลกึ ระหวา่ งการประชุม นายเกษมสิทธิ์ ปฐมศกั ด์ิ Executive Director, APEC
CEO Summit 2022 และ APEC Business Advisory Council Thailand Alternate Member กลา่ วถึงการสนับสนุนใน
ครง้ั นี้ไวว้ า่ “ดว้ ยสภาท่ปี รกึ ษาทางธุรกิจเอเปค ยงั รบั หน้าท่ีประธานและการเป็นเจา้ ภาพการจดั ประชมุ APEC CEO Summit
2022 เราจงึ เหน็ ความสาคญั อย่างยิ่งต่อการมีขอ้ มลู เชงิ ลกึ ประกอบการประชมุ ครง้ั ประวัติศาสตร์น้ี เพอื่ ทสี่ ุดแล้ว
นอกเหนือจากบทสนทนาทเ่ี ขม้ ข้นทีจ่ ะเกิดขึ้นระหว่างการประชมุ เรากย็ ังมีรายงานท่อี ัดแน่นด้วยข้อเสนอแนะทส่ี าคัญแกภ่ าค
ธุรกจิ ในการไปปรบั ใช้ เพ่ือสร้างกลยทุ ธท์ างธุรกจิ ทเี่ หมาะสมต่อไปในอนาคต โดยผจู้ ดั งานมีความยินดเี ป็นอย่างยงิ่ ท่ี PwC ซึ่ง
เปน็ พนั ธมิตรดา้ นองค์ความรู้ (Knowledge Partner) ของ APEC CEO Summit 2022 ไดร้ ่วมสนับสนุนในการส่งมอบ
รายงาน (Thought Leadership) ดงั กลา่ ว เราเชอ่ื มั่นวา่ จะเป็นประโยชน์อย่างย่งิ ทงั้ สาหรบั การประชมุ อนั ทรงคุณคา่ และการ
เป็นแนวทางของภาคธรุ กิจในการสรา้ งความม่นั คงและยั่งยืนตอ่ ไป” ด้าน มร.ศรดี ารัน ไนร์ (Mr.Sridharan Nair) รองประธาน
PwC ประจาภูมิภาคเอเชียแปซฟิ กิ กล่าวถึงการสนับสนุนดา้ นรายงาน (Thought Leadership) ภายใตช้ ื่อ ‘การรบั มอื ตอ่ โลก
แหง่ ความเป็นจริงใหม’่ (Asia Pacific’s Time: Responding to the new reality) ฉบบั นี้ไว้วา่ “ธรุ กจิ ตา่ ง ๆ ลว้ นมบี ทบาท
สาคัญในการขบั เคลอื่ นการเติบโตอย่างต่อเน่อื งของภมู ิภาคเอเชยี แปซฟิ กิ และนาพาภูมิภาคนี้ไปสูอ่ นาคต ในฐานะขมุ พลงั ทาง
เศรษฐกิจท่ีมีความยืดหยุ่นและยง่ั ยนื สิ่งทตี่ ้องทาอยา่ งเรง่ ดว่ น คอื เปล่ยี นความไมแ่ น่นอนของความเป็นจรงิ ในวนั นใ้ี ห้เป็น
โอกาส ผนู้ าธรุ กจิ จาเป็นตอ้ งมคี วามกล้าทจ่ี ะปรับตัวและพัฒนาอยา่ งรวดเร็ว โดยมุง่ เนน้ ไปทีก่ ารสรา้ งความไวว้ างใจ และ
รว่ มมือกับผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี ทกุ ฝา่ ย ซ่งึ เราพบวา่ มีปจั จยั หา้ ประการท่ีมคี วามสอดคลอ้ งและส่งเสริมกนั ไดแ้ ก่ ห่วงโซ่อปุ ทาน
การเติบโตขององคก์ รระดบั ภมู ภิ าค เศรษฐกจิ ดจิ ิทลั กาลงั แรงงาน และภมู ทิ ัศน์ของ ESG ซง่ึ ปจั จยั ทง้ั หมดนี้ จะชว่ ยขบั เคลือ่ น
การสรา้ งความแตกต่างและความสามารถในการแข่งขันให้กบั ธุรกจิ ในภมู ภิ าคมคี วามเจรญิ รุ่งเรอื งต่อไป” มร.ศรดี ารนั ไนร์
กล่าว พลงั สาคญั แหง่ การขบั เคลือ่ นเศรษฐกจิ การสง่ มอบข้อเสนอแนะจากภาคเอกชนตอ่ ภาคนโยบาย (ABAC’s
Recommendations) และจากภาคเอกชนตอ่ ภาคธุรกิจ (Thought Leadership) ทด่ี าเนินการผ่านสภาทป่ี รึกษาทางธุรกจิ
เอเปค 2022 นี้ จะเป็นพลงั ขับเคลื่อนทางเศรษฐกจิ ท่สี าคัญ น่นั เพราะภาคธรุ กิจคอื กลไกหลกั ในการสร้างความเจริญเติบโต
ทางการคา้ ในภมู ิภาคเอเชียแปซฟิ กิ ผ่านเวทเี อเปค และเปา้ หมายหลกั ของเอเปค คือการสนบั สนนุ การเตบิ โตทางเศรษฐกิจ
อย่างย่ังยืน และความเจรญิ ร่งุ เรอื งในภมู ิภาค ภาคเอกชน โดยสภาที่ปรกึ ษาทางธรุ กิจเอเปค 2022 มีความเช่อื ม่นั ว่า
คาแนะนาดังกลา่ วจะชว่ ยหลอมรวมเอเปคสคู่ วามเป็นหนึ่ง ในการขับเคลอ่ื นชุมชนเอเชยี แปซิฟกิ ให้เกดิ พลวตั และมีความ
กลมกลนื โดยสนับสนนุ การค้าและการลงทุนทีเ่ ปดิ กวา้ งและเสรี ส่งเสรมิ และเรง่ การรวมตัวทางเศรษฐกจิ ในระดับภูมิภาค
สง่ เสริมความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจและทางเทคนิค เสริมสรา้ งความมน่ั คงของมวลมนษุ ย์ และอานวยความสะดวกใน
สภาพแวดล้อมทางธรุ กจิ ทเ่ี อือ้ อานวยและยงั่ ยนื และทาให้นโยบาย กลายเเปน็ ผลลพั ธท์ เี่ ป็นรูปธรรมและสรา้ งข้อตกลงท่ีจับ
ต้องได้อนั เป็นประโยชน์ของประชาชนรว่ มกนั

นายกฯปลม้ื ทูต 30 ประเทศ ช่นื ชมไทยเดินหน้าสเู่ ป้าหมาย ศก. BCG – มติ ครม.ลดภาษีดเี ซล 5 บาท/ลิตร 2 เดือน
15 พฤศจิกายน 2022

นายกฯเยยี วยาเหย่ือโศกนาฎกรรมหนองบวั ลาภแู ล้ว 46 ราย 43 ลา้ น-ปล้ืมทูต 30 ประเทศ ชน่ื ชมไทยเดินหนา้ สเู่ ป้าหมาย
ศก. BCG – เช่ืออาเซียนเป็นแสงสว่าง-ความหวงั ดึงเศรษฐกจิ โลกฟนื้ -มติ ครม.ลดภาษดี ีเซลลิตรละ 5 บาท ตอ่ อีก 2 เดือน-
เคาะงบฯประกันรายได้ 18,700 ลา้ น แจกไรล่ ะพัน 55,083 ล้านบาท-ลดค่าวีซ่ารกั ษาพยาบาล หนุนทอ่ งเทย่ี วเชงิ สุขภาพ-ตง้ั
“พาตีเมาะ สะดยี าม”ู เปน็ ผวจ.ผหู้ ญิงคนแรกท่ีปัตตานี

เม่อื วันที่ 15 พฤศจิกายน 2565 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานการประชุมคณะรฐั มนตรี (ครม.) ณ
ตกึ สนั ตไิ มตรี ทาเนียบรฐั บาล ภายหลังการประชมุ ครม. เสรจ็ สน้ิ พลเอก ประยทุ ธ์ ไดม้ อบหมายใหน้ ายอนชุ า บรู พชยั ศรี รอง
เลขาธิการนายกรฐั มนตรี ฝ่ายการเมือง ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่โี ฆษกประจาสานกั นายกรัฐมนตรี รายงานขอ้ สงั่ การของนายกรัฐมนตรี
เชือ่ อาเซยี นเปน็ แสงสวา่ ง-ความหวงั ดงึ เศรษฐกิจโลกฟื้น
นายอนุชา กล่าววา่ ในที่ประชมุ ครม. นายกฯ ไดก้ ลา่ วถงึ ความสาเรจ็ ของการรว่ มประชุมสดุ ยอดอาเซยี นในช่วงสปั ดาห์ทผ่ี า่ น
มา (10-12 พฤศจกิ ายน 2565) ท่ีกรุงพนมเปญ ราชอาณาจกั รกมั พชู า โดยทกุ อย่างเปน็ ไปด้วยความเรียบร้อยตาม
วตั ถปุ ระสงค์ และได้รบั ผลสาเรจ็ โดยวาระการประชมุ มีท้ังการประชุมทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั กรอบอาเซยี น และการประชมุ ทวิภาคที ่ี
นายกฯ ซึง่ นายกฯ ได้มโี อกาสพดู คุยและปรกึ ษากบั ประเทศอืน่ ๆ และองคก์ รระหว่างประเทศ
“ต้องบอกวา่ หลายประเทศไดพ้ ูดวา่ ทา่ มกลางสถานการณภ์ าวะเศรษฐกจิ ของโลกทถี่ ดถอย แตใ่ นสว่ นของอาเซียนถอื ว่าเป็น
ความหวัง เป็นแสงสว่างที่จะทาใหเ้ ศรษฐกิจโลกสามารถกระเต้อื งขน้ึ โดยเฉพาะอย่างย่ิงโอกาสของไทยในฐานะท่เี รามี
ความสามารถในการแขง่ ขนั หลายสว่ นทไี่ ดพ้ ัฒนามากขนึ้ และสามารถควบคมุ และรบั มือกบั สถานการณ์โควิด-19 ไดเ้ ปน็ อยา่ ง
ดี สาคญั ทส่ี ุด คอื ในฐานะแหล่งผผู้ ลิตอาหารของโลก ซงึ่ ถอื วา่ ความม่ันคงทางอาหาร หรือ Food Security เป็นสิ่งทที่ ว่ั โลก
พูดถึงเป็นอย่างยิง่ ” นายอนชุ า กลา่ ว
นายอนชุ า กล่าวต่อวา่ “อปุ สรรคหลายอย่างทอ่ี าเซยี นพบ รวมถงึ ไทย คือต้นทนุ การผลติ ของเกษตรกร โดยเฉพาะปัญหาปยุ๋
แพง ราคาสูง ทาใหต้ น้ ทุนการผลติ สูงไปด้วย ซึง่ เปน็ ปญั หาไม่ใชเ่ ฉพาะประเทศไทย หรอื อาเซียนเท่าน้ัน จึงต้องมีการพูดคยุ
กันอย่างตอ่ เนอื่ ง โดยตอนนีเ้ ป็นการพดู คยุ ทอี่ ินโดนเี ซยี ในสว่ น G20 ตอ้ งมกี ารตดิ ตามอย่างตอ่ เน่อื งวา่ หลังจากการประชมุ
อาเซยี นจะมีการพูดเพิม่ เติมในส่วนใดได้บา้ ง”
ปลื้มทูต 30 ประเทศ ชนื่ ชมไทยเดินหนา้ สู่เป้าหมาย ศก. BCG
นายอนชุ า กลา่ วตอ่ วา่ ในท่ีประชมุ ครม. นายกฯ กล่าวขอบคณุ รองนายกฯ และรฐั มนตรีทกุ คนที่รว่ มกนั ทางานเตรยี มความ
พร้อมเปน็ เจา้ ภาพการประชุม APEC ทจ่ี ะเกดิ ขึน้ สัปดาห์ตัง้ แตว่ นั ท่ี 14-19 พฤศจกิ ายน 2565 โดยเฉพาะมาตรการการรกั ษา
ความปลอดภัย ตลอดชว่ งการประชุม และม่ันใจว่าการประชุมส่วนเน้อื หาสาระจะเปน็ ไปตามหวั ขอ้ หรอื Theme ท่ีกาหนด
คือ “Open Connect Balance” หรอื “เปิดกว้างสรา้ งสัมพนั ธ์ เชอ่ื มโยงกนั สู่สมดลุ ”
นายอนชุ า กลา่ วต่อว่า สัปดาหก์ ารประชุมเอเปคไดเ้ รมิ่ ข้ึนแล้วตง้ั แตเ่ มื่อวานน้ี (14 พฤศจิกายน 2565) ท่นี ายกฯ ไดต้ ้อนรับ
คณะผแู้ ทนเยาวชนจากเขตเศรษฐกจิ เอเปค ในโครงการ “APEC Voices of The Future” และเขา้ เยย่ี มนายกฯ ทท่ี าเนียบ
รฐั บาล ถดั มาช่วงบา่ ย นายกฯ ไดเ้ ปดิ นทิ รรศการ BCG ที่ศูนยป์ ระชุมแห่งชาติสิริกติ ต์ิ โดยผเู้ ข้าร่วมเปน็ เอกอัครราชทตู
มากกวา่ 30 ประเทศ รวมถงึ ผแู้ ทนประเทศต่างๆ เกอื บ 50 ประเทศ ท้งั นผี้ เู้ ขา้ ร่วมงานกลา่ วแสดงความช่ืนชมในส่ิงทีร่ ัฐบาล
กาลังดาเนนิ การ ผลกั ดันเป้าหมายเศรษฐกิจ BCG ของกรุงเทพมหานคร ไมว่ ่าจะเป็น เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกจิ หมุนเวยี น
และเศรษฐกจิ สเี ขยี ว “นายกฯ กลา่ วว่าการประชุมเอเปคครง้ั น้ีถอื เปน็ หน้าตาของคนไทยทัง้ ประเทศ ซงึ่ ผลลัพธท์ ่ีจะไดค้ ือ
โอกาสประเทศไทยในการสรา้ งความเช่อื มโยงด้านเศรษฐกิจ การคา้ การลงทุน และความร่วมมือดา้ นตา่ งๆ ที่จะเป็นโอกาสท่ี
ประเทศไทยจะประชาสมั พันธศ์ ักยภาพทกุ ด้าน ท่านขอใหค้ นไทยทกุ คนรว่ มกนั เป็นเจา้ ภาพตอ้ นรับผนู้ าและผเุ้ ดินทางเข้าร่วม
การประชมุ ” นายอนุชา กลา่ ว
เยยี วยาเหยอื่ โศกนาฎกรรมหนองบัวลาภูแลว้ 46 ราย 43 ล้าน
นายอนุชา รายงานว่า ปลัดสานักนายกรฐั มนตรี ไดร้ ายงานผลการประชุมคณะกรรมการกองทุนเงินชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัยที่
เกย่ี วข้องกบั การชว่ ยเหลอื ผ้เู สียหาย กรณีเหตุการณร์ า้ ยแรงในจงั หวดั หนองบวั ลาภู โดยคณะกรรมการกองทุนฯ ได้อนมุ ัติ
เงินกองทุนช่วยเหลอื ผู้ประสบสาธารณภยั ให้ผเู้ สียชีวิตจานวน 36 ราย และผูบ้ าดเจบ็ 10 ราย โดยไมร่ วมกับเงนิ ทีไ่ ดบ้ รจิ าคเขา้
กองทนุ เงนิ ชว่ ยเหลอื เพม่ิ เตมิ นายอนุชา ใหข้ ้อมูลว่า กรณีเสยี ชวี ิตไดร้ ับ 1,000,000 บาทต่อราย กรณที ุพพลภาพ 700,000
บาทตอ่ ราย กรณบี าดเจ็บสาหสั 200,000 บาทตอ่ ราย กรณบี าดเจบ็ ไม่สาหสั หรือบาดเจบ็ เล็กนอ้ ย 100,000 บาทต่อราย
นอกจากน้มี ีการอนมุ ตั เิ งินกองทนุ เงนิ ช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบสาธารณภัยในส่วนสานักนายกฯ ให้ผเู้ สยี ชีวิตทมี่ ีการตัง้ ครรภ์ 8 เดือน
เพ่มิ เตมิ อีก 200,000 บาทเป็นกรณีพเิ ศษ โดยพจิ ารณาตามหลักมนษุ ยธรรมและข้อเท็จจรงิ
นายอนชุ า กล่าวต่อว่า ที่ผ่านมาไดม้ กี ารอนมุ ตั ิเงนิ ท่มี ี ‘ผ้บู ริจาค’ เพอ่ื ช่วยเหลือเหตกุ ารณเ์ ฉพาะในจงั หวดั หนองบัวลาภู โดย
กรณีเสยี ชีวิตและบาดเจบ็ สาหสั จะไดร้ บั เพม่ิ 147,000 บาทตอ่ ราย กรณีบาดเจ็บเลก็ นอ้ ยได้รบั 10,000 บาทต่อราย
ท้ังนี้ มีผเู้ สยี ชีวิตและบาดเจบ็ รวมทงั้ หมด 46 ราย ไดร้ บั ความช่วยเหลือทัง้ สิ้น 43,214,000 บาท แบ่งเป็น ผูเ้ สยี ชีวิตความ 35
ราย ไดร้ ับทัง้ ส่วนกองทุนฯ และสว่ นบรจิ าคทัง้ สนิ้ 40,415,000 บาท กรณผี เู้ สยี ชวี ิตเปน็ หญิงตง้ั ครรภ์ 8 เดือน ไดร้ บั ทั้งส่วน

กองทนุ ฯ และส่วนบรจิ าคทั้งสน้ิ 1,347,000 บาท กรณีบาดเจบ็ สาหสั 6 ราย ไดร้ บั ทั้งส่วนกองทุนฯ และส่วนบรจิ าคทงั้ สน้ิ
1,482,000 บาท และกรณไี มส่ าหสั 4 ราย ไดร้ บั ทัง้ ส่วนกองทนุ ฯ และส่วนบริจาคทง้ั สิ้น 240,000 บาท
มติ ครม. มดี งั นี้)
เคาะงบฯประกนั รายได้ 18,700 ล้าน แจกไร่ละพนั 55,083 ล้านบาท
นายอนุชา บูรพชยั ศรี รองเลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรฝี า่ ยการเมอื ง ปฏิบตั ิหน้าทโี่ ฆษกประจาสานกั นายกรัฐมนตรี กลา่ วว่าวันน้ี
ท่ปี ระชุม ครม.เหน็ ชอบโครงการประกนั รายไดเ้ กษตรกรผปู้ ลูกข้าว พรอ้ มมาตรการค่ขู นาน และโครงการสนับสนุนค่าบรหิ าร
จัดการและพัฒนาคณุ ภาพผลผลติ เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปกี ารผลติ 2565/2566 และอนุมตั กิ รอบวงเงนิ รวมท้ังสิน้ 81,265.91
ล้านบาท เพื่อช่วยเหลอื เกษตรกรใหม้ รี ายไดจ้ ากการจาหน่ายขา้ วเปลอื กในราคาท่เี หมาะสมกบั ต้นทนุ การผลิต ปอ้ งกันความ
เส่ยี งในการจาหนา่ ยผลผลติ รวมท้งั มมี าตรการคู่ขนานเพ่อื การรกั ษาเสถียรภาพราคาข้าวไมใ่ ห้ตกต่าควบคูก่ นั ซ่ึงรายละเอียด
การดาเนนิ การเชน่ เดียวกนั กบั โครงการฯ ในปผี ลติ ทผี่ ่านมา ประกอบด้วย
1. โครงการประกนั รายได้เกษตรกรผ้ปู ลกู ขา้ ว ปี 2565/66 เปา้ หมายเกษตรกร 4.68 ล้านครวั เรอื น โดยเปน็ การจา่ ยส่วน
ต่างระหวา่ งราคาเกณทก์ ลางอ้างอิง (ราคาตลาด) และราคาประกันรายได้ (10,000 -15,000 บาทต่อตนั ตามชนดิ ขา้ ว) วงเงิน
รวม 18,700.13 ลา้ นบาท
2. มาตรการคู่ขนานโครงการประกนั รายได้ เกษตรกรผปู้ ลกู ข้าว ปี 2565/66 ประกอบด้วย 3 โครงการ เพื่อรักษา
เสถียรภาพราคาข้าวไมใ่ หต้ กตา่ วงเงินรวม 7,482.69 ลา้ นบาท ได้แก่
2.1 โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลอื กนาปี ปกี ารผลิต 2565/66 วงเงิน 7,107.69 ลา้ นบาท เป็นการจ่ายสินเช่อื เพือ่
ชะลอขา้ วเปลอื กไว้ในยงุ้ ฉางเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร จานวน 2.5 ล้านตนั ขา้ วเปลือก รวมทงั้ ค่าฝากเก็บและรกั ษา
คุณภาพข้าวในอตั รา 1,500 บาทต่อตัน
2.2 โครงการสนิ เชื่อเพ่อื รวบรวมข้าวและสรา้ งมูลค่าเพ่ิมโดยสถาบนั เกษตรกร เป็นการสนบั สนุนสนิ เชือ่ แกส่ ถาบัน
เกษตรกร ประกอบดว้ ย สหการณก์ ารเกษตร กลุม่ เกษตรกร วิสาหกจิ ชมุ ชน และศนู ย์ข้าวชุมชน เพ่อื รวบรวมข้าวเปลือกเพอื่
จาหนา่ ย และ/หรอื เพ่อื การแปรรปู วงเงิน 375 ลา้ นบาท
2.3 โครงการชดเชยดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าขา้ วในการเกบ็ สต็อก เป็นการเพิม่ สภาพคล่องใหผ้ ปู้ ระกอบการคา้ ขา้ วท่เี ข้า
ร่วมโครงการใหเ้ ก็บสต็อกในรูปแบบข้าวเปลอื กและข้าวสาร เปา้ หมายเพ่อื ดดู ซับ 4 ล้านข้าวเปลือก เก็บสตอ็ กไวอ้ ย่างน้อย
60-180 วัน (2-6 เดือน) นับตง้ั แตว่ นั ท่ีรับซ้ือ โดยรัฐชดเชยดอกเบยี้ ในอัตราร้อยละ 3 ใช้จา่ ยจากงบปกตขิ องกรมการคา้ ภายใน
หรือ เงนิ กองทนุ รวมเพ่อื ช่วยเหลือเกษตรกร
3.โครงการสนบั สนุนคา่ บรหิ ารจดั การ และพัฒนาคุณภาพผลผลติ เกษตรกรผูป้ ลูกขา้ ว ปกี ารผลติ 2565/66 เป้าหมาย
4.68 ล้านครัวเรอื น ซึ่งจะจา่ ยเงินตรงให้เกษตรกรผ้ปู ลูกข้าวในอตั ราไรล่ ะ 1,000 บาท ไมเ่ กินครวั เรือนละ 20 ไร่ หรือ
ครวั เรือนละไม่เกนิ 20,000 บาท วงเงนิ รวม 55,083.09 ลา้ นบาท
โฆษกประจาสานักนายกรฐั มนตรี เปดิ เผยว่า การจดั สรรวงเงนิ งบประมาณ เบอ้ื งตน้ เปน็ ไปตามกรอบมาตรา 28 ของ พ.ร.บ.
วินัยการเงนิ การคลงั ของรฐั พ.ศ.2561 โดยโครงการประกนั รายได้เกษตรกรผปู้ ลูกข้าวมาตรการคู่ขนานและโครงการสนับสนุน
ค่าบรหิ ารจดั การและพฒั นาคุณภาพผลผลติ เกษตรกรผปู้ ลูกขา้ ว ปี 2565/66 ได้ดาเนินการเชน่ เดยี วกบั การดาเนินการตลอด 3
ปีท่ผี ่านมา ซ่งึ รองนายกรฐั มนตรแี ละรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงพาณิชย์ ยงั ไดก้ ลา่ วในท่ีประชมุ ครม. วา่ เปา้ หมายการสง่ ออก
ข้าวไทยในปนี จ้ี ะสงู ถงึ 7.5 ล้านตนั ดว้ ย
ถามว่า โครงการประกันรายได้เกษตรกรผปู้ ลูกข้าว ปี 2565/66 ตั้งวงเงินในการจ่ายชดเชยชาวนานอ้ ยกว่าปีก่อนเปน็ จานวน
มาก อธิบดกี รมการคา้ ภายใน กลา่ ววา่ ในแตล่ ะปรี าคาข้าวเปลือกจะไมเ่ ทา่ กนั อยา่ งปที ี่แล้วเกิดการแพร่ระบาดของไวรสั โค
วิด-19 ประเทศไทยสง่ ออกข้าวไมไ่ ด้ ราคาขา้ วในตลาดจึงต่ากวา่ ราคาประกัน ทาใหร้ ัฐบาลต้องจา่ ยเงินชดเชยสว่ นตา่ งให้กบั
เกษตรกรไป 86,000 ล้านบาท แต่หลังจากสถานการณ์โควดิ ฯคลี่คลาย หลายประเทศทวั่ โลกหนั มาให้ความสาคญั กับเรื่อง
ความมน่ั คงทางด้านอาหาร จึงมกี ารสง่ั ซ้อื ขา้ วจากประเทศไทยเพม่ิ มากขึน้ ซง่ึ ในปนี ีก้ ระทรวงพาณิชย์ต้ังเป้าหมายสง่ ออกขา้ ว
ไวท้ ่ี 7.5 ล้านตัน นบั ต้ังแตว่ นั ท่ี 1 มกราคม – 30 กนั ยายน 2565 มกี ารส่งออกข้าวไปแล้ว 5,400,000 ตนั ประกอบกบั
มาตรการทัง้ หมดทผ่ี า่ นความเห็นชอบจาก ครม.ในวันนี้ โดยเฉพาะมาตรการทสี่ นบั สนุนให้เกษตรกรเกบ็ ข้าวไว้ในยุง้ ฉางจะชว่ ย
สกดั ไม่ให้ผลผลติ ขา้ วไหลเขา้ สตู่ ลาดในปริมาณทีม่ ากเกินไป ปนี ีก้ ระทรวงพาณชิ ย์ คาดวา่ จะจ่ายเงินชดเชยสว่ นตา่ งให้กับ
เกษตรกรผู้ปลูกข้าวนอ้ ยกว่าปีทแ่ี ล้ว ถามต่อวา่ ธ.ก.ส.จะจะเรม่ิ โอนเงนิ ประกนั รายไดเ้ ขา้ บัญชีเกษตรกรไดเ้ ม่อื ไหร่ นายวัฒน
ศักย์ กล่าวว่าหลังจากท่ปี ระชุม ครม.เหน็ ชอบในหลกั การแล้ว กจ็ ะมีการประชุมคณะอนกุ รรมการดาเนินการภายในสปั ดาห์
หน้า โดยจะเรม่ิ จา่ ยเงินใหก้ ับเกษตรกรทีเ่ กบ็ เกย่ี วขา้ วก่อนวันที่ 15 ตุลาคม 2565 เปน็ กลุ่มแรกก่อน จากนัน้ ก็นาเสนอที่

ประชุมบอรด์ ของ ธ.ก.ส.พิจารณาอนุมตั ิ คาดว่าเกษตรกรกล่มุ แรกจะได้รับเงนิ ประกนั รายไดโ้ อนเขา้ บัญชใี นวนั ที่ 22
พฤศจิกายน 2565 สาหรับหลักเกณฑก์ ารจา่ ยเงนิ ประกนั รายไดจ้ ะมรี ายละเอยี ดดงั น้ี
1.ขา้ วเปลอื กหอมมะลิ ความชืน้ ไมเ่ กนิ 15% ราคาประกันรายไดอ้ ย่ทู ี่ 15,000 บาท/ตนั ชดเชยให้ครวั เรอื นละไม่เกนิ 14 ตัน
2.ขา้ วเปลอื กหอมมะลนิ อกพ้นื ท่ี ความช้นื ไม่เกนิ 15% ราคาประกนั รายได้ 14,000 บาท/ตนั ครัวเรอื นละไมเ่ กิน 16 ตัน
3.ข้าวเปลอื กหอมปทมุ ธานี ความช้นื ไม่เกิน 15% ราคาประกันรายได้ 11,000 บาท/ตัน ครวั เรือนละไมเ่ กนิ 25 ตนั
4.ข้าวเปลอื กเจา้ ความชืน้ ไมเ่ กนิ 15% ราคาประกันรายได้ 10,000 บาท/ตัน ครัวเรือนละไม่เกิน 30 ตนั
5.ข้าวเปลอื กเหนียว ความช้นื ไมเ่ กิน 15% ราคาประกนั รายได้ 12,000 บาท/ตัน ครวั เรอื นละไม่เกนิ 16 ตนั
ขา้ วแพง! ชาวนาย้มิ ครม.ตั้งงบประกนั รายได้ปี’65/66 แค่ 18,700 ลา้ น – แจกไร่ละพัน 20,000 บาท/ครัวเรอื น
ลดภาษดี ีเซลลติ รละ 5 บาท ต่ออีก 2 เดือน
นายอนชุ า กล่าววา่ ทปี่ ระชุม ครม.อนุมัติหลักการร่างกฎกระทรวงกาหนดพกิ ัดอตั ราภาษสี รรพสามติ (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. …. ขยาย
ระยะเวลาการปรับลดอตั ราภาษสี รรพสามติ นา้ มันดเี ซลและน้ามันอนื่ ๆทค่ี ลา้ ยกัน ปรับลดประมาณ 5 บาทต่อลิตร เปน็
ระยะเวลา 2 เดือนตง้ั แตว่ ันที่ 21 พฤศจิกายน 2565 จนถงึ วนั ท่ี 20 มกราคม 2566
โฆษกประจาสานักนายกรัฐมนตรี ยงั เปดิ เผยวา่ กระทรวงการคลังไดจ้ ดั ประมาณการการสญู เสยี รายไดแ้ ละประโยชน์ท่ีคาดว่า
จะไดร้ บั จากการจัดเกบ็ รายไดภ้ าษสี รรพสามติ สนิ คา้ น้ามันและผลติ ภัณฑน์ า้ มนั ลดลงประมาณ 10,000 ล้านบาท/เดอื น โดย
การดาเนินการมาตรการภาษใี นครง้ั นีเ้ ปน็ ระยะเวลาประมาณ 2 เดอื นจึงคาดวา่ รัฐจะสญู เสียรายไดป้ ระมาณ 20,000 ลา้ นบาท
อยา่ งไรก็ตาม จะเปน็ การช่วยรกั ษาระดับราคาขายปลกี นา้ มนั ดเี ซลในประเทศไม่ใหป้ รบั ตวั สูงขน้ึ ตามราคานา้ มนั ดิบใน
ตลาดโลกจนกระทบตอ่ คา่ ของชพี ของประชาชนซึง่ จะเป็นอปุ สรรคตอ่ การฟ้นื ฟูเศรษฐกจิ ของประเทศได้
เห็นชอบผลประชมุ รมต. – ผู้นาเขตเศรษฐกจิ APEC
นายอนชุ า กล่าวว่าทีป่ ระชุม ครม. เหน็ ชอบต่อรา่ งเอกสารผลลัพธ์การประชุมรฐั มนตรีเอเปค คร้งั ที่ 33 และการประชุมผู้นา
เขตเศรษฐกจิ เอเปค ครั้งที่ 29 เนน้ ประเด็นสาคญั 3 ด้าน ประกอบดว้ ย (1) การเปิดเสรีและการอานวยความสะดวกการคา้
และการลงทนุ (2) การสง่ เสรมิ ความเชอื่ มโยงในทกุ มติ ิ (3) การกา้ วไปสู่การเจรญิ เติบโตทยี่ ัง่ ยนื และครอบคลมุ โดยแตล่ ะดา้ น
ครอบคลมุ รายละเอยี ด ดงั น้ี
1) การเปิดเสรแี ละการอานวยความสะดวกการค้าและการลงทนุ ได้แก่ การเรง่ ฟ้นื ฟเู ศรษฐกจิ โลก การใช้เทคโนโลยแี ละ
นวัตกรรมขับเคล่ือนการเตบิ โตทางเศรษฐกิจและการพฒั นาที่ยงั่ ยนื ทบทวนการหารอื เรอื่ งเขตการค้าเสรี FTAAP และการ
สง่ เสริมสิทธิทรพั ยส์ ินทางปญั ญา
2) การสง่ เสรมิ ความเช่อื มโยงในทุกมติ ิ ได้แก่ พัฒนาและการลงทนุ ดา้ นโครงสร้างพ้นื ฐาน เชือ่ มโยงห่วงโซ่อปุ ทาน ส่งเสรมิ
ความเปน็ หนุ้ สว่ นรัฐกบั เอกชน เสริมสรา้ งความเชือ่ มโยงด้านดจิ ทิ ัล การคา้ ไร้กระดาษและการชาระเงนิ ทางอิเลก็ ทรอนิกสก์ าร
อานวยความสะดวกการเดนิ ทางขา้ มพรมแดน ใชใ้ บรบั รองวัคซนี โควดิ -19 อเิ ล็กทรอนิกส์
3) การก้าวไปสู่การเจริญเติบโตทย่ี ง่ั ยนื และครอบคลุม ไดแ้ ก่ สนบั สนุนการรบั มือกับความทา้ ทายทางส่งิ แวดล้อมอย่าง
ครอบคลมุ ฟื้นฟูเศรษฐกจิ ทเ่ี ป็นมติ รตอ่ สิง่ แวดล้อม/เพ่มิ จานวนสินคา้ สิ่งแวดลอ้ มเอเปค เปลีย่ นผา่ นไปสพู่ ลงั งานสะอาด เพิ่ม
ศักยภาพและการมีส่วนรว่ มของกลมุ่ คนทีย่ งั ไม่ได้แสดงศกั ยภาพ เชน่ MSME สตรี ชนพน้ื เมอื ง ส่งเสรมิ โอกาสในการเรียนรู้
ตลอดชวี ติ สรา้ งหลกั ประกนั การเขา้ ถึงวัคซนี โควดิ -19 อย่างเทา่ เทียมในราคาที่เขา้ ถงึ ได้ พฒั นาระบบการเกษตรอัจฉริยะเพ่ือ
รับมือกบั สภาพภูมอิ ากาศ สรา้ งความม่ันคงทางอาหารท่ียงั่ ยนื ส่งเสรมิ ท่องเทยี่ วเชงิ พืน้ ที่ทยี่ ั่งยนื เสนอใหผ้ ูน้ าเอเปครับรอง
เป้าหมายกรงุ เทพฯ วา่ ดว้ ยเศรษฐกจิ ชีวภาพ เศรษฐกจิ หมุนเวยี นและเศรษฐกิจสีเขียว
ท้ังนี้ รา่ งเปา้ หมายกรุงเทพฯ วา่ ดว้ ยเศรษฐกจิ ชีวภาพ-เศรษฐกิจหมนุ เวียน-เศรษฐกิจสเี ขยี ว เป็นเอกสารผลลพั ธร์ ะดับผนู้ า ท่ี
ไทยมุ่งจะผลักดนั ให้มกี ารรับรองในที่ประชมุ ผนู้ าเขตเศรษฐกิจเอเปค ครั้งที่ 29 เพอื่ ใหภ้ มู ภิ าคเอเชยี -แปซิฟิก เจริญเตบิ โต
อยา่ งเขม้ แขง็ สมดลุ มนั่ คง และยงั่ ยืน ผ่านความร่วมมือ 4 ด้าน ไดแ้ ก่ (1) การจัดการกับผลกระทบของการเปลย่ี นแปลง
สภาพภมู ิอากาศและการไปสคู่ วามเป็นกลางทางคารบ์ อนและการปล่อยก๊าชเรือนกระจกเป็นศนู ย์ (2) การสง่ เสรมิ การค้าและ
การลงทนุ ทีย่ ง่ั ยืนและครอบคลุม (3) การอนุรักษ์ บรหิ ารจดั การ และการใช้ทรัพยากรทางธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มอย่างย่งั ยืน
และ (4) การบริหารจดั การขยะอยา่ งมีประสิทธภิ าพและยงั่ ยนื
ลดค่าวีซ่ารักษาพยาบาล หนนุ ท่องเทย่ี วเชิงสขุ ภาพ
นางสาวทิพานัน ศิรชิ นะ รองโฆษกประจาสานักนายกรฐั มนตรี เปิดเผยผลการประชุมคณะรฐั มนตรี (ครม.) เม่ือวนั ที่ 15
พฤศจิกายน 2565 วา่ ครม. มีมตเิ ห็นชอบทบทวนมตคิ ณะรฐั มนตรเี มอื่ วนั ท่ี 30 พฤศจกิ ายน 2564 ในการกาหนด
ค่าธรรมเนียมในการตรวจลงตราเพือ่ การรกั ษาพยาบาล ระยะเวลา 1 ปี (Medical Treatment Visa) รหัส Non-MT ใหใ้ ช้

อตั ราใหมค่ ือรายละ 5,000 บาท ตามท่กี ระทรวงสาธารณสขุ เสนอ โดยปรบั ค่าธรรมเนยี มจากเดิมรายละ 6,000 บาท สาหรบั
ประเภท VISA เพ่อื การรักษาพยาบาลได้สอดรบั กับระยะเวลาและกระบวนการรักษาพยาบาลในปจั จบุ นั ผปู้ ว่ ยชาวต่างชาติ
สามารถเดนิ ทางเขา้ ออกในไทยไดห้ ลายครัง้ (Multiple Entry) ครัง้ ละไม่เกนิ 90 วนั ในระยะเวลา 1 ปี ซ่งึ คาดวา่ จะเร่มิ ใช้
ระบบวีซาประเภทนใี้ นวันที่ 1 มกราคม 2566
นางสาวทิพานัน กลา่ ววา่ เพื่อส่งเสริมและพฒั นาให้ประเทศไทยเปน็ ศนู ยก์ ลางสุขภาพนานาชาติ ตามนโยบายรฐั บาลดา้ นการ
ทอ่ งเท่ยี วเชิงสุขภาพและยทุ ธศาสตร์การพฒั นาประเทศไทยให้เปน็ ศนู ย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) (พ.ศ. 2560
– 2569) และใหส้ อดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นการสร้างรายได้และการเพิ่มขดี ความสามารถในการแข่งขนั ครม.จึงมีมติ
วนั น้ีให้พิจารณากาหนดค่าธรรมเนยี มในการตรวจลงตราเพอ่ื การรักษาพยาบาล ระยะเวลา 1 ปีสาหรบั ผูป้ ว่ ยชาวต่างชาตทิ ี่ไดม้ ี
การนัดหมายลว่ งหนา้ กับสถานพยาบาลท่กี ระทรวงสาธารณสขุ กาหนดเพือ่ เขา้ รับการรักษาพยาบาล ในอัตรารายละ 5,000
บาท ใหเ้ ป็นไปตามกฎกระทรวง (พ.ศ. 2523) ออกตามความใน พ.ร.บ. คนเข้าเมอื ง พ.ศ. 2522 ซึง่ แกไ้ ขเพิ่มเตมิ โดย
กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี 27 (พ.ศ. 2546) ออกตามความในพ.ร.บ. คนเข้าเมอื ง พ.ศ. 2522 และกฎกระทรวง ฉบับท่ี 28 (พ.ศ.
2549) ออกความตามในพ.ร.บ. คนเขา้ เมอื ง พ.ศ. 2522 พร้อมทั้งมอบหมายให้กระทรวงมหาดไทยและกระทรวงสาธารณสุข
ดาเนนิ การตามแนวปฏิบตั ิทเี่ กย่ี วข้องและประชาสมั พนั ธ์ให้ชาวตา่ งชาติทราบอยา่ งท่ัวถงึ ต่อไป
“การขอรับการตรวจลงตราเพ่อื การรกั ษาพยาบาล ระยะเวลา 1 ปี เมื่อครบกาหนด 1 ปแี ลว้ ไมส่ ามารถขยายอายุตอ่ ได้ หรอื
Medical Treatment Visa รหสั Non-MT ทจ่ี ะต้องรายงานตัวต่อเจา้ หน้าทีท่ ุก 90 วนั ผู้ขอจะต้องมกี ารย่ืนเอกสารการนัด
หมายกับสถานพยาบาล (Confirmation Letter) หลกั ฐานการเงนิ ทค่ี รอบคลมุ คา่ ใชจ้ า่ ยภายในประเทศเปน็ เงนิ สดไมน่ อ้ ยกว่า
800,000 บาท หลักฐานการเงินทคี่ รอบคลมุ คา่ ใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล เอกสารแสดงประกันภยั กรณีอุบัตเิ หตุและการ
ช่วยเหลือฉุกเฉนิ รวมความคมุ้ ครองการรกั ษาโควดิ -19 ในประเทศไทย และการขออยตู่ ่อจะตอ้ งแสดงใบรับรองแพทย์ทีอ่ อก
โดยโรงพยาบาลรัฐ โรงพยาบาลเอกชน และสถาบันทางการแพทยภ์ าครัฐเท่านัน้ ” นางสาวทพิ านนั กลา่ ว
นางสาวทิพานัน กลา่ ววา่ กล่มุ โรคทอ่ี นญุ าตใหเ้ ข้ารับการขอรับการตรวจลงตราเพื่อการรักษาพยาบาล เฉพาะผู้ที่มารับบรกิ าร
ในกลุ่มโรคหรือหตั ถการที่มรี ะยะเวลารกั ษาตอ่ เน่อื งท่ีตอ้ งใชเ้ วลามากกวา่ 90 วนั โดยสถานพยาบาลตอ้ งมแี ผนการรักษา
(Doctor Plan) และคา่ ใชจ้ า่ ยท่เี กดิ ข้ึนอย่างชดั เจน อาทิ เวชศาสตรช์ ะลอวยั และการฟืน้ ฟสู ุขภาพ การแพทยท์ างเลือก โรค
ระบบหัวใจหลอดเลือด โรคทางระบบกระดกู และกลา้ มเน้ือ ทันตกรรม เทคโนโลยชี ่วยการเจรญิ พนั ทางการแพทย์ โรคมะเร็ง
ศัลยกรรมเสรมิ ความงาม จักษุ การเปลยี่ นถ่ายอวยั วะ การรกั ษาแบบเฉพาะเจาะจง โรคไมต่ ิดต่อเร้ือรงั โรคอ่ืนๆ ทมี่ ีความ
จาเป็นต้องเขา้ รับการรักษาพยาบาลโดยรับรองเป็นรายกรณี โดยกระทรวงสาธารณสุขจัดทาเอกสารกล่มุ โรคและหตั ถการเพื่อ
การรบั รอง
อนุรกั ษ์ “กุยบุรี-เขาสามร้อยยอด-ปากน้าปราณบุรี” เปน็ แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วทางชีวภาพ
นางสาวทิพานัน กล่าวต่อว่าที่ประชมุ ครม.มมี ติเห็นชอบและอนุมตั โิ ครงการบรู ณาการการทอ่ งเทีย่ วบนพนื้ ฐานความ
หลากหลายทางชวี ภาพเพ่อื การพฒั นาการท่องเท่ียวอยา่ งย่งั ยืน (Mainstreaming Biodiversity – based Tourism in
Thailand to Support Sustainable Tourism Development) ตามทก่ี ระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม (ทส.)
เสนอ เพือ่ บรู ณาการการอนรุ กั ษค์ วามหลากหลายทางชีวภาพเข้ากับการพฒั นา และการดาเนินงานด้านการท่องเทีย่ ว ท้งั ใน
ระดับประเทศและระดบั ทอ้ งถ่ิน ซง่ึ จะเป็นการสร้างรายได้ใหป้ ระเทศจากการท่องเทีย่ ว ในขณะท่มี กี ารส่งเสริมการอนุรกั ษ์
ส่ิงแวดล้อมและความหลากหลายทางชวี ภาพของชมุ ชน และทสี่ าคญั ทสี่ ุดคอื จะเป็นการนาร่องโครงการทีจ่ ะสง่ เสรมิ ใหม้ กี าร
เพม่ิ การกระจายรายได้จากการท่องเทย่ี วไปสชู่ ุมชนใหเ้ หมาะสมเพ่มิ มากขึน้ สรา้ งประโยชนโ์ ดยตรงให้ท้ังสงั คม สิ่งแวดล้อม
และเศรษฐกิจ เป็นการพัฒนาการทอ่ งเที่ยวอย่างย่ังยนื จึงทาให้กองทนุ ส่งิ แวดล้อมโลก (Global Environment Facility :
GEF) ให้การสนบั สนนุ งบประมาณบางสว่ นวงเงนิ จานวน 2,639,726 ดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 97.67 ล้านบาท) สาหรบั การ
ดาเนินโครงการตามทีส่ านักงานพฒั นาเศรษฐกิจจากฐานชวี ภาพ (องค์การมหาชน) ภายใต้กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
สง่ิ แวดล้อม รว่ มกับโครงการพฒั นาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Development Programme : UNDP) ประเทศ
ไทยพฒั นาโครงการดงั กล่าว “ความมงุ่ หมายของโครงการดังกลา่ ว เพ่ือให้มกี ารพฒั นากรอบนโยบายดา้ นการทอ่ งเที่ยวบน
พนื้ ฐานความหลากหลายทางชวี ภาพท่ีม่งุ ส่งเสรมิ การอนรุ กั ษ์และการใช้ประโยชนจ์ ากความหลากหลายทางชีวภาพอยา่ งย่ังยนื
และชุมชนไดร้ บั ประโยชนอ์ ยา่ งทั่วถึง โดยทีเ่ ป็นการทอ่ งเทยี่ วที่หลกี เลีย่ งการสรา้ งผลกระทบต่อความหลากหลายทางชวี ภาพ
โดยกาหนดพนื้ ทีเ่ ปา้ หมาย (นาร่อง) 3 พ้ืนที่ในจงั หวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ทีม่ แี หล่งภูมทิ ัศน์ทส่ี วยงามและความหลากหลายทาง
ชีวภาพท่สี าคัญระดับโลก มรี ะบบนเิ วศท่หี ลากหลาย มีพน้ื ทแ่ี นวชายฝ่งั ท่ีเป็นท่ีอยู่อาศัยของสตั ว์น้านานาชนดิ ได้แก่ พน้ื ที่
เป้าหมายหลกั 2 พ้ืนท่ี คือ อทุ ยานแหง่ ชาตกิ ยุ บรุ ีและอุทยานแห่งชาติเขาสามรอ้ ยยอดโดยมีพนื้ ท่ที างบกและทางทะเลคดิ เปน็

721,039.93 ไร่ และพ้ืนท่ที างานข้างเคียง 1 แหง่ ไดแ้ ก่ บรเิ วณปากนา้ ปราณบรุ ี ท่ีเปน็ พ้นื ท่ีบริเวณชายฝง่ั ทะเลและพ้ืนท่ชี ุม
นา้ สามร้อยยอดคดิ เปน็ 107,553.75 ไร”่ นางสาวทพิ านนั กล่าว
นางสาว ทพิ านัน กล่าววา่ โครงการดงั กลา่ วมรี ะยะเวลาดาเนนิ การ 4 ปี เร่ิมตง้ั แต่ พ.ศ. 2565 – 2569 และเมื่อดาเนนิ
โครงการเรยี บร้อยแลว้ ผลสาเรจ็ ทไ่ี ดจ้ ะประกอบด้วย 3 ประการได้แก่
1. กรอบนโยบาย มีกรอบนโยบายระดบั ชาตแิ ละกลไกการประสานงานทมี่ ีการบรู ณาการและขบั เคลอื่ นการทอ่ งเท่ยี วบน
พน้ื ฐานความหลากหลายทางชีวภาพ เช่น การพัฒนากลยทุ ธก์ ารท่องเท่ยี วบนพ้นื ฐานความหลากหลายทางชวี ภาพใน
ระดับชาติ และวธิ ีการประเมนิ ผลกระทบจากการท่องเท่ียวตอ่ สังคม เศรษฐกจิ และระบบนเิ วศ ทน่ี ่าเช่ือถอื และสามารถนาไป
ปฏบิ ัติได้ เป็นต้น
2. สร้างต้นแบบในระดับจงั หวดั มีต้นแบบของแหล่งท่องเทยี่ วยั่งยนื โดยท่ีความหลากหลายทางชีวภาพได้รบั การอนรุ กั ษแ์ ละ
มีกลไกการเงินสนบั สนนุ การดาเนนิ การในพื้นที่ เช่น การพัฒนาแพลตฟอร์มการทอ่ งเทย่ี วอยา่ งย่งั ยนื การพัฒนาผลติ ภณั ฑ์
และการบรกิ ารการท่องเที่ยวบนพนื้ ฐานความหลากหลายทางชีวภาพอยา่ งย่ังยนื เพื่อเสรมิ สรา้ งเศรษฐกจิ ระดบั ชมุ ชนท้องถิ่น
เป็นตน้
3. ขยายผลให้มอี งคค์ วามรู้ทส่ี รา้ งจติ สานึกในคุณค่าและความสาคญั ของความหลากหลายทางชีวภาพและกระบวนการที่
จะนาไปสกู่ ารอนรุ กั ษ์ ฟืน้ ฟู และใชป้ ระโยชนค์ วามหลากหลายทางชีวภาพในทอ้ งถน่ิ อยา่ งยง่ั ยืน เชน่ การจัดการองค์
ความรู้ การสร้างความตระหนักรู้ และการติดตามและประเมนิ ผล สนับสนนุ การสร้างจติ สานกึ ให้กับนกั ทอ่ งเท่ียว ชุมชน
ทอ้ งถ่ิน สมาคมการทอ่ งเทยี่ ว ใหเ้ ห็นถึงประโยชน์และความสาคญั ของการทอ่ งเทีย่ วบนพื้นฐานความหลากหลายทางชีวภาพ
โดยจะนาความสาเร็จในการดาเนนิ โครงการไปแลกเปลี่ยนองคค์ วามรู้และแนวปฏบิ ตั ทิ ด่ี ี (Best Practices) ในพ้นื ท่ีอืน่ ๆ ทว่ั
ประเทศ เพื่อขยายผลการท่องเที่ยวที่ยั่งยนื
“รัฐบาลมนี โยบายหลักท่ตี อ้ งการสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจท่จี ะเออื้ ประโยชนใ์ ห้คนในชมุ ชนอยา่ งยง่ั ยนื รายได้จากภาคการ
ทอ่ งเท่ยี วมีส่วนสาคญั ท่ีจะกอ่ ใหเ้ กดิ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ ดงั น้ันจงึ ส่งเสรมิ โครงการบรู ณาการการทอ่ งเทย่ี วกบั การอนุรกั ษ์
ความหลากหลายทางชีวภาพจึงเปน็ โครงการตน้ แบบที่จะสรา้ งสมดลุ ใหเ้ กิดการพัฒนาอย่างยงั่ ยืน ท่ีมีการพฒั นาท้งั 3 ดา้ นไป
ด้วยกัน คือ ด้านเศรษฐกจิ ดา้ นส่งิ แวดล้อม และ ดา้ นสงั คม” นางสาวทิพานัน กล่าว
วางระบบกากบั ดแู ลการคลังท้องถน่ิ
นางสาวทพิ านนั กล่าววา่ เพือ่ ให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพฒั นาประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรบั สมดลุ และพัฒนา
ระบบการบริหารจัดการภาครฐั และ อปท. รูปแบบท่ัวไปเป็นหนว่ ยรับงบประมาณตามกฎหมายงบประมาณและไดร้ ับ
งบประมาณอดุ หนุนจากรฐั สูง แตย่ ังขาดเครอื่ งมือในการตรวจสอบสถานะด้านการคลงั และงบประมาณทอ้ งถิน่ ทป่ี ระชุมครม.
มมี ติเหน็ ชอบและอนมุ ตั แิ นวทางเสริมสร้างศักยภาพการคลังทอ้ งถ่ิน (แบบประเมินสขุ ภาพการคลังท้องถ่ิน) ตามท่ี
คณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ (ก.พ.ร.) เสนอ เพ่อื สร้างเครือ่ งมอื ในการตรวจสอบสถานะด้านการคลังและงบประมาณ
ทอ้ งถน่ิ ให้กบั องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ รปู แบบท่วั ไป 7,850 แหง่ นาไปใช้เพื่อปรบั ปรุงระบบการกากับดแู ลด้านการเงนิ ใหม้ ี
ประสทิ ธภิ าพมากยิ่งขนึ้
แบบประเมนิ นี้ จะมกี ารตรวจสอบภายใน การควบคมุ ภายใน และการบริหารจดั การความเสยี่ งตามมาตรา 79 แห่ง
พระราชบญั ญัตวิ ินัยการเงินการคลงั ของรฐั พ.ศ. 2561 และพฒั นาให้มีการเปดิ เผยขอ้ มลู ใหป้ ระชาชนตรวจสอบได้ เพื่อให้
อปท. มคี วามเข้มแข็งสามารถให้บรกิ ารประชาชนในพ้ืนทไี่ ด้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
นางสาวทิพานัน กล่าวว่า แบบประเมินสุขภาพการคลังทอ้ งถนิ่ จะมกี ารประเมนิ ตัง้ แตป่ งี บประมาณ 2566 โดยใช้ข้อมูลผลการ
ปฏบิ ตั ิงานของปีงบประมาณ 2565 จะมกี ารช้ีวดั ในดา้ นตา่ งๆ 8 ดา้ น
1. ด้านรายได้ ประเมินประสิทธิภาพในการจดั เกบ็ รายได้ของ อปท. รวมทง้ั การใช้นวตั กรรมในการจดั เกบ็ รายได้
2. ดา้ นการเงนิ ประเมินประสทิ ธิภาพในการชาระเงินทผ่ี า่ นหลายชอ่ งทาง สะดวก รวดเรว็
3. ด้านงบประมาณรายจ่าย ประเมนิ ความสอดคลอ้ งการจัดทาคาของบประมาณประจาปีกับแผนพัฒนาท้องถ่ิน ความพร้อม
ในการดาเนินโครงการ และความสามารถในการก่อหน้ผี ูกพัน
4. ด้านการจัดซือ้ จัดจ้าง ประเมนิ ความสามารถในการปฏบิ ตั ิงานตามกฎหมายว่าดว้ ยการจัดซื้อจัดจา้ งและการบรหิ ารพสั ดุ
ภาครัฐได้อยา่ งถูกต้องตามระยะเวลา ข้ันตอนที่กฎหมายกาหนด มคี วามโปร่งใส และมกี ารดาเนนิ การตามขอ้ ตกลงคณุ ธรรม
5. ดา้ นการบญั ชีและสนิ ทรพั ย์ จัดทารายงานบัญชีและสนิ ทรพั ยต์ ามมาตรฐานการบญั ชีภาครัฐและนโยบายการบญั ชภี าครฐั
และรายงานตอ่ สานักงานตรวจเงนิ แผน่ ดนิ

6. ด้านการกากบั ดูแลตนเอง ประเมนิ การควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน จดั ทารายงานการตรวจสอบภายใน และการ
จัดทาแผนบรหิ ารจดั การความเสยี่ ง
7. ดา้ นการกอ่ หน้ีระยะยาว ประเมนิ ความคุ้มคา่ ของโครงการท่กี ่อหนร้ี ะยะยาวหรือโครงการทใี่ ช้เงินกวู้ า่ สอดคล้องกับ
วสิ ัยทัศน์การพฒั นาท้องถนิ่ และสง่ เสรมิ การมสี ่วนร่วมของประชาชนและภาคส่วนท่เี กี่ยวข้อง
8. ดา้ นเงินสะสม ประเมนิ ประสิทธผิ ลของการใชเ้ งนิ สะสมตามวตั ถปุ ระสงค์ และรกั ษาระดบั ของเงินสะสมเพอื่ เสถียรภาพ
ทางการคลัง “การมีแบบประเมนิ นี้ ก็เพ่ือการบริการเพ่อื ประโยชน์สงู สุดของประชาชน ต้องสามารถเปิดเผยขอ้ มลู ให้ประชาชน
ตรวจสอบได้ พร้อมกับสามารถนาไปปรบั ปรุงระบบการกากับดแู ลตนเองได้” นางสาวทพิ านนั กลา่ ว
MOU “ไทย – ซาอุฯ” ยกเว้นวซี า่ ผูถ้ ือหนงั สือเดนิ ทางทตู -ขา้ ราชการ
ดร.รัชดา ธนาดเิ รก รองโฆษกประจาสานักนายกรัฐมนตรี เปดิ เผยหลงั การประชมุ คณะรฐั มนตรี (ครม.) เมอื่ วนั ท่ี 15
พฤศจกิ ายน 2565 ว่า ครม.เหน็ ชอบการจัดทาบนั ทกึ ความเขา้ ใจระหว่างรัฐบาลแหง่ ราชอาณาจักรไทยกบั รฐั บาลแห่ง
ราชอาณาจักรซาอดุ อิ าระเบยี ว่าดว้ ยการยกเวน้ การตรวจลงตราสาหรับผ้ถู อื หนงั สอื เดนิ ทางทูต หนังสอื เดินทางราชการ และ
หนังสือเดนิ ทางพิเศษ โดยจะมีการลงนามบนั ทึกความเขา้ ใจระหว่างการเยือนประเทศไทยอยา่ งเปน็ ทางการของมกุฎราชกมุ าร
และนายกรฐั มนตรแี ห่งราชอาณาจกั รซาอดุ อิ าระเบยี วันท่ี 18 – 19 พฤศจกิ ายน 2565 โดยมีรองนายกรฐั มนตรีและ
รฐั มนตรีว่าการกระทรวงการตา่ งประเทศเป็นผูแ้ ทนรัฐบาลไทยและรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงการตา่ งประเทศซาอดุ ิอาระเบยี
เปน็ ผู้แทนรัฐบาลซาอดุ ิอาระเบยี
สาระสาคญั ของรา่ งบันทึกความเขา้ ใจฉบับนี้ กาหนดใหป้ ระชาชนของประเทศคภู่ าคีฝา่ ยใดฝา่ ยหนึ่งท่ถี อื หนงั สอื เดินทางทูต
และหนังสือเดินทางราชการท่มี ผี ลใช้ได้ของรฐั บาลแห่งราชอาณาจักรไทย และหนงั สอื เดินทางทตู และหนังสอื เดินทางพิเศษที่มี
ผลใช้ไดข้ องรฐั บาลแห่งราชอาณาจักรซาอุดอิ าระเบยี จะต้องเดินทางผา่ น พานกั และเดินทางออกจากดนิ แดนของภาคอี ีกฝ่าย
หนงึ่ โดยไม่ต้องรับการตรวจลงตราเปน็ ระยะเวลารวมกันไม่เกินกวา่ 90 วนั ในชว่ งระยะเวลา 180 วัน นบั จากวนั แรกท่เี ดนิ
ทางเข้า โดยมเี งื่อนไขวา่ บคุ คลเหลา่ นัน้ จะไมท่ างานใด ไมว่ ่าการทางานนนั้ จะเป็นการดาเนินกจิ การของตนเอง หรือกิจกรรม
เชงิ พาณชิ ย์สว่ นตวั ใด ดร.รัชดา กลา่ วดว้ ยว่า การจดั ทาบันทึกความเขา้ ใจฉบับน้ี มีสว่ นสาคญั ในการขับเคล่อื นความสมั พันธท์ วิ
ภาคีระหวา่ งกนั ภายหลังการปรับความสมั พันธร์ ะหว่างสองราชอาณาจกั รใหเ้ ปน็ ปกติโดยสมบรู ณ์ ซงึ่ มแี นวโนม้ ท่กี ารตดิ ตอ่
ระหว่างหนว่ ยงานราชการและนักธุรกิจจะมจี านวนเพิ่มมากขึน้ อยา่ งมีนัยสาคญั สาหรบั ซาอดุ ิอาระเบยี แล้ว ผ้บู ริหารระดับสงู
ของหนว่ ยงานราชการต่าง ๆ หรือภาคเอกชนจานวนมากทเ่ี ป็นราชวงศ์ มกั จะถือหนงั สอื เดนิ ทางทตู และหนังสือเดินทางพิเศษ
อีกท้ัง การทาบันทกึ ความเข้าใจดงั กลา่ วจะชว่ ยอานวยความสะดวกในการติดตอ่ ราชการระหวา่ งหนว่ ยงานของทัง้ สองประเทศ
ได้เป็นอยา่ งมาก ดร.รัชดา กลา่ วตอ่ ไปว่า นอกจากร่างบนั ทกึ ความเขา้ ใจขา้ งตน้ รัฐบาลแหง่ ราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแหง่
ราชอาณาจกั รซาอดุ อิ าระเบยี พรอ้ มลงนามร่างบนั ทกึ ความเข้าใจฯ ระหวา่ งวนั ที่ 18 – 19 พฤศจกิ ายน 2565 อีก 2 ฉบับ
ได้แก่ ฉบับแรก คอื รา่ งบนั ทกึ ความเขา้ ในว่าดว้ ยความรว่ มมอื ดา้ นการทอ่ งเท่ยี วระหวา่ งกระทรวงการท่องเท่ยี วและกีฬาแหง่
ราชอาณาจกั รไทยกับกระทรวงการทอ่ งเที่ยวแหง่ ราชอาณาจักรซาอดุ ีอาระเบีย เพือ่ พัฒนาความรว่ มมอื ระดบั ทวภิ าคในสาขา
ทอ่ งเท่ยี ว ภายใตข้ อบเขตความร่วมมือ เชน่ 1)สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การท่องเทีย่ วระหวา่ งกันมากข้ึน 2)แลกเปลี่ยนผเู้ ชย่ี วชาญและ
พฒั นาบุคลากรในภาคการท่องเทยี่ วและบริการ 3)สง่ เสรมิ การพฒั นาการทอ่ งเท่ยี ว เชน่ การทอ่ งเท่ียวอยา่ งย่งั ยืน การ
ท่องเทยี่ วเชงิ สุขภาพ และการทอ่ งเที่ยวเชิงมรดกวัฒนธรรม เป็นต้น ส่วนฉบบั ที่สอง คือ ร่างบันทึกความเขา้ ใจว่าด้วยความ
รว่ มมือดา้ นพลงั งานระหว่างกระทรวงพลงั งานแหง่ ราชอาณาจักรไทยกับกระทรวงพลังงานแหง่ ราชอาณาจักรซาอุดอี าระเบีย มี
วัตถปุ ระสงคเ์ พอื่ จดั ตงั้ กรอบความร่วมมือระหว่างคภู่ าคีในสาขาพลงั งาน ภายใต้สาขาความร่วมมอื เช่น การพฒั นาเศรษฐกจิ
หมุนเวยี นและเทคโนโลยีคารบ์ อนตา่ การสง่ เสรมิ การปรับเปล่ยี นไปสดู่ จิ ทิ ลั และนวตั กรรมดา้ นพลงั งาน การเสรมิ สร้างขดี
ความสามารถบคุ ลากรผ่านการฝึกอบรมและแลกเปลย่ี นข้อมลู ที่เกีย่ วข้องกับด้านพลังงาน การขบั เคลอ่ื นของคูภ่ าคีมีหน้าที่
เช่น จัดตง้ั คณะทางานเพอ่ื จัดทาขอ้ เสนอท่ีจาเป็นสาหรบั การดาเนนิ การภายใตก้ รอบบันทกึ ความเขา้ ใจนี้ แตล่ ะภาคีจะ
รับผดิ ชอบต้นทุนทางการเงนิ ตามความตกลงน้ี
ผา่ นแผนปฏบิ ัตกิ ารหุ้นส่วนเศรษฐกจิ ไทย – ญ่ปี ่นุ ฯ
ดร.รัชดา กลา่ ววา่ ที่ประชมุ ครม.เห็นชอบร่างแผนปฏบิ ัติการรว่ มว่าด้วยหุ้นสว่ นทางยทุ ธศาสตรด์ า้ นเศรษฐกิจไทย – ญ่ีปนุ่ ใน
ระยะ 5 ปี และร่างถ้อยแถลงรว่ มระหว่างรัฐบาลไทยกบั รฐั บาลญป่ี นุ่ เร่อื ง การยกระดบั ความสัมพันธเ์ ป็นห้นุ ส่วนทาง
ยทุ ธศาสตรอ์ ยา่ งรอบด้าน โดยท้ังสองประเทศจะมกี ารลงนามรบั รองเอกสารทั้ง 2 ฉบับ ในชว่ งการประชุมผู้นาเขตเศรษฐกิจ
เอเปค ระหว่างวนั ที่ 16 – 19 พ.ย. 2565 ร่างเอกสารแต่ละฉบบั มสี าระสาคัญ อาทิ

ฉบับแรก คือ ร่างแผนปฏบิ ัตกิ ารรว่ มว่าด้วยหุน้ ส่วนทางยทุ ธศาสตรด์ า้ นเศรษฐกจิ ไทย – ญป่ี ุน่ ในระยะ 5 ปี เปน็ เอกสารแสดง
เจตนารมณ์ทางการเมอื งของทั้งสองประเทศในการดาเนนิ ความร่วมมือดา้ นเศรษฐกิจในหว้ งปี 2565 – 2569 โดยมีความ
ร่วมมือ 3 ดา้ นหลัก ดังน้ี
ความร่วมมือหลักด้านที่ 1 การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ การปรับปรงุ กฎระเบยี บ และนวตั กรรม ประกอบดว้ ย
1.1 การเสรมิ สรา้ งสภาพแวดลอ้ มทางธรุ กิจและการส่งเสริมการลงทนุ อาทิ สง่ เสรมิ และสร้างแรงจูงใจการลงทนุ จากญปี่ นุ่ ใน
อุตสาหกรรมเป้าหมายของไทย เชน่ เคร่อื งจักรระบบอตั โนมัติ และหุ่นยนต์ ยานยนต์สมยั ใหม่ ยา อุปกรณก์ ารแพทย์และด้าน
สุขภาพ เป็นต้น สง่ เสริมกิจการของบรษิ ัทญีป่ นุ่ ท่ีมสี ่วนสาคัญตอ่ การพัฒนาของไทย โดยเฉพาะโครงการหลกั ในเขตเศรษฐกิจ
พเิ ศษของไทย เช่น EEC
1.2 การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยแ์ ละการศึกษาขั้นสงู ในอตุ สาหกรรมเปา้ หมาย อาทิ (1)การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยโ์ ดย JICA
เชน่ ส่งเสรมิ นโยบายประเทศไทย 4.0 ขยายเครือข่ายการศึกษาระดบั สูงในอาเชียนและภมู ิภาคอนื่ กาหนดหลักสตู รโคเซน็ ของ
ญ่ปี ุ่นใหเ้ หมาะสม และสนับสนนุ ความเช่ือมโยงระหว่างภาคอุตสาหกรรมกบั สถาบันไทยโคเซ็น
1.3 การสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรมอัจฉรยิ ะ วิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (SMEs) และ Start – up อาทิ สง่ เสรมิ การลงทุน
และการเพ่มิ จานวน Start – up โดยรว่ มมอื ระหวา่ ง SMEs และ Start – up ของไทยและญ่ีปนุ่ ในภาคอตุ สาหกรรมสาขาตา่ ง
ๆ เช่น อุตสาหกรรมอจั ฉริยะ การแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์ทางการเกษตรอปุ กรณ์ทางการแพทย์ หนุ่ ยนต์ ยานยนตไ์ ฟฟา้
1.4 การพัฒนาดา้ นอวกาศ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม อาทิ ใชเ้ ทคโนโลยที เี่ กย่ี วขอ้ งกับดาวเทยี ม แลกเปลย่ี นองค์
ความรดู้ ้านการพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์
1.5 การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพเิ ศษของไทย และ EEC อาทิ (1)ส่งเสรมิ การลงทนุ ในอตุ สาหกรรมเป้าหมาย เชน่ สขุ ภาพ ดจิ ทิ ลั
เทคโนโลยคี ารบ์ อนตา่ โลจิสติกส์ การวจิ ัยและพฒั นา (2)สง่ เสรมิ การลงทนุ ในโครงการขนาดใหญ่ทีก่ าลงั ดาเนนิ การร่วมกบั
ญี่ป่นุ ใน EEC เชน่ เมอื งอจั ฉรยิ ะ เขตส่งเสรมิ นวตั กรรมระเบยี งเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก โครงการวิจยั ด้านสขุ ภาพจโี น
มิกสป์ ระเทศไทย และโครงการพฒั นาสนามบินอตู่ ะเภา และเมืองการบินภาคตะวันออก
ความรว่ มมือหลักด้านที่ 2 เศรษฐกจิ ชวี ภาพ เศษฐกจิ หมุนเวียน และเศรษฐกิจสเี ขยี ว (Bio-Circular-Green (BCG)
Economy) ประกอบด้วย 2.1อุตสาหกรรมชีวภาพ อตุ สาหกรรมหมนุ เวยี น และอุตสาหกรรมสีเขียว อาทิ สง่ เสริมการขยาย
การลงทุนและธุรกิจใหม่ในสาขาทเ่ี ก่ยี วข้องกับโมเดลเศรษฐกิจ BCG รว่ มมอื เพื่อสง่ เสรมิ แนวคดิ 3Rs (Reduce, Reuse and
Recycle) 2.2สง่ิ แวดล้อมและพลงั งานเพื่อเป้าหมายการเป็นกลางทางคารบ์ อน อาทิ ส่งเสรมิ การใชพ้ ลังงานหมุนเวียนและ
ระบบการจดั การพลังงานแบบรฐั ตอ่ รฐั 2.3การเกษตรอจั ฉริยะและการแปรรปู อาหาร อาทิ ส่งเสรมิ ความร่วมมอื ระหวา่ งรัฐ
เสรมิ สร้างสภาพแวดลอ้ มทางธรุ กจิ สาหรบั บริษัทญ่ปี นุ่ ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั อาหาร 2.4การพฒั นาอตุ สาหกรรมดา้ นสุขภาพและ
การแพทย์ อาทิ ปรบั ปรงุ การบริหารการเงินของระบบประกันสุขภาพสาธารณะในไทย การเขา้ ถึงนวัตกรรมด้านเภสัชกรรม
และอปุ กรณ์การแพทย์ของญ่ปี ่นุ ในไทย แบง่ ปนั ข้อมลู เก่ียวกับยาและอปุ กรณ์การแพทย์ 2.5การทอ่ งเทย่ี วเชิงคณุ ภาพ อาทิ
สง่ เสรมิ การท่องเท่ียวเชิงคณุ ภาพโดยแบ่งปันข้อมูลเชิงลึก
ความรว่ มมอื หลกั ด้านที่ 3 โครงสรา้ งพื้นฐาน ประกอบดว้ ย 3.1การคมนาคมและการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานทม่ี ีคณุ ภาพเพ่อื
เสรมิ สร้างความเชื่อมโยง อาทิ ร่วมมือและการลงทนุ ในด้านการวิจยั และนวตั กรรม 3.2 การค้าดจิ ิทัลและพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce) อาทิ แบ่งปนั องคค์ วามรู้ สรา้ งธุรกจิ การบรกิ ารท่ีเชอื่ ถือได้และพฒั นาสภาพแวดล้อมการ
แขง่ ขนั ทเ่ี ปน็ ธรรม 3.3โครงสร้างพ้นื ฐานดา้ นดจิ ทิ ัล (การสอื่ สาร) อาทิ ยกระดับเครอื ขา่ ยโครงสรา้ งพ้นื ฐาน จับคู่สถาบนั วิจยั
กับบริษทั ท่เี กีย่ วข้อง พัฒนาขีดความสามารถดา้ นความมั่นคงปลอดภัยไชเบอร์ 3.4เมืองอจั ฉรยิ ะ อาทิ แบง่ ปนั องค์ความร้ดู ้าน
นโยบายเมืองอัจฉรยิ ะระหวา่ งสองประเทศ ส่งเสรมิ การวจิ ยั และพฒั นา(R&D) การลงทนุ รว่ มในสาขาเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล 3.5การ
พัฒนาเมือง อาทิ แบง่ ปนั ขอ้ มูลเกยี่ วกบั ตลาดอสังหารมิ ทรพั ย์
ดร.รชั ดา กลา่ วด้วยวา่ ฉบบั ทสี่ อง คือ ร่างถ้อยแถลงร่วมระหวา่ งรัฐบาลไทยกบั รฐั บาลญี่ปุน่ เรื่อง การยกระดบั ความสัมพันธ์
เปน็ หนุ้ สว่ นทางยทุ ธศาสตรอ์ ยา่ งรอบด้าน เป็นการประกาศเจตนารมณ์ทางการเมอื งระหว่างรฐั บาลไทยกบั ญป่ี ่นุ ในการ
ยกระดบั ความสมั พนั ธร์ ะหว่างไทยกบั ญี่ปุ่นเปน็ “หุ้นสว่ นทางยุทธศาสตร์อย่างรอบดา้ น” ผ่านร่างแผนปฏบิ ตั กิ ารรว่ ม เพอ่ื ให้
นาร่างแผนปฏบิ ตั ิการร่วมไปส่กู ารปฏบิ ตั จิ นเกดิ ผลอย่างเปน็ รูปธรรม อันจะนาไปสคู่ วามก้าวหน้าและความมัง่ คัง่ ร่วมกันของทง้ั
สองประเทศ

Krungthai Compass เปดิ “10 คาถามนา่ รู้เกย่ี วกบั APEC” 15 พฤศจิกายน 2022
Krungthai COMPASS วเิ คราะหก์ ารประชมุ APEC คร้ังที่ 29 ซงึ่ ไทยเป็นเจา้ ภาพในปีนี้ ภายใต้หัวขอ้ “เปิดกวา้ งสร้างสมั พันธ์
เชอื่ มโยงกนั สสู่ มดลุ (Open Connect Balance)” ดว้ ย “10 คาถามน่ารู้เก่ยี วกบั APEC”

มีความสาคญั ตอ่ ไทยอยา่ งมาก โดยการส่งออกสินคา้ ของไทยมากกว่า 70% ถกู ส่งออกไปยงั กล่มุ APEC และ
นักท่องเท่ียวตา่ งชาติส่วนใหญม่ าจากกลมุ่ APEC ซึ่งสร้างรายไดป้ ระมาณ 2 ใน 3 ของนักทอ่ งเท่ยี วต่างชาตทิ ้ังหมด

สาหรับการประชุม APEC ครง้ั ท่ี 29 ซ่งึ ไทยเป็นเจ้าภาพในปีนี้ จดั ข้นึ ภายใตห้ ัวข้อ “เปดิ กวา้ งสรา้ งสัมพันธ์ เชอื่ มโยงกนั สู่
สมดลุ (Open Connect Balance)” Krungthai COMPASS มองว่าควรจับตาการผลักดันการขบั เคลอื่ นเขตการค้าเสรีเอเชีย-
แปซิฟกิ FTAAP ซงึ่ จะเปน็ กลไกสาคญั ในการขจดั อปุ สรรคทางการคา้ ระหวา่ งประเทศ และหนนุ การเช่ือมโยงของหว่ งโซ่
อุปทานในหม่สู มาชิก อกี ท้งั คาดวา่ การประชุมในครงั้ นี้จะช่วยสนบั สนนุ เศรษฐกจิ ไทยใหเ้ ตบิ โตไดด้ ีขน้ึ ในหลายมติ ิซึ่งจะมีส่วน
ช่วยเพมิ่ ความสามารถในการแข่งขันของไทยในระยะยาวได้

ไทยผลักดนั “เปา้ หมายกรงุ เทพฯ ว่าดว้ ยเศรษฐกิจ BCG”
1. APEC คืออะไร และมีความสาคัญอยา่ งไร
ความรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ เอเชยี -แปซฟิ ิก หรือ (Asia-Pacific Economic Cooperation : APEC) เปน็ การรวมกลมุ่
แบบพหุภาคี 21 เขตเศรษฐกิจ ทต่ี ง้ั อย่ใู นพื้นทเ่ี ขตมหาสมทุ รแปซฟิ ิก ประกอบดว้ ย รสั เซยี สาธารณรัฐประชาชนจนี
เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น จนี ไทเป(ไต้หวัน) เขตบรหิ ารพเิ ศษฮอ่ งกง เวียดนาม ไทย ฟิลปิ ปินส์ มาเลเซีย สงิ คโปร์ อนิ โดนีเซยี บรไู น
ปาปัวนิวกนิ ี ออสเตรเลีย นวิ ซีแลนด์ แคนาดา สหรัฐอเมริกา เมก็ ซโิ ก เปรู และ ชิลี โดยไทยเป็นหนึ่งใน 12 เขตเศรษฐกิจผรู้ ่วม
ก่อต้ัง และประเทศไทยเคยเป็นเจา้ ภาพในการจัดประชมุ เมื่อปี 2535 และปี 2546
APEC ถกู จดั ต้ังเมื่อปี 2532 เพือ่ เป็นเวทีความรว่ มมอื และแลกเปลย่ี นข้อคดิ เห็นในประเด็นทางเศรษฐกิจ ใหส้ มาชิกทมี่ ี
แนวนโยบายทแ่ี ตกตา่ งกันหาแนวทางร่วมกันเพือ่ บรรลเุ ป้าหมาย โดยเนน้ ประเดน็ ดา้ นการเตบิ โตทางเศรษฐกิจ ความรว่ มมอื
ในเศรษฐกิจของทุกภาคสว่ น พลังงาน สาธารณสุข E-commerce และสง่ิ แวดลอ้ ม เพอื่ ลดอปุ สรรคและอานวยความสะดวก
ทางการค้า (สินคา้ และบรกิ าร) การลงทุน และการเดินทางระหวา่ งประเทศ
2. APEC แตกตา่ งจากข้อตกลงพหภุ าคอี น่ื ๆ อยา่ งไร
APEC คือ การรวมกลมุ่ เพอื่ ปรึกษาหารอื และแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ ท่คี รอบคลมุ หลายมติ ใิ นความร่วมมอื ทางเศรษฐกจิ
ตา่ งจากขอ้ ตกลงในพหุภาคีอนื่ ๆ ทีเ่ นน้ เจรจาเพอ่ื การคา้ การดาเนนิ ความรว่ มมืออยู่บนพ้ืนฐานของฉนั ทามติ ความสมัครใจ
และความยืดหยุ่น รวมถึงไมม่ ีผลผกู พันทางกฎหมาย สมาชิกสามารถดาเนินการเพือ่ นาไปสูก่ ารเปดิ เสรีทางการคา้ การลงทนุ
ตามความพร้อมของแต่ละสมาชกิ การประชุม APEC ไม่ใชค่ วามรว่ มมือเฉพาะของภาครฐั เท่านั้น แตเ่ ปน็ ความรว่ มมอื จาก
ภาคเอกชนด้วย ซงึ่ ก็คอื APEC Business Advisory Council (ABAC) หรอื สภาทปี่ รึกษาทางธรุ กจิ ของ APEC ซงึ่ ทกุ ปจี ะมี
การรวมตัวกนั เพ่อื หารอื และแลกเปลีย่ นมุมมองดา้ นธรุ กจิ และความทา้ ทายทางเศรษฐกิจทส่ี าคญั เพอื่ สรปุ คาแนะนาประจาปี
ต่อผนู้ าเขตเศรษฐกจิ APEC
3. APEC สาคญั อยา่ งไรตอ่ เศรษฐกิจโลก
APEC ถอื เปน็ ความร่วมมอื พหุภาคที ่สี าคัญของโลกท้ังในเชงิ เศรษฐกจิ ซง่ึ มลู ค่า GDP รวมกนั ประมาณ 61% ของท้ังโลก
และจานวนประชากรท่ีคดิ เป็นสดั สว่ นถงึ กว่า 1 ใน 3 ของพลเมอื งทั้งโลก จงึ มีอทิ ธิพลต่อการกาหนดทิศทางการคา้ การ
ลงทนุ ตลอดจนความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศ จากข้อมลู ของ World Bank ในปี 2564 พบวา่ มูลคา่ GDP ของสมาชกิ APEC
เทา่ กับ 59.4 ลา้ นลา้ นดอลลาร์ รวมกันคิดเป็นสดั ส่วนสูงถึง 61% ของ GDP ในจานวนนี้ 3 ชาติสมาชิกหลกั ของ APEC ถอื เปน็
ประเทศท่ีมขี นาดทางเศรษฐกจิ ใหญ่ 3 ลาดบั แรกของโลก ได้แก่ สหรัฐฯ จนี และญป่ี นุ่ สว่ นไทยมีขนาดทางเศรษฐกิจอยูใ่ น
ลาดับท่ี 11 (GDP เทา่ กับ 0.5 ล้านลา้ นดอลลาร์) รองจากไตห้ วนั (0.7 ลา้ นลา้ นดอลลาร)์ และเมอ่ื เทยี บในกลุ่มอาเซยี นถือเปน็
ลาดับที่ 2 รองจากอินโดนเี ซยี (1.2 ล้านล้านดอลลาร์) ทางด้านประชากร APEC มีพลเมอื งในปี 2564 รวมกันทัง้ สน้ิ 2.9
พันล้านคน คดิ เปน็ สัดส่วน 37% ของทงั้ โลก ซึง่ ในจานวนนีม้ ี 3 ชาติสมาชกิ สาคัญที่จานวนพลเมอื งอยูใ่ น 5 ลาดบั แรกของโลก
ได้แก่ จนี (อันดับ 1) สหรัฐฯ (อันดบั 3) และอนิ โดนเี ซีย (อันดบั 4) ส่วนไทยอยู่ในลาดับท่ี 9 ของกลุม่ APEC และถือเป็นลาดับ
ที่ 4 ของกลุม่ อาเซยี นทเ่ี ปน็ สมาขกิ APEC นอกจากจะเป็นการรวมกลมุ่ ทม่ี ขี นาดใหญแ่ ล้ว APEC ยังเป็นเขตเศรษฐกจิ ทมี่ ี
ศกั ยภาพสูง เนอื่ งจากสดั สว่ นกาลงั แรงงานต่อจานวนประชากรทง้ั หมดของสมาชิก APEC ในปี 2564 สูงถึง 63.6% สะทอ้ นวา่
โครงสร้างทางประชากรกวา่ 2 ใน 3 ยงั อย่ใู นวยั ทางาน ซ่งึ สงู กว่าสัดสว่ นของทั้งโลก (59%) บ่งชโี้ อกาสในการลงทุน และการ
เข้าถึงตลาดทม่ี ีแนวโนม้ เติบโต นอกจากน้ี APEC ยังเปน็ ตลาดท่มี พี ลวัตสงู เนอ่ื งจากหลายประเทศอยู่ในชว่ งเปลี่ยนผา่ นไปสู่
ความเปน็ เมอื ง

จากขอ้ มูลของ United Nations พบวา่ APEC มปี ระชากรท่อี าศัยอยใู่ นเมืองสงู ถงึ 73% มากกว่าสัดสว่ นของโลก (56.6%)
การเคลอ่ื นย้ายถนิ่ ฐานมาสูเ่ มอื งของประชากรใน APEC จงึ เป็นโอกาสทางการตลาดทสี่ าคัญต่อไปในอนาคต โดยภาพรวม
Krungthai COMPASS ประเมินว่าความร่วมมอื ของกลมุ่ APEC จะเปน็ พลงั ในการขบั เคลือ่ นเศรษฐกจิ โลกให้สามารถ
เติบโตได้อย่างต่อเนอื่ ง
4. ความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจระหว่างไทยกับ APEC เป็นอย่างไร
เศรษฐกิจไทยพ่ึงพาการค้าระหว่างประเทศค่อนขา้ งสูง โดยในปี 2564 มลู ค่าการค้าระหว่างประเทศ (ท้งั สินคา้ และ
บรกิ าร) มากถงึ 116.7% ของ GDP สะทอ้ นถงึ ความสาคญั ของการเปิดประเทศเพอ่ื ส่งเสรมิ ภาคตา่ งประเทศให้เปน็ อกี หนึ่ง
เคร่อื งยนต์ในการขบั เคลื่อนเศรษฐกจิ ไทย โดยเฉพาะด้านการส่งออกและการนาเข้าสนิ คา้ ที่มีมลู ค่าสูงถึง 53.4% และ 45.4%
ของ GDP ไทยพ่ึงพาด้านการคา้ กบั กลมุ่ APEC ทัง้ การสง่ ออกสินคา้ ทมี่ ากถงึ 72.1% ของการส่งออกสินคา้ ทง้ั หมด ขณะทกี่ าร
นาเขา้ สนิ ค้าจากกลมุ่ APEC คิดเปน็ 71.9% ของการนาเขา้ จากทัว่ โลก ตลาดการส่งออกและนาเข้าสนิ ค้าที่สาคัญ คือ สหรฐั ฯ
จีน และญี่ปุ่น นอกจากนี้ ไทยยังมกี ารเชือ่ มโยงทางด้านการลงทนุ กบั กลุม่ สมาชกิ APEC อย่างต่อเนื่อง ทั้งการลงทนุ โดยตรง
จากประเทศสมาชิก APEC ทไี่ หลเขา้ ต่อเนื่อง และการลงทนุ ของไทยในประเทศสมาชกิ APEC เพ่ิมข้นึ เชน่ กัน
สาหรบั ดา้ นการทอ่ งเทีย่ ว กอ่ นสถานการณ์การแพรร่ ะบาดโควดิ -19 ไทยมจี านวนนกั ทอ่ งเที่ยวตา่ งชาติจากกลมุ่ ประเทศ
APEC สงู ถงึ 28.1 ล้านคน คดิ เป็น 70.4% ของจานวนนกั ท่องเทย่ี วทีม่ าไทยทั้งหมดในปี 2562 โดยสญั ชาตทิ ่เี ดินทางมา
มากที่สดุ คือ จีน มาเลเซยี เกาหลีใต้ และญปี่ ุน่
5. กลุม่ APEC มีบทบาทอยา่ งไรตอ่ ภาคอตุ สาหกรรมของไทย
ในกลุ่ม APEC มหี ลายชาติในภมู ภิ าคเอเชยี ท่ีพง่ึ พาการผลติ ภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะจนี ไทย และเกาหลใี ต้ ท่ี
อัตราส่วนการผลติ ภาคอุตสาหกรรม (Share of Manufacturing to GDP) คดิ เป็นสดั สว่ นสงู ประมาณเกือบ 30% ของ
GDP ล่าสดุ ในปี 2564 สัดส่วนการผลติ ภาคอตุ สาหกรรมตอ่ GDP ของชาตขิ ้างตน้ ถือเปน็ 3 ลาดบั แรกของ APEC ทรี่ ะดับ
27.4% 27.0% และ 25.4% ตามลาดับ ซงึ่ สูงกวา่ อตั ราสว่ นของ APEC (15.4%) และของโลก (17.0%) บ่งช้ีวา่ อุตสาหกรรม
เปน็ กลไกขันเคลือ่ นเศรษฐกิจที่สาคัญของไทยและหลายชาติในเอเชยี ซ่ึงได้ชื่อว่าเปน็ โรงงานของโลก
กรณขี องไทยนัน้ Krungthai COMPASS พบว่า สินคา้ สง่ ออกท่สี าคัญของไทย 4 อันดับแรกในปี 2564 เปน็ ผลผลติ
ภาคอตุ สาหกรรม ได้แก่ ผลติ ภณั ฑอ์ เิ ล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟา้ (คดิ เป็น 26.2% ของมลู ค่าการสง่ ออกทัง้ หมด) ยานยนต์
และชิ้นสว่ น (14.2%) ผลติ ภณั ฑ์ยาง (5.8%) และพลาสติก (5.3%) ซง่ึ สนิ คา้ เหลา่ นสี้ ว่ นใหญถ่ ูกส่งออกไปยงั APEC ท้ัง
ผลิตภณั ฑ์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ฯ ทผี่ ลติ ปอ้ นตลาด APEC ถึง 77.3% ยานยนต์ฯ (57.5%) ผลิตภัณฑย์ าง (72.5%) และ
พลาสตกิ (72.8%) แสดงถึงบทบาทของการค้าระหว่างกันในกลมุ่ สมาชิก (Intra-trade) ท่มี ีความเชอื่ มโยงกันอยา่ ง
สงู ซึง่ ต่างฝ่ายตา่ งไดร้ ับประโยชนร์ ว่ มกันจากเงอื่ นไขทางการค้าและการลงทนุ ทเ่ี อื้อแกส่ มาชกิ ในกลมุ่ ภายใตก้ รอบ APEC
รวมถึงความพยายามในการลดอปุ สรรคทางการคา้ และปรบั กฎเกณฑท์ ช่ี ว่ ยใหต้ ลาด APEC เปิดกว้างแกช่ าติสมาชกิ ใหส้ ามารถ
เข้าถงึ ได้มากข้ึน ซึง่ ทา้ ยทสี่ ดุ จะชว่ ยหนุนการเติบโตทางเศรษฐกจิ ของบรรดาสมาชิกอย่างตอ่ เนื่อง
6. นกั ท่องเทยี่ วต่างชาตจิ าก APEC มีความสาคัญตอ่ ไทยอย่างไร
นกั ทอ่ งเทยี่ วต่างชาติเป็นปจั จยั ขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ ทีส่ าคัญท่สี ุดของไทยเมอ่ื เปรียบเทียบกบั สมาชกิ อื่นในกลุ่ม APEC
สะท้อนจากทไี่ ทยเปน็ ประเทศพงึ่ พารายไดจ้ ากนกั ท่องเทีย่ วตา่ งชาติมากท่สี ุดในกลุ่ม APEC ซึง่ คิดเปน็ 11.8% ของ GDP
ในปี 2562 (หรือคดิ เป็นมูลคา่ 1.9 ลา้ นล้านบาท) ส่วนใหญเ่ ป็นรายไดจ้ ากนกั ทอ่ งเที่ยวในกลมุ่ APEC คิดเปน็ 66.2% ของ
รายได้ทง้ั หมด โดยสญั ชาตทิ ส่ี าคญั คอื จีน คดิ เป็นรอ้ ยละ 1 ใน 4 ของรายได้นกั ทอ่ งเทีย่ วตา่ งชาติทง้ั หมด รองลงมาคอื
มาเลเซยี (5.6%) รัสเซีย (5.4%) และญ่ีปุ่น (4.9%)
7. ความสามารถในการแขง่ ขนั ของไทยอย่รู ะดบั ไหน หากเทียบกบั สมาชกิ APEC
หากพิจารณาถึงขดี ความสามารถทางการแขง่ ขันของไทยในโลก จากการจัดอนั ดบั ของ International Institute for
Management Development หรอื IMD ปี 2565 เผยวา่ ไทยมคี วามสามารถทางการแข่งขัน 63.7 คะแนน จาก 100
คะแนน และอยอู่ ันดับท่ี 33 จาก 63 ประเทศท่วั โลก โดยไทยถกู จดั อันดบั ลดลง 5 อันดบั จากทั้ง 4 องค์ประกอบหลกั ไดแ้ ก่
ด้านสภาวะเศรษฐกิจ อยอู่ ันดบั ที่ 34 (ลดลง 13 อันดบั ) ลดลงจากดา้ นเศรษฐกจิ ภายในประเทศและการคา้ ระหว่างประเทศ
ขณะท่ดี า้ นราคาปรบั ดีข้ึน ดา้ นประสทิ ธิภาพของภาครัฐ อยอู่ ันดับที่ 31 (ลดลง 11 อันดบั ) โดยปจั จัยสาคัญทลี่ ดลงคอื ดา้ นการ
คลังและกฎหมายทางธุรกจิ ดา้ นประสทิ ธิภาพของภาคธรุ กจิ อยู่อนั ดบั ที่ 30 (ลดลง 9 อนั ดบั ) โดยปัจจัยสาคญั ทีป่ รับลดลงคอื
ผลิตภาพและประสทิ ธภิ าพ ขณะทก่ี ารบริหารจัดการยงั คงอันดบั เดมิ และดา้ นโครงสร้างพน้ื ฐาน อยู่อนั ดับที่ 44 (ลดลง 1
อนั ดับ) ลดลงจากด้านสขุ ภาพและสิ่งแวดล้อม ขณะทโ่ี ครงสรา้ งพืน้ ฐานทางเทคโนโลยี โครงสรา้ งพ้ืนฐานท่วั ไปและการศกึ ษา

ปรบั ดีขนึ้ อยา่ งไรก็ตาม ปัจจยั ท่ีทาให้อันดับความสามารถทางการแขง่ ขันลดลงมากทสี่ ดุ คือ ดา้ นสภาวะเศรษฐกจิ
เนื่องจากการแพรร่ ะบาดของโควิด-19 ส่งผลใหเ้ ศรษฐกิจไทยฟ้ืนตวั ช้ากว่าหลายประเทศเนือ่ งจากไทยพึ่งพาการค้า
ระหว่างประเทศและการทอ่ งเท่ียวสงู จึงทาใหอ้ นั ดบั ของไทยอยใู่ นอันดบั ต่าเม่ือเทยี บกับก่อนเกิดการแพร่ระบาดของโควิด
ซึ่งในปี 2562 ความสามารถทางการแข่งขนั ของไทยอยู่ในอันดับที่ 25 จาก 63 ประเทศ นอกจากนหี้ ากเปรยี บเทยี บใน
กล่มุ เอเชีย-แปซฟิ ิก จะเห็นวา่ ความสามารถทางการแข่งขันของไทยในปี 2565 อย่อู ันดบั ที่ 9 จาก 14 ประเทศ ซ่ึงคง
อนั ดับเดิมจากปีก่อน และอยสู่ ูงกว่า ญี่ปนุ่ อนิ โดนเี ซีย และฟิลิปปนิ ส์ ที่เปน็ สมาชิกใน APEC ทัง้ นี้ คาดว่าเศรษฐกจิ ไทยท่ี
อย่ใู นชว่ งกาลังฟน้ื ตัวโดยเฉพาะภาคการท่องเท่ยี วทีเ่ ปน็ แรงขบั เคลอื่ นสาคัญจะสนบั สนนุ ใหอ้ นั ดบั ขีดความสามารถของ
ไทยปรับดขี น้ึ ได้ในระยะข้างหนา้ แมว้ า่ ไทยยังมีความเปราะบางในหลายด้านโดยเฉพาะดา้ นโครงสร้างพ้ืนฐานทย่ี ังอยู่ใน
อนั ดับทตี่ ่า
8. APEC มคี วามสาคัญเพยี งใดตอ่ ภาคการเงินและการขับเคล่อื น Digital economy
ศกั ยภาพของ APEC สามารถสะท้อนได้จากแนวโนม้ การเตบิ โตของระบบการเงินและเศรษฐกิจดจิ ทิ ลั ท่ชี ว่ ยให้เขตเศรษฐกจิ
กล่มุ น้ไี ด้รับความสนใจจากนกั ลงทนุ และเป็นโอกาสที่สาคัญสาหรบั ผู้ประกอบการในการกระจายธรุ กจิ และขยายตลาดออกไป
ในภมู ิภาค การระดมทนุ ของสมาชกิ APEC มแี นวโนม้ เตบิ โตในช่วง 10 ปที ผี่ า่ นมา ดงั จะเห็นได้จากสดั สว่ นมลู คา่ หลักทรัพย์
ตามราคาตลาดต่อ GDP ล่าสดุ ในชว่ งปี 2559 ถึงปี 2563 ของหลายประเทศเพม่ิ ข้นึ โดยเฉพาะกลุ่ม Emerging Markets ใน
เอเชีย เชน่ เวียดนาม อินโดนเี ซยี จีน ฟิลปิ ปินส์ รวมถงึ ไทยท่ีตัวเลขดังกล่าวแตะระดับ 107% ต่อ GDP และถือเปน็ ตลาด
ขนาดใหญ่อันดบั 3 ของชาตอิ าเซยี นทเ่ี ปน็ สมาชิก APEC การเตบิ โตของตลาดทุนดงั กลา่ วถอื เป็นทางเลอื กท่ีนา่ สนใจสาหรบั
นกั ลงทุนในแสวงหาผลตอบแทนและกระจายความเสีย่ ง
นอกจากน้ี ระบบการเงนิ ของ APEC ซึง่ ถอื เปน็ โครงสร้างพื้นฐานทชี่ ่วยผลกั ดันการขยายตัวทางเศรษฐกิจยังไดร้ ับปจั จัยหนนุ
จากการเปลยี่ นผ่านไปส่เู ศรษฐกจิ ดจิ ิทัล Deloitte คาดวา่ เศรษฐกจิ ดิจิทลั ในภมู ิภาคเอเชยี -แปซิฟิกอยู่ในทศิ ทางท่ีเตบิ โตอย่าง
รวมเรว็ จากการคา้ ผา่ นระบบ E-commerce และ Digital Banking ท่ชี ว่ ยกระตนุ้ ธรุ กรรมข้ามพรมแดนระหว่างสมาชกิ
APEC สอดคล้องกบั ตัวเลขสดั สว่ นการเขา้ ถึง Internet ตอ่ ประชากร ซ่งึ เป็นดชั นหี น่ึงทบ่ี ง่ ชี้ถงึ ความพรอ้ มของระบบนเิ วศน์
ทางดิจทิ ลั โดยอตั ราการเขา้ ถงึ Internet ของสมาชกิ กลุ่ม APEC ในปี 2564 เท่ากบั 81.1% สูงกว่าค่าเฉลี่ยของโลกที่ 59.9%
ขณะทตี่ ัวเลขของหลายชาตใิ นเอเชียและไทยต่างมสี ดั ส่วนทเี่ หนอื กว่าคา่ เฉลี่ยของโลก นวตั กรรมล่าสดุ จากการพฒั นาระบบ
ขอ้ มูลเปิดทเี่ ชอ่ื มโยงกนั (Interoperable Open Data) ซ่งึ ธนาคารกลางในกลุ่มอาเซยี นรวมถึงไทยไดร้ ่วมกนั ผลักดนั เพื่อ
อานวยความสะดวกในการชาระเงนิ ระหวา่ งประเทศผา่ น QR Payment ถอื เป็นอีกเคร่อื งมอื หนง่ึ ทีจ่ ะช่วยขบั เคลอื่ นเศรษฐกิจ
ดิจทิ ลั ในภมู ภิ าค Krungthai COMPASS คาดวา่ ตลาด APEC ทีม่ พี ัฒนาการกา้ วหน้าไปไกลกว่าหลายสว่ นของโลก
ดงั กลา่ วขา้ งตน้ จะเปน็ โอกาสของผปู้ ระกอบการไทยในการขยายช่องทางการค้าและการลงทนุ จากตลาดทีย่ งั มีแนวโนม้
เตบิ โตตอ่ เน่ืองแห่งนี้
9. การเขา้ ร่วม APEC ของไทย กอ่ ใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงทส่ี าคญั อย่างไร
นบั ต้งั แต่ไทยได้เข้าเปน็ สมาชกิ ผูก้ อ่ ต้งั APEC กับอีก 11 เขตเศรษฐกจิ เมอื่ ปี 2532 นน้ั ความร่วมมือที่ไทยได้ดาเนนิ การ
ร่วมกับ APEC ในการสนับสนนุ การคา้ เสรีและลดอุปสรรคด้านการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ได้มสี ว่ นชว่ ยให้
การคา้ ระหวา่ งไทยกับสมาชิกในกลมุ่ มแี นวโนม้ เพิ่มข้นึ ต่อเน่อื ง โดยตลอดช่วงกวา่ 30 ปีท่ผี า่ นมา ไทยรว่ มกับชาตสิ มาชิกได้
ดาเนินการตามแผนปฏบิ ตั กิ ารเพ่ือลดอัตราภาษศี ลุ กากรและข้อจากัดทางการค้าระหว่างกนั ตลอดจนแสวงหาแนวทางอานวย
ความสะดวกดา้ นการคา้ การลงทุนและปรับปรงุ กฎระเบยี บใหเ้ ป็นบรรทดั ฐานเดยี วกัน เช่น พธิ กี ารศลุ กากร มาตรฐานสนิ ค้า
ผลจากการดาเนนิ การดังกลา่ ว ชว่ ยให้ไทยกบั สมาชกิ กลุ่ม APEC มีความสมั พันธท์ างการคา้ ระหว่างกันมากขนึ้ Krungthai
COMPASS พบว่า สัดส่วนการส่งออกของไทยไปยงั APEC เพม่ิ จาก 63.8% ของมลู คา่ การคา้ ทง้ั หมดในปี 2533 เป็น 72.1%
ในปี 2564 โดยมูลคา่ การค้าระหวา่ งกันเพิม่ อยา่ งมีนัยสาคญั จาก 14.7 พนั ล้านดอลลารใ์ นปี 2533 เป็น 192.1 พนั ลา้ น
ดอลลาร์ในปี 2564 หรอื เพ่มิ ขึ้นถงึ 13.1 เทา่ ตัว ทงั้ นต้ี ลอดระยะเวลา 30 ปีทผี่ ่านมา การสง่ ออกสินค้าไทยไปยงั ตลาด APEC
เตบิ โตโดยเฉลย่ี (CAGR) ถึงประมาณปีละ 9.6%
แม้จะมีความล่าช้าในการจัดตงั้ เขตการคา้ เสรขี องกลมุ่ APEC ซง่ึ เปน็ ความรเิ ริ่มตามปฏญิ ญาโบกอร์เม่อื ปี 2553 ขณะท่ีการ
เจรจาการคา้ พหุภาคีรอบโดฮาภายใตก้ รอบขององคก์ ารการค้าโลก (WTO) ยังไม่สามารถบรรลขุ อ้ สรปุ ได้ แตค่ วามพยายาม
ผลักดันการลดอตั ราภาษีศลุ กากรและอุปสรรคทางการค้าระหว่างสมาชิก APEC ท่ีดาเนนิ มาโดยตลอด 3 ทศวรรษ ถือเป็น
ความคบื หนา้ ทสี่ าคัญและเออื้ ต่อการค้าระหวา่ งสมาชกิ ในกลุ่ม ซ่งึ ส่งผลดตี ่อการส่งออกของไทยอีกดว้ ย
10. ประเด็นสาคญั ของการประชมุ APEC ครัง้ นค้ี ืออะไร และจะส่งผลอย่างไรต่อเศรษฐกิจไทยและโลก

สาหรบั การประชมุ APEC คร้ังท่ี 29 ซง่ึ ไทยเป็นเจา้ ภาพในคร้งั นี้ ถือเปน็ ครง้ั แรกทีผ่ ู้นาจะไดพ้ บปะเย่ยี มเยือนกนั ภายหลงั จาก
การแพรร่ ะบาด ประกอบกบั สมาชิก APEC ต่างอยใู่ นช่วงปรับเศรษฐกิจเพ่ือรองรับความท้าทายใหม่ ๆ ท่ีเกิดข้นึ การประชุม
ครงั้ น้จี ึงถกู จัดขึน้ ภายใตห้ วั ข้อ “เปดิ กว้างสร้างสมั พันธ์ เชื่อมโยงกนั สสู่ มดลุ (Open Connect Balance)” ภายใตป้ ระเด็น
หลกั ทีไ่ ทยมุ่งผลกั ดนั ใหเ้ กิดผลเปน็ รปู ธรรมจากครัง้ นี้ ได้แก่ (1) การเปิดโอกาสดา้ นการการคา้ เสรีและการลงทนุ ผา่ นเขตการคา้
เสรเี อเชยี -แปซฟิ กิ (Free Trade Area of Asia-Pacific: FTAAP) ซงึ่ ไทยจะนาเสนอแผนงานการขับเคลอื่ น FTAAP โดยมี
เปา้ หมายใหส้ ามารถจดั ตงั้ ขึ้นไดภ้ ายในปี 2583 โดยจะผลกั ดันให้ผนู้ า APEC ออกแถลงการณ์ร่วมเพ่อื รบั รองแผนงานดังกล่าว
(2) การจัดต้งั กลไก APEC Safe Passage เพ่อื ส่งเสรมิ การเดนิ ทางที่สะดวกและปลอดภยั ระหวา่ งกล่มุ สมาชกิ ซึ่งจะช่วย
ผลกั ดันการขยายตัวของภาคการท่องเท่ยี ว และ (3) การสง่ เสรมิ การเจรญิ เติบโตท่ียัง่ ยนื โดยสนับสนนุ ภาคธรุ กจิ และยกระดบั
วิสาหกิจ MSME เพอื่ ดาเนนิ กจิ การอย่างสมดุลและรบั ผิดชอบต่อส่งิ แวดล้อม ผา่ นการขับเคล่อื นการเงนิ ที่ยง่ั ยืนและเศรษฐกิจ
ดิจทิ ัล โดยไทยไดเ้ สนอโมเดลเศรษฐกจิ ชวี ภาพ เศรษฐกิจหมนุ เวียน และเศรษฐกจิ สเี ขยี ว (Bio-Circular-Green Economy:
BCG) เป็นแนวคดิ หลักในการประชุมครง้ั น้ี
ในบรรดาความริเรม่ิ ของไทยดังกลา่ ว การขับเคลอ่ื น FTAAP ถอื เปน็ ประเดน็ หลกั ท่ีได้รับความสนใจอยา่ งมาก ซ่งึ หากไทย
สามารถผลักดนั ประเด็นน้ีใหม้ ีความก้าวหน้าอย่างเปน็ รูปธรรมได้ จะสง่ ผลใหเ้ กิดเขตการค้าเสรที ีม่ ขี นาดใหญ่ที่สดุ ในโลก
ได้สาเรจ็ ความคบื หนา้ ดังกลา่ วจะชว่ ยเพม่ิ อานาจต่อรองกับประเทศนอกกลมุ่ APEC ท้งั ยงั จะชว่ ยกดดันให้การเจรจาเปดิ เสรี
ทางการคา้ ในกรอบของ WTO ทีช่ ะงักงันใหเ้ ดินหนา้ ต่อไป จากการศกึ ษาของ World Bank ประเมินวา่ FTAAP จะช่วยใหก้ าร
สง่ ออกและ GDP ของไทยเติบโตสะสมในชว่ ง 10 ปภี ายหลงั การจดั ต้งั ประมาณ 4.1% และ 0.8% ตามลาดบั นอกจากนี้
World Bank ยังพบว่า หากเปรียบเทียบผลได้จากการเปิดเสรที างการคา้ ในกรอบ FTAAP เทียบกบั กรอบอน่ื ๆ แล้ว FTAAP
จะชว่ ยให้ GDP ของโลกเพิ่มข้นึ ไดม้ ากกวา่ กรอบความตกลงหุน้ ส่วนทางเศรษฐกจิ ภาคพน้ื แปซฟิ กิ (Comprehensive and
Progressive Agreement of Trans-Pacific Partnership: CPTPP) และกรอบความตกลงหุ้นสว่ นทางเศรษฐกิจระดับ
ภมู ภิ าค (Regional Comprehensive Economic Partnership: RCEP) ทีเ่ พิ่มข้ึนประมาณ 0.1% และ 0.6% ตามลาดบั
ซึ่ง Krungthai COMPASS คาดว่า FTAAP จะเปน็ กลไกสาคญั ในการขจัดอปุ สรรคทางการคา้ ระหว่างประเทศ และหนนุ
การเชอื่ มโยงของหว่ งโซ่อปุ ทานในหมสู่ มาชกิ ประกอบกบั ความพยายามจดั ตง้ั FTAAP ในกรอบพหุภาคึจะช่วยลดการ
เผชิญหนา้ และช่วยผ่อนคลายขอ้ ขดั แยง้ ของชาติมหาอานาจไดใ้ นอนาคต ซงึ่ จะเป็นประโยชน์ต่อไทยในระยะยาว
APEC ถอื เป็นการรวมกลมุ่ เพ่ือปรกึ ษาหารือและแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นท่คี รอบคลมุ หลากหลายมติ ใิ นความรว่ มมือทาง
เศรษฐกิจ โดยสมาชิกของ APEC คือเขตเศรษฐกจิ 21 เขตที่มพี ื้นท่ตี ดิ กับนา่ นนา้ มหาสมุทรแปซฟิ กิ เปน็ กลุ่มที่มีขนาดใหญท่ ้ัง
ในเชิงเศรษฐกิจและประชากร การรวมกลมุ่ APEC มคี วามสาคญั กับเศรษฐกจิ ไทยอยา่ งมากเนอ่ื งจากไทยพ่งึ พาการค้า
ระหว่างประเทศสงู โดยเฉพาะด้านการส่งออกสนิ ค้าและดา้ นการทอ่ งเท่ียวซง่ึ ค่คู า้ สว่ นใหญ่ (ประมาณ 2 ใน 3 ของมลู คา่
การส่งออกและรายได้จากนกั ทอ่ งเท่ียวตา่ งชาต)ิ เป็นสมาชกิ ในกล่มุ APEC
สาหรบั การประชมุ APEC ครงั้ ท่ี 29 ซึ่งไทยเป็นเจ้าภาพได้ถกู จัดขน้ึ ภายใต้หัวขอ้ “เปิดกวา้ งสรา้ งสมั พันธ์ เช่อื มโยงกนั สู่
สมดลุ (Open Connect Balance)” โดยไทยมุ่งผลักดันประเดน็ ด้านการสง่ เสรมิ การค้าการลงทนุ เสรี การเดินทางทสี่ ะดวก
และปลอดภยั และการสง่ เสรมิ การเจรญิ เติบโตทยี่ ัง่ ยนื เพอื่ สอดรบั กบั การปรับตัวและฟืน้ ฟูเศรษฐกจิ หลังการแพรร่ ะบาดของ
โควดิ -19 ทง้ั น้ี ความริเร่มิ ทส่ี าคญั ของไทยในการประชุมคอื การขบั เคลอื่ นเขตการคา้ เสรเี อเชยี -แปซิฟกิ FTAAP ซงึ่ จะเปน็ เขต
การค้าเสรีทมี่ ีขนาดใหญ่ทสี่ ดุ ในโลก จะส่งผลดีต่อการสง่ ออกและ GDP ของไทย Krungthai COMPASS คาดวา่ FTAAP
จะเป็นกลไกสาคัญในการขจดั อปุ สรรคทางการคา้ ระหว่างประเทศ และหนุนการเชอื่ มโยงของห่วงโซอ่ ุปทานในหมู่
สมาชกิ ประกอบกบั การดาเนนิ การจัดต้งั FTAAP ในกรอบพหุภาคีจะลดการเผชิญหน้าและชว่ ยผอ่ นคลายขอ้ ขดั แยง้ ของชาติ
มหาอานาจได้ในอนาคต อีกท้ัง การท่ีไทยเป็นเจา้ ภาพในชว่ งทีเ่ ศรษฐกจิ อยใู่ นช่วงฟนื้ ตัวจะชว่ ยเพม่ิ โอกาสให้เศรษฐกิจไทย
เติบโตไดด้ ขี ึ้นในหลายมิตโิ ดยเฉพาะภาคบรกิ ารและการทอ่ งเทีย่ ว และคาดวา่ จะมีส่วนช่วยเพม่ิ ความสามารถในการ
แขง่ ขนั ของไทยในระยะยาวได้
Krungthai COMPASS มีขอ้ เสนอตอ่ ผู้ประกอบการวา่ APEC ถือเปน็ โอกาสของภาคธรุ กจิ ไทยจากความพยายามของ
ชาติสมาชกิ ในการลดอปุ สรรคทางการคา้ การอานวยความสะดวกดา้ นลงทุนและการเดนิ ทางระหว่างประเทศเพื่อเข้าถงึ
แหล่งวตั ถุดบิ สินค้าขนั้ กลาง และตลาดทมี่ ศี ักยภาพสูงสาหรับการขยายการคา้ และการลงทุน ทัง้ ยังจะชว่ ยการกระจายความ
เส่ียงและช่วยเตมิ เตม็ ซง่ึ กนั และกนั เนอ่ื งจากสมาชกิ APEC มคี วามหลากหลาย ซึง่ จะช่วยสนับสนุนการเติบโตทย่ี ่ังยืนต่อไปใน
อนาคตอกี ด้วย

15 พฤศจกิ ายน 2022 ชาวนาย้มิ ปหี น้าข้าวแพง! ครม.ตั้งวงเงนิ ประกนั รายได้ชาวนาปี 2565/2566 แค่ 18,700 ลา้ น
บาท นอ้ ยกวา่ ปกี อ่ นจ่ายชดเชยสว่ นต่างประกนั รายไดไ้ ป 86,000 ล้านบาท พร้อมเห็นชอบมาตรการคู่ขนานชะลอขาย
ขา้ ว 7,482 ลา้ นบาท – แจกไรล่ ะพันไมเ่ กิน 20,000 บาท/ครัวเรือน เร่มิ โอนเงนิ เข้าบญั ชเี กษตรกร ลอตแรก 22 พ.ย.น้ี
นายอนุชา บูรพชยั ศรี รองเลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรฝี ่ายการเมือง ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่โฆษกประจาสานกั นายกรัฐมนตรี กล่าวว่าวนั นี้
ทปี่ ระชมุ ครม.เห็นชอบโครงการประกนั รายไดเ้ กษตรกรผู้ปลกู ข้าว พรอ้ มมาตรการคขู่ นาน และโครงการสนับสนนุ ค่าบรหิ าร
จดั การและพฒั นาคณุ ภาพผลผลติ เกษตรกรผ้ปู ลกู ข้าว ปกี ารผลิต 2565/2566 และอนมุ ตั กิ รอบวงเงนิ รวมทง้ั สิ้น 81,265.91
ลา้ นบาท เพอ่ื ชว่ ยเหลือเกษตรกรให้มีรายได้จากการจาหนา่ ยข้าวเปลือกในราคาท่ีเหมาะสมกับต้นทนุ การผลิต ป้องกันความ
เสีย่ งในการจาหน่ายผลผลติ รวมท้งั มมี าตรการค่ขู นานเพือ่ การรักษาเสถียรภาพราคาขา้ วไม่ใหต้ กต่าควบคู่กัน ซงึ่ รายละเอยี ด
การดาเนนิ การเช่นเดียวกันกบั โครงการฯ ในปีผลติ ทผ่ี า่ นมา ประกอบด้วย
1. โครงการประกันรายได้เกษตรกรผปู้ ลูกขา้ ว ปี 2565/66 เป้าหมายเกษตรกร 4.68 ลา้ นครวั เรือน โดยเป็นการจ่ายสว่ น
ต่างระหว่างราคาเกณทก์ ลางอ้างองิ (ราคาตลาด) และราคาประกันรายได้ (10,000 -15,000 บาทตอ่ ตนั ตามชนิดข้าว) วงเงนิ
รวม 18,700.13 ลา้ นบาท
2. มาตรการคขู่ นานโครงการประกนั รายได้ เกษตรกรผปู้ ลกู ขา้ ว ปี 2565/66 ประกอบดว้ ย 3 โครงการ เพือ่ รกั ษา
เสถียรภาพราคาข้าวไมใ่ หต้ กต่า วงเงนิ รวม 7,482.69 ลา้ นบาท ไดแ้ ก่
2.1 โครงการสินเช่อื ชะลอการขายขา้ วเปลอื กนาปี ปกี ารผลิต 2565/66 วงเงนิ 7,107.69 ล้านบาท เป็นการจ่ายสินเชือ่ เพอ่ื
ชะลอข้าวเปลือกไวใ้ นย้งุ ฉางเกษตรกรและสถาบนั เกษตรกร จานวน 2.5 ลา้ นตันขา้ วเปลือก รวมทง้ั คา่ ฝากเกบ็ และรักษา
คุณภาพข้าวในอตั รา 1,500 บาทต่อตนั
2.2 โครงการสนิ เช่ือเพื่อรวบรวมขา้ วและสร้างมูลคา่ เพิม่ โดยสถาบันเกษตรกร เป็นการสนบั สนุนสนิ เชือ่ แกส่ ถาบัน
เกษตรกร ประกอบดว้ ย สหการณก์ ารเกษตร กล่มุ เกษตรกร วสิ าหกจิ ชมุ ชน และศูนยข์ ้าวชุมชน เพอ่ื รวบรวมข้าวเปลือกเพือ่
จาหน่าย และ/หรอื เพ่อื การแปรรปู วงเงนิ 375 ลา้ นบาท
2.3 โครงการชดเชยดอกเบย้ี ใหผ้ ู้ประกอบการคา้ ขา้ วในการเกบ็ สตอ็ ก เปน็ การเพมิ่ สภาพคล่องใหผ้ ปู้ ระกอบการคา้ ขา้ วท่ีเข้า
ร่วมโครงการให้เกบ็ สตอ็ กในรูปแบบขา้ วเปลอื กและข้าวสาร เป้าหมายเพอื่ ดูดซับ 4 ลา้ นขา้ วเปลือก เกบ็ สตอ็ กไวอ้ ยา่ งนอ้ ย
60-180 วัน (2-6 เดอื น) นับตั้งแตว่ นั ทรี่ บั ซ้ือ โดยรัฐชดเชยดอกเบย้ี ในอัตราร้อยละ 3 ใช้จ่ายจากงบปกตขิ องกรมการค้าภายใน
หรอื เงนิ กองทุนรวมเพอ่ื ชว่ ยเหลือเกษตรกร
3.โครงการสนบั สนนุ คา่ บรหิ ารจดั การ และพัฒนาคณุ ภาพผลผลติ เกษตรกรผูป้ ลกู ข้าว ปีการผลติ 2565/66 เปา้ หมาย
4.68 ล้านครัวเรอื น ซง่ึ จะจา่ ยเงนิ ตรงใหเ้ กษตรกรผปู้ ลกู ขา้ วในอัตราไรล่ ะ 1,000 บาท ไมเ่ กนิ ครวั เรอื นละ 20 ไร่ หรอื
ครวั เรือนละไมเ่ กิน 20,000 บาท วงเงินรวม 55,083.09 ล้านบาท
โฆษกประจาสานักนายกรฐั มนตรี เปดิ เผยวา่ การจดั สรรวงเงินงบประมาณ เบ้ืองต้นเปน็ ไปตามกรอบมาตรา 28 ของ พ.ร.บ.
วนิ ัยการเงินการคลงั ของรฐั พ.ศ.2561 โดยโครงการประกนั รายไดเ้ กษตรกรผูป้ ลกู ขา้ วมาตรการคู่ขนานและโครงการสนบั สนนุ
ค่าบรหิ ารจัดการและพฒั นาคณุ ภาพผลผลติ เกษตรกรผปู้ ลกู ข้าว ปี 2565/66 ได้ดาเนินการเชน่ เดยี วกบั การดาเนนิ การตลอด 3
ปที ่ีผ่านมา ซง่ึ รองนายกรัฐมนตรแี ละรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงพาณชิ ย์ ยังไดก้ ลา่ วในท่ปี ระชุม ครม. ว่า เป้าหมายการสง่ ออก
ข้าวไทยในปนี ้ีจะสูงถึง 7.5 ล้านตนั ด้วย
ถามว่า โครงการประกันรายไดเ้ กษตรกรผปู้ ลูกขา้ ว ปี 2565/66 ตงั้ วงเงนิ ในการจ่ายชดเชยชาวนาน้อยกว่าปกี อ่ นเปน็ จานวน
มาก นายวัฒนศกั ย์ เสอื เอ่ยี ม อธบิ ดกี รมการค้าภายใน กลา่ วว่า ในแตล่ ะปรี าคาข้าวเปลือกจะไมเ่ ทา่ กนั อย่างปที ่แี ลว้ เกิดการ
แพรร่ ะบาดของไวรสั โควิด-19 ประเทศไทยสง่ ออกขา้ วไมไ่ ด้ ราคาขา้ วในตลาดจึงตา่ กวา่ ราคาประกนั ทาใหร้ ัฐบาลต้องจ่ายเงิน
ชดเชยสว่ นตา่ งให้กับเกษตรกรไป 86,000 ล้านบาท แต่หลังจากสถานการณโ์ ควิดฯคลคี่ ลาย หลายประเทศทัว่ โลกหนั มาให้
ความสาคญั กับเร่ืองความมัน่ คงทางด้านอาหาร จึงมกี ารสง่ั ซือ้ ขา้ วจากประเทศไทยเพิ่มมากข้ึน ซง่ึ ในปนี ีก้ ระทรวงพาณชิ ย์
ต้ังเป้าหมายสง่ ออกข้าวไว้ที่ 7.5 ล้านตัน นับตงั้ แตว่ ันท่ี 1 มกราคม – 30 กนั ยายน 2565 มีการสง่ ออกข้าวไปแล้ว 5,400,000
ตนั ประกอบกับมาตรการท้ังหมดทผ่ี า่ นความเหน็ ชอบจาก ครม.ในวนั น้ี โดยเฉพาะมาตรการทส่ี นบั สนนุ ใหเ้ กษตรกรเก็บข้าวไว้
ในยุ้งฉางจะช่วยสกดั ไม่ให้ผลผลิตขา้ วไหลเข้าส่ตู ลาดในปรมิ าณท่ีมากเกนิ ไป ปีนี้กระทรวงพาณชิ ย์ คาดวา่ จะจ่ายเงนิ ชดเชย
ส่วนตา่ งใหก้ บั เกษตรกรผู้ปลกู ขา้ วนอ้ ยกวา่ ปีทแ่ี ลว้ ถามต่อวา่ ธ.ก.ส.จะจะเร่มิ โอนเงนิ ประกนั รายได้เขา้ บญั ชีเกษตรกรได้
เม่อื ไหร่ นายวัฒนศกั ย์ กล่าวว่าหลังจากที่ประชุม ครม.เห็นชอบในหลักการแลว้ กจ็ ะมีการประชมุ คณะอนุกรรมการดาเนนิ การ
ภายในสปั ดาห์หนา้ โดยจะเรมิ่ จ่ายเงินใหก้ ับเกษตรกรทเ่ี ก็บเกี่ยวข้าวกอ่ นวนั ท่ี 15 ตุลาคม 2565 เป็นกลุม่ แรกกอ่ น จากนน้ั ก็

นาเสนอทีป่ ระชุมบอร์ดของ ธ.ก.ส.พิจารณาอนมุ ัติ คาดวา่ เกษตรกรกล่มุ แรกจะไดร้ บั เงนิ ประกันรายไดโ้ อนเขา้ บญั ชใี นวันที่
22 พฤศจิกายน 2565 สาหรับหลกั เกณฑก์ ารจา่ ยเงินประกันรายได้จะมรี ายละเอียดดังน้ี
1.ข้าวเปลอื กหอมมะลิ ความชนื้ ไมเ่ กิน 15% ราคาประกนั รายได้อยู่ท่ี 15,000 บาท/ตนั ชดเชยใหค้ รัวเรอื นละไม่เกิน 14 ตนั
2.ข้าวเปลือกหอมมะลนิ อกพน้ื ที่ ความชื้นไม่เกิน 15% ราคาประกนั รายได้ 14,000 บาท/ตนั ครัวเรอื นละไม่เกนิ 16 ตนั
3.ขา้ วเปลอื กหอมปทุมธานี ความชื้นไม่เกิน 15% ราคาประกันรายได้ 11,000 บาท/ตนั ครวั เรอื นละไมเ่ กนิ 25 ตนั
4.ข้าวเปลอื กเจา้ ความชนื้ ไม่เกิน 15% ราคาประกนั รายได้ 10,000 บาท/ตัน ครัวเรือนละไมเ่ กิน 30 ตัน
5.ข้าวเปลือกเหนยี ว ความชน้ื ไมเ่ กนิ 15% ราคาประกันรายได้ 12,000 บาท/ตัน ครวั เรอื นละไมเ่ กนิ 16 ตนั

ASEAN Roundup ขา้ วหอมมะลพิ ันธผุ์ กาลาดวน กมั พูชาตดิ World’s Best Rice ปที ี่ 5
ThaiPublica > สอู่ าเซียน
20 พฤศจกิ ายน 2022

 Facebook
 Twitter
 Line
ASEAN Roundup ประจาวนั ที่ 13-19 พฤศจิกายน 2565
ขา้ วหอมมะลพิ ันธผ์ุ กาลาดวน กัมพูชาตดิ World’s Best Rice ปีที่ 5
เวียดนามจะคัดเลือกการลงทนุ เขา้ ประเทศมากขึ้น
ไทยเวียดนามร่วมจดั พธิ เี ปดิ ตวั การเชอื่ มโยงระบบการชาระเงินอย่างเปน็ ทางการ
อินโดนีเซยี -จีนลงนาม ข้อตกลงทวิภาคเี ศรษฐกจิ การค้า 5 ฉบบั
เศรษฐกจิ มาเลเซยี จะแตะ 370 พนั ล้านเหรียญปนี ้ี
เมียนมาอนญุ าตนาเขา้ รถยนตไ์ ฟฟ้า 1 มกราคม 2566
มลู ค่า IPO ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ลดลงจากเศรษฐกิจชะลอ
ขา้ วหอมมะลพิ ันธุผ์ กาลาดวน กมั พูชาติด World’s Best Rice ปที ี่ 5
พนั ธ์ขุ า้ วหอมมะลิ ผกาลาดวน Phka Rumduol ของกัมพชู าไดร้ ับรางวลั ขา้ วท่ีดที ี่สดุ ในโลก(World’s Best Rice)เป็นครั้งที่ 5
ในการประชมุ ข้าวโลก TRT (The Rice Trader) ทจี่ งั หวดั ภูเกต็ ประเทศไทย เมื่อวันท่ี 17 พฤศจกิ ายน จากการเปิดเผยของ
ผู้นากลมุ่ ธรุ กิจข้าวของกัมพูชา ผกาลาดวน เป็นขา้ วหอมมะลิเมล็ดยาวพนั ธ์หุ นง่ึ ที่กลายเปน็ ตวั เลือกอนั ดบั ต้น ๆ ของผซู้ อ้ื จาก
ต่างประเทศ และเปน็ หนึ่งในพนั ธ์ทุ ส่ี ง่ ออกภายใต้เครื่องหมายรับรอง “อังกอร์ มะล”ิ Angkor Malys สถาบันวิจัยและ
พฒั นาการเกษตรของกัมพชู า(Cambodian Agricultural Research and Development Institute )กลา่ วว่า ไดแ้ จกจ่าย
พันธุ์นีใ้ หเ้ กษตรกรใชป้ ลกู ในปี 2542 หลงั จากพัฒนาและทดลองมา 10 ปี นายSong Saran ประธานสมาพนั ธ์ข้าวกัมพชู า
และประธานบรษิ ทั Amru Rice Cambodia จากดั กลา่ ววา่ ในปี 256 ประธานสมาพันธข์ ้าวกมั พูชา (CRF) กลา่ ววา่ รางวลั นี้
เปน็ “เกยี รติอยา่ งย่งิ ” สาหรับอตุ สาหกรรมข้าวในประเทศ “เราขอขอบคณุ ทีมงาน CRF ชาวนา สมาชกิ โรงสขี ้าว ชมุ ชน
เกษตรกรรม และกระทรวงเกษตรและการคา้ ทส่ี นบั สนนุ การผลติ ‘ข้าวทดี่ ที ีส่ ุด’ ทาให้เรามสี ่วนร่วมในการแข่งขันและนา
รางวัลกลบั บ้านให้กบั กมั พูชา” กอ่ นหนา้ นี้ขา้ วหอมมะลิผกาลาดวน ได้รับรางวัลมาแลว้ 4 ครั้ง เป็นเวลา 3 ปีตดิ ตอ่ กนั ตั้งแต่ปี
2555-2557 และอกี คร้ังในปี 2561 ที่กรงุ ฮานอย ประเทศเวียดนาม ข้าวหอมมะลผิ กาลาดวน ครองอนั ดบั สอง 3 ปีซอ้ นตงั้ แต่
ปี 2558-2560 นาย Lay Chhun Hour รองประธาน CRF และประธานเจ้าหนา้ ทบี่ ริหารของบริษทั City Rice Import
Export Co Ltd ซึ่งต้งั อยใู่ นพระตะบอง และเปน็ ผ้สู ่งออกขา้ วรายใหญท่ ่ีสุดของกมั พชู า เปน็ บคุ คลสาคัญทอี่ ยู่เบ้ืองหลงั การมี
สว่ นร่วมของขา้ วหอมมะลผิ กาลาดวน ในการแข่งขนั ปีนี้ นาย Chhun Hour มคี วามภาคภมู ิใจอยา่ งยิง่ ตอ่ บทบาทของธรุ กจิ
ข้าวกมั พูชาที่ได้รบั รางวัลในปีนี้ โดยกล่าวว่ารางวัลนจ้ี ะส่งผลให้การสง่ ออกเพิ่มข้ึนและเกิดประโยชน์อน่ื ๆ อกี มากมายสาหรบั
ชมุ ชน “การมชี ่อื เสียงนจี้ ะชว่ ยสง่ เสริมคณุ ภาพของขา้ วกัมพูชาต่อไปและเปน็ ทย่ี อมรบั ” นาย Chhun Hour กล่าว พร้อมระบุ
วา่ ข้าวทีป่ ลูกในประเทศจะตอ้ งผา่ นการตรวจสอบดา้ นกลิน่ รสชาติ ความเหนยี วนมุ่ ความชืน้ และ รปู ร่างลกั ษณะของขา้ ว จงึ
จะไดร้ ับรางวลั เมอ่ื วันที่ 17 พฤศจิกายนนาย Dith Tina รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงเกษตร ป่าไม้ และประมง ไดโ้ พสตข์ อ้ ความ
ผ่าน Facebook เพอื่ “แสดงความยนิ ดอี ย่างสดซ้งึ ” ท่ีข้าวหอมมะลิผกา ลาดวน ได้รบั รางวัลครง้ั ท่ี 5 ในฐานะขา้ วท่ดี ีทีส่ ดุ ใน
โลก โดยกล่าวว่ารางวัลเกยี รตยิ ศนจ้ี ะ “นาความภาคภูมิใจมาสูก่ มั พชู า” นายมาก จาเรญิ ประธานบริษทั จดั การห่วงโซ่มูลค่า

ทางการเกษตร AgriBee (Cambodia) Plc แสดงความชื่นชมยินดกี บั ผลการประชมุ ขา้ วโลกในปนี ี้ โดยกล่าววา่ การไดร้ ับ
รางวัลนี้จะช่วยใหภ้ าคการสง่ ออกข้าวของกมั พชู าสามารถแข่งขันกบั ประเทศอ่ืนๆไดด้ ขี นึ้ การส่งออกข้าวสารขยายตัวไดด้ ีในปี
นี้ โดยมีปริมาณ 509,249 ตนั ในชว่ ง 10 เดือนแรกของปี 2565 เพิม่ ข้ึน 10.67% จาก 460,169 ตนั ในช่วงเวลาเดียวกนั ของปี
ทีแ่ ลว้ ตามรายงานของกระทรวงเกษตรเมอ่ื วนั ที่ 17 พฤศจกิ ายน นายจาเรญิ กลา่ วว่า การควา้ ชยั ครัง้ ที่ 5 น้ีเป็น “ความ
ภาคภมู ิใจอันยงิ่ ใหญ”่ สาหรบั CRF และรฐั บาล และเปน็ การเสรมิ ชอื่ เสยี งของข้าวสารกัมพูชาใหเ้ ปน็ ตวั เลอื กทีด่ ี “ผมขอแสดง
ความยินดกี บั CRF พนั ธมิตรและสมาชกิ ชุมชนเกษตรกรรม ตลอดจนเกษตรกรทที่ างานหนกั เพือ่ การเพาะปลูกและแปรรูป
ข้าวเพอื่ ให้ได้คณุ ภาพและมาตรฐาน”
เวียดนามจะคัดเลือกการลงทนุ เขา้ ประเทศมากข้นึ
เวียดนามกาลังพิจารณาท่จี ะคดั เลอื กการลงทุนท่ีตอ้ งการดงึ ดดู มากข้ึน โดยใช้คุณภาพของปจั จยั การผลติ ทางเทคโนโลยีและ
การปกปอ้ งส่งิ แวดล้อมเป็นเกณฑใ์ นการประเมิน ประธานาธบิ ดี เหวียน ซวน ฟุก กลา่ วเม่อื วนั พฤหสั บดี(17 พ.ย.) ในการ
ประชมุ APEC CEO Summit ซึง่ เปน็ ส่วนหน่งึ ของการประชุมสุดยอดเอเปคปี 2565 ทีป่ ระเทศไทย นายเหวียน ซวน ฟุกกลา่ ว
วา่ ในขณะที่เศรษฐกจิ โลกประสบปญั หาหลายประการ เวยี ดนามสามารถรักษาเสถียรภาพของเศรษฐกิจมหภาค ควบคมุ อัตรา
เงินเฟ้อ และรกั ษาสมดลุ ของอาหารและพลังงานไว้ได้ เวยี ดนามคาดวา่ จะเป็นหนง่ึ ในประเทศท่ีมี GDP เตบิ โตเร็วทีส่ ดุ ใน
ภูมิภาคเอเชียแปซฟิ ิกในอตั รา 7.2% ในปี 2565 และ 6.7% ในปี 2566 จากการคาดการณข์ ององค์กรระหว่างประเทศหลาย
แห่ง ในฐานะจุดหมายปลายทางการลงทนุ สาหรับองคก์ รขนาดใหญ่ เวียดนามไดล้ งนามและดาเนนิ การตามขอ้ ตกลงประมาณ
60 ฉบบั เพ่ือส่งเสรมิ การลงทุน รวมไปถึงข้อตกลงการค้าเสรี 15 ฉบบั “ความสาเรจ็ ลา่ สุดของเวียดนามในด้านการเตบิ โตทาง
เศรษฐกจิ เป็นขอ้ พิสจู น์ท่ีชดั เจนว่า ความร่วมมือด้านการค้าและการลงทนุ ทีเ่ พิม่ ข้นึ ทั้งในภูมภิ าคและทว่ั โลกสามารถยัง
ผลประโยชน์ให้กับประเทศทเ่ี ข้ารว่ ม” นายเหวยี น ซวน ฟกุ กลา่ ววา่ เวยี ดนามให้ความสาคญั ในการการดงึ ดูดการลงทนุ ที่
เหมาะสม โดยมีคณุ ภาพ ประสิทธิภาพ เทคโนโลยี และการปกปอ้ งสงิ่ แวดลอ้ มเปน็ เกณฑใ์ นการประเมนิ เวยี ดนามต้องการ
ดงึ ดดู โครงการ FDI ไฮเทคทจ่ี ะสนบั สนุนนวัตกรรมและการวจิ ยั ชว่ ยใหธ้ ุรกิจเวียดนามสามารถเข้าร่วมหว่ งโซ่อปุ ทานท้งั ใน
ระดบั ภมู ภิ าคและระดบั โลก และยงั อานวยความสะดวกในการพฒั นาเศรษฐกจิ ดจิ ิทลั เป็นมติ รกับสิง่ แวดลอ้ มและเศรษฐกิจ
หมนุ เวียนดว้ ย เวียดนามตระหนักถงึ ความสาคัญของการอยู่ “เคยี งขา้ งกบั ธุรกิจ” นายเหวยี น ซวนฟกุ กลา่ ว พร้อมเสริมว่า
รัฐบาลจะร่วมมอื กบั ธรุ กจิ ตา่ งๆ เพอ่ื แกไ้ ขปญั หาใดๆ ท่อี าจเกดิ ขน้ึ นายเหวียน ซวนฟุกคาดหวังว่า ประชาคมธรุ กจิ เอเปกจะใช้
จติ วิญญาณของความร่วมมือเพ่อื กา้ วขา้ มความท้าทายและสนบั สนนุ การลงทนุ ในภูมภิ าค ระบบการคา้ ระหว่างประเทศที่
ยุตธิ รรม โปร่งใส และมปี ระสิทธภิ าพเปน็ สิง่ สาคญั เพอื่ ใหก้ ารแขง่ ขนั ระดบั โลกมคี วามเท่าเทยี มกนั และชว้ี า่ การเปลยี่ นผ่านสู่
ดิจิทลั เป็นแนวโนม้ ที่หลกี เลยี่ งไมไ่ ด้ ซงึ่ จะส่งผลดตี ่อการค้าระหว่างประเทศและเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ ประธานาธบิ ดีเห
วียน ซวนฟกุ ได้เยือนประเทศไทยเป็นเวลา 4 วนั (16-19 พฤศจกิ ายน) เพอ่ื เยอื นไทยอย่างเป็นทางการและการเขา้ รว่ มการ
ประชมุ สดุ ยอดเอเปคปี 2565 ตามคาเชิญของนายกรัฐมนตรปี ระยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา ของไทย ไทยเวียดนามร่วมจดั พธิ เี ปดิ ตัวการ
เชื่อมโยงระบบการชาระเงินอยา่ งเป็นทางการ เมือ่ วันท่ี 17 พฤศจิกายน 2565 ทผ่ี า่ นมา เวยี ดนามและไทยได้รว่ มจดั พธิ เี ปดิ ตวั
การเช่ือมโยงระบบการชาระเงินของสองประเทศอยา่ งเปน็ ทางการ โดยมีนาย เหวยี น ซวน ฟุก ประธานาธิบดีแหง่ สาธารณรฐั
สังคมนยิ มเวยี ดนาม และนายอาคม เติมพทิ ยาไพสิฐ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการคลังของไทย รว่ มเปน็ สักขีพยาน โดยมีนาย
เหวยี น กิม อนั รองผู้วา่ การ ธนาคารกลางเวียดนาม และนายรณดล นมุ่ นนท์ รองผวู้ า่ การ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย รว่ มสาธติ
การชาระเงนิ ระหวา่ งไทยและเวียดนามด้วย QR Code ในการชาระเงนิ ผ่านแอปพลเิ คชันโทรศัพท์มอื ถือของธนาคารพาณชิ ย์ผู้
ให้บรกิ ารของทัง้ สองประเทศ ธนาคารกลางเวยี ดนาม และธนาคารแหง่ ประเทศไทย (ธปท.) ได้ประกาศใชน้ วตั กรรมดา้ นการ
ชาระเงินดว้ ย QR Code ไปเม่ือเดอื นมนี าคม 2564 เพอ่ื เป็นทางเลือกใหก้ บั ประชาชนของทัง้ สองประเทศในการชาระเงนิ
ระหว่างกนั ซึ่งถือเป็นจุดเร่ิมต้นของความรว่ มมือทางดา้ นนวตั กรรมทางการเงินอ่ืน ๆ ในอนาคต ผลสาเรจ็ ของการเชื่อมโยง
ระบบการชาระเงนิ ระหวา่ งไทยและเวียดนามครั้งน้ี จะช่วยอานวยความสะดวกแกป่ ระชาชนและรา้ นคา้ ของท้ังสองประเทศ
รวมถงึ นักท่องเท่ียวท่เี ดินทางไปมาระหวา่ งสองประเทศ เพอื่ ใหก้ ารชาระคา่ สินค้าและบรกิ ารระหวา่ งกนั มคี วามสะดวก รวดเรว็
ปลอดภยั โปรง่ ใส และมคี ่าธรรมเนยี มท่ถี กู ลง รวมท้งั เปน็ การส่งเสรมิ การใช้เงนิ สกลุ ทอ้ งถิ่นอกี ทางหนง่ึ ดว้ ย
อนิ โดนีเซยี -จีนลงนาม ขอ้ ตกลงทวภิ าคเี ศรษฐกจิ การค้า 5 ฉบบั
รัฐบาลอินโดนีเซียและจีนไดล้ งนามใน ขอ้ ตกลงทวภิ าคีหลายฉบับในดา้ นเศรษฐกิจ การเดินเรือ และการคา้ หลังจากการประชมุ
สดุ ยอด G20 ทบ่ี าหลีเมื่อวันพธุ ท่ี 16 พฤศจกิ ายน 2565 โดยมปี ระธานาธิบดโี จโก วโิ ดโด อนิ โดนเี ซียและประธานาธบิ ดี สี จ้ิ
นผงิ ของจนี ร่วมเป็นสักขีพยานในการลงนาม

ข้อตกลงทงั้ 5 ฉบับ ได้แก่
1) แผนการส่งเสรมิ ร่วมกนั ภายในกรอบของแกนกลางทางทะเลของโลก( Global Maritime Axis) และ หนึง่ แถบหนึง่ เส้นทาง
(Belt and Road Initiative)
2)บนั ทกึ ความเขา้ ใจ (MoU) ว่าด้วยการร่วมพัฒนาศูนย์อนรุ ักษ์ วิจยั และนวตั กรรมพชื สมนุ ไพรอนิ โดนีเซีย-จีน
3)บนั ทึกความเขา้ ใจด้านอาชวี ศึกษา สาหรบั ภาคอตุ สาหกรรม
4)บนั ทึกความเข้าใจวา่ ด้วยการพฒั นาความรว่ มมอื ด้านเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั
5)ขอ้ ตกลงเพื่อขยายและกระชบั ความร่วมมอื ทางเศรษฐกจิ และการคา้ ระดบั ทวภิ าคี
ในระหว่างการประชุม ประธานาธบิ ดีสรี ะบถุ ึงความมุง่ ม่ันในการเสรมิ สร้างความเปน็ หนุ้ ส่วนทวิภาคีกบั อินโดนเี ซยี “ผมยนิ ดีท่ี
จะสือ่ สารเชิงกลยทุ ธเ์ ชิงลกึ กับประธานาธิบดี (โจโกว)ี ” ประธานาธบิ ดีสีกลา่ ว หนึง่ ในโครงการความรว่ มมอื เชิงกลยทุ ธท์ ่ีกาลงั
ดาเนนิ อยู่ระหวา่ งท้งั สองประเทศคอื รถไฟความเรว็ สูงจาการต์ า-บันดุง ซึ่งมีเปา้ หมายเปดิ ใชง้ านในเดือนมถิ ุนายน 2566
โครงการความร่วมมืออ่นื ๆ ได้แก่ เขตอตุ สาหกรรมเวดะเบย์ เขตอุตสาหกรรมโมโรวาลี และเขตอตุ สาหกรรมสีเขียวกาลมิ นั ตนั
เหนือ นอกจากน้ียังมศี ูนย์ Tsinghua Southeast Asia Center, Two Countries Twin Park และโครงการความร่วมมอื อื่นๆ
ทจี่ ะกอ่ ให้เกดิ ผลท่สี าคญั ต่อการพฒั นาในอนิ โดนเี ซีย ในการประชุมประธานาธบิ ดโี จโกวี ทักทายประธานาธบิ ดสี ี จ้ินผงิ ใน
ฐานะพ่ีใหญ่ “ผมขอต้อนรับประธานาธิบดสี ี จ้ินผงิ สู่บาหลีอีกครง้ั และยนิ ดที ไี่ ดต้ ้อนรับพใ่ี หญใ่ นบาหลหี ลังจากการประชมุ
ของเราท่ีปกั ก่ิง” ประธานาธบิ ดโี จโกวี กลา่ วจากคลปิ Youtube ของสานักเลขาธิการประธานาธบิ ดี เมอื่ วนั พุธที่ 16
พฤศจิกายน ประธานาธบิ ดีโจโกวยี งั แสดงความยินดกี ับ ประธานาธบิ ดสี ี จ้นิ ผงิ ทไ่ี ด้รบั เลอื กให้เป็นเลขาธกิ ารใหญ่ของพรรค
คอมมวิ นสิ ตจ์ ีนเมื่อเร็วๆน้ี นอกรอบการประชมุ ทวภิ าคี ประธานาธิบดีโจโกวี และประธานาธบิ ดสี ี จน้ิ ผงิ ไดช้ มการทดลองว่งิ
ของรถไฟความเรว็ สงู จาการต์ า-บนั ดุงจากบาหลี รถไฟขับเคลอ่ื นโดยวิศวกรชาวจีนและชาวอินโดนีเซยี
เศรษฐกิจมาเลเซียจะทะลุ 370 พันลา้ นเหรยี ญปีนี้
นักเศรษฐศาสตร์กลา่ วว่า การคา้ ที่เติบโตแข็งแกรง่ ของมาเลเซยี จะชว่ ยผลกั ดันเศรษฐกจิ ของประเทศใหเ้ ติบโตมากกว่า 9%
และมมี ลู ค่ากว่า 370,000 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ในปีน้ี มาเลเซยี ยงั คงรักษาการเตบิ โตด้วยการคา้ การส่งออก และการนาเขา้ ท่มี ี
มูลค่ารายเดือนสงู สดุ ในเดือนตลุ าคม โดยการคา้ ระหวา่ งประเทศขยายตัว 21.1% มมี ลู ค่า 245.18 พนั ลา้ นริงกติ ตั้งแต่เดอื น
ตุลาคม 2564 และเปน็ เดอื นท่ี 21 ติดต่อกนั ทเ่ี ติบโตเป็นตัวเลขสองหลกั กระทรวงการค้าระหว่างประเทศและอุตสาหกรรม
เปดิ เผย การสง่ ออกเพ่มิ ขึน้ 15% มมี ลู ค่า 131.63 พนั ลา้ นริงกติ ซ่งึ เป็นการขยายตัวตดิ ตอ่ กนั เป็นเดือนที่ 15 เมอื่ เทียบรายปี
สว่ นการนาเขา้ สูงข้นึ 29.2% มีมลู คา่ 113.54 พนั นล้านรงิ กติ ขณะทกี่ ารเกนิ ดลุ การค้าลดลง 32% มมี ูลค่า 18.09 พนั ลา้ นรงิ
กติ การขยายตวั ของการส่งออกไดร้ ับแรงหนุนหลักจากการจดั ส่งผลติ ภณั ฑป์ ิโตรเลียม ผลติ ภณั ฑไ์ ฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์ ก๊าซ
ธรรมชาตเิ หลว (LNG) และนา้ มนั ดิบทีเ่ พิม่ ขึน้ การส่งออกไปยังประเทศคคู่ ้าสาคัญโดยเฉพาะอาเซยี น จีน สหรฐั อเมรกิ า
สหภาพยโุ รป และญ่ปี ุน่ เพม่ิ ขึ้นเชน่ กัน โดยในชว่ ง 10 เดอื นแรกของปี 2565 การคา้ การส่งออก และการนาเข้า สูงข้นึ ทาลาย
สถติ เิ ดิมที่บันทกึ ไวใ้ นปี 2564 การคา้ ขยายตวั 31.6% มมี ูลคา่ 2.375 ล้านล้านรงิ กิตเมอ่ื เทียบกับชว่ งเดยี วกนั ของปี 2564
และการส่งออกเพมิ่ ขึ้น 28.5% มมี ูลค่า 1.29 ล้านลา้ นรงิ กติ การนาเข้ามมี ลู คา่ เกิน 1 ลา้ นล้านริงกติ เปน็ ครั้งแรก โดยเพิ่มข้นึ
35.4% เป็น 1.085 ล้านล้านรงิ กติ ขณะทีเ่ กนิ ดลุ การคา้ เพ่ิมข้นึ 1.3% เปน็ 205.61 พนั ลา้ นรงิ กิต Shan Saeed หวั หน้านัก
เศรษฐศาสตร์ของ Juwai IQI กลา่ ววา่ การค้าของประเทศจะเพ่ิมข้ึน 10-20% ในปี 2565 เนอ่ื งจากกระทรวงและหนว่ ยงาน
ของหน่วยงาน Malaysian Investment Development Authority ทางานไดด้ ใี นการเจาะตลาดและรักษาเสถยี รภาพในภมู ิ
ทศั นก์ ารคา้ “มาเลเซยี จัดการเร่อื งนี้ได้ดี ณ เดือนกันยายน 2565 การคา้ เพ่ิมข้ึน 31% การสง่ ออกเพมิ่ ขึ้น 30% และการ
ลงทนุ โดยตรงจากตา่ งประเทศเพม่ิ ขึน้ 21%” Shan กล่าวว่า ผลติ ภัณฑม์ วลรวมภายในประเทศ (GDP) โดยเฉลยี่ ของมาเลเซยี
เติบโตแตะ 9.36% หลังจากผ่านไป 3 ไตรมาส โดยไตรมาสทีแ่ ล้วขยายตวั เกนิ ความคาดหมายท่ี 14.2% “มาเลเซียจะยงั คงมี
ความสาคญั ในภมู ทิ ศั นก์ ารคา้ และการพาณชิ ย์ทว่ั โลก เนอ่ื งจากเสถยี รภาพของเศรษฐกจิ มหภาค กาลงั แรงงานท่ีมีการศึกษา
โครงสร้างพนื้ ฐานที่ทนั สมยั และมที ีต่ ้ังเชงิ กลยทุ ธ์ “ขนาด GDP ของมาเลเซียคาดวา่ จะสูงถงึ 372,000 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั ในปี
น้ี มาเลเซียยงั คงอย่ใู นเรดารข์ องนกั ลงทุนทวั่ โลก โดย GDP จะสูงกวา่ 9.0% ภายในสนิ้ ปนี ”้ี Firdaos Rosli หวั หนา้ นกั
เศรษฐศาสตร์ของ Bank Islam Malaysia Bhd กลา่ ววา่ การค้าของมาเลเซยี เตบิ โตดเี กินคาดทา่ มกลางสภาวะตลาดโลกท่ซี บ
เซาและความต้องการของลกู คา้ ทซ่ี บเซา “การเตบิ โตของการนาเข้ายงั คงแซงหน้าการส่งออก แต่คาดวา่ จะเป็นเพราะการแข็ง
คา่ ของเงนิ ดอลลารส์ หรฐั นอกจากนี้มาเลเซยี นาเขา้ สินค้าทุนมากข้นึ หลังจากการเปดิ เศรษฐกิจเตม็ รปู แบบอีกคร้ังในไตรมาสท่ี
สองของปี 2565”

Firdaos กล่าวว่า ความเสยี่ งด้านลบตอ่ การเติบโตของการคา้ จะยังคงมอี ยู่ เน่ืองจากสภาพแวดล้อมภายนอกเลวรา้ ยลง
อย่างไรก็ตาม มตี วั เลขการคา้ มีความลา่ ช้า ดงั นน้ั ไมค่ ิดว่าจะเห็นผลกระทบตอ่ การคา้ เร็วนัก ดว้ ยเหตนุ ้ี การค้าของมาเลเซีย
จนถึงสิน้ ปี 2565 จะยงั คงอย่ใู นเกณฑด์ ี “นอกจากนี้ อตั ราแลกเปลย่ี นเงนิ ดอลลารส์ หรฐั และริงกติ ที่เออ้ื อานวยยงั ชว่ ยการ
สง่ ออกใหเ้ พ่มิ ขนึ้ ในระยะสน้ั ” รองศาสตราจารย์ ดร.Ahmed Razman Abdul Latiff นกั วเิ คราะห์เศรษฐกจิ จาก Putra
Economic Business School กล่าวว่าตวั เลขการคา้ ในเดือนตลุ าคมไดต้ อกยา้ ถงึ การเติบโตทางเศรษฐกิจอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ซง่ึ
เหน็ จากการเตบิ โต 14.2% ของ GDP ในไตรมาสที่ 3 ความต้องการทสี่ ูงขนึ้ สาหรับสินค้าส่งออกหลักของมาเลเซยี เชน่ E&E
ไดร้ บั แรงหนนุ จากราคาสนิ คา้ โภคภณั ฑ์ประเภทนา้ มนั และกา๊ ซทสี่ งู ขึ้น นอกจากน้ี เงินรงิ กติ ทีอ่ ่อนคา่ เม่ือเทียบกับดอลลาร์
สหรัฐทาให้การสง่ ออกของมาเลเซยี แข่งขนั ไดม้ ากขน้ึ การเติบโตเปน็ เลขสองหลกั อยา่ งต่อเนอ่ื งทุกเดือน “อย่างไรกต็ าม ยงั
ส่งผลใหต้ ้นทนุ การนาเข้าสงู ข้นึ และทาให้เกินดลุ การค้าของเราลดลงไปอีก” Ahmed Razman กลา่ ว
เมยี นมาอนุญาตนาเข้ารถยนต์ไฟฟ้า 1 มกราคม 2566
กระทรวงพาณิชยข์ องเมยี นมา ประกาศวา่ นกั ลงทุนที่จะนาเข้ารถยนต์ไฟฟ้า จะ ไดร้ ับอนญุ าตให้ดาเนินการไดต้ ้งั แต่ 1
มกราคม 2566พร้อมกับเผยแพรก่ ฎและข้อบังคับทีเ่ กย่ี วขอ้ ง
ในประกาศคาสงั่ ที่ออกเมื่อไม่กว่ี ันมานี้ กาหนดกฎระเบยี บเพ่ือสนบั สนนุ โครงการนาร่องสาหรบั การพฒั นายานยนตไ์ ฟฟ้าและ
ธรุ กิจทเี่ กยี่ วข้อง รวมถึงรถบรรทุกโดยสารทใ่ี ชแ้ บตเตอรีด่ ว้ ย ผนู้ าเขา้ ตอ้ งเปน็ บริษทั ของชาวเมียนมาหรอื นกั ลงทุนตา่ งชาติที่
จดทะเบียนอยา่ งเปน็ ทางการกบั Directorate of Investment and Company (DICA) บริษทั จะตอ้ งยน่ื สญั ญาทางธรุ กจิ กบั
แบรนด์พันธมติ รตอ่ DICA และต้องไดร้ ับอนญุ าตจากคณะกรรมการขับเคลอ่ื นการพฒั นาภาคยานยนตไ์ ฟฟา้ บริษทั จะต้อง
นาเข้ารถยนตต์ ามจานวนทไ่ี ดร้ ับอนมุ ัติจากคณะกรรมการเท่านนั้ กระทรวงฯ ระบุว่า คาสงั่ ท่อี อกจะมผี ลบงั คบั ใช้ระหวา่ งวนั ที่
1 มกราคม ถงึ 31 ธันวาคม 2566
มูลค่า IPO ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตล้ ดลงจากเศรษฐกิจชะลอ
เงนิ ทุนที่ระดมทุนจากการเสนอขายหนุ้ ครงั้ แรกแกป่ ระชาชนท่ัวไปหรอื IPO ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ลดลง 52% ในปนี เี้ มือ่
เทียบกับปีทแ่ี ล้ว จากข้อมลู ของดลี อยท์ โดยเงนิ เสนอขายหนุ้ ต่ IPO ระดมไดส้ งู ถงึ 6.3 พนั ล้านดอลลารใ์ นชว่ งมกราคมถงึ 11
พฤศจกิ ายน ซง่ึ ตา่ กว่า 13.3 พันล้านดอลลารท์ ี่ระดมทนุ ได้ในปี 2564 อยา่ งมนี ัยสาคญั จานวนบริษทั ทเี่ ขา้ จดทะเบยี นในปี
2565 กล็ ดลงเชน่ กัน จาก 152 รายรในปี 2564 เหลอื 136 ราย รายงานของดีลอยท์ ศึกษาจาก 6 ประเทศ ได้แก่ สงิ คโปร์
อินโดนีเซยี ไทย เวียดนาม ฟลิ ิปปนิ ส์ และมาเลเซยี ผลการวจิ ยั ยงั เผยใหเ้ ห็นวา่ มีบรษิ ทั ขนาดใหญ่และขนาดกลางเพยี ง 8 แห่ง
ที่จดทะเบียนในปี 2565 ซึง่ น้อยกว่าครึง่ หนึง่ ของบริษัทขนาดใหญ่และขนาดกลาง 19 แหง่ ที่จดทะเบยี นในปี 2564
บรษิ ัทขนาดใหญ่หมายถงึ บริษทั ทม่ี มี ลู ค่าตลาดสูงกวา่ 1 พนั ลา้ นดอลลาร์ ในขณะท่ีบริษทั ขนาดกลางคือบริษัททีม่ ีมูลคา่ ตลาด
ระหว่าง 500 ล้านถึง 1 พนั ลา้ นดอลลาร์ การเสนอขายหนุ้ IPO ในเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ลดลงในปนี ้ี โดยมเี พยี ง 2 บรษิ ัทท่ี
เสนอขายหนุ้ ขนาดใหญร่ ะดับบล็อคบัสเตอร์ ไดแ้ ก่ GoTo ของอินโดนเี ซียท่ีระดมทุนได้ 1.1 พนั ล้านดอลลาร์ และไทยประกัน
ชีวิตท่ีระดมทุนได้ 1 พนั ลา้ นดอลลาร์ ซึง่ อาจหมายความวา่ บริษทั ขนาดใหญ่กาลงั ระงบั และเล่ือนการจดทะเบียนออกไปเพ่อื รอ
ใหภ้ าวะตลาดดขี ้นึ กอ่ น ปที ี่แล้ว มกี ารเสนอขายหุ้น IPO ของบริษทั อีคอมเมิรซ์ สัญชาตอิ ินโดนเี ซยี Bukalapak มูลคา่ 1.5
พนั ลา้ นดอลลาร์ในเดอื นสิงหาคม รวมทั้งการเสนอขายหุ้น IPO ขนาดใหญ่ 3 รายในประเทศไทย กล่มุ ธุรกจิ คา้ ปลกี นา้ มันของ
รัฐในประเทศไทย ไดแ้ ก่ บริษัทปตท.คา้ ปลกี และน้ามัน (PTTOR) ระดมทุนได้ 1.6 พนั ล้านดอลลารใ์ นเดือนกมุ ภาพันธ์ บรษิ ทั
ไมโครไฟแนนซเ์ งินตดิ ล้อ ระดมทนุ ได้ 1.4 พันล้านดอลลาร์ในเดอื นพฤษภาคม ขณะทผ่ี ูผ้ ลิตและจดั จาหนา่ ยสอ่ื บันเทงิ บรษิ ัท
เดอะ วนั เอน็ เตอร์ไพรส์ จากัด (มหาชน)ระดมทนุ ได้ 118 ล้านดอลลาร์ในเดอื นพฤศจิกายน ความทา้ ทายด้านเศรษฐกิจมห
ภาค เช่น อตั ราเงินเฟ้อโลกท่ีเพิม่ สูงข้ึนและอัตราดอกเบย้ี ไดช้ ะลอการขายหุน้ IPO ต่างจากท่ีเหน็ ในปี 2564 “ก่อนการแพร่
ระบาดของโควดิ -19 การเสนอขายหนุ้ จะดาเนนิ ไปพรอ้ มกับการเตบิ โตของเศรษฐกิจและจดี ีพี อยา่ งไรก็ตาม มนั กลับตรงกนั
ข้ามในช่วงสองปที ผี่ า่ นมา” Tay Hwee Ling จาก บริษัท ดีลอยท์ เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ และสงิ คโปร์ กลา่ วในการแถลง
ข่าวเมอื่ วันที่ 15 พฤศจิกายน แม้วา่ ประเทศต่างๆ จะเปิดประเทศอีกครัง้ อยางไรกต็ ามอนิ โดนเี ซียและไทยตดิ อันดับตน้ ๆ เม่ือ
ประเมินจากจานวน อินโดนเี ซยี เปน็ ผู้นาในภมู ภิ าคโดยมีบริษัท 54 แหง่ เข้าจดทะเบยี นในตลาดหลักทรพั ย์อนิ โดนเี ซยี ตัง้ แต่
เดือนมกราคมถงึ สัปดาหท์ ส่ี องของเดือนพฤศจกิ ายน มาเลเซยี รัง้ อันดับสองดว้ ยการเสนอขายหุน้ IPO ถึง 31 รายการ ตามมา
ดว้ ยประเทศไทยท่กี ารเสนอขายหนุ้ IPO ถงึ 28 รายการ GoTo ของอนิ โดนีเซีย ซ่ึงเป็นกิจการที่เกดิ จากการควบรวมกจิ การ
ระหว่าง Gojek และ Tokopedia ระดมทุนได้ 1.1 พนั ล้านดอลลารใ์ นการเสนอขายหนุ้ IPO ในเดอื นเมษายน ซึ่งถือเปน็ การ
เสนอขายหุ้น IPO ที่ใหญเ่ ปน็ อันดบั สามในเอเชียและใหญ่เปน็ อันดบั หา้ ของโลกในปีน้ี การเสนอขายหนุ้ IPO ของ GoTo เพียง
อย่างเดียวคิดเปน็ 47% ของเงนิ ทุนทงั้ หมดทร่ี ะดมทุนในตลาดหนุ้ ชาวอินโดนีเซีย จากการคานวณของ CNBC โดยใช้ตวั เลข

ของ ดีลอยท์ เม่อื ประเมนิ จากจานวนเงินทีร่ ะดมทุนได้ ประเทศไทยอยอู่ ันดับต้น ๆ โดยคิดเปน็ 39% ของจานวนเงนิ ที่ระดม
ทุนจาก IPO ท้ัง 28 รายในเอเชียตะวันออกเฉียงใตด้ ว้ ยมูลค่า 2.5 พันล้านดอลลาร์ โดยไดร้ บั แรงหนนุ จากการเข้าจดทะเบยี น
ของไทยประกันชวี ติ ทรี่ ะดมทุนได้ 1 พันลา้ นดอลลาร์ และผผู้ ลติ เนอื้ สัตว์ บรษิ ัท เบทาโกร จากดั (มหาชน) ทร่ี ะดมทนุ ได้ 555
ล้านดอลลาร์ อินโดนเี ซยี เป็นอนั ดบั สองดว้ ยเงนิ ระดมทนุ 2.3 พนั ลา้ นดอลลาร์ ตามมาดว้ ยมาเลเซยี 681 ล้านดอลลาร์
แตแ่ นวโนม้ ปี 2566 ยังไม่สดใส ในปี 2565 มูลคา่ กลมุ่ เทคโนโลยแี ละปรมิ าณการซื้อขายลดลง เนอ่ื งจากสภาวะตลาดคาดเดา
ไมไ่ ด้ เชน่ อตั ราดอกเบีย้ ท่เี พ่มิ สงู ข้ึน จากรายงานของแพลตฟอรม์ การวเิ คราะห์ CB Insights นักลงทนุ ท่รี ะมัดระวงั มากขนึ้
ลงทนุ นอ้ ยลงทัง้ จานวนบริษทั และจานวนเงนิ ในขณะทค่ี วามทา้ ทายรออยูข่ า้ งหน้า “เอเชียตะวนั ออกเฉียงใตม้ ีสดั สว่ นของคน
หนุม่ สาวสูง และในแทบทุกประเทศมีนักลงทุนรายยอ่ ยท่ีแขง็ ขนั ซงึ่ หมายความว่าเศรษฐกจิ และธรุ กจิ จะเติบโต” Tay กลา่ ว
และอ้างขอ้ มลู จากกองทนุ การเงินระหวา่ งประเทศ ท่วี า่ ประชากรมากกวา่ ครง่ึ หนงึ่ ของเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใตม้ ีอายุต่ากว่า 30
ปี คนหนมุ่ สาวสามารถขบั เคลือ่ นเศรษฐกจิ ให้กา้ วไปขา้ งหนา้ ได้ สาหรบั แนวโน้มในปีทเี่ หลือจนถึงปี 2566 Tay กลา่ วว่าดี
ลอยท์ นั้น “มองโลกในแงด่ ีแตร่ อบคอบ” “ภูมิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใตย้ งั เตบิ โตได้สงู อกี เน่ืองจากภูมิภาคน้ฟี ื้นตัวจาก
วิกฤตโควดิ -19 เราคาดวา่ กิจกรรมการเสนอขายห้นุ จะผา่ นช่วงขึ้นและลงเป็นวัฏจกั ร เนือ่ งจากตลาดปรบั ความคดิ เก่ียวกบั โรค
ระบาดเปน็ เรอ่ื งปกตใิ หม่ แมม้ ลู คา่ ห้นุ บรษิ ัทเทคโนโลยใี นปัจจุบันลดลง แต่บริษัทที่มีพื้นฐานทางธุรกจิ ที่มนั่ คงและ
ความสามารถในการทากาไรจะยังคงสามารถมมี ลู คา่ ตลาดทีเ่ หมาะสมและไดร้ บั ประโยชนจ์ ากตลาดทนุ


Click to View FlipBook Version