หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถัมภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 46
คำอธิบายรายวิชา
กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
รายวิชา เทคโนโลยวี ทิ ยาการคำนวณ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2
รหสั วิชา ว12102 เวลา 40 ชั่วโมง / ปี
.............................................................................................................................................................
ศึกษา วเิ คราะห์ การตรวจหาขอผดิ พลาดของโปรแกรมการใชงานซอฟตแวรเบ้อื งตน การจัดการ
ไฟลและโฟลเดอร การใชงานและดูแล รักษาอุปกรณ์ คอมพิวเตอร เทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน การใช
เทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย และมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารเบื้องตนสามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรูมีความคิดสรางสรรคสามารถทำงานรวม
กับผูอื่น แสดงขั้นตอนการแกปญหาอยางงาย เขียนโปรแกรมแบบมีเงื่อนไขโดยใชบัตรคำสั่งและ
ตรวจหาขอผดิ พลาด ใชงานซอฟตแวรสราง จัดหมวดหมูไฟลและโฟลเดอร
ตระหนักถงึ ประโยชนของการใชความรูในการดํารงชวี ิต ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย
ปฏิบัติตามขอตกลงในการใชงาน ดูแลรักษาอุปกรณและใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางเหมาะสม
จรยิ ธรรม คุณธรรม และคานยิ มที่เหมาะสม
รหสั ตวั ชี้วดั
มาตรฐาน ว 4.2 ป.2/1 , ป.2/2 , ป.2/3 , ป.2/4
รวม 4 ตัวชวี้ ดั
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 47
คำอธิบายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวชิ า เทคโนโลยวี ิทยาการคำนวณ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3
รหสั วชิ า ว13102 เวลา 40 ชั่วโมง / ปี
.............................................................................................................................................................
ศึกษา วิเคราะห์ การแสดงขั้นตอนการแกปญหาโดยใชเหตุผลเชิงตรรกะเบื้องตนการเขียน
โปรแกรมแบบวนซ้ำโดยใชบตั รคําส่ังและการตรวจหาขอผิดพลาด การใชอินเทอรเนต็ และขอตกลงในการ
ใชงานการรวบรวมขอมูล การประมวลผลขอมูลเบ้ืองตน การนําเสนอขอมูล เทคโนโลยีในงานดานตาง ๆ
ขอดีและขอเสียในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ ในดานการใช
เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารเบื้องตน สามารถส่ือสารสง่ิ ที่เรียนรู มีความคดิ สรางสรรค สามารถ
ทํางานรวมกับผูอน่ื แสดงขัน้ ตอนการแกปญหา เขยี นโปรแกรมแบบวนซ้ำโดยใชบตั รคาํ สงั่ ใชอนิ เทอรเนต็
ในการคนหาความรูรวบรวม ประมวลผล และนาํ เสนอขอมลู ตามวตั ถปุ ระสงค
ตระหนกั ถงึ ประโยชนของการใชความรูในการดํารงชีวิต ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย
ปฏิบัติตามขอตกลงในการใชงาน ดูแลรักษาอุปกรณและใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางเหมาะสม
จริยธรรม คุณธรรม และคานยิ มทเี่ หมาะสม
รหัสตวั ชี้วดั ป.3/1 , ป.3/2, ป.3/3 , ป.3/4, ป3/5
มาตรฐาน ว 4.2
รวม 5 ตัวช้วี ัด
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถมั ภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 48
คำอธบิ ายรายวชิ า
กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
รายวชิ า เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4
รหสั วิชา ว14102 เวลา 40 ชั่วโมง / ปี
.............................................................................................................................................................
ศึกษา วิเคราะห์ การใชเหตุผลเชิงตรรกะในการแกปญหา การออกแบบและเขียนโปรแกรมอย
างงาย การตรวจหาขอผิดพลาดในโปรแกรม การคนหาขอมูลในอินเทอรเน็ตและการใชคําคน การ
ประเมินความนาเชื่อถือของขอมูล การรวบรวม นําเสนอขอมูลและสารสนเทศใชการสืบเสาะหาความรู
ตั้งคำถาม คาดคะเนคําตอบหรือสรางสมมติฐาน วางแผนและสํารวจตรวจสอบโดยใชเครื่องมืออุปกรณ
และเทคโนโลยสี ารสนเทศ ท่ีเหมาะสมประเมินความนาเชือ่ ถอื ของขอมลู และมีทกั ษะการเรียนรู
ในศตวรรษที่ ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเบื้องตนมีความคิดสรางสรรค
สามารถทํางานรวมกับผูอื่น ใชเหตุผลเชิงตรรกะในการแกปญหา และอธิบายการทํางานหรือคาดการ
ผลลัพธจากปญหาอยางงายออกแบบและเขยี นโปรแกรม ตรวจหาขอผิดพลาดจากโปรแกรมของตนเอง
และผูอื่น
ตระหนกั ถึงประโยชนของการใชความรูในการดํารงชีวิต ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย
ปฏิบัติตามขอตกลงในการใชงาน ดูแลรักษาอุปกรณและใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางเหมาะสม
จรยิ ธรรม คุณธรรม และคานิยมท่ีเหมาะสม
รหสั ตวั ชี้วดั ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5
มาตรฐาน ว 4.2
รวม 5 ตัวชีว้ ัด
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 49
คำอธิบายรายวชิ า
กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวชิ า เทคโนโลยวี ิทยาการคำนวณ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5
รหัสวิชา ว15102 เวลา 40 ชั่วโมง / ปี
.............................................................................................................................................................
ศึกษา วิเคราะห์ การเขียนรหัสจําลองเพื่อแสดงวิธีแกปญหา การออกแบบ และการเขียน
โปรแกรมแบบมีเง่ือนไขและการทํางานแบบวนซำ้ การใชซอฟตแวรประมวลผลขอมูลการติดตอส่ือสารผ
านอนิ เทอรเน็ต การใชอนิ เทอรเน็ตคนหาขอมูลและการประเมินความนาเชื่อถือของขอมูล อันตรายจาก
การใชงานและอาชญากรรมทางอินเทอรเน็ตและมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ ในดานการใช
เทคโนโลยี สารสนเทศและการสอ่ื สารเบ้อื งตน สามารถสื่อสารสง่ิ ท่ีเรียนรู มคี วามคิดสรางสรรค สามารถ
ทํางาน รวมกับผูอื่น แสดงวิธีแกปญหาโดยใชเหตุผลเชิงตรรกะใชรหัสจําลอง แสดงวิธีการแกปญหาอย
างเปนขั้นตอน ออกแบบ และเขียนโปรแกรมแบบ มีเงื่อนไขและการทํางานแบบวนซ้ำ ตรวจหาขอผิด
พลาดของโปรแกรม ใชซอฟตแวรชวยในการแกปญหา ใชอินเทอรเน็ตติดตอสื่อสารและ คนหา ขอมู
ลแยกแยะขอเท็จจริงกับขอคิดเหน็ ประเมินความนาเชือ่ ถอื ของขอมูล
ตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูในการดํารงชวี ิต ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย
ปฏิบัติตามขอตกลงในการใชงาน ดูแลรักษาอุปกรณและใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางเหมาะสม
จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคานยิ มทีเ่ หมาะสม
รหัสตัวชี้วัด ป5/1, ป5/2, ป5/3, ป5/4, ป5/5
มาตรฐาน ว 4.2
รวม 5 ตัวช้วี ัด
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 50
คำอธิบายรายวชิ า
กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชา เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
รหัสวิชา ว16102 เวลา 40 ชั่วโมง / ปี
.............................................................................................................................................................
ศึกษา วิเคราะห์ การใชเหตุผลเชิงตรรกะในการอธิบายและออกแบบวิธีการแกปญหาการ
ออกแบบ การเขียนโปรแกรมและการตรวจหาขอผิดพลาด การคนหาขอมูลในอินเทอรเน็ตอยางมี
ประสทิ ธภิ าพการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการทาํ งานรวมกนั ใชการสืบเสาะหาความรู สงั เกต รวบรวมข
อมลู จดั กระทําและสอ่ื ความหมายขอมลู สรางแบบจําลอง และอธบิ ายผลการสํารวจและมที ักษะการเรียน
รูในศตวรรษท่ี ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารเบือ้ งตนสามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู
มีความคดิ สรางสรรค สามารถทาํ งานรวมกับผูอนื่ อธิบายและออกแบบวธิ ีการแกปญหาโดยใชเหตุผลเชิง
ตรรกะ เขียนโปรแกรมอยางงายเพ่อื แกปญหาและตรวจหาขอผดิ พลาดของโปรแกรม คนหาขอมูลในอิน
เทอรเน็ตอยางมปี ระสทิ ธภิ าพใชเทคโนโลยสี ารสนเทศทํางานรวมกัน
ตระหนักถงึ ประโยชนของการใชความรูในการดํารงชีวิต ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย
ปฏิบัติตามขอตกลงในการใชงาน ดูแลรักษาอุปกรณและใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางเหมาะสม
จริยธรรม คณุ ธรรม และคานิยมท่เี หมาะสม
รหสั ตวั ชี้วดั ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3, ป.6/4
มาตรฐาน ว 4.2
รวม 4 ตัวช้วี ัด
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถัมภ์ พุทธศกั ราช 2553
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 51
คำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สงั คมศกึ ษา
ศาสนา และวฒั นธรรม
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถมั ภ์ พุทธศกั ราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 52
คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน
รายวชิ า สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๑
รหัสวิชา ส๑๑๑๐๑ เวลา ๑๒๐ ชว่ั โมง/ปี
..........................................................................................................................................
ศึกษา เกี่ยวกับประวัติความเป็นมา ความสำคัญ ศาสนา หลักธรรมของพุทธศาสนาพุทธ
ประวัติ พระรัตนตรัย พุทธศาสนสุภาษิต วันสำคัญ ประวัติสาวก ชาดก ฝึกสวดมนต์ แผ่เมตตา การ
ปฏิบัติตนเป็นของศาสนกิ ชนและศาสนาอื่น บุคคลตัวอย่างในทอ้ งถิ่น ประเทศ ปฏิบัติตนตามหลกั ธรรม
เพอื่ อยรู่ ว่ มกนั อย่างสนั ตสิ ุข
ศกึ ษา ปฏิบัติตนเปน็ สมาชกิ ที่ดีของครอบครวั ยกตวั อยา่ งความดีของตนเองและผู้อ่นื โครงสร้าง
บทบาทหนา้ ทขี่ องสมาชิก มสี ว่ นร่วมในการตัดสนิ ใจ
ศกึ ษา สำรวจ เปรยี บเทียบ สินค้าและบริการทใ่ี ชอ้ ยู่ในชีวติ ประจำวนั เชน่ ดินสอ สมุดกระดาษ
เส้อื ผา้ การไดม้ าโดยใช้เงนิ ซ้ือ หรือได้มาโดยการบริจาค หรือไดม้ าโดย การแลกเปลี่ยนสินค้าหรือบริการ
การใช้ประโยชน์จากสินค้าและบริการให้คุ้มค่า มีการวางแผนการใช้เงิน การประหยัดเก็บออม
การทำงานอย่างสุจรติ เพื่อใหค้ รอบครวั และสังคมอยไู่ ดอ้ ย่างเปน็ สุข
ศึกษา สำรวจ สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และที่มนุษย์สร้างขึ้น ระบุความสัมพันธ์
ตำแหนง่ ระยะทศิ ทางของที่ตงั้ แผนผงั ส่งิ ตา่ ง ๆ ท่ีอยู่รอบตวั ในหอ้ งเรยี น สังเกตการณ์เปลยี่ นแปลงสภาพ
อากาศ บอกสิ่ง ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อมนุษย์ เปรียบเทียบความเปลี่ยนแปลงของ
สภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัว ที่อยู่อาศัย อาหาร เครื่องแต่งกาย และมีส่วนร่วมในการจัดระเบียบ
สภาพแวดล้อมท่ีบ้านและชั้นเรยี น
โดยใช้กระบวนการสืบค้น กระบวนการขัดเกลาทางสังคม กระบวนการทางจริยธรรม
กระบวนการพัฒนาค่านิยม กระบวนการประชาธปิ ไตย กระบวนการแก้ปญั หา กระบวนการคิดวิเคราะห์
กระบวนการทางภมู ิศาสตร์
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี นำหลักธรรมทางศาสนา และหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดำรงชีวิต อยู่ในสังคมรว่ มกนั อยา่ งสันติสุข เคารพในสิทธิของ
ความเป็นมนุษย์ เห็นคุณค่า ชื่นชม วัฒนธรรมประเพณีไทย อนุรักษ์สืบสานภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น
มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
ส 1.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4
ส 1.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
ส 2.1 ป.1/1, ป.1/2
ส 2.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
ส 3.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
ส 3.2 ป.1/1
ส 5.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4
ส 5.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
รวม ๘ มาตรฐาน ๒๓ ตวั ชี้วัด
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถัมภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 53
คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
รายวชิ า สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๒
รหัสวิชา ส๑๒๑๐๑ เวลา ๑๒๐ ชวั่ โมง/ปี
..........................................................................................................................................
ศึกษา ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา พุทธประวัติ ประสูติ ประวัติพุทธสาวก
พทุ ธสาลิกา และชาดก ศกึ ษาข้อมูลเดีย่ วกบั พระไตรปิฎก และหลักธรรมโอวาท 3 พทุ ธศาสนสุภาษิตและ
บุคคลตัวอย่างในการทำความดี ฝึกปฏิบัติมารยาทของชาวพุทธ การเข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับศาสนพธิ ี
พิธกี รรม วันสำคญั ทางศาสนา เรือ่ งการบชู าพระรัตนตรัย ฝกึ บริหารจิต เพ่อื ใหก้ ารดำเนินชีวิตของมนุษย์
การอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม นำหลักธรรมคำสอนไปปฏิบัติในการพัฒนา
ตนเองเป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีคุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม เกิดความภาคภูมิใจในการ
กระทำความดขี องตนเอง และผอู้ ่นื
ศึกษา สังเกต ความเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยของตนเองและผู้อื่นในสังคมปัจจุบัน
การยอมรับกฎกติกา กฎระเบียบ หนา้ ท่ีความแตกต่างและความหลากหลายทาง ด้านวฒั นธรรม ค่านิยม
ความเชื่อปลูกฝังค่านิยม สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพการดำเนินชีวิต อย่างสันติสุขในสังคมไทย และการ
ชว่ ยเหลือการเข้าร่วมกจิ กรรมของชมุ ชน
ศกึ ษา อภิปราย บริหารจัดการทรัพยากรอย่างมปี ระสิทธิภาพและค้มุ ค่าท้งั ท่ีบ้าน และโรงเรียน
ให้เกิดประโยชน์สูงสุด รายรับจ่ายของตนเองการทำงานที่กอ่ ให้เกิดรายได้ในการผลิตการชื้อขายสินคา้
วเิ คราะห์อภิปรายและจำแนกขอ้ ดขี อ้ เสียการใชจ้ ่ายการช้อื ขายแลกเปลี่ยน และการบริโภคสินคา้ และการ
บริการอย่างมีประสิทธิภาพในการดำเนินชีวิตอย่างมีดุลภาพ และการนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ใน
ชวี ติ ประจำวนั
ศึกษาค้นคว้า อภิปราย สรุป สิ่งต่าง ๆ ที่เป็นธรรมชาตกิ บั ท่ีมนุษย์สรา้ งขึ้น ซึ่งปรากฏระหว่าง
โรงเรียนกับบ้าน ลักษณะของโลกทางกายภาพ การใช้แผนที่ แผนผัง และภาพถ่าย เช่นภูเขา ที่ราบ
แมน่ ้ำ ตน้ ไม้ อากาศ และทะเล ความสมั พันธข์ องปรากฏการณร์ ะหวา่ งโลก ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์
โดยใช้กระบวนการสืบค้น กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการแก้ปัญหา วิธีการทาง
ประวตั ศิ าสตร์ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการทางภูมศิ าสตร์ กระบวนการประชาธปิ ไตย
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เป็นพลเมืองดีของสังคม รู้ข่าวเหตุการณ์สำคัญของชุมชน
ภาคภูมิใจในความเป็นไทย มจี ติ สาธารณะ อยูร่ ว่ มกันในสังคมอย่างเป็นสุข
มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
ส 1.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7
ส 1.2 ป.2/1, ป.2/2
ส 2.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4
ส 2.2 ป.2/1, ป.2/2
ส 3.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4
ส 3.2 ป.2/1, ป.2/2
ส 5.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3
ส ๕.2 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5
รวม ๘ มาตรฐาน ๒๙ ตัวชว้ี ัด
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 54
คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
รายวชิ า สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓
รหสั วิชา ส๑๓๑๐๑ เวลา ๑๒๐ ชว่ั โมง/ปี
..........................................................................................................................................
ศึกษา วิเคราะห์ อภิปราย สรุป ความสำคัญของพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือพุทธ
ประวัติหรอื ประวัติของศาสนาท่ีตนนับถือ แบบอย่างการดำเนินชวี ิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก
เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่าง ความหมาย ความสำคัญของประไตรปิฎก คัมภีร์ของศาสนาที่ตน
นับถือ พระรัตนตรัย หลักธรรมโอวาท 3 การสวดมนต์ไหว้พระ แผ่เมตตา สรรเสริญคุณพระรัตนตรยั
การฝกึ ปฏิบัตมิ ารยาทชาวพทุ ธและความสำคญั ของศาสนวตั ถุ ศาสนสถาน และศาสนบคุ คล
ศกึ ษา วิเคราะห์ อธบิ าย อภิปราย สรปุ ประเพณีวฒั นธรรมในครอบครัวและท้องถิน่ พฤติกรรม
การดำเนินชวี ติ ของตนเองและผอู้ ื่น ความสำคญั ของวนั หยดุ ราชการ บคุ คลทมี่ ีผลงานเป็นประโยชน์แก่
ชมุ ชน และท้องถิน่ บทบาทหนา้ ท่ีของสมาชิกในชมุ ชน ความแตกตา่ งของกระบวนการการตัดสินใจในช้นั
เรยี น โรงเรียนและชุมชน และผลทเี่ กดิ จากการตัดสินใจของบคุ คลและกลมุ่
ศึกษา วิเคราะห์ อภปิ ราย สรุ จำแนก อธบิ ายความตอ้ งการและความจำเป็นในการใช้สินคา้ และ
บรกิ าร การใชจ้ า่ ยของตนเอง ทรพั ยากรทมี อี ยู่จำกัดมีผลต่อการผลิต การบรโิ ภค และบริการ สินค้าและ
บริการที่รัฐจัดบริการแก่ประชาชน ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจความสำคัญของภาษีและบทบาทของ
ประชาชนในการเสยี ภาษี การแข่งขันทางการคา้
ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย อภิปราย ตระหนัก เปรียบเทียบการใช้แผนที่ แผนผัง และ
ภาพถ่ายในการหาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ เขียนแผนผังง่าย ๆ ของสถานที่สำคัญในโรงเรียน และชุมชน
ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศและภูมิอากาศ การเปลย่ี นแปลงสภาพแวดลอ้ มในชุมชนจากอดีตจนถงึ ปัจจุบัน การ
พึ่งพาส่ิงแวดล้อมในการดำรงชีวิตของมนษุ ย์ มลพิษทเี่ กดิ จากการกระทำของมนษุ ย์ ความแตกต่างของ
เมืองและชนบท การเปลย่ี นแปลงของสิ่งแวดลอ้ มในชมุ ชน
โดยใช้กระบวนการสืบค้น กระบวนการขัดเกลาทางสังคม กระบวนการทางจริยธรรม
กระบวนการพัฒนาค่านิยม กระบวนการประชาธิปไตย กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการคิด
วิเคราะห์ วธิ ีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการทางภูมิศาสตร์
เพื่อให้เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ และปฏบิ ัติตนเป็นพลเมืองดี นำหลกั ธรรมทางศาสนาและหลัก
ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งประยุกตใ์ ชใ้ นการดำรงชีวติ อยูใ่ นสังคมรว่ มกนั อย่างสนั ติสุข เห็นคณุ คา่ ชนื่ ชม
วฒั นธรรมประเพณีไทย สบื สานภูมิปัญญาไทย ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิน่ มจี ิตสาธารณะ
มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด
ส 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7
ส 1.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
ส 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4
ส 2.2 ป.3/1, ป.3/2 ,ป.3/3
ส 3.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
ส 3.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3 ส 5.1 ป.3/1, ป.3/2,
ส 5.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6
รวม ๘ มาตรฐาน ๓๑ ตัวช้วี ัด
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถมั ภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 55
คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
รายวชิ า สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๔
รหัสวิชา ส๑๔๑๐๑ เวลา ๑๒๐ ชวั่ โมง/ปี
..........................................................................................................................................
ศึกษา รู้ เขา้ ใจ ความสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนบั ถือในฐานะเป็นศูนย์รวม
จติ ใจของศาสนกิ ชน พุทธประวัตติ ัง้ แตบ่ รรลุธรรมจนถงึ ประกาศธรรม หรอื ประวตั ศิ าสดา ท่ีตนนับถือ
ตามที่กำหนด ประวัติศาสดาของศาสนาอื่น ๆ โดยสังเขป ความสำคัญและมีส่วนร่วมในการ
บำรุงรักษาศาสนสถานของศาสนาที่ตนนับถือ สิทธิพื้นฐานที่เด็กทุกคนพึงได้รับ ตามกฎหมาย
ความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในท้องถ่ิ เสนอวิธีการที่จะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขใน
ชวี ติ ประจำวัน อธิบายอำนาจอธิปไตยและความสำคัญของระบอบประชาธิปไตย อธบิ ายบทบาทหน้าท่ี
ของพลเมืองในกระบวนการเลือกตั้ง ความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ตามระบอบประชาธิปไตย
อนั มพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ ปจั จัยท่ีมีผลต่อการเลือกซ้ือสนิ ค้าและบรกิ าร บอกสทิ ธิพ้ืนฐานและ
รักษาผลประโยชน์ของตนเองในฐานะผู้บริโภค หลักการของเศรษฐกิจพอเพียงและนำไปใช้ใน
ชีวติ ประจำวันของตนเอง ความสมั พันธ์ทางเศรษฐกิจของคน ในชุมชน หน้าท่เี บอื้ งตน้ ของเงิน แหล่ง
ทรพั ยากรและสง่ิ ต่าง ๆ แผนท่ี สภาพแวดล้อมทางกายภาพของชุมชนท่ีส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของคน
การใช้ภาษาถิ่นสื่อสารกบั คนในท้องถิน่ ได้ถูกต้อง การเปลี่ยนแปลงสภาพ แวดล้อมและผลที่เกิดจากการ
เปล่ยี นแปลงนั้น
ใช้กระบวนการวิเคราะห์ แยกแยะ สรุป อธิบาย อภิปราย ระบุ และปฏิบัติ การแสดงความ
เคารพพระรัตนตรัย ปฏบิ ตั ติ ามไตรสิกขาและหลกั ธรรมโอวาท 3 ในพระพทุ ธศาสนา หรอื หลักธรรมของ
ศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถอื เพื่อการอยู่ร่วมกันเปน็
ชาติได้อย่างสมานฉันท์ มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดีตามที่กำหนด ปฏิบัติตนในศาสนพิธี
พธิ ีกรรมและวนั สำคญั ทางศาสนา ตามทีก่ ำหนดได้ถูกต้อง ปฏบิ ตั ิตน เป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
ในฐานะสมาชิกที่ดีของชุมชน ปฏิบัติตนในการเป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี ใช้แผนที่ ภาพถ่าย ระบุ
ลักษณะสำคัญทางกายภาพ ใช้แผนที่อธิบายความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
ส่ิงแวดล้อม
เห็นคุณค่า ความสำคัญของปฏิบตั ิตนตามแบบอย่างการดำเนินชวี ติ และข้อคดิ จากประวัติสาวก
ชาดก/เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด ชื่นชมการทำความดีของตนเอง บุคคลใน
ครอบครัว โรงเรียนและชุมชนตามหลักศาสนา พร้อมทั้งบอกแนวปฏิบัติในการดำเนินชีวิต
การสวดมนต์ แผ่เมตตา การมีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตาม
แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามทกี่ ำหนด
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถัมภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 56
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
. ส 1.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7, ป.4/8
ส 1.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
ส 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5
ส 2.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
ส 3.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
ส 3.2 ป.4/1, ป.4/2
ส 5.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
ส 5.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
รวม ๘ มาตรฐาน ๓๐ ตัวชวี้ ัด
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถัมภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 57
คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
รายวิชา สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๕
รหัสวชิ า ส๑๕๑๐๑ เวลา ๑๒๐ ช่ัวโมง/ปี
..........................................................................................................................................
ศกึ ษา วเิ คราะห์ อภิปราย สรุป มรดกทางวฒั นธรรมที่ไดร้ ับจากพุทธศาสนาพุทธประวัติ พุทธ
ศาสนา พุทธศาสนิกชน ชาดกพระไตรปิฎก พระรัตนตรัย ไตรสิกขา โอวาท 3 พุทธศาสนสุภาษิต
ฝึกพัฒนาจิต ทำสมาธิ สวดมนต์ แผ่เมตตา หลักธรรม ปฏิบัติตน ของศาสนิกชนท่ีดขี องศาสนสถาน
ตา่ ง ๆ
ศึกษา วเิ คราะห์ อภิปราย สรปุ การปฏบิ ตั ติ นตามสถานภาพ บทบาท สทิ ธเิ สรภี าพ ในการ
เป็นพลเมืองดี เคารพเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ อนุรักษ์ เผยแพร่ ภูมิปัญญา
ทอ้ งถ่นิ ของชุมชน โครงสรา้ ง อำนาจ บทบาท หน้าที่ ความสำคญั ของผูบ้ รหิ าร ในการปกครองส่วน
ท้องถนิ่ กับการบริการสาธารณะประโยชนใ์ นชุมชน
ศึกษา วิเคราะห์ อภิปราย สรุป เกี่ยวกับความหมายและประเภทของปัจจัยการผลิต
เทคโนโลยใี นการผลติ สนิ ค้าและบริการ พฤตกิ รรมของผบู้ ริโภค หลักการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ประเภทของสหกรณ์ การประยุกต์ หลักการของสหกรณ์มาใช้ในชีวิตประจำวัน บทบาทหน้าที่ของ
ธนาคารดอกเบ้ยี เงนิ ฝากและดอกเบย้ี กู้ยืม การฝากเงนิ ผลดีและผลเสียของ การกยู้ มื เงินท้ังนอกระบบ
และในระบบท่มี ตี ่อเศรษฐกิจ
ศึกษา วิเคราะห์ อภิปราย สรุป ตำแหน่ง ระยะ ทิศทาง ภูมิลักษณ์ ความสัมพันธ์ของ
ลักษณะทางกายภาพ สังคมในภูมิภาคของตนเอง สภาพแวดล้อมทางกายภาพ อิทธิพลของ
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐาน การย้ายถิ่น ที่ก่อให้เกิดวิถีชีวิต
การสร้างสรรคว์ ัฒนธรรมในภมู ิภาค ผลจากการรกั ษาทำลายสภาพแวดล้อม และแนวทางในการอนุรักษ์
สภาพแวดล้อมในภมู ิภาค
คิดวิเคราะห์ กระบวนการพัฒนาค่านิยม กระบวนการแก้ปัญหา วิธีการโดยใช้กระบวนการ
สบื ค้นทางประวัตศิ าสตร์
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติตามหลักธรรมทางพทุ ธศาสนา เป็นศาสนิกชนที่ดี
เป็นพลเมืองดีในการปกครองประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ดำเนินชีวิตตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เหน็ คณุ ค่า ภมู ใิ จในความเปน็ ไทย ร่วมอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรและส่ิงแวดล้อม
มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด
ส 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7
ส 1.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3
ส 2.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3
ส 2.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3
ส 3.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3
ส 3.2 ป.5/1, ป.5/2
ส 5.1 ป.5/1, ป.5/2
ส 5.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3
รวม ๘ มาตรฐาน ๒๖ ตวั ชวี้ ัด
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถมั ภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 58
คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
รายวชิ า สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๕
รหัสวชิ า ส๑๕๑๐๑ เวลา ๑๒๐ ชั่วโมง/ปี
..........................................................................................................................................
ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ อธิบาย อภิปราย รวบรวมข้อมูล สรุป และเห็นคุณค่า
เกี่ยวกับความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะเป็นศาสนาประจำชาติ และศาสนาที่ตนนับถือพุทธ
ประวัติและประวัติศาสดาของศาสนาที่ตนนับถือ ความสำคัญของพระรัตนตรยั หลักธรรมที่สำคัญของ
ศาสนา ไตรสิกขา โอวาท 3 พุทธศาสนสุภาษิต หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ ศาสนพิธี
วันสำคัญทางศาสนา มารยาทท่ีดีของพระพุทธศาสนิกชน
ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน ประโยชน์ของการปฏิบัติตามกฎหมาย
ความหมายและประเภทของวัฒนธรรม เรียนรู้เกี่ยวกับระบบการเมือง การปกครองในสังคมปัจจุบัน
การปกครองระบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ลักษณะและความสำคัญของการ
เป็นพลเมืองที่ดี ตลอดจนความแตกต่างและความหลากหลาย ทางวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ
ปลูกฝังค่านิยมด้านประชาธิปไตย สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ การดำเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย
และสังคมโลก
อธิบายบทบาทของผู้ผลิต ผู้บริโภค ทรัพยากร หลักการใช้ทรัพยากร หลักการ และ
ประโยชน์ ความสัมพันธร์ ะหว่างผผู้ ลิต ผู้บริโภค ธนาคาร และรัฐบาล การดำรงชีวิตอย่างมดี ุลยภาพ
และการไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก การใช้แผนที่ และเครื่องมือ ทางภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์กัน
ของส่ิงต่างๆ ในนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน
บอกลักษณะของโลกทางกายภาพ และสรุปลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร
และภูมิอากาศของประเทศระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนุษย์กับสภาพแวดล้อม ทางธรรมชาติ
และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น การนำเสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่
ย่ังยืน
โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการขัดเกลา ทางสังคม
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการประชาธิปไตย
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีค่านิยมที่ดีงาม มีทักษะกระบวนการ และมี
ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ มีจิตสาธารณะ มีคุณธรรม ภาคภูมิใจในระบอบการปกครอง
ประชาธิปไตย
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ส 1.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8, ป.6/9
ส 1.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3
ส 2.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5
ส 2.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3
ส 3.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3
ส 3.2 ป.6/1, ป.6/2
ส 5.1 ป.6/1, ป.6/2 ส 5.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3
รวม ๘ มาตรฐาน ๓๐ ตวั ชวี้ ัด
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถมั ภ์ พุทธศกั ราช 2553
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 59
คำอธิบายรายวิชา
กลุม่ สาระการเรยี นรู้
สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถมั ภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 60
คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
รหสั วชิ า พ ๑๑๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา กลุม่ สาระการเรียนรูส้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา
ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๔๐ชั่วโมง
สขุ ศึกษา
ศึกษา สังเกต รวบรวมความรู้และขอ้ ปฏิบัติต่าง ๆ อภิปราย ซักถาม บันทึก หาคำตอบ อธิบาย
แลกเปล่ยี นขอ้ มูลและความคิดเห็นเก่ยี วกับส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย หน้าท่ีของอวัยวะตา่ ง ๆ การป้องกัน
ดแู ลรักษาอวยั วะของร่างกาย พัฒนาการด้านรา่ งกาย เลอื กรับประทานอาหารเพอื่ สุขภาพ ปอ้ งกันโรค มี
สขุ นสิ ัยทีด่ ตี ามสุขบัญญัตแิ ห่งชาติ ออกกำลงั กาย พักผ่อน ใชเ้ วลาว่างให้เกดิ ประโยชน์ กำหนดแนวปฏิบตั ิ
ของตนในการสร้างเสรมิ สขุ ภาพและรายงานผลตอ่ กลุ่มระยะ ๆ
โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล บันทึก จัดกลุ่ม
ขอ้ มลู เพื่อใหค้ วามรู้ ความเขา้ ใจ มที กั ษะการดำเนนิ ชวี ติ เปน็ ผมู้ ีสุขบญั ญตั ิที่ดี มีจติ สำนึกในการดูแลและ
รับผิดชอบต่อสุขภาพ และความปลอดภัยของตนเอง ครอบครัว และส่วนรวม เป็นแบบอย่างที่ดีด้าน
สุขภาพ เลอื กและใชข้ ้อมูลขา่ วสารดา้ นสขุ ภาพ นำความรไู้ ปใช้ในชีวติ ประจำวัน มคี ุณธรรมจริยธรรม
พลศึกษา
ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ ฝึก ควบคุม เข้าร่วมกิจกรรม บอกวิธีการเคลื่อนไหวร่างกายขณะ
อยู่กับที่ เคล่ือนที่ เชน่ เดิน ว่งิ กระโดด ปนี ห้อยโหน ไต่ราว กลง้ิ ตวั ม้วนตวั ลอด เป็นต้น ระเบียบแถว
เคลื่อนไหวร่างกายให้เข้ากับจังหวะและเพลง ออกกำลังกาย เล่นเกม การละเล่นของเด็กไทย เล่นเกม
เบ็ดเตล็ด เล่นเกมแบบผลัด กายบริหาร สร้างเสริมทดสอบสมรรถภาพทางกายเพ่อื สุขภาพ
โดยฝึกปฏิบัติ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ความหมาย ความสำคัญและเห็นคุณค่า ศึกษาหา
ความรู้ องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกายเพ่อื สุขภาพ มีทักษะการเคลื่อนไหวร่างกายข้ันพืน้ ฐาน เห็น
คณุ คา่ ของตนเองและผอู้ ่ืน รว่ มกจิ กรรมทางกายอย่างสม่ำเสมอ สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ รักการ
ออกกำลังกายและการเล่นกีฬาตามกฎ กตกิ า อยา่ งมรี ะเบยี บ วินัย มนี ้ำใจนกั กฬี า เปน็ ผู้นำและผู้ตามท่ีดี
มีความมน่ั ใจ เคารพสิทธิของตนเองและผ้อู นื่ รับผิดชอบหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย สนกุ สนาน เพลิดเพลิน
ช่นื ชมผลงานของผู้อ่ืน ให้ความรว่ มมือ เสยี สละและคำนึงถงึ ส่วนรวม และแก้ไขข้อบกพรอ่ งของตนเองได้
ตามคำแนะนำ
รหสั ตัวชวี ดั
พ ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒
พ ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒, ป. ๑/๓
พ ๓.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒
พ ๓.๒ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒
พ ๔.๑ ป. ๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
พ ๕.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒, ป. ๑/๓
รวมทง้ั หมด ๑๕ ตัวชว้ี ัด
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถัมภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 61
คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน
รหสั วชิ า พ ๑๒๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา กล่มุ สาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา
ประถมศึกษาปีท่ี ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง
สขุ ศึกษา
ศึกษา สังเกต รวบรวมความรู้และข้อปฏิบัตติ ่าง ๆ อภิปราย ซักถาม บันทึก หาคำตอบ อธิบาย
แลกเปล่ยี นข้อมูลและความคิดเห็นเกย่ี วกับส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกาย หนา้ ทข่ี องอวยั วะตา่ ง ๆ การป้องกัน
ดูแลและรกั ษาความสะอาดอวยั วะของร่างกายพฒั นาการทางกายและจติ ใจ รจู้ กั ตนเองและธรรมชาตขิ อง
ตน ป้องกันโรค เลือกรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ มีสุขนิสัยที่ดีตามสุขบัญญัติแห่งชาติ จุดีจุดด้อย
ระมัดระวังการเจ็บป่วย สาเหตุ วิธีการป้องกันอุบัติเหตุทางน้ำและทางบก การใช้ยาสามัญประจำบ้าน
โทษของสารเสพติด สารอนั ตรายใกล้ตวั ความหมายของสญั ลักษณ์และป้ายเตอื นของสิ่งของหรือสถานที่
ที่เป็นอันตราย สาเหตุ อันตรายและการปอ้ งกันอคั คีภัย ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ กำหนดแนวปฏิบตั ิ
ของตนในการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ
โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล บันทึก จัดเล่ม
ข้อมูล เพือ่ ใหค้ วามรู้ ความเขา้ ใจ มีทกั ษะการดำเนนิ ชีวิตเป็นผ้มู ีสขุ บญั ญัตทิ ่ีดี มจี ติ สำนึกในการดแู ล และ
รับผิดชอบต่อสุขภาพ และความปลอดภัยของตนเอง ครอบครัว และส่วนรวม เป็นแบบอย่างที่ดีด้าน
สุขภาพ จัดการกับความขัดแย้ง ความเครียด และปัญหาทางอารมณ์ มีการแสวงหา เลือก และใช้ข้อมูล
ข่าวสารดา้ นสขุ ภาพ นำความรู้ไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั มีคุณธรรมจรยิ ธรรม
พลศกึ ษา
ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ ฝึก ควบคุม เข้าร่วมกจิ กรรม บอกวิธี การเคลื่อนไหวร่างกายขณะ
อยกู่ บั ท่ี เคล่ือนท่ี ใชอ้ ปุ กรณป์ ระกอบ เชน่ ขว้าง กล้งิ ตี เหว่ียง ปา โยน เดนิ วง่ิ กระโดด ปีน ห้อยโหน
ไตร่ าว ทรงตัว ระเบยี บแถว เคลื่อนไหวร่างกายประกอบจงั หวะเพลลง เช่น ซอยเท้าอยู่กบั ที่ เดนิ ซอยเท้า
กายบริหาร ประกอบจังหวะและเพลง เป็นต้น เล่นเกมกีฬา การละเล่นของเด็กไทย เล่นเกมเบ็ดเตล็ด
เลน่ เกมแบบผลัด ออกกำลังกาย สร้างเสริมและทดสอบสมรรถภาพทางกายเพ่อื สขุ ภาพ
โดยฝึกปฏิบัติ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ความหมาย ความสำคัญและเห็นคุณค่า ศึกษาหา
ความรู้ องคป์ ระกอบของสมรรถภาพทางกายเพอื่ สุขภาพ มที กั ษะการเคลอ่ื นไหวรา่ งกายข้ันพื้นฐาน เห็น
คุณค่าของตนเองและผอู้ ื่น มีระเบียบ วินัย เคารพ กฎ และกติกา เข้าร่วมกจิ กรรมทางกายอย่างสม่ำเสมอ
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ รักการออกกำลังกายและการเล่นกีฬา มีน้ำใจนักกีฬา เป็นผู้นำและผู้
ตามที่ดี มีความมั่นใจ รับผิดชอบหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย สนุกสนาน เพลิดเพลินเสียสละและคำนึงถึง
ส่วนรวม ชื่นชมผลงาของผู้อื่น ให้ความร่วมมือ และแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองตามความสนใจ ตาม
คำแนะนำและภูมิปัญญาทอ้ งงถ่ิน
รหัสตัวชว้ี ดั
พ ๑.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓
พ ๒.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, ป. ๒/๔
พ ๓.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒ พ ๓.๒ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒
พ ๔.๑ ป. ๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, ป. ๒/๔, ป. ๒/๕
พ ๕.๑ ป.๒/๑, ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, ป.๒/๔, ป. ๒/๕
รวมทั้งหมด ๒๑ ตวั ช้ีวัด
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถัมภ์ พุทธศกั ราช 2553
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 62
คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน
รหัสวชิ า พ ๑๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา กลุม่ สาระการเรียนรูส้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา
ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 เวลา 4๐ ชว่ั โมง
สขุ ศกึ ษา
ศึกษา สังเกต รวบรวมความรู้และข้อปฏิบัตติ ่าง ๆ อภิปราย ซักถาม บันทึก หาคำตอบ อธิบาย
แลกเปลยี่ นขอ้ มลู และความคิดเห็นเกยี่ วกับลกั ษณะและการเจรญิ เติบโตของรา่ งกาย เกณฑ์มาตรฐานของ
การเจริญเติบโตของเด็กไทย ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต ป้องกันโรค เลือกรับประทานอาหารเพื่อ
สุขภาพและยาสามัญประจำบ้าน มีสุขนิสัยที่ดีตาม สุขบัญญัติแห่งชาติ รู้จักตนเองและธรรมชาติของ
ตนเอง ระมดั ระวงั การเจ็บปว่ ย การบาดเจ็บ โรคตดิ ต่อในท้องถิ่น อุบัตเิ หตุ การใชย้ าผดิ สารพษิ สารเสพ
ตดิ การลว่ งละเมิดทางเพศ กำหนดแนวการปฏิบตั ขิ องตนในการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ
โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล บันทึก จัดกลุ่ม
ข้อมูล เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการดำเนินชีวติ เป็นผู้มีสุขบัญญัติที่ดี มีจิตสำนึกในการดูแล
และรบั ผิดชอบตอ่ สุขภาพและความปลอดภัยของตนเอง ครอบครวั และสว่ นรวม เปน็ แบบอย่างที่ดีด้าน
สุขภาพ จัดการกับความขัดแย้ง ความเครียด และปัญหาทางอารมณ์ มีการแสวงหา เลือก และใช้ข้อมูล
ข่าวสารด้านสุขภาพ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีคุณธรรมจริยธรรม พึ่งตนเองและมีวสิ ัยทัศน์ใน
การดแู ลสขุ ภาพและการดำเนนิ ชีวติ เป็นแบบอย่างทดี่ ีด้านสุขภาพในท้องถ่นิ ภมู ใิ จในการส่งเสริมสุขภาพ
ดา้ นภูมปิ ัญญาไทย
พลศึกษา
ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ ฝึก ควบคุม เข้าร่วมกิจกรรม บอกวิธี การเคลื่อนไหวร่างกายขณะ
อยูก่ บั ที่ เคลือ่ นที่ ใช้อปุ กรณป์ ระกอบจังหวะและเพลง เกมเบด็ เตลด็ เกมนำไปสกู่ ีฬา ยดื หยุ่นขั้นพื้นฐาน
กีฬา กิจกรรมนนั ทนาการ กายบรหิ าร การละเลน่ พน้ื เมืองของเด็กไทยในทอ้ งถน่ิ เกมแบบผลดั ออกกำลัง
กาย สรา้ งเสรมิ สมรรถภาพทางกายและทางจิต ทอสอบสมรรถภาพเพอื่ สขุ ภาพ
โดยฝึกปฏิบัติ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ความหมาย ความสำคัญและเห็นคุณค่า ศึกษาหา
ความรู้ องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกายเพอื่ สขุ ภาพ มีทักษะการเคลือ่ นไหวร่างกายขน้ั พ้ืนฐาน เห็น
คณุ คา่ ของตนเองและผู้อนื่ ร่วมกจิ กรรมทางกายอย่างสม่ำเสมอ มีสมรรถภาพทางกายเพือ่ สุขภาพ รักการ
ออกกำลงั กายและเลน่ กฬี าตามกฎ กติกา อยา่ งมรี ะเบยี บ วนิ ัย มีน้ำใจนกั กฬี า เป็นผูน้ ำและ ผูต้ ามที่ดี มี
ความมั่นใจ เคารพสิทธิของตนเองและผู้อืน่ รับผิดชอบหน้าที่ทีไ่ ด้รับมอบหมาย สนุกสนาน เพลิดเพลนิ
ชื่นชมผลงานของผู้อื่น ให้ความร่วมมอื เสยี สละและคำนงึ ถงึ ส่วนรวม และแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งของตนเองได้
ตามคำแนะนำ
รหสั ตัวช้วี ัด
พ ๑.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒, ป. ๓/๓
พ ๒.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒, ป. ๓/๓
พ ๓.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒
พ ๓.๒ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒
พ ๔.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒, ป. ๓/๓, ป. ๓/๔
พ ๕.๑ ป. ๓/๑, ป. ๓/๒, ป. ๓/๓
รวมทั้งหมด ๑๗ ตัวช้ีวดั
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถัมภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 63
คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน
รหัสวชิ า พ๑๔๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๔ เวลา ๘๐ ชัว่ โมง
สุขศึกษา
ศึกษา สังเกต รวบรวมความรู้และข้อปฏบิ ัติต่างๆ อภิปราย ซักถาม บันทึก หาคำตอบ อธิบาย
แลกเปลี่ยนข้อมูล คิดวิเคราะห์และแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับการเจริญเติบโต การป้องกัน ดูแลรักษา
พฒั นาการดา้ นต่างๆ ของร่างกายช่วงอายุ ๙-๑๒ ปี ความสำคญั ของกลา้ มเนื้อ กระดกู ระบบย่อยอาหาร
ระบบขบั ถา่ ย ปัจจยั ต่างๆ ทม่ี ผี ลต่อการเจริญเตบิ โตการเลือกบริโภคอาหาร ผลิตภณั ฑ์สขุ ภาพที่เหมาะสม
กบั วัยและกกลุ่มบุคคลต่างๆ สขุ อนามยั ทางเพศ ระมดั ระวังอบุ ตั เิ หตุ การใช้ยาการปฐมพยาบาลเมื่อได้รับ
บาดเจ็บจากการเล่น จากการใช้ยาผิด และจากการใช้สารเคมี ผลเสียของการสูบบุหรี่ การดื่มสุรา และ
การป้องกัน เลือกออกกำลังกาย พักผ่อน ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ กำหนดแนวปฏิบัติของตนในการ
สรา้ งเสริมสขุ ภาพ
โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล บันทึก จัดกลุ่ม
ข้อมูล เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการดำเนินชีวิตเป็นผู้มีสุขบัญญัติที่ดี มีจิตสำนึกในการดูแล
และรบั ผิดชอบตอ่ สุขภาพ และความปลอดภัยของตนเอง ครอบครวั และส่วนรวม เป็นแบบอย่างท่ีดีด้าน
สุขภาพ จัดการกับความขัดแย้ง ความเครียด และปัญหาทางอารมณ์ มีการแสวงหา เลือก และใช้ข้อมลู
ข่าวสารด้านสุขภาพ นำความรูไ้ ปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั มีคุณธรรมจริยธรรม
พลศกึ ษา
ใชห้ ลกั การและรูปแบบทางวทิ ยาศาสตร์ การเคลอื่ นไหว บอกวธิ ีฝึกควบคมุ เข้ารว่ มกจิ กรรมการ
เคลื่อนไหวร่างกาย ขณะอยู่กับที่ เคลื่อนที่ ระเบียบแถว กิจกรรมประกอบจังหวะและเพลง เกมนำไปสู่
กีฬา ยืดหยุ่นขั้นพื้นฐาน กีฬาไทย กีฬาสากล กิจกรรมนันทนาการ กายบริหาร การละเล่นของเด็กไทย
เกมแบบผลดั ออกกำลงั กาย สรา้ งเสรมิ สมรรถภาพทางกายและทางจิต ทดสอบสมรรถภาพเพอ่ื สขุ ภาพ
โดยฝึกปฏิบัติ เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจ ความหมาย ความสำคัญและเห็นคุณค่า ศึกษาหา
ความรูอ้ งค์ประกอบของสมรรถภาพทางกายเพ่ือสุขภาพ มที กั ษะการเคลื่อนไหวร่างกายขน้ั พืน้ ฐาน เห็น
คณุ คา่ ของตนเองและผูอ้ ่นื รว่ มกจิ กรรมทางกายอยา่ งสมำ่ เสมอ มสี มรรถภาพทางกายเพ่อื สขุ ภาพ รกั การ
ออกกำลงั กาย และการเลน่ กฬี าตามกฎ กตกิ า อยา่ งมรี ะเบียบ วินัย มีน้ำใจนักกฬี า เป็นผูน้ ำและผู้ตามที่
ดี มีความมั่นใจ เคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น รับผิดชอบหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย สนุกสนาน
เพลิดเพลนิ ชนื่ ชมผลงานของผู้อ่นื ให้ความร่วมมือ เสยี สละและคำนึงถึงสว่ นรวม และแก้ไขข้อบกพร่อง
ของตนเองได้ตามคำแนะนำ
รหัสตวั ชี้วัด
พ ๑.๑ ป. ๔/๑, ป. ๔/๒, ป. ๔/๓
พ ๒.๑ ป. ๔/๑, ป. ๔/๒, ป. ๔/๓
พ ๓.๑ ป. ๔/๑, ป. ๔/๒, ป.๔/๓, ป. ๔/๔
พ ๓.๒ ป. ๔/๑, ป. ๔/๒
พ ๔.๑ ป. ๔/๑, ป. ๔/๒, ป. ๔/๓, ป. ๔/๔
พ ๕.๑ ป. ๔/๑, ป. ๔/๒, ป. ๔/๓
รวมทั้งหมด ๑๙ ตัวช้ีวดั
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถัมภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 64
คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน
รหสั วชิ า พ๑๕๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลา ๘๐ ชั่วโมง
สุขศึกษา
ศึกษา สังเกต รวบรวมข้อมูล ข้อปฏิบัติต่าง ๆ อภิปราย ซักถาม บันทึก หาคำตอบ อธิบาย
แลกเปลี่ยนข้อมูล คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับตน และผลกระทบที่มีต่อสุขภาพ คิดอย่างมีวิจารณญาณและ
สร้างสรรค์เกี่ยวกับสุขภาพบนพื้นฐานความเป็นจริงเกี่ยวกับระบบต่าง ๆ ในร่างกายที่มีผลต่อการ
เจริญเติบโต วธิ ปี ้องกนั ดแู ลรกั ษาอวัยวะในระบบต่าง ๆ เลือกบริโภคอาหาร ผลิตภณั ฑส์ ุขภาพทีเ่ หมาะสม
กับวัยและกลุ่มบุคคลต่าง ๆ สุขอนามันทางเพศโรคที่พบบ่อยในชีวิตประจำวันและการป้องกัน ภัย
ธรรมชาติ ระมัดระวังอุบัติเหตุ การใช้ยาผิด สารพิษ สารเสพติด มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และ
หลีกเลยี่ งปัญหาการตง้ั ครรภ์ เลอื กออกกำลังกาย พกั ผ่อน ใช้เวลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ กำหนดแนวปฏบิ ัติ
ของตนในการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ
โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล บันทึก จัดกลุ่ม
ข้อมูล เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการดำเนินชีวติ เป็นผู้มีสุขบัญญัติที่ดี มีจิตสำนึกในการดูแล
และรับผิดชอบตอ่ สุขภาพ และความปลอดภัยของตนเอง ครอบครวั และสว่ นรวม เป็นแบบอยา่ งทดี่ ีด้าน
สขุ ภาพ จัดการกบั ความขดั แย้ง ความเครยี ด และปญั หาทางอารมณ์ มีการแสวง
พลศกึ ษา
ใช้หลักการและรูปแบบทางวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหว บอกวิธี ฝึก ควบคุม เข้าร่วมกิจกรรม
เคลื่อนไหวรา่ งกาย ขณะอยู่กับทีเ่ คลื่อนที่ระเบียบแถว กิจกรรมเข้าจังหวะ ยืดหยุ่นขัน้ พ้ืนฐาน กีฬาไทย
กีฬาสากล กีฬายอดนิยม กีฬานันทนาการ กายบริหาร การละเล่นพื้นเมืองของเด็กไทยในท้องถิ่น เกม
แบบผลดั ออกกำลงั กาย สร้างเสรมิ สมรรถภาพทางกายและจติ ทดสอบสมรรถภาพเพอ่ื สุขภาพ
โดยการฝึกปฏบิ ัติ เพื่อใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจ ความหมาย ความสำคญั และเหน็ คณุ ค่า ศึกษาหา
ความรู้ องคป์ ระกอบของสมรรถภาพทางกายเพ่อื สขุ ภาพ มที กั ษะการเคลอื่ นไหวร่างกายขนั้ พนื้ ฐาน เห็น
คุณค่าของตนเองและผู้อน่ื รว่ มกจิ กรรมทางกายอยา่ งสม่ำเสมอมีสมรรถภาพทางกายเพ่ือสุขภาพ รักการ
ออกกำลงั กาย และการเล่นกีฬาตามกฎ กติกา อยา่ งมีระเบียบ วนิ ยั มีน้ำใจนักกีฬา เปน็ ผู้นำและ ผ้ตู ามที่
ดี มีความมั่นใจ เคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น รับผิดชอบหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย สนุกสนาน
เพลดิ เพลนิ ช่นื ชมผลงานของผ้อู ่ืน ให้ความรว่ มมอื เสียสละและคำนงึ ถงึ ส่วนรวม และแก้ไขข้อบกพร่อง
ของตนเองไดต้ ามคำแนะนำ
รหัสตวั ช้ีวดั
พ ๑.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒
พ ๒.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓
พ ๓.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓, ป. ๕/๔, ป. ๕/๕, ป. ๕/๖
พ ๓.๒ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓, ป. ๕/๔
พ ๔.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓, ป. ๕/๔, ป. ๕/๕
พ ๕.๑ ป. ๕/๑, ป. ๕/๒, ป. ๕/๓, ป. ๕/๔, ป. ๕/๕
รวมท้งั หมด ๒๕ ตัวชี้วัด
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถมั ภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 65
คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
รหสั วิชา พ๑๖๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๖ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง
สุขศึกษา
ศึกษา สังเกต รวบรวมข้อมูล ข้อปฏิบัติต่างๆ อภิปราย ซักถาม บันทึก หาคำตอบ อธิบาย
แลกเปลี่ยนข้อมูล คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับตน และผลกระทบที่มีต่อสุขภาพ คิดอย่างมีวิจารณญาณและ
สร้างสรรค์เกี่ยวกับสุขภาพบนพื้นฐานความเป็นจริง เกี่ยวกับเรื่องโครงสร้างและหน้าที่การทำงานของ
ระบบตา่ งๆ ของร่างกาย การปอ้ งกัน ดแู ลอวยั วะในระบบต่างๆ สิ่งแวดลอ้ มทีม่ ีผลต่อสุขภาพ โรคติดต่อ
ทส่ี ำคัญท่รี ะบาดในปจั จุบนั ภัยธรรมชาติ การใช้ยาผิด สารเสพตดิ การมีเพศสัมพันธก์ ่อนวัยอนั ควร และ
หลีกเลี่ยงปัญหาการต้ังครรภ์ เลือกออกกำลงั กาย พักผอ่ น ใช้เวลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์ กำหนดแนวปฏิบตั ิ
ของตนในการเสรมิ สร้างสขุ ภาพ
โดยใช้กระบวนการสืบเสาะ แสวงหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล บันทึก จัด
กลมุ่ ข้อมูล เพอ่ื ใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ มที ักษะการดำเนนิ ชวี ิต เปน็ ผมู้ สี ขุ บัญญตั ิที่ดี มีจิตสำนึกในการ
ดแู ลและรบั ผิดชอบต่อสุขภาพ และความปลอดภยั ของตนเอง ครอบครวั และส่วนรวม เป็นแบบอย่างท่ีดี
ด้านสุขภาพ จัดการกับความขัดแย้ง ความเครียด และปัญหาทางอารมณ์ มีการแสวงหา เลือก และใช้
ขอ้ มูลข่าวสารด้านสขุ ภาพ นำความรไู้ ปใช้ในชีวติ ประจำวัน มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม
พลศึกษา
ใช้หลักการและรูปแบบทางวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหว บอกวิธี ฝึก ควบคุม เข้าร่วมกิจกรรม
เคลื่อนไหวร่างกาย ขณะอยู่กับทีเ่ คลือ่ นทีร่ ะเบียบแถว กิจกรรมเข้าจังหวะ ยืดหยุ่นขัน้ พ้ืนฐาน กีฬาไทย
กีฬาสากล กีฬายอดนิยม กีฬานันทนาการ กายบริหาร การละเล่นของเด็กไทย เกมแบบผลัด ออกกำลงั
กาย สร้างเสรมิ สมรรถภาพทางกายและจิต ทดสอบสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ
โดยการฝกึ ปฏบิ ตั ิ เพ่อื ใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ ความหมาย ความสำคัญและเห็นคุณค่า ศึกษาหา
ความรู้ องคป์ ระกอบของสมรรถภาพทางกายเพือ่ สขุ ภาพ มีทักษะการเคลอื่ นไหวร่างกายขนั้ พน้ื ฐาน เห็น
คณุ คา่ ของตนเองและผู้อน่ื รว่ มกิจกรรมทางกายอยา่ งสมำ่ เสมอมสี มรรถภาพทางกายเพือ่ สุขภาพ รักการ
ออกกำลงั กาย และการเล่นกฬี าตามกฎ กตกิ า อย่างมีระเบยี บ วนิ ยั มนี ำ้ ใจนักกีฬา เปน็ ผนู้ ำและ ผู้ตามท่ี
ดี มีความมั่นใจ เคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น รับผิดชอบหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย สนุกสนาน
เพลดิ เพลนิ ชื่นชมผลงานของผู้อ่นื ใหค้ วามร่วมมือ เสียสละและคำนึงถงึ ส่วนรวม และแก้ไขข้อบกพร่อง
ของตนเองได้ตามคำแนะนำ
รหัสตวั ชี้วดั
พ ๑.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒
พ ๒.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒
พ ๓.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒, ป. ๖/๓, ป. ๖/๔, ป. ๖/๕
พ ๓.๒ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒, ป. ๖/๓, ป. ๖/๔, ป. ๖/๖, ป. ๖/๖
พ ๔.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒, ป. ๖/๓, ป. ๖/๔
พ ๕.๑ ป. ๖/๑, ป. ๖/๒, ป. ๖/๓
รวมทัง้ หมด ๒๒ ตัวช้ีวดั
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถมั ภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 66
คำอธบิ ายรายวชิ า
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถมั ภ์ พุทธศกั ราช 2553
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 67
คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
รหัสวิชา ศ๑๑๑๐๑ ศิลปศึกษา 1 กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ
ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๑ เวลาเรยี น ๔๐ ชว่ั โมง/ปี
................................................................................................................................................
ศึกษา รูปร่าง ลักษณะ ขนาดของสิ่งต่าง ๆ รอบตัวในธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น บอก
ความรู้สึกที่มีต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบตัว การใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้างงานทัศนศิลป์ ทดลองใช้สี
วาดภาพระบายสี ภาพธรรมชาติ งานทัศนศิลปใ์ นชวี ิตประจำวัน โดยใช้ทักษะกระบวนการทางทัศนศลิ ป์
ในการสรา้ งและนำเสนอผลงานทัศนศิลป์ การเลอื กใชว้ ัสดุ อุปกรณ์ทเ่ี หมาะสม การวเิ คราะห์การวิพากษ์
วจิ ารณค์ ุณค่างานทศั นศลิ ป์
ศกึ ษาการกำเนิดเสยี ง ลักษณะของเสียงดงั - เบา ความชา้ - เร็ว ของจังหวะ ทอ่ งบทกลอน ร้อง
เพลง รว่ มกจิ กรรมดนตรี เพลงที่ใชใ้ นชวี ิตประจำวัน ท่ีมาของบทเพลงและสิ่งที่ ชน่ื ชอบในดนตรี ท้องถิ่น
ศึกษาเลียนแบบการเคลื่อนไหวลักษณะตา่ ง ๆ ของธรรมชาติ คน สัตว์ สิ่งของ ใช้ภาษาท่า ประดิษฐ์ท่า
ประกอบเพลง การเปน็ ผ้ชู มที่ดี การละเล่นของเดก็ ไทยและการแสดงนาฏศิลป์
โดยใชท้ กั ษะกระบวนการทางดนตรแี ละนาฏศิลป์ในการแสดงออกทางดนตรแี ละนาฏศิลป์อย่าง
สรา้ งสรรค์ การวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คณุ ค่างานดนตรแี ละนาฏศิลป์ เพอื่ ใหเ้ หน็ คณุ ค่างานดนตรีและ
นาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญา ไทย ภูมิปัญญาสากล และเข้าใจ
ความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี-นาฏศิลป์กับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และ การนำความรู้ไปใช้ ใน
ชีวิตประจำวัน มจี รยิ ธรรม คณุ ธรรม และคา่ นยิ ม ทเ่ี หมาะสม
เพื่อให้เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ดนตรี
นาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประวันให้เกิดประโยชน์ มี
จรยิ ธรรม คณุ ธรรมและคา่ นยิ มทเี่ หมาะสม
รหสั ตวั ชี้วดั
ศ ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕ ศ ๑.๒ ป.๑/๑
ศ ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕
ศ ๒.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ ศ ๓.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ ศ ๓.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
รวม ๑๘ ตวั ช้ีวัด
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 68
คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน
รหัสวิชา ศ๑๒๑๐๑ ศิลปศกึ ษา 2 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๒ เวลาเรียน ๔๐ ช่ัวโมง/ปี
................................................................................................................................................................
ศึกษา เส้น สี รูปร่าง รูปทรงในธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม งานทัศนศิลป์ประเภทต่าง ๆใช้วัสดุ
อุปกรณ์ สร้างงานทัศนศิลป์ ๓ มิติ ภาพปะติดจากกระดาษ วาดภาพถ่ายทอดเนื้อหาเรื่องราวสร้างงาน
รปู แบบ โครงสร้างเคลื่อนไหว งานทศั นศิลป์ในชีวติ ประจำวนั วธิ กี ารสรา้ งงานทัศนศลิ ปใ์ นท้องถ่นิ โดยใช้
ทักษะกระบวนการทางทัศนศิลป์ในการสร้างและนำเสนอผลงานทัศนศิลป์การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่
เหมาะสม การวิเคราะห์การวิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ เพื่อให้เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ เข้าใจ
ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม นำความรู้ไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประวันให้
เกดิ ประโยชน์ มจี ริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมท่ีเหมาะสม
ศึกษาแหล่งกำเนิดเสียง เสียงเครื่องดนตรี เสียงมนุษย์ คุณสมบัติของเสียง สูง - ต่ำ ดัง -เบา
ยาว - สั้น ของดนตรี การเคลื่อนไหวร่างกายประกอบเพลง การเล่นเครือ่ งดนตรกี ารขับร้อง ความหมาย
และความสำคัญของเพลง ดนตรีและบทเพลงในท้องถ่ิน แสดงและเข้าร่วมกิจกรรมดนตรใี นท้องถิ่น
ศึกษาการเคลื่อนไหวอย่างมีรูปแบบ ปะดิษฐ์ท่าการเคลื่อนไหวประกอบเพลงอย่างอิสระ หลัก
และวิธีการปฏบิ ัตินาฏศิลป์ใช้ภาษาท่า และนาฏศัพท์ประกอบจังหวะ มารยาทในการมีส่วนร่วมและชม
การแสดงที่มาและการเล่นพื้นบ้าน โดยใช้ทักษะกระบวนการทางดนตรีและนาฏศิลป์ในการแสดงออก
ทางดนตรแี ละนาฏศลิ ปอ์ ย่างสรา้ งสรรค์ การวเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณค์ ุณคา่ งานดนตรแี ละนาฏศิลป์
เพื่อให้เห็นคุณค่างานดนตรีและนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย
ภมู ิปญั ญาสากล และเข้าใจความสัมพนั ธร์ ะหว่างดนตรี-นาฏศิลป์กับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และ การ
นำความรไู้ ปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั มีจรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านิยม ท่เี หมาะสม
รหสั ตัวชี้วัด
ศ ๑.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔ ป.๒/๕ ป.๒/๖ ป.๒/๗ ป.๒/๘ ศ ๑.๒ ป.๒/๑ ป.๒/๒
ศ ๒.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔ ป.๒/๕ ศ ๒.๒ ป.๒/๑ ป.๒/๒
ศ ๓.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔ ป.๒/๕ ศ ๓.๒ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓
รวม ๒๕ ตวั ชี้วัด
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 69
คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
รหสั วชิ า ศ๑๓๑๐๑ ศิลปศกึ ษา 3 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ เวลาเรียน ๔๐ ช่ัวโมง/ปี
.........................................................................................................................................................
ศึกษา เส้น สี รูปร่าง รูปทรง พื้นผิวในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์วัสดุ อุปกรณ์
เทคนิค วิธีการ สร้างงานทัศนศิลป์ ประเภทงานวาด งานปั้น งานพิมพ์ภาพ วาดภาพระบายสีสิ่งของ
รอบตัว ถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกจากเหตุการณ์จริง โดยใช้องค์ประกอบศิลป์ แสดงความคิดเห็นใน
งานทัศนศิลป์ จัดกลุ่มของภาพตามทัศนธาตุ รูปร่าง รูปทรงในงานออกแบบ ที่มาของงานทัศนศิลป์ใน
ท้องถนิ่ วสั ดุ อุปกรณ์ และวิธีการสรา้ งงานทัศนศลิ ปใ์ นท้องถิน่ โดยใช้ทกั ษะกระบวนการทางทศั นศิลป์ใน
การสร้างและนำเสนอผลงานทัศนศิลป์ การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่เหมาะสม การวิเคราะห์การวิพากษ์
วิจารณค์ ณุ คา่ งานทศั นศลิ ป์
เพื่อให้เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และ
วฒั นธรรม นำความรู้ไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประวันใหเ้ กิดประโยชน์ มีจรยิ ธรรม คณุ ธรรมและค่านิยมท่ี
เหมาะสม
ศึกษารูปร่าง ลักษณะ เสียงของเครื่องดนตรี สัญลักษณ์แทนเสียง สูง - ต่ำ ดัง - เบา ยาว -ส้ัน
สัญลกั ษณร์ ปู แบบจงั หวะ บทเพลงสำคญั ท่ีใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน ขับรอ้ งและบรรเลงดนตรีง่าย ๆเคล่ือนไหว
ท่าทางสอดคล้องอารมณ์เพลง คุณภาพเสยี งรอ้ ง เสียงดนตรี การแสดงดนตรีในโอกาสตา่ ง ๆ
ลักษณะเด่นและเอกลักษณข์ องดนตรีท้องถิ่น ความสำคัญและประโยชนข์ องดนตรีต่อการดำรงชีวิตของ
คนในท้องถ่ิน
ศึกษารปู แบบการเคล่ือนไหวแบบตา่ ง ๆ แสดงท่าทางประกอบเพลงตามรูปแบบนาฏศิลป์
บทบาทหน้าท่ีของผ้แู สดงนาฏศิลป์ในชีวิประจำวนั ลกั ษณะเด่นเอกลกั ษณ์ ความสำคญั ของ การแสดง
นาฏศลิ ป์พืน้ บ้าน
โดยใชท้ ักษะกระบวนการทางดนตรีและนาฏศลิ ปใ์ นการแสดงออกทางดนตรีและนาฏศิลป์
อยา่ งสรา้ งสรรค์ การวิเคราะห์ วิพากษ์ วจิ ารณ์คุณค่างานดนตรแี ละนาฏศลิ ป์
เพื่อให้เห็นคุณค่างานดนตรีและนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิ
ปญั ญาไทย ภมู ิปญั ญาสากล และเข้าใจความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งดนตร-ี นาฏศิลปก์ ับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม
และการนำความรไู้ ปใชใ้ นชีวิตประจำวนั มีจริยธรรม คุณธรรม และคา่ นยิ มทเ่ี หมาะสม
รหัสตวั ชี้วดั
ศ ๑.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕ , ป.๓/๖ , ป.๓/๗ , ป.๓/๘ , ป.๓/๙ , ป.๓/๑๐
ศ ๑.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒
ศ ๒.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕ , ป.๓/๖ , ป.๓/๗
ศ ๒.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒
ศ ๓.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕
ศ ๓.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
รวม ๒๙ ตัวชีว้ ัด
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถมั ภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 70
คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
รหสั วชิ า ศ๑๔๑๐๑ ,ศ ๑๔2๐๒ ศิลปศึกษา 4 นาฏศลิ ป์ 4 กลุม่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ เวลา ๘๐ ชั่วโมง/ปี
............................................................................................................................. ............................
ศึกษาลกั ษณะ รูปร่าง รปู ทรง วรรณะสี ทศั นธาตุ การใช้วสั ดอุ ุปกรณ์ ลักษณะของภาพ ระยะ
ความลึก น้ำหนัก แสงเงา ใช้สีในการถ่ายทอดความรู้สึกและจิตนาการ เปรียบเทียบผลงานของตนเอง
และผู้อน่ื งานทศั นศลิ ป์ในเหตกุ ารณแ์ ละวัฒนธรรมในทอ้ งถ่ิน โดยใชท้ ักษะกระบวนการ ทางทศั นศิลป์ใน
การสร้างและนำเสนอผลงานทศั นศิลป์ การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ที่เหมาะสม การวิเคราะห์ การวิพากษ์
วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ เพื่อให้เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์
ประวัติศาสตร์ และ วัฒนธรรม นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประวันให้เกิดประโยชน์ มีจริยธรรม
คุณธรรมและค่านยิ ม ท่เี หมาะสม
ศึกษาประโยคเพลง เครื่องดนตรี การใช้และการเก็บรักษา องค์ประกอบดนตรี อ่านเขียน โน้ต
ไทยและโนต้ สากล ขับรอ้ ง ปฏิบัตดิ นตรี ดนตรใี นวถิ ีชีวิตไทยและเพลงทอ้ งถน่ิ ส่งเสริม อนุรักษว์ ัฒนธรรม
ดนตรี ศึกษาพืน้ ฐานทางนาฏศิลป์ การละคร ภาษาท่า นาฏศัพท์ เคลื่อนไหวตามจังหวะ แสดง นาฏศิลป์
บอกจุดเด่น ความสำคัญชองการแสดงและตัวละคร ความเป็นมาของนาฏศิลป์ชุดการแสดง ท้องถ่ิน
วัฒนธรรม คณุ คา่ และการสบื ทอดการแสดงนาฏศิลป์
โดยใชท้ กั ษะกระบวนการทางดนตรีและนาฏศิลป์ในการแสดงออกทางดนตรีและนาฏศิลป์อย่าง
สร้างสรรค์ การวเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณค์ ณุ คา่ งานดนตรีและนาฏศลิ ป์
เพ่ือใหเ้ ห็นคณุ คา่ งานดนตรแี ละนาฏศิลป์ที่เปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น ภมู ปิ ัญญา
ไทย ภูมิปัญญาสากลและเข้าใจความสัมพนั ธ์ระหว่างดนตรี-นาฏศิลป์กับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และ
การนำความรไู้ ปใช้ในชวี ติ ประจำวนั มจี รยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นิยม ทเี่ หมาะสม
รหัสตวั ชี้วดั
ศ ๑.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗ , ป.๔/๘ , ป.๔/๙
ศ ๑.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒
ศ ๒.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕ , ป.๔/๖ , ป.๔/๗
ศ ๒.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ ศ ๓.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕
ศ ๓.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔
รวม ๒๙ ตวั ชวี้ ดั
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถัมภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 71
คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน
รหสั วชิ า ศ๑5๑๐๑ ,ศ ๑52๐๒ ศิลปศึกษา 5 นาฏศิลป์ 5 กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๕ เวลาเรยี น ๘๐ ช่วั โมง/ปี
..................................................................................................................................................................
ศึกษาสิ่งของในสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ ความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ วาดภาพ
โดยใช้แสงเงา น้ำหนัก วรรณะสี งานปั้น งานพิมพภ์ าพ จัดองค์ประกอบศลิ ป์ ประโยชน์และคุณค่า ของ
งานทัศนศิลป์ ลักษณะ รูปแบบของงานทัศนศิลป์ งานทัศนศิลป์ที่สะท้อนวัฒนธรรมและภูมิปัญญา
ท้องถิ่น โดยใช้ทักษะกระบวนการทางทัศนศิลป์ในการสร้างและนำเสนอผลงานทัศนศิลป์ การเลือกใช้
วัสดุอุปกรณ์ที่เหมาะสม การวิเคราะห์การวิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ เพื่อให้เห็นคุณค่างาน
ทัศนศิลป์ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม นำความรู้ไปประยุกตใ์ ช้
ในชีวติ ประวันใหเ้ กิดประโยชน์ มีจรยิ ธรรม คณุ ธรรมและคา่ นยิ มที่เหมาะสม
ศึกษาองค์ประกอบดนตรี ลักษณะเสยี งขับร้อง เสียงเครือ่ งดนตรี สัญลกั ษณท์ างดนตรี การขับ
รอ้ งและบรรเลงดนตรี การสร้างประโยคเพลง ดนตรกี บั งานประเพณี คณุ คา่ ของดนตรีจากแหล่ง
วัฒนธรรม
ศกึ ษาองค์ประกอบนาฏศิลป์ ประดิษฐ์ท่าทางประกอบเพลง แสดงนาฏศลิ ป์ องคป์ ระกอบของ
ละคร ที่มาการแสดงนาฏศิลป์ ประโยชน์ที่ได้รับจากการชมการแสดงนาฏศิลป์พื้นฐาน โดยใช้ทักษะ
กระบวนการทางดนตรีและนาฏศิลป์ในการแสดงออกทางดนตรีและนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ การ
วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณค์ ุณค่างานดนตรแี ละนาฏศลิ ป์
เพื่อให้เห็นคุณค่างานดนตรีและนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน
ภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาสากล และเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี-นาฏศิลป์กับประวัติศาสตร์
วัฒนธรรม และการนำความร้ไู ปใชใ้ นชีวติ ประจำวัน มีจรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านิยม ที่เหมาะสม
รหสั ตัวช้ีวดั
ศ ๑.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๖ ป.๕/๗
ศ ๑.๒ ป.๕/๑ ป.๕/๒
ศ ๒.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕ ป.๕/๖ ป.๕/๗
ศ ๒.๒ ป.๕/๑ ป.๕/๒
ศ ๓.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕ ป.๕/๖
ศ ๓.๒ ป.๕/๑ ป.๕/๒
รวม ๒๕ ตัวชี้วดั
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถัมภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 72
คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
รหสั วชิ า ศ๑6๑๐๑ ,ศ ๑62๐๒ ศลิ ปศกึ ษา 6 นาฏศิลป์ 6 กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ เวลาเรียน ๘๐ ชั่วโมง/ปี
...................................................................................................................................................................
ศึกษาสีคู่ตรงข้าม จัดขนาดสัดส่วนความสมดุลงานทัศนศิลป์ รูปแบบ ๒ มิติ แสงเงา น้ำหนัก
งานปั้น พื้นที่ว่าง แผนภาพถ่ายทอดเรื่องราว งานทัศนศิลป์ที่สะท้อนชีวิต สังคมความเชื่อศาสนา
วฒั นธรรมในท้องถิ่น
โดยใช้ทักษะกระบวนการทางทัศนศิลป์ในการสร้างและนำเสนอผลงานทัศนศิลป์ การเลือกใช้
วัสดอุ ุปกรณท์ เี่ หมาะสม การวิเคราะห์การวพิ ากษ์ วิจารณค์ ณุ ค่างานทัศนศิลป์
เพื่อให้เห็นคุณค่างานทัศนศิลป์ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และ
วัฒนธรรม นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประวันให้เกิดประโยชน์ มีจริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่
เหมาะสม
ศึกษาหลักการฟังเพลง องค์ประกอบดนตรี เครื่องดนตรีไทย สากล โน้ตไทย โน้ตสากลปฏิบัติ
เครอ่ื งดนตรี แนวคิดดา้ นดนตรี การประสานเสียง ที่มาของดนตรีไทย ยุคสมยั ของดนตรใี นท้องถิน่
ศึกษาพื้นฐานนาฏศิลป์ ออกแบบเครื่องแต่งกายและอุปกรณ์การแสดง การแสดงนาฏศิลปแ์ ละ
ละคร ความรู้สึก ความคิดเห็นต่องานนาฏศิลป์ การชมการแสดงนาฏศิลป์และละครที่เกี่ยวข้อง ใน
ชวี ติ ประจำวัน ส่งิ สำคัญในการแสดงนาฏศลิ ป์ ประโยชนจ์ ากการชมการแสดง การชมนาฏศิลปแ์ ละละคร
โดยใช้ทักษะกระบวนการทางดนตรีและนาฏศิลป์ในการแสดงออกทางดนตรีและนาฏศิลป์
อยา่ งสรา้ งสรรค์ การวเิ คราะห์ วิพากษ์ วิจารณค์ ณุ ค่างานดนตรีและนาฏศลิ ป์
เพื่อให้เห็นคุณค่างานดนตรีและนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน
ภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาสากล และเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี-นาฏศิลป์กับประวัติศาสตร์
วัฒนธรรม และการนำความรไู้ ปใชใ้ นชีวิตประจำวัน มจี รยิ ธรรม คุณธรรม และค่านยิ ม ท่ีเหมาะสม
รหัสตวั ชี้วดั
ศ ๑.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ป.๖/๔ ป.๖/๕ ป.๖/๖ ป.๖/๗
ศ ๑.๒ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓
ศ ๒.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ป.๖/๔ ป.๖/๕ ป.๖/๖ ศ ๒.๒ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓
ศ ๓.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ป.๖/๔ ป.๖/๕ , ป.๖/๖ ศ ๓.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒
รวม ๒๗ ตวั ชี้วัด
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถมั ภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 73
คำอธบิ ายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถัมภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 74
คำอธิบายรายวชิ า
วชิ างานบ้าน 1 ง11101 ภาคเรียนที่ 1-2 กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 1 เวลาเรียน 40 ชว่ั โมง/ปี จำนวน 1.0 หน่วยกติ
อัตราส่วนการประเมิน ระหว่างปี : ปลายปี = 80 : 20
...................................................................................................................................................................
บอกวิธีการทำงานเพ่อื ตนเอง เชน่ การแต่งกาย การเกบ็ ของใช้ การหยิบจับและใชข้ องใช้ส่วยตัว
การ จัดโต๊ะ ตู้ ชั้น ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือง่ายๆ ในการทำงานอย่างปลอดภัย เช่น การทำ
ความคุ้นเคยกับการ ใช้เครอ่ื งมือ การรดนำ้ ตน้ ไม้ การถอนและเกบ็ วชั พชื การพบั กระดาษเป็นของเล่น
เพ่ือให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการทำงาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปญั หา ทักษะ
การ ทำงานรว่ มกัน และทกั ษะการแสวงหาความรู้ มคี ุณธรรม มีลักษณะนสิ ัยในการทำงาน กระตอื รือร้น
ตรงเวลา ประหยัด สะอาดและปลอดภยั
รหสั ตวั ช้วี ัด (รายปี) ง 1.1 ป.1/1 , ป.1/2, ป.1/3
รวมทัง้ ส้นิ 1 มาตรฐาน 3 ตัวชีว้ ดั
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถัมภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 75
คำอธิบายรายวชิ า
วิชางานบ้าน 2 ง12101 ภาคเรยี นท่ี 1-2 กลมุ่ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ปี จำนวน 1.0 หน่วยกติ
อัตราสว่ นการประเมนิ ระหวา่ งปี : ปลายปี = 80 : 20
...................................................................................................................................................................
บอกวิธีการและประโยชน์การทำงานเพื่อตนเองและครอบครัว เช่นบทบาทและหน้าท่ี
สมาชิกในบ้าน การจดั วาง เก็บเสือ้ ผา้ รองเทา้ การช่วยเหลอื ครอบครัว เตรยี มประกอบอาหาร การกวาด
บ้าน การล้างจาน ใช้ วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมอื ใหเ้ หมาะสมกับงาน ช่วยให้ประหยัดและปลอดภัย เชน่
การเพาะเมลด็ การดูแปลง เพาะกลา้ การทำของเล่น การประดิษฐ์ของใช้ส่วนตวั
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการจัดการ
ทักษะ กระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม มี
ลกั ษณะนสิ ยั ใน การทำงาน กระตอื รอื ร้น ตรงเวลา ประหยดั สะอาดและปลอดภัย
รหสั ตวั ช้ีวดั (รายป)ี ง 1.1 ป.2/1 , ป.2/2, ป.2/3
รวมท้งั สิ้น 1 มาตรฐาน 3 ตัว
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถมั ภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 76
คำอธบิ ายรายวชิ า
วชิ างานบา้ น 3 ง13101 ภาคเรยี นท่ี 1-2 กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ
ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 เวลาเรยี น 40 ช่ัวโมง/ปี จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ
อตั ราสว่ นการประเมนิ ระหวา่ งปี : ปลายปี = 80 : 20
...................................................................................................................................................................
อธิบายวิธีการและประโยชน์การทำงานเพื่อตนเอง ครอบครัว และส่วนรวม เช่น การ
เลอื กใชเ้ สอื้ ผ้า การจดั เตรยี มอุปกรณก์ ารเรยี น การทำความสะอาดรองเท้า กระเป๋านกั เรียน การกวาด ถู
ปัดกวาด เช็ดถู บ้านเรือน การทำความสะอาดห้องเรียน ใช้วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมืออย่างเหมาะสม
ประหยัดและปลอดภยั เชน่ การปลกู ผกั สวนครวั การบำรุงรักษาของเล่น การซ่อนแซมของใช้ส่วนตัว การ
ประดษิ ฐ์ของใช้ในโอกาส ต่างๆ โดยใช้วัสดุในท้องถน่ิ
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการจัดการ
ทักษะ กระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม มี
ลกั ษณะนิสัยในการทำงาน มจี ติ สำนึกในการใชพ้ ลงั งานและอนรุ กั ษ์สิ่งแวดลอ้ ม
รหสั ตัวชว้ี ัด (รายป)ี ง 1.1 ป.3/1 , ป.3/2, ป.3/3
รวมทงั้ สิน้ 1 มาตรฐาน 3 ตัวชวี้ ัด
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 77
คำอธบิ ายรายวชิ า
วิชางานบา้ น 4 ง14101 ภาคเรียนท่ี 1-2 กลุ่มสาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชพี
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 เวลาเรยี น 40 ชวั่ โมง/ปี จำนวน 1.0 หน่วยกิต
อตั ราส่วนการประเมิน ระหวา่ งปี : ปลายปี = 80 : 20
...................................................................................................................................................................
อธิบายเหตุผลในการทำงาน ให้บรรลุเป้าหมายในการทำงานตามลำดับอย่างเป็น
ข้นั ตอนตาม กระบวนการทำงาน เชน่ การดแู ลรักษาของใช้สว่ นตัว การจดั ต้เู สอื้ ผา้ โตะ๊ เขยี นหนงั สือและ
กระเป๋านักเรยี น การปลูกไม้ดอก หรือไม้ประดบั การซ่อมแซมอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ของตกแตง่
จากใบตอง และ กระดาษ ฝกึ ปฏบิ ตั ิมารยาทในการปฏิบตั ติ น เชน่ การตอ้ นรบั บดิ ามารดา หรือผปู้ กครอง
ในโอกาสต่าง ๆ การรับประทานอาหาร การใช้ห้องเรียน ห้องน้ำและห้องส้วม อธิบายความหมายและ
ความสำคัญของอาชีพ ใชพ้ ลังงานและทรพั ยากรในการทำงานอยา่ งประหยดั และคมุ้ คา่
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ ความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการในการทำงาน
ทกั ษะการ จัดการ ทกั ษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกนั และทักษะการแสวงหาความรู้
มีคุณธรรม มี ลักษณะนิสัยในการทำงาน เช่น ความขยัน อดทน ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ มี
จิตสำนึกในการใช้พลังงาน และทรัพยากรในการทำงานอย่างประหยัดและคุ้มค่า เน้นคุณธรรมในการ
ทำงาน มีเจตคตทิ ีด่ ีต่ออาชพี
รหสั ตวั ชีว้ ัด (รายปี) ง 1.1 ป.4/1 , ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4
ง 2.1 ป.4/1
รวมท้งั สิน้ 2 มาตรฐาน 5 ตัวชีว้ ดั
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถมั ภ์ พุทธศกั ราช 2553
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 78
คำอธบิ ายรายวชิ า
วชิ างานบ้าน 5 ง15101 ภาคเรยี นที่ 1-2 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เวลาเรยี น 40 ช่วั โมง/ปี จำนวน 1.0 หน่วยกิต
อัตราสว่ นการประเมิน ระหว่างปี : ปลายปี = 80 : 20
...................................................................................................................................................................
อธบิ ายเหตผุ ลข้นั ตอนการทำงานแต่ละขัน้ ตอนถูกตอ้ งตามกระบวนการทำงาน เชน่ การ
ซ่อมแซม ซัก ตาก เก็บรีด การพบั เสอ้ื ผา้ การปลูกพชื การทำบญั ชคี รวั เรอื น ฝกึ ปฏบิ ัตทิ กั ษะ การจัดการ
ในการทำงาน อย่างเป็นระบบประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์ เช่น การจัดโต๊ะอาหาร ตู้อาหาร ตู้เย็น
และห้องครัว การทำ ความสะอาดหอ้ งน้ำและหอ้ งสว้ ม การซอ่ มแซมอปุ กรณข์ องใช้ในบ้าน การประดิษฐ์
ของใช้ ของตกแต่งจากวัสดุ เหลือใช้ที่มีอยู่ในท้องถิ่น การจัดเก็บเอกสารสำคัญ การดูแลรักษาและใช้
สมบัติส่วนตัว สำรวจข้อมูลที่เกี่ยวกับ อาชีพต่างๆ ในชุมชนเพื่อระบุความแตกต่างและข้อควรคำนึง
เก่ยี วกับอาชีพ
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการใน
การทำงาน ทักษะการจดั การ ทักษะกระบวนการแกป้ ัญหา ทักษะการทำงานร่วมกัน ทกั ษะการแสวงหา
ความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและ
สง่ิ แวดลอ้ มในการดำรงชวี ิตและครอบครวั
รหสั ตวั ชีว้ ัด (รายป)ี ง 1.1 ป.5/1 , ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4
ง 2.1 ป.5/1 , ป.5/2
รวมทั้งส้นิ 2 มาตรฐาน 6 ตวั ชีว้ ดั
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถัมภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 79
คำอธบิ ายรายวชิ า
วชิ างานบ้าน 6 ง16101 ภาคเรียนที่ 1-2 กลมุ่ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 เวลาเรยี น 40 ชว่ั โมง/ปี จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต
อัตราส่วนการประเมิน ระหวา่ งปี : ปลายปี = 80 : 20
...................................................................................................................................................................
อภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานแต่ละขั้นตอน มีการแก้ไข
ปรบั ปรงุ ผลงาน เช่น การดูแลรกั ษาสมบัตภิ ายในบ้าน การปลกู ไมด้ อก หรอื ไมป้ ระดับ หรอื ปลกู ผัก หรือ
เลี้ยงปลาสวยงาม การบันทึกรายรับ รายจ่ายของห้องเรียน การจัดเก็บเอกสารการเงิน ฝึกทักษะการ
จัดการในการทำงาน และ มีทักษะการทำงานร่วมกัน เช่น การเตรียม ประกอบ จัดอาหารให้สมาชิกใน
ครอบครัว การติดตั้ง ประกอบ ของใช้ในบ้าน การประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่งให้สมาชิกในครอบครัว
หรือเพื่อนในโอกาสต่าง ๆ ฝึกปฏิบัติ มารยาทในการทำงานกับสมาชิกในครอบครัวและผู้อ่ืน สำรวจตน
เพ่ือวางแผนในการเลอื กอาชพี ตามความสนใจ ความสามารถ และทกั ษะ มคี ุณธรรมในการประกอบอาชพี
เชน่ ความซื่อสตั ย์ ความขยนั อดทน และความ ความรับผดิ ชอบ
เพอื่ ใหม้ คี วามรู้ ความเข้าใจในการทำงาน มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ มที กั ษะกระบวนการใน
การทำงาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกัน และทักษะการ
แสวงหาความรู้ มี คณุ ธรรม และลักษณะนสิ ัยในการทำงาน มจี ิตสำนกึ ในการใช้พลงั งาน ทรัพยากรและ
สิ่งแวดลอ้ มในการดำรงชวี ิตและครอบครัว
รหสั ตวั ชว้ี ดั (รายปี) ง 1.1 ป.6/1 , ป.6/2, ป.6/3
ง 2.1 ป.6/1 , ป.6/2
รวมทัง้ ส้ิน 2 มาตรฐาน 5 ตวั ช้วี ัด
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 80
คำอธบิ ายรายวชิ า
กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ
(ภาษาองั กฤษ)
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ พุทธศกั ราช 2553
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 81
คำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาตา่ งประเทศ รายวิชา ภาษาอังกฤษ ๑ รหสั วชิ า อ1๑๑๐๑
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ เวลาเรยี น 200 ชัว่ โมง/ปี
ระบุตัวอักษรและเสียงตัวอักษรของภาษาอังกฤษ และภาษาไทย อ่านออกเสียง สะกดคำง่ายๆ
สามารถเลือกภาพตรงตามความหมายของคำและกล่มุ คำที่ฟัง ปฏบิ ตั ติ ามและใชค้ ำศัพทง์ า่ ยๆ บอกความ
ต้องการง่ายๆที่เกิดขึ้นในห้องเรียน พร้อมทำท่าทางประกอบตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา บอกช่ือ
คำศพั ทง์ ่ายๆเกีย่ วกับเทศกาลและวนั สำคญั ของเจา้ ของภาษางา่ ยๆ รวบรวมคำศัพท์ และคำถามเก่ียวกับ
เรื่องใกล้ตัวและคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นและเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและ
วฒั นธรรมที่เหมาะสมกับวัย
รหสั ตวั ชีว้ ดั ต.1.1 ป.1/2 ต.1.1 ป.1/3 ต.1.1 ป.1/4
ต.1.1 ป.1/1 ต.1.2 ป.1/2 ต.1.2 ป.1/3 ต.1.2 ป.1/4
ต.1.2 ป.1/1
ต.1.3 ป.1/1 ต.2.1 ป.1/2 ต.2.1 ป.1/3 ต.2.2 ป.1/1
ต.2.1 ป.1/1
ต.3.1 ป.1/1 ต.4.2 ป.1/1
ต.4.1 ป.1/1
รวม 16 ตัวชีว้ ดั
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถัมภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 82
คำอธิบายรายวชิ า
กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ รายวชิ า ภาษาอังกฤษ 2 รหัสวิชา อ12๑๐๑
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 เวลาเรยี น 200 ชั่วโมง/ปี
เขา้ ใจและปฏิบตั ิตามคำสัง่ คำขอร้องง่ายๆท่ีใช้ในห้องเรียน การระบุตัวอกั ษร เสียงตัวอักษรของ
ภาษาอังกฤษและภาษาไทย เสียงสระ การสะกดคำ การอ่านประโยคง่ายๆตามหลักการอ่านออกเสียง
เลือกภาพให้ตรงความหมายของคำ กลุ่มคำและประโยคเดี่ยวเกี่ยวกับตัวเอง ครอบครัว โรงเรียน
สิ่งแวดล้อมใกล้ตัว การตอบคำถามจากการฟังประโยคสนทนาหรือนิทานง่ายๆที่มีภาพประกอบ พูด
โต้ตอบประโยคสั้นๆง่ายๆในการสื่อสารระหว่างบุคคล พูดและทำท่าทางประกอบตามวัฒนธรรมของ
เจา้ ของภาษา บอกช่ือและคำศัพท์เก่ยี วกับเทศกาลและวันสำคัญของเจา้ ของภาษา ตลอดจนการเข้าร่วม
กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมที่เหมาะสมกับวัย บอกคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่นื
และสามารถใช้ภาษาต่างประเทศ เพื่อรวบรวมคำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง และใช้เทคนิคการจำ และกิจกรรม
ตา่ งๆ เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนมคี วามสุข และเป็นพ้ืนฐานในการเรียนภาษาองั กฤษในระดับสูงขึน้
รหัสตวั ชวี้ ดั ต.1.1 ป.2/2 ต.1.1 ป.2/3 ต.1.1 ป.2/4
ต.1.1 ป.2/1 ต.1.2 ป.2/2 ต.1.2 ป.2/3 ต.1.2 ป.2/4
ต.1.2 ป.2/1
ต.1.3 ป.2/1 ต.1.2 ป.2/2 ต.1.2 ป.2/3
ต.2.1 ป.2/1
ต.2.2 ป.2/1
ต.3.1 ป.2/1
ต.4.1 ป.2/1
ต.4.2 ป.2/1
รวม 16 ตวั ช้วี ัด
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถมั ภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 83
คำอธิบายรายวิชา
กล่มุ สาระการเรยี นรูภ้ าษาต่างประเทศ รายวชิ า ภาษาอังกฤษ 3 รหัสวชิ า อ13๑๐๑
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 เวลาเรียน 200 ชวั่ โมง/ปี
ฝกึ ฟัง พูด อ่านและเขยี น คำศัพท์ กลมุ่ คำ ปฏบิ ตั ติ ามคำสั่ง คำขอรอ้ งของประโยค และบทพูดใน
สถานการณ์ง่ายๆที่เกิดข้ึนในโรงเรยี น เลือกระบุภาพหรือสัญลักษณ์ตรงตามความหมาย ตอบคำถามจาก
การฟัง อ่าน บทสนทนา นิทาน พูดบอกความตอ้ งการ ความรู้สกึ และการให้ข้อมลู ง่ายๆเกี่ยวกบั ตนเอง
และเพื่อนตามกิจกรรมๆตามแบบทีฟ่ ัง สมารถจัดหมวดหมู่ตามประเภทของบุคคล สัตว์ สิ่งของ พูดและ
ทำท่าทางประกอบตามมารยามทางสังคม วัฒนธรรม บอกชื่อคำศัพท์ง่ายๆเกี่ยวกับเทศกาล วันสำคัญ
งานฉลอง และชีวติ ความเป็นอยู่ของเจา้ ของภาษา การเขา้ รว่ มกจิ กรรมทางภาษา วัฒนธรรมท่ีเหมาะสม
กับวัย บอกชื่อคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องและความแตกต่างของเสียงอักษร คำ กลุ่มคำ ประโยคง่ายๆของ
ภาษาตา่ งประเทศที่เก่ียวข้องกับกลุม่ สาระการเรียนรูอ้ นื่ และสามารถใช้ภาษาต่างประเทศ เพื่อรวบรวม
คำศพั ทท์ ่เี กย่ี วข้อง และใชเ้ ทคนิคการจำ และกิจกรรมตา่ งๆ เพ่ือให้ผเู้ รยี นมีความสุข และเป็นพ้ืนฐานใน
การเรียนภาษาองั กฤษในระดับสงู ขน้ึ
รหัสตวั ช้วี ัด
ต.1.1 ป.3/1 ต.1.1 ป.3/2 ต.1.1 ป.3/3 ต.1.1 ป.3/4
ต.1.2 ป.3/1 ต.1.2 ป.3/2 ต.1.2 ป.3/3 ต.1.2 ป.3/4 ต.1.2 ป.3/5
ต.1.3 ป.3/1 ต.1.3 ป.3/2
ต.2.1 ป.3/1 ต.2.1 ป.3/2 ต.2.1 ป.3/3
ต.2.2 ป.3/1
ต.3.1 ป.3/1
ต.4.1 ป.3/1
ต.4.2 ป.3/1
รวม 18 ตัวช้ีวดั
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถัมภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 84
คำอธบิ ายรายวิชา
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ รายวิชา ภาษาอังกฤษ 4 รหัสวิชา อ14๑๐๑
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4 เวลาเรยี น 120 ชั่วโมง/ปี
ปฏิบัติและใช้คำสั่ง คำขอร้อง คำแนะนำ คำขออนุญาต เลือกภาพหรือสัญลักษณ์ตรงตาม
ความหมายทฟ่ี งั และอ่านออกเสียงคำ สะกดคำ คน้ คว้าคำศพั ท์และข้อมลู ต่างๆ พูด เขียน โต้ตอบในการ
สื่อสารระหว่างบุคคล แสดงความต้องการของตนเอง ขอความช่วยเหลือในสถานการณ์ต่างๆ และทำ
ท่าทางประกอบอย่าสุภาพตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา วาดภาพแสดง
ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆใกล้ตวั ตามที่ฟังหรืออา่ น ตอบคำถามจากการฟังและอ่านประโยค บทสนทนา
นิทานสั้นๆเกี่ยวกับวันสำคัญ เทศกาลงานฉลองของเจ้าของภาษา บอกความเหมือนความแตกต่างของ
เสียง ตัวอักษร คำ กลุ่มคำ ประโยค ข้อความ เทศกาลไทยและภาษาต่างประเทศ แสวงหาความรู้ เปิด
โลกทศั นข์ องตนแลกเปล่ยี นเรยี นร้กู บั สงั คมและโลก
รหสั ตัวชว้ี ัด
ต.1.1 ป.4/1 ต.1.1 ป.4/2 ต.1.1 ป.4/3 ต.1.1 ป.4/4
ต.1.2 ป.4/1 ต.1.2 ป.4/2 ต.1.2 ป.4/3 ต.1.2 ป.4/4
ต.1.3 ป.4/1 ต.1.3 ป.4/2 ต.1.3 ป.4/3
ต.2.1 ป.4/1 ต.2.1 ป.4/2 ต.2.1 ป.4/3
ต.2.2 ป.4/1 ต.2.2 ป.4/2
ต.3.1 ป.4/1
ต.4.1 ป.4/1
ต.4.2 ป.4/1
รวม 19 ตวั ช้ีวดั
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถมั ภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 85
คำอธบิ ายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ รายวิชา ภาษาอังกฤษ 5 รหัสวชิ า อ15๑๐๑
ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5 เวลาเรยี น 120 ชวั่ โมง/ปี
ปฏิบตั ิและใชค้ ำส่งั คำขอร้อง คำขออนญุ าต คำแนะนำ อา่ นออกเสียง สะกดคำ กล่มุ คำ ประโยค
ข้อความง่ายๆและบทพูดเข้าจังหวะถูกต้องตามหลักการอ่าน จับใจความสำคัญและตอบคำถามจากการ
ฟัง เลือก ระบุประโยค ข้อความตรงตามความหมายของสญั ลักษณ์ สนทนาโต้ตอบ ส่อื สารระหว่างบุคคล
แสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ การตอบรับปฏิเสธในสถานการณ์ง่ายๆ เพื่อขอและให้ข้อมูล
เกี่ยวกับตนเอง เพื่อน ครอบครัว เรื่องใกล้ตัว หรือแสดงความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ฟังและอ่าน ใช้
ถอ้ ยคำ นำ้ เสียง กริ ิยาทา่ ทาง มารยาทอย่างสภุ าพตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ใช้
ขอ้ มูลเกย่ี วกับเทศกาล วันสำคญั งานฉลอง การเข้ารว่ มกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ
บอกความเหมือนความแตกตา่ งการออกเสียง เครอื่ งหมาย วรรคตอน โครงสรา้ งประโยค รวมทั้งประเพณี
เทศกาลของไทยและต่างประเทศ ค้นคว้ารวบรวมคำศัพท์ทเ่ี กย่ี วข้องจากแหลง่ เรยี นรู้อืน่ ๆ มีการนำเสนอ
การใชภ้ าษาในสถานการณ์ต่างๆท่ีเกิดขึ้นในหอ้ งเรยี น สถานศกึ ษา รวมถงึ การสบื คน้ ขอ้ มูลตา่ งๆ
รหสั ตัวช้ีวัด
ต.1.1 ป.5/1 ต.1.1 ป.5/2 ต.1.1 ป.5/3 ต.1.1 ป.5/4
ต.1.2 ป.5/1 ต.1.2 ป.5/2 ต.1.2 ป.5/3 ต.1.2 ป.5/4 ต.1.2 ป.5/5
ต.1.3 ป.5/1 ต.1.3 ป.5/2 ต.1.3 ป.5/3
ต.2.1 ป.5/1 ต.2.1 ป.5/2 ต.2.1 ป.5/3
ต.2.2 ป.5/1 ต.2.2 ป.5/2
ต.3.1 ป.5/1
ต.4.1 ป.5/1
ต.4.2 ป.5/2
รวม 20 ตัวชี้วัด
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์ พุทธศกั ราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 86
คำอธิบายรายวชิ า
กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ รายวิชา ภาษาอังกฤษ 6 รหสั วิชา อ16๑๐๑
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 เวลาเรยี น 120 ชว่ั โมง/ปี
เข้าใจคำสั่ง คำขอร้อง คำแนะนำที่ฟังและอ่าน อ่านออกเสียงข้อความ นิทาน บทกลอนสั้นๆ
ถูกต้องตามหลักการอ่าน เลือกระบุประโยคข้อความสั้นๆตรงตามภาพสัญลักษณห์ รือเครื่องหมายที่อ่าน
บอกใจความสำคัญ และตอบคำถามจากเรื่องที่ฟังและอ่านบทสนทนา นิทานง่ายๆและเรื่องเล่า พูด
โต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคล ใช้คำขอร้องให้คำแนะนำ พูดบอกความต้องการขอความช่วยเหลอื
ตอบรับและปฏิเสธการใหค้ วามช่วยเหลือในสถานการณ์ง่ายๆ ให้ข้อมูลเกีย่ วกับตนเอง เพื่อน ครอบครวั
และเร่อื งต่างๆใกล้ตวั พรอ้ มท้งั ใหเ้ หตุผลสนั้ ๆประกอบ เขยี นแผนภาพ แผนผงั แผนภมู แิ ละตารางแสดง
ข้อมูลต่างๆที่ได้ฟังและอ่าน โดยใช้ถ้อยคำ น้ำเสียง กิริยาท่าทางประกอบตามมารยาททางสังคม บอก
ความแตกต่างการออกเสียง เครื่องหมาย วรรคตอน โครงสร้างประโยค รวมทั้งประเพณี เทศกาล งาน
ฉลอง และประเพณีของเจ้าของภาษากับของไทย ค้นคว้ารวบรวมคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการ
เรียนรู้อื่น นำเสนอด้วยการพูดการเขียน ใช้สื่อสารในสถานการณ์ต่างๆทีเ่ กดิ ข้ึนในหอ้ งเรียนสถานศึกษา
และสบื ค้นรวบรวมขอ้ มูลต่างๆ
รหสั ตัวช้ีวัด
ต.1.1 ป.6/1 ต.1.1 ป.6/2 ต.1.1 ป.6/3 ต.1.1 ป.6/4
ต.1.2 ป.6/1 ต.1.2 ป.6/2 ต.1.2 ป.6/3 ต.1.2 ป.6/4 ต.1.2 ป.6/5
ต.1.3 ป.6/1 ต.1.3 ป.6/2 ต.1.3 ป.6/3
ต.2.1 ป.6/1 ต.2.1 ป.6/2 ต.2.1 ป.6/3
ต.2.2 ป.6/1 ต.2.2 ป.6/2
ต.3.1 ป.6/1
ต.4.1 ป.6/1
ต.4.2 ป.6/1
รวม 20 ตัวช้ีวัด
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์ พุทธศกั ราช 2553
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 87
คำอธิบายรายวิชาเพ่ิมเตมิ
วิชาภาษามอื ไทย
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถัมภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 88
คำอธิบายรายวิชาเพมิ่ เตมิ
วชิ าภาษามอื ไทย
รหสั วชิ า ท 11201 ภาษามือไทย 1 กลุ่มสาระการเรียนภาษาไทย
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 เวลาเรียน 4๐ ช่วั โมง/ปี
...................................................................................................................................................................
ศึกษาเรียนรู้พยัญชนะ คำ ภาษามือพื้นฐาน คำศัพท์พื้นฐาน และความหมายของคำใน หมวด
ร่างกาย ครอบครัว การทักทาย สัตว์ ผลไม้ เครื่องแต่งกาย ยานพาหนะ อุปกรณ์การเรียน สี รูปทรง
จำนวนนับ วัน เดือน ปี คำสั่งง่าย ๆ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ในชีวิตประจำวัน เรื่องสั้น การสื่อสารด้วย
ภาษามือ การสะกดนิ้วมอื การเขยี นพยญั ชนะตามการสะกดนว้ิ มอื ก-ฮ ใชค้ ำสุภาพในการ เขียนคำทีใ่ ช้ใน
ชวี ติ ประจำวนั คำสภุ าพทว่ั ไป
เรียนรู้การเคลื่อนไหวท่ามือแบบต่าง ๆ ได้แก่ การเคลื่อนไหวท่ามือแบบลูกศรธรรมดา การ
เคลื่อนไหวท่ามือแบบทิศทางและระยะทางของการเคลื่อนไหว การเคลื่อนไหวภาษามือแบบไปในทาง
เดยี วหลาย ๆ ครั้ง การเคล่ือนไหวท่ามือแบบการเคลือ่ นที่ไปสองทศิ ทางทม่ี ีการสนั่ (สัน้ และเร็วมาก) การ
เคลื่อนไหวท่ามือที่มีการปิดเข้าเล็กมากนิ้วทุกนิ้วเกือบจะรวมเข้าด้วยกัน การกระพริบ ศึกษาวัฒนธรรม
การสื่อสารของคนหูหนวกในการสื่อสารกับเพื่อน บุคคลทั่วไปในท้องถิ่น การรับและส่งสารของคนหู
หนวก
โดยใชท้ ักษะการฟัง การดู การพดู การอา่ น การเขียน การคิด การฝกึ ปฏิบตั ใิ น สถานการณ์ต่าง
ๆ และการใช้ภาษามือในการสื่อสาร การเล่าเรื่อง เพื่อให้สามารถใช้ภาษามือเป็นเครื่องมือ ในการบอก
ความหมาย ตอบคำถาม เล่าเรื่อง แสดงความรูส้ กึ แสดงความคิดเหน็ และมมี ารยาทในการใช้ ภาษามือท่ี
ถูกตอ้ ง
รหัสตัวช้ีวัด
ม ๑.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓ ป.๑/๔ ป.๑/๕ ป.๑/๖
ม ๒.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓
ม ๓.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓ ป.๑/๔ ป.๑/๕
ม ๔.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓ ป.๑/๔
ม ๕.๑ ป.๑/๑
รวม 19 ตวั ช้วี ัด
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถัมภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 89
คำอธิบายรายวชิ าเพมิ่ เตมิ
วิชาภาษามอื ไทย
รหสั วิชา ท 12201 ภาษามือไทย 2 กลุ่มสาระการเรยี นภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2 เวลาเรียน 4๐ ชว่ั โมง/ปี
...................................................................................................................................................................
ศึกษาเรียนรู้พยัญชนะ คำ ภาษามือพื้นฐาน คำศัพท์พื้นฐาน และความหมายของคำหมวด
รา่ งกาย ครอบครัว การทักทาย สัตว์ ผลไม้ เครือ่ งแตง่ กาย อาชีพ เคร่ืองใช้ส่วนตวั ยานพาหนะ อุปกรณ์
การเรยี น สี รูปทรง จำนวนนับ วนั เดือน ปี คำสัง่ งา่ ย ๆ ตัวเลข เครือ่ งหมาย สญั ลกั ษณ์ใน ชวี ิตประจำวัน
เรื่องสั้น การสื่อสารด้วยภาษามือ การสะกดนิ้วมือ การเขียนพยัญชนะตามการสะกดนิ้วมือ ก-ฮ ใช้คำ
สุภาพในการเขียนคำที่ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน คำสภุ าพทั่วไป
เรียนรู้การเคลื่อนไหวท่ามือแบบต่าง ๆ ได้แก่ การเคลื่อนไหวท่ามือแบบลูกศรธรรมดา การ
เคลื่อนไหวท่ามือแบบรวดเร็ว การเคลื่อนไหวท่ามือแบบทิศทางและระยะทางของการเคลื่อนไหว การ
เคลื่อนไหวภาษามือแบบไปในทางเดียวหลาย ๆ ครั้ง การเคลื่อนไหวท่ามือที่ไป-กลับหลาย ๆ ครั้ง การ
เคลื่อนไหวท่ามือแบบการเคลื่อนทีไ่ ปสองทิศทางที่มกี ารสั่น (สั้นและเร็วมาก) การแตะเบา ๆ หลายครัง้
การเคลอื่ นไหวทา่ มือทม่ี กี ารปิดเขา้ เลก็ มากน้วิ ทุกน้ิวเกอื บจะรวมเข้าด้วยกัน การกระพรบิ ปลายน้ิวคลาย
ออก จากใตน้ ้ิวหวั แมม่ อื การกระดิกนวิ้ ในลักษณะท่าเล่นเปยี โน การพิมพ์ดีด
ศึกษาวัฒนธรรมการสื่อสารของคนหูหนวกในการสื่อสารกับเพื่อน บุคคลทั่วไปในท้องถิ่น การ
รบั และส่งสารของคนหหู นวก
โดยใช้ทักษะการฟัง การดู การพูด การอ่าน การเขียน การคิด การฝึกปฏิบัติใน สถานการณ์
ต่าง ๆ และการใช้ภาษามือในการสื่อสาร การเล่าเรื่อง เพื่อให้สามารถใช้ภาษามือเป็นเครือ่ งมือ ในการ
บอกความหมาย ตอบค าถาม เล่าเรื่อง แสดงความรู้สึก แสดงความคิดเห็น และมีมารยาทในการใช้
ภาษามือทีถ่ ูกต้อง
รหัสตัวชีว้ ดั ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔ ป.๒/๕ ป.๒/๖
ม ๑.๑ ป.๒/๑ ป.๑/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔
ม ๒.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔ ป.๒/๕ ป.๒/๖ ป.๒/๗
ม ๓.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔
ม ๔.๑ ป.๒/๑
ม ๕.๑
รวม 22 ตวั ชีว้ ดั
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถัมภ์ พุทธศกั ราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 90
คำอธิบายรายวิชาเพิม่ เติม
วิชาภาษามอื ไทย
รหสั วชิ า ท 13201 ภาษามือไทย 3 กลุ่มสาระการเรยี นภาษาไทย
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3 เวลาเรยี น 4๐ ชวั่ โมง/ปี
...................................................................................................................................................................
ศกึ ษาเรียนรู้คำภาพ เรอ่ื งสัน้ ความหมายของคำศพั ท์หมวดรา่ งกาย ครอบครวั การทักทาย สัตว์
ผลไม้ เครื่องแต่งกาย อาชีพ เครื่องใช้ส่วนตัว ยานพาหนะ อุปกรณ์การเรียน สี รูปทรง จำนวนนับ วนั
เดอื น ปี กฬี า อาหาร พืชผักสวนครวั ดอกไม้ สถานบรกิ ารในชุมชน วนั สำคญั บคุ คลสำคัญ เครื่องหมาย
สัญลักษณ์ในชีวิตประจำวัน การตั้งคำถามและตอบคำถามด้วยภาษามือ เล่าเรื่อง และลำดับเหตุการณ์
และปฏิบตั ิตามคำสั่งหรอื ขอ้ แนะน า การสะกดนิว้ มือ การเขียนพยญั ชนะตามการ สะกดนิ้วมือ ก–ฮ, A–
Z ใชค้ าสุภาพในการเขียนคำที่ใช้ในชีวติ ประจำวัน คำสุภาพท่วั ไป
เรียนรู้การเคลื่อนไหวท่ามือแบบต่าง ๆ ได้แก่ การเคลื่อนไหวท่ามือแบบลูกศรธรรมดา การ
เคลื่อนไหวท่ามอื แบบรวดเร็ว การเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งโดยกา้ วสั้น ๆ การเคลื่อนไหวทา่
มือแบบทิศทางและระยะทางของการเคลื่อนไหว การเคลือ่ นไหวภาษามือแบบไปในทางเดยี วหลาย ๆ ครง้ั
การเคลอื่ นไหวท่ามือท่ีไป-กลับหลาย ๆ ครัง้ การทมี่ ือทั้งสองเคล่อื นท่ีสลบั กนั ในทศิ ทางเดยี วกัน (ซา้ ยครั้ง
ขวาครั้ง) การหมุนข้อมือหรือส่วนของแขนระหว่างข้อศอกกับมือเปน็ วงกลมหลายครั้ง (เป็นรูปใกล้เคียง
วงกลม ซึ่งง่ายที่สุดสำหรับที่กล้ามเนื้อจะสร้างขึ้นมาได้) การเคลื่อนไหวท่ามือแบบการเคลื่อนที่ไป
สองทิศทางที่มีการ สั่น (สั้นและเร็วมาก) การแตะเบา ๆ หลายครั้ง การหมุนปลายแขน (การหมุนคร้ัง
เดียว การหมุนไปมา การ หมุนแบบสั่นไปมา) การเคลื่อนไหวท่ามือที่มีการปิดเข้าเล็กมากนิ้วทุกน้ิว
เกือบจะรวมเขา้ ดว้ ยกัน การกระพรบิ ปลายนิว้ คลายออกจากใต้น้วิ หวั แม่มือ การกระดิกนิ้วในลักษณะท่า
เล่นเปียโน การพิมพ์ดีด สัญลักษณ์ท่ี แสดงถึงสิ่งที่มีลักษณะละเอียดหรือเป็นผงโดยให้นิ้วมือทั้งสี่ถูกับ
นิ้วหัวแม่มอื หลาย ๆ ครั้ง การเคลอ่ื นไหวที่ เร่ิมจากท่ากางน้ิวแลว้ จบลงโดยการขยุม้ ปลายน้ิวท้ังหมดเข้า
หากัน และการใช้นว้ิ หัวแม่มอื สมั ผัสน้ิวอนื่ ครงั้ หน่ึงโดยเร่มิ จากนวิ้ กอ้ ยจนถึงนว้ิ ชี้
ศกึ ษาวฒั นธรรมการสอื่ สารของคนหูหนวกในการสอื่ สารกับเพื่อน บคุ คลท่วั ไปในทอ้ งถิน่ การรับ
และสง่ สารของคนหูหนวก
โดยใช้ทกั ษะการฟัง การดู การพดู การอา่ น การเขยี น การคิด การฝกึ ปฏบิ ัตใิ น สถานการณ์ต่าง
ๆ และการใช้ภาษามือในการส่ือสาร การเล่าเรื่อง เพื่อให้สามารถใช้ภาษามือเป็นเครื่องมือ ในการบอก
ความหมาย ตอบค าถาม เล่าเร่ือง แสดงความรสู้ กึ แสดงความคิดเหน็ และมมี ารยาทในการใช้ ภาษามือ
ทีถ่ กู ตอ้ ง หลักสตู รแกนกลางขัน้ พน้ื ฐานภาษามอื
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถัมภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 91
รหสั ตวั ชวี้ ดั
ม ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๖
ม ๒.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔
ม ๓.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๖
ม ๔.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔
ม ๕.๑ ป.๓/๑
รวม 21 ตัวช้วี ัด
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถัมภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 92
คำอธิบายรายวิชาเพม่ิ เติม
วชิ าภาษามอื ไทย
รหัสวิชา ท 14201 ภาษามือไทย 4 กลุ่มสาระการเรียนภาษาไทย
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4 เวลาเรียน 4๐ ช่วั โมง/ปี
...................................................................................................................................................................
ศึกษาเรียนรู้คำ ภาพในชีวิตประจำวนั วัฒนธรรมท้องถิ่น ข้อความ ประโยค โดย ถ่ายทอดเป็น
ภาษามือ สะกดคำภาษามือไทย บอกความหมายของข้อความ ประโยค เรื่องสั้น สำนวน คำพังเพย คำ
แสลง สะกดคำภาษามือไทย ตอบคำถามจากผังภาพ คำราชาศัพท์ คำพ้องรูป ประเทศเพื่อนบ้าน
สัญลักษณ์ในแผนที่ อาชีพ สถานที่สำคัญในชุมชน ประเพณีและพิธีกรรมของท้องถิ่น จังหวัด และชาติ
เล่าเรื่องและลำดับเหตุการณ์ นิทานพื้นบ้าน นิทานชาดก ข่าว เหตุการณ์ประจำวัน การโฆษณา สื่อ
อิเลคทรอนิกส์ และปฏิบัติตามคำสัง่ หรือข้อแนะนำดว้ ยภาษามือ สรุปความรู้จากผังภาพเพื่อนำไปใชใ้ น
ชวี ติ ประจำวนั และมีมารยาทในการใช้ภาษามือทีถ่ กู ตอ้ ง
การสะกดนิว้ มอื การเขยี นพยญั ชนะตามการสะกดนวิ้ มอื ก-ฮ, A-Z เขียนคำศัพทห์ มวด ร่างกาย
ครอบครัว การทักทาย สัตว์ ผลไม้ เครื่องแต่งกาย ยานพาหนะ อุปกรณ์การเรียน สี รูปทรง จำนวนนบั
วัน เดอื น ปี เวลา (เชา้ กลางวัน เยน็ ) ใช้คำสภุ าพในการเขียนคำท่ใี ช้ในชวี ิตประจำวนั คำ สุภาพทั่วไป
ใช้การเคลื่อนไหวท่ามือแบบต่าง ๆ ได้แก่ การเคลื่อนไหวท่ามือแบบลูกศรธรรมดา การ
เคลื่อนไหวท่ามือแบบทิศทางและระยะทางของการเคลื่อนไหว การเคลื่อนไหวภาษามือแบบไปในทาง
เดียวหลาย ๆ ครัง้ การเคลื่อนไหวท่ามอื แบบการเคลอ่ื นทีไ่ ปสองทศิ ทางทมี่ ีการสนั่ (สั้นและเร็วมาก) การ
เคลื่อนไหวท่ามือที่มีการปิดเข้าเล็กมากนิ้วทุกนิ้วเกือบจะรวมเข้าด้วยกัน การกระพริบ พัฒนาทักษะ
ภาษามอื
เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมการสือ่ สารของคนหูหนวกในแต่ละท้องถิ่นและทั่วไป การรับ-ส่ง สาร
ของคนหหู นวก การส่อื สารผา่ นกลอ้ งและโปรแกรมสำเร็จรปู ทเ่ี ปน็ บรกิ ารทั่วไป
โดยใช้ทักษะการฟงั การดู การพดู การอ่าน การเขียน การคิด การฝึกปฏบิ ตั ิใน สถานการณ์ต่าง
ๆ และการใชภ้ าษามือในการส่ือสาร การเล่าเรอื่ ง การรายงาน เพอ่ื ให้สามารถใช้ภาษามือ เป็นเคร่ืองมือ
ในการบอกความหมาย ตอบค าถาม เลา่ เรื่อง แสดงความรสู้ ึก แสดงความคดิ เห็น และมี มารยาทในการ
ใช้ภาษามอื ท่ีถูกต้อง
รหสั ตัวช้ีวัด
ม ๑.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕ ป.๔/๖
ม ๒.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔
ม ๓.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕ ป.๔/๖
ม ๔.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔
ม ๕.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓
รวม 23 ตัวชวี้ ดั
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถัมภ์ พุทธศกั ราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 93
คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ
วิชาภาษามอื ไทย
รหสั วชิ า ท 15201 ภาษามือไทย 5 กลุ่มสาระการเรียนภาษาไทย
ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 เวลาเรียน 4๐ ชว่ั โมง/ปี
...................................................................................................................................................................
ศึกษาเรียนรู้คำ ภาพในชีวิตประจำวัน วัฒนธรรมท้องถิ่น ข้อความ ประโยค สารคดี นิทาน
บทเรียน สะกดคำภาษามือไทย ความหมายของข้อความ ประโยค เรื่องสั้น สำนวน คำพังเพย คำแสลง
สะกดคำภาษามอื ไทย ตอบคำถามดว้ ยภาษามือจากผังภาพ คำราชาศัพท์ คำทับศัพท์ คำพอ้ งรูป ประเทศ
เพื่อนบ้าน สัญลักษณ์ในแผนที่ อาชีพ สถานที่สำคัญในชุมชน ฤดูกาล สุขภาพ โรคภัยอันตราย การ
เจ็บปว่ ย ประเพณีและพิธกี รรมของทอ้ งถนิ่ จงั หวดั และชาติ บุคคลสำคัญของชาติ เทคโนโลยีการ สื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศ เล่าเรื่องและลำดับเหตุการณ์ นิทานพื้นบ้าน นิทานชาดก ข่าว เหตุการณ์
ประจำวัน และปฏิบัติตามคำสั่ง หรือข้อแนะนำ ด้วยภาษามือ สรุปความรู้จากผังภาพเพื่อนำไปใช้ใน
ชีวิตประจำวนั และมมี ารยาทในการใช้ภาษามือท่ถี ูกตอ้ ง
การสะกดนิ้วมือ การเขียนพยัญชนะตามการสะกดนิ้วมือ ก-ฮ A-Z สระ และวรรณยุกต์ เขียน
คำศพั ท์หมวดร่างกาย ครอบครัว การทกั ทาย สตั ว์ ผลไม้ เครอื่ งแตง่ กาย ยานพาหนะ อปุ กรณ์การ เรียน
สี รูปทรง จำนวนนับ วัน เดือน ปี เวลา (เช้า กลางวัน เย็น) ใช้คำสุภาพในการเขียนคำที่ใช้ใน
ชวี ติ ประจำวัน คำสุภาพทั่วไป เขียนลำดบั เหตกุ ารณ์และการแสดงความคดิ เห็น นทิ านพนื้ บ้าน ชาดก ขา่ ว
เหตุการณป์ ระจำวัน สรปุ เรอ่ื งโดยการใชผ้ งั ภาพ
ใช้การเคลื่อนไหวท่ามือแบบต่าง ๆ ได้แก่ การเคลื่อนไหวท่ามือแบบลูกศรธรรมดา การ
เคลื่อนไหวท่ามือแบบรวดเร็ว การเคลื่อนไหวท่ามือแบบทิศทางและระยะทางของการเคลื่อนไหว การ
เคลื่อนไหวภาษามือแบบไปในทางเดียวหลาย ๆ ครั้ง การเคลื่อนไหวท่ามือที่ไป-กลับหลาย ๆ ครั้ง การ
เคลื่อนไหวท่ามอื แบบการเคลื่อนทีไ่ ปสองทิศทางที่มกี ารสั่น (สั้นและเร็วมาก) การแตะเบา ๆ หลายครัง้
การเคลื่อนไหวท่ามือท่ีมีการปิดเข้าเลก็ มากนิ้วทุกน้ิวเกอื บจะรวมเขา้ ดว้ ยกัน การกระพรบิ ปลายน้วิ คลาย
ออก จากใต้นิ้วหัวแม่มือ การกระดิกนิ้วในลักษณะท่าเล่นเปียโน การพิมพ์ดีด พัฒนาทักษะภาษามือ
เรียนรู้เกีย่ วกับวัฒนธรรมการสือ่ สารของคนหูหนวกในแต่ละท้องถิ่นและในภูมิภาคอื่น การ รับส่งสารของ
คนหูหนวก การใช้ประสาทสัมผัสต่าง ๆ ในการเรียนรู้ การใช้เครื่องช่วยหรือสิ่งอำนวยความ สะดวกใน
การเรียนรู้ รวมท้ังการส่ือสารผ่านกล้องและโปรแกรมสำเรจ็ รูปทีเ่ ป็นบรกิ ารท่ัวไป
โดยใช้ทักษะการฟงั การดู การพูด การอ่าน การเขยี น การคดิ การฝึกปฏบิ ตั ิในสถานการณ์ ต่าง
ๆ และการใช้ภาษามือในการสื่อสาร การเล่าเรื่อง การรายงาน การวิเคราะห์ประเด็นต่าง ๆ เพื่อให้
สามารถใช้ภาษามือเป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ บอกความหมาย ตอบค าถาม เล่าเรื่อง แสดงความรู้สกึ
แสดงความคดิ เหน็ และมมี ารยาทในการใช้ภาษามอื ท่ถี กู ตอ้ ง หลกั สตู รแกนกลางขัน้ พ้ืนฐานภาษามอื
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถัมภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 94
รหสั ตวั ชวี้ ดั
ม ๑.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕ ป.๕/๖
ม ๒.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕ ป.๕/๖
ม ๓.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕
ม ๔.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔
ม ๕.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓
รวม 24 ตัวช้วี ัด
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 95
คำอธิบายรายวชิ าเพม่ิ เตมิ
วิชาภาษามอื ไทย
รหสั วิชา ท 16201 ภาษามือไทย 6 กลุ่มสาระการเรียนภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 เวลาเรียน 4๐ ช่วั โมง/ปี
...................................................................................................................................................................
ศึกษาเรียนรู้คำ ภาพ ประโยค เรื่องสั้น ข้อความ สารคดี วัฒนธรรมท้องถิ่น นิทาน บทเรียน
สะกดคำภาษามือไทย บอกความหมายของขอ้ ความ ประโยค เรอ่ื งสั้น สำนวน คำพังเพย คำแสลง สะกด
คำภาษามือไทย ตอบคำถามด้วยภาษามือจากผังภาพ คำราชาศัพท์ คำศัพท์ที่ใช้ทับศัพท์ คำพ้องรูป
ประเทศเพื่อนบ้าน สัญลักษณ์ในแผนที่ อาชีพ สถานที่สำคัญในชุมชน ฤดูกาล สุขภาพ โรคภัย การ
เจบ็ ปว่ ย ประเพณแี ละพธิ ีกรรมของทอ้ งถ่ิน จงั หวดั และชาติ บุคคลสำคญั ของชาติ เทคโนโลยกี าร ส่อื สาร
เทคโนโลยีสารสนเทศ ทวีป เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
ดำเนินงานทางเศรษฐกิจ การเมือง กฎหมาย เล่าเรื่องและลำดับเหตุการณ์ นิทานพื้นบ้าน นิทานชาดก
การ์ตูนสร้างสรรค์ ข่าว เหตุการณ์ประจำวัน วิเคราะห์เรื่องที่อ่านจากผังภาพด้วยภาษามือ สรุปความรู้
ข้อคดิ คตสิ อนใจ เพือ่ นำไปตัดสนิ ใจแก้ปัญหาในชีวติ ประจำวนั และมมี ารยาทในการใชภ้ าษามือท่ีถูกต้อง
เขยี นพยญั ชนะตามการสะกดนิ้วมือ ก-ฮ A-Z สระ และวรรณยกุ ต์ เขยี นขอ้ ความ ประโยค เรื่อง
สั้น สารคดี นิทาน บทเรียนในสาระการเรียนรูต้ ่าง ๆ เขียนและสรุปความรู้เพ่ือนำไปใช้ใน การตัดสินใจ
แก้ปัญหาชีวติ ประจำวนั
ใช้การเคลื่อนไหวท่ามือแบบต่าง ๆ ได้แก่ การเคลื่อนไหวท่ามือแบบลูกศรธรรมดา การ
เคลื่อนไหวท่ามือแบบรวดเร็ว การเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งโดยกา้ วสั้น ๆ การเคลื่อนไหวทา่
มือแบบทศิ ทางและระยะทางของการเคลื่อนไหว การเคลื่อนไหวภาษามอื แบบไปในทางเดยี วหลาย ๆ คร้งั
การเคลื่อนไหวท่ามอื ทีไ่ ป-กลบั หลาย ๆ ครงั้ การท่ีมอื ทั้งสองเคล่ือนทีส่ ลับกนั ในทศิ ทางเดียวกนั (ซา้ ยครั้ง
ขวาครั้ง) การหมุนข้อมือหรือส่วนของแขนระหว่างข้อศอกกับมือเปน็ วงกลมหลายครัง้ (เป็นรูปใกล้เคียง
วงกลม ซึ่งง่ายที่สุดสำหรับที่กล้ามเนื้อจะสร้างขึ้นมาได้) การเคลื่อนไหวท่ามือแบบการเคลื่อนที่ไป
สองทิศทางที่มีการ สั่น (สั้นและเร็วมาก) การแตะเบา ๆ หลายครั้ง การหมุนปลายแขน (การหมุนครั้ง
เดียว การหมุนไปมา การหมุนแบบสั่นไปมา) การเคลื่อนไหวท่ามือที่มีการปิดเข้าเล็กมากนิ้วทุกน้ิว
เกอื บจะรวมเข้าด้วยกัน การกระพรบิ ปลายนวิ้ คลายออกจากใตน้ วิ้ หัวแม่มือ การกระดิกนว้ิ ในลกั ษณะท่า
เล่นเปียโน การพิมพ์ดีด สัญลักษณ์ที่แสดงถึงสิ่งที่มีลักษณะละเอียดหรือเป็นผงโดยให้นิ้วมือทั้งสี่ถูกับ
นิ้วหัวแมม่ อื หลาย ๆ ครั้ง การเคลื่อนไหวที่เร่ิมจากท่ากางนิว้ แล้วจบลงโดยการขยุม้ ปลายนิ้วท้ังหมดเขา้
หากนั และการใชน้ วิ้ หวั แมม่ อื สัมผัสนว้ิ อืน่ คร้ังหนึ่งโดยเรม่ิ จากน้วิ ก้อยจนถึงน้ิวช้ี พฒั นาทักษะภาษามือ
เรยี นรูเ้ กย่ี วกับวฒั นธรรมการสื่อสารของคนหูหนวกในแต่ละท้องถิ่นและในภูมิภาคอ่ืน การ รับ-
ส่งสารของคนหูหนวก การใช้ประสาทสัมผัสตา่ ง ๆ ในการเรียนรู้ การใช้เครื่องช่วยหรอื สิ่งอ านวยความ
สะดวกในการเรียนรู้ รวมทั้งการส่อื สารผา่ นกล้องและโปรแกรมสำเร็จรูปทีเ่ ปน็ บรกิ ารท่วั ไป
โดยใช้ทกั ษะการฟัง การดู การพูด การอ่าน การเขยี น การคดิ การฝึกปฏบิ ัติใน สถานการณ์ต่าง
ๆ และการใช้ภาษามือในการสื่อสาร การเล่าเรื่อง การรายงาน การวิเคราะห์ประเด็นต่าง ๆ เพื่อให้