The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนพลศึกษา

แผนพลศึกษา

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา สุขศึกษา ( พ21103 ) กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล นางสาวแพรทิพย์ โพคาวัฒน์ รหัสประจ าตัวนักศึกษา 62100189112 สาขาวิชาพลศึกษาและสุขศึกษา การฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 รหัสวิชา ED18502 (INTERNSHIP IN SCHOOL 2) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (พลศึกษา) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชาพลศึกษา (กรีฑา 2 ) รหัส พ 22104 เวลา 1 ชั่วโมง เรื่อง ท่าตั้งต้นการออกวิ่งระยะกลาง ภาคเรียนที่ 2/2566 ผู้สอน นางสาวแพรทิพย์ โพคาวัฒน์ ต าแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วันที่ 16 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2566 โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกก าลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย กีฬาสากล มาตรฐาน พ 3.1 เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกมและกีฬา ตัวชี้วัด ม.2/2 เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลโดยใช้ทักษะพื้นฐานตามชนิดกีฬาได้อย่างละ 1 ชนิด จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายของการวิ่ง ระยะกลางได้ อย่างถูกต้อง (K) 2. ปฏิบัติการฝึกท่าตั้งต้นการออกวิ่งระยะกลาง ตามแบบฝึกได้ถูกต้อง (P) 3. เห็นคุณค่าความส าคัญและประโยชน์ ของรูปแบบและขั้นตอนการฝึกการวิ่งระยะกลางสามารถ แนะน าเพื่อนได้(A) สาระส าคัญ ความคิดรวบยอดการการวิ่งระยะสั้น ระยะกลาง ระยะไกล ในการเล่นเป็นทักษะเบื้องต้นที่ส าคัญอง การฝึกที่จะต้อง ฝึกให้ช านาญ สาระการเรียนรู้ การวิ่งระยะกลาง สมรรถนะ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3. ความสามารถในการใช้ทักษะเล่นกีฬา คุณลักษณะที่เน้น 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มีวินัย 3. มุ่งมั่นในการท างาน


กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นเตรียม (10 นาที) 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน และตรวจความเรียบร้อยของนักเรียน 2. ครูส ารวจรายชื่อนักเรียน 3. ครูให้นักเรียนร้องเพลงกราวกีฬา 4. ครูชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้และเกณฑ์การประเมินวิชากรีฑา 5. ครูถามนักเรียนว่ากรีฑาระยะกลางมีกี่ระยะ (2 ระยะ คือ 800,1,500 เมตร) ขั้นสอน (10 นาที) 1. ครูทบทวนการเรียนปฏิบัติการวิ่งระยะต่าง ๆ ระยะสั้น ระยะกลาง 2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเข้าแถวหน้ากระดาน ห่างจากกลุ่มอื่น 1 เมตร 3. ครูอธิบายท่าตั้งต้นการออกตัวระยะกลาง โดยใช้เหตุการณ์สมมติให้นักเรียนปฏิบัติตาม ขั้นฝึกปฏิบัติ (20 นาที) 1. ครูเหตุการณ์สมมติให้นักเรียนปฏิบัติตาม “ท่าตั้งต้นก่อนออกวิ่ง (สมมติว่าผู้วิ่งถนัดเท้าขวา) โดยทั่วไปนิยมยืนอยู่ในท่าเตรียมพร้อม คือ ยืนให้ ปลายเท้าซ้ายจรดหลังเส้นเริ่ม เท้าขวาอยู่อยู่ข้างหลัง ห่างจากเท้าหน้าพอถนัด โน้มล าตัวไปข้างหน้า ประมาณ 85 องศา ยกมือขวาขึ้นระดับหน้าผาก มือซ้ายยกขึ้นระดับเอว งอศอกขึ้นข้างหลังเล็กน้อย ท่าตั้งต้นก่อนออก วิ่งอีกแบบหนึ่งอาจใช้ท่าตั้งต้นแบบวิ่งระยะสั้นก็ได้ แต่ไม่จ าเป็นต้องใช้ที่ยันเท้า จุดมุ่งหมายของการตั้งต้นก่อน ออกวิ่งแบบนี้เพื่อต้องการเร่งฝีเท้าท าสถิติและเพื่อชิงวิ่งชิดขอบใน ขณะวิ่งเข้าลู่ทางโค้งไม่เสียเปรียบเรื่อง ระยะทาง ท่าตั้งต้นก่อนออกวิ่ง” ขั้นน าไปใช้ (10 นาที) 1. ครูบอกให้นักเรียนเริ่มปฏิบัติที่ละกลุ่ม เพื่อปรับแขนและล าตัวทีละกลุ่ม 2. ครูให้นักเรียนปฏิบัติพร้อมกัน ขั้นสรุป (10 นาที) 1. ครูและนักเรียนสรุป กรีฑาระยะกลางมีกี่ระยะ และทบทวนท่าตั้งต้นออกตัวระยะกลาง 2. ครูนัดหมายนักเรียน สัปดาห์ถัดไปสอบวิ่งระยะ 1,200 เมตร สื่อและแหล่งการเรียนรู้ สนามกรีฑา กระบวนการวัดและประเมินผล 1. วิธีการวัดและประเมินผล 1.1 การตอบค าถามของนักเรียน 1.2 การปฏิบัติท่าตั้งต้นการออกตัววิ่งระยะกลาง 1.3 สังเกตพฤติกรรมความสนใจและกระตือรือร้นในการฝึกปฏิบัติ


2. เครื่องมือ 2.1 แบบประเมินการตอบค าถามของนักเรียน 2.2 แบบประเมินการปฏิบัติท่าตั้งต้นการออกตัววิ่งระยะกลาง 2.3 แบบสังเกตพฤติกรรมความสนใจและกระตือรือร้นในการฝึกปฏิบัติ 3. เกณฑ์การวัดและประเมินผล 3.1 ตอบถูก 2 คะแนน ขึ้นไป 3.2 การปฏิบัติท่าตั้งต้นการออกตัววิ่งระยะกลาง 3 คะแนนขึ้นไป ผ่าน 3.3 นักเรียนมีความสนใจและกระตือรือร้นในการฝึกปฏิบัติ อย่างน้อย 2 รายการขึ้น กิจกรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................... ................................. ปัญหาและอุปสรรค ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ.................................................... (นางสาวแพรทิพย์ โพคาวัฒน์) ผู้สอน วัน 16 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2566


ความเห็นของครูพี่เลี้ยง ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ.................................................... (นายโสภณ กลับแป้น) ครูพี่ลี้ยง วัน 16 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2566 ความคิดเห็นของผู้บริหาร ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ลงชื่อ.................................................... (......................................................) ผู้บริหาร วัน 16 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2566


แบบประเมินการตอบค าถามของนักเรียน ค าชี้แจง : ให้ท าเครื่องหมาย ลงในช่องรายการประเมินการตอบค าถามของนักเรียน เลขที่ ชื่อ – สกุล รายการ อธิบายได้ถูกต้อง สมบูรณ์ ครบถ้วน อธิบายได้ถูกต้อง แต่ไม่ครบถ้วน อธิบายได้ไม่ ถูกต้อง 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 3 คะแนน หมายถึง อธิบายได้ถูกต้องสมบูรณ์ ครบถ้วน คะแนน 2 คะแนน หมายถึง อธิบายได้ถูกต้อง แต่ไม่ครบถ้วน คะแนน 1 คะแนน หมายถึง อธิบายได้ไม่ถูกต้อง ลงชื่อ .............................................. ผู้ประเมิน (.....................................................) ............./............./...........


แบบประเมินการปฏิบัติท่าตั้งต้นการออกตัววิ่งระยะกลาง ค าชี้แจง : ให้ผู้ประเมินท าเครื่องหมาย ลงในช่องคะแนนตามเกณฑ์คะแนนที่ก าหนด เลขที่ ชื่อ-สกุล เกณฑ์การประเมิน ท่าทาง การเคลื่อนที่ ความถูกต้อง รวม 6 คะแนน 2 1 2 1 2 1 เกณฑ์การประเมิน 6 – 5 คะแนน หมายถึง ดีมาก 4 – 3 คะแนน หมายถึง ดี ต่ ากว่า 3 คะแนน หมายถึง พอใช้ (ลงชื่อ) ................................................ ผู้ประเมิน (……………………………………………………………...) ..................... / ..................... / .....................


แบบสังเกตพฤติกรรมความสนใจและกระตือรือร้นในการฝึกปฏิบัติ ค าชี้แจง : ให้ท าเครื่องหมาย √ ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติ เกณฑ์การประเมิน นักเรียนต้องมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนอย่างน้อย 2 รายการขึ้นไป ถือว่าผ่าน (ลงชื่อ)........................................ ผู้ประเมิน (……………………………………………………………...) ..................... / ..................... / ..................... เลขที่ ชื่อ-สกุล รายการ กระตือรือร้นใน สรุปผลการประเมิน การฝึกปฏิบัติ ฝึกปฏิบัติด้วย ความสนุกสนาน สนใจในสื่อและ กิจกรรมที่ครู ก าหนด ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แผนการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (พลศึกษา) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชาพลศึกษา ( กรีฑา 2 ) รหัส พ 22104 เวลา 1 ชั่วโมง เรื่อง ทดสอบการวิ่งระยะกลาง ภาคเรียนที่ 2/2566 ผู้สอน นางสาวแพรทิพย์โพคาวัฒน์ ต าแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วันที่ 24 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2566 โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกก าลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย กีฬาสากล มาตรฐาน พ 3.1 เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกมและกีฬา ตัวชี้วัด ม.2/2 เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลโดยใช้ทักษะพื้นฐานตามชนิดกีฬาได้อย่างละ 1 ชนิด จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายของการวิ่ง ระยะกลางได้ อย่างถูกต้อง (K) 2. ปฏิบัติการฝึกวิ่งระยะกลาง ตาม แบบฝึกได้ถูกต้อง (P) 3. เห็นคุณค่าความส าคัญและประโยชน์ ของรูปแบบและขั้นตอนการฝึกการวิ่งระยะกลางสามารถ แนะน าเพื่อนได้(A) สาระส าคัญ ความคิดรวบยอดการการวิ่งระยะสั้น ระยะกลาง ระยะไกล ในการเล่นเป็นทักษะเบื้องต้นที่ส าคัญอง การฝึกที่จะต้อง ฝึกให้ช านาญ สาระการเรียนรู้ ทดสอบการวิ่งระยะกลาง สมรรถนะ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3. ความสามารถในการใช้ทักษะเล่นกีฬา คุณลักษณะที่เน้น 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มีวินัย 3. มุ่งมั่นในการท างาน


กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นเตรียม (10 นาที) 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน และตรวจความเรียบร้อยของนักเรียน 2. ครูส ารวจรายชื่อนักเรียน 3. ครูให้นักเรียนร้องเพลงกราวกีฬา 5. ครูแจ้งเกณฑ์การประเมินในการวิ่งระยะกลาง 1,200 เมตร มากกว่า 10 นาที คะแนน 7 คะแนน 10 นาที คะแนน 8 คะแนน 9 นาที คะแนน 9 คะแนน ต่ ากว่า 8 นาที คะแนน 10 คะแนน ขั้นสอน (10 นาที) ครูให้นักเรียนอบอุ่นร่างกาย ก่อนการเริ่มทดสอบวิ่งระยะกลาง ขั้นฝึกปฏิบัติ (20 นาที) 1. ครูให้นักเรียนจับคู่กัน โดยเพื่อนอีกคนจะต้องจับเวลาให้เพื่อนที่วิ่งอยู่ สลับกันเมื่อเพื่อน อีกคนทดสอบเสร็จ 2. ครูเริ่มการทดสอบโดยปล่อยตัว ครั้งละ 15 คน ขั้นน าไปใช้ (10 นาที) 1. นักเรียนยืนที่เส้น พร้อมท าท่าตั้งต้นการออกตัวระยะกลาง 1,200 เมตร 2. ครูให้นักเรียนปฏิบัติพร้อมกัน ขั้นสรุป (10 นาที) 1. ครูพานักเรียนคลายกล้ามเนื้อ (cool down) 2. ครูและนักเรียนร่วมสรุปกิจกรรมที่นักเรียนปฏิบัติมา 3. ครูนัดหมายการเรียนครั้งต่อไป สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. สนามกรีฑา 2. นกหวีด กระบวนการวัดและประเมินผล 1. วิธีการวัดและประเมินผล 1.1 การตอบค าถามของนักเรียน 1.2 การทดสอบวิ่งระยะกลาง 1,200 เมตร 1.3 สังเกตพฤติกรรมความสนใจและกระตือรือร้นในการฝึกปฏิบัติ


2. เครื่องมือ 2.1 แบบประเมินการตอบค าถามของนักเรียน 2.2 แบบประเมินการทดสอบวิ่งระยะกลาง 1,200 เมตร 2.3 แบบสังเกตพฤติกรรมความสนใจและกระตือรือร้นในการฝึกปฏิบัติ 3. เกณฑ์การวัดและประเมินผล 3.1 ตอบถูก 2 คะแนน ขึ้นไป 3.2 การทดสอบวิ่งระยะกลาง 1,200 เมตร 7 คะแนน ขึ้นไป 3.3 นักเรียนมีความสนใจและกระตือรือร้นในการฝึกปฏิบัติ อย่างน้อย 2 รายการขึ้น กิจกรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................... ................................. ปัญหาและอุปสรรค ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ.................................................... (นางสาวแพรทิพย์ โพคาวัฒน์) ผู้สอน วันที่ 24 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2566


ความเห็นของครูพี่เลี้ยง ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ลงชื่อ.................................................... (นายโสภณ กลับแป้น) ครูพี่ลี้ยง วันที่ 24 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2566 ความคิดเห็นของผู้บริหาร ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ.................................................... (......................................................) ผู้บริหาร วันที่ 24 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2566


แบบประเมินการตอบค าถามของนักเรียน ค าชี้แจง : ให้ท าเครื่องหมาย ลงในช่องรายการประเมินการตอบค าถามของนักเรียน เลขที่ ชื่อ – สกุล รายการ อธิบายได้ถูกต้อง สมบูรณ์ ครบถ้วน อธิบายได้ถูกต้อง แต่ไม่ครบถ้วน อธิบายได้ไม่ ถูกต้อง 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 3 คะแนน หมายถึง อธิบายได้ถูกต้องสมบูรณ์ ครบถ้วน คะแนน 2 คะแนน หมายถึง อธิบายได้ถูกต้อง แต่ไม่ครบถ้วน คะแนน 1 คะแนน หมายถึง อธิบายได้ไม่ถูกต้อง ลงชื่อ .............................................. ผู้ประเมิน (.....................................................) ............./............./...........


แบบประเมินการทดสอบวิ่งระยะกลาง 1,200 เมตร ค าชี้แจง : ให้ผู้ประเมินท าเครื่องหมาย ลงในช่องคะแนนตามเกณฑ์คะแนนที่ก าหนด เลขที่ ชื่อ-สกุล เกณฑ์การประเมิน รวม 10 คะแนน ต่ ากว่า 8 นาที 9 นาที 10 นาที มากกว่า 10 นาที 10 คะแนน 9 คะแนน 8 คะแนน 7 คะแนน เกณฑ์การประเมิน 10 คะแนน หมายถึง ดีมาก 9 – 8 คะแนน หมายถึง ดี 7 คะแนน หมายถึง พอใช้ ต่ ากว่า 7 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง (ลงชื่อ) ..................................................... ผู้ประเมิน (……………………………………………………………...) ..................... / ..................... / ....................


แบบสังเกตพฤติกรรมความสนใจและกระตือรือร้นในการฝึกปฏิบัติ ค าชี้แจง : ให้ท าเครื่องหมาย √ ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติ เกณฑ์การประเมิน นักเรียนต้องมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนอย่างน้อย 2 รายการขึ้นไป ถือว่าผ่าน (ลงชื่อ) ......................................................... ผู้ประเมิน (……………………………………………………………...) ..................... / ..................... / ..................... เลขที่ ชื่อ-สกุล รายการ กระตือรือร้นใน สรุปผลการประเมิน การฝึกปฏิบัติ ฝึกปฏิบัติด้วย ความสนุกสนาน สนใจในสื่อและ กิจกรรมที่ครู ก าหนด ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (พลศึกษา) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชาพลศึกษา ( กรีฑา 2 ) รหัส พ 22104 เวลา 1 ชั่วโมง เรื่อง เขย่งก้าวกระโดด ภาคเรียนที่ 2/2566 ผู้สอน นางสาวแพรทิพย์ โพคาวัฒน์ ต าแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วันที่31 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2566 โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกก าลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย กีฬาสากล มาตรฐาน พ 3.1 เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกมและกีฬา พ 3.2 รักการออกก าลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจ าและสม่ าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณ ใน การแข่งขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา ตัวชี้วัด ม.2/2 เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากล ทั้งประเภทบุคคลและทีมได้อย่างละ 1 ชนิด จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถอธิบายวิธีการเขย่งก้าวกระโดดได้อย่างถูกต้อง (K) 2. แสดงท่าทางการเขย่งก้าวกระโดดได้ (P) 3. ปฏิบัติโดยแสดงออกจากท่าทางที่กระตือรือร้นและหน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส (A) สาระส าคัญ การเขย่งก้าวกระโดด มีลาดับขั้นตอนที่นักเรียนต้องปฏิบัติ ดังนี้ การวิ่งก่อนกระโดด การเขย่งเท้า การก้าวเท้า การกระโดดขึ้นจากพื้น และการลงสู่พื้น ซึ่งการเคลื่อนไหวทั้งหมดเป็นการเคลื่อนไหวที่ต่อเนื่อง สัมพันธ์กันเพียงครั้งเดียวตั้งแต่เริ่มออกวิ่งด้าวแรกจนถึงการลงสู่พื้น สาระการเรียนรู้ 1. การวิ่งก่อนกระโดด (Approach) 2. การเขย่ง (Hop) 3. การก้าว (Step) สมรรถนะ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3. ความสามารถในการใช้ทักษะเล่นกีฬา


คุณลักษณะที่เน้น 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มีวินัย 3. มุ่งมั่นในการท างาน กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นเตรียม ( 10 นาที ) 1. ให้นักเรียนเข้าแถวตอนแถวละ 5 คน 2. ครูส ารวจสุขภาพ และจ านวนนักเรียน = นักเรียน = ครู 3. ครูแจ้งสาระการเรียนรู้ที่จะเรียนในชั่วโมงนี้ 4. ครูให้นักเรียนยืดเหยียดกล้ามเนื้อ โดยให้ตัวแทนห้องออกมาน ายืดเหยียด ขั้นสอน (10 นาที ) 1. ให้นักเรียนนั่งเป็นแถว 2. ครูอธิบายและสาธิตทักษะเขย่งก้าวกระโดด


ขั้นฝึก (20 นาที) แบบฝึกที่ 1 กระโดดเขย่ง (Hop) ในยางนอกจักรยาน วิธีปฏิบัติ 1. วางยางนอกจักรยานเป็นแนวเส้นตรงห่างกัน 2-2.50 เมตร 2. ให้นักเรียนกระโดดเขย่งลงในยางรถจักรยานในลักษณะต่างๆ กัน เช่น กระโดดสลับขาซ้าย – ขวา กระโดดขาซ้ายขาเดียว กระโดดขาขวาข้างเดียว กระโดดขาซ้ า ซ้าย-ซ้าย , ขวา-ขวา วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาการกระโดดและสร้างความคุ้นเคยการใช้ขาในการเขย่ง แบบฝึกที่ 2 ฝึกจังหวะพื้นฐานกระโดด วิธีปฏิบัติ 1. วิ่งประมาณ 3 – 5 ก้าว 2. ฝึกจังหวะการเขย่ง (Hop) กับการก้าว (Step) ซ้าย-ซ้าย, ขวา-ขวา, ซ้าย-ซ้าย, ขวา-ขวา วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาการกระโดดและสร้างความคุ้นเคยการใช้ขาในการเขย่งกับการก้าว


แบบฝึกที่ 3 ฝึกกระโดดคล้ายกับการกระโดดจริง วิธีปฏิบัติ 1. วิ่งประมาณ 3 - 5 ก้าว 2. กระโดดในลักษณะทักษะที่ถูกต้อง 3. เป็นการฝึกทักษะการเขย่ง (Hop) และการก้าว (Step) 4. ระยะ ทางการฝึก ประมาณ 20 - 30 เมตร วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาการกระโดดและสร้างความคุ้นเคยการใช้ขาในการเขย่งกับการก้าว แบบฝึกที่ 4 ฝึกกระโดดโดยเน้นจังหวะสุดท้ายด้วยการกระโดดบนบล็อกกระโดด วิธีปฏิบัติ 1. วิ่งประมาณ 5 - 7 ก้าว 2. ท าเครื่องหมายระยะทางของการเขย่ง (Hop) ก้าว (Step) กระโดด(Jump) บน บล็อกกระโดด 15 – 25 เซนติเมตร ประมาณ 2 – 3 เมตร ลงบ่อทราย วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบทั้งหมดของการเขย่งก้าวกระโดด


ขั้นน าไปใช้ (10 นาที) เกมวิ่งผลัดก้าวขา (Step) อุปกรณ์ 1.กรวย 2. นกหวีด 3.กล่องกระดาษ วิธีปฏิบัติ 1. วางเบาะหรือกล่อง ห่างกันประมาณ 2.5-3 เมตร โดยให้กล่องตัวแรก และตัวสุดท้าย ห่างเส้นเริ่มทั้ง 2 ด้าน 5 เมตร 2. แบ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่มเท่าๆ กัน แต่ละกลุ่มอยู่ตรงข้ามกัน 3. เริ่มสัญญาณนกหวีดให้แต่ละคนวิ่งไปกระโดดก้าวขา (Step) ซ้าย-ขวา, ซ้าย-ขวา จน ครบแล้ววิ่งอ้อมกรวยกลับมา กระโดดเหมือนเดิม และแตะเพื่อนให้ออกมากระโดด 4. กลุ่มไหนครบทุกคนก่อนเป็นฝ่ายชนะ ขั้นสรุป (5 นาที) 1. ให้นักเรียนจัดแถวตอนแถวละ 5 คน ดังภาพ 2. ครูพานักเรียนยืดเหยียดกล้ามเนื้อ (Cool Down) 3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่อง การทดสอบทักษะเขย่งก้าวกระโดด 4. ครูนัดหมายการเรียนครั้งต่อไป 5. ให้นักเรียนท าความสะอาดร่างกายก่อนไปเรียนในรายวิชาต่อไป


แหล่งการเรียนรู้ / สื่อและอุปกรณ์ 1. สนามฟุตบอล 2. กรวย 3. นกหวีด กระบวนการวัดและประเมินผล 1. วิธีการวัดและประเมินผล 1.1 การตอบค าถามของนักเรียน 1.2 การเขย่งก้าวกระโดด 1.3 สังเกตพฤติกรรมความสนใจและกระตือรือร้นในการฝึกปฏิบัติ 2. เครื่องมือ 2.1 แบบประเมินการตอบค าถามของนักเรียน 2.2 แบบประเมินการเขย่งก้าวกระโดด 2.3 แบบสังเกตพฤติกรรมความสนใจและกระตือรือร้นในการฝึกปฏิบัติ 3. เกณฑ์การวัดและประเมินผล 3.1 ตอบถูก 2 คะแนน ขึ้นไป 3.2 การเขย่งก้าวกระโดด 3 คะแนนขึ้นไป ผ่าน 3.3 นักเรียนมีความสนใจและกระตือรือร้นในการฝึกปฏิบัติ อย่างน้อย 2 รายการขึ้น กิจกรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................ ................................ ปัญหาและอุปสรรค ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................


ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ลงชื่อ.................................................... (นายโสภณ กลับแป้น) ผู้สอน วัน 31 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2566 ความคิดเห็นของผู้บริหาร ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ลงชื่อ.................................................... (...........................................................) ผู้บริหาร วัน 31 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2566


แบบประเมินการตอบค าถามของนักเรียน ค าชี้แจง : ให้ท าเครื่องหมาย ลงในช่องรายการประเมินการตอบค าถามของนักเรียน เลขที่ ชื่อ – สกุล รายการ อธิบายได้ถูกต้อง สมบูรณ์ ครบถ้วน อธิบายได้ถูกต้อง แต่ไม่ครบถ้วน อธิบายได้ไม่ ถูกต้อง 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 3 คะแนน หมายถึง อธิบายได้ถูกต้องสมบูรณ์ ครบถ้วน คะแนน 2 คะแนน หมายถึง อธิบายได้ถูกต้อง แต่ไม่ครบถ้วน คะแนน 1 คะแนน หมายถึง อธิบายได้ไม่ถูกต้อง ลงชื่อ .............................................. ผู้ประเมิน (.....................................................) ............./............./...........


แบบประเมินการเขย่งก้าวกระโดด ค าชี้แจง : ให้ผู้ประเมินท าเครื่องหมาย ลงในช่องคะแนนตามเกณฑ์คะแนนที่ก าหนด เลขที่ ชื่อ-สกุล เกณฑ์การประเมิน ท่าทาง การเคลื่อนที่ ความถูกต้อง รวม 6 คะแนน 2 1 2 1 2 1 เกณฑ์การประเมิน 6 – 5 คะแนน หมายถึง ดีมาก 4 – 3 คะแนน หมายถึง ดี ต่ ากว่า 3 คะแนน หมายถึง พอใช้ (ลงชื่อ) ............................................ ผู้ประเมิน (……………………………………………………………...) ..................... / ..................... / .....................


แบบสังเกตพฤติกรรมความสนใจและกระตือรือร้นในการฝึกปฏิบัติ ค าชี้แจง : ให้ท าเครื่องหมาย √ ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติ เกณฑ์การประเมิน นักเรียนต้องมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนอย่างน้อย 2 รายการขึ้นไป ถือว่าผ่าน (ลงชื่อ) ............................................. ผู้ประเมิน (……………………………………………………………...) ..................... / ..................... / ..................... เลขที่ ชื่อ-สกุล รายการ กระตือรือร้นใน สรุปผลการประเมิน การฝึกปฏิบัติ ฝึกปฏิบัติด้วย ความสนุกสนาน สนใจในสื่อและ กิจกรรมที่ครู ก าหนด ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน


ใบความรู้ เรื่อง เขย่งก้าวกระโดด การวิ่งก่อนกระโดด (Approach) การวิ่งก่อนกระโดดของการเขย่งก้าวกระโดดมีลักษณะเหมือนประเภทกระโดดไกลคือ ต้องใช้ ความเร็วในการวิ่งที่เหมาะสมแต่ใช้ความเร็วในการวิ่งเฉลี่ยแล้วช้ากว่ากระโดดไกล เล็กน้อยเพราะการเขย่งก้าว กระโดดจะต้องมีการเตรียมตัวกระโดดถึง จังหวะ 1. การเขย่ง (Hop) การเขย่ง (Hop) จะเป็นจังหวะรวมกับการกระโดดขึ้นจากพื้น (Take Off) ด้วยมุมการลอยตัวจะน้อย กว่ากระโดดไกลคือประมาณ 12-15 องศา เพราะการเขย่งก้าวกระโดดประเภทนี้จะต้องมีการกระโดดอย่าง ต่อเนื่องถึง 3 ครั้ง ถ้ามุมการกระโดดมากเกินไปจะท าให้ ช่วงก้าวต่อไปทรุดลงไมส่ามารถกระโดดก้าวต่อไปได้ดี เท่าที่ควรขาที่ใช้ในการกระโดดควรจะเป็นขาที่แข็งแรงหลังจากกระโดดขึ้นจากพื้นแล้วก็จะเข้าสู่การลอยตัวไป ข้างหน้าให้ยกขาน าไปข้างหน้าตามแรงส่งในลักษณะขาท่อนบนขนานพื้นทิศทางการลอยตัวไปด้านหน้า การ เคลื่อนที่ของแขนและขาในขณะลอยตัวไม่เกร็งส่วนขาที่เขย่งขึ้นมาก็จะอยู่ในต าแหน่งที่งอพอสมควร เพื่อให้ เกิดความความสมดุลของขาทั้งสองข้างเมื่อขาที่เขย่งเริ่มลงสู่พื้นให้พยายามเหยียดขานั้น ไข้างหน้าเพื่อให้ได้ ระยะทางกระโดดที่ก าหนดไว้และการลงของเท้าให้ลงในลักษณะเต็มฝ่าเท้า และผ่านไปปลายเท้าขณะที่เท้าลง สัมผัสพื้นแล้วน้ าหนักตัวก็เริ่มถ่ายไปด้านหน้าพร้อมที่จะเข้าสู่ ช่วงก้าวต่อไป


2. การก้าว (Step) ช่วงก้าวเท้านี้เป็นช่วงกระโดดต่อจากการเขย่งและเป็นช่วงที่นักกีฬากระโดดได้ระยะสั้นกว่าทั้งสาม ช่วงการลอยตัวในจังหวะนี้เริ่มต้นตั้งแต่น้ าหนักตัวถ่ายเทผ่านแนวดิ่งของขาที่ลงสู่พื้นไปด้านหน้าในการส่งแรง ของจังหวะการก้าวเท้าต้องอาศัยแรงเหวี่ยงจากแขน ทั้งสองข้างด้วย ซึ่งแล้วแต่ความถนัดของแต่ละบุคคลมุม ของการกระโดดลอยตัวช่วงการก้าวเท้า ก็ยังอยู่ในลักษณะต่เหมือนเดิม การลงเท้าให้ลงเต็มฝ่าเท้าและผ่านไป ยังปลายเท้าอย่างรวดเร็ว หลังจากที่เท้าสัมผัสพื้นแล้วในจังหวะนี้พร้อมที่จะเหวี่ยงแขนส่งตัวไปด้านหน้าทันที เวลาของ เท้าที่สัมผัสพื้นพยายามท าอย่างรวดเร็วหมายถึง การกระโดดจะต้องกระโดดขึ้นทันทีหลังจาก ล าตัว เริ่มผ่านมาถึงแนวดิ่งกับเท้าที่ใช้ในการกระโดด เมื่อเริ่มเข้าสู่จังหวะการลอยตัวให้ยกเข่า ของขาน าขึ้นสูง (ขาที่ไม่ได้ใช้กระโดด) ขนานพื้นพร้อมกับยืดล าตัวการลอยตัวในอากาศ ช่วงนี้ ผู้กระโดดต้องอยู่ในท่าเตรียมที่ จะก้าวต่อไป


3. การกระโดด (Jump) การกระโดดช่วงนี้เป็นช่วงสุดท้ายก่อนที่จะลงสู่บ่อทรายและเป็นจังหวะ คล้ายกับการกระโดดขึ้นจาก พื้นของกระโดดไกล นักกีฬามุ่งหวังให้ได้ระยะทางไกลที่สุดในการลอยตัวขึ้นจากพื้นต้องพยายามเหวี่ยงแขนทั้ง สองข้างและดึงขาไปข้างหน้าให้สูงและแรงเต็มที่ เพื่อให้เกิดการลอยตัวได้ดีขาที่ดึงขึ้นไปนั้นงอบริเวณเข่า เมื่อ ขาทั้งสองเริ่มลอยพ้นพื้นแล้ว นักกีฬาต้องรักษาสภาพการลอยตัวให้นานที่สุดเท่าที่จะท าได้ เพราะการกระโดด ก้าวสุดท้ายนั้น นักกีฬาจะไม่ค่อยมีแรงส่งมากเหมือนกับกระโดดไกลนักกีฬาจึงไม่นิยมใช้ท่ากากระโดด ช่วง สุดท้ายแบบก้าวขาในอากาศแต่นิยมใช้ท่าเรือใบ(Sail) ในการกระโดด หรือท่าแดะตัว (Hang) เพราะเป็นท่าที่ ท าให้มีการลอยตัวได้ดี อีกทั้งจังหวะการลงสู่พื้นจะสามารถเพิ่มแรงเหวี่ยงจากสะโพกได้ดี


4. การลงสู่พื้น (Landing) การลงสู่พื้นของการเขย่งก้าวกระโดดมีวิธีการเช่นเดียวกับการลงสู่พื้นของ การกระโดดไกลคือ เมื่อ ล าตัวเข้าสู่จุดตกขาทั้งสองก็จะรวบเข้าหากันในลักษณะเหยียดเต็มที่ไปข้างหน้า โดยพับล าตัวเข้าหาขาทั้งสอง ข้างแขนทั้งสองเหวี่ยงไปข้างหน้าอย่างรวดเร็วปล่อยให้ ล าตัวลงสู่พื้นทรายตามแนวของขาทั้งสองการลงสู่พื้น จะเกิดแรงกระแทกนักกีฬาจะต้องมีการงอขาเพื่อลดแรงกระแทกของน้ าหนักตัวให้ผ่านไปด้านหน้านอกจากนี้ ยังมีเทคนิคการฝึกการเขย่งก้าวกระโดดที่ควรน ามาพิจารณาเพื่อให้การฝึกซ้อมและการแข่งขันมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น คือ อัตราส่วนความไกลของการเขย่งก้าวกระโดดที่ช่วยควบคุมความไกลของแต่ละช่วงการเขย่ง ก้าว และกระโดดให้สอดคล้องกับความสามารถของนักกีฬาซึ่งส่งผลให้นักกีฬาสามารถท าสถิติการเขย่งก้าว กระโดดได้อย่างมีประสิทธิภาพจึงก าหนดอัตราส่วนเพื่อเป็นแนวทางในการฝึก ดังนี้


ตัวอย่าง เปอร์เซ็นต์ของระยะทางการเขย่ง ก้าว และกระโดดที่เหมาะสม


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 แผนการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (พลศึกษา) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชาพลศึกษา( กรีฑา 2 )รหัส พ22104 เวลา 1 ชั่วโมง เรื่อง เขย่งก้าวกระโดด (ต่อ) ภาคเรียนที่ 2/2566 ผู้สอน นางสาวแพรทิพย์ โพคาวัฒน์ ต าแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วันที่ 7 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกก าลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย กีฬาสากล มาตรฐาน พ 3.1 เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกมและกีฬา พ 3.2 รักการออกก าลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจ าและสม่ าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณ ใน การแข่งขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา ตัวชี้วัด ม.2/2 เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากล ทั้งประเภทบุคคลและทีมได้อย่างละ 1 ชนิด จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถอธิบายวิธีการเขย่งก้าวกระโดดได้อย่างถูกต้อง (K) 2. แสดงท่าทางการเขย่งก้าวกระโดดได้ (P) 3. ปฏิบัติโดยแสดงออกจากท่าทางที่กระตือรือร้นและหน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส (A) สาระส าคัญ การเขย่งก้าวกระโดด มีลาดับขั้นตอนที่นักเรียนต้องปฏิบัติ ดังนี้ การวิ่งก่อนกระโดด การเขย่งเท้า การก้าวเท้า การกระโดดขึ้นจากพื้น และการลงสู่พื้น ซึ่งการเคลื่อนไหวทั้งหมดเป็นการเคลื่อนไหวที่ต่อเนื่อง สัมพันธ์กันเพียงครั้งเดียวตั้งแต่เริ่มออกวิ่งด้าวแรกจนถึงการลงสู่พื้น สาระการเรียนรู้ 1. การวิ่งก่อนกระโดด (Approach) 2. การเขย่ง (Hop) 3. การก้าว (Step) สมรรถนะ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3. ความสามารถในการใช้ทักษะเล่นกีฬา


คุณลักษณะที่เน้น 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มีวินัย 3. มุ่งมั่นในการท างาน กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นเตรียม ( 10 นาที ) 1. ให้นักเรียนเข้าแถวตอนแถวละ 5 คน 2. ครูส ารวจสุขภาพ และจ านวนนักเรียน = นักเรียน = ครู 3. ครูแจ้งสาระการเรียนรู้ที่จะเรียนในชั่วโมงนี้ 4. ครูให้นักเรียนยืดเหยียดกล้ามเนื้อ โดยให้ตัวแทนห้องออกมาน ายืดเหยียด ขั้นสอน (10 นาที ) 1. ให้นักเรียนนั่งเป็นแถว 2. ครูอธิบายและสาธิตทักษะเขย่งก้าวกระโดด


ขั้นฝึก (20 นาที) แบบฝึกที่ 4 ฝึกกระโดดโดยเน้นจังหวะสุดท้ายด้วยการกระโดดบนบล็อกกระโดด วิธีปฏิบัติ 1. วิ่งประมาณ 5 - 7 ก้าว 2. ท าเครื่องหมายระยะทางของการเขย่ง (Hop) ก้าว (Step) กระโดด(Jump) บน บล็อกกระโดด 15 – 25 เซนติเมตร ประมาณ 2 – 3 เมตร ลงบ่อทราย วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบทั้งหมดของการเขย่งก้าวกระโดด แบบฝึกที่ 5 ฝึกกระโดดบนตารางที่ก าหนดระยะทาง วิธีปฏิบัติ 1. ท าตารางก าหนดระยะทางการกระโดดลงบ่อทรายโดยเน้นจังหวะเขย่ง (Hop) และการก้าว (Step) เท่ากัน 2. ระยะทางในการวิ่ง 5 – 7 ก้าวเข้าไปเขย่งก้าวและกระโดด 3. เพิ่มระยะทางให้ไกลมากขึ้น วัตถุประสงค์ ฝึกกระโดดไม่ให้จังหวะเขย่ง (Hop) ไกลเกินไป แบบฝึกที่ 6 วิ่งเขย่งเต็มรูปแบบในระยะทางพอสมควร วิธีปฏิบัติ 1. ฝึกวิ่งบนทางวิ่งจริง 2. ระยะทางในการวิ่ง 7 - 9 ก้าว 3. พยายามรักษาระดับการเขย่ง (Hop) ก้าว (Step) ให้ถูกต้อง


วัตถุประสงค์ เพื่อให้เกิดประสบการณ์ในการวิ่ง โดยการใช้ความเร็วเพิ่มขึ้นและฝึกสนาม จริง ขั้นน าไปใช้ (10 นาที) เกมวิ่งผลัดก้าว ขา (Step) อุปกรณ์ 1.โต๊ะขนาดความสูงแตกต่างกันและมีความยาวประมาณ 2 เมตร 3 ตัว 2. เบาะหนาส าหรับรองรับกากระโดด วิธีปฏิบัติ 1. วางโต๊ะชิดกันเป็นทางยาวจากต่ าไปหาสูง 2. แบ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่มเท่าๆ กัน 3. วางเบาะส าหรับรองรับการกระโดดไว้ต่อจากโต๊ะที่สูงที่สุด 4. ให้นักเรียนฝึกกระโดดบนโต๊ะจากตัวต่ าไปหาตัวสูง ในลักษณะต่างๆ เช่น ซ้าย–ขวา–ซ้าย กระโดดลงเบาะ ขวา-ซ้าย-ขวา กระโดดลงเบาะ 5. กลุ่มไหนครบทุกคนก่อนเป็นฝ่ายชนะ ขั้นสรุป (5 นาที) 1. ให้นักเรียนจัดแถวตอนแถวละ 5 คน ดังภาพ


2. ครูพานักเรียนยืดเหยียดกล้ามเนื้อ (Cool Down) 3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่อง การทดสอบทักษะเขย่งก้าวกระโดด 4. ครูนัดหมายการเรียนครั้งต่อไป 5. ให้นักเรียนท าความสะอาดร่างกายก่อนไปเรียนในรายวิชาต่อไป แหล่งการเรียนรู้ / สื่อและอุปกรณ์ 1. สนามฟุตบอล 2. กรวย 3. นกหวีด กระบวนการวัดและประเมินผล 1. วิธีการวัดและประเมินผล 1.1 การตอบค าถามของนักเรียน 1.2 การเขย่งก้าวกระโดด 1.3 สังเกตพฤติกรรมความสนใจและกระตือรือร้นในการฝึกปฏิบัติ 2. เครื่องมือ 2.1 แบบประเมินการตอบค าถามของนักเรียน 2.2 แบบประเมินการเขย่งก้าวกระโดด 2.3 แบบสังเกตพฤติกรรมความสนใจและกระตือรือร้นในการฝึกปฏิบัติ 3. เกณฑ์การวัดและประเมินผล 3.1 ตอบถูก 2 คะแนน ขึ้นไป 3.2 การเขย่งก้าวกระโดด 3 คะแนนขึ้นไป ผ่าน 3.3 นักเรียนมีความสนใจและกระตือรือร้นในการฝึกปฏิบัติ อย่างน้อย 2 รายการขึ้น กิจกรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ............................................................................................................................... ................................. ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ปัญหาและอุปสรรค ........................................................................................................................................... ..................... ............................................................................................................. ...................................................


แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................. ................................... ...................................................................................................................................................... .......... ........................................................................................................................ ........................................ ลงชื่อ.................................................... (นางสาวแพรทิพย์ โพคาวัฒน์) ผู้สอน วันที่ 7 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ลงชื่อ.................................................... (นายโสภณ กลับแป้น) ครูพี่เลี้ยง วันที่ 7 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 ความคิดเห็นของผู้บริหาร ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ลงชื่อ.................................................... (...........................................................) ผู้บริหาร วันที่ 7 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2566


แบบประเมินการตอบค าถามของนักเรียน ค าชี้แจง : ให้ท าเครื่องหมาย ลงในช่องรายการประเมินการตอบค าถามของนักเรียน เลขที่ ชื่อ – สกุล รายการ อธิบายได้ ถูกต้องสมบูรณ์ ครบถ้วน อธิบายได้ ถูกต้อง แต่ไม่ ครบถ้วน อธิบายได้ไม่ ถูกต้อง 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 3 คะแนน หมายถึง อธิบายได้ถูกต้องสมบูรณ์ ครบถ้วน คะแนน 2 คะแนน หมายถึง อธิบายได้ถูกต้อง แต่ไม่ครบถ้วน คะแนน 1 คะแนน หมายถึง อธิบายได้ไม่ถูกต้อง ลงชื่อ .............................................. ผู้ประเมิน (.....................................................) ............./............./...........


แบบประเมินการเขย่งก้าวกระโดด ค าชี้แจง : ให้ผู้ประเมินท าเครื่องหมาย ลงในช่องคะแนนตามเกณฑ์คะแนนที่ก าหนด เลขที่ ชื่อ-สกุล เกณฑ์การประเมิน ท่าทาง การเคลื่อนที่ ความถูกต้อง รวม 6 คะแนน 2 1 2 1 2 1 เกณฑ์การประเมิน 6 – 5 คะแนน หมายถึง ดีมาก 4 – 3 คะแนน หมายถึง ดี ต่ ากว่า 3 คะแนน หมายถึง พอใช้ (ลงชื่อ) ............................................................................ ผู้ประเมิน (……………………………………………………………...) ..................... / ..................... / .....................


แบบสังเกตพฤติกรรมความสนใจและกระตือรือร้นในการฝึกปฏิบัติ ค าชี้แจง : ให้ท าเครื่องหมาย √ ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติ เกณฑ์การประเมิน นักเรียนต้องมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนอย่างน้อย 2 รายการขึ้นไป ถือว่าผ่าน (ลงชื่อ) ............................................................................ ผู้ประเมิน (……………………………………………………………...) ..................... / ..................... / ..................... เลขที่ ชื่อ-สกุล รายการ กระตือรือร้นใน สรุปผลการประเมิน การฝึกปฏิบัติ ฝึกปฏิบัติด้วย ความสนุกสนาน สนใจในสื่อและ กิจกรรมที่ครู ก าหนด ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 แผนการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (พลศึกษา) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชาพลศึกษา (กรีฑา 2 )รหัส พ 22104 เวลา 1 ชั่วโมง เรื่อง ทดสอบเขย่งก้าวกระโดด ภาคเรียนที่ 2/2566 ผู้สอน นายสาวแพรทิพย์ โพคาวัฒน์ ต าแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วันที่ 14 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกก าลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย กีฬาสากล มาตรฐาน พ 3.1 เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกมและกีฬา พ 3.2 รักการออกก าลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจ าและสม่ าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณ ใน การแข่งขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา ตัวชี้วัด ม.2/2 เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากล ทั้งประเภทบุคคลและทีมได้อย่างละ 1 ชนิด จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถอธิบายวิธีการเขย่งก้าวกระโดดได้อย่างถูกต้อง (K) 2. แสดงท่าทางการเขย่งก้าวกระโดดได้ (P) 3. ปฏิบัติโดยแสดงออกจากท่าทางที่กระตือรือร้นและหน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส (A) สาระส าคัญ การเขย่งก้าวกระโดด มีลาดับขั้นตอนที่นักเรียนต้องปฏิบัติ ดังนี้ การวิ่งก่อนกระโดด การเขย่งเท้า การก้าวเท้า การกระโดดขึ้นจากพื้น และการลงสู่พื้น ซึ่งการเคลื่อนไหวทั้งหมดเป็นการเคลื่อนไหวที่ต่อเนื่อง สัมพันธ์กันเพียงครั้งเดียวตั้งแต่เริ่มออกวิ่งด้าวแรกจนถึงการลงสู่พื้น สาระการเรียนรู้ 1. การวิ่งก่อนกระโดด (Approach) 2. การเขย่ง (Hop) 3. การก้าว (Step) สมรรถนะ 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3. ความสามารถในการใช้ทักษะเล่นกีฬา


คุณลักษณะที่เน้น 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มีวินัย 3. มุ่งมั่นในการท างาน กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นเตรียม ( 10 นาที ) 1. ให้นักเรียนเข้าแถวตอนแถวละ 5 คน 2. ครูส ารวจสุขภาพ และจ านวนนักเรียน = นักเรียน = ครู 3. ครูแจ้งสาระการเรียนรู้ที่จะเรียนในชั่วโมงนี้ 4. ครูให้นักเรียนยืดเหยียดกล้ามเนื้อ โดยให้ตัวแทนห้องออกมาน ายืดเหยียด ขั้นสอน (10 นาที ) 1. ให้นักเรียนนั่งเป็นแถว 2. ครูอธิบายและสาธิตทักษะเขย่งก้าวกระโดด


ขั้นฝึก (20 นาที) แบบฝึกที่ 1 กระโดดเขย่ง (Hop) ในยางนอกจักรยาน วิธีปฏิบัติ 1. วางยางนอกจักรยานเป็นแนวเส้นตรงห่างกัน 2-2.50 เมตร 2. ให้นักเรียนกระโดดเขย่งลงในยางรถจักรยานในลักษณะต่างๆ กัน เช่น กระโดดสลับขาซ้าย – ขวา กระโดดขาซ้ายขาเดียว กระโดดขาขวาข้างเดียว กระโดดขาซ้ า ซ้าย-ซ้าย , ขวา-ขวา วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาการกระโดดและสร้างความคุ้นเคยการใช้ขาในการเขย่ง แบบฝึกที่ 2 ฝึกจังหวะพื้นฐานกระโดด วิธีปฏิบัติ 1. วิ่งประมาณ 3 – 5 ก้าว 2. ฝึกจังหวะการเขย่ง (Hop) กับการก้าว (Step) ซ้าย-ซ้าย, ขวา-ขวา, ซ้าย-ซ้าย, ขวา-ขวา วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาการกระโดดและสร้างความคุ้นเคยการใช้ขาในการเขย่งกับการก้าว แบบฝึกที่ 3 ฝึกกระโดดคล้ายกับการกระโดดจริง


วิธีปฏิบัติ 1. วิ่งประมาณ 3 - 5 ก้าว 2. กระโดดในลักษณะทักษะที่ถูกต้อง 3. เป็นการฝึกทักษะการเขย่ง (Hop) และการก้าว (Step) 4. ระยะทางการฝึก ประมาณ 20 - 30 เมตร วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาการกระโดดและสร้างความคุ้นเคยการใช้ขาในการเขย่งกับการก้าว แบบฝึกที่ 4 ฝึกกระโดดโดยเน้นจังหวะสุดท้ายด้วยการกระโดดบนบล็อกกระโดด วิธีปฏิบัติ 1. วิ่งประมาณ 5 - 7 ก้าว 2. ท าเครื่องหมายระยะทางของการเขย่ง (Hop) ก้าว (Step) กระโดด(Jump) บน บล็อกกระโดด 15 – 25 เซนติเมตร ประมาณ 2 – 3 เมตร ลงบ่อทราย วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบทั้งหมดของการเขย่งก้าวกระโดด ขั้นน าไปใช้ (10 นาที) เกมวิ่งผลัดก้าวขา (Step) อุปกรณ์ 1.กรวย 2. นกหวีด 3.กล่องกระดาษ วิธีปฏิบัติ 1. วางเบาะหรือกล่อง ห่างกันประมาณ 2.5-3 เมตร โดยให้กล่องตัวแรก และตัวสุดท้าย ห่างเส้นเริ่มทั้ง 2 ด้าน 5 เมตร 2. แบ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่มเท่าๆ กัน แต่ละกลุ่มอยู่ตรงข้ามกัน 3. เริ่มสัญญาณนกหวีดให้แต่ละคนวิ่งไปกระโดดก้าวขา (Step) ซ้าย-ขวา, ซ้าย-ขวา จน ครบแล้ววิ่งอ้อมกรวยกลับมา กระโดดเหมือนเดิม และแตะเพื่อนให้ออกมากระโดด 4. กลุ่มไหนครบทุกคนก่อนเป็นฝ่ายชนะ


ขั้นสรุป (5 นาที) 1. ให้นักเรียนจัดแถวตอนแถวละ 5 คน ดังภาพ 2. ครูพานักเรียนยืดเหยียดกล้ามเนื้อ (Cool Down) 3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่อง การทดสอบทักษะขว้างจักร 4. ครูนัดหมายการเรียนครั้งต่อไป 5. ให้นักเรียนท าความสะอาดร่างกายก่อนไปเรียนในรายวิชาต่อไป แหล่งการเรียนรู้ / สื่อและอุปกรณ์ 1. สนามฟุตบอล 2. กรวย 3. นกหวีด กระบวนการวัดและประเมินผล 1. วิธีการวัดและประเมินผล 1.1 การตอบค าถามของนักเรียน 1.2 การทดสอบเขย่งก้าวกระโดด 1.3 สังเกตพฤติกรรมความสนใจและกระตือรือร้นในการฝึกปฏิบัติ 2. เครื่องมือ 2.1 แบบประเมินการตอบค าถามของนักเรียน 2.2 แบบประเมินการทดสอบเขย่งก้าวกระโดด 2.3 แบบสังเกตพฤติกรรมความสนใจและกระตือรือร้นในการฝึกปฏิบัติ


3. เกณฑ์การวัดและประเมินผล 3.1 ตอบถูก 2 คะแนน ขึ้นไป 3.2 การทดสอบเขย่งก้าวกระโดด 3 คะแนนขึ้นไป ผ่าน 3.3 นักเรียนมีความสนใจและกระตือรือร้นในการฝึกปฏิบัติ อย่างน้อย 2 รายการขึ้น กิจกรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ............................................................................................................................... ................................. ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ปัญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ.................................................... (นางสาวแพรทิพย์ โพคาวัฒน์) ผู้สอน วันที่ 14 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2566


ความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยง ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ.................................................... (นายโสภณ กลับแป้น) ครูพี่เลี้ยง วันที่ 14 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 ความคิดเห็นของผู้บริหาร ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ลงชื่อ.................................................... (...........................................................) ผู้บริหาร วันที่ 14 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2566


แบบประเมินการตอบค าถามของนักเรียน ค าชี้แจง : ให้ท าเครื่องหมาย ลงในช่องรายการประเมินการตอบค าถามของนักเรียน เลขที่ ชื่อ – สกุล รายการ อธิบายได้ ถูกต้องสมบูรณ์ ครบถ้วน อธิบายได้ ถูกต้อง แต่ไม่ ครบถ้วน อธิบายได้ไม่ ถูกต้อง 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 เกณฑ์การประเมิน คะแนน 3 คะแนน หมายถึง อธิบายได้ถูกต้องสมบูรณ์ ครบถ้วน คะแนน 2 คะแนน หมายถึง อธิบายได้ถูกต้อง แต่ไม่ครบถ้วน คะแนน 1 คะแนน หมายถึง อธิบายได้ไม่ถูกต้อง ลงชื่อ .............................................. ผู้ประเมิน (.....................................................) ............./............./...........


แบบประเมินการทดสอบเขย่งก้าวกระโดด ค าชี้แจง : ให้ผู้ประเมินท าเครื่องหมาย ลงในช่องคะแนนตามเกณฑ์คะแนนที่ก าหนด เลขที่ ชื่อ-สกุล เกณฑ์การประเมิน ท่าทาง การเคลื่อนที่ ความถูกต้อง รวม 6 คะแนน 2 1 2 1 2 1 เกณฑ์การประเมิน 6 – 5 คะแนน หมายถึง ดีมาก 4 – 3 คะแนน หมายถึง ดี ต่ ากว่า 3 คะแนน หมายถึง พอใช้ (ลงชื่อ) ............................................................................ ผู้ประเมิน (……………………………………………………………...) ..................... / ..................... / .....................


แบบสังเกตพฤติกรรมความสนใจและกระตือรือร้นในการฝึกปฏิบัติ ค าชี้แจง : ให้ท าเครื่องหมาย √ ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติ เกณฑ์การประเมิน นักเรียนต้องมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียนอย่างน้อย 2 รายการขึ้นไป ถือว่าผ่าน (ลงชื่อ) ............................................................................ ผู้ประเมิน (……………………………………………………………...) ..................... / ..................... / ..................... เลขที่ ชื่อ-สกุล รายการ กระตือรือร้นใน สรุปผลการประเมิน การฝึกปฏิบัติ ฝึกปฏิบัติด้วย ความสนุกสนาน สนใจในสื่อและ กิจกรรมที่ครู ก าหนด ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (พลศึกษา) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชาพลศึกษา (กรีฑา2)รหัส พ22104 เวลา 1 ชั่วโมง เรื่อง ขว้างจักร ภาคเรียนที่ 2/2566 ผู้สอน นางสาวแพรทิพย์ โพคาวัฒน์ ต าแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วันที่ 21 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกก าลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย กีฬาสากล มาตรฐาน พ 3.1 เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกมและกีฬา พ 3.2 รักการออกก าลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจ าและสม่ าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณ ใน การแข่งขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา ตัวชี้วัด ม.2/2 เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากล ทั้งประเภทบุคคลและทีมได้อย่างละ 1 ชนิด จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายขั้นตอนในการขว้างจักรได้อย่างถูกต้อง (K) 2. แสดงท่าทางการถือจักรและท่าทางในการขว้างจักรได้(P) 3. มีความตั้งใจในการท ากิจกรรมและเล่นกับผู้อื่นได้(A) สาระส าคัญ การขว้างจักร มีลาดับขั้นที่นักเรียนจะต้องปฏิบัติ ดังนี้คือ การถือจักรซึ่งมีวิธีการถืออยู่ 4 วิธี ท่าของ การขว้างจักรที่นิยมใช้กันอยู่มี 2 แบบ คือ ยืนอยู่กับที่ โดยเริ่มจากการถือจักรก่อนขว้าง การเหวี่ยงจักร การ ปล่อยจักร และการก้าวเท้าสกัด หรือการหมุนตัวขว้างจักรซึ่งเริ่มจากการถือจักรยืนในวง การเหวี่ยงจักรและ การหมุนตัว การปล่อยจักรและการก้าวเท้าสลับ การเคลื่อนไหวในการขว้างจักรเป็นการเคลื่อนไหวที่จะต้องมี ความต่อเนื่องสัมพันธ์กัน ตั้งแต่การเคลื่อนไหวจนถึงการปล่อยจักร และการใช้เท้าช่วยในการทรงตัว สาระการเรียนรู้ 1. การเตรียม (Preperation) 1.1 การจับจักร (Grip) 1.2 การยืนเตรียมก่อนขว้าง (Start Position) 2. การเหวี่ยง (Swing) 3. การหมุน (Turn) 3.1 การหมุนรอบแรก 3.2 การหมุนรอบสอง 3.3 ท่ายืนก่อนขว้าง (Power Position)


Click to View FlipBook Version