The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pang'pang Papinya, 2022-09-11 10:25:45

หลักสูตรสถานศึกษา ระดับประถมศึกษา โรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์

0.หลักสูตรสถานศึกษาประถม2565.SST

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถัมภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 146

คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน

รหัสวิชา ค12102 รายวชิ า คณิตเทคโนโลยี 2 กลุม่ สาระการเรยี นรู้

คณิตศาสตร์

ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ เวลาเรียน 40 ช่วั โมง/ปี

***********************************************************************************

ศึกษาเรียนรู้การเขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงปริมาณ

ของสิ่งของจำนวนนบั ที่ไม่เกินหนึง่ พนั และศูนย์ การเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนบั ไม่เกินหนึง่

พันและศูนย์ การบวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หาร ระคนของจำนวนนับ ไม่เกินหนึ่งพันและศูนย์

การบอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิตวิ ่า เป็นรูปสามเหลี่ยม รปู ส่เี หล่ยี ม รูปวงกลม หรอื รปู วงรี การบอก

ชนดิ ของรูปเรขาคณติ สามมิติว่าเปน็ ทรงส่ีเหล่ียมมมุ ฉาก ทรงกลม หรอื ทรงกระบอก การจำแนกระหว่าง

รปู สีเ่ หลย่ี มมุมฉากกับทรงส่ีเหลยี่ มมมุ ฉาก และรปู วงกลมกับทรงกลม การเขยี นรูปเรขาคณิตสองมิติโดย

ใช้แบบของ รูปเรขาคณิต การบอกรูปและความสัมพันธ์ในแบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง ขนาด หรือสีท่ี

สัมพันธ์กันอย่างใดอย่างหนึ่ง การใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา การใช้ความรู้ ทักษะและ

กระบวนการทางคณติ ศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆได้อย่างเหมาะสม การให้

เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อยา่ งเหมาะสม การใช้ภาษาและสัญลกั ษณ์ทางคณติ ศาสตร์

และเทคโนโลยีในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง การเชื่อมโยงความรู้

ตา่ ง ๆ ในคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีกบั ศาสตรอ์ นื่ ๆ การมีความคิดริเรม่ิ สร้างสรรค์

โดยใช้ทักษะ การคิดคำนวณ วิเคราะห์ข้อมูลจากการเขียน การคำนวณ และอ่านจำนวนนบั

เพื่อให้เกิดกระบวนการใช้ความคิดและความเข้าใจโดยการใช้เทคโนโลยีในการคำนวณและสืบค้นขอ้ มูล

และนำทกั ษะคณติ ศาสตรแ์ ละเทคโนโลยไี ปใช้ในชวี ติ ประจำวนั

ผลการเรยี นรู้
1. นักเรียนเขา้ ใจถงึ ความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนโดยการใช้เทคโนโลยี
2. นักเรียนเข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูป

เรขาคณิต และทฤษฏีบททางเรขาคณิต และนำไปใชโ้ ดยการใช้เทคโนโลยี

รวมผลการเรียนรู้ 2 ผลการเรยี นรู้

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ พุทธศกั ราช 2553
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 147

คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน

รหสั วิชา ค13102 รายวิชา คณิตเทคโนโลยี ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์

ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ เวลาเรยี น 40 ชัว่ โมง/ปี

***********************************************************************************

ศกึ ษาเรียนรกู้ ารเขยี นและอ่านตวั เลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย และตวั หนงั สอื แสดงปริมาณของ

สิ่งของหรือจำนวนนับที่ไมเ่ กินหนึ่งแสนและศูนย์ การเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไม่เกนิ หนงึ่

แสนและศูนย์ การบวก ลบ คณู หาร และบวก ลบ คณู หารระคนของจำนวนนับไม่เกินหนึง่ แสน และศูนย์

พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ การบอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติที่เป็น

ส่วนประกอบของสิ่งของที่มีลักษณะเป็นรูปเรขาคณิตสามมิติ การระบุรูปเรขาคณิตสองมิติ ที่มีแกน

สมมาตรจากรูปที่กำหนดให้ การเขียนรูปเรขาคณิตสองมิติที่กำหนดให้ในแบบต่างๆ การบอกรูป

เรขาคณิตตา่ ง ๆ ท่ีอยใู่ นสิง่ แวดล้อมรอบตัว บอกรปู และความสมั พันธ์ในแบบรูปของรูปท่ีมรี ูปร่าง ขนาด

หรือสที ่สี มั พันธก์ ันสองลักษณะ การรวบรวมและจำแนกข้อมูลเกยี่ วกบั ตนเองและสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวท่ีพบ

เห็นในชีวิตประจำวัน การใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา การใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทาง

คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม การให้เหตุผล

ประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม การใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์และ

เทคโนโลยีในการสือ่ สาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง การเชื่อมโยงความรูต้ ่างๆ

ในคณติ ศาสตร์และเทคโนโลยีกบั ศาสตรอ์ ่นื ๆ การมคี วามคิดรเิ ริม่ สร้างสรรค์

โดยใช้ทักษะ การคิดคำนวณ วิเคราะห์ข้อมูลจากการเขียน การคำนวณ และอ่านจำนวนนับ

เพื่อให้เกิดกระบวนการใช้ความคิดและความเข้าใจโดยการใช้เทคโนโลยีในการคำนวณและสืบค้นขอ้ มูล

และนำทักษะคณติ ศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั

ผลการเรยี นรู้
1. นักเรียนเขา้ ใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนโดยการใช้เทคโนโลยี
2. นักเรียนเข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูป

เรขาคณิต และทฤษฏบี ททางเรขาคณิต และนำไปใชโ้ ดยการใช้เทคโนโลยี
รวมผลการเรยี นรู้ 2 ผลการเรยี นรู้

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถมั ภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 148

คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน

รหัสวชิ า ก14702 รายวิชา คณิตเทคโนโลยี กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์

ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๔ เวลาเรียน 40 ช่ัวโมง/ปี

***********************************************************************************

ศึกษาเรียนรู้การเขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดง จำนวน

นับ ศูนย์ เศษส่วน และทศนิยมหนึ่งตำแหน่ง การเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับและศูนย์

เศษสว่ น และทศนิยมหนึ่งตำแหน่ง การบวก ลบ คณู หาร และบวก ลบ คณู หารระคนของจำนวนนับและ

ศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ การบอกความสัมพันธข์ องหน่วยการวดั ความ

ยาว น้ำหนัก ปรมิ าตรหรือความจุ และเวลา การหาพ้ืนที่ของรูปสเี่ หล่ยี มมมุ ฉาก การบอกเวลาบนหน้าปัด

นาฬกิ า อ่านและเขยี นเวลาโดยใชจ้ ุดและบอกระยะเวลา การบอกชนดิ ของมมุ ชอ่ื มมุ ส่วนประกอบของ

มุม และเขียนสญั ลกั ษณ์ การบอกได้วา่ เสน้ ตรงหรือส่วนของเส้นตรงคใู่ ดขนานกัน การบอกสว่ นประกอบ

ของรูปวงกลม การบอกได้วา่ รูปใดหรือส่วนใดของสิ่งของมลี กั ษณะเปน็ รปู สี่เหลีย่ มมมุ ฉาก และจำแนกได้

วา่ เปน็ รูปสีเ่ หลี่ยมจัตุรัสหรือรูปสเ่ี หลี่ยมผนื ผ้า การบอกได้ว่ารปู เรขาคณิตสองมิติรปู ใด การรวบรวมและ

จำแนกข้อมูล การอ่านข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่งและตาราง การเขียนแผนภูมิรูปภาพและ

แผนภมู แิ ท่ง การใชว้ ิธกี ารทห่ี ลากหลายแก้ปัญหา การใชค้ วามรู้ ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

และเทคโนโลยใี นการแก้ปัญหาในสถานการณต์ ่าง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม การให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ

และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม การใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการสื่อสาร

การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ใน

คณติ ศาสตร์และเทคโนโลยีกับศาสตรอ์ นื่ ๆ การมีความคิดรเิ ร่มิ สร้างสรรค์

โดยใช้ทักษะ การคิดคำนวณ วิเคราะห์ข้อมูลจากการเขียน การคำนวณ และอ่านจำนวนนบั

เพื่อให้เกิดกระบวนการใช้ความคิดและความเขา้ ใจโดยการใช้เทคโนโลยีในการคำนวณและสืบคน้ ขอ้ มูล

และนำทักษะคณิตศาสตรแ์ ละเทคโนโลยไี ปใช้ในชวี ติ ประจำวัน

ผลการเรียนรู้

1. นักเรียนเข้าใจถงึ ความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนโดยการใช้เทคโนโลยี
2. นักเรียนเข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูป
เรขาคณิต และทฤษฏบี ททางเรขาคณิต และนำไปใชโ้ ดยการใช้เทคโนโลยี

3. นักเรียนเข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหาโดยการใช้
เทคโนโลยี

4. เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งทีต่ ้องการวัด และนำไปใช้โดย
การใช้เทคโนโลยี
รวมผลการเรยี นรู้ 4 ผลการเรียนรู้

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถมั ภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 149

คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

รหัสวิชา ก14702 รายวิชา คณิตเทคโนโลยี กลุม่ สาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์

ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๕ เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ปี

***********************************************************************************

ศึกษาเรียนรู้การเขียนและอ่านเศษส่วน จำนวนคละ และทศนิยมไม่เกินสองตำแหน่ง การ

เปรียบเทยี บและเรียงลำดับเศษส่วนและทศนยิ มไม่เกนิ สองตำแหนง่ การเขยี นเศษสว่ นในรูปทศนิยมและ

ร้อยละ เขยี นรอ้ ยละในรปู เศษสว่ นและทศนยิ ม และเขียนทศนิยมในรปู เศษส่วนและร้อยละ การบวก ลบ

คูณ หาร และบวก ลบ คูณระคนของเศษส่วน พร้อมทัง้ ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ การ

บอกความสัมพันธ์ของหน่วยการวัด ปริมาตร หรือความจุ การหาความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยม รูป

สามเหลี่ยม การหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากและรูปสามเหลี่ยม การวัดขนาดของมุม การหาปริมาตร

หรือความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก การแก้ปัญหาเกี่ยวกับพ้ืนท่ี ความยาว รอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมมมุ

ฉากและรูปสามเหลี่ยม การบอกลักษณะและจำแนกรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดต่าง ๆ การบอกลักษณะ

ความสัมพันธ์และจำแนกรูปสี่เหลี่ยมชนิดต่าง ๆ การบอกลักษณะ ส่วนประกอบความสัมพันธ์ และ

จำแนกรูปสามเหลี่ยมชนิดต่าง ๆ การเขียนแผนภูมิแท่งที่มีการย่นระยะของเส้นแสดงจำนวน การอ่าน

ข้อมูลจากแผนภูมิแท่ง เปรียบเทียบ การใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา การใช้ความรู้ ทักษะและ

กระบวนการทางคณิตศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม การให้

เหตผุ ลประกอบการตดั สนิ ใจ และสรปุ ผลไดอ้ ย่างเหมาะสม การใช้ภาษาและสญั ลกั ษณ์ทางคณิตศาสตร์

และเทคโนโลยีในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม การ

เชอ่ื มโยงความรู้ตา่ ง ๆ ในคณิตศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีกบั ศาสตรอ์ ืน่ ๆ การมคี วามคิดรเิ ริม่ สรา้ งสรรค์

โดยใช้ทักษะ การคิดคำนวณ วิเคราะห์ข้อมูลจากการเขียน การคำนวณ และอ่านจำนวนนบั

เพื่อให้เกิดกระบวนการใช้ความคิดและความเข้าใจโดยการใช้เทคโนโลยีในการคำนวณและสืบคน้ ขอ้ มูล

และนำทักษะคณติ ศาสตรแ์ ละเทคโนโลยไี ปใช้ในชวี ิตประจำวนั

ผลการเรียนรู้

1. นักเรยี นเขา้ ใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนโดยการใช้เทคโนโลยี
2. นักเรียนเข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูป
เรขาคณิต และทฤษฏบี ททางเรขาคณิต และนำไปใชโ้ ดยการใช้เทคโนโลยี

3. นักเรียนเข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหาโดยการใช้
เทคโนโลยี

4. เข้าใจพื้นฐานเก่ียวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิง่ ที่ต้องการวัด และนำไปใช้โดย
การใช้เทคโนโลยี
รวมผลการเรียนรู้ 4 ผลการเรียนรู้

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 150

คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน

รหสั วชิ า ก16702 รายวิชา คณิตเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เวลาเรียน 40 ช่ัวโมง/ปี

***********************************************************************************

ศึกษาเรยี นรู้การเขยี นและอา่ นทศนิยมไมเ่ กนิ สามตำแหนง่ เปรยี บเทยี บและเรียงลำดับเศษส่วน

และทศนิยมไม่เกินสามตำแหน่ง การเขียนทศนิยมในรปู เศษส่วน และเขียนเศษสว่ นในรูปทศนยิ ม การ

บวก ลบ คณู หาร และบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษสว่ น จำนวนคละ และทศนยิ ม พรอ้ มทั้งตระหนัก

ถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ การบอกค่าประมาณใกล้เคียงจำนวนเต็มหลักต่าง ๆ ของจำนวนนบั

และนำไปใชไ้ ด้ การหาความยาวรอบรูปและพื้นท่ีของรูปวงกลม การแก้ปัญหาเกี่ยวกบั พ้ืนที่ ความยาว

รอบรูปของรปู ส่ีเหลีย่ มและรปู วงกลม การแกป้ ัญหาเกีย่ วกบั ปริมาตรและความจุของทรงส่ีเหลยี่ มมุมฉาก

การเขียนแผนผงั แสดงตำแหนง่ ของส่งิ ตา่ ง ๆ และแผนผังแสดงเส้นทางการเดินทาง การบอกชนิดของรูป

เรขาคณิตสองมิติที่ เป็นส่วนประกอบของรูปเรขาคณิตสามมิติ การบอกสมบัติของเส้นทแยงมุมของรปู

สี่เหลี่ยมชนิดต่าง ๆ สามารถบอกได้ว่าเส้นตรงคู่ใดขนานกัน การประดิษฐ์ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก

ทรงกระบอก กรวย ปริซึม และพรี ะมิด การแก้ปญั หาเก่ียวกับแบบรูป การเขยี นสมการจากสถานการณ์

หรือปัญหา และแก้สมการพร้อมทั้งตรวจคำตอบ การอ่านข้อมูลจากกราฟเส้น และแผนภูมิรูปวงกลมการ

เขยี นแผนภมู ิแท่งเปรียบเทยี บและกราฟเสน้ การใชว้ ธิ กี ารท่ีหลากหลายแก้ปญั หา การใชค้ วามรู้ ทักษะ

และกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม

การให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม การใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง

คณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้องและ

เหมาะสม การเชื่อมโยงความรูต้ ่าง ๆ ในคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีกับศาสตร์อ่ืน ๆการมีความคิดริเริ่ม

สรา้ งสรรค์

โดยใช้ทักษะ การคิดคำนวณ วิเคราะห์ข้อมูลจากการเขียน การคำนวณ และอ่านจำนวนนบั

เพื่อให้เกิดกระบวนการใช้ความคิดและความเข้าใจโดยการใช้เทคโนโลยีในการคำนวณและสืบค้นขอ้ มูล

และนำทักษะคณติ ศาสตร์และเทคโนโลยไี ปใช้ในชีวิตประจำวัน

ผลการเรยี นรู้
1. นักเรยี นเขา้ ใจถงึ ความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนโดยการใช้เทคโนโลยี

2. นักเรียนเข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูป
เรขาคณติ และทฤษฏบี ททางเรขาคณติ และนำไปใชโ้ ดยการใช้เทคโนโลยี

3. นักเรียนเข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหาโดยการใช้
เทคโนโลยี

4. เข้าใจพื้นฐานเกีย่ วกับการวดั วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งทีต่ ้องการวัด และนำไปใช้โดย

การใช้เทคโนโลยี
รวมผลการเรียนรู้ 4 ผลการเรยี นรู้

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถมั ภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 151

คำอธบิ ายรายวิชา
กจิ กรรมเสริมหลกั สูตร ฝึกพูด

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถมั ภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 152

คำอธบิ ายรายวิชา

รหสั วิชา ท11102 รายวิชา ฝึกพดู 1 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 1 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ปี

***********************************************************************************

ศึกษาใชแ้ ละดูแลเครื่องช่วยฟงั เครือ่ งประสาทหเู ทียม ฟงั เสยี ง แยกความแตกต่างของเสียง ฝึก

ฟังเสียงจากวัตถุที่มีเสียง ฝึกฟังเสียงสัตว์ ฝึกแยกความแตกต่างระหว่างเสียง ฝึกเสียงสั้น-เสียงยาว ฝึก

เสียงสูง-เสียงต่ำ สามารถเข้าใจความหมายของคำพูด ควบคุมลมหายใจให้คงอยู่เพื่อการเปล่งเสียงท่ี

ต่อเนื่อง หายใจได้ถูกต้องในขณะที่พูด เปล่งเสียงที่ยงั ไม่มีความหมายได้ ควบคุมการเปล่งเสียงในระดับ

ต่างๆ ได้ พูดตอบคำถามจากการฟังโดยอ่านริมฝีปาก / จากการฟังเสียง พูดตอบคำถามจากคำสั่งโดย

อ่านรมิ ฝปี าก /จากการฟังเสยี ง สามารถเขียนจากการอ่านรมิ ฝีปาก / จากการฟงั และสอ่ื สารด้วยการพูด

โดยใชก้ ารฟังแบบบรู ณาการ

ผลการเรยี นรู้

1. สามารถใช้และดูแลเครอ่ื งช่วยฟัง
2. สามารถใช้และดูแลเครอื่ งประสาทหเู ทียม

3. สามารถฟังเสียง
4. สามารถแยกความแตกต่างของเสียง
5. ฝึกฟังเสียงจากวตั ถุทม่ี ีเสียง

6. ฝึกฟังเสยี งสตั ว์
7. ฝึกแยกความแตกต่างระหวา่ งเสียง

8. ฝกึ เสียงส้นั -เสียงยาว
9. ฝกึ เสยี งสงู -เสียงต่ำ
10. สามารถเข้าใจความหมายของคำพูด

11. สามารถควบคุมลมหายใจให้คงอยเู่ พอื่ การเปลง่ เสียงทต่ี ่อเนื่อง
12. สามารถหายใจไดถ้ ูกตอ้ งในขณะที่พูด
13. สามารถเปล่งเสียงทย่ี งั ไมม่ ีความหมายได้
14. สามารถควบคุมการเปลง่ เสยี งในระดบั ต่างๆ ได้
15. สามารถพดู ตอบคำถามจากการฟังโดยอ่านรมิ ฝีปาก / จากการฟังเสียง

16. สามารถพูดตอบคำถามจากคำส่ังโดยอ่านริมฝีปาก /จากการฟงั เสียง
17. สามารถเขียนจากการอ่านริมฝีปาก / จากการฟงั

18. สามารถสอื่ สารด้วยการพูดโดยใชก้ ารฟงั แบบบรู ณาการ

รวมผลการเรียนรู้ 18 ผลการเรียนรู้

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถมั ภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 153

คำอธิบายรายวิชา

รหสั วชิ า ท12102 รายวิชา ฝึกพูด 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 2 เวลาเรยี น 40 ชั่วโมง/ปี

***********************************************************************************
ศึกษา ใช้และดูแลเครื่องชว่ ยฟัง ใช้และดูแลเครื่องประสาทหูเทียม ฟังเสียง สามารถแยกความ

แตกต่างของเสยี ง ฝึกฟังเสียงจากวตั ถุท่ีมเี สยี ง ฝึกแยกความแตกต่างระหว่างเสียง เข้าใจความหมายของ

คำพูด (คำศัพท)์ ควบคุมลมหายใจให้คงอยู่เพ่ือการเปล่งเสยี งที่ตอ่ เน่ือง เปลง่ เสียงที่ยงั ไมม่ ีความหมายได้

ควบคุมการเปล่งเสียงในระดับต่างๆ ได้ เปล่งเสียงพูดโต้ตอบกับผู้อื่นได้ในโอกาสต่อไป พูดตอบคำถาม

จากการฟังโดยอ่านริมฝีปาก / จากการฟังเสียง พูดตอบคำถามจากคำสั่งโดยอ่านริมฝีปาก /จากการ

ฟงั เสียง เขียนจากการอา่ นริมฝีปาก/ จากการฟัง สอื่ สารด้วยการพูดโดยใช้การฟงั แบบบรู ณาการ

ผลการเรยี นรู้
1. สามารถใช้และดแู ลเครื่องชว่ ยฟงั

2. สามารถใช้และดแู ลเคร่อื งประสาทหูเทยี ม
3. สามารถฟังเสยี ง
4. สามารถแยกความแตกตา่ งของเสียง

5. ฝึกฟงั เสยี งจากวัตถทุ มี่ ีเสียง
6. ฝกึ แยกความแตกต่างระหวา่ งเสยี ง

7. สามารถเขา้ ใจความหมายของคำพดู (คำศัพท์)
8. สามารถควบคุมลมหายใจให้คงอยู่เพอื่ การเปล่งเสียงทต่ี อ่ เนอื่ ง
9. สามารถเปล่งเสียงที่ยงั ไม่มีความหมายได้

10.สามารถควบคมุ การเปลง่ เสียงในระดบั ต่างๆ ได้
11.สามารถเปล่งเสียงพดู โต้ตอบกบั ผู้อืน่ ได้ในโอกาสตอ่ ไป

12.สามารถพดู ตอบคำถามจากการฟังโดยอ่านริมฝีปาก / จากการฟังเสียง
13.สามารถพูดตอบคำถามจากคำสงั่ โดยอา่ นริมฝปี าก /จากการฟังเสียง
14.สามารถเขยี นจากการอา่ นริมฝีปาก/ จากการฟงั

15.สามารถส่ือสารดว้ ยการพูดโดยใช้การฟงั แบบบรู ณาการ

รวมผลการเรยี นรู้ 15 ผลการเรยี นรู้

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 154

คำอธิบายรายวชิ า

รหสั วชิ า ท13102 รายวิชา ฝกึ พดู 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 เวลาเรยี น 40 ช่ัวโมง/ปี

***********************************************************************************
ศึกษา ใช้และดูแลเครื่องชว่ ยฟงั ใช้และดูแลเครื่องประสาทหูเทยี ม ฟังเสียง แยกความแตกต่าง

ของเสียง เข้าใจความหมายของคำพูด(คำศัพท)์ เปล่งเสียงพูดโต้ตอบกบั ผู้อื่นได้ในโอกาสต่อไป พูดตอบ

คำถามจากการฟงั โดยอ่านริมฝปี าก / จากการฟงั เสยี ง พูดตอบคำถามจากคำสั่ง โดยอา่ นริมฝปี าก /จาก

การฟังเสียง เขยี นจากการอา่ นรมิ ฝปี าก/ จากการฟงั ส่ือสารด้วยการพูดโดยใช้การฟงั แบบบูรณาการ

ผลการเรยี นรู้
1. สามารถใชแ้ ละดแู ลเครื่องชว่ ยฟัง
2. สามารถใช้และดแู ลเคร่ืองประสาทหูเทยี ม
3. สามารถฟังเสียง
4. สามารถแยกความแตกต่างของเสยี ง
5. สามารถเขา้ ใจความหมายของคำพูด(คำศพั ท์)
6. สามารถเปล่งเสียงพดู โตต้ อบกับผู้อ่นื ได้ในโอกาสต่อไป
7. สามารถพูดตอบคำถามจากการฟัง โดยอ่านรมิ ฝีปาก / จากการฟงั เสยี ง
8. สามารถพูดตอบคำถามจากคำส่ัง โดยอ่านรมิ ฝปี าก /จากการฟงั เสียง
9. สามารถเขียนจากการอา่ นริมฝีปาก/ จากการฟัง
10.สามารถส่ือสารดว้ ยการพดู โดยใชก้ ารฟังแบบบูรณาการ

รวมผลการเรียนรู้ 10 ผลการเรียนรู้

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถัมภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 155

คำอธบิ ายรายวชิ า

รหัสวิชา ท14102 รายวิชา ฝกึ พูด 4 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ปี

***********************************************************************************
ศึกษา ใช้และดูแลเครื่องช่วยฟัง ใช้และดูแลเครือ่ งประสาทหูเทียม ฟังเสียง แยกความแตกต่าง

ของเสียง เข้าใจความหมายของคำพูด(คำศัพท์) เปล่งเสียงพูดโต้ตอบกับผู้อื่นได้ในโอกาสต่อไป พูดตอบ

คำถามจากการฟงั โดยอ่านริมฝปี าก / จากการฟังเสียง พูดตอบคำถามจากคำสั่งโดยอ่านริมฝีปาก /จาก

การฟังเสียง เขียนจากการอ่านรมิ ฝีปาก/ จากการฟัง ส่อื สารดว้ ยการพดู โดยใชก้ ารฟังแบบบูรณาการ

ผลการเรียนรู้
1. สามารถใชแ้ ละดูแลเครื่องชว่ ยฟงั
2. สามารถใช้และดแู ลเคร่ืองประสาทหเู ทยี ม
3. สามารถฟังเสยี ง
4. สามารถแยกความแตกตา่ งของเสยี ง
5. สามารถเข้าใจความหมายของคำพดู (คำศพั ท์)
6. สามารถเปลง่ เสียงพดู โต้ตอบกบั ผูอ้ ื่นไดใ้ นโอกาสต่อไป
7. สามารถพดู ตอบคำถามจากการฟังโดยอ่านรมิ ฝปี าก / จากการฟงั เสียง
8. สามารถพูดตอบคำถามจากคำส่ังโดยอา่ นริมฝีปาก /จากการฟังเสยี ง
9. สามารถเขียนจากการอา่ นรมิ ฝีปาก/ จากการฟงั
10.สามารถสื่อสารด้วยการพูดโดยใช้การฟงั แบบบูรณาการ

รวมผลการเรยี นรู้ 10 ผลการเรียนรู้

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถัมภ์ พุทธศกั ราช 2553
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 156

คำอธบิ ายรายวชิ า

รหสั วิชา ท15102 รายวิชา ฝึกพูด 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เวลาเรียน 40 ช่ัวโมง/ปี

***********************************************************************************
ศึกษา ใช้และดูแลเครื่องช่วยฟัง ใช้และดูแลเครื่องประสาทหูเทียม ฟังเสียง ความแตกต่างของ

เสียง เขา้ ใจความหมายของคำพูด เปล่งเสียงพดู โตต้ อบกับผู้อนื่ ไดใ้ นโอกาสตอ่ ไป พูดตอบคำถามจากการ

ฟัง โดยอ่านริมฝีปาก / จากการฟังเสียง พูดตอบคำถามจากคำสั่งโดยอ่านริมฝีปาก /จากการฟังเสียง

เขียนจากการอ่านรมิ ฝปี าก/ จากการฟัง ส่อื สารดว้ ยการพูดโดยใชก้ ารฟงั แบบบรู ณาการ

ผลการเรียนรู้
1. สามารถใช้และดแู ลเครอ่ื งช่วยฟงั
2. สามารถใช้และดแู ลเคร่ืองประสาทหเู ทยี ม
3. สามารถฟังเสียง
4. สามารถแยกความแตกตา่ งของเสียง
5. สามารถเขา้ ใจความหมายของคำพดู
6. สามารถเปล่งเสียงพดู โต้ตอบกับผอู้ นื่ ได้ในโอกาสตอ่ ไป
7. สามารถพูดตอบคำถามจากการฟงั โดยอา่ นริมฝีปาก / จากการฟงั เสยี ง
8. สามารถพดู ตอบคำถามจากคำส่ังโดยอ่านริมฝปี าก /จากการฟงั เสยี ง
9. สามารถเขียนจากการอ่านริมฝปี าก/จากการฟัง
10.สามารถส่ือสารดว้ ยการพดู โดยใชก้ ารฟงั แบบบูรณาการ

รวมผลการเรียนรู้ 10 ผลการเรยี นรู้

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 157

คำอธบิ ายรายวิชา

รหสั วิชา ท16102 รายวิชา ฝึกพูด 6 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 เวลาเรยี น 40 ชั่วโมง/ปี

***********************************************************************************
ศึกษา ใช้และดูแลเครื่องช่วยฟัง ใช้และดูแลเครือ่ งประสาทหูเทียม ฟังเสียง แยกความแตกต่าง

ของเสียง เข้าใจความหมายของคำพูด เปลง่ เสียงพดู โต้ตอบกบั ผู้อ่ืนได้ในโอกาสตอ่ ไป พูดตอบคำถามจาก

การฟงั โดยอา่ นรมิ ฝีปาก / จากการฟงั เสียง พูดตอบคำถามจากคำสง่ั โดยอ่านริมฝปี าก /จากการฟังเสียง

เขยี นจากการอ่านรมิ ฝีปาก/ จากการฟงั สื่อสารดว้ ยการพดู โดยใช้การฟงั แบบบูรณาการ

ผลการเรียนรู้
1. สามารถใช้และดแู ลเคร่อื งช่วยฟัง
2. สามารถใชแ้ ละดูแลเคร่ืองประสาทหเู ทียม
3. สามารถฟังเสียง
4. สามารถแยกความแตกตา่ งของเสยี ง
5. สามารถเข้าใจความหมายของคำพูด
6. สามารถเปล่งเสยี งพดู โตต้ อบกบั ผอู้ น่ื ไดใ้ นโอกาสตอ่ ไป
7. สามารถพูดตอบคำถามจากการฟงั โดยอา่ นริมฝปี าก / จากการฟงั เสียง
8. สามารถพดู ตอบคำถามจากคำส่ังโดยอ่านริมฝปี าก /จากการฟังเสยี ง
9. สามารถเขียนจากการอา่ นรมิ ฝีปาก/จากการฟงั
10.สามารถส่ือสารด้วยการพดู โดยใช้การฟังแบบบูรณาการ

รวมผลการเรียนรู้ 10 ผลการเรียนรู้

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถัมภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 158

กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถัมภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 159

กจิ กรรมพฒั นา

การจัดกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถมั ภ์ จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุงพุทธศักราช ๒๕๖๐) มุ่ง
ให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพ่ือความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย
สติปัญญา อารมณ์และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้าง
จิตสำนึกของการทำประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได้และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้ใช้องค์ความรู้ทักษะและเจตคติจากการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้และประสบการณ์ของผู้เรียนมาปฏิบัติกจิ กรรมเพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ ได้แก่
ความสามารถในการสือ่ สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการ
ใช้ทักษะชวี ิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ซึ่งจะสง่ ผลในการพัฒนาผูเ้ รียนให้มีคุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ได้แก่ รักชาติศาสน์กษัตริย์ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการ
ทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ เกิดทักษะ การทำงานและอยู่รว่ มกบั ผู้อืน่ ในสงั คมได้อย่าง
มีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก โรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ จัดกิจกรรม
พัฒนาผูเ้ รยี นโดยแบ่งออกเปน็ ๓ ลกั ษณะ ดงั น้ี

๑. กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเองรู้รักษ์
สง่ิ แวดลอ้ ม สามารถคดิ ตัดสนิ ใจ คดิ แก้ปัญหากำหนดเป้าหมาย วางแผนชีวติ ท้งั ดา้ นการเรียนและอาชีพ
สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็นกิจกรรม ที่
ช่วยเหลือและให้คำปรึกษาแก่ผู้ปกครองใน การมีส่วนร่วมพัฒนาผู้เรียน โดยนักเรยี นทุกคนต้องเข้าร่วม
กจิ กรรมแนะแนว ในระดบั ประถมศึกษา ๔๐ ช่ัวโมงตอ่ ปี

๒. กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมรี ะเบียบวินัยความเป็นผู้นำ ผู้ตามที่ดี
ความรับผิดชอบ การทำงาน ร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล
การช่วยเหลือแบ่งปัน เอื้ออาทรและ สมานฉันท์โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และ
ความสนใจของผู้เรียนให้ได้ปฏิบัติด้วยตนเอง ในทุกขั้นตอนได้แก่การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบัติ
ตามแผน ประเมิน และปรับปรุงการทำงาน เน้นการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มตามความเหมาะสม และ
สอดคล้องกบั วฒุ ิภาวะของผูเ้ รียนและบริบทของสถานศกึ ษา และท้องถนิ่ กิจกรรมนักเรียน ประกอบด้วย

๒.๑ กิจกรรมลูกเสือและเนตรนารี โดยนักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ
เนตรนารี ดงั น้ี

- ลกู เสือสำรอง ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑-๓
- ลกู เสือสามญั ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔-๖
นักเรียนทุกคนตอ้ งเข้าร่วมกจิ กรรมลูกเสือ/เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด ๔๐ ช่ัวโมงต่อปีการศกึ ษา

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถมั ภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 160

แนวการจดั กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี

๑. คำปฏิญาณและกฎ ถือเป็นหลักเกณฑ์ที่ลูกเสือทุกคนให้ค ามั่นสัญญาว่าจะปฏิบัติตามกฎ
ของลูกเสือ กฎของลูกเสือมีไว้ให้ลูกเสือเป็นหลักในการปฏิบัติ ไม่ได้ “ห้าม” ทำ หรือ “บังคับให้” ทำ
แต่ถ้า “ทำ” กจ็ ะทำใหเ้ กิดผลดีแก่ตวั เอง เปน็ คนดี ไดร้ บั การยกย่องว่าเป็นผ้มู เี กียรตเิ ชอ่ื ถือได้

๒. เรียนรูจ้ ากการกระทำ เปน็ การพัฒนาสว่ นบุคคล ความส าเร็จหรอื ไมส่ าเร็จของผลงานอยู่ที่
การกระทำของตนเอง ทำให้มีความรู้ที่ชัดเจน และสามารถแก้ปัญหาต่างๆด้วยตนเองได้ และท้าทาย
ความสามารถของตนเอง

๓. ระบบหมู่ เปน็ รากฐานอันแท้จริงของการลกู เสอื เปน็ พืน้ ฐานในการอยู่รว่ มกัน การยอมรับ
ซ่ึงกนั และกนั การแบง่ หน้าที่ความรบั ผิดชอบ การช่วยเหลือซึ่งกนั และกนั ซึ่งเป็นการเรียนรู้ การใช้

ประชาธปิ ไตยเบ้อื งต้น
๔. การใชส้ ัญลักษณ์ร่วมกนั ฝึกความเป็นหนง่ึ เดยี วในการเปน็ สมาชกิ ลูกเสอื เนตรนารี ดว้ ยการ

ใช้สัญลักษณ์ร่วมกัน ได้แก่ เครื่องแบบ เครื่องหมาย การทำความเคารพ รหัส คำปฏิญาณ กฎ คติพจน์
คำขวญั ธง เป็นตน้ วธิ ีการน้ีจะชว่ ยใหผ้ ู้เรียนตระหนักและภาคภมู ิใจในการเป็นสมาชกิ ขององค์การลูกเสือ
แหง่ โลก ซง่ึ มีสมาชิกอยู่ทว่ั โลกและเปน็ องค์กรท่ีมีจำนวนสมาชกิ มากที่สุด

๕. การศึกษาธรรมชาติ คือ สิ่งสำคัญอันดับหนึ่งในกิจกรรมลูกเสือ ธรรมชาติอันโปร่งใสตาม
ชนบท ปา่ เขา ป่าละเมาะ และพุ่มไม้ เป็นทป่ี รารถนาอย่างยิ่งในการท ากิจกรรมกับธรรมชาติ การปีนเขา
ตั้งค่ายพักแรมในสุดสัปดาห์ หรือตามวาระของการอยู่ค่ายพักแรมตามกฎระเบียบ เป็นที่เสน่หาแก่เดก็
ทกุ คน ถ้าขาดสิง่ นแี้ ล้วก็ไม่เรยี กว่าใชช้ วี ติ แบบลูกเสอื

๖. ความกา้ วหนา้ ในการเขา้ รว่ มกิจกรรม กจิ กรรมต่างๆที่จัดให้เด็กท า ต้องให้มีความก้าวหน้า
และดึงดูดใจ สร้างให้เกิดความกระตือรือร้น อยากที่จะท าและวัตถุประสงค์ในการจัดแต่ละอย่างให้
สมั พันธ์กับความหลากหลายในการพฒั นาตนเอง เกมการเลน่ ท่สี นุกสนาน การแขง่ ขนั กนั กเ็ ปน็ สง่ิ ดึงดูดใจ
และเป็นการจูงใจที่ดี

๗. การสนับสนุนโดยผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่ชี้แนะหนทางที่ถูกต้องให้แก่เด็กเพื่อให้เขาเกิดความมั่นใจ
ในการที่จะตัดสินใจกระท าสิ่งใดลงไปทั้งคู่มีความต้องการซึ่งกันและกันเด็กต้องการให้ผู้ใหญ่ช่วยช้ีนำ
ผู้ใหญเ่ องก็ต้องการนำพาใหไ้ ปสหู่ นทางทีด่ ี ให้ได้รับการพฒั นาอยา่ งถกู ต้องและดีท่ีสุด จงึ เป็นการร่วมมือ
กันทั้งสองฝ่าย

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถัมภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 161

๒.๒ กจิ กรรมชุมนุม

เปน็ กจิ กรรมทีจ่ ดั ขึ้นตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจของผู้เรยี นเพ่อื เติมเต็ม
ความรู้ ความชำนาญ ประสบการณ์ ทกั ษะ เจตคติเพ่อื พฒั นาตนเองตามศกั ยภาพนักเรยี น ทุกคนต้องเข้า
ร่วมกิจกรรมชุมนมุ ๓๐ ช่ัวโมงตอ่ ปีการศึกษา

แนวการจดั กิจกรรมชุมนมุ

๑. สำรวจความสนใจของผเู้ รียนในการเลือกเขา้ รว่ มชุมนมุ
๒. ให้ผเู้ รยี นดำเนินกจิ กรรมได้หลากหลายทัง้ ภายในและภายนอกหอ้ งเรียน
๓. มีครูที่ปรึกษาชุมนุม
๔. แลกเปลย่ี นเรยี นรู้และเผยแพรก่ ิจกรรม
๕. ครทู ่ีปรึกษากิจกรรมประเมนิ ตามหลักเกณฑ์การประเมินผล
๓. กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ เปน็ กิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผ้เู รยี นบำเพ็ญตนให้
เป็น ประโยชน์ตอ่ ครอบครวั ชุมชน สงั คม และประเทศชาตใิ นลกั ษณะอาสาสมัครเพือ่ ชว่ ย ขดั เกลาจิตใจ
ของ ผู้เรียนให้มีความเมตตากรุณา มีความเสียสละ และมีจิตสาธารณะเพื่อช่วยสร้างสรรค์สังคมให้อยู่
รว่ มกันอยา่ งมี ความสขุ นกั เรียนทกุ คนต้องเขา้ ร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ช่ัวโมง
ต่อปีการศึกษา
แนวการจดั กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์
๑. จดั กิจกรรมในลกั ษณะบรู ณาการใน ๘ กล่มุ สาระ
๒. จัดกิจกรรมสอดแทรกในกิจกรรมแนะแนวและกิจกรรมนักเรยี น
เมื่อผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมแล้วนำไปสู่เป้าหมายเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะสำคัญ และ
คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของผู้เรยี นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑
(ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๐)
หลกั การ
กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนมหี ลกั การสำคญั ดงั นี้
๑. มเี ป้าหมายของการจดั กจิ กรรมทช่ี ัดเจนเป็นรูปธรรมและครอบคลุมผเู้ รียนทกุ คน
๒. เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองอย่างรอบด้านเต็มตามศักยภาพตามความ
สนใจความถนดั ความตอ้ งการเหมาะสมกับวยั และวุฒิภาวะ
๓. เป็นกิจกรรมที่ปลูกฝังและส่งเสริมจิตสำนึกในการบำเพ็ญตนใหเ้ ป็นประโยชน์ตอ่
สงั คมในลักษณะต่าง ๆทสี่ อดคล้องกับวิถชี วี ติ ประเพณแี ละวฒั นธรรมอย่างต่อเนื่องและ สม่ำเสมอ

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 162

๔. เป็นกิจกรรมที่ยึดหลักการมีส่วนร่วม โดยเปิดโอกาสให้ครูพ่อแม่ผู้ปกครอง ผู้นำ
ชมุ ชน ปราชญช์ าวบา้ น องค์กร และหน่วยงานอ่ืน มสี ว่ นร่วมในการจัดกิจกรรม

เป้าหมาย
การจดั กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นมงุ่ ส่งเสริมและพัฒนาใหผ้ ้เู รยี นใช้ความรู้ ทักษะ และ ประสบการณ์
จากการเรียนรู้ไปพัฒนาตนเองให้เกิดสมรรถนะสำคัญ ๕ ประการได้แก่ความ สามารถในการ
สื่อสารความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถ ในการใช้ทักษะชีวิต และ
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีอันจะนำไปสู่คุณลักษณะอันพึงประสงค์๘ ประการ ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุวพุทธศักราช ๒๕๖๐) ได้แก่ รักชาติ
ศาสนก์ ษัตริยซ์ อ่ื สัตย์สุจริต มวี นิ ัย ใฝ่เรียนรอู้ ย่อู ย่างพอเพียง มงุ่ มน่ั ในการทำงาน รักความเป็นไทย และ
มีจิตสาธารณะ แนวการจัดกิจกรรม
สถานศึกษาจัดให้ผู้เรียนทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมโดยมีแนวการจัดกิจกรรมดังนี้ให้ผู้เรียนปฏิบัติ
กจิ กรรมตามความสนใจ

๑. ให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมผ่านประสบการณ์ที่หลากหลายฝึกการทำงานที่
สอดคลอ้ งกับชีวติ จรงิ ตลอดจนสะทอ้ นความรูท้ ักษะ และประสบการณข์ องผเู้ รยี น

๒. จัดกิจกรรมอย่างสมดุลทัง้ ๓ ลักษณะ คอื กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียนและ
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์โดยจัดกิจกรรมรายบุคคลกิจกรรมกลุ่มทั้งในและนอก
สถานศกึ ษาอยา่ งสม่ำเสมอและต่อเนื่อง

๓. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเป็นผู้ดำเนินการ โดยการศึกษาและใช้ข้อมูลประกอบ การ
วางแผนอยา่ งเปน็ ระบบเนน้ การคดิ วิเคราะหแ์ ละใชค้ วามคิดสร้างสรรคใ์ นการดำเนนิ กิจกรรม

๔. ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้แบบร่วมมือมากกว่าเน้นการแข่งขันบน
พ้ืนฐานการปฏิบัตติ ามวิถีประชาธปิ ไตย

๕. จดั ให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพรก่ ิจกรรม
ขอบข่ายการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
สถานศึกษาตอ้ งจดั กิจกรรมให้ครบทั้ง ๓ ลักษณะ คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรยี น และ
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์โดยสามารถจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนได้หลากหลาย รูปแบบ
และวิธกี าร โดยมขี อบข่าย ดังนี้

๑. เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ให้กว้างขวางลึกซึ้งยิ่งข้ึน
ในลักษณะเป็นกระบวนการเชิงบูรณาการโดยยึดหลักคุณธรรมจริยธรรม ตลอดจนสามารถ บูรณาก๑า๓ร๐
ระหว่างกจิ กรรมแนะแนวกิจกรรมนกั เรียน และกิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถัมภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 163

๒. เป็นกิจกรรมที่ตอบสนองความสนใจ ความถนัด และความต้องการของผู้เรียนตาม
ความแตกต่างระหว่างบุคคล เน้นการให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของวิชาความรู้อาชีพ และการดำเนินชีวิต
ทดี่ งี าม ตลอดจนเหน็ แนวทางในการศกึ ษาต่อและการประกอบอาชพี

๓. เป็นกิจกรรมทปี่ ลกู ฝงั และส่งเสริมจิตสำนึกการทำประโยชน์ตอ่ สงั คมในลักษณะตา่ ง ๆ
สนับสนุนค่านิยมที่ดีงามและเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษา
ขัน้ พน้ื ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุวพทุ ธศักราช ๒๕๖๐)

๔. เป็นกิจกรรมที่ฝึกการทำงานและการให้บริการด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นประโยชน์ต่อ
ตนเองและต่อส่วนรวมเพื่อเสริมสร้างความมีน้ำใจ ความเอื้ออาทร ความเป็นพลเมืองดีและความ
รบั ผดิ ชอบต่อตนเอง ครอบครวั และสงั คม

โครงสร้างการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น
โครงสรา้ งเวลาการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี นในแต่ละระดับช้นั ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พ้ืนฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุวพุทธศักราช ๒๕๖๐)

กิจกรรม ประถมศกึ ษา
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖

กจิ กรรมแนะแนว ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐

กจิ กรรมนกั เรยี น

- กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

- กิจกรรมชมุ นมุ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

กิจกรรมเพื่อสงั คม ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐

และสาธารณประโยชน์

รวม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐

ตามหลักการของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง
๒๕๖๐) ได้กำหนด โครงสร้างเวลาในการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
ถึงช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ ปีละ ๑๒๐ ชั่วโมง และเป็นเวลาสำหรับปฏิบัติ กิจกรรมแนะแนวกิจกรรม
นกั เรียนและกิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์สำหรับกจิ กรรม เพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์
ให้สถานศึกษาจัดเวลาให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรม ระดับประถมศึกษา (ป.๑-๖) รวม ๖ ปี จำนวน ๖๐
ชัว่ โมง

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถัมภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 164

การจัดสรรเวลาของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้ขึ้นกับการบริหารจัดการของสถานศึกษา ทั้งนี้ให้
เป็นไปตามโครงสร้างเวลาของหลักสูตร และผู้เรียนต้องได้รับการพัฒนา และฝึกปฏิบัติกิจกรรมท้ัง
๓ ลักษณะอย่างสมำ่ เสมอและตอ่ เน่ืองทุกปีจนจบการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง ๒๕๖๐)

การประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น
การประเมินการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ เปน็ การประเมนิ โดยผูเ้ รยี นตอ้ งมีเวลาเข้ารว่ มกิจกรรมปฏิบตั กิ ิจกรรม และมีผลงาน/
ชิน้ งาน/คณุ ลกั ษณะ ผา่ นการประเมินตามเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษากำหนด
หลักการ
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช
๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖๐) เป็นการประเมินการปฏบิ ัติกิจกรรมหรอื ผลงาน/ชน้ิ งาน/คุณลกั ษณะของ
ผู้เรียน เป็นระยะอย่างต่อเนื่องมุ่งเน้นให้ผู้เรียนค้นหาศักยภาพของตน สะท้อนแนวคิดจากการปฏิบัติ
กจิ กรรม การทำงานกลมุ่ และการมจี ิตสาธารณะโดยให้ทกุ ฝ่ายที่เก่ยี วขอ้ งมีสว่ นรว่ มในการประเมนิ
แนวทางการประเมนิ
การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น มีแนวทางในการประเมินตามแผนภาพ ดงั นี้
สถานศกึ ษาควรกำหนดแนวทางท่ชี ดั เจนในการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๒ ประการ
คือการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนรายกิจกรรม และการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพอื่
การตัดสิน
๑. การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนรายกจิ กรรม
การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นรายกจิ กรรมมีแนวปฏบิ ัติ ดังนี้

๑.๑ ตรวจสอบเวลาเขา้ ร่วมกจิ กรรมของผู้เรียนใหเ้ ปน็ ไปตามเกณฑท์ ีส่ ถานศกึ ษา กำหนด
๑.๒ ประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน/ชิ้นงาน/
คุณลักษณะของผู้เรียนตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนดด้วยวิธีการที่หลากหลายเนน้ การมสี ่วนรว่ ม ของ
ผเู้ กี่ยวขอ้ งในการปฏิบตั ิกิจกรรม
๑.๓ ผู้เรียนที่มีเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม มีการปฏิบัติกิจกรรม และมีผลงาน/ชิ้นงาน/
คุณลักษณะตามเกณฑท์ ่สี ถานศึกษากำหนดเป็นผู้ผา่ นการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนรายกิจกรรมและ
นำผลการประเมนิ ไปบนั ทกึ ในระเบียนแสดงผลการเรยี น
๑.๔ ผู้เรียนที่มีผลการประเมินไม่ผ่านในเกณฑ์เวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ
กจิ กรรมและผลงาน/ชิ้นงาน/คุณลักษณะตามท่ีสถานศึกษากำหนดครหู รือผรู้ บั ผิดชอบตอ้ ง ดำเนินการ

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 165

ซ่อมเสรมิ และประเมนิ จนผ่านทัง้ นี้ควรดำเนนิ การให้เสร็จสิน้ ในปีการศกึ ษานั้น ๆยกเว้น มีเหตุสุดวิสัยให้
อยใู่ นดุลพนิ จิ ของสถานศึกษา

๒. การประเมินกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นเพอื่ การตัดสิน
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อตัดสินเลื่อนชั้นและจบระดับการศึกษา เป็นการ

ประเมินการผ่านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาคเพื่อสรุปผลการผ่านในแต่ละ กิจกรรม สรุป
ผลรวมเพื่อเลอื่ นชั้นและประมวลผลรวมในปีสุดท้ายเพอื่ การจบแต่ละระดับการศึกษา โดยการดำเนินการ
ดงั กล่าวมีแนวปฏบิ ตั ดิ งั นี้

๒.๑ กำหนดให้มีผู้รับผิดชอบในการรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับการร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ของผเู้ รยี นทกุ คนตลอดระดับการศกึ ษา

๒.๒ ผรู้ ับผดิ ชอบสรปุ และตัดสินผลการร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของผู้เรยี นเป็นรายบุคคล
ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนดเกณฑ์การจบแต่ละระดับการศึกษาที่สถานศึกษากำหนดนั้น ผู้เรียน
จะตอ้ งผ่านกิจกรรม ๓ กิจกรรมสำคัญ ดังนี้

๒.๒.๑ กจิ กรรมแนะแนว
๒.๒.๒ กิจกรรมนักเรียน ไดแ้ ก่
๑) กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี
๒) กจิ กรรมชมุ นุม
๒.๒.๓ กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์
๒.๓ ผู้รับผิดชอบเสนอผลการประเมินต่อคณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้และ
กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนเพื่อให้ความเห็นชอบ
๒.๔ ผู้รับผิดชอบเสนอผู้บริหารสถานศึกษาพิจารณาเพื่ออนุมัติผลการประเมิน กิจกรรม
พฒั นาผ้เู รียนผ่านเกณฑ์การจบแตล่ ะระดบั การศึกษา
เกณฑ์การตัดสิน
ผู้เรียนจะต้องได้รับการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นและผ่านเกณฑต์ ามท่ีสถานศึกษากำหนด
โดยกำหนดเกณฑใ์ นการประเมนิ อย่างเหมาะสมดงั น้ี
๑. กำหนดคุณภาพหรือเกณฑ์ในการประเมินตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กำหนดไว้ ๒ ระดับ คอื ผ่าน และ ไมผ่ ่าน
๒. กำหนดประเด็นการประเมินให้สอดคล้องตามวัตถุประสงค์ในแต่ละกิจกรรมและ กำหนด
เกณฑ์การผา่ นการประเมนิ ดังนี้

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 166

๒.๑ เกณฑก์ ารตดั สนิ ผลการประเมนิ รายกิจกรรม
ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมครบตามเกณฑ์ปฏิบัติกิจกรรม และมี

ผลงาน/ชิน้ งาน/คณุ ลักษณะตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษา กำหนด
ไม่ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมไม่ครบตามเกณฑ์ไม่ผ่านการปฏิบัติ

กิจกรรมหรอื มีผลงาน/ช้ินงาน/คณุ ลกั ษณะไม่เป็นไปตามเกณฑท์ สี่ ถานศึกษากำหนด
๒.๒ เกณฑ์การตัดสินผลการประเมินกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นรายป/ี รายภาค
ผ่าน หมายถงึ ผเู้ รียนมผี ลการประเมนิ ระดับ “ผ่าน” ในกิจกรรมสำคญั ทงั้ 3 ลักษณะ

คือ กจิ กรรมแนะแนว กจิ กรรมนักเรียน และ กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์
ไม่ผ่าน หมายถึง ผูเ้ รียนมีผลการประเมนิ ระดบั “ไม่ผา่ น” ในกจิ กรรมสำคญั กจิ กรรมใด

กิจกรรมหนึ่งจาก 3 ลักษณะ คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมเพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชน์

๒.๓ เกณฑ์การตดั สนิ ผลการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผู้เรียนเพอื่ จบระดับการศกึ ษา
ผา่ น หมายถงึ ผ้เู รยี นมผี ลการประเมินระดับ “ผ่าน” ทกุ ช้นั ปีในระดับ การศกึ ษาน้ัน
ไมผ่ ่าน หมายถงึ ผเู้ รยี นมผี ลการประเมนิ ระดับ“ไม่ผ่าน”บางชั้นปีในระดับการศึกษาน้ัน

แนวทางการแกไ้ ขนักเรยี นกรณีไมผ่ ่านเกณฑ์
กรณีที่ผู้เรียนไม่ผ่านกิจกรรมให้เป็นหน้าที่ของครูหรือผู้รับผิดชอบกิจกรรมนั้น ๆ

ที่จะต้อง ซ่อมเสริมโดยใหผ้ ูเ้ รยี นดำเนินกจิ กรรมจนครบตามเวลาทีข่ าดหรือปฏิบตั ิกิจกรรมใหบ้ รรลตุ าม
วัตถุประสงค์ของกิจกรรมนั้นแล้วจึงประเมินให้ผ่านกิจกรรมเพื่อบันทึกในระเบียนแสดงผลการเรียน
ยกเว้นมีเหตสุ ดุ วิสัยใหร้ ายงานผู้บรหิ ารสถานศึกษาทราบเพือ่ ดำเนนิ การช่วยเหลอื ผ้เู รียน อย่างเหมาะสม
เปน็ รายกรณไี ป

การประเมนิ การเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นนั้นจะตอ้ งคำนงึ ถงึ สิ่งตอ่ ไปนี้
๑. ผู้เรยี นมีเวลาการเข้ารว่ มกิจกรรมของผเู้ รียนตามเกณฑ์ทีส่ ถานศกึ ษากำหนด

โดยสถานศึกษาควรกำหนดเวลาไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนแต่ละ
กิจกรรม สำหรับกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนผ์ ูเ้ รียนตอ้ งปฏิบตั ิกิจกรรมครบตามโครงสร้าง
เวลาเรียน

๒. ผู้เรียนมีผลการปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงาน/ชิ้นงาน/คุณลักษณะตามเกณฑ์
ทส่ี ถานศึกษากำหนดโดยอาจจัดใหผ้ ู้เรียนแสดงผลงานแฟม้ สะสมงานหรือจดั นิทรรศการ

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถัมภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 167

๓. การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี นหากสถานศึกษามีบุคลากรไม่เพยี งพอหรือไม่สามารถ
จัดกิจกรรมได้อย่างหลากหลาย สถานศึกษาอาจจัดกิจกรรมในลักษณะบูรณาการในกิจกรรม หรือ
โครงการต่าง ๆ เชน่ กจิ กรรม

โฮมรูม กิจกรรมวันสำคัญ กิจกรรมบำเพ็ญประโยชนเ์ ป็นต้นซึ่งสถานศึกษาสามารถ
ประเมินผลการเขา้ รว่ มกิจกรรมดังกลา่ ว และนำมาเปน็ ส่วนหนง่ึ ในการประเมินกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียนได้

๔. การจัดกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนควรมอี งค์ประกอบในการดำเนนิ การ ดงั นี้
๔.๑ มคี รูท่ปี รึกษากิจกรรมและมีแผนการดำเนินกิจกรรม
๔.๒ มหี ลกั ฐาน ชิน้ งาน หรอื แฟ้มสะสมงาน
๔.๓ ผรู้ ับรองผลการเข้ารว่ มกจิ กรรม
๔.๔ มีรายงานแสดงการเข้าร่วมกิจกรรม

บทบาทของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
๑. กำหนดแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนไว้ในหลักสูตรสถานศึกษา และโดยการมื

ส่วนร่วมของผูเ้ กยี่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ย
๒. ผู้บริหารชี้แจงทำความเข้าใจและสร้างความตระหนักให้บุคลากรและผู้มีส่วน

เกี่ยวขอ้ งทกุ คนเหน็ คณุ คา่ และรว่ มมือในการจดั กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน
๓. พัฒนาและส่งเสริมสนับสนุนให้ครูมีความรู้ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และมี

ความทันสมัยในการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่หลากหลายสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและ
สถานการณ์ปัจจบุ นั อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธภิ าพ

๔. สร้างเครือข่ายและประสานความร่วมมือและความเข้าใจอันดีระหว่างสถานศึกษา
กับผูเ้ รียนผู้ปกครองชมุ ชน องคก์ รภาครฐั และภาคเอกชนเพือ่ สนับสนนุ การจดั กจิ กรรม

๕. นเิ ทศติดตาม ใหค้ ำปรกึ ษา ประเมินผลและสร้างขวญั กำลงั ใจแก่ผู้ปฏิบัติงานในการ
จดั กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น

๖. แลกเปล่ียนเรียนรู้และเผยแพร่ผลงานท่ีประสบผลสำเร็จกับหน่วยงานและบุคลากร
ทีเ่ กย่ี วข้องบทบาทของครูผ้รู ับผิดชอบกิจกรรม

บทบาทของบคุ ลากรที่เกี่ยวขอ้ ง
การดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพ จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้อง

กำหนด บทบาทหน้าที่ของบุคลากรที่เกี่ยวข้องซึ่งสถานศกึ ษาสามารถนำไปเปน็ แนวทางในการปฏิบัตไิ ด้
ตามความเหมาะสม

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถมั ภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 168

บทบาทของบคุ ลากรทเ่ี กี่ยวข้อง
การดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพ จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องกำหนด

บทบาทหน้าทข่ี องบุคลากรที่เกีย่ วข้องซึ่งสถานศกึ ษาสามารถนำไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติได้ตามความ
เหมาะสม

๑. ศึกษาหลักการ วัตถุประสงค์ขอบข่าย แนวการจัดกิจกรรม การประเมินผลพัฒนา
ผูเ้ รยี น และจดั กิจกรรมพฒั นาผู้เรียนให้บรรลตุ ามเป้าหมาย

๒. ชแี้ จงและทำความเขา้ ใจกบั ผเู้ รยี นและผู้ปกครองเก่ยี วกับการจัดกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น
๓. ร่วมกับผู้เรยี นออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด ความสนใจ
ของผเู้ รยี นและเปน็ ไปตามหลักการ ปรัชญา และแนวการจัดกจิ กรรมพัฒนานักเรียน
๔. ส่งเสริม กระตุน้ และอำนวยความสะดวกให้ผ้เู รียนแสดงความคิดเหน็ อย่างอิสระในการ
จัดทำแผนงานโครงการรว่ มปฏิบัตกิ จิ กรรม และการประเมนิ ผล
๕. ให้คำปรึกษา ดูแล ติดตาม ประสานงาน และอำนวยความสะดวกใหแ้ ก่ผู้เรียน ในการ
ร่วมกจิ กรรมใหเ้ ป็นไปตามแผน
๖. ประเมินผลการเข้าร่วมกิจกรรมของผู้เรียนและซ่อมเสริมกรณีที่ผู้เรียนไม่ผ่านเกณฑ์
พรอ้ มจดั ทำเอกสารหลกั ฐานการประเมินผล
๗. รายงานผลการดำเนินกิจกรรมให้ผู้เกี่ยวขอ้ งทราบแล้วนำผลการจัดกิจกรรมมาพฒั นา
และปรบั ปรงุ แกไ้ ข
๘. แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ผลงานที่ประสบผลสำเร็จกับหน่วยงานและบุคลากรท่ี
เกี่ยวข้อง
บทบาทของผูเ้ รยี น
๑. ศึกษาข้อมูล วิเคราะห์ตนเอง และเข้าร่วมกิจกรรมตามความสนใจ ความถนัด และ
ความสามารถหรอื ตามขอ้ เสนอแนะของสถานศกึ ษา
๒. เข้ารับการปฐมนิเทศจากครูผ้รู ับผิดชอบกจิ กรรม
๓. ร่วมประชุมเลือกต้ังคณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ ตามลกั ษณะของกจิ กรรม
๔. รว่ มประชุมจดั ทำแผนงาน โครงการ ปฏิทนิ งาน และปฏบิ ัติกจิ กรรม ด้วยความเอาใจใส่
อยา่ งสม่ำเสมอ
๕. ร่วมประเมินการปฏิบัติกิจกรรมและนำผลมาพัฒนาตนเอง และนำเสนอผลการปฏิบัติ
กจิ กรรมตอ่ ครูผรู้ ับผดิ ชอบ

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถัมภ์ พุทธศกั ราช 2553
(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 169

๖. แลกเปลี่ยนเรียนรูถ้ อดประสบการณ์ทบทวน และสะท้อนความรู้สึกภายหลังการปฏบิ ัติ
กิจกรรม(After Action Review :AAR) รวมทัง้ สร้างเครือข่ายจิตอาสาและขยายผลต่อยอดสคู่ วามยัง่ ยืน

บทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา
๑. ให้ความเหน็ ชอบและมีสว่ นรว่ มในการกำหนดวางแผนดำเนินกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ตาม

หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง๒๕๖๐)
๒. ส่งเสริมสนับสนนุ การดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนตามความเหมาะสม

บทบาทของผ้ปู กครองและชมุ ชน
๑. มีส่วนร่วมในการวางแผนการจัดกิจกรรมและอาสาร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของสถานศึกษา

และชมุ ชน
๒. ยอมรับในศักยภาพของผู้เรียนให้โอกาสให้ผู้เรียนได้สำรวจตนเองเพื่อประกอบการ

ตัดสินใจในการเลอื กแผนการเรยี น การศกึ ษาต่อ และการประกอบอาชพี
๓. ดแู ลเอาใจใส่ผู้เรียน และใหข้ อ้ มลู ท่ีเป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาป้องกนั และแก้ไขปัญหา

ของผเู้ รยี น
๔. เปน็ ทีป่ รึกษาหรอื แนะแนวทางการดำเนินชวี ิตทด่ี ีงามให้แก่ผเู้ รียน
๕. รว่ มมือกับสถานศกึ ษาเพ่อื ติดตามประเมนิ ผลพัฒนาและการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมของผ้เู รียน

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถมั ภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 170

สว่ นท่ี ๔
เกณฑก์ ารจบการศกึ ษา

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ พุทธศักราช ๒๕๕๓
(ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐) กำหนดเกณฑ์สำหรบั การจบการศึกษาระดบั ประถมศึกษาไว้ ดงั น้ี

เกณฑก์ ารจบระดับประถมศึกษา
๑. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน จำนวน ๘๔๐ ชั่วโมง และรายวิชาเพิ่มเติมจำนวน ๑๖๐

ชั่วโมง และมีผลการประเมนิ รายวชิ าพื้นฐานผา่ นทกุ รายวิชา
๒. ผเู้ รยี นตอ้ งมีผลการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน ระดบั “ผา่ น” ขึน้ ไป
๓. ผ้เู รียนมีผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ระดับ “ผา่ น” ขนึ้ ไป
๔. ผู้เรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและได้รับการตัดสินผลการเรียน “ผ่าน”

ทุกกจิ กรรม

การจัดการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการสำคัญในการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ของผู้เรียน เป็นเปา้ หมายสำหรับพฒั นาเดก็ และเยาวชน

ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมบัติตามเป้าหมายหลักสูตร ผู้สอนพยายามคดั สรรกระบวนการ
เรียนรู้ จัดการเรียนรู้โดยช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านสาระที่กำหนดไว้ในหลักสูตร ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้
รวมทั้งปลูกฝงั เสริมสร้างคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ พฒั นาทกั ษะตา่ ง ๆ อนั เป็นสมรรถนะสำคัญให้ผ้เู รียน
บรรลุตามเป้าหมาย

๑. หลักการจดั การเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้สมรรถนะ

สำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โดยยึดหลักว่า ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด เชื่อว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้
ยึดประโยชน์ที่เกิดกับผู้เรียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนา
ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง
เนน้ ใหค้ วามสำคัญท้ังความรู้ และคณุ ธรรม

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถมั ภ์ พุทธศกั ราช 2553
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 171

๒. กระบวนการเรยี นรู้
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้เรียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้

ที่หลากหลาย เป็นเครื่องมอื ทจ่ี ะนำพาตนเองไปสเู่ ปา้ หมายของหลกั สูตร โดยกระบวนการเรียนรทู้ จี่ ำเปน็
สำหรับผู้เรียน อาทิ กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด
กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้
จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทำจริงกระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย
กระบวนการเรยี นรู้การเรยี นรูข้ องตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนสิ ัย

กระบวนการเหล่านี้ จัดเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝนและ
พัฒนา เพราะจะสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร ดังนั้น ผู้สอน
จึงจำเป็นต้องศึกษาทำความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เพ่อื ใหส้ ามารถเลือกใช้ในการจัดกระบวนการ
เรยี นรไู้ ดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ

๓. การออกแบบการจดั การเรยี นรู้
ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะ

สำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน แล้วจึงจะ
พิจารณาออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัด
และประเมินผล เพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาเตม็ ตามศกั ยภาพ และบรรลุตามเปา้ หมายทกี่ ำหนด

๔. บทบาทของผสู้ อนและผู้เรยี น
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเป้าหมายของหลักสูตร ทั้งผู้สอนและผู้เรียน

ควรมีบทบาท ดงั น้ี
๔.๑ บทบาทของผู้สอน
๑) ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการ

จัดการเรียนรู้ ที่ท้าทายความสามารถของผเู้ รียน
๒) กำหนดเปา้ หมายท่ีต้องการให้เกิดข้นึ กับผู้เรยี น ดา้ นความรู้และทักษะกระบวนการ

ในที่เป็นความคิดรวบยอด หลกั การ และความสมั พันธ์ รวมทั้งคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
๓) ออกแบบการเรียนรูแ้ ละจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและ

พฒั นาการทางสมอง เพ่ือนำผู้เรียนไปสู่เป้าหมาย
๔) จัดบรรยากาศทเี่ อ้อื ต่อการเรยี นรู้ และดแู ลชว่ ยเหลือผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้
๕) จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นำภูมิปัญญาท้องถิน่ เทคโนโลยี

ทเ่ี หมาะสมมาประยุกตใ์ ช้ในการจัดการเรยี นการสอน
๖) ประเมนิ ความก้าวหน้าของผู้เรียนดว้ ยวิธกี ารท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติ

ของวชิ าและระดับพฒั นาการของผู้เรยี น

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศกึ ษา | 172

๗) วิเคราะห์ผลการประเมินเพื่อนำมาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน รวมทั้ง
ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนของตนเอง

๔.๒ บทบาทของผเู้ รยี น
๑) กำหนดเป้าหมาย วางแผน และรบั ผดิ ชอบการเรยี นร้ขู องตนเอง
๒) เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อความรู้

ตั้งคำถาม คิดหาคำตอบหรอื หาแนวทางแก้ปญั หาด้วยวธิ ีการต่าง ๆ
๓) ลงมือปฏิบัติจริง สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน

สถานการณต์ า่ ง ๆ
๔) มีปฏสิ ัมพันธ์ ทำงาน ทำกจิ กรรมรว่ มกับกลุ่มและครู
๕) ประเมนิ และพัฒนากระบวนการเรียนรขู้ องตนเองอยา่ งต่อเนอ่ื ง

สือ่ การเรียนรู้
ส่ือการเรียนรู้เปน็ เครื่องมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าถึง

ความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สื่อการเรยี นรูม้ ีหลากหลายประเภท ทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพมิ พ์ สื่อเทคโนโลยี และเครือข่ายการเรียนรู้
ต่าง ๆ ที่มีในทอ้ งถิน่ การเลอื กใชส้ ือ่ ควรเลือกใหม้ ีความเหมาะสมกบั ระดับพัฒนาการ และลีลาการเรียนรู้
ท่หี ลากหลายของผเู้ รียน

การจัดหาสื่อการเรียนรู้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถจัดทำและพัฒนาขึ้นเอง หรือปรับปรุง
เลอื กใช้อย่างมีคุณภาพจากส่ือต่าง ๆ ท่มี ีอยู่รอบตวั เพอ่ื นำมาใช้ประกอบในการจัดการเรียนรู้ที่สามารถ
ส่งเสริมและส่ือสารใหผ้ เู้ รียนเกดิ การเรยี นรู้ โดยสถานศกึ ษาควรจดั ใหม้ ีอยา่ งพอเพียง เพื่อพฒั นาใหผ้ ู้เรยี น
เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และผู้มีหน้ าท่ี
จัดการศึกษาข้ันพนื้ ฐานควรดำเนนิ การ ดังนี้

๑. จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่าย
การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาค้นคว้าและการแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์การเรยี นรู้ ระหว่างสถานศกึ ษา ท้องถ่ิน ชมุ ชน สังคมโลก

๒. จัดทำและจัดหาสื่อการเรียนรู้สำหรับการศึกษาค้นคว้าของผูเ้ รยี น เสริมความรู้ให้ผ้สู อน
รวมท้ังจดั หาสง่ิ ทม่ี ีอยใู่ นท้องถิ่นมาประยกุ ตใ์ ชเ้ ปน็ ส่ือการเรียนรู้

๓. เลือกและใช้สื่อการเรยี นรู้ที่มีคณุ ภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้องกับ
วธิ กี ารเรยี นรู้ ธรรมชาตขิ องสาระการเรียนรู้ และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรยี น

๔. ประเมนิ คณุ ภาพของสอ่ื การเรียนรทู้ ี่เลือกใชอ้ ยา่ งเป็นระบบ
๕. ศึกษาค้นคว้า วิจัย เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ของ
ผเู้ รียน

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 173

๖. จัดให้มีการกำกับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเก่ียวกับสื่อ และการใช้สอ่ื
การเรียนรูเ้ ปน็ ระยะ ๆ และสม่ำเสมอ

ในการจัดทำ การเลือกใช้ และการประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ที่ใช้ในสถานศึกษา
ควรคำนึงถึงหลักการสำคัญของสื่อการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตร วัตถุประสงค์การเรียนรู้
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน เนื้อหามีความถูกต้องและทันสมัย
ไม่กระทบความมนั่ คงของชาติ ไมข่ ดั ต่อศีลธรรมมีการใช้ภาษาท่ีถูกตอ้ ง รปู แบบการนำเสนอที่เข้าใจง่าย
และนา่ สนใจ

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการ คือ

การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน และเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
ใหป้ ระสบผลสำเรจ็ นน้ั ผเู้ รยี นจะต้องได้รบั การพัฒนาและประเมินตามตัวช้วี ัด เพอื่ ใหบ้ รรลุตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ซึ่งเป็นเป้าหมายหลัก
ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับ ไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับ
เขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียน โดยใช้ผลการประเมนิ เป็นขอ้ มูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสำเร็จ
ทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนา และ
เรียนรูอ้ ยา่ งเตม็ ตามศกั ยภาพ

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 4 ระดับ ประกอบด้วย ระดับชั้นเรียน ระดับ
สถานศกึ ษา ระดบั เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา และระดบั ชาติ โดยมรี ายละเอยี ดดังนี้

๑. การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้
ครูผู้สอนดำเนินการเป็นปกติและสม่ำเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมิน
อย่างหลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมิน
ชนิ้ งาน /ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน การใชแ้ บบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเปน็ ผู้ประเมนิ เองหรือเปิดโอกาส
ให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน ผู้ปกครองร่วมประเมิน ในกรณีที่ไม่ผ่านตัวชี้วัดให้มีการ
สอนซอ่ มเสรมิ

การประเมินระดับชั้นเรียนเปน็ การตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้
อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่จะต้องได้รับ
การพัฒนาปรับปรุงและส่งเสริมในด้านใด นอกจากน้ียังเป็นขอ้ มูลให้ผู้สอนใช้ปรบั ปรุงการเรียนการสอน
ของตนดว้ ย ท้งั น้ีโดยสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ชวี้ ัด

๒. การประเมินระดับสถานศกึ ษา เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดำเนินการเพื่อตัดสินผล
การเรียนของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของ

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถมั ภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 174

สถานศึกษา ว่าส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมท้ัง

สามารถนำผลการเรียนของผู้เรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับ

สถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัด

การเรยี นการสอน

ตลอดจนเพื่อการจัดทำแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาตามแนวทางการประกัน
คณุ ภาพการศึกษา และการรายงานผลการจดั การศึกษาตอ่ คณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา สำนักง านคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ผู้ปกครองและชุมชน

๓. การประเมินระดับเขตพื้นท่ีการศกึ ษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพ้นื ท่ี
การศกึ ษาตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน เพ่อื ใชเ้ ป็นขอ้ มูลพ้ืนฐาน
ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดำเนินการ
โดยประเมินคุณภาพผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่จัดทำ และดำเนินการโดยเขตพื้นที่
การศกึ ษา หรอื ด้วยความร่วมมอื กับหน่วยงานตน้ สงั กัดในการดำเนินการจัดสอบ นอกจากน้ยี งั ไดจ้ ากการ
ตรวจสอบทบทวนขอ้ มูลจากการประเมนิ ระดบั สถานศึกษาในเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา

๔. การประเมินระดับชาติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการ
เรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียนในชั้น
ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เข้ารับการประเมิน ผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมูลในการ
เทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับต่าง ๆ เพื่อนำไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัด
การศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูลสนับสนุนการตดั สนิ ใจในระดับนโยบายของประเทศ

ข้อมูลการประเมินในระดับต่าง ๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบ
ทบทวนพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแล
ช่วยเหลือ ปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมสนับสนุน เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐานความ
แตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล ทีจ่ ำแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการ ไดแ้ ก่ กลุ่มผเู้ รียนท่ัวไป กลุ่มผู้เรียนที่มี
ความสามารถพเิ ศษ กลุ่มผเู้ รยี นท่ีมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่ำ กล่มุ ผเู้ รยี นทมี่ ปี ญั หาดา้ นวนิ ัยและพฤติกรรม
กลุ่มผู้เรียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการทางรา่ งกายและ
สตปิ ญั ญา เปน็ ตน้ ขอ้ มูลจากการประเมินจึงเปน็ หัวใจของสถานศกึ ษา ในการดำเนนิ การชว่ ยเหลือผู้เรียน
ได้ทนั ทว่ งที เปน็ การเปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รียนไดร้ ับการพฒั นาและประสบความสำเรจ็ ในการเรยี น

สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทำระเบียบว่าด้วยการวัดและ
ประเมินผลการเรียนของสถานศึกษา ให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ ที่เป็น
ข้อกำหนดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายถือปฏิบัติ
รว่ มกนั

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นเศรษฐเสถยี ร ในพระราชปู ถมั ภ์ พุทธศกั ราช 2553
(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 175

เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผลการเรียน
๑. การตัดสนิ การใหร้ ะดบั และการรายงานผลการเรียน
๑.๑ การตดั สินผลการเรียน
ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนนั้น ผู้สอนต้องคำนึงถึงการพัฒนาผู้เรยี นแต่ละคน
เป็นหลัก และต้องเก็บข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมทั้ง
สอนซ่อมเสริมผู้เรียนให้พัฒนาจนเต็มตามศักยภาพ

ระดับประถมศึกษา
(๑) ผเู้ รยี นต้องมเี วลาเรียนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ๘0 ของเวลาเรยี นท้ังหมด
(๒) ผเู้ รยี นต้องได้รับการประเมินทุกตัวชวี้ ัด และผา่ นตามเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษากำหนด
(๓) ผเู้ รยี นต้องไดร้ บั การตัดสนิ ผลการเรียนทุกรายวชิ า
(๔) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา
กำหนด ในการอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขยี น คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน
การพจิ ารณาเล่อื นช้นั ถา้ ผเู้ รียนมีข้อบกพร่องเพยี งเลก็ น้อย และสถานศึกษาพิจารณา
เห็นวา่ สามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยู่ในดุลพินิจของสถานศึกษาที่จะผ่อนผันให้เล่ือนชั้นได้
แต่หากผู้เรียนไม่ผ่านรายวิชาจำนวนมาก และมีแนวโนม้ ว่าจะเป็นปญั หาต่อการเรยี นในระดับชั้นท่ีสูงขึ้น
สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้ำชั้นได้ ทั้งนี้ให้คำนึงถึงวุฒิภาวะและความรู้
ความสามารถของผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั
๑.๒ การให้ระดบั ผลการเรยี น
ระดับประถมศึกษา ในการตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวิชา สถานศึกษา
สามารถให้ระดับผลการเรียนหรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียน เป็นระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร
ระบบร้อยละ และระบบทใ่ี ช้คำสำคัญสะทอ้ นมาตรฐาน

ระดบั ผลการเรียน ความหมาย ช่วงคะแนนรอ้ ยละ
๔ ผลการเรียนดีเย่ยี ม ๘๐ - ๑๐๐
๓.๕ ผลการเรียนดีมาก ๗๕ - ๗๙
๓ ๗๐ - ๗๔
๒.๕ ผลการเรียนดี ๖๕ - ๖๙
๒ ผลการเรียนคอ่ นขา้ งดี ๖๐ - ๖๔
๑.๕ ผลการเรียนนา่ พอใจ ๕๕ - ๕๙
๑ ๕๐ - ๕๔
๐ ผลการเรยี นพอใช้ ๐ - ๔๙
ผลการเรียนผา่ นเกณฑ์ขน้ั ตำ่
ผลการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์

หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนเศรษฐเสถยี ร ในพระราชูปถัมภ์ พทุ ธศักราช 2553
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 176

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น
ใหร้ ะดับผล การประเมินเป็น “ดเี ยี่ยม ดี และ ผ่าน”

การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม
การปฏิบตั กิ จิ กรรมและผลงานของผู้เรยี น ตามเกณฑ์ทีส่ ถานศึกษากำหนด และให้ผลการเขา้ ร่วมกิจกรรม
เป็น “ผา่ น และ ไม่ผา่ น”

๑.๓ การรายงานผลการเรียน
การรายงานผลการเรียน เป็นการสื่อสารให้ผู้ปกครองและผู้เรียนทราบความก้าวหน้า

ในการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดทำเอกสารรายงานให้ผู้ปกครอง
ทราบเปน็ ระยะ ๆ หรืออยา่ งนอ้ ยภาคเรยี นละ ๑ คร้ัง

การรายงานผลการเรียน สามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียน
ทีส่ ะท้อนมาตรฐานการเรียนรกู้ ลมุ่ สาระการเรยี นรู้

๒. เกณฑก์ ารจบการศกึ ษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดเกณฑ์กลางสำหรับการจบการศึกษา

เป็น ๑ ระดบั คือ ระดับประถมศึกษา
๒.๑ เกณฑ์การจบระดบั ประถมศึกษา
(๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม ตามโครงสร้างเวลาเรียน

ท่หี ลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานกำหนด
(๒) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี

สถานศึกษากำหนด
(๓) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์

การประเมินตามที่สถานศกึ ษากำหนด
(๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์

การประเมินตามทสี่ ถานศกึ ษากำหนด
(๕) ผเู้ รยี นเขา้ รว่ มกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นและมีผลการประเมนิ ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ตามท่ีสถานศกึ ษากำหนด
สำหรับการจบการศึกษาสำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง

การศกึ ษาสำหรับผมู้ ีความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศกึ ษาสำหรับผู้ด้อยโอกาส การศึกษาตาม
อัธยาศัย ให้คณะกรรมการของสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักเกณฑ์ในแนวปฏิบัติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน สำหรับกลุ่มเปา้ หมายเฉพาะ

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถมั ภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศึกษา | 177

เอกสารหลกั ฐานการศึกษา
เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็นเอกสารสำคัญที่บันทึกผลการเรียน ข้อมูล และสารสนเทศ

ท่ีเกี่ยวข้องกบั พฒั นาการของผ้เู รียนในดา้ นต่าง ๆ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ดงั น้ี
๑. เอกสารหลักฐานการศึกษาทก่ี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารกำหนด
๑.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน เป็นเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรียน

ของผู้เรียนตามรายวิชา ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ของสถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาจะต้องบันทึกข้อมูล
และออกเอกสารนีใ้ ห้ผู้เรียนเป็นรายบคุ คล เมื่อผู้เรียนจบการศกึ ษาระดับประถมศกึ ษา (ชั้นประถมศึกษา
ปีที่ ๖)

๑.๒ แบบรายงานผู้สำเรจ็ การศึกษา เปน็ เอกสารอนมุ ตั ิการจบหลักสูตร โดยบนั ทึกรายชื่อ
และข้อมลู ของผู้จบการศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา (ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๖)

๒. เอกสารหลักฐานการศึกษาท่ีสถานศกึ ษากำหนด
เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทำขึ้นเพื่อบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้ และข้อมูลสำคัญ

เกี่ยวกับผู้เรียน เช่น แบบรายงานประจำตัวนักเรียน แบบบันทึกผลการเรียนประจำรายวิชา ระเบียน
สะสม ใบรับรองผลการเรยี น และเอกสารอน่ื ๆ ตามวตั ถปุ ระสงค์ของการนำเอกสารไปใช้

การเทียบโอนผลการเรยี น
สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียนในกรณีต่าง ๆ ได้แก่ การย้ายสถานศึกษา

การเปลี่ยนรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับการศึกษา
ต่อ การศึกษาจากต่างประเทศและขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทียบโอนความรู้
ทักษะ ประสบการณ์จากแหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันศาสนา สถาบันการ
ฝกึ อบรมอาชพี การจัดการศึกษาโดยครอบครัว

การเทียบโอนผลการเรียน ควรดำเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรือต้นภาคเรียนแรก
ทส่ี ถานศึกษารบั ผขู้ อเทียบโอนเป็นผ้เู รยี น ท้ังน้ี ผูเ้ รียนทไ่ี ดร้ บั การเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษาตอ่ เนือ่ ง
ในสถานศึกษาที่รับเทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรียน โดยสถานศึกษาที่รับผู้เรียนจากการเทียบโอน
ควรกำหนดรายวชิ า/จำนวนหน่วยกิต ทจี่ ะรับเทียบโอนตามความเหมาะสม

การพิจารณาการเทยี บโอน สามารถดำเนินการไดด้ งั นี้
๑. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอ่ืน ๆ ที่ให้ข้อมูลแสดงความรู้ ความสามารถ
ของผู้เรียน
๒. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียน โดยการทดสอบด้วยวิธีการต่าง ๆ ทั้งภาค
ความร้แู ละภาคปฏบิ ตั ิ
๓. พจิ ารณาจากความสามารถและการปฏิบัติในสภาพจรงิ
การเทยี บโอนผลการเรียนให้เปน็ ไปตามประกาศ หรือแนวปฏิบตั ิของกระทรวงศึกษาธิการ

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถมั ภ์ พุทธศักราช 2553
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 178

การบริหารจัดการหลกั สตู ร
ในระบบการศึกษาที่มีการกระจายอำนาจให้ท้องถิ่น และสถานศึกษามีบทบาทในการพัฒนา

หลักสูตรนั้น หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในแต่ละระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ ระดับท้องถิ่น จนถึงระดับ
สถานศึกษา มีบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุน ส่งเสริมการใช้ และพัฒนา
หลกั สูตรให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพอ่ื ให้การดำเนินการจดั ทำหลักสูตรสถานศึกษา และการจัดการ
เรียนการสอนของสถานศึกษามีประสิทธิภาพสูงสุด อันจะส่งผลให้การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน บรรลุ
ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ทีก่ ำหนดไวใ้ นระดับชาติ

ระดับท้องถิน่ ได้แก่ สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา หน่วยงานต้นสังกัดอ่ืน ๆ เป็นหน่วยงานท่มี ี
บทบาทในการขับเคลื่อนคุณภาพการจดั การศกึ ษา เปน็ ตวั กลางท่ีจะเช่ือมโยงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พน้ื ฐานทกี่ ำหนดในระดับชาติ ใหส้ อดคล้องกบั สภาพและความตอ้ งการของท้องถิ่น เพือ่ นำไปสกู่ ารจัดทำ

หลักสูตรของสถานศึกษา ส่งเสริมการใช้และพัฒนาหลักสูตรในระดับสถานศึกษา ให้ประสบความสำเร็จ
โดยมีภารกิจสำคัญคือ กำหนดเป้าหมายและจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับท้องถิน่ โดยพิจารณา
ให้สอดคล้องกับสิ่งที่เป็นความต้องการในระดับชาติ พัฒนาสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น ประเมินคุณภาพ
การศึกษาในระดับท้องถิ่น รวมทั้งเพิ่มพูนคุณภาพการใช้หลักสูตรด้วยการวิจัยและการพัฒนาบุคลากร
สนบั สนุน ส่งเสรมิ ติดตามผล ประเมนิ ผล วเิ คราะห์ และรายงานผลคุณภาพของผเู้ รยี น

สถานศึกษามีหน้าที่สำคัญในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวางแผนและดำเนินการใช้
หลกั สตู ร การเพม่ิ พนู คณุ ภาพการใช้หลักสูตรด้วยการวจิ ัย และพฒั นาการปรับปรงุ และพัฒนาหลักสูตร
จดั ทำระเบียบการวัดและประเมินผล ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ต้องพิจารณาให้สอดคล้องกับ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน และรายละเอยี ดทีเ่ ขตพน้ื ที่การศกึ ษา หรอื หน่วยงานสังกัดอ่ืน ๆ
ในระดับท้องถิ่นได้จัดทำเพิ่มเติม รวมทั้งสถานศึกษาสามารถเพิ่มเติมในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหา
ในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และความต้องการของผู้เรียน โดยทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม
ในการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชปู ถัมภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดับประถมศึกษา | 179

ภาคผนวก

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 180

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 181

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 182

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ พทุ ธศกั ราช 2553
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565) ระดบั ประถมศกึ ษา | 183


Click to View FlipBook Version