ประกาศโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถัมภ์
เรอ่ื ง ใหใ้ ช้หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถมั ภ์ พุทธศักราช ๒๕๕๓
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
……………………………….
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ ตามคำสัง่ กระทรวงศึกษาธิการท่ี สพฐ.๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันท่ี ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคำส่ัง
สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้
เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมคี ำสั่งใหโ้ รงเรียน ดำเนินการใชห้ ลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๖๑ โดย
ให้ใช้ในช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ และ ๔ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ ให้
ใช้หลกั สตู รในช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๑ ๒ ๔ และ๕ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ และ ๒ และในปี ๒๕๖๓ ใหใ้ ช้ทุก
ระดับชั้น โรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ จึงได้จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช
๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐) ข้ึน
คณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานโรงเรียน ได้ตรวจสอบผู้เรียน
สามารถนำไปใช้ในการดำรงชีวิตประจำวันอย่างมีคุณค่าต่อสังคม จึงเห็นสมควรแล้วว่ามีความ
เหมาะสม สอดคลอ้ งกบั หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐)
อนุญาตใหใ้ ช้หลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์ได้
ทั้งนี้หลักสูตรโรงเรียนได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นที่
เรียบร้อยแล้ว จึงประกาศให้ใช้หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์
พุทธศักราช ๒๕๕๓ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ๒๕๕๑
(ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) ตงั้ แต่บัดนีเ้ ป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันท่ี 9 เดือน พฤษภาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕
(ลงชอื่ ) (ลงชอ่ื )
(นางวมิ ลา ไตรทศาวทิ ย์) (นางสาวปนัดดา วงค์จันตา)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถมั ภ์
ก
คำนำ
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ ตามคำส่ังกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันท่ี ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคำสง่ั
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้
เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) โดยมคี ำสั่งให้โรงเรียนดำเนนิ การใช้หลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๖๑ โดย
ให้ใช้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ และ ๔ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา ให้เป็นหลักสูตร
แกนกลางของประเทศ โดยกำหนดจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรเู้ ปน็ เป้าหมายและกรอบทิศทาง
ในการพัฒนา คุณภาพผู้เรียน มีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรู้ ใน
ศตวรรษที่ ๒๑ เพ่อื ให้สอดคล้อง กับนโยบายและเปา้ หมายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน
โรงเรียนเศรษฐสยึ ร ในพระราชูปถัมภ์จึงได้ทำการปรับปรุงหลักสูตรของสถานศึกษาโรงเรียน
เศรษฐสยึ ร ในพระราชปู ถมั ภ์ พุทธศกั ราช ๒๕๕๓ (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) เพอื่ นำไปใช้
ประโยชนแ์ ละเป็นกรอบในการวางแผนและพฒั นา หลักสตู รของสถานศึกษาและจัดการเรยี นการสอน
โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มีกระบวนการนำหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการ
กำหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการ
เรียนรู้และตัวชี้วัด โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัดประเมินผลให้มีความสอดคล้องกับ
มาตรฐานการเรยี นรู้ เปิดโอกาสให้โรงเรยี นสามารถกำหนดทิศทางในการจัดทำหลักสูตรการเรียนการ
สอนในแต่ละระดับตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทางที่ชัดเจนเพื่อ
ตอบสนองนโยบาย ไทยแลนด์ ๔.๐ มีความพร้อมในการก้าวสู่สังคมคุณภาพ มีความรู้อย่างแท้จริง
และมที ักษะในศตวรรษที่ ๒๑
ลงช่อื .................................................
(นางสาวปนดั ดา วงค์จันตา)
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถมั ภ์
ข
สารบญั หนา้
ก
เรื่อง
คำนำ ข
สารบัญ ๑
ส่วนที่ ๑ ความนำ
๒
วสิ ยั ทศั น์โรงเรียน ๒
พันธกจิ โรงเรยี น ๒
เป้าประสงคโ์ รงเรียน
เป้าประสงคห์ ลักสตู ร ๒
สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น ๓
คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
ค่านิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ ๔
ส่วนที่ ๒ โครงสร้างหลักสตู รโรงเรียนศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ ๔
โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษา โครงสร้างเวลาเรียน ๕
โครงสร้างหลักสูตรสถานศกึ ษา ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1
โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศกึ ษา ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 2 6
โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษา ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 7
โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษา ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4/1
โครงสร้างหลักสูตรสถานศกึ ษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/2 8
โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษา ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5 9
โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษา ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6/1 10
โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศึกษา ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6/2
ส่วนท่ี ๓ คำอธิบายรายวชิ า 11
คำอธบิ ายรายวิชา กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย 12
คำอธบิ ายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
คำอธบิ ายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 13
คำอธบิ ายรายวิชา กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 14
คำอธบิ ายรายวิชา กลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 15
คำอธบิ ายรายวชิ า กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ศิลปะ
คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชพี 16
คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) 23
คำอธิบายรายวชิ าเพิ่มเตมิ วิชาภาษามอื ไทย
คำอธิบายรายวิชาเพม่ิ เตมิ วิชาอังกฤษเพ่อื การสอ่ื สาร 34
คำอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเติม วิชาหน้าทีพ่ ลเมืองต้านทุจรติ 51
คำอธิบายรายวชิ ากิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน กิจกรรมแนะแนว 59
คำอธิบายรายวิชากิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น กจิ กรรมนักเรยี น (ลูกเสอื /เนตรนารี ชมุ นุม)
66
73
80
87
97
104
111
121
ค
เรือ่ ง หนา้
คำอธิบายรายวิชากิจกรรมพฒั นาผู้เรียน กิจกรรมชุมนมุ 128
คำอธิบายรายวิชากิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ 130
คำอธิบายรายวชิ ากจิ กรรมเสรมิ หลักสูตร นาฎศิลป์ 132
คำอธบิ ายรายวชิ ากจิ กรรมเสริมหลักสตู ร พลศึกษา 136
คำอธบิ ายรายวิชากิจกรรมเสริมหลักสตู ร เกษตรพอเพยี ง 140
คำอธบิ ายรายวิชากจิ กรรมเสรมิ หลักสูตร คณิตเทคโนโลยี 144
คำอธิบายรายวิชากิจกรรมเสริมหลักสูตร ฝึกพูด 151
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น 158
ส่วนท่ี ๔ เกณฑก์ ารจบการศึกษา 170
ภาคผนวก 179
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถมั ภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 1
ส่วนที่ ๑
ความนำ
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ัด กลุ่มสาระการเรยี นรู้
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ ตามคำสั่ง กระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคำสัง่
สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้
เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีคำสั่งให้โรงเรียน ดำเนินการใช้หลักสตู รในปีการศึกษา ๒๕๖๑ ซ่ึง
ให้ใช้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ และ ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ตั้งแต่ปี
การศึกษา ๒๕๖๑ โดยกำหนดจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบ ทิศทางใน
การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ และมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่ อให้
สอดคล้องกบั นโยบายและเปา้ หมายของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)
เป็นหลักสตู รที่ปรับใหม้ ีความเหมาะสมและชดั เจนมากย่ิงขึ้น ท้ังเป้าหมายของหลักสูตรในการพัฒนา
คุณภาพ ผู้เรียน และกระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและ
สถานศึกษา การกำหนด วิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถะสำคัญของผูเ้ รียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดมีความชัดเจนและเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อให้
สถานศกึ ษาไดใ้ ชเ้ ป็นทิศทางในการจัดทำการ ปรบั ปรุงหลกั สตู รสถานศึกษา การจดั การเรียนการสอน
ในแตล่ ะระดับ นอกจากนัน้ ได้กำหนดโครงสร้างเวลา เรยี นข้ันตำ่ ของแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้ในแต่
ละชัน้ ปี ไว้ในหลักสูตรแกนกลาง และเปดิ โอกาสให้สถานศึกษา เพิม่ เติมเวลาเรยี นได้ตามความพร้อม
และจุดเน้นของแตล่ ะท้องถิ่น เพื่อสถานศึกษาได้นำไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดทำหลักสูตร
และจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานให้มี
คุณภาพด้านความรู้ และทักษะที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการ เปลี่ยนแปลง และ
แสวงหาความรูเ้ พอื่ พฒั นาตนเองอย่างต่อเนอ่ื งตลอดชีวติ
โรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ จึงได้จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช
๒๕๕๓ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕) ขึ้น โดยยึดมาตรฐานการเรียนรู้และสาระสำคัญต่าง ๆ
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 2
วสิ ัยทัศนโ์ รงเรยี น
โรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้พัฒนาผู้เรียนที่มีความ
บกพร่องทางการได้ยิน ให้เป็นนวัตกร รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะ มีวินัย คุณธรรม
บนพนื้ ฐานวัฒนธรรมไทยมที ักษะและคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
พันธกจิ โรงเรยี น
1. ม่งุ พัฒนาให้โรงเรยี นเป็นองคก์ รแห่งการเรียนรู้
2. มุ่งพัฒนาผเู้ รียนใหเ้ ปน็ บคุ คลแห่งการเรยี นร้แู ละเปน็ นวัตกร
3. ม่งุ พฒั นาผเู้ รียนใหม้ คี วามรับผดิ ชอบต่อสง่ิ แวดล้อม มจี ิตสาธารณะ มวี ินยั และคุณธรรมบน
พ้นื ฐานวัฒนธรรมไทย
4. มุ่งพัฒนาผูเ้ รียนให้มที กั ษะและคุณลกั ษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
เปา้ ประสงค์โรงเรียน
โรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ จัดการศึกษาให้กับนักเรียนที่มีความบกพร่อง
ทางการได้ยินอย่างมีประสิทธิภาพ บุคลากรในโรงเรียนมีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียน
การสอนที่เน้นนักเรียนเป็นสำคัญ สามารถปฏิบัติงานตามบทบาทและหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ
นักเรียนมีความรู้และทักษะพื้นฐานตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีคุณธรรม จริยธรรมและ
ค่านิยมที่พึงประสงค์ นักเรียนสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความสมดุลทางด้านจิตใจ ร่างกาย
สงั คม และการส่อื สาร นกั เรียนมีทกั ษะและเจตคติทางดา้ นการประกอบอาชีพที่สุจริตเป็นสมาชิกที่ดี
ของครอบครวั ชมุ ชนและสงั คม และดำเนินชวี ติ อยู่บนวิถขี องความเปน็ ไทยอยา่ งมคี วามสุข
เป้าประสงคห์ ลักสตู ร
๑. เพื่อให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มี
การพัฒนาเตม็ ตามศักยภาพ มีทกั ษะชวี ติ มีสุขภาพกายและสุขภาพจติ ดี นำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมาเปน็ แนวทางการดำเนินชีวิต เป็นผ้นู ำที่ดีของสังคมและมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
เพอ่ื การเรยี นรแู้ ละการสอื่ สารอยา่ งหลากหลาย ผ้เู รียนมีศักยภาพเป็นพลเมอื งโลก
๒. เพื่อให้สถานศึกษามีระบบการบริหารและจัดการศึกษาด้วยระบบคุณภาพ (Quality
System
Management) เพ่ือรองรับการกระจายอำนาจอย่างท่ัวถงึ
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถัมภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 3
๓. เพื่อให้บุคลากรทุกคนมีทักษะวิชาชีพในการพัฒนาการเรียนการสอนและใช้นวัตกรรม
เทคโนโลยีที่ทันสมัยยกระดับการจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล (Worle Class
standard)
๔. เพื่อให้การใช้งบประมาณและทรัพยากรของทุกหน่วยงานเป็นไปตามเป้าหมายได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลสูงสุด
สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น
๑. ความสามารถในการสือ่ สาร เป็นความสามารถในการรบั และสง่ สาร มีวัฒนธรรมในการ
ใช้ภาษาถา่ ยทอดความคิด ความรู้ ความเขา้ ใจ ความรู้สกึ และทศั นะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสารและประสบการณ์อนั จะเป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรอง
เพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับขอ้ มูลข่าวสารด้วยหลกั เหตุผลและ
ความถกู ต้อง ตลอดจนการเลือกใชว้ ธิ กี ารสือ่ สารทีม่ ีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถงึ ผลกระทบท่มี ีตอ่ ตนเอง
และสงั คม
๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์
การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์
ความรู้หรือสารสนเทศเพ่ือการตดั สินใจเก่ยี วกับตนเองและสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ
ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสม บนพื้นฐานของหลักเหตผุ ล คุณธรรม และข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสมั พนั ธแ์ ละการเปล่ียนแปลงของเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มา
ใช้ในการป้องกันและแก้ไขปญั หา และมีการตัดสนิ ใจทมี่ ีประสทิ ธิภาพ โดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบท่ีเกิดข้ึน
ต่อตนเอง สังคม และส่งิ แวดล้อม
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เปน็ ความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้
ในการดำเนินชีวิตประจำวนั การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนรู้อย่างตอ่ เนื่อง การทำงาน และการอยู่
ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความ
ขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม
และการรู้จักหลกี เล่ียงพฤตกิ รรมไม่พึงประสงคท์ ี่สง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผูอ้ นื่
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยี
ในด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการ
เรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแก้ปัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถกู ต้องเหมาะสม และมีคุณธรรม
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถมั ภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 4
คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถียรในพระราชูปถัมภ์ พุทธศักราช ๒๕๖๓ (ฉบับ
ปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั
ปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่
รว่ มกับผ้อู นื่ ในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซอ่ื สัตย์สจุ รติ
๓. มวี ินยั
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อย่อู ย่างพอเพยี ง
๖. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน
๗. รกั ความเปน็ ไทย
๘. มจี ติ สาธารณะ
คา่ นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการตามนโยบายของ คสช.
๑. มีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์
๒. ซอ่ื สัตย์ เสียสละ อดทน มอี ดุ มการณใ์ นส่งิ ท่ีดีงามเพือ่ สว่ นรวม
๓. กตญั ญูตอ่ พอ่ แม่ ผปู้ กครอง ครูบาอาจารย์
๔. ใฝห่ าความรู้ หม่นั ศกึ ษาเล่าเรยี น ท้ังทางตรงและทางออ้ ม
๕. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม
๖. มีศลี ธรรม รักษาความสตั ย์ หวังดตี ่อผอู้ นื่ เผ่ือแผแ่ ละแบง่ ปนั
๗. เขา้ ใจเรียนรู้การเปน็ ประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุขทีถ่ กู ต้อง
๘. มีระเบยี บวินยั เคารพกฎหมาย ผูน้ อ้ ยรจู้ กั การเคารพผใู้ หญ่
๙. มีสติรตู้ ัว รคู้ ิด รทู้ ำ รู้ปฏบิ ตั ิตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั
๑๐.รู้จักดำรงตนอยู่โดยใชห้ ลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งตามพระราชดำรัสของ
พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว ร้จู กั อดออมไวใ้ ชเ้ มื่อยามจำเป็น มีไว้พอกนิ พอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่าย
จำหนา่ ย และพร้อมทจ่ี ะขยายกจิ การเมื่อมีความพรอ้ ม เมือ่ มีภมู คิ ุ้มกันท่ดี ี
๑๑. มีความเข้มแข็งท้งั ร่างกาย และจิตใจ ไมย่ อมแพ้ตอ่ อำนาจฝา่ ยต่ำ หรอื กิเลส มีความ
ละอายเกรงกลวั ต่อบาปตามหลักของศาสนา
๑๒. คำนงึ ถึงผลประโยชนข์ องสว่ นรวมและของชาติ มากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 5
สว่ นท่ี ๒
โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถมั ภ์
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ พุทธศักราช ๒๕๕๓
(ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
(ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) ไดก้ ำหนดโครงสร้างของหลักสูตรสถานศึกษาเพ่ือให้ผู้สอนและผู้
ทเ่ี กยี่ วข้องในการจดั การเรียนร้ตู ามหลักสตู รของสถานศกึ ษา มแี นวปฏิบตั ิ ดงั น้ี
ระดับการศกึ ษา
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ (ฉบับปรับปรุง
พุทธศกั ราช ๒๕๖๕) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง
พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐) จัดการศกึ ษา ดงั น้ี
ระดบั ประถมศึกษา (ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๑-๖)
การศึกษาระดับนี้เป็นช่วงแรกของการศึกษาภาคบังคับ มุ่งเน้นทักษะพื้นฐานด้านการอ่าน
การเขียน การคิดคำนวณ ทักษะการคิดพื้นฐาน การติดต่อสื่อสาร กระบวนการเรียนรู้ทางสงั คมและ
พ้ืนฐานความเปน็ มนุษย์ การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ อย่างสมบูรณแ์ ละสมดุลทัง้ ในด้านร่างกาย สติปัญญา
อารมณ์ สงั คม และวัฒนธรรม โดยเน้นจดั การเรยี นรู้แบบบูรณาการ
การจัดเวลาเรียน
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ พุทธศักราช ๒๕๕๓
(ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
(ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ได้จัดเวลาเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ และ
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน โดยจดั ให้เหมาะสมตามบริบทจุดเน้นของโรงเรียน และสภาพของผเู้ รียน ดังนี้
ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖) จัดเวลาเรียนเป็นรายปี โดยมีเวลาเรียนวันละ ๖
ชั่วโมง
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถมั ภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 6
โครงสร้างหลกั สตู รสถานศึกษา
โรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถมั ภ์ โครงสรา้ งเวลาเรยี น ระดับประถมศึกษา
เวลาเรียน : ช่วั โมง/ปี
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวชิ า/ ระดับประถมศึกษา
กิจกรรม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
O กลมุ่ สาระการเรยี นรู้/วชิ าพื้นฐาน
ภาษาไทย 160 160 160 160 160 160
ฝกึ พูด 40 40 40
คณิตศาสตร์ 160 160 160 160 160 160
คณิตเทคโนโลยี 40 40 40
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 40 40 40 80 80 80
เทคโนโลยวี ทิ ยาการคำนวณ 40 40 40 40 40 40
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม 80 80 80 80 80 80
ประวัตศิ าสตร์ 40 40 40 40 40 40
สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 40 40 40 80 80 80
ศลิ ปะ 40 40 40 80 80 80
การงานอาชีพ 40 40 40 40 40 40
ภาษาอังกฤษ 120 120 120 80 80 80
รวมเวลาเรยี น (รายวชิ าพน้ื ฐาน) 840 840 840 840 840 840
O รายวชิ าเพ่ิมเติม
ภาษามอื ไทย 40 40 40 40 40 40
องั กฤษเพื่อการสอ่ื สาร 80 80 80 40 40 40
หน้าท่พี ลเมอื งตา้ นทจุ รติ 40 40 40 40 40 40
รวมเวลาเรยี น (รายวิชา 160 160 160 120 120 120
เพ่ิมเตมิ )
O กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน
กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40
กจิ กรรมนักเรียน
* ลูกเสอื /เนตรนารี 40 40 40 40 40 40
* ชมุ นมุ 30 30 30 30 30 30
กิจกรรมเพื่อสงั คม
และสาธารณประโยชน์ ** (10) (10) (10) (10) (10) (10)
รวมเวลา (กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น) 120 120 120 120 120 120
O กจิ กรรมเสรมิ หลักสตู ร
ป.1-3 ป.4-6
นาฎศิลป์ เกษตรพอเพยี ง 40 40 40 40 40 40
พลศกึ ษา คณิตเทคโนโลยี 40 40 40 40 40 40
ฝึกพดู 40 40 40
รวมกิจกรรมเสริมหลักสตู ร 80 80 80 120 120 120
รวมเวลาท้ังหมด 1200 1200
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถัมภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 7
โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษา
โรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง 2560)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2565
รหัสวชิ า กลุ่มสาระรายวชิ า จำนวน ช.ม/สปั ดาห์ จำนวน ช.ม./ปี ครูผู้สอน
รายวิชาพน้ื ฐาน
ท11101 ภาษาไทย 1 4 160 ครุสายสมร
ท11102 ฝึกพูด 1 1 40 ครูสวุ รรณา
ค11101 คณติ ศาสตร์ 1 4 160 ครูสายสมร
ค11102 คณติ เทคโนโลยี 1 1 40 ครูวศนิ
ว11101 วิทยาศาสตร์ 1 1 40 ครูสายสมร
ว11102 เทคโนโลยวี ิทยาการคำนวณ 1 1 40 ครูชิดชัย
ส11101 สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม 1 2 80 ครูสายสมร
ส11102 ประวตั ิศาสตร์ 1 1 40 ครสู ายสมร
พ11101 สุขศกึ ษา 1 1 40 ครสู ายสมร
ศ11101 ศลิ ปศกึ ษา 1 1 40 ครพู ินทุมดี
ง11101 การงานอาชพี 1 1 40 ครูสายสมร
อ11101 ภาษาอังกฤษ 1 3 120 ครอู ำภาพรรณ
รวมเวลาเรยี นรายวชิ าพน้ื ฐาน 21 840
รายวิชาเพมิ่ เตมิ
ท11201 ภาษามือไทย 1 1 40 ครญู าดา
อ11202 องั กฤษเพ่ือการส่ือสาร 1 2 80 ครสู ายสมร
ส11231 หนา้ ทีพ่ ลเมืองต้านทุจรติ 1 1 40 ครูสายสมร
รวมเวลาเรยี นรายวชิ าเพมิ่ เตมิ 4 160
กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน
ก11901 กิจกรรมแนะแนว 1 40 ครสู ายสมร
กจิ กรรมนักเรียน
ก11902 ลูกเสอื /เนตรนารี 1 40 ครูสายสมร
ก11903 กิจกรรมชมุ นมุ 1 30
ก11904 กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ 10 ครูสายสมร
รวมเวลาเรยี นกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน 3 120
กจิ กรรมเสริมหลักสูตร
ก11701 พลศกึ ษา 1 40 ครูสามารถ
ก11702 นาฎศิลป์ 1 40 ครจู ริ ฐา
รวมเวลาเรียนวชิ าเสริมหลกั สตู ร 2 80
รวมเวลาเรยี นทั้งหมด 30 1,200
หมายเหตุ - กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนน์ ำไปบูรณาการกบั กิจกรรมชมุ นุม
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถมั ภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 8
โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษา
โรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถัมภ์
หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2560)
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2565
รหัสวชิ า กลมุ่ สาระรายวิชา จำนวน ช.ม/สัปดาห์ จำนวน ช.ม./ปี ครูผสู้ อน
รายวิชาพื้นฐาน
ท12101 ภาษาไทย 2 4 160 ครุเบญจมาศ
ท12102 ฝกึ พูด 2 1 40 ครสู วุ รรณา
ค12101 คณติ ศาสตร์ 2 4 160 ครเู บญจมาศ
ค12102 คณติ เทคโนโลยี 2 1 40 ครวู ศนิ
ว12101 วทิ ยาศาสตร์ 2 1 40 ครเู บญจมาศ
ว12102 เทคโนโลยวี ทิ ยาการคำนวณ 2 1 40 ครูชดิ ชยั
ส12101 สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม 2 2 80 ครูเบญจมาศ
ส12102 ประวัตศิ าสตร์ 2 1 40 ครเู บญจมาศ
พ12101 สุขศกึ ษา 2 1 40 ครเู บญจมาศ
ศ12101 ศลิ ปศึกษา 2 1 40 ครพู นิ ทุมดี
ง12101 การงานอาชีพ 2 1 40 ครูเบญจมาศ
อ12101 ภาษาองั กฤษ 2 3 120 ครูอำภาพรรณ
รวมเวลาเรียนรายวชิ าพน้ื ฐาน 21 840
รายวชิ าเพม่ิ เติม
ท12201 ภาษามือไทย 2 1 40 ครูญาดา
อ12202 องั กฤษเพ่อื การสอื่ สาร 2 2 80 ครเู บญจมาศ
ส12232 หนา้ ท่พี ลเมอื งต้านทจุ รติ 2 1 40 ครูเบญจมาศ
รวมเวลาเรียนรายวิชาเพมิ่ เตมิ 4 160
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน
ก12901 กิจกรรมแนะแนว 1 40 ครูเบญจมาศ
กิจกรรมนกั เรยี น
ก12902 ลูกเสือ/เนตรนารี 1 40 ครเู บญจมาศ
ก12903 กจิ กรรมชุมนมุ 1 30
ก12904 กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ 10 ครเู บญจมาศ
รวมเวลาเรียนกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น 3 120
กจิ กรรมเสรมิ หลักสตู ร
ก12701 พลศึกษา 1 40 ครสู ามารถ
ก12702 นาฎศลิ ป์ 1 40 ครจู ริ ฐา
รวมเวลาเรียนวชิ าเสรมิ หลักสูตร 2 80
รวมเวลาเรยี นท้ังหมด 30 1,200
หมายเหตุ - กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์นำไปบูรณาการกับกจิ กรรมชุมนมุ
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถมั ภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 9
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถัมภ์
หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ 2560)
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2565
รหัสวิชา กล่มุ สาระรายวิชา จำนวน ช.ม/สปั ดาห์ จำนวน ช.ม./ปี ครูผ้สู อน
รายวิชาพนื้ ฐาน
ท13101 ภาษาไทย 3 4 160 ครูมัทนี
ท13102 ฝึกพูด 3 1 40 ครูสุวรรณา
ค13101 คณิตศาสตร์ 3 4 160 ครมู ัทนี
ค13102 คณิตเทคโนโลยี 3 1 40 ครูวศิน
ว13101 วทิ ยาศาสตร์ 3 1 40 ครูมัทนี
ว13102 เทคโนโลยวี ิทยาการคำนวณ 3 1 40 ครูชิดชัย
ส13101 สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม 3 2 80 ครูมทั นี
ส13102 ประวตั ศิ าสตร์ 3 1 40 ครูมทั นี
พ13101 สุขศกึ ษา 3 1 40 ครมู ัทนี
ศ13101 ศิลปศกึ ษา 3 1 40 ครพู นิ ทุมดี
ง13101 การงานอาชพี 3 1 40 ครมู ัทนี
อ12101 ภาษาอังกฤษ 3 3 120 ครูอำภาพรรณ
รวมเวลาเรียนรายวชิ าพนื้ ฐาน 21 840
รายวชิ าเพ่มิ เตมิ
ท13201 ภาษามอื ไทย 3 1 40 ครญู าดา
อ13202 องั กฤษเพอื่ การสอื่ สาร 3 2 80 ครมู ทั นี
ส13233 หน้าที่พลเมืองต้านทุจริต 3 1 40 ครูมัทนี
รวมเวลาเรยี นรายวิชาเพ่ิมเตมิ 4 160
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ก13901 กิจกรรมแนะแนว 1 40 ครูมัทนี
กจิ กรรมนักเรียน
ก13902 ลกู เสือ/เนตรนารี 1 40 ครูมัทนี
ก13903 กิจกรรมชุมนมุ 1 30
ก13904 กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ 10 ครูมทั นี
รวมเวลาเรียนกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน 3 120
กจิ กรรมเสริมหลักสตู ร
ก13701 พลศกึ ษา 1 40 ครูสามารถ
ก13702 นาฎศิลป์ 1 40 ครูจริ ฐา
รวมเวลาเรยี นวิชาเสริมหลกั สตู ร 2 80
รวมเวลาเรยี นทั้งหมด 30 1,200
หมายเหตุ - กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชนน์ ำไปบูรณาการกับกิจกรรมชมุ นมุ
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์ พุทธศกั ราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 10
โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถัมภ์
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง 2560)
ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4/1 ปกี ารศึกษา 2565
รหัสวชิ า กล่มุ สาระรายวิชา จำนวน ช.ม/สัปดาห์ จำนวน ช.ม./ปี ครูผู้สอน
รายวชิ าพนื้ ฐาน
ท14101 ภาษาไทย 4 4 160 ครูชิดชยั
ค14101 คณิตศาสตร์ 4 4 160 ครูนิศานาถ
ว14101 วทิ ยาศาสตร์ 4 2 80 ครปู ระพณิ ญา
ว14102 เทคโนโลยวี ิทยาการคำนวณ 4 1 40 ครชู ิดชยั
ส14101 สังคม ศาสนา และวฒั นธรรม 4 2 80 ครจู รฐิ า
ส14102 ประวตั ิศาสตร์ 4 1 40 ครูวศิน
พ14101 สุขศึกษา 4 1 40 ครนู ันทิดา
พ14102 พลศึกษา 4 1 40 ครูฟารดี า
ศ14101 ศิลปศึกษา 4 1 40 ครูพินทุมดี
ศ14102 นาฎศิลป์ 4 1 40 ครูจริ ฐา
ง14101 การงานอาชีพ 4 1 40 ครสู ามารถ
อ14101 ภาษาอังกฤษ 4 2 80 ครวู ชิ ชุดา
รวมเวลาเรียนรายวชิ าพื้นฐาน 21 840
รายวชิ าเพม่ิ เตมิ
ท14201 ภาษามอื ไทย 4 1 40 ครญู าดา
อ14202 องั กฤษเพือ่ การส่ือสาร 4 1 40 ครญู าดา
ส14234 หนา้ ท่ีพลเมืองตา้ นทุจรติ 4 1 40 ครชู ดิ ชัย
รวมเวลาเรยี นรายวชิ าเพมิ่ เตมิ 3 120
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน
ก14901 กิจกรรมแนะแนว 1 40 ครฟู ารีดา
กจิ กรรมนักเรยี น
ก14902 ลูกเสอื /เนตรนารี 1 40 ครชู ิดชยั
ก14903 กิจกรรมชมุ นุม 1 30
ก14904 กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ 10 ครูชิดชัย
รวมเวลาเรยี นกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน 3 120
กิจกรรมเสรมิ หลกั สตู ร
ก14701 เกษตรพอเพียง 1 40 ครสู ามารถ
ก14702 คณิตเทคโนโลยี 1 40 ครวู ศนิ
ก14703 ฝึกพูด 1 40 ครูสุวรรณา
รวมเวลาเรยี นวิชาเสริมหลกั สูตร 3 120
รวมเวลาเรยี นทั้งหมด 30 1,200
หมายเหตุ - กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์นำไปบรู ณาการกบั กิจกรรมชุมนมุ
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 11
โครงสร้างหลกั สตู รสถานศึกษา
โรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถัมภ์
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2560)
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4/2 ปีการศึกษา 2565
รหสั วิชา กลุ่มสาระรายวิชา จำนวน ช.ม/สัปดาห์ จำนวน ช.ม./ปี ครผู สู้ อน
รายวชิ าพ้นื ฐาน
ท14101 ภาษาไทย 4 4 160 ครชู ดิ ชยั
ค14101 คณติ ศาสตร์ 4 4 160 ครนู ิศานาถ
ว14101 วทิ ยาศาสตร์ 4 2 80 ครปู ระพณิ ญา
ว14102 เทคโนโลยีวทิ ยาการคำนวณ 4 1 40 ครูชิดชยั
ส14101 สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม 4 2 80 ครจู ริฐา
ส14102 ประวตั ศิ าสตร์ 4 1 40 ครวู ศนิ
พ14101 สขุ ศึกษา 4 1 40 ครูนนั ทดิ า
พ14102 พลศกึ ษา 4 1 40 ครฟู ารีดา
ศ14101 ศิลปศกึ ษา 4 1 40 ครพู นิ ทมุ ดี
ศ14102 นาฎศลิ ป์ 4 1 40 ครูจริ ฐา
ง14101 การงานอาชพี 4 1 40 ครสู ามารถ
อ14101 ภาษาองั กฤษ 4 2 80 ครวู ชิ ชดุ า
รวมเวลาเรียนรายวชิ าพน้ื ฐาน 21 840
รายวิชาเพิม่ เตมิ
ท14201 ภาษามอื ไทย 4 1 40 ครญู าดา
อ14202 อังกฤษเพือ่ การสอ่ื สาร 4 1 40 ครญู าดา
ส14234 หน้าทพ่ี ลเมืองตา้ นทจุ ริต 4 1 40 ครจู รฐิ า
รวมเวลาเรยี นรายวิชาเพมิ่ เตมิ 3 120
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น
ก14901 กิจกรรมแนะแนว 1 40 ครูฟารีดา
กิจกรรมนักเรียน
ก14902 ลูกเสอื /เนตรนารี 1 40 ครูจริ ฐา
ก14903 กจิ กรรมชมุ นุม 1 30
ก14904 กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ 10 ครจู ริ ฐา
รวมเวลาเรียนกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน 3 120
กจิ กรรมเสริมหลักสตู ร
ก14701 เกษตรพอเพียง 1 40 ครสู ามารถ
ก14702 คณิตเทคโนโลยี 1 40 ครวู ศนิ
ก14703 ฝกึ พูด 1 40 ครูสุวรรณา
รวมเวลาเรยี นวิชาเสรมิ หลักสูตร 3 120
รวมเวลาเรียนท้งั หมด 30 1,200
หมายเหตุ - กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์นำไปบรู ณาการกับกจิ กรรมชุมนมุ
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 12
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถัมภ์
หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ 2560)
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 ปีการศึกษา 2565
รหสั วชิ า กลมุ่ สาระรายวิชา จำนวน ช.ม/สัปดาห์ จำนวน ช.ม./ปี ครผู สู้ อน
รายวิชาพนื้ ฐาน
ท15101 ภาษาไทย 5 4 160 ครูวไิ ลลกั ษณ์
ค15101 คณติ ศาสตร์ 5 4 160 ครูนิศานาถ
ว15101 วทิ ยาศาสตร์ 5 2 80 ครูประพณิ ญา
ว15102 เทคโนโลยวี ิทยาการคำนวณ 5 1 40 ครูชดิ ชยั
ส15101 สังคม ศาสนา และวฒั นธรรม 5 2 80 ครจู ริ ฐา
ส15102 ประวัตศิ าสตร์ 5 1 40 ครูวศิน
พ15101 สุขศกึ ษา 5 1 40 ครนู นั ทิดา
พ15102 พลศึกษา 5 1 40 ครูฟารดี า
ศ15101 ศลิ ปศึกษา 5 1 40 ครูพนิ ทุมดี
ศ15102 นาฎศิลป์ 5 1 40 ครจู ริ ฐา
ง15101 การงานอาชีพ 5 1 40 ครูสามารถ
อ15101 ภาษาองั กฤษ 5 2 80 ครวู ิชชุดา
รวมเวลาเรียนรายวชิ าพนื้ ฐาน 21 840
รายวชิ าเพ่ิมเติม
ท15201 ภาษามือไทย 5 1 40 ครูญาดา
อ15202 อังกฤษเพ่ือการสอ่ื สาร 5 1 40 ครญู าดา
ส15235 หนา้ ทพี่ ลเมอื งต้านทจุ รติ 5 1 40 ครชู ิดชัย
รวมเวลาเรยี นรายวชิ าเพม่ิ เติม 3 120
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น
ก15901 กิจกรรมแนะแนว 1 40 ครูฟารีดา
กจิ กรรมนกั เรียน
ก15902 ลูกเสอื /เนตรนารี 1 40 ครูนศิ านาถ
ก15903 กิจกรรมชุมนุม 1 30
ก15904 กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ 10 ครูนศิ านาถ
รวมเวลาเรียนกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน 3 120
กจิ กรรมเสรมิ หลักสูตร
ก15701 เกษตรพอเพยี ง 1 40 ครูสามารถ
ก15702 คณิตเทคโนโลยี 1 40 ครูวศิน
ก15703 ฝึกพดู 1 40 ครูสุวรรณา
รวมเวลาเรียนวิชาเสริมหลักสตู ร 3 120
รวมเวลาเรยี นทง้ั หมด 30 1,200
หมายเหตุ - กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชนน์ ำไปบรู ณาการกบั กิจกรรมชุมนุม
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถมั ภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 13
โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษา
โรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถัมภ์
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2560)
ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6/1 ปีการศกึ ษา 2565
รหสั วชิ า กลมุ่ สาระรายวิชา จำนวน ช.ม/สปั ดาห์ จำนวน ช.ม./ปี ครูผูส้ อน
รายวิชาพ้นื ฐาน
ท16101 ภาษาไทย 6 4 160 ครวู ไิ ลลกั ษณ์
ค16101 คณติ ศาสตร์ 6 4 160 ครนู ศิ านาถ
ว16101 วทิ ยาศาสตร์ 6 2 80 ครปู ระพิณญา
ว16102 เทคโนโลยีวทิ ยาการคำนวณ 6 1 40 ครูชิดชยั
ส16101 สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม 6 2 80 ครูอรอนงค์
ส16102 ประวตั ศิ าสตร์ 6 1 40 ครูวศนิ
พ16101 สขุ ศึกษา 6 1 40 ครูนนั ทิดา
พ16102 พลศกึ ษา 6 1 40 ครฟู ารีดา
ศ16101 ศลิ ปศึกษา 6 1 40 ครูพนิ ทุมดี
ศ16102 นาฎศลิ ป์ 6 1 40 ครจู ริ ฐา
ง16101 การงานอาชีพ 6 1 40 ครสู ามารถ
อ16101 ภาษาองั กฤษ 6 2 80 ครูวชิ ชุดา
รวมเวลาเรียนรายวิชาพน้ื ฐาน 21 840
รายวิชาเพมิ่ เติม
ท16201 ภาษามือไทย 6 1 40 ครูญาดา
อ16202 องั กฤษเพ่ือการสอ่ื สาร 6 1 40 ครญู าดา
ส16236 หน้าที่พลเมืองต้านทจุ รติ 6 1 40 ครปู ระพิณญา
รวมเวลาเรยี นรายวชิ าเพมิ่ เติม 3 120
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน
ก16901 กจิ กรรมแนะแนว 1 40 ครฟู ารดี า
กจิ กรรมนักเรยี น
ก16902 ลกู เสือ/เนตรนารี 1 40 ครูประพิณญา
ก16903 กิจกรรมชุมนุม 1 30
ก16904 กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ 10 ครปู ระพณิ ญา
รวมเวลาเรียนกิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น 3 120
กิจกรรมเสริมหลกั สูตร
ก16701 เกษตรพอเพียง 1 40 ครูสามารถ
ก16702 คณิตเทคโนโลยี 1 40 ครวู ศิน
ก16703 ฝึกพดู 1 40 ครูสวุ รรณา
รวมเวลาเรียนวชิ าเสริมหลกั สูตร 3 120
รวมเวลาเรียนทัง้ หมด 30 1,200
หมายเหตุ - กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์นำไปบูรณาการกบั กจิ กรรมชมุ นุม
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถัมภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 14
โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศึกษา
โรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์
หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง 2560)
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6/2 ปกี ารศกึ ษา 2565
รหัสวิชา กลมุ่ สาระรายวิชา จำนวน ช.ม/สปั ดาห์ จำนวน ช.ม./ปี ครผู ้สู อน
รายวชิ าพ้ืนฐาน
ท16101 ภาษาไทย 6 4 160 ครวู ไิ ลลกั ษณ์
ค16101 คณติ ศาสตร์ 6 4 160 ครูนิศานาถ
ว16101 วิทยาศาสตร์ 6 2 80 ครปู ระพิณญา
ว16102 เทคโนโลยวี ทิ ยาการคำนวณ 6 1 40 ครชู ิดชยั
ส16101 สังคม ศาสนา และวฒั นธรรม 6 2 80 ครอู รอนงค์
ส16102 ประวัตศิ าสตร์ 6 1 40 ครูวศนิ
พ16101 สขุ ศึกษา 6 1 40 ครูนันทิดา
พ16102 พลศึกษา 6 1 40 ครฟู ารดี า
ศ16101 ศลิ ปศกึ ษา 6 1 40 ครพู ินทมุ ดี
ศ16102 นาฎศิลป์ 6 1 40 ครูจริ ฐา
ง16101 การงานอาชพี 6 1 40 ครูสามารถ
อ16101 ภาษาอังกฤษ 6 2 80 ครูวชิ ชดุ า
รวมเวลาเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน 21 840
รายวิชาเพมิ่ เตมิ
ท16201 ภาษามอื ไทย 6 1 40 ครูญาดา
อ16202 อังกฤษเพื่อการส่อื สาร 6 1 40 ครูญาดา
ส16236 หนา้ ท่พี ลเมอื งตา้ นทจุ ริต 6 1 40 ครูวศิน
รวมเวลาเรียนรายวชิ าเพมิ่ เตมิ 3 120
กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น
ก16901 กจิ กรรมแนะแนว 1 40 ครูฟารีดา
กจิ กรรมนักเรยี น
ก16902 ลกู เสือ/เนตรนารี 1 40 ครวู ศนิ
ก16903 กิจกรรมชมุ นมุ 1 30
ก16904 กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ 10 ครวู ศนิ
รวมเวลาเรียนกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน 3 120
กิจกรรมเสริมหลกั สตู ร
ก16701 เกษตรพอเพยี ง 1 40 ครสู ามารถ
ก16702 คณิตเทคโนโลยี 1 40 ครูวศนิ
ก16703 ฝกึ พดู 1 40 ครสู ุวรรณา
รวมเวลาเรียนวชิ าเสริมหลกั สตู ร 3 120
รวมเวลาเรยี นทั้งหมด 30 1,200
หมายเหตุ - กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์นำไปบรู ณาการกับกจิ กรรมชมุ นุม
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถมั ภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 15
สว่ นที่ ๓
คำอธบิ ายรายวิชา
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ พุทธศักราช ๒๕๕3
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
(ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ได้กำหนดคำอธิบายรายวิชาของวิชาต่าง ๆ ที่สอนในแต่ละปี
การศึกษา ซึง่ ประกอบดว้ ย ช่ือรหัสวชิ า ชือ่ รายวิชา จำนวนชั่วโมงต่อปี ตวั ชว้ี ัด และสาระการเรียนรู้
รายปี
คำอธบิ ายรายวชิ าจะช่วยใหผ้ ู้สอนจัดหน่วยการเรยี นรู้ในแต่ละช้ันปี ไดส้ อดคลอ้ งกับมาตรฐาน
การเรียนรู้ เนอ่ื งจากคำอธิบายรายวชิ าจะรวมสาระการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนต้องเรียนร้ตู ลอดทง้ั ปี กลุ่มของ
สาระการเรียนรู้ตลอดปีจะมีจำนวนมาก ดังนั้น การจัดเป็นหน่วยการเรยี นรู้หลาย ๆ หน่วย จะช่วยให้
กล่มุ ของสาระการเรียนรมู้ ีขนาดเลก็ ลง และบรู ณาการไดห้ ลากหลายมากข้ึน
โรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ ได้กำหนดรายละเอียดของคำอธิบายรายวิชา
ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ เรียงตามลำดบั ไว้ ดงั น้ี
๑. คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย
๒. คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
๓. คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
๔. คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน กล่มุ สาระการเรียนร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
๕. คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ุขศึกษาและพลศกึ ษา
๖. คำอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ
๗. คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
๘. คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ)
9. คำอธิบายรายวิชาเพม่ิ เตมิ วชิ าภาษามือไทย
10. คำอธิบายรายวชิ าเพม่ิ เตมิ วชิ าอังกฤษเพือ่ การสื่อสาร
11. คำอธิบายรายวิชาเพม่ิ เติม วชิ าหนา้ ทพี่ ลเมืองตา้ นทุจรติ
๑2. คำอธิบายรายวชิ ากิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น กจิ กรรมแนะแนว
๑3. คำอธบิ ายรายวิชากิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น กจิ กรรมนกั เรียน (ลกู เสือ/เนตรนารี ชุมนุม)
14. คำอธิบายรายวิชากจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
15. คำอธิบายรายวชิ ากจิ กรรมเสรมิ หลักสตู ร นาฎศิลป์
16. คำอธิบายรายวิชากิจกรรมเสริมหลกั สูตร พลศกึ ษา
17. คำอธบิ ายรายวิชากจิ กรรมเสริมหลักสูตร เกษตรพอเพยี ง
18. คำอธบิ ายรายวิชากิจกรรมเสริมหลักสูตร คณิตเทคโนโลยี
19. คำอธิบายรายวิชากิจกรรมเสริมหลักสตู ร ฝกึ พูด
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถัมภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 16
คำอธบิ ายรายวิชา
กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถมั ภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 17
กล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน รายวชิ า ภาษาไทยพ้นื ฐาน
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1 รหัสวิชา ท11101 จำนวน 5 หน่วยกติ
เวลา 200 ชว่ั โมง
ศึกษาการอ่านและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และตัวเลขไทย การสะกดคํา การอ่าน
แบบแจกลูก และการอ่านเป็นคํา การอ่านและเขียนตัวสะกดที่ตรงมาตราและไม่ตรงมาตรา การผัน
วรรณยุกต์ และความหมายของคาํ ข้อความ และประโยค คําที่มีรูปวรรณยุกต์และไม่มรี ปู วรรณยกุ ต์
เรื่องสั้น วิธีการอ่าน ร้อยแก้วและบทอาขยาน มารยาทในการพูดสื่อสารในชีวิตประจำวัน การฟัง
คำแนะนํา คำสั่ง และการปฏิบัติ อย่างมีมารยาท การพูดแสดงความคิดเห็น และใช้ถ้อยคําสุภาพตอ่
สิ่งที่ฟัง อ่าน หรือดู ศึกษาการคิดวิเคราะห์ จากการอ่านหรือฟังวรรณกรรมในท้องถิ่น มีมารยาทใน
การอา่ นและท่องจำบทอาขยานตามท่กี ําหนดให้ เขยี น เรอ่ื งจากภาพ และบอกข้อคิดจากวรรณกรรม
ร้อยแกว้ และร้อยกรองสำหรับเด็ก
โดยใช้ทักษะกระบวนการทางภาษา ทั้งในด้านการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน
กระบวนการ ปฏิบตั ิ กระบวนการกลมุ่ และกระบวนการคดิ
เพ่ือใหเ้ กิดเจตคติท่ีดีต่อการเรยี นวชิ าภาษาไทย ตง้ั ใจเรยี นและมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมการเรียน
ค้นคว้า หาความรจู้ ากแหลง่ ความรตู้ ่าง ๆ อย่างสม่ำเสมอ มคี วามรอบคอบในการทำงาน ใช้ภาษาไทย
ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง เหมาะสม มีมารยาทในการฟัง การพดู การอ่าน และการเขยี น และมีนิสัยรักการอ่าน
การเขยี น
มาตรฐาน/ตวั ชว้ี ัด
ท 1.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5, ป.1/6, ป.1/7, ป.1/8
ท 2.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
ท 3.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5
ท 4.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4
ท 5.1 ป.1/1, ป.1/2
รวมทง้ั หมด 22 ตวั ช้ีวัด
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 18
กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน รายวชิ า ภาษาไทยพ้ืนฐาน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 รหัสวชิ า ท12101 จำนวน 5 หนว่ ยกติ
เวลา 200 ชวั่ โมง
ฝึกอ่านออกเสียงคํา คําคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่าย ๆ อธิบายความหมายของ
คาํ และข้อความทอ่ี ่าน ตั้งคําถาม ตอบคําถาม ระบุใจความสำคัญและรายละเอยี ดแสดงความคิดเห็น
และ คาดคะเนเหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนําเสนอเรื่องที่อ่าน
อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคำสั่งหรือข้อแนะนํา มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือ
ด้วยตวั บรรจงเตม็ บรรทดั เขียนเรื่อง
สั้น ๆ เกีย่ วกับประสบการณ์เขียนเร่ืองสัน้ ๆ ตามจินตนาการมีมารยาทในการเขียน ฝึกทักษะการฟัง
ฟงั คำแนะนาํ คำสง่ั และปฏบิ ตั ติ าม เลา่ เรอื่ งบอกสาระสำคัญของเรื่อง ตั้งคําถามตอบคําถาม พูดแสดง
ความคิดเห็นความรู้สึก พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถปุ ระสงค์ มีมารยาทในการฟังการดูและการ
พูด ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคําและบอกความหมาย
ของคาํ เรียบเรยี งคาํ เปน็ ประโยคได้ตรงตามเจตนาของการส่ือสาร บอกลกั ษณะคาํ คลอ้ งจอง เลือกใช้
ภาษาไทยและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ฝึกจับใจความสำคัญจากเรื่อง ระบุข้อคิดที่ได้จาก
การอ่านหรือการฟังวรรณกรรม สำหรับเด็กเพ่ือนําไปใช้ในชีวิตประจำวัน ร้องบทร้องเล่นสำหรบั เด็ก
ในทอ้ งถิ่น ท่องจำบทอาขยานตามท่ีกำหนดและบทร้อยกรองท่ีมคี ณุ คา่ ตามความสนใจ
โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการสือ่ ความ กระบวนการแกป้ ัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก
การตั้งคําถาม ตอบคําถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการ
สร้างความคิดรวบยอด
เพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สือ่ สารไดถ้ กู ต้อง รกั การเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่า
ของ การอนุรักษภ์ าษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนําความรู้ไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนโ์ ดยใชห้ ลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนาํ ไปประยกุ ตใ์ ช้กับชวี ติ ประจำวนั ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
ท 1.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7, ป.2/8
ท 2.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4
ท 3.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5 ป.2/6, ป.2/7
ท 4.1 ป.2/1.ป.2/2,ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5
ท 5.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3
รวมทง้ั หมด 27 ตวั ช้ีวัด
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถมั ภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 19
คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน
กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รหัสวิชา ท13101 รายวชิ า ภาษาไทยพนื้ ฐาน
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3
เวลา 200 ชว่ั โมง จำนวน 5 หน่วยกติ
ฝกึ อ่านออกเสยี งคํา ขอ้ ความ เรอื่ งสนั้ ๆ และบทร้อยกรองงา่ ย ๆ อธิบายความหมายของคํา
และ ข้อความที่อ่านตั้งคําถาม ตอบคําถามเชิงเหตุผล ลำดับเหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุป
ความรู้ข้อคิดจาก เรื่องที่อ่าน เพื่อนําไปใช้ในชีวิตประจำวัน เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่าง
สม่ำเสมอและนาํ เสนอเร่อื งท่อี า่ น อ่านขอ้ เขยี นเชิงอธิบาย และปฏิบตั ติ ามคำส่ังหรอื ขอ้ แนะนําอธิบาย
ความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ มีมารยาทในการอ่านฝึกคัดลายมือด้วยตัว
บรรจงเต็มบรรทดั เขยี นบรรยาย เขียนบนั ทกึ ประจำวัน เขยี นเร่ืองตามจินตนาการ มีมารยาทในการ
เขียน ฝกึ ทักษะการฟงั การดูและการพูด เลา่ รายละเอยี ด บอกสาระสำคัญตงั้ คําถาม ตอบคาํ ถาม พูด
แสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตาม วัตถุประสงค์ มีมารยาทในการฟังการดู
และการพูด ฝึกเขียนตามหลักการเขยี น เขียนสะกดคําและบอก ความหมายของคํา ระบุชนิด หน้าท่ี
ของคํา ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคํา แต่งประโยคง่าย ๆ แต่งคํา คล้องจองและคําขวัญ
เลือกใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่นิ ได้เหมาะสมกบั กาลเทศะ
ระบุข้อคดิ ทไี่ ด้จากการอา่ นวรรณกรรมเพ่อื นําไปใช้ในชีวิตประจำวนั รู้จักเพลงพ้นื บ้าน เพลง
กล่อมเด็ก เพื่อปลูกฝังความชื่นชมวัฒนธรรมท้องถิ่น แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดีที่อ่าน
ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทรอ้ ยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจโดยใช้กระบวนการอ่าน
กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์
กระบวนการสื่อความ กระบวนการ แก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคําถาม ตอบ
คาํ ถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพดู พดู แสดงความคิดเหน็ กระบวนการสรา้ งความคดิ รวบยอด
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้องและสามารถแยกแยะตัดสินใจ
วเิ คราะหข์ อ้ มลู จากเรือ่ งท่อี ่านและสอื่ ตา่ ง ๆ มีความภาคภูมใิ จ รักการเรยี นภาษาไทย เหน็ คณุ ค่าของ
การอนุรักษ์ภาษาไทย และตวั เลขไทย สามารถนาํ ความร้ไู ปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์โดยใชห้ ลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนําไปประยุกต์ใชก้ ับชวี ติ ประจำวันไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตวั ช้วี ัด
ท 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8,ป.3/9
ท 2.1 ป.3/1,ป.3/2,ป.3/3,ป.3/4,ป.3/5,ป.3/6
ท 3.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6
ท 4.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6
ท 5.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4
รวมท้งั หมด 31 ตัวชวี้ ัด
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 20
คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รหัสวชิ า ท14101 รายวิชา ภาษาไทยพน้ื ฐาน
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4
เวลา 160 ช่วั โมง จำนวน 4 หนว่ ยกิต
ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคํา ประโยคและ
สํานวน จากเรื่องที่อ่าน อ่านเรื่องสั้นตามเวลาที่กำหนด ตั้งคําถามตอบคําถามแยกข้อเท็จจริงและ
ข้อคดิ เหน็ คาดคะเนเหตุการณจ์ ากเรือ่ งท่ีอ่าน โดยระบุเหตผุ ลประกอบ สรปุ ความรูแ้ ละข้อคิดจากเรื่อง
ที่อ่าน เลือกอ่านหนังสือทม่ี ี คณุ คา่ ตามความสนใจ มีมารยาทในการอ่าน การคดั ลายมอื ดว้ ยตวั บรรจง
เต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียน สื่อสาร เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิด ย่อความ
เขียนจดหมายถึงเพื่อนและผู้ปกครองเขียน บันทึกและรายงานจากการศกึ ษาค้นคว้า เขียนเรื่องตาม
จนิ ตนาการ มารยาทในการเขียน จาํ แนกข้อเทจ็ จริงและ ขอ้ คดิ เห็น จากเร่ืองที่ฟังและดู พดู สรุปความ
พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกเก่ยี วกับเรอ่ื งท่ฟี งั และดูตง้ั คําถาม และตอบคาํ ถามเชิงเหตุผลจาก
เรื่องที่ฟังและดู พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา มี
มารยาทในการฟัง การดูและการพูดเขียนสะกดคําและบอกความหมายของคําในบริบท ต่าง ๆ ระบุ
ชนิดและหน้าที่ของคําในประโยค ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคํา การแต่งประโยคแต่งบท
ร้อยกรองและคําขวัญบอกความหมายของสํานวน เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้
ระบุข้อคิด จากนิทานพื้นบ้านหรอื นิทานคติธรรม อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนําไปใช้ในชีวิตจรงิ
ร้องเพลงพ้นื บ้าน ทอ่ งจำบทอาขยานตามท่ีกำหนดและบทร้อยกรองท่มี คี ุณค่าตามความสนใจ
โดยใช้กระบวนการอา่ น กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการ กลุ่ม
กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณกระบวนการสื่อความ
กระบวนการแกป้ ัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บนั ทกึ การตงั้ คําถาม ตอบคาํ ถามใช้ทกั ษะการฟงั การดู
และการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอดเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด
ความเขา้ ใจ และส่อื สารได้ถกู ต้อง
เห็นคณุ ค่าของภาษาไทยและมีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนวิชาภาษาไทย มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต ใฝ่
เรียนรู้มุ่งมั่นในการทำงาน มีความรับผิดชอบ นําความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ใน
ชีวติ ประจำวัน และใหเ้ กิดผลสัมฤทธท์ิ างภาษาคงไว้ซ่งึ เอกลกั ษณแ์ ละมรดกของชาติ
มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด
ท 1.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7, ป.4/8
ท 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7, ป.4/8
ท 3.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6
ท 4.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7
ท 5.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4
รวมท้งั หมด 33 ตวั ชว้ี ดั
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์ พุทธศกั ราช 2553
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 21
กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน รายวิชา ภาษาไทยพื้นฐาน
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 5 รหัสวิชา ท15101 จำนวน 4 หน่วยกติ
เวลา 160 ชั่วโมง
การอา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง ความหมายของคํา ประโยคและขอ้ ความที่
เป็นกาบรรยายและการพรรณนา คําท่มี ีความหมายโดยนัย งานเขียนเชิงอธบิ าย คำส่ัง ข้อแนะนาํ และ
ปฏบิ ตั ติ าม เลอื กอา่ นหนังสอื ท่มี ีคุณค่าตามความสนใจ มีมารยาทในการอา่ น การคัดลายมือ การเขียน
สื่อสาร แผนภาพโครงเร่อื ง แผนภาพความคิด ย่อความ จดหมายถึงผปู้ กครองและญาติ การเขยี นแสดง
ความรู้สึกและความคิดเหน็ กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนเรือ่ งตามจนิ ตนาการ เขียนบันทึกและ
รายงานจากการศกึ ษาค้นควา้ มมี ารยาทในการเขียน พดู แสดงความรู้ ความคิดเหน็ และความรู้สกึ พูด
รายงาน พูดสรปุ ความ พดู แสดงความคดิ เห็นและความร้สู ึกเกี่ยวกับเรอื่ งทีฟ่ งั และดู ตง้ั คาํ ถามและตอบ
คําถามเชิงเหตุผลจากเร่อื งทีฟ่ ังและดู มมี ารยาทในการฟังการดู การพูด ชนดิ และหนา้ ท่ีส่วนประกอบ
ของคำในประโยค เปรยี บเทยี บภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถน่ิ ใช้คำราชาศัพท์ บอกคำ
ภาษาตา่ งประเทศ การแต่งบทรอ้ ยกรองชำ้ สนวนไดถ้ ูกตอ้ ง การสรุปเรื่องและขอ้ คิดจากวรรณคดีหรอื
วรรณกรรมทอี่ า่ น ทอ่ งบทอาขยานตามทีก่ ำหนดและบทร้อยกรองทม่ี คี ณุ ค่าตามความสนใจ
โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุม่
กระบวนการคิดวิเคราะห์การเขียน กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณกระบวนการและการพดู พูด
แสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอดเพื่อให้เกดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ และ
สอ่ื สารไดถ้ ูกตอ้ ง
เห็นคุณคา่ ของการอนุรักษ์ภาษาไทยและตวั เลขไทยมีวนิ ัยซื่อสตั ย์สุจริต ใฝร่ ใู้ ฝเ่ รยี น ม่งุ มั่นใน
การทำงาน อยู่อยา่ งพอเพียง มีจิตสาธารณะ สามารถนําความร้ไู ปใช้ให้เกิดประโยชนใ์ นชวี ิตประจำวัน
ไดอ้ ย่าง ถกู ต้องเหมาะสม
มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั
ท 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7, ป.5/8
ท 2.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7, ป.5/8, ป.5/9
ท 3.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5,
ท 4.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7
ท 5.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4
รวมทั้งหมด 33 ตวั ช้วี ดั
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถมั ภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 22
คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย รหัสวชิ า ท16101 รายวชิ า ภาษาไทยพ้นื ฐาน
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6
เวลา 160 ชวั่ โมง จำนวน 4 หนว่ ยกิต
ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคํา ประโยคและ
ข้อความทเี่ ปน็ โวหาร อ่านเร่อื งส้นั ๆ อย่างหลากหลาย แยกขอ้ เท็จจรงิ และขอ้ คิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
วเิ คราะห์ และแสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกบั เรอ่ื งท่อี ่าน เพอื่ นาํ ไปใชใ้ นการดำเนินชวี ิต อา่ นงานเขียนเชิง
อธิบาย คำสั่ง ข้อแนะนํา และปฏิบัติตาม อธิบายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนที่
แผนภูมิและกราฟ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจและอธบิ ายคุณค่าที่ได้รับ มีมารยาทในการอ่าน
ฝึกคัดลายมือดว้ ยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึง่ บรรทดั เขียนสื่อสารโดยใช้คําได้ถกู ตอ้ ง ชัดเจน และ
เหมาะสมเขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางาน เขียนเขียนเรียงความ
เขียนข้อความจากเรื่องที่อ่าน เขียนจดหมายส่วนตัว กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนเรื่องตาม
จินตนาการและสรา้ งสรรค์ มีมารยาทในการเขยี น ฝึกทักษะการฟงั การดแู ละการพดู พูดแสดงความรู้
ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องที่ฟังและดู วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดูสื่อโฆษณา
อยา่ งมเี หตุผล พูดรายงานเร่ืองหรอื ประเดน็ ที่ศึกษาคน้ คว้าจากการฟัง การดแู ละการ สนทนาพูดโน้ม
น้าวอยา่ งมีเหตุผลและน่าเชอ่ื ถือ มีมารยาทในการฟงั การดแู ละการพูด ฝกึ วิเคราะหช์ นิดและ หน้าท่ี
ของคําในประโยค ใช้คําได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล รวบรวมและบอกความหมายของคํา
ภาษาตา่ งประเทศทีใ่ ชใ้ นภาษาไทย ระบลุ ักษณะของประโยค แตง่ บทร้อยกรอง วเิ คราะห์เปรียบเทียบ
สํานวนที่เป็นคําพังเพยและสุภาษิต ฝึกแสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน เล่า
นิทานพื้นบ้านท้องถ่ินตนเองและนิทานพื้นบ้านของท้องถิ่นอื่น อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและ
วรรณกรรมท่ีอ่านและนาํ ไปประยุกตใ์ ช้ ในชวี ติ จริง ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทรอ้ ย
โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลมุ่
กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ กระบวนการสื่อความ
กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการสังเกต กระบวนการแยกแยะข้อเท็จจริง กระบวนการค้นคว้า
กระบวนการ ใช้เทคโนโลยี ในการสื่อสาร กระบวนการใช้ทักษะทางภาษา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย
บันทึก การตั้งคําถาม ตอบคําถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น
กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด
เพือ่ ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สอื่ สารไดถ้ ูกต้อง รกั การเรยี นภาษาไทย เห็นคุณค่า
ของ การอนรุ ักษภ์ าษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนําความรไู้ ปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธีการของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนาํ ไปประยุกต์ใช้กบั ชีวิตประจำวนั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัด
ท 1.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8, ป.6/9
ท 2.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8, ป.6/9
ท 3.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6
ท 4.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6 ท 5.1 ป.61/, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4
รวมทงั้ หมด 34 ตวั ชี้วัด
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์ พุทธศกั ราช 2553
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 23
คำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถมั ภ์ พุทธศกั ราช 2553
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 24
คำอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน
รหสั วชิ า ค๑๑๑๐๑ รายวิชา คณิตศาสตร์ ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ เวลาเรยี น 160 ช่ัวโมง/ปี
ศกึ ษาเรยี นรกู้ ารเขยี นและอา่ นตวั เลขฮนิ ดูอารบิก และตวั เลขไทยแสดงปริมาณของสิ่งของ
หรือจำนวนนับ การเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับที่ไม่เกินหนึ่งร้อยและศูนย์ การบวก ลบ
และบวก ลบระคน การวเิ คราะห์และหาคำตอบของโจทย์ปัญหา และโจทยป์ ัญหาระคนของจำนวนนับ
ไม่เกินหนึ่งร้อยและศูนย์ พร้อมทั้ง ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ การบอกความยาว
นำ้ หนัก ปรมิ าตรและความจุ โดยใชห้ น่วยทไี่ ม่ใชห่ น่วยมาตรฐาน การบอกชว่ งเวลา จำนวนวนั และช่ือ
วันใน สัปดาห์ การจำแนกรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปวงกลม รูปวงรี การบอกจำนวนและ
ความสัมพันธ์ในแบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นทีละ ๑ ทีละ ๒ และลดลงทีละ ๑ การบอกรูปและ
ความสมั พันธใ์ นแบบรูปของรูปทม่ี ีรูปร่าง ขนาด หรือสีทสี่ มั พนั ธก์ ันอย่างใดอย่างหนึ่ง การใช้วิธีการที่
หลากหลายแก้ปัญหา การใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาใน
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม การให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่าง
เหมาะสม การใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการ
นำเสนอได้อย่างถูกต้อง การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับ
ศาสตร์อนื่ ๆ การมีความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์
โดยใช้ทักษะ การคิดคำนวณ วิเคาระหข์ อ้ มูลจากการเขียน และอา่ นจำนวนนับ เพือ่ ให้เกิด
กระบวนการใช้ความคดิ และความเขา้ ใจ ในการนำทักษะคณติ ศาสตร์ไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั
มีความสามารถในการนำทักษะคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง ครบ
กระบวนการ เรอื่ งจำนวนนับ การบวก ลบ การวิเคราะห์คณติ ศาสตร์ มเี จตคตทิ ี่ดตี ่อวิชาคณิตศาสตร์
รหสั ตัวชี้วดั
ค ๑.๑ ป๑/๑ ป๑/๒
ค ๑.๒ ป๑/๑ ป๑/๒
ค ๒.๑ ป๑/๑ ป๑/๒
ค ๓.๑ ป๑/๑
ค ๔.๑ ป๑/๑ ป๑/๒
ค ๖.๑ ป๑/๑ ป๑/๒ ป๑/๓ ป๑/๔ ป๑/๕ ป๑/๖
รวม ๑๕ ตัวชี้วดั
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถมั ภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 25
คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน
รหัสวชิ า ค๑๑๒๐๑ รายวชิ า คณิตศาสตร์ ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ เวลาเรยี น 160 ชวั่ โมง/ปี
ศกึ ษาเรียนรู้การเขียนและอ่านตวั เลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย และตัวหนังสอื แสดงปริมาณ
ของสิ่งของจำนวนนับที่ไม่เกินหนึ่งพัน และศูนย์ การเปรียบเทียบและเรยี งลำดับจำนวนนับไมเ่ กิน
หนึ่งพันและศูนย์ การบวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หาร ระคนของจำนวนนับ ไม่เกินหนึ่งพนั
และศูนย์ พร้อมทัง้ ตระหนกั ถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ การวิเคราะหแ์ ละหาคำตอบของโจทย์
ปัญหาและโจทย์ปัญหาระคนของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งพันและศูนย์พร้อมทั้งตระหนักถึงความ
สมเหตุสมผลของคำตอบ การบอกความยาวเป็นเมตร และเซนติเมตร และเปรียบเทยี บความยาวใน
หน่วยเดียวกัน บอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและขีด และเปรียบเทียบน้ำหนักในหน่วยเดียวกัน บอก
ปริมาตรและความจุ เป็นลิตรและเปรียบเทยี บปริมาตร เงินและธนบัตร บอกเวลาบนนาฬิกา(ชว่ ง ๕
นาที) วันเดือนปีจากปฏิทิน การแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัดความยาว การชั่ง การตวง และเงิน การ
บอกชนดิ ของรูปเรขาคณิตสองมิตวิ า่ เป็นรปู สามเหล่ียม รูปส่เี หลย่ี ม รูปวงกลม หรอื รปู วงรี การบอก
ชนิดของรูปเรขาคณิตสามมิติว่าเป็นทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม หรือทรงกระบอก การจำแนก
ระหว่างรูปสีเ่ หล่ยี มมุมฉากกับทรงสี่เหลยี่ มมมุ ฉาก และรูปวงกลมกับทรงกลม การเขียนรูปเรขาคณิต
สองมติ โิ ดยใช้แบบของ รปู เรขาคณิต การบอกจำนวนและความสัมพนั ธใ์ นแบบรูปของจำนวนทีเ่ พม่ิ ขึ้น
ทลี ะ ๕ ทีละ ๑๐ ทีละ ๑๐๐ และลดลงทีละ ๒ ทีละ ๑๐ ทลี ะ ๑๐๐ การบอกรูปและความสัมพันธใ์ น
แบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง ขนาด หรือสีที่ สัมพันธ์กันอย่างใดอย่างหนึ่ง การใช้วิธีการที่หลากหลาย
แก้ปญั หา การใชค้ วามรู้ ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม การให้เหตผุ ลประกอบการตดั สินใจ และสรปุ ผลไดอ้ ย่างเหมาะสม การใช้ภาษาและ
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง การ
เชื่อมโยงความรู้ตา่ ง ๆ ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ การมีความคิดริเร่ิม
สร้างสรรค์
โดยใช้ทักษะ การคิดคำนวณ วิเคาระห์ข้อมูลจากการเขียน และอ่านจำนวนนับ
การเปรียบเทียบ การเรยี งลำดับจำนวนเพ่ือให้เกิดกระบวนการใชค้ วามคดิ และความเข้าใจ ในการนำ
ทักษะคณติ ศาสตร์ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน
มีความสามารถในการนำทักษะคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง ครบ
กระบวนการ เรื่องจำนวนนับ การบวก ลบ การเปรียบเทียบ การเรียงลำดับจำนวน การวิเคราะห์
คณติ ศาสตร์ มเี จตคตทิ ด่ี ีต่อวิชาคณติ ศาสตร์
รหสั ตัวชี้วัด
ค ๑.๑ ป.๒/๑-๒ ค ๑.๒ ป.๒/๑-๒
ค ๒.๑ ป.๒/๑-๖ ค ๒.๒ ป.๒/๑
ค ๓.๑ ป.๒/๑-๓ ค ๓.๒ ป.๒/๑
ค ๔.๑ ป.๒/๑-๒ ค ๖.๑ ป.๒/๑-๖
รวม ๑๙ ตวั ชี้วัด
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถัมภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 26
คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน
รหัสวิชา ค๑๑๓๐๑ รายวิชา คณิตศาสตร์ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ เวลาเรียน 160 ชว่ั โมง/ปี
................................................................................................................................................................
ศึกษาเรียนรู้การเขียนและอ่านตวั เลขฮินดอู ารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงปริมาณ
ของสิ่งของหรือจำนวนนับที่ไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์ การเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนบั ไม่
เกินหนึ่งแสนและศูนย์ การบวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนับไม่เกินหนง่ึ
แสน และศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ การวิเคราะห์และแสดงวิธีหา
คำตอบของโจทย์ปัญหาและโจทย์ปัญหาระคนของ จำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์พร้อมทั้ง
ตระหนักถึงความสมเหตุ สมผลของคำตอบและสร้างโจทย์ได้ การบอก ความยาวเป็นเมตร
เซนติเมตร และมลิ ลิเมตร เลือกเครือ่ งวัดท่ีเหมาะสม และเปรยี บเทียบ ความยาว การบอกน้ำหนัก
เปน็ กิโลกรมั กรัม และขีด เลือกเครอื่ งช่ังท่ีเหมาะสม และเปรียบเทียบนำ้ หนกั การบอกปริมาตร
และความจุเป็นลิตร มิลลิลิตร เลือกเครื่องตวงที่เหมาะสม และเปรียบเทียบปริมาตรและความจุใน
หน่วยเดียวกัน บอกเวลาบนหน้าปัดนาฬิกา (ช่วง ๕ นาที) อ่านและเขียนบอกเวลาโดยใช้จุด การ
บอกความสัมพนั ธข์ องหนว่ ยการวัด ความยาว นำ้ หนกั และเวลา การอ่านและเขียนจำนวนเงนิ โดยใช้
จุด การแก้ปญั หาเกย่ี วกบั การวัดความยาว การช่งั การตวง เงนิ และเวลา การอ่านและเขยี นบันทึก
รายรับรายจ่าย การอ่านและเขียนบันทึกกิจกรรมหรือเหตุการณ์ที่ระบุเวลา การบอกชนิดของรูป
เรขาคณิตสองมิติที่เป็นส่วนประกอบของสิ่งของที่มีลักษณะเป็นรูปเรขาคณิตสามมิติ การระบุรูป
เรขาคณิตสองมิติ ที่มีแกนสมมาตรจากรูปที่กำหนดให้ การเขียนชื่อจุด เส้นตรง รังสี ส่วนของ
เส้นตรง มุม และเขยี นสัญลกั ษณ์ การเขียนรูปเรขาคณิตสองมิตทิ กี่ ำหนดให้ในแบบต่างๆ การบอกรูป
เรขาคณติ ตา่ ง ๆ ท่ีอยใู่ นสงิ่ แวดลอ้ มรอบตวั การบอกจำนวนและความสมั พันธใ์ นแบบรปู ของจำนวนที่
เพิ่มขึ้นทีละ ๓ ทีละ ๔ ทีละ ๒๕ ทีละ ๕๐ และลดลงทีละ ๓ ทีละ ๔ ทีละ ๕ ทีละ ๒๕ ทีละ ๕๐
และแบบรูปซ้ำ บอกรูปและความสมั พนั ธ์ในแบบรูปของรปู ทม่ี ีรูปร่าง ขนาด หรือสีท่สี ัมพันธ์กันสอง
ลักษณะ การรวบรวมและจำแนกข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวที่พบเห็นใน
ชีวิตประจำวนั การอ่านข้อมลู จากแผนภมู ิรูปภาพแลแผนภมู ิแท่งอย่างง่าย การใชว้ ธิ ีการทหี่ ลากหลาย
แก้ปัญหา การใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ
ไดอ้ ย่างเหมาะสม การใหเ้ หตผุ ลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม การใชภ้ าษาและ
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง การ
เชอ่ื มโยงความรู้ต่างๆ ในคณติ ศาสตรแ์ ละเชื่อมโยงคณิตศาสตรก์ ับศาสตร์อนื่ ๆ การมีความคิดริเร่ิม
สรา้ งสรรค์
โดยใช้ทักษะ การคิดคำนวณ วิเคาระห์ข้อมูลจากการเขียน และอ่านจำนวนนับ โจทย์
ปัญหาเพื่อให้เกิดกระบวนการใช้ความคิดและความเข้าใจ ในการนำทักษะคณิตศาสตร์ไปใช้ใน
ชีวติ ประจำวนั
มีความสามารถในการนำทักษะคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง ครบ
กระบวนการ เรอ่ื งจำนวนนับ โจทยป์ ญั หา การวิเคราะห์คณิตศาสตร์ มีเจตคติทดี่ ีตอ่ วชิ าคณติ ศาสตร์
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 27
รหสั ตัวชว้ี ดั
ค ๑.๑ ป๓/๑-๒ ค ๑.๒ ป๓/๑-๒
ค ๒.๑ ป๓/๑-๖ ค ๒.๒ ป๓/๑-๓
ค ๓.๑ ป๓/๑-๓ ค ๓.๒ ป๓/๑-๒
ค ๔.๑ ป๓/๑ – ๒
ค ๕.๑ ป๓/๑-๒
ค ๖.๑ ป๓/๑-๖
รวม ๒๘ ตัวชว้ี ัด
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถมั ภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 28
คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน
รหัสวชิ า ค๑๑๔๐๑ รายวชิ า คณติ ศาสตร์ ๔ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ เวลาเรยี น ๑๖๐ ชั่วโมง/ปี
......................................................................................................................................................
ศึกษาเรียนรู้การเขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดง
จำนวนนับ ศนู ย์ เศษส่วน และทศนยิ มหนง่ึ ตำแหน่ง การเปรียบเทียบและเรยี งลำดับจำนวนนับและ
ศูนยเ์ ศษส่วน และทศนิยมหนึง่ ตำแหนง่ การบวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คณู หารระคนของจำนวน
นับและศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ การวิเคราะห์และแสดงวิธีหา
คำตอบของโจทย์ปัญหาและโจทย์ปัญหาระคนของจำนวนนับและศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความ
สมเหตุสมผลของคำตอบ และสร้างโจทย์ได้ การบวกและลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน การบอก
ความสัมพันธ์ของหน่วยการวัดความยาว น้ำหนกั ปริมาตรหรอื ความจุ และเวลา การหาพื้นท่ีของรูป
สี่เหลี่ยมมุมฉาก การบอกเวลาบนหน้าปัดนาฬิกา อ่านและเขียนเวลาโดยใช้จุดและบอกระยะเวลา
การคาดคะเนความยาว น้ำหนัก ปริมาตรหรอื ความจุ การแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัดความยาว การชง่ั
การตวง เงิน และเวลา การเขียนบันทึกรายรับ รายจ่าย การอ่านและเขียนบันทึกกิจกรรมหรือ
เหตุการณ์ท่ีระบเุ วลา การบอกชนิดของมุม ชื่อมุม ส่วนประกอบของมุม และเขียนสัญลักษณ์ การ
บอกได้วา่ เสน้ ตรงหรอื สว่ นของเส้นตรงคู่ใดขนานกนั พรอ้ มทง้ั ใช้สัญลักษณแ์ สดงการขนาน การบอก
ส่วนประกอบของรูปวงกลม การบอกได้วา่ รูปใดหรือสว่ นใดของสิง่ ของมีลักษณะเป็นรปู สี่เหลี่ยมมมุ
ฉาก และจำแนกได้วา่ เปน็ รูปสี่เหลย่ี มจัตุรัสหรอื รูปสเ่ี หล่ียมผืนผ้า การบอกได้ว่ารปู เรขาคณิตสองมิติ
รูปใด เป็นรูปที่มีแกนสมมาตร และบอกจำนวนแกนสมมาตร การนำรูปเรขาคณิตมาประดิษฐ์เป็น
ลวดลายต่าง ๆ การบอกจำนวนและความสัมพันธ์ในแบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละ
เท่ากัน การบอกรูปและความสัมพันธ์ในแบบรูปของรูปที่กำหนดให้ การรวบรวมและจำแนกข้อมูล
การอา่ นข้อมูลจากแผนภูมริ ูปภาพ แผนภมู แิ ท่งและตาราง การเขยี นแผนภมู ิรูปภาพและแผนภูมิแท่ง
การใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา การใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และ
เทคโนโลยีในการแกป้ ัญหาในสถานการณต์ ่าง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม การให้เหตผุ ลประกอบการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม การใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อ
ความหมาย และการนำเสนอไดอ้ ย่างถูกต้องและเหมาะสม การเชื่อมโยงความรู้ตา่ ง ๆ ในคณิตศาสตร์
และเชื่อมโยงคณติ ศาสตรก์ บั ศาสตรอ์ ืน่ ๆ การมีความคิดรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์
โดยใช้ทักษะ การคิดคำนวณ วิเคาระห์ข้อมูลจากการเขียน และอ่านจำนวนนับ การจำแนกรูปทรง
เรขาคณิต เพื่อให้เกิดกระบวนการใช้ความคิดและความเข้าใจ ในการนำทักษะคณิตศาสตร์ไปใช้ใน
ชีวติ ประจำวนั
มีความสามารถในการนำทักษะคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง ครบ
กระบวนการ เรื่องการเขียน และอ่านจำนวนนับ การจำแนกรูปทรงเรขาคณิต การวิเคราะห์
คณิตศาสตร์ มเี จตคตทิ ่ีดีตอ่ วิชาคณติ ศาสตร์
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถัมภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 29
รหัสตวั ช้ีวดั
ค ๑.๑ ป๔/๑-๒
ค ๑.๒ ป๔/๑-๓
ค ๒.๑ ป๔/๑-๔
ค ๒.๒ ป๔/๑-๓
ค ๓.๑ ป๔/๑-๕
ค ๓.๒ ป๔/๑
ค ๔.๑ ป๔/๑-๒
ค ๕.๑ ป๔/๑-๓ ค ๖.๑ ป๔/๑-๖
รวม ๒๙ ตวั ช้ีวดั
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 30
คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน
รหสั วชิ า ค๑๑๕๐๑ รายวิชา คณิตศาสตร์ ๕ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์
ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลาเรยี น ๑๖๐ ช่ัวโมง/ปี
............................................................................................................................. .........................
...
ศึกษาเรียนรู้การเขียนและอ่านเศษส่วน จำนวนคละ และทศนิยมไม่เกินสองตำแหน่ง
การเปรียบเทียบและเรียงลำดับเศษส่วนและทศนิยมไม่เกินสองตำแหน่ง การเขียนเศษส่วนในรูป
ทศนยิ มและรอ้ ยละ เขียนร้อยละในรูปเศษสว่ นและทศนิยม และเขยี นทศนยิ มในรูปเศษส่วนและร้อย
ละ การบวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณระคนของเศษส่วน พร้อมทั้งตระหนักถึงความ
สมเหตสุ มผลของคำตอบ การบวก ลบ คูณ และบวก ลบ คูณระคนของทศนิยมที่คำตอบเป็นทศนิยม
ไม่เกินสองตำแหนง่ พรอ้ มทั้งตระหนักถึงความสมเหตสุ มผลของคำตอบ การวเิ คราะห์และแสดงวธิ ีหา
คำตอบของโจทย์ปัญหา และโจทย์ปัญหาระคนของจำนวนนับ เศษส่วน ทศนิยม และร้อยละ พร้อม
ทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ และสร้างโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ จำนวนนับได้
การบอกคา่ ประมาณใกล้เคียงจำนวนเต็มสิบ เตม็ ร้อย และเตม็ พันของจำนวนนับ และนำไปใช้ได้การ
บอกความสมั พันธข์ องหน่วยการวัด ปริมาตร หรือความจุ การหาความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยม รปู
สามเหลี่ยม การหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากและรูปสามเหลี่ยม การวัดขนาดของมุม การหา
ปริมาตรหรือความจุของทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉาก การแก้ปัญหาเกีย่ วกับพื้นที่ ความยาว รอบรูปของรูป
สี่เหลี่ยมมุมฉากและรูปสามเหลี่ยม การบอกลักษณะและจำแนกรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดต่าง ๆ การ
บอกลักษณะ ความสัมพันธ์และจำแนกรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่าง ๆ การบอกลักษณะ ส่วนประกอบ
ความสัมพันธ์ และจำแนกรูปสามเหลี่ยมชนิดต่าง ๆ การสร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ การสร้างรปู
สเ่ี หล่ียมมุมฉาก รูปสามเหล่ยี ม และรปู วงกลม การสรา้ งเสน้ ขนานโดยใชไ้ มฉ้ าก การบอกจำนวนและ
ความสัมพนั ธใ์ นแบบรปู ของจำนวนท่กี ำหนดให้ การเขียนแผนภูมิแท่งท่มี ีการย่นระยะของเส้นแสดง
จำนวน การอา่ นข้อมูลจากแผนภมู แิ ทง่ เปรยี บเทียบ การบอกได้วา่ เหตกุ ารณท์ ี่กำหนดให้น้ัน เกิดขึ้น
อยา่ งแนน่ อน อาจจะเกดิ ขน้ึ หรอื ไม่ กไ็ ด้ ไม่เกิดขนึ้ อยา่ งแนน่ อน การใช้วธิ ีการท่ีหลากหลายแก้ปัญหา
การใช้ความรู้ ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ปญั หาในสถานการณ์ต่าง
ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม การใหเ้ หตุผลประกอบการตดั สนิ ใจ และสรปุ ผลไดอ้ ย่างเหมาะสม การใช้ภาษา
และสัญลกั ษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสอ่ื สาร การสือ่ ความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถกู ต้องและ
เหมาะสม การเช่อื มโยงความรู้ตา่ ง ๆ ในคณติ ศาสตร์และเช่อื มโยงคณิตศาสตร์กับศาสตรอ์ ื่น ๆ การมี
ความคดิ รเิ ริม่ สร้างสรรค์
โดยใช้ทักษะ การคิดคำนวณ วิเคาระห์ข้อมูลจากการเขยี น และอ่านจำนวนนับ การเขียน
และอ่านเศษส่วน ทศนิยม เพื่อให้เกิดกระบวนการใช้ความคิดและความเข้าใจ ในการนำทักษะ
คณติ ศาสตร์ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวัน
มีความสามารถในการนำทักษะคณิตศาสตร์ การเขียนและอ่านเศษส่วน ทศนิยม ไปใช้ใน
ชวี ติ ประจำวันไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ครบกระบวนการ มเี จตคติทดี่ ตี ่อวชิ าคณิตศาสตร์
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถัมภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 31
รหัสตัวชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๕/๑-๓
ค ๑.๒ ป.๕/๑-๓
ค ๑.๓ ป.๕/๑
ค ๒.๑ ป.๕/๑-๕
ค ๒.๒ ป.๕/๑,
ค ๓.๑ ป.๕/๑-๓
ค ๓.๒ ป.๕/๑-๓
ค ๔.๑ ป.๕/๑
ค ๕.๑ ป.๕/๑-๒
ค ๕.๒ ป.๕/๑,
ค ๖.๑ ป.๕/๑-๖
รวม ๒๙ ตัวช้วี ัด
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถมั ภ์ พุทธศกั ราช 2553
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 32
คำอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
รหัสวชิ า ค๑๖๑๐๑ รายวิชา คณติ ศาสตร์ ๖ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ เวลาเรียน ๑๖๐ ชว่ั โมง/ปี
......................................................................................................................................................
...
ศึกษาเรียนรู้การเขียนและอ่านทศนิยมไม่เกินสามตำแหน่ง เปรียบเทียบและเรียงลำดับ
เศษส่วนและทศนิยมไม่เกินสามตำแหน่ง การเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน และเขียนเศษส่วนในรูป
ทศนิยม การบวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วน จำนวนคละ และทศนิยม
พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ การวิเคราะห์และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์
ปัญหาและโจทย์ปัญหาระคนของจำนวนนับเศษส่วน จำนวนคละ ทศนิยม และร้อยละ พร้อมทั้ง
ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ และสร้างโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับจำนวนนับได้ การบอก
ค่าประมาณใกลเ้ คยี งจำนวนเต็มหลักตา่ ง ๆ ของจำนวนนบั และนำไปใชไ้ ด้ การบอกคา่ ประมาณของ
ทศนิยมไมเ่ กนิ สามตำแหนง่ การใชส้ มบตั กิ ารสลบั ท่ี สมบตั ิการเปลยี่ นหมู่ และสมบัติการแจกแจงใน
การคิดคำนวณ การหา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจำนวนนบั การอธิบายเส้นทางหรือบอกตำแหน่งของ
สิ่งต่าง ๆ โดยระบุทิศทาง และระยะทางจริง จากรูปภาพ แผนที่ และแผนผัง การหาพื้นที่ของรูป
ส่เี หลย่ี ม การหาความยาวรอบรูปและพืน้ ทขี่ องรปู วงกลม การแก้ปัญหาเกย่ี วกับพนื้ ท่ี ความยาวรอบ
รปู ของรปู สีเ่ หลีย่ มและรูปวงกลม การแก้ปัญหาเกยี่ วกับปรมิ าตรและความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
การเขียนแผนผังแสดงตำแหน่งของสงิ่ ต่าง ๆ และแผนผังแสดงเส้นทางการเดนิ ทาง การบอกชนิดของ
รูปเรขาคณิตสองมิติที่ เป็นส่วนประกอบของรูปเรขาคณิตสามมิติ การบอกสมบัติของเส้นทแยงมมุ
ของรูปสเ่ี หล่ียมชนดิ ต่าง ๆ สามารถบอกได้ว่าเส้นตรงคูใ่ ดขนานกนั การประดิษฐท์ รงสเ่ี หลี่ยมมุมฉาก
ทรงกระบอก กรวย ปริซึม และพีระมิด จากรูปคลี่หรือรูปเรขาคณิตสองมิติที่กำหนดให้การสรา้ งรูป
สีเ่ หล่ยี มชนิดต่าง ๆ การแกป้ ญั หาเกี่ยวกับแบบรูป การเขยี นสมการจากสถานการณ์หรือปัญหา และ
แก้สมการพร้อมทั้งตรวจคำตอบ การอ่านข้อมูลจากกราฟเส้น และแผนภูมิรูปวงกลมการเขียนแผนภูมิ
แท่งเปรยี บเทียบและกราฟเสน้ อธิบายเหตุการณ์โดยใช้คำท่มี ีความหมาย เชน่ เดียวกับคำว่า เกิดขึ้น
อย่างแนน่ อน อาจจะเกิดขึ้นหรอื ไมก่ ็ได้ ไมเ่ กิดขน้ึ อย่างแน่นอน การใชว้ ธิ ีการท่หี ลากหลายแก้ปัญหา
การใชค้ วามรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ปญั หาในสถานการณ์ต่าง
ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม การใหเ้ หตุผลประกอบการตัดสนิ ใจ และสรุปผลได้อยา่ งเหมาะสม การใชภ้ าษา
และสัญลกั ษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการส่ือสาร การสอื่ ความหมาย และการนำเสนอไดอ้ ย่างถกู ต้องและ
เหมาะสม การเช่ือมโยงความรตู้ ่าง ๆ ในคณติ ศาสตรแ์ ละเชือ่ มโยงคณิตศาสตรก์ ับศาสตร์อ่ืน ๆ การมี
ความคดิ รเิ รม่ิ สร้างสรรค์
โดยใช้ทักษะ การคิดคำนวณ วิเคาระห์ข้อมูลจากการเขียน และอ่านจำนวนนับ การใช้
สมบัตกิ ารสลับที่ สมบัตกิ ารเปลยี่ นหมู่ การวเิ คราะหโ์ จทยท์ างคณิตศาสตร์ เพ่ือให้เกิดกระบวนการใช้
ความคิดและความเข้าใจ ในการนำทักษะคณติ ศาสตร์ไปใช้ในชวี ิตประจำวนั
มีความสามารถในการนำทกั ษะคณิตศาสตร์ การใช้สมบตั กิ ารสลับท่ี สมบตั กิ ารเปล่ียนหมู่
การวิเคราะห์โจทย์ทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้อย่างถูกต้อง ครบกระบวนการ มีเจตคติท่ี
ดตี อ่ วชิ าคณิตศาสตร์
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถัมภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 33
รหสั ตวั ชว้ี ดั
ค ๑.๑ ป๖/๑-๓
ค ๑.๒ ป๖/๑-๒
ค ๑.๓ ป๖/๑-๒
ค ๑.๔ ป๖/๑-๒,
ค ๒.๑ ป๖/๑-๓
ค ๒.๒ ป๖/๑-๓
ค ๓.๑ ป๖/๑-๓
ค ๓.๒ ป๖/๑-๒
ค ๔.๑ ป๖/๑
ค ๔.๒ ป๖/๑
ค ๕.๑ ป๖/๑-๒
ค ๕.๒ ป๖/๑
ค ๖.๑ ป๖/๑-๖
รวม ๓๑ ตวั ชีว้ ัด
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถัมภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 34
คำอธิบายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถัมภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 35
คำอธบิ ายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชา วิทยาศาสตร์ 1 ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1
รหสั วชิ า ว11101 เวลา 40 ช่ัวโมง / ปี
.............................................................................................................................................................
ระบุ บอก ตระหนักถึง อธิบาย และบรรยาย ชื่อพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่บริเวณต่าง ๆ จาก
ข้อมลู ท่ีรวบรวมได้ สภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสมกบั การดำรงชวี ติ ของสัตว์ในบรเิ วณทอ่ี าศยั อยู่ บรรยาย
ลกั ษณะและบอกหน้าทีข่ องสว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายมนษุ ย์ สัตว์ และพชื รวมท้ังบรรยายการทำหน้าที่
ร่วมกัน ของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ จากข้อมูลที่รวบรวมได้
ความสำคัญของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายตนเอง โดยการดูแลส่วนต่าง ๆ อย่างถูกต้อง ให้ปลอดภัย
และรักษาความสะอาดอยู่เสมอ สมบัติที่สังเกตได้ของวัสดุที่ใช้ทำวัตถุซึ่งทำจากวัสดุชนดิ เดียว หรือ
หลายชนิดประกอบกันโดยใช้หลักฐานเชงิ ประจักษ์ ชนิดของวัสดุและจัดกลุม่ วัสดตุ ามสมบัตทิ ีส่ ังเกต
ได้ การเกดิ เสียงและทิศทาง การเคล่อื นท่ีของเสยี งจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ดาวที่ปรากฏบนท้องฟ้า
ในเวลากลางวัน และกลางคืนจากข้อมูลที่รวบรวมได้ สาเหตุที่มองไม่เห็นดาวส่วนใหญ่ ในเวลา
กลางวนั จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ และลักษณะภายนอกของหิน จากลักษณะเฉพาะตวั ท่ีสังเกตได้
โดยใช้กระบวนทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้น
ข้อมูล บันทึก จัดกลุ่มข้อมูล ใช้กระบวนการการทำงานอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ มีทักษะใน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเบือ้ งต้น รกั ษาขอ้ มลู ส่วนตัวมีทักษะที่สำคัญในการศึกษา
คน้ คว้าและคิดคน้ ทางเทคโนโลยี
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ
ตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ รักการ
ทำงาน ทำงานด้วยความกระตือรือร้น และตรงเวลา มีเจตคติที่ดีต่อการทำงาน จริยธรรม คุณธรรม
และคา่ นิยมทีเ่ หมาะสม
รหสั ตวั ช้ีวดั ป.1/1 , ป.1/2 มาตรฐาน ว 1.2 ป.1/1 , ป.1/2
มาตรฐาน ว 1.1 ป.1/1 , ป.1/2 มาตรฐาน ว 2.3 ป.1/1
มาตรฐาน ว 2.1
ป.1/1 , ป.1/2 มาตรฐาน ว 3.2 ป.1/1
มาตรฐาน ว 3.1
รวม 15 ตวั ช้ีวดั
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์ พุทธศกั ราช 2553
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 36
คำอธบิ ายรายวชิ า
กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์
รายวิชา วิทยาศาสตร์ 2 ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 2
รหัสวชิ า ว12101 เวลา 40 ช่วั โมง / ปี
.............................................................................................................................................................
ระบุ ตระหนักถึง สร้าง เปรียบเทียบ อธิบาย เปรียบเทียบ ทดลอง บรรยาย และจำแนก
เกี่ยวกับพืชต้องการแสงและน้ำเพื่อการเจริญ เติบโต โดยใช้ข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ความ
จำเป็นท่พี ชื ต้องไดร้ ับน้ำและแสงเพ่ือการเจริญเตบิ โต โดยดูแลพชื ใหไ้ ด้ รับสิ่งดังกลา่ วอย่างเหมาะสม
แบบจำลองที่บรรยายวัฏจักรชีวิตของพืชดอก เปรียบเทยี บลักษณะของสิง่ มีชวี ิตและสง่ิ ไม่มีชีวิต จาก
ข้อมูลที่รวบรวมได้ สมบัติการดูดซบั น้ำของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชงิ ประจักษ์ การนำสมบัตกิ ารดดู ซบั
นำ้ ของวัสดุไปประยุกต์ใช้ ในการทำวัตถุในชวี ิตประจำวัน สมบัตทิ ีส่ งั เกตได้ของวัสดุท่ีเกิดจากการนำ
วัสดุมาผสมกนั โดยใช้หลักฐานเชิงประจกั ษ์ สมบตั ทิ ่สี ังเกตไดข้ องวัสดุ เพ่ือนำมาทำเป็นวัตถุในการใช้
งานตามวัตถุประสงค์ และการนำวัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ประโยชน์
ของการนำวสั ดุท่ีใช้แลว้ กลับมาใช้ใหม่ โดยการนำวัสดุทีใ่ ช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ แรงที่เกิดจากแมเ่ หลก็
การนำแม่เหลก็ มาใช้ประโยชน์ แรงไฟฟา้ ทเี่ กิดจากการถวู ตั ถบุ างชนิด แนวการเคลอ่ื นท่ีของแสงจาก
แหล่งกำเนิดแสง การมองเห็นวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ตระหนักในคุณค่าของความรู้ของการ
มองเห็นโดยเสนอแนะแนวทางการป้องกันอนั ตราย จากการมองวัตถุที่อยู่ในบริเวณที่มแี สงสว่าง ไม่
เหมาะสม สว่ นประกอบของดนิ ชนดิ ของดินโดยใช้ลักษณะเน้ือดินและการจบั ตวั เป็นเกณฑ์ และการ
ใช้ประโยชน์จากดิน จากขอ้ มลู ที่รวบรวมได้
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การทดลอง การสำรวจ
ตรวจสอบ การสบื ค้นข้อมูล การเปรยี บเทยี บข้อมูลจากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์และการอภปิ ราย
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ
ตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม
คุณธรรม และคา่ นยิ มทเี่ หมาะสม
รหัสตัวชี้วัด
มาตรฐาน ว 1.2 ป.2/1, ป.2/2 , ป.2/3
มาตรฐาน ว 1.3 ป.2/1
มาตรฐาน ว 2.1 ป.2/1, ป.2/2 , ป.2/3 , ป.2/4
มาตรฐาน ว 2.2 ป.2/1, ป.2/2 , ป.2/3
มาตรฐาน ว 2.3 ป.2/1 , ป.2/2
มาตรฐาน ว 3.2 ป.2/1 , ป.2/2
รวม 19 ตวั ชีว้ ัด
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถมั ภ์ พุทธศกั ราช 2553
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 37
คำอธบิ ายรายวิชา
กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ 3 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3
รหัสวิชา ว13101 เวลา 40 ชว่ั โมง / ปี
.............................................................................................................................................................
บรรยาย ตระหนักถึง สร้าง อธิบาย เปรียบเทียบ ยกตัวอย่าง จำแนก ระบุ และแสดง
เกีย่ วกับส่งิ ทจี่ ำเปน็ ตอ่ การดำรงชวี ติ และการเจริญเตบิ โตของมนษุ ยแ์ ละสัตว์ โดยใช้ข้อมูลท่ีรวบรวม
ได้ ประโยชน์ของอาหาร น้ำ และอากาศ โดยการดูแลตนเองและสัตว์ให้ได้รับ สิ่งเหล่านี้อย่าง
เหมาะสม แบบจำลองท่ีบรรยายวัฏจกั รชวี ิต ของสัตว์ และเปรยี บเทยี บวฏั จกั รชีวิตของสตั ว์ บางชนิด
คณุ คา่ ของชีวติ สตั ว์ โดยไม่ทำใหว้ ฏั จกั รชีวิตของสตั วเ์ ปลี่ยนแปลง วัตถปุ ระกอบข้ึนจากชิ้นส่วนย่อย ๆ
ซึ่งสามารถแยกออกจากกันได้และประกอบกันเป็นวัตถุชิ้นใหม่ได้ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ การ
เปล่ียนแปลงของวัสดุเมอื่ ทำใหร้ อ้ นข้นึ หรอื ทำให้เยน็ ลง โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ผลของแรงท่มี ตี ่อ
การเปลี่ยนแปลง การเคลอื่ นท่ีของวตั ถุจากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ แรงสมั ผัสและแรงไม่สัมผัสท่ีมีผลต่อ
การเคลื่อนทข่ี องวัตถุ โดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจักษ์ จำแนกวตั ถโุ ดยใช้การดงึ ดดู กบั แม่เหลก็ เปน็ เกณฑ์
จากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ ขั้วแม่เหล็กและพยากรณ์ผลท่ีเกดิ ขึ้นระหว่างขัว้ แม่เหลก็ เม่ือนำมาเขา้ ใกล้
กันจากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ การเปล่ยี นพลงั งานหนง่ึ ไปเป็นอีกพลังงานหนึ่งจากหลักฐานเชิงประจักษ์
การทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าและระบุแหล่งพลังงานในการผลิตไฟฟ้า จากข้อมูลที่รวบรวมได้
ประโยชน์และโทษของไฟฟ้า โดยนำเสนอวิธีการใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด และปลอดภัย แบบรูป
เส้นทางการขึน้ และตก ของดวงอาทิตยโ์ ดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ สาเหตุการเกิดปรากฏการณ์การ
ขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ การเกิดกลางวันกลางคืน และการกำหนดทิศ โดยใช้แบบจำลอง
ความสำคัญของดวงอาทิตย์ โดยบรรยายประโยชน์ของดวงอาทิตย์ต่อสิ่งมีชีวิต ส่วนประกอบของ
อากาศ บรรยายความสำคญั ของอากาศ และผลกระทบของมลพิษทางอากาศต่อสิง่ มีชวี ติ จากข้อมูลที่
รวบรวมได้ ความสำคัญของอากาศ โดยนำเสนอแนวทางการปฏิบัตติ นในการลด การเกิดมลพิษทาง
อากาศ การเกิดลมจากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ และประโยชน์และโทษของลม จากขอ้ มูลทรี่ วบรวมได้
โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์การสบื เสาะหาความรู้ การทดลอง การสำรวจ ตรวจสอบ
การสืบค้นขอ้ มลู การเปรียบเทยี บข้อมูลจากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ และการอภปิ ราย
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ
ตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมท่ี
เหมาะสม
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถมั ภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 38
รหัสตัวชี้วัด
มาตรฐาน ว 1.2 ป.3/1 , ป.3/2 , ป.3/3 , ป.3/4
มาตรฐาน ว 2.1 ป.3/1 , ป.3/
มาตรฐาน ว 2.2 ป.3/1 , ป.3/2 , ป.3/3, ป.3/4
มาตรฐาน ว 2.3 ป.3/1 , ป.3/2 , ป.3/3
มาตรฐาน ว 3.2 ป.3/1 , ป.3/2, ป.3/3 , ป.3/4
มาตรฐาน ว 3.1 ป.3/1 , ป.3/2 , ป.3/3
รวม 25 ตวั ช้ีวดั
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถัมภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 39
คำอธบิ ายรายวชิ า
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์
รายวชิ า วิทยาศาสตร์ 4 ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4
รหัสวชิ า ว14101 เวลา 120 ชั่วโมง / ปี
.............................................................................................................................................................
บรรยาย จำแนก บรรยาย เปรียบเทยี บ แลกเปลี่ยนความคดิ ระบุ อธิบาย และสรา้ ง เกย่ี วกบั
หน้าท่ีของราก ลำต้น ใบ และดอกของพชื ดอกโดยใช้ขอ้ มูลทีร่ วบรวมได้ ส่ิงมีชวี ิตโดยใช้ความเหมือน
และ ความแตกตา่ งของลกั ษณะของสิง่ มีชีวิตออกเป็น กลุ่มพชื กลมุ่ สัตว์ และกลุ่มท่ีไม่ใช่พืชและสัตว์
จำแนกพืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอก โดยใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูล ที่รวบรวมได้
สัตว์ออกเป็นสัตว์มีกระดกู สันหลังและสตั ว์ไม่มีกระดูกสันหลัง โดยใช้การมีกระดูกสันหลังเปน็ เกณฑ์
โดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้ ลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา กลุ่มสัตว์
สะเทินน้ำสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม และยกตัวอย่าง
สิ่งมีชวี ิตในแต่ละกลุ่ม สมบตั ิทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำความรอ้ น และการนำ
ไฟฟ้าของวสั ดุโดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์จากการทดลองและระบุการนำสมบัติเรื่องความแขง็ สภาพ
ยดื หยุ่น การนำความร้อน และการนำไฟฟ้าของวัสดุไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ผ่านกระบวนกำรออกแบบ
ชิ้นงาน การอภิปรายเกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพของวัสดุอย่างมีเหตุผลจากการทดลอง สมบัติของ
สสารทั้ง 3 สถานะ จากข้อมูลที่ได้จากการสังเกต มวล การต้องการที่อยู่ รูปร่างและปริมาตรของ
สสาร เครื่องมือเพื่อวัดมวล และปริมาตรของสสารทั้ง 3 สถานะ ผลของแรงโนม้ ถ่วงที่มตี ่อวัตถุจาก
หลักฐานเชิงประจักษ์ เครื่องชั่งสปริงในการวัดน้ำหนักของวัตถุ มวลของวัตถุที่มีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนท่ีของวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์ วัตถุเป็นตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปรง่
แสง และวัตถุทึบแสง จากลักษณะ การมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ผ่านวัตถุนั้นเป็นเกณฑ์โดยใช้หลักฐานเชงิ
ประจักษ์ แบบรูปเส้นทางการขึ้นและตก ของดวงจันทร์ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ แบบจำลองที่
อธิบายแบบรูป การเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ และพยากรณ์รูปร่างปรากฏของดวง
จันทร์ แบบจำลองแสดงองค์ประกอบของระบบสรุ ยิ ะ และอธิบายเปรียบเทยี บคาบ การโคจรของดาว
เคราะหต์ า่ ง ๆ จากแบบจำลอง
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ
การสบื คน้ ข้อมลู การเปรียบเทียบข้อมลู จากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ และการอภิปราย
เพอ่ื ให้เกดิ ความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจสามารถสือ่ สารสิ่งที่เรียนรู้ มคี วามสามารถในการ
ตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์มีจริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมท่ี
เหมาะสม
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถมั ภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 40
รหสั ตัวช้ีวัด ป.4/1
ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4
มาตรฐาน ว 1.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4
มาตรฐาน ว 1.3
มาตรฐาน ว 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
มาตรฐาน ว 2.2 ป.4/1
มาตรฐาน ว 2.3
มาตรฐาน ว 3.1 ป.4/1 , ป.4/2, ป.4/3
รวม 21 ตัวชี้วัด
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 41
คำอธิบายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์
รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ 5 ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 5
รหสั วชิ า ว 15101 เวลา 120 ชวั่ โมง / ปี
.............................................................................................................................................................
บรรยาย อธิบาย เขียน ตระหนัก อธิบาย แสดงความอยากรู้อยากเห็น วิเคราะห์ ระบุ ใช้
ออกแบบการทดลอง วดั เปรยี บเทยี บ สรา้ ง เกีย่ วกับโครงสร้างและลักษณะของสง่ิ มีชีวิตที่เหมาะสม
กับการดำรงชีวิตซึง่ เป็นผลมาจากการปรับตัวของส่ิงมชี ีวติ ในแต่ละแหลง่ ที่อยู่ ความสัมพันธ์ระหว่าง
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ โซ่อาหารและระบุบทบาทหน้าที่ของ
สง่ิ มีชวี ิตท่ีเป็นผผู้ ลิตและผู้บริโภคในโซอ่ าหาร คณุ ค่าของส่ิงแวดล้อมท่ีมตี อ่ การดำรงชีวติ ของสงิ่ มีชีวิต
โดยมีส่วนร่วม ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีการถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูก
ของพืช สัตว์ และมนุษย์ การถามคำถามเกี่ยวกับลักษณะที่คล้ายคลึงกันของตนเองกับพ่อแม่ การ
เปลี่ยนสถานะของสสาร เมื่อทำให้สสารร้อนขึน้ หรือเย็นลง โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ การละลาย
ของสารในน้ำ โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ การเปล่ยี นแปลงของสาร เมื่อเกิดการเปล่ียนแปลงทางเคมี
โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ การเปลยี่ นแปลงท่ผี ันกลับได้และการเปลยี่ นแปลงที่ผนั กลับไม่ได้ วิธีการ
หาแรงลัพธ์ของแรงหลายแรงในแนวเดียวกันที่กระทำต่อวัตถุในกรณีที่วัตถุอยู่นิ่งจากหลักฐานเชิง
ประจกั ษ์ แผนภาพแสดงแรงท่ีกระทำต่อวัตถุที่อยู่ในแนวเดยี วกันและแรงลัพธ์ทก่ี ระทำต่อวัตถุ เครื่อง
ชัง่ สปรงิ ในการวัดแรงที่กระทำตอ่ วัตถุ ผลของแรงเสยี ดทานทมี่ ีต่อ การเปลีย่ นแปลงการเคลื่อนท่ีของ
วัตถุจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ แผนภาพแสดงแรงเสยี ดทานและแรง ที่อย่ใู นแนวเดยี วกันที่กระทำต่อ
วัตถุ การได้ยินเสียงผ่านตัวกลาง จากหลักฐานเชิงประจักษ์ ตัวแปร ทดลองและอธิบาย ลักษณะและ
การเกิดเสียงสูง เสียงต่ำ ลักษณะและการเกิดเสียงดัง เสียงค่อย ระดับเสียงโดยใช้เครื่องมือวัดระดับ
เสยี ง คณุ ค่ำของความรเู้ รือ่ งระดับเสียงโดยเสนอแนะแนวทางในการหลกี เล่ยี งและลดมลพิษทางเสียง
ความแตกตา่ งของดาวเคราะหแ์ ละดาวฤกษ์จากแบบจำลอง แผนท่ีดาวระบุตำแหน่งและเส้นทาง การ
ข้ึนและตกของกลุ่มดาวฤกษบ์ นท้องฟา้ และอธบิ ายแบบรปู เส้นทางการข้นึ และตก ของกลุ่มดาวฤกษ์
บนทอ้ งฟ้าในรอบปี ปริมาณน้ำในแต่ละแหลง่ และระบุปริมาณน้ำท่ีมนุษย์สามารถนำมาใช้ประโยชน์
ได้ จากข้อมูลที่รวบรวมได้ คุณค่าของน้ำโดยนำเสนอแนวทาง การใช้น้ำอย่างประหยัดและการ
อนุรักษ์น้ำ แบบจำลองที่อธิบายการหมุนเวียน ของน้ำในวัฏจักรน้ำ กระบวนการเกิดเมฆ หมอก
น้ำค้าง และน้ำค้างแขง็ จากแบบจำลอง กระบวนการเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บ จากข้อมูลทีร่ วบรวม
ได้
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การ
ทดลอง การสบื ค้นขอ้ มูล การเปรยี บเทียบขอ้ มูลจากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ และการอภปิ ราย
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ
ตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่
เหมาะสม
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถมั ภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 42
รหสั ตวั ช้ีวัด
มาตรฐาน ว 1.1 ป5/1, ป5/2, ป5/3, ป5/4
มาตรฐาน ว 1.3 ป5/1, ป5/2
มาตรฐาน ว 2.1 ป5/1, ป5/2, ป5/3, ป5/4
มาตรฐาน ว 2.3 ป5/1, ป5/2, ป5/3, ป5/4
มาตรฐาน ว 2.2 ป5/1, ป5/2, ป5/3, ป5/4, ป5/5
มาตรฐาน ว 3.1 ป5/1, ป5/2
มาตรฐาน ว 3.2 ป5/1, ป5/2, ป5/3, ป5/4, ป5/5
รวม 31 ตัวชี้วดั
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถมั ภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 43
คำอธิบายรายวชิ า
กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์
รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ 6 ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6
รหสั วชิ า ว16101 เวลา 120 ชว่ั โมง / ปี
.............................................................................................................................................................
ระบุ บอก ตระหนกั สรา้ งแบบจำลอง อธิบาย เปรียบเทียบ เขียน ออกแบบการทดลอง ทดลอง
บรรยาย และยกตัวอย่าง เกยี่ วกบั สารอาหารและบอกประโยชน์ของสารอาหารแตล่ ะประเภทจากอาหาร
ที่ตนเองรับประทาน แนวทางในการเลือกรับประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วนในสัดส่วนที่
เหมาะสมกับเพศและวัย รวมทั้งความปลอดภัยต่อสุขภาพ ความสำคัญของสารอาหาร โดยการเลือก
รับประทานอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย รวมทั้งปลอดภัยต่อ
สุขภาพ ระบบย่อยอาหาร และบรรยายหน้าที่ของอวัยวะในระบบย่อยอาหาร รวมทั้งอธิบายการย่อย
อาหารและการดูดซึมสารอาหาร การแยกสารผสม โดยการหยบิ ออก การรอ่ น การใช้แม่เหลก็ ดงึ ดูด การ
รินออก การกรอง และการตกตะกอน โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ รวมทั้งระบุวิธีแก้ปัญหาใน
ชีวิตประจำวันเกี่ยวกับการแยกสาร การเกิดและผลของแรงไฟฟ้าซึ่งเกิดจากวัตถุที่ผ่านการขัดถูโดยใช้
หลกั ฐานเชิงประจักษ์ ส่วนประกอบและบรรยายหน้าท่ี ของแตล่ ะสว่ นประกอบของวงจรไฟฟา้ อยา่ งง่าย
จากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ แผนภาพและตอ่ วงจรไฟฟ้าอยา่ งงา่ ย ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธี
ทีเ่ หมาะสมในการอธิบายวธิ ีการและผลของการตอ่ เซลล์ไฟฟา้ แบบอนกุ รม ประโยชน์ของความรู้ของการ
ต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมโดยบอกประโยชน์และการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวนั การต่อหลอดไฟฟ้า
แบบอนกุ รมและแบบขนาน ประโยชน์ของความร้ขู องการต่อหลอดไฟฟา้ แบบอนุกรมและแบบขนาน โดย
บอกประโยชน์ ข้อจำกัด และการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน การเกิดเงามืดเงามัวจากหลักฐานเชิง
ประจักษ์ แผนภาพรังสีของแสงแสดงการเกิดเงามืดเงามัว การเกิด และเปรียบเทียบปรากฏการณ์
สรุ ยิ ปุ ราคา และจนั ทรปุ ราคา พัฒนาการของเทคโนโลยอี วกาศ และยกตัวอยา่ งการนำเทคโนโลยีอวกาศ
มาใช้ประโยชนใ์ นชวี ิตประจำวัน จากข้อมูลที่รวบรวมได้ กระบวนการเกดิ หินอัคนี หินตะกอน และหิน
แปรและอธบิ ายวัฏจักรหินจากแบบจำลอง การใช้ประโยชนข์ องหินและแรใ่ นชวี ติ ประจำวันจากขอ้ มูล ท่ี
รวบรวมได้ การเกดิ ซากดกึ ดำบรรพ์และคาดคะเนสภาพแวดล้อมในอดีตของซากดกึ ดำบรรพ์ การเกิดลม
บก ลมทะเล และมรสุม รวมทั้งอธิบายผลท่มี ตี ่อส่ิงมีชีวิตและสิง่ แวดล้อม จากแบบจำลอง ผลของมรสุม
ตอ่ การเกดิ ฤดูของประเทศไทย จากขอ้ มลู ที่รวบรวมได้ ลักษณะและผลกระทบของ น้ำทว่ ม การกัดเซาะ
ชายฝ่ัง ดินถลม่ แผ่นดนิ ไหว สนึ ามิ ผลกระทบของภยั ธรรมชำติและธรณพี ิบตั ภิ ัย โดยนำเสนอแนวทางใน
การเฝ้าระวังและปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากภัยธรรมชำติและธรณีพบิ ัติภัยท่ีอาจเกดิ ในทอ้ งถิ่น การเกิด
ปรากฏการณ์เรือนกระจกและผลของปรากฏการณ์เรอื นกระจกต่อสง่ิ มชี วี ิต ผลกระทบของปรากฏการณ์
เรือนกระจกโดยนำเสนอแนวทางการปฏบิ ัติตนเพอื่ ลดกจิ กรรมที่ก่อให้เกิดแกส๊ เรอื นกระจก
โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสบื คน้
ข้อมูล การเปรยี บเทยี บข้อมลู จากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ และการอภิปรายเพือ่ ใหเ้ กิดความรู้ ความคิด
ความเขา้ ใจสามารถส่ือสารสิ่งทเ่ี รียนรู้ มคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจ
เพื่อให้เกิดการรับรู้ และเห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน มีจิต
วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และค่านิยมทเ่ี หมาะสมทีพ่ งึ ประสงคต์ ่อการดำเนนิ ชีวิตในปจั จุบัน
หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 44
รหัสตัวชีว้ ดั ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5
มาตรฐาน ว 1.2 ป.6/1
ป.6/1
มาตรฐาน ว 2.1 ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 , ป.6/4 , ป.6/5 , ป.6/6 , ป.6/7 , ป.6/8
มาตรฐาน ว 2.2 ป.6/1 , ป.6/2
ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 , ป.6/4 , ป’6/5 , ป.6/6 , ป.6/7 , ป.6/8 , ป.6/9
มาตรฐาน ว 2.3 ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3, ป.6/4
มาตรฐาน ว 3.1
มาตรฐาน ว 3.2
มาตรฐาน ว 4.2
รวม 30 ตวั ช้ีวดั
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 45
คำอธิบายรายวิชา
กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
รายวชิ า เทคโนโลยวี ทิ ยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1
รหัสวิชา ว11102 เวลา 40 ชั่วโมง / ปี
.............................................................................................................................................................
ศึกษา วิเคราะห์ การสืบเสาะหาความรู สังเกต สํารวจตรวจสอบโดยใชเครื่องมืออยาง
งายรวบรวมขอมูลบันทึก และอธิบายผลการสํารวจตรวจสอบเพื่อใหเกิดความรูความเขาใจมีทักษะ
การเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเบื้องตน สามารถ
ส่อื สารสิง่ ที่เรยี นรู มีความคิดสรางสรรค สามารถทํางานรวมกับผูอ่ืนแสดงข้ันตอนการแกปญหาอยาง
งายเขียนโปรแกรมโดยใชสอื่ สราง จดั เกบ็ และเรียกใชไฟลตามวตั ถุประสงค
ตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูในการดํารงชีวิต ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยาง
ปลอดภยั ปฏิบตั ิตามขอตกลงในการใชงาน ดแู ลรกั ษาอุปกรณและใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศอยาง
เหมาะสม จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมทเ่ี หมาะสม
รหัสตวั ชวี้ ดั
มาตรฐาน ว 4.2 ป.1/1 , ป.1/2 , ป.1/3 , ป.1/4 , ป.1/5
รวม 5 ตัวช้วี ัด