The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประชุมวิชาการ การพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประจำปี ๒๕๖๕

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

๔๒ ปีพระบารมีแผ่ไพศาล เด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารเป็นสุข

การประชุมวิชาการ การพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประจำปี ๒๕๖๕

๔๒ ปี พระบารมแี ผไ่ พศาล
เด็กและเยาวชนในถ่ินทรุ กนั ดารเปน็ สุข
การประชมุ วิชาการการพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถิน่ ทุรกันดาร ตามพระราชดำริ
สมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี
ISBN : ๙๗๘-๖๑๖-๕๖๔-๑๕๘-๖
จำนวนหน้า ๒๐๗ หน้า

จดั พมิ พโ์ ดย
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
๓๑๙ วังจนั ทร์เกษม ถนนราชดำเนินนอก ดสุ ิต กรงุ เทพฯ
พิมพค์ รง้ั แรก พฤศจกิ ายน ๒๕๖๕
จำนวน ๑,๒๐๐ เลม่

พิมพ์ท่ี บริษัท มาตา การพิมพ์ จำกดั
๗๗ / ๒๖๑ หมู่ ๔ ตำบลบางครู ัด อำเภอบางบัวทอง
จงั หวดั นนทบุรี ๑๑๑๑๐
โทร. / โทรสาร ๐ ๒๙๒๓ ๕๗๒๕, ๐๘ ๙๗๗๕ ๙๘๙๒



คำ�นำ�

ในโอกาสที่โครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ซึ่งเป็นโครงการในพระราชดำริของ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ดำเนนิ งานมาครบรอบ ๔๒ ปี ในปนี ้ี กองงานในพระองค์สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ร่วมกับหน่วยงานต้นสังกัดที่มีโรงเรียนร่วมโครงการ กำหนดหัวข้อการประชุมว่า
“๔๒ ปี พระบารมีแผ่ไพศาล เด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารเป็นสุข” ในประเด็นหลักคือ “อาชีพในฝัน” ทั้งนี้ หน่วยงานต้นสังกัด
ที่มีโรงเรียนร่วมโครงการได้จัดการประกวดแข่งขันใน ๓ ประเภท ได้แก่ การนำเสนอแนวปฏิบัติที่ดีรายด้าน การประกวดแข่งขันทักษะวิชาการ
และการประกวดสถานศกึ ษาทม่ี ีการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ เดก็ และเยาวชนดีเดน่ คัดเลือกผลงานเพ่อื นำเสนอในการประชุมวชิ าการ

ดังนั้น เพื่อเป็นการเผยแพร่พระราชกรณียกิจด้านการศึกษาและการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดำริ
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี และเผยแพร่ผลงานที่ได้รับการคัดเลือกจากการประกวดแข่งขัน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้รวบรวมผลงานที่ชนะเลิศไว้ในรายงานเพื่อนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในวันประชุมวิชาการ ระหว่างวันที่ ๑๒-๑๓ ธันวาคม ๒๕๖๕ ณ ศูนย์แสดงสินค้า
และการประชมุ อิมแพค็ เมืองทองธานี อำเภอปากเกร็ด จังหวดั นนทบรุ ี

รายงานฉบับน้ี เป็นรายงานผลการประกวดแข่งขันการนำเสนอผลงานแนวปฏิบัติที่ดีรายด้าน ซึ่งรวบรวมผลงานของผู้ชนะเลิศไว้โดยย่อ
หวังเปน็ อยา่ งย่งิ วา่ ผลงานทน่ี ำเสนอไวน้ จ้ี ะจุดประกายใหโ้ รงเรียนอ่นื ๆ ไดน้ ำไปใชแ้ ละพัฒนาให้เหมาะสมกบั บริบทของโรงเรยี นต่อไป

เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
พฤศจิกายน ๒๕๖๕



สารบญั หนา้

เรื่อง ง
คำนำ ๑
บทนำ ๔
ด้านที่ ๑ ดา้ นโภชนาการและสุขภาพอนามยั ๘
๑๓
บา้ นยงู งามรกั สขุ ภาพ (Ban Yung Ngam Healthy School) ๑๘
ปันสขุ ปนั ฮกั ให้นอ้ งอม่ิ มอ้ื เชา้ ๒๒
แองควนั ล้วั ะ สรา้ งสขุ ภาพเลาะ บา้ นปู่ดู่ ๒๗
ด่ืมนมจดื ชน่ื ใจ หนูด่ืมไดท้ กุ วัน ๓๒
ชมุ นมุ สามเณรรกั สุขภาพ ขยบั กายสบายชวี ี ดดู สี มวยั ใส่ใจสขุ ภาพ ๓๔
แข็งแรงสุขภาพดี ด้วยโครงการ WCT Healthy Heroes ๓๙
ดา้ นท่ี ๒ ดา้ นการสง่ เสรมิ คณุ ภาพการศกึ ษา ๔๔
นทิ านพาเพลนิ learn and play: way to read เพ่ือสง่ เสริมนสิ ยั รักการอา่ นของนกั เรยี น ๔๙
การยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ พชิ ิต RT NT O-NET ๕๔
สอื่ ภาษาไทยน่ารู้ นำส่กู ารอา่ นออก เขียนได้ ๕๙
แนะแนวแนะนำสานฝันส่รู ้ัวอุดมศกึ ษา ๖๔
สจุ ิปลุ ิ พิเคราะหศ์ าสตร์การอ่านเขยี น ๖๖
นทิ านสนุกสขุ หรรษา ๗๐
ดา้ นที่ ๓ ด้านการสง่ เสรมิ อาชพี ๗๔
อาชพี สานฝัน แบง่ ปันภูมปิ ญั ญา ๗๘
เหด็ สามรสสมุนไพร สรา้ งอาชพี เสริมรายได้ ๘๒
สร้างปา่ สร้างรายไดจ้ าก “กาแฟ” ๘๖
แต้มสีบนผืนผ้าด้วยบาติกเทยี นเย็น ๙๐
สหกรณ์ร้านคา้ สมั มาอาชพี ส่ชู ุมชน
กิจกรรมการผลิตสายคลอ้ งหนา้ กากอนามยั จากลกู ปัดเพ่ือการส่งเสริมอาชพี
เส้นพลาสตกิ สรา้ งอาชพี



สารบัญ (ตอ่ ) ๙๔
๙๖
ด้านที่ ๔ ด้านการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมท้องถ่ิน ๑๐๑
การอนรุ ักษ์วฒั นธรรมทอ้ งถิ่น “โนรา (NORA)” ๑๐๖
รอ้ ยรกั ษ์งานแกะสลัก สวู่ ฒั นธรรมทส่ี บื สาน ๑๑๑
แหลง่ เรยี นร้วู ัฒนธรรม “บา้ นแหง่ ภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน” ๑๑๖
“ฮารรี ายอ ความสขุ ของชาวมสุ ลมิ ” ๑๒๑
การใช้ทกั ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ ๒๑ สกู่ ารพฒั นา “งานสานสู่งานศิลป”์ ๑๒๖
“รู้ รกั ษ์ มวยไทยให้คงอยู่คแู่ ผ่นดิน” ๑๓๐
การแปรรูปผา้ ทอ ปกาเกอะญอถ้ำเสอื ๑๓๒
๑๓๖
ด้านที่ ๕ ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ๑๔๑
ธรรมะธรรมชาติ ๑๔๖
๑ พุทธนวัตกรรม ๑ พุทธธรรมประจำโรงเรยี น ๑๕๐
สรา้ งสรรค์ชมุ ชนด้วยจิตอาสา ๑๕๕
รจู้ ักฉัน รู้จักเธอ ๑๖๐
คำมัน่ ๓ ประการ ๑๖๒
ซ่อื สัตย์มีวินยั หวั ใจสูค่ วามสำเรจ็ ๑๖๗
๑๗๒
ดา้ นท่ี ๖ ด้านการอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม ๑๗๖
“แนวปฏบิ ตั ทิ ่ีดี” ศกึ ษาและขยายพรรณกล้วยไมส้ ู่การอนรุ ักษ์ป่าชมุ ชน ๑๘๑
หญา้ แฝก กำแพงธรรมชาติ ทม่ี ชี ีวติ ” ๑๘๕
แนวปฏิบัติท่ดี ี “ขมุ ทรพั ย์จากเศษอาหาร” ๑๙๐
การอนรุ ักษแ์ ละฟื้นฟูป่าชมุ ชนบ้านหาดทราย ๑๙๔
BCG Model เพม่ิ คณุ ภาพชวี ติ เป็นมติ รกับสง่ิ แวดล้อม
กจิ กรรมเยาวชนลำแขก รรู้ ักษ์สงิ่ แวดล้อม
หม่ ดนิ ใหเ้ ป็นดาว
คณะผจู้ ัดทำ



บทนำ�

“โครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิน่ ทรุ กันดาร” เปน็ โครงการตามพระราชดำริในสมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ
สยามบรมราชกุมารี ซึ่งเกิดขึ้นนับตั้งแต่การโดยเสด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรและ
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง ในแต่ละคราวที่ทรงเยี่ยมราษฎรในถิ่นทุรกันดารห่างไกลและ
การคมนาคมทั่วทุกภาคของประเทศยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๒๓ เป็นต้นมา ขณะโดยเสด็จพระราชดำเนิน ทรงพบปัญหา
ความยากจนและความทุกข์ยากของประชาชนด้วยพระองค์เอง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่ขาดแคลนอาหาร ทำให้เป็นโรคขาดสารอาหาร
สุขภาพร่างกายอ่อนแอเจ็บป่วยง่าย อีกทั้ง มีมาตรฐานทางการศึกษาต่ำ พระองค์ทรงห่วงใยเด็กและเยาวชนกลุ่มนี้อย่างมาก เพราะทรงเล็งเห็นว่า
เด็กและเยาวชนในแต่ละท้องถิ่นถอื เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาชุมชนทีเ่ ดก็ ๆ อาศัยอยู่ ซึ่งส่งผลถึงการพัฒนาประเทศชาตติ ่อไปในอนาคต
พระราชดำรัสที่แสดงว่าทรงห่วงใยเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารนั้น เป็นที่ประจักษ์ชัดจากพระราชดำรัส เมื่อวันศุกร์ที่ ๑๙ มิถุนายน
พ.ศ. ๒๕๓๐ ที่วา่ “...อย่างเรา ๆ นัน้ มโี อกาสทีด่ มี าก มีอาหารการกินทด่ี ีทุกอย่าง อยากไดอ้ ะไรก็ได้ และยังมโี อกาสได้รับการศึกษาเล่าเรียน
อย่างเต็มท่ี ซึ่งนักเรียนเหล่านั้นจะได้รับการศึกษา คงจะไปไม่ถึงระดับที่เราได้ส่วนที่เราได้รับก็เป็นการพิเศษแล้ว เพราะฉะนั้นในเมื่อเรา
เป็นบุคคลพิเศษได้โอกาสดีกว่าคนอื่น ก็เท่ากับประชาชนทั้งชาติสนับสนุนมาให้ทุนมาให้ศึกษาได้ถึงระดับอุดมศึกษา ก็จะต้องมีหน้าท่ี
ท่จี ะตอ้ งทำอะไรตอบแทน เพือ่ ใหผ้ ้รู ว่ มชาติท่สี นบั สนุนเราไดม้ ีโอกาสที่ดขี ้ึนกว่านี้ ก็เปน็ ความคิดอยา่ งเด็ก ๆ ทคี่ ิดเร่อื ยมา...”

หลังจากริเริ่มโครงการ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีทรงมีพระหทัยมุ่งม่ัน
ในการยกระดบั คุณภาพของเด็กและเยาวชนในถนิ่ ทุรกนั ดารมาอย่างต่อเนื่อง เมือ่ กระแสการเปลยี่ นแปลงของโลกมีการพัฒนาไปอยา่ งรวดเร็ว
ทรงแสดงน้ำพระทัยเป็นห่วงเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารมากขึ้น เห็นได้จากพระราชดำรัส เม่ือวันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๙ ว่า
“ในยุคสมัยนี้เหตุการณ์ต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วเหลือเกิน เราต้องเตรียมคนของเราให้พร้อมที่จะรับสถานการณ์ให้รู้จักปรับตัว
ในสิ่งที่จะเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ คิดว่าสิ่งที่เราพยายามทำอยู่ในความตั้งใจอันนี้เป็นหลักเป็นที่ตั้ง เท่าที่พยายามทำก็ยังเน้นอยู่ในการทำงาน
ในเขตทุรกันดาร เพื่อให้บุคคลที่อยู่ในเขตทุรกันดารหรือว่าคือเข้าถึงยากนั้นได้รับบริการที่เหมาะสม ทั้งในด้านความเพลิดเพลิน ความรู้
สขุ ภาพอนามยั ความมีโอกาสในการประกอบอาชีพเลี้ยงตนเองอย่างมเี กียรติ แล้วก็สามารถที่จะทำให้ชวี ิตดีขนึ้ ดีขึ้น” จนถึงปัจจุบันโครงการ
พัฒนาเด็กและเยาวชนในถ่นิ ทรุ กันดารยงั คงดำเนนิ งานมาอย่างต่อเนือ่ ง ซงึ่ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ นี้ นบั เปน็ ปีท่ี ๔๒ พอดี

กล่าวได้ว่า ตั้งแต่ครั้งยังทรงพระเยาว์ตราบจนถึงปัจจุบัน ทรงให้ความสำคัญกับการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร
ให้ได้มีโอกาสเท่าเทียมกับคนอื่น ๆ ให้มีชีวติ และความเปน็ อยู่ที่ดีข้ึน สามารถดำรงชีวิตอยู่ไดโ้ ดยเฉพาะในยคุ ที่มีการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
(Information Communication Technology) ในการดำรงชีวติ อย่างหลีกเล่ียงไมไ่ ด้ และมีการพฒั นาไปอย่างรวดเรว็ มาก



การดำเนินโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทรุ กันดารนี้ครอบคลุมพืน้ ที่ทุกภาคของประเทศไทยรวมทั้งประเทศเพื่อน บ้านและ

ประเทศในภูมิภาคเอเชีย ปัจจุบันแบ่งการดำเนินงานออกเป็น ๖ ด้าน คือ ๑) การพัฒนาเด็กและเยาวชน ๒) งานนักเรียนในพระราชานุเคราะห์ฯ

และทุนพระราชทานเพื่อการศึกษา ๓) การพัฒนาอาชีพ ๔) การพัฒนาพื้นที่แบบบูรณาการ ๕) การพระราชทานความช่วยเหลือ และ

๖) ความร่วมมือระดับนานาชาติ การดำเนินงานได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานราชการต่าง ๆ โดยใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์

และเงินองค์การและเอกชนทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย ต่อมารัฐบาลได้จัดตั้ง “กองทุนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร” หรือท่ีเรียกว่า

กพด. นอ้ มเกลา้ ฯ ถวาย เพื่อทรงใช้ดอกผลในการทรงงานตามโครงการนี้ ทั้งนี้ สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธิราชเจ้า ฯ ได้พระราชทานทนุ ทรัพยเ์ ริ่มต้น

จำนวน ๑๓ ล้านบาท และมภี าครฐั เอกชน ประชาชน ร่วมสนับสนนุ การดำเนนิ โครงการฯ ดว้ ย

การบริหารโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ดำเนินการโดยสำนักงานโครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า

กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ร่วมกับหน่วยร่วมปฏิบัติ (กระทรวงต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง) ทั้งในส่วนกลางและ

ส่วนภูมิภาค โดยยึดการดำเนินงานตามแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ซึ่งปัจจุบัน คือ แผนพัฒนาเด็กและเยาวชน

ในถ่ินทรุ กนั ดาร ฉบับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๙) มเี ปา้ หมายหลัก ๘ ขอ้ ดังน้ี

เปา้ หมายหลักท่ี ๑ เสริมสรา้ งสุขภาพของเดก็ ต้งั แตใ่ นครรภ์มารดา
เปา้ หมายหลกั ท่ี ๒ เพมิ่ โอกาสทางการศึกษา
เป้าหมายหลกั ท่ี ๓ เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพของเด็กและเยาวชนทางวิชาการและทางจรยิ ธรรม
เป้าหมายหลกั ที่ ๔ เสรมิ สร้างศกั ยภาพของเดก็ และเยาวชนทางการงานอาชีพ
เปา้ หมายหลักท่ี ๕ ปลูกฝังจิตสำนกึ และพฒั นาศักยภาพของเดก็ และเยาวชนในการอนุรักษ์

ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
เปา้ หมายหลักที่ ๖ เสริมสร้างศักยภาพของเด็กและเยาวชนในการอนรุ กั ษ์และสืบทอดวฒั นธรรม

และภูมปิ ัญญาของท้องถน่ิ และของชาติไทย
เปา้ หมายหลักที่ ๗ ขยายการพัฒนาจากโรงเรียนส่ชู ุมชน
เปา้ หมายหลักที่ ๘ พฒั นาสถานศึกษาเปน็ ศนู ย์บรกิ ารความรู้
แผนพฒั นาเด็กและเยาวชนในถ่ินทุรกนั ดาร ฉบบั ท่ี ๕ น้ี นอกจากมวี ตั ถุประสงค์เพ่ือใหเ้ ด็กและเยาวชนมีคุณภาพชีวติ ที่ดี โดยได้รับ
การพฒั นาศักยภาพอย่างสมดุลในด้านพุทธศิ ึกษา จรยิ ศกึ ษา หตั ถศกึ ษา และพลศกึ ษา ดว้ ยกระบวนการเรยี นรู้จากการปฏิบัติ มีความรักและ
หวงแหนทรพั ยากรธรรมชาติแลว้ ยังมงุ่ เน้นเพื่อขยายการพัฒนาจากโรงเรียนสู่ชุมชน ทำใหช้ มุ ชนมคี วามเข้มแข็งและพึ่งตนเองได้ ครอบครัว
และชุมชนเกิดการพัฒนา ช่วยเหลือสนับสนุนการพัฒนาเด็กและเยาวชนและโรงเรียนไปพร้อม ๆ กัน และเพื่อผลักดันให้สถานศึกษาพัฒนา
เป็นศูนย์บริการความรู้ สามารถถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีการพัฒนาให้กับผู้ปกครองชุมชน และสถานศึกษาหรือองค์กรอื่น ๆ



ทั้งจากภายในประเทศและจากต่างประเทศ เพื่อนำไปประยุกต์ให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละท้องถิ่น สร้างความร่วมมือและเครือข่าย
เช่อื มโยงระหวา่ งประเทศ

ระยะแรก โรงเรียนที่สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระราชดำริให้พัฒนา
เดก็ และเยาวชนในท้องถิ่นนั้น ๆ คือ โรงเรียนในสังกัดกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ต่อมาได้มีการขยายผลไปยังโรงเรียนในสังกัดอื่น ๆ อีก
ซึ่งกระจายอยู่ทุกภาคของประเทศไทย ในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ น้ี หน่วยงานต้นสังกัดที่มีโรงเรียนร่วมโครงการ ได้แก่ กองบัญชาการตำรวจ
ตระเวนชายแดน (บช.ตชด.) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย (กศน.) สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (พศ.) สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาเอกชน (สช.) องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
(อปท.) และสำนกั การศกึ ษากรุงเทพมหานคร จำนวนโรงเรยี นที่รว่ มโครงการรวมทั้งหมด ๘๙๐ แหง่ (ขอ้ มลู ณ เดอื นสงิ หาคม ๒๕๖๕)

ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนในโรงเรียนที่เป็นพื้นที่เป้าหมายของโครงการมีโอกาสแสดงศักยภาพและความคิดสร้างสรรค์
ต่อยอดจากการเรียนรู้ในห้องเรียน กองงานในพระองค์สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
สำนักงานโครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ร่วมกับหน่วยงาน
ต้นสังกัดของโรงเรยี นในแต่ละพื้นท่ี จึงกำหนดใหม้ ีการประกวดแข่งขนั กิจกรรมแนวปฏบิ ัติท่ีดีรายด้าน กิจกรรมทักษะวิชาการ และกิจกรรม
การประกวดสถานศึกษาที่มกี ารพฒั นาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนดีเด่น สำหรับโรงเรียนทีช่ นะเลิศการประกวดแข่งขันการนำเสนอผลงาน
แนวปฏิบัติท่ีดีรายด้านจะได้รับรางวัลพระราชทาน ในวันท่ี ๑๓ ธันวาคม ๒๕๖๕ ณ ศูนย์แสดงสนิ ค้าและการประชมุ อิมแพ็ค เมืองทองธานี
ในการจัดประชุมวิชาการของทุกปี จะมีการหมุนเวียนให้หน่วยงานแต่ละต้นสังกัดรับเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมวิชาการในแต่ละปี ทั้งน้ี
การจดั ประชุมของแต่ละปีจะมีการรว่ มกันกำหนดประเดน็ หลัก (Theme) ของเรอ่ื งทีจ่ ะนำเสนอ สำหรบั ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ซ่ึงเป็นวาระครบรอบ
๔๒ ปี ของการดำเนินโครงการนี้ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รับมอบหมายเป็นเจ้าภาพจัดประชุมวิชาการ ซึ่งกำหนดจัดข้ึน
ระหว่างวันที่ ๑๒ - ๑๓ ธันวาคม ๒๕๖๕ ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี โดยมีประเด็นหลกั คือ “อาชีพในฝัน”
และมีหวั ขอ้ การประชมุ วชิ าการ คือ “๔๒ ปี พระบารมแี ผ่ไพศาล เด็กและเยาวชนในถิ่นทรุ กันดารเปน็ สขุ ” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่
พระราชกรณียกจิ ดา้ นการศกึ ษาและพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตเดก็ และเยาวชนในถนิ่ ทรุ กันดารใหเ้ ป็นทป่ี ระจักษแ์ ก่สาธารณชน

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยสำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษาร่วมกับสำนักวิชาการและมาตรฐาน
การศึกษา ศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ และหน่วยงานต้นสังกัดอีก ๖ แห่ง ได้วางแผนการประกวดแข่งขัน
เป็น ๓ ประเภท ได้แก่ การประกวดผลงานแนวปฏิบัติที่ดีรายด้าน การแข่งขันทักษะวิชาการ และการประกวดสถานศึกษาที่มีการพัฒนา
คุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนดีเด่น ทั้งนี้ การประกวดแข่งขันการนำเสนอผลงานแนวปฏิบัติที่ดีรายด้าน ประกอบด้วย ๖ ด้าน ได้แก่
๑) ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัย ๒) ด้านการส่งเสริมคุณภาพการศึกษา ๓) ด้านการส่งเสริมอาชีพ ๔) ด้านการอนุรักษ์วัฒนธรรม
ท้องถ่ิน ๕) ดา้ นคณุ ธรรมและจริยธรรม และ ๖) ดา้ นการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม



ในการนี้ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้จัดทำรายงานผลการดำเนินการประกวดแข่งขันผลงานแนวปฏิบัติที่ดีรายด้าน
ตามแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
สยามบรมราชกุมารี ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ ของทุกสว่ นราชการ เพื่อทลู เกล้าฯ ถวายสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ
สยามบรมราชกมุ ารี ในครั้งนี้ดว้ ย



¡ÒûÃСǴ¡Ô¨¡ÃÃÁá¹Ç»¯ºÔ µÑ ·Ô Õè´ÕÃÒ´ŒÒ¹
µÒÁá¼¹¾Ñ²¹Òà´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹ã¹¶¹èÔ ·ÃØ ¡Ñ¹´ÒÃ
µÒÁ¾ÃÐÃÒª´ÓÃÔ ÊÁà´ç¨¾ÃС¹ÔÉ°Ò¸ÔÃҪ਌Ò

¡ÃÁÊÁà´¨ç ¾ÃÐà·¾ÃµÑ ¹ÃÒªÊ´Ø ÒÏ
ÊÂÒÁºÃÁÃÒª¡ØÁÒÃÕ

»ÃШӻ‚ òõöõ

ดานที่ ๑

ดา นโภชนาการ

และสขุ ภาพอนามัย

“...àÃÒµŒÍ§¡Òê‹ÇÂãËŒ¹¡Ñ àÃÂÕ ¹ã¹âçàÃÕ¹ÁÕÊØ¢ÀҾ͹ÒÁѺÃÔºÙóᢧç áç ÃѺ»ÃзҹÍÒËÒ÷¶èÕ Ù¡Ê¢Ø Å¡Ñ É³Ð
áÅж¡Ù µÒÁʋǹ»ÃСͺ·¨èÕ ÐºÓÃاËҧ¡Ò àÇÅÒ仡çä»´áÙ ÅÐÂѧä´àŒ ʹÍ᡾‹ ǡ਌Ò˹ŒÒ·èàÕ ¤Ë¡¨Ô à¡ÉµÃÇ‹Ò
ãËäŒ »ªÔÁµÒÁºÒŒ ¹¢Í§¹Ñ¡àÃÂÕ ¹Ç‹Òà¢ÒªÍºÍÒËÒÃã¹ÅѡɳÐä˹áÅŒÇàÃÒ¡ç·ÓµÒÁÅ¡Ñ É³Ð·Õèà¢ÒªÍº
ᵋNjÒÁÕʋǹ»ÃСͺ·èÕ¨Ð໚¹»ÃÐ⪹ᡋËҧ¡ÒÂÁÒ¡¡Ç‹Ò·àÕè ¢Ò·Ó¡¹Ñ ÍÂà‹Ù »¹š »ÃШÓáÅŒÇ
¹Í¡¨Ò¡¹é¹Ñ ¡çä´ÊŒ ͹à¡ÕèÂÇ¡ÑºÇªÔ Ò¡ÒÃà¡ÉµÃ â´Â¶Í× ÇÒ‹ âçàÃÕ¹¹Õàé »š¹È¹Ù Â¡ÅÒ§¢Í§ªÁØ ª¹á˧‹ ˹֧è ..”.”.

¾ÃÐÃÒª´ÓÃÊÑ ã¹âÍ¡ÒÊ·àèÕ Ê´¨ç Ï ä»ã¹¡ÒûÃЪØÁâ¤Ã§¡ÒÃà¡ÉµÃà¾èÍ× ÍÒËÒáÅÒ§Çѹ áÅÐâ¤Ã§¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁ¤³Ø ÀÒ¾¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ
³ ¤‹ÒÂÅÙ¡àÊÍ× ºÒŒ ¹¹ÒÍÍŒ  ÍÓàÀÍàÁ×ͧ ¨Ñ§ËÇѴʡŹ¤Ã ÇѹàÊÒÃ·èÕ ñ÷ ¾ÄȨԡÒ¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõò÷

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

ดา้ นท่ี ๑ โภชนาการและสุขภาพอนามัย

ช่ือผลงาน บ้านยูงงามรักสขุ ภาพ (Ban Yung Ngam Healthy School)
สถานศกึ ษา โรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดนบ้านยูงงาม อำเภอบางขัน จังหวดั นครศรธี รรมราช

ผ้เู สนอผลงาน สังกดั สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
หมายเลขโทรศัพท์
นางสาวกนกการณ์ บญุ เรือง
๐๙ ๓๖๐๑ ๕๑๕๙ E-mail : [email protected]

ความสำคัญของ “ แนวปฏบิ ตั ทิ ด่ี ี ”

ภาวะโภชนาการที่ดี เป็นรากฐานสำคัญของการมีสุขภาพดีตลอดชีวิต แม้ว่าเด็กและเยาวชนกลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่จะอยู่ในพื้นท่ี
ทรุ กนั ดารห่างไกล แต่ก็ย่อมได้รับผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงของโลกปจั จุบนั ทเี่ ชื่อมต่อกนั ถงึ ด้วยเทคโนโลยสี ารสนเทศ (แผนพัฒนาเด็ก
และเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๙)
ทั้งน้ี จากผลการดำเนินงาน ปีการศึกษา ๒๕๖๓ นักเรียนโรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดนบ้านยูงงามมีปัญหาภาวะสมส่วน สุขภาพช่องปาก
และสุขอนามัยผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๗๐.๗๓ และนักเรียนมีสมรรถภาพทางกายผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๖๘.๒๙ ส่งผลต่อสุขภาพจิตของนักเรียน
ทำให้ไม่สามารถเรียนรู้ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ จากปัญหานี้โรงเรียนจึงได้ดำเนินการจัดกิจกรรมสร้างเสริม ๕ ส. ขึ้น เพื่อแก้ไขปัญหา
ให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการ สุขภาพช่องปากและอนามัย สุขภาพจิตดี และสมรรถนะภาพทางกายที่ดี ช่วยเติมเต็มองค์ความรู้ความเข้าใจ
ของผู้ปกครองเรื่องโภชนาการและสุขภาพอนามัยที่ดี สามารถทำหน้าที่ของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีการเจริญเติบโต
เต็มศักยภาพพรอ้ มท่จี ะเปน็ ประชากรที่มีคุณภาพของประเทศตอ่ ไปในอนาคต

วัตถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายของการดำเนนิ งาน

วตั ถปุ ระสงค์ 4
๑. เพ่ือสง่ เสรมิ ให้นกั เรยี นมีภาวะสมสว่ น

๒. เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้นกั เรียนมสี มรรถภาพทางกายดีข้ึน

เป้าหมาย

เชงิ ปริมาณ
๑. นกั เรยี น รอ้ ยละ ๗๐ มีภาวะสมสว่ น
๒. นักเรียน รอ้ ยละ ๗๐ มสี มรรถภาพทางกายดีข้นึ

เชิงคุณภาพ
นกั เรยี นมีภาวะสมสว่ น สมรรถภาพทางกายและสขุ ภาพจติ ดี

กระบวนการดำเนินงาน

แนวทางการดำเนินงานเพื่อเป็นมาตรฐานการดำเนินงานด้านโภชนาการสุขภาพอนามัยของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน
บ้านยูงงามในบ้านยูงงามรักสุขภาพ (Ban Yung Ngam healthy School) เป็นการดำเนินการตามวงจร PDCA ซึ่งมีการขับเคลื่อน
การดำเนนิ งานดว้ ยกจิ กรรมสรา้ งเสรมิ ๕ ส. มกี ารดำเนนิ งาน ดงั ตอ่ ไปน้ี

๑. สรา้ งสรรค์ (Create)
โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านยูงงามได้ดำเนินการ
ตามโครงการเกษตรเพือ่ อาหารกลางวนั ซึ่งจากการสำรวจและวิเคราะห์
ข้อมูลภาวะโภชนาการนักเรียน พบว่านักเรียนมีภาวะโภชนาการสูง
เกินเกณฑ์เฉลี่ยร้อยละ ๒๙.๒๗ โรงเรียนจึงได้สร้างรายการอาหาร
ของนักเรียน โดยการนำผลผลติ ตามโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
มาประกอบเป็นอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน เช่น ปลาดุกสวรรค์
ปอเป๊ียะปลาดกุ ปลาดกุ แดดเดียว เป็นตน้

๒. สง่ เสริม (Encourage) กระบวนการดำเนนิ งานของแนวปฏิบัติที่ดี บ้านยูงงามรักสุขภาพ
มีการส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง (Ban Yung Ngam Heathy School)
นำไปสู่การเรียนที่ดีและจิตใจที่สดชื่นแจ่มใส โรงเรียนจึงได้ดำเนินการ
จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะและสมรรถนะที่ดีของร่างกาย เช่น
กจิ กรรมการแข่งขันกีฬาสภี ายใน กิจกรรมการทดสอบสมรรถนะร่างกาย
และกิจกรรมต่อตา้ นยาเสพตดิ เป็นตน้

5

๓. สะอาด (Hygiene)
เพื่อลดปัญหาสุขภาพช่องปากและสุขอนามัยของนักเรียน ได้ดำเนินการด้านสุขภาพอนามัยในโรงเรียน เช่น กิจกรรมรักฟัน
ต้องหมั่นแปรง กิจกรรมสมุนไพรย้อมสีฟัน กิจกรรม อย. และกจิ กรรมดูแลร่างกาย (ผม ฟนั เล็บ การแตง่ กาย) รวมทง้ั ดูแลกระบวนการผลิต
และประกอบอาหาร ภาชนะอุปกรณ์ที่ใช้ในการปรุงอาหาร สะอาดและปลอดภัยล้างเก็บถูกสุขลักษณะ ส่งเสริมให้นักเรียนมีพฤติกรรม
การล้างมอื และลา้ งอุปกรณร์ ับประทานอาหารทกุ ครั้ง
๔. สงบ (Meditate)
จัดกิจกรรมการนั่งสมาธิเบื้องต้นสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑- ๖ และการจัดค่ายคุณธรรมจริยธรรม เพื่อฝึกอบรมจิตใจ
ของนกั เรยี นใหผ้ ่อนคลายและสามารถจดั การกบั ความเครียดในเวลาเรยี นได้ด้วยตนเอง
๕. สร้างสุข (Happiness)
จดั กจิ กรรม โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวนั เปน็ กิจกรรมท่ีมงุ่ เนน้ ใหเ้ กดิ การทำงานรว่ มกนั ระหวา่ ง นักเรียน ครู โรงเรยี น ชุมชน
และหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อสร้างความสามัคคีทำให้นักเรียนรู้สึกภาคภูมิใจในตนเองและสามัคคีกันมากขึ้น อีกทั้งยังส่งเสริมให้โรงเรียน
และชุมชนสามารถอยรู่ ่วมกันไดอ้ ย่างมคี วามสุข

ผลการดำเนนิ งาน

การดำเนินงานส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัย บ้านยูงงามรักสุขภาพ (Ban Yung Ngam healthy School) ของโรงเรียน
ตำรวจตระเวนชายแดนบ้านยูงงาม ตามกิจกรรมสร้างเสริม ๕ ส. ปรากฏผลการดำเนินงาน ดังน้ี

๑. นกั เรียนมภี าวะสมส่วนผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ ๗๕.๖๑ ซง่ึ นอ้ ยกว่าปีการศึกษา ๒๕๖๓ อยู่ ๔.๘๘
๒. มสี มรรถภาพทางกายผา่ นเกณฑร์ ้อยละ ๗๘.๐๕ ดีขึ้นจากปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ อยู่ ๙.๗๖
จากผลการดำเนนิ งาน พบว่านกั เรียนท่ีมีภาวะสมสว่ นมากขน้ึ และมสี มรรถภาพทางกายดีขน้ึ

ประโยชนท์ ่ีได้รบั และการเผยแพร่

นกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๕ นำองค์ความรู้เรื่อง อย.นอ้ ย ไปเผยแพรก่ ับชุมชนบ้านคอกช้าง หมู่ ๕ หมู่ ๑๐ หมู่ ๑๒ และโรงเรียน
โสตทศั นศึกษาจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เพอ่ื สรา้ งองค์ความรทู้ เี่ ข้มแข็งและย่งั ยืนให้ชมุ ชนและโรงเรยี นใกลเ้ คียง

6

ปจั จยั ความสำเรจ็

๑. ผู้บริหารโรงเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคนในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านยูงงาม มีส่วนรับผิดชอบ
ในการวางแผนการปฏิบตั งิ านตา่ ง ๆ เพือ่ เป็นแนวทางในการเรียนรู้ ปรบั ปรุงและประยุกตใ์ ชใ้ ห้เกดิ ประโยชนส์ งู สุดต่อนักเรยี น

๒. นักเรยี น มีส่วนชว่ ยใหก้ ารดำเนนิ กิจกรรมเป็นไปอย่างราบรืน่
๓. ผู้ปกครองและชุมชน มีส่วนชว่ ยผลกั ดันใหก้ จิ กรรมต่างๆ สามารถดำเนินการไดอ้ ย่างสะดวกสบาย
๔. หน่วยงานต่าง ๆ เช่น กรมประมง กรมปศุสัตว์ และสำนักงานเกษตรอำเภอ มีส่วนช่วยสนับสนุนทั้งอุปกรณ์ การแนะแนวทาง
การดำเนินกจิ กรรมและเสริมความร้ตู ่าง ๆ

ปญั หาอุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ

๑. กิจกรรมบางกิจกรรมขาดความตอ่ เนือ่ ง เน่ืองจากบางครง้ั ครูผูร้ ับผดิ ชอบติดภารกจิ อน่ื ควรแต่งต้ังผรู้ ับผดิ ชอบกจิ กรรมเพม่ิ เติม
๒. เนื่องจากโรงเรียนมีขนาดเล็ก มีข้อจำกัดด้านทุนทรัพย์ในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์บางอย่างที่จำเป็นในการดำเนินกิจกรรม
ควรขอความอนเุ คราะหจ์ ากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ

แนวทางการพัฒนาตอ่ เน่ือง

สรา้ งความร่วมมอื กบั โรงเรียนใกลเ้ คียงและหน่วยงานอน่ื ๆ

เอกสารอา้ งองิ

สำนักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี สำนักพระราชวัง สวนจิตรลดา. (๒๕๖๐). แผนพัฒนาเดก็ และเยาวชน
ในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๙
(พมิ พค์ รั้งที่ ๑). กรุงเทพฯ : แอคทีฟ พร้นิ ท.์

สำนักส่งเสรมิ สุขภาพ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ . (๒๕๕๘). คมู่ ือการดำเนนิ งานโรงเรยี นส่งเสริมสุขภาพ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
๒๕๕๘) (พิมพ์คร้งั ที่๑). กรุงเทพฯ: สำนักบรกิ ารวิชาการ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร.

ภาพประกอบ

7

กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน

ด้านท่ี ๑ โภชนาการและสขุ ภาพอนามยั

ช่ือผลงาน ปันสขุ ปันฮักใหน้ ้องอ่มิ มื้อเช้า
สถานศกึ ษา โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดนบ้านหนองใหญ่ ตาบลรงุ อาเภอกันทรลักษ์
จังหวัดศรีสะเกษ สังกดั กองกากับการตารวจตระเวนชายแดนที่ ๒๒
ผูเ้ สนอผลงาน ดาบตารวจหญิงเรณู ทองเลิศ
หมายเลขโทรศัพท์
๐๖ ๒๑๙๘ ๖๙๙๕ E-mail : reanoo๑๔๐๒@gmail.com

ความสาคญั ของ “ แนวปฏบิ ตั ิทดี่ ี ”

บ้านหนองโปร่งใหญ่ อยู่ในพ้ืนท่ีใกล้พ้ืนที่ชายแดนไทย - กัมพูชา ครอบครัวของนักเรียนมีความยากจน ผู้ปกครองส่วนใหญ่
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น สวนยาง ทาไร่ ทาสวน ทานา บางส่วนไปรับจ้างทางานไกลบ้าน ต้องออกไปประกอบภาระหน้าท่ีแต่เช้ามืด
ซ่ึงไม่มีเวลาประกอบอาหารเช้าให้นักเรียน จากการเยี่ยมบ้านและสอบถามนักเรียน พบว่านักเรียนไม่ได้รับประทานอาหารเช้ามาโรงเรียน
ซึ่งอาหารมื้อเช้านับเป็นมื้อท่ีสาคัญในการพัฒนาสมองของนักเรียน การไม่รับประทานเช้าจะทาให้นักเรียนมีปัญหาภาวะโภชนาการ
ทาใหร้ ่างกายอ่อนเพลยี ไมม่ ีสมาธิในการเรียนหนังสอื ส่งผลต่อการเรยี น และการเจริญเติบโต

จากสถานการณ์ภาวะโภชนาการของนักเรียนในปีการศึกษา ๒๕๖๑ พบว่า นักเรียนภาวะน้าหนักน้อยกว่าเกณฑ์ร้อยละ ๗.๔๖
ภาวะเต้ียร้อยละ ๗.๔๖ และภาวะผอมร้อยละ ๔.๔๘ และข้อมูลสารวจนักเรียนไม่ได้รับประทานอาหารเช้ามาจากบ้านถึงร้อยละ ๘๐
ทางโรงเรียนเห็นความสาคัญในเรื่องน้ีมาก จึงได้ประชุมผู้ปกครองเพ่ือช่วยกันแก้ไขปัญหา และได้จัดทา โครงการ "ปันสุขปันฮักให้น้องอ่ิมม้ือเช้า"
โดยแสวงหาความร่วมมือภาคีเครือข่าย จากหน่วยงานต้นสังกัด ผู้ปกครอง ผู้นาชุมชน คณะครู ร่วมสนับสนุนวัตถุดิบ อุปกรณ์ งบประมาณ ฯลฯ
ผ่านกล่องปันสุข โดยทางโรงเรียนมีครู แม่ครัว นักเรียน ช่วยจัดประกอบอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางโภชนาการ โดยจัดบริการฟรี ให้นักเรียน
ได้รับประทานอาหารเช้าสัปดาห์ละ ๒ วันอย่างต่อเน่ือง สอดคล้องกับแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดาริของ
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่ ๕ (พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๙) ในเป้าหมายหลัก
ท่ี ๑.๓ เด็กและเยาวชนมีนา้ หนัก ส่วนสูง ตามเกณฑ์มาตรฐานเพม่ิ ขึน้ และมพี ฤติกรรมสุขภาพทเ่ี หมาะสม

8

วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายของการดาเนนิ งาน

วตั ถุประสงค์
๑. เพอ่ื ให้นกั เรียนทกุ คนได้รับประทานอาหารเชา้ สปั ดาหล์ ะ ๒ วนั
๒. เพ่ือใหน้ กั เรียนมภี าวะโภชนาการท่ีดีขึ้น
๓. เพอื่ สรา้ งความรว่ มมือระหวา่ งภาคีเครอื ขา่ ย ผนู้ าชุมชน ผปู้ กครองและโรงเรียน

เป้าหมาย
เชงิ ปริมาณ

๑. นักเรยี นทุกคนได้รับประทานอาหารเช้าสปั ดาหล์ ะ ๒ วนั
๒. นักเรียนทมี่ ีภาวะทุพโภชนาการได้รบั การแกไ้ ข นกั เรยี นมภี าวะโภชนาการดีข้นึ

กระบวนการดาเนนิ งาน

9

 การวางแผนการดาเนินงาน (Plan)
๑. สารวจภาวะโภชนาการของนักเรียน โดยการชั่งน้าหนัก วดั สว่ นสงู นักเรยี นทุกคน
๒. ประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษา ผูป้ กครอง ครู เพื่อปรกึ ษา หาแนวทางการแกไ้ ขปัญหา
นกั เรียนไม่ได้รบั ประทานอาหารเช้ามาโรงเรียน

 การดาเนนิ งาน (Do)
๑. จัดทา "กล่องปันสุข" เพื่อเป็นจุดรวบรวม รายการสนับสนุนวัตถุดิบ ส่ิงของ ตลอดจนงบประมาณ ฯลฯ จากภาคเี ครือข่าย

ผนู้ าชุมชน ผู้ปกครอง คณะครู
๒. จดั ทารายการอาหารเชา้ ท่ีมคี ณุ ภาพถูกหลกั โภชนาการตามบริบทของชมุ ชน และท่เี ดก็ ชอบรบั ประทาน เชน่ ข้าวต้ม

หม/ู ไก่ ข้าวผดั หม/ู ไก่ ก๋วยจั๊บญวน แซนวิชผกั ไส้กรอก ฯลฯ
๓. ปรุงประกอบอาหารเช้าโดย ครู ผปู้ กครอง ทกุ วนั อังคารและวันพฤหสั บดี โดยใชว้ ัตถุดิบที่มใี นโครงการเกษตรเพื่ออาหาร

กลางวนั
๔. จดั ทาบัญชกี ารรบั - จ่าย วตั ถดุ บิ สิ่งของ งบประมาณท่ีใช้ ได้รบั การสนับสนุนมาอย่างโปร่งใสและตรวจสอบได้ ฯลฯ
๕. เผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธ์ ให้ผปู้ กครองได้ทราบถงึ การดาเนนิ งาน การจดั บรกิ ารอาหารเชา้ ในแตล่ ะวัน ในชอ่ งทางเสยี ง

ตามสาย Website Facebook LINE กลมุ่ ผปู้ กครอง
 การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล (Check)

สังเกตการรับประทานอาหารเช้าของนักเรียน สอบถามประเมินความพึงพอใจนักเรียนและผู้ปกครอง ติดตามปัญหา/
อปุ สรรคในการทางาน
 สรุป ปรับปรุง พัฒนา (Act)

ปรบั ปรุงพัฒนาการจัดอาหารเชา้ มีการสรปุ รายงานผลประจาภาคเรียน ประชมุ ครู ผบู้ ริหาร

ผลการดาเนนิ งาน

จากการดาเนินงานจัดอาหารเช้าฟรีให้กับนักเรียน สัปดาห์ละ ๒ วัน ในทุกภาคการศึกษา ต้ังแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา
มีส่วนส่งผลต่อภาวะโภชนาการของนักเรียนดีขึ้น มีการลดลงของปัญหาทุพโภชนาการของนักเรียน โดยเฉพาะภาวะน้าหนักน้อยกว่าเกณฑ์
(ภาวะเตยี้ และภาวะผอม) จากขอ้ มลู ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ ภาวะน้าหนกั น้อยกว่าเกณฑร์ ้อยละ ๗.๔๖ ภาวะเตยี้ ร้อยละ ๗.๔๖ และภาวะผอม
ร้อยละ ๔.๔๘ ในปีการศึกษา ๒๕๖๕ พบว่า ภาวะน้าหนักน้อยกว่าเกณฑ์ลดลงเหลือร้อยละ ๒.๓๘ ภาวะเตี้ยลดลงเหลือร้อยละ ๓.๕๗

10

และไม่พบภาวะผอมของนักเรียน นอกจากน้ีการจัดบริการอาหารเช้ายังก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่าย ชุมชน ผู้ปกครองและ
โรงเรยี น อกี ทัง้ ยังสามารถดาเนินโครงการได้อยา่ งต่อเนื่องจนถึงปจั จบุ นั

ตารางเปรียบเทียบภาวะโภชนาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕

ปกี ารศกึ ษา นา้ หนักนอ้ ยกวา่ เกณฑ์ ภาวะเตี้ย ภาวะผอม
(จานวนนักเรยี น) (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) (ร้อยละ)
๒๕๖๑ (๖๕ คน) ๗.๔๖ ๗.๔๖ ๔.๔๘
๒๕๖๒ (๖๕ คน) ๔.๖๒ ๖.๑๓ ๓.๐๘
๒๕๖๓ (๗๔ คน) ๑.๓๓ ๕.๓๓ ๒.๖๗
๒๕๖๔ (๘๕ คน) ๓.๕๓ ๔.๗๑ ๒.๓๕
๒๕๖๕ (๘๔ คน) ๒.๓๘ ๓.๕๗


ประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั และการเผยแพร่

นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าท่ีมีคุณค่าทางโภชนาการ มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสมาธิ และมีความพร้อมในการเรียนรู้
จากการดาเนินงานจัดบริการอาหารเช้าน้ี ส่งผลให้ชุมชนให้ความร่วมมือในการพัฒนาด้านต่าง ๆ ในโรงเรียน ชุมชนไว้วางใจทาให้มีจานวน
นกั เรยี นเพมิ่ ขึ้น โดยในปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ มนี กั เรยี น ๘๔ คน เพม่ิ ข้ึนจากจานวน ๖๕ คนในปีการศึกษา ๒๕๖๑

โรงเรียนมีการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์การดาเนินงานผ่านเสียงตามสายในโรงเรียนและชุมชน การประชุมผู้ปกครอง
ประจาภาคเรียน การจดั นิทรรศการ ปา้ ยนเิ ทศ Website Facebook LINE

ปัจจยั ความสาเร็จ

๑. ความรว่ มมือในการดาเนินงานของภาคเี ครือข่าย ผ้บู ังคับบญั ชา ผ้นู าชุมชน ผ้ปู กครอง คณะครู นักเรยี น
๒. ครูใหญใ่ ห้ความสาคญั กากบั ติดตามอย่างสมา่ เสมอ ร่วมแก้ปัญหา สรา้ งขวญั กาลังใจแกค่ รผู รู้ ับผดิ ชอบโครงการอย่างต่อเนื่อง
๓. ครูผ้รู ับผดิ ชอบทุ่มเทในการปฏิบตั ิงานและมีการดาเนินงานโครงการอย่างต่อเนือ่ ง

11

ปัญหาอุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ

บคุ ลากรในการประกอบอาหารเช้ามีจานวนไม่เพยี งพอ ควรมกี ารจดั เวรรับผิดชอบให้ครู นกั เรียน รว่ มกันประกอบอาหารเชา้

แนวทางการพฒั นาตอ่ เนื่อง

๑. ส่งเสริมความรใู้ ห้ผู้ปกครองเหน็ ความสาคญั และจดั ทาอาหารม้ือเชา้ ที่บา้ นใหน้ ักเรยี นได้รับประทานก่อนมาโรงเรียน
๒. จดั ทาโครงการขอรับงบประมาณสนบั สนุนกองทุนประกันสุขภาพจากองค์การบริหารสว่ นท้องถ่ินเพื่อการดาเนินงานโครงการให้
ครบทุกวันทาการอย่างต่อเนอ่ื งต่อไป

เอกสารอ้างอิง

สานักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี สานกั พระราชวงั สวนจิตรลดา. (๒๕๖๐). แผนพัฒนาเด็กและเยาวชน
ในถ่ินทุรกันดารตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๙
(พมิ พ์ครง้ั ท่ี ๑). กรุงเทพฯ : แอคทฟี พร้ินท.์

ภาพประกอบ

12

สำนกั งำนส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศยั

ดา้ นที่ ๑ โภชนาการและสุขภาพอนามัย

ช่ือผลงาน แองควันลั้วะ สร้างสุขภาพเลาะ บ้านปู่ดู่ (การเสริมสร้างสุขภาพอนามัยชุมชนล้ัวะ บ้านปูด่ ู่)
สถานศกึ ษา ศนู ยก์ ารเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟ่ ้าหลวง” บา้ นปู่ดู่ จงั หวดั น่าน
สังกดั สานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ผเู้ สนอผลงาน นายศภุ ชยั อนิ แปง
หมายเลขโทรศัพท์
๐๙ ๗๙๕๓ ๗๖๕๙ E-mail : [email protected]

ความสาคัญของ “ แนวปฏบิ ัตทิ ด่ี ี ”

บ้านปู่ดู่ หมู่ท่ี ๙ ตาบลขุนน่าน อาเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน เป็นชุมชนเล็ก ๆ ที่ตั้งบ้านเรือนอยู่บนไหล่เขา ชาวบ้าน
เปน็ ชาวไทยภเู ขาเผ่าลว้ั ะ มวี ถิ ีชวี ติ ความเป็นอยูท่ ี่เรียบง่ายแบบชาวไทยภเู ขา การคมนาคมถึงหมู่บา้ นยากลาบาก ขาดการดแู ลตนเองเกี่ยวกับ
ความสะอาดและระบบสุขาภิบาลชุมชนและอยู่ห่างไกลการบริการของรัฐ ทาให้เกิดปัญหาทางด้านสุขภาพอนามัยขึ้น ส่วนใหญ่ไม่รักษา
ความสะอาดของร่างกายและบ้านเรือน ห้องนอน ห้องครัว และบ้านบางหลังไม่มีห้องน้า บริเวณบ้านไม่มีการขุดร่องน้า ทาให้บริเวณบ้าน
เฉอะแฉะ ขาดความรับผิดชอบต่อชุมชน เป็นบ่อเกิดของโรคภัยไข้เจ็บข้ึนในชุมชน เช่น โรคเก่ียวกับระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินหายใจ
โรคผวิ หนัง อกี ทง้ั ชมุ ชนเปน็ เส้นทางหลักในการเดนิ ทางไปดอยภูแว ที่เปน็ แหลง่ ทอ่ งเท่ียวและคนชุมชนอื่นผ่านเข้ามาในชุมชนเป็นจานวนมาก

จากสาเหตุดังกล่าว ทาให้เกิดการจัดกระบวนการเรียนรู้เร่ืองระบบสุขาภิบาลชุมชน แบบมีส่วนร่วมเก่ียวกับการเสริมสร้างสุขภาพ
ให้กับบ้านปู่ดู่ โดยครูศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” บ้านปู่ดู่ ร่วมกับผู้นาชุมชน เครือข่าย อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน
จึงได้จัดทาโครงการ “โครงการแองควันลั้วะ สร้างสุขภาพเลาะ บ้านปู่ดู่ (การเสริมสร้างสุขภาพอนามัยชุมชนล้ัวะ บ้านปู่ดู่) ” มุ่งเน้น
การจัดกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพให้กับชุมชน ในการพัฒนาสภาพการดาเนินชีวิตที่ถูกสุขลักษณะ
มีสุขภาพท่ีดีทั้งด้านร่างกาย ท่ีอยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมของชุมชนให้น่าอยู่สะอาด เน้นการทางานเป็นทีม ทุกคนมีส่วนร่วม ในการสร้างเสริม
สุขภาวะและสรา้ งภาพลักษณท์ ดี่ ใี ห้แกช่ ุมชนตนเอง

13

วตั ถุประสงค์และเปำ้ หมำยของกำรดำเนินงำน

วตั ถปุ ระสงค์
เพ่ือให้นักศึกษา และประชาชนชุมชนบ้านปู่ดู่มีความรู้และทักษะในเร่ืองระบบสุขาภิบาลชุมชน เห็นความสาคัญ

มพี ฤติกรรมท่ีเหมาะสม ท้งั ด้านรา่ งกาย ทอ่ี ย่อู าศัย มกี ารรกั ษาส่งิ แวดลอ้ ม
เปา้ หมาย
เชงิ ปริมาณ
นักศกึ ษา คณะกรรมการหมูบ่ า้ น อาสาสมคั รสาธารณสขุ หวั หน้าครวั เรือน จานวน ๔๕ คน
เชงิ คณุ ภาพ
ชมุ ชนบา้ นปู่ดู่ มคี วามสะอาด น่าอยู่ มีสขุ ภาพชีวติ ที่ดขี ึ้น

กระบวนกำรดำเนินงำน

14

ผลกำรดำเนินงำน

๑. จากการศึกษาผลการจัดการเรียนรู้สภาพการดาเนินชีวิตท่ีถูกสุขลักษณะทั้งทางด้านร่างกายและท่ีอยู่อาศัยทาให้ชุมชนน่าอยู่
สภาพแวดลอ้ มของหม่บู า้ นสะอาด ปราศจากขยะ ทุกครวั เรือน

๒. จากการดาเนินกิจกรรมของชมุ ชนบ้านปู่ดู่ พบว่านกั ศึกษาและประชาชนบ้านปู่ดู่ ร้อยละ ๙๐ มีสว่ นร่วมในเรอ่ื งต่าง ๆ ที่ชมุ ชนจดั
เช่น การประชุม การวางแผน การวิเคราะห์ชุมชน การพัฒนาชุมชน การสร้างเสริมสุขภาพ การแบ่งปันช่วยเหลือเกื้อกูล การเสียสละเพ่ือ
กิจกรรมส่วนรวม ตลอดจนการมีจิตสาธารณะ ทาให้นักศึกษาและชาวบ้านปู่ดู่มีการจัดการชุมชนน่าอยู่ หมู่บ้านสะอาด มีบ้านตัวอย่าง
ในชุมชน

ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั และกำรเผยแพร่

ชุมชนบ้านปูด่ ู่ มีความสะอาด น่าอยู่ สุขภาพชวี ิตและมภี าพลักษณ์ของชุมชนทีด่ ีขน้ึ
๑. เผยแพร่โดย การถา่ ยทอดการดาเนนิ กิจกรรมแนวปฏบิ ัตทิ ด่ี ีผา่ นทางเพจ เฟซบุ๊ก ศศช.บา้ นปูด่ ู่
๒. จัดทาเอกสารเผยแพร่ และจดั นิทรรศการใน ศูนย์การเรียน ศศช. ด้านสขุ ภาพอนามยั

ปัจจยั ควำมสำเร็จ

๑. ผบู้ ริหารเปน็ ท่ปี รกึ ษา ให้การสนับสนนุ ทรพั ยากรในการจดั กจิ กรรม
๒. ครูผ้ดู าเนนิ กิจกรรม มคี วามตั้งใจ ทมุ่ เทการปฏิบตั ิกจิ กรรมในพ้ืนท่ีอยา่ งจริงจงั
๓. ทีมงานคุณภาพ ต้ังใจถ่ายทอดองค์ความรู้ ดาเนนิ การตามแผนงานดา้ นสขุ ภาพอนามัยให้กบั ชมุ ชนอย่างท่ัวถงึ
๔. ชมุ ชน ใหค้ วามร่วมมือ รักชุมชนตนเอง เรียนร้รู ว่ มกันสร้างสรรคช์ มุ ชน

15

ปญั หำอปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะ

๑. ทีมสขุ ภาพชมุ ชน ขาดทักษะในกระบวนการทางานทเี่ ปน็ ระบบ ประสานเจ้าหน้าทเ่ี ครอื ข่ายที่เกี่ยวขอ้ งใหค้ วามรู้
๒. ชุมชนบ้านปู่ดู่อยู่พื้นที่ในถิ่นทุรกันดารหา่ งไกล ไม่มีไฟฟ้า การดาเนินกิจกรรมมีความล่าช้า สื่อ และรางวัลท่ีใช้ในการจัดกิจกรรม
ค่อนข้างจากดั ดาเนนิ การจัดเตรียมส่อื ให้ความรู้และรางวัล ประสานจากเครือข่ายทเี่ ก่ียวข้อง ก่อนดาเนนิ การจัดกิจกรรมระบบสขุ าภบิ าลชุมชน

แนวทำงกำรพัฒนำตอ่ เน่ือง

๑. จัดกระบวนการเรียนรู้ พัฒนาระบบสุขาภิบาลอย่างต่อเนื่องโดยประสานหน่วยงาน ภาคีเครือข่ายท่ีมีบทบาทและศักยภาพ
ในการพัฒนาชุมชน เช่น รพ.สต.บ้านด่าน อบต. ขุนน่าน อุทยานแห่งชาติ ๙ เข้ามามีส่วนร่วมเสริมแรงในจัดกิจกรรม การเพิ่มรางวัล
การให้ความร้เู ร่ืองการพฒั นาหม่บู ้านสแู่ หล่งท่องเท่ียวเชิงอนรุ ักษธ์ รรมชาติที่ถูกต้องต่อไป

๒. ผู้นาชุมชน ครู นาเสนอผลการจัดกิจกรรมให้กับทางอาเภอเฉลิมพระเกียรติเพื่อขอใบเกียรติบัตร ให้กาลังใจผู้ชนะการประกวด
บา้ นตัวอยา่ ง

๓. ชุมชนบา้ นปูด่ มู่ ีบา้ นต้นแบบดา้ นความสะอาด พัฒนาสแู่ หล่งเรยี นรู้ ทพี่ กั โฮมสเตย์

เอกสำรอำ้ งอิง

สานกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั . (๒๕๕๘). แนวปฏบิ ตั ทิ ีด่ ดี า้ นโภชนาการและสขุ ภาพอนามยั .
ในการประชุมวิชาการ การพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทรุ กันดาร เฉลมิ พระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ
สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน ๒๕๕๘ ปงี บประมาณ ๒๕๕๘ (น. ๔๙-๕๘).
เชียงใหม่: สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั .

สานกั งานโครงการสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร.ี (๒๕๕๒). แผนพัฒนาเดก็ และเยาวชนในถนิ่ ทุรกนั ดาร
ตามพระราชดาริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบบั ท่ี ๔ พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๙ (พิมพค์ ร้งั ท่ี ๒).
กรุงเทพฯ : สานกั งานโครงการสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.

16

ภำพประกอบ
17

สำนักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน

ดา้ นที่ ๑ โภชนาการและสขุ ภาพอนามยั

ช่ือผลงาน ดืม่ นมจืดช่ืนใจ หนดู ื่มไดท้ ุกวัน
สถานศกึ ษา โรงเรียนส่งเสรมิ อิสลาม
สังกัดสำนกั งานการศกึ ษาเอกชนจังหวัดสงขลา
ผู้เสนอผลงาน นางสาวสีตคี อรีเยาะ นังลูวา
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘ ๔๗๔๘ ๖๐๓๕ E-mail : [email protected]

ความสำคัญของ “ แนวปฏิบัติทดี่ ี ”

ศาสนาอิสลามในโครงการตามพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
จังหวัดสงขลา ให้ความสำคัญต่อการดื่มนมรสจืดของเด็กนักเรยี น นมรสจืดเป็นอาหารที่มีคุณค่าสงู เป็นแหล่งของโปรตีน แคลเซียม วิตามิน
และแร่ธาตุต่าง ๆ เด็กปฐมวัยควรได้ดืม่ นมอย่างน้อยวันละ ๑-๒ แก้ว (๒๐๐ มิลลิลิตร/แก้ว) จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้
ไวรัสโคโรนา (โควิด-๑๙) ทำให้โรงเรียนไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้ตามปกติ ทุกกิจกรรมอยู่ภายใต้เงื่อนไขการเว้นระยะห่างและ
เป็นรูปแบบนิวนอร์มอล (New normal) การเรียนออนไลน์ที่บ้าน จากการติดตามภาวะโภชนาการของนักเรียนชั้นอนุบาล ๓ ในเดือนแรก
ของภาคเรียนที่ ๑ พบว่า เด็กนักเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูง ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานและจากการสังเกตการดื่มนมรสจืดของเด็กในห้องเรียน
พบว่าเด็กนักเรียนมีพฤติกรรมไม่ชอบดื่มนมรสจืด เด็กจะนั่งกัดหลอดหรืออมหลอด ไม่ยอมดื่มนม จากการสอบถามเด็ก ได้คำตอบ
เหมือนกันว่านมโรงเรียนมีรสชาติจืดและมีกลิ่นคาว ทำให้เด็กนักเรียนเสียโอกาสจะได้สารอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ เนื่องจากเด็ก
จะไมไ่ ดร้ ับสารอาหารเพยี งพอตอ่ ความต้องการตามวัย

ดังนั้น จึงจัดทำโครงงาน “ดื่มนมจืดชื่นใจ หนูดื่มได้ทุกวัน” เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจถึงประโยชน์ในการดื่มนม
มีทัศนคติที่ดีต่อการดื่มนม อีกทั้ง ยังสามารถทำให้เด็กนักเรียนตระหนักถึงการดื่มนมจืด ปลูกฝังให้เด็กดื่มนมจืดเป็นประจำทุกวัน
เพอ่ื เสรมิ สรา้ งลกั ษณะนสิ ัยที่ดีตอ่ การดืม่ นมรสจืด

18

วัตถุประสงค์และเปา้ หมายของการดำเนนิ งาน

วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพื่อให้นักเรียนมีความรคู้ วามเข้าใจถึงประโยชน์ในการดื่มนมและมีทัศนคตทิ ่ีดตี ่อการดื่มนมรสจืดและสามารถดื่มนมรสจืดได้
๒. เพือ่ ให้ผ้ปู กครอง มีส่วนร่วมเกดิ ความตระหนักเกีย่ วกบั การดมื่ นมเป็นประจำทุกวนั

เปา้ หมาย

เชงิ ปรมิ าณ
นกั เรยี นช้ันอนุบาล ๓ จำนวน ๓๑ คน
เชิงคุณภาพ
นกั เรียนอนบุ าล มคี วามชอบในการดื่มนมรสจดื และมที ศั นคติต่อการดืม่ นมรสจดื ไปในทางทด่ี ีข้ึน เด็กนกั เรียนเกิดความตระหนักท่ีดี
ตอ่ การด่มื นมเป็นประจำทกุ วัน

กระบวนการดำเนินงาน

ประกอบด้วย ๓ กิจกรรม
๑. กิจกรรมการเล่านทิ าน
๒. กิจกรรมเชิงปฏิบตั กิ าร “ชวนหนดู ่มื ”
๓. กิจกรรมสานสมั พันธค์ รูผูป้ กครองผ่านกลมุ่ ไลน์

สภาพปญั หา การดำเนนิ งาน ผลการดำเนินงาน

➢ นักเรยี นไมช่ อบดม่ื นม ➢ กจิ กรรมการเล่านิทาน ➢ นกั เรียนมคี วามรู้ความเข้าใจ
รสจดื ➢ กิจกรรมเชิงปฏิบัติการ ประโยชนข์ องการดมื่ นมรสจดื

“ชวนหนูดมื่ ” ➢ นกั เรยี นสามารถด่ืมนมรสจดื
➢ กจิ กรรมสานสัมพันธ์ครผู ูป้ กครอง ต่อการดมื่ นมทกุ วัน

ผ่านกลมุ่ ไลน์ ➢ ผ้ปู กครองมสี ่วนร่วมในการ
ดม่ื นมรสจดื

19

๑. กิจกรรมการเล่านิทาน
การเลา่ นทิ านเป็นกิจกรรมเสริมประสบการณ์ท่ีสำคญั ต่อเด็กปฐมวัย เพราะสามารถช่วยส่งเสริมการพฒั นาเด็กปฐมวยั ได้อยา่ งรอบด้านและ

มีประโยชน์อย่างมากในการช่วยกระตุน้ การเรียนรู้ โดยเฉพาะการสร้างความรู้และทัศนคตทิ ี่ดขี องเดก็ ปฐมวัยทีจ่ ะส่งผลตอ่ พฤติกรรมทีด่ ีของ
เด็ก ครูจึงมีการพัฒนาชุดนิทาน “หนูนาไม่ชอบดื่มนม” โดยให้เด็กนักเรียนได้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นกับนิทาน เพื่อเป็น
การกระตุ้นและส่งเสริมในการดื่มนมของเด็ก โดยการเล่าถึงประโยชน์ของการดื่มนมและผลที่จะเกิดกับเด็กที่ชอบดื่มนมและไม่ชอบดื่มนม
ของเด็ก เพือ่ ให้เดก็ เห็นถงึ ความสำคัญของการด่ืมนม และส่งผลให้เดก็ มีพฤติกรรมชอบด่ืมนมมากขน้ึ

๒. กิจกรรมเชิงปฏบิ ตั ิการ “ชวนหนดู ่ืม”
กิจกรรมเชิงปฏิบัติการ “ชวนหนูดื่ม” เป็นการทำกิจกรรมเชิงปฏิบัติการเรียนรู้ผ่านกระบวนการกลุ่ม ระยะเวลา ๓ เดือน

เริ่มดำเนินกจิ กรรม ๒ เดือนแรก เดือนพฤษภาคม-เดือนมิถนุ ายน ให้เด็กได้ลงมือทำด้วยตนเอง โดยให้เด็กแต่ละคนตัดนมถุงของตัวเองเทลง
ในภาชนะที่เตรียมไว้ โดยใช้น้ำแดงแฮลบลูบอยเพียงเล็กน้อย ในสัดส่วนที่เหมาะสม เพื่อเพิ่มสีและกลิ่น (การเติมน้ำแดงเฮลบลูบอย
๔๕ มิลลิลิตรตอ่ นมจืด ๖,๒๐๐ มิลลิลิตร จะทำให้น้ำตาลเพิ่มขึ้น ๑ กรัมต่อนมจืด ๒๐๐ กรัม คิดเป็น ๐.๕ เปอร์เซ็น) เป็นการเพิ่มสีสันและ
กลน่ิ เพียงเลก็ นอ้ ยเพอ่ื ดึงดูดเดก็ ใหม้ ีการสนใจและมีความสุขในการดื่มนมจดื ทุกคน ในเดอื นกรกฎาคมสุดท้ายของการดำเนนิ กิจกรรม

๓. กิจกรรมสานสมั พันธค์ รู ผ้ปู กครองผา่ นกลุ่มไลน์
เป็นกิจกรรมท่ีมีการแลกเปลี่ยนความรรู้ ่วมกับผู้ปกครอง เพอ่ื ให้ผปู้ กครองมีส่วนรว่ มในการเปลยี่ นทัศนคติต่อการด่ืมนมรสจืดของเด็ก

ซึ่งจะใช้กลุ่มไลน์เป็นช่องทางการสื่อสาร สื่อความรู้ ความเข้าใจกับผู้ปกครอง แล้วให้ผู้ปกครองต่อยอดโดยการเลือกซื้อนมให้เป็น
นมรสจืดใหเ้ ด็กด่มื ที่บ้านเป็นประจำ เพื่อการฝึกนสิ ัยรักการดื่มนมรสจืดท่บี ้านรวมถึงการบรโิ ภคอาหารท่ีเหมาะสม

20

ผลการดำเนินงาน

จากการดำเนนิ งาน พบวา่ นกั เรยี นเกดิ ความรู้ความเข้าใจถึงประโยชนใ์ นการดมื่ นม และมีทัศนคตใิ นการดม่ื นมรสจดื ท่ีดขี ้นึ และเด็ก
สามารถด่ืมนมรสจดื ได้หมด ผู้ปกครองใหค้ วามรว่ มมือเป็นอยา่ งดีในการชว่ ยกระตุน้ เด็กในการดืม่ นมรสจืด สง่ ผลใหน้ ักเรยี นมนี ำ้ หนักและ
สว่ นสูงดขี นึ้ ตามลำดบั

ประโยชน์ท่ีไดร้ บั และการเผยแพร่

นักเรียนช้ันอนุบาล ๓ มีพฤติกรรมการดื่มนมรสจดื ท่ีดขี ึ้น มีน้ำหนักและส่วนสูงดีขึ้น ตลอดจนมีการเผยแพร่การทำกจิ กรรมทางเพจ
เฟซบุก๊ แผนกอนบุ าลชีวิตสดใส

ปัจจัยความสำเร็จ

๑. ผ้บู รหิ าร คณะครู บุคลากรใหก้ ารสนับสนนุ การดำเนนิ งาน
๒. ผู้ปกครอง ให้ความร่วมมอื สนับสนุน การจัดกิจกรรมอย่างต่อเน่ือง

ปญั หาอุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ

ควรมีการรณรงคส์ ่ือสารไปถงึ ผปู้ กครองอยา่ งตอ่ เน่ือง

แนวทางการพฒั นาตอ่ เนื่อง

ขยายผลการดำเนนิ งานให้กับครรู ะดับชนั้ อนบุ าล ๑-๒ เพ่อื นำไปปรับใช้กบั เด็กนักเรยี นในแตล่ ะระดับช้ันและสง่ เสรมิ ให้นกั เรียน
ตระหนักถึงการดื่มนมเป็นประจำทกุ วัน

ภาพประกอบ

21

สำนักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ

ด้านท่ี ๑ โภชนาการและสุขภาพอนามยั

ชื่อผลงาน ชมุ นมุ สามเณรรักสุขภาพ ขยบั กายสบายชีวี ดดู สี มวัย ใส่ใจสขุ ภาพ
สถานศึกษา โรงเรียนพุทธโกศยั วิทยา อำเภอเมืองแพร่ จังหวดั แพร่

ผู้เสนอผลงาน สังกัดสำนักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ
หมายเลขโทรศัพท์
พระมหาวรพัฒน์ วรญาโณ (วงสา)
๐๘ ๒๔๙๗ ๔๗๖๙ E-mail : [email protected]

ความสำคญั ของ “ แนวปฏิบตั ทิ ดี่ ี ”

จากสถานการณ์สภาวะสุขภาพของนักเรียน โรงเรียนพุทธโกศัยวิทยา ยังคงพบสามเณรมีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน จัดอยู่ในกลุ่ม
เริ่มอ้วนและอ้วน จากการเก็บข้อมูลน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ จากสามเณรนักเรียน จำนวน ๒๕๐ รูป
พบว่า ภาวะโภชนาการในกลุ่มเริ่มอ้วน ร้อยละ ๕.๖๐ และภาวะโภชนาการในกลุ่มอ้วน ร้อยละ ๒๐.๐๐ ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคต่าง ๆ
เช่น เบาหวาน ความดัน ตามมา จากการค้นหาสาเหตุส่วนใหญ่ พบว่าเกิดจากอาหารที่สามเณรฉันอยู่เป็นประจำทุกวัน อาหารที่ญาติ
โยมสว่ นใหญใ่ ส่บาตร สว่ นมากประกอบไปดว้ ยอาหารรสหวาน มนั เค็ม ไม่ออกกำลังกายหรือออกกำลังกายไม่ถูกวธิ ตี ามวิถสี มณะ ยังคงขาด
ความรู้และความเข้าใจในเรื่องของการดูแลสุขภาพ โดยการนำหลักแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ ฉบับที่ ๕
พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๙ ด้านที่ ๑ โภชนาการและสุขภาพอนามัย ธรรมนูญสุขภาพพระสงฆ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ว่าด้วยพระสงฆ์กับการดูแล
สุขภาพตนเอง ตามหลักพระธรรมวินัย ชุมชนและสังคมกับการดูแลอุปัฏฐากพระสงฆ์ที่ถูกต้องตามหลักพระธรรมวินัย และบทบาทพระสงฆ์
ในการเป็นผู้นําด้านสุขภาวะของชุมชนและสังคม คู่มือสุขอนามัยสถานที่จำวัดสามเณร โรงเรียนพระปริยัติธรรม มาเป็นแนวทาง
ในการให้ความรู้ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติในชีวิตประจำวันด้านสุขภาพ อันจะนำไปสู่การมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
ไดอ้ ีกหนทางหนึ่ง

วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการดำเนนิ งาน

วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพอื่ ลดปัญหาดา้ นภาวะโภชนาการ (อ้วน) มีน้ำหนกั ลดลง

22

๒. เพื่อให้สามเณรนักเรียนมีความรู้ในการเลือกฉันอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ ออกกำลังกายอย่างถูกวิธี รู้หลัก
สขุ อนามัยรอบตวั หา่ งไกลจากโรคภัย

๓. เพ่ือใหส้ ามเณรนกั เรยี นมคี วามรคู้ วามเข้าใจตอ่ ทัศนคติที่ดีในการดูแลสขุ ภาพ
๔. เพอ่ื ส่งเสรมิ ให้นักเรยี นเกิดความกล้าแสดงออก มสี ว่ นรว่ มกับวัดและชมุ ชน สามารถนำหลักความร้ทู ี่ไดร้ ับถ่ายทอดช้ีแนะ
ให้กับเพื่อนนักเรียนภายในโรงเรียน พระภิกษุสามเณรภายในวัด ญาติโยมภายในชุมชน สามารถนำไปปฏิบัติ เพื่อแก้ไขปัญหา
ไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม

เป้าหมาย
เชิงปรมิ าณ

สามเณรนกั เรียนทม่ี ีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) จำนวน ๒๐ รูป
เชงิ คุณภาพ

สามเณรนักเรียนมีปัญหาภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) ลดลง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเอง
และเป็นสามเณรนกั เรยี นต้นแบบในการดแู ลสุขภาพภายในโรงเรียนและชมุ ชน

กระบวนการดำเนนิ งาน

โรงเรยี นพุทธะโกศยั วิทยา ตามโครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) ที่มแี นวคิด
มาจาก แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถ่นิ ทุรกันดารตามพระราชดำริ ฉบับท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๙ เป็นรูปแบบ
การจดั การเรียนรู้ PHRAE School Model โดยการนำ วงจรบริหารงานคุณภาพ PDCA ในการทำงาน

จดั การเรยี นรู้ PHRAE School Model
P. Analyze to plan วเิ คราะหข์ อ้ มลู และร่วมกนั กำหนดเป้าหมาย
จากการดำเนินงานแก้ไขปัญหาภาวะอ้วนของสามเณรนักเรียน โรงเรียนพุทธโกศัยวิทยา พบว่าข้อมูลการเฝ้าระวัง
ภาวะโภชนาการของสามเณรเกินเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข มีโน้มสูงขึ้นในปีการศึกษา ๒๕๕๙-๒๕๖๐ และเริ่ม
ลดลงในปีการศึกษา ๒๕๖๑-๒๕๖๒ ในปีการศึกษา ๒๕๖๓ กลับมีแนวโน้มสูงมากขึ้น ร้อยละ ๒๓.๑๓ และมีแนวโน้มลดลงในปีการศึกษา
๒๕๖๔ ร้อยละ ๒๐.๐๐ แต่ยังเกนิ เกณฑ์มาตรฐาน
H. Awareness to homogeneity สร้างความเข้มแข็งให้เป็นหนึ่งเดียวโดยการพัฒนาครูและผู้เรียนด้วยวิธีการอบรม
ให้ความรูจ้ ากหน่วยงานทงั้ ภายในและภายนอก
R. Relationship to Goal การมสี ่วนรว่ มของทุกฝ่ายเพ่อื บรรลุเปา้ หมาย ๕ ขน้ั ตอน

23

ขน้ั ท่ี ๑ นำปัญหาทเ่ี กดิ ขนึ้ วิเคราะห์ข้อมลู และรว่ มกันออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ชมุ นุมสามเณรรักสุขภาพ ขยับกายสบายชีวี
ดูดีสมวัย ใส่ใจสุขภาพ ได้กำหนดเวลาในการเรียน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ ร่วมเป็น ๔๐ ชั่วโมง/ภาคการศึกษา ได้มีการออกแบบโครงสร้าง
ในการจัดกิจกกรม และแผนรายสัปดาห์ จำนวน ๖ หนว่ ยการเรียนรู้ ๒๐ แผนการจดั การเรยี นรู้

ขั้นที่ ๒ ค้นหาตนเองตามกิจกรรมชุมนุมที่นักเรียนสนใจ หลังเริ่มเปิดภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ พบสามเณร
ที่มีภาวะโภชนาการ (อ้วน) จากการสำรวจ จำนวน ๕๐ รูป มีความสนใจสมัครเข้าร่วมกิจกรรมชุมนุมสามเณรรักสุขภาพ ขยับกายสบายชีวี
ดูดสี มวยั ใส่ใจสขุ ภาพ จำนวน ๒๐ รูป สามเณรนกั เรยี นตดั สินใจเข้ารว่ มด้วยตนเอง

ขั้นที่ ๓ สร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ การเสริมสร้างแรงบันดาลใจแก่สามเณรนักเรียนภายในกิจกรรม ผลดี ผลเสีย
ให้ไดร้ บั ทราบเป้าหมายในการดำเนนิ กิจกรรม ใหก้ ำลังใจ ดว้ ยครผู ูด้ ูแลกิจกรรม ทำสัญญาใจ พรอ้ มทีจ่ ะดำเนนิ กจิ กรรมไปดว้ ยกัน

ข้นั ท่ี ๔ การจัดการเรียนรู้ของสามเณรนักเรียนดำเนินการตามโครงสรา้ งแผนการจดั การเรยี นรู้ ออกเป็น ๖ หน่วยการเรยี นรู้ ดังน้ี
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๑ สร้างแรงบนั ดาลใจ/ประเมนิ สมรรถภาพทางกาย ชั่งนำ้ หนกั วดั ส่วนสงู BMI
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ ส่งเสรมิ การบริโภคอาหารทถี่ ูกต้องความหลกั โภชนาการ เร่อื งโภชนาการอาหาร ๕ หมู่
หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๓ การออกกำลังกายท่ถี กู ต้องตามหลักพระธรรมวินยั กายบรหิ าร การยดื เหยียดกลา้ มเนื้อ
หน่วยการเรียนรูท้ ่ี ๔ ถูกสขุ อนามยั แนวทางการจดั การอนามัยสิง่ แวดลอ้ มสถานทจ่ี ำวัด
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๕ เสริมแรงแขง็ ขนั รวมใจเปน็ หนึ่ง กจิ กรรมท่ใี หน้ ักเรยี นได้มาแลกเปลย่ี นความรู้
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๖ แกนนำสุขภาพ สขุ ภาพดีเริม่ ทต่ี ัวเรา นกั เรียนนำความรทู้ ี่ไดร้ ับไปถ่ายทอดต่อวัดและชมุ ชน
ขั้นที่ ๕ ประเมนิ ผลการจัดการเรียนร้แู ละสรปุ ผลเพ่ือพฒั นาให้ดีข้ึน นำแบบประเมนิ ชงั่ น้ำหนัก วัดส่วนสูง กจิ กรรมประเมิน
สมรรถภาพทางกาย การวัดค่าดัชนีมวลกาย BMI ก่อนและหลัง จากการดำเนินกิจกรรมวิเคราะห์สรุปผล ประเมินจากพฤติกรรม
ความเปล่ียนแปลงของนักเรยี นจากแบบสอบถาม และแบบการประเมินการเลือกฉนั อาหาร สอบถามปัญหาและปรับปรงุ แกไ้ ขให้ดขี นึ้
A. Attach to admire ชื่นชมเสริมแรงให้กำลังใจครูและนักเรียน การเสริมกำลังใจ ที่ครูจะต้องพิจารณาใช้ในการจัด
การเรียนการสอน คอื การเสริมกำลังใจมุง่ สร้างแรงจูงใจภายใน (Intrinsic Motivation) แรงจูงใจภายนอก (Extrinsic Motivation)
E. Evaluation for development to share ประเมนิ ผลการจัดการเรยี นร้ดู ้วยวธิ ที ห่ี ลากหลายและสรุปผลเพ่ือพฒั นาใหด้ ีย่ิงขึ้น

ผลการดำเนินงาน

สามเณรนักเรียนโรงเรียนพุทธโกศัยวิทยา จังหวัดแพร่ ที่พบปัญหาด้านภาวะโภชนาการ (อ้วน) ได้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน
๒๐ รูป หลังจากการดำเนินกิจกรรม พบว่า สามเณรนักเรียน มีน้ำหนักลดลงคิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ มีค่าเฉลี่ยน้ำหนักตัวลดลงอยู่ที่
๓.๒๒ กโิ ลกรมั /ต่อรปู

24

ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับและการเผยแพร่

สามเณรนักเรียนที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการ (อ้วน) มีน้ำหนักลดลง พฤติกรรมทางด้านโภชนาการดีขึ้น มีความรู้
ในการเลือกฉันอาหารที่เป็นประโยชน์ รู้จักประมาณตนฉันแต่พอดี นำหลักกายบริหารไปใช้ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม มีความรู้ในเรื่อง
สขุ อนามยั รอบตัว สามารถไปปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้

ชุมนุมสามเณรรักสุขภาพ ขยับกายสบายชีวี ดูดีสมวัย ใส่ใจสุขภาพ มีการประชาสัมพันธ์กิจกรรมผ่านเว็บไซต์ของโรงเรียน
www.kosaischool.ac.th ผ่านทาง Facebook โรงเรียนพุทธโกศัยวิทยา และทาง Facebook Fanpage ข้างวิหาร Fitness
www.facebook.com/buddhakosaiFitness ที่จัดทำขึ้นโดยกลุ่มแกนนำสามเณรรักสุขภาพ เป็นแหล่งให้ความรู้ ให้คำปรึกษา พูดคุย
แกบ่ ุคคลภายนอกที่สนใจในการทำกายบริหาร

ปัจจัยความสำเรจ็

การดำเนินโครงการให้ประสบผลสำเรจ็ เกดิ จากการไดร้ บั ความร่วมมอื จากทุกฝา่ ย ท่ีเห็นถึงความสำคัญในการดูแลสขุ ภาพ
สามเณรนกั เรียน ส่งเสริมและสนับสนุนในการดำเนนิ กิจกรรม เสริมแรงใหก้ ำลังใจ สามารถนำไปปฏิบตั ิไดจ้ รงิ ในชีวิตประจำวัน สูก่ ารปฏบิ ัติ
ท่ียงั่ ยนื

ปัญหาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะ

สถานที่ในการดำเนินกิจกรรมกายบริหารยังมีน้อย ด้วยปัจจัยสภาพแวดล้อมหลายประการ ควรจัดพื้นที่ให้เหมาะสม
ทเ่ี ออื้ ต่อการปฏิบตั ิ ใหถ้ ูกต้องตามหลักพระธรรมวินัยท่ีพระภกิ ษสุ ามเณรพงึ ปฏบิ ัตไิ ด้

แนวทางการพัฒนาต่อเน่ือง

การพฒั นากลุ่มสามเณรแกนนำดา้ นสุขภาพ โดยมสี ามเณรท่ีผา่ นโครงการมาแล้วเปน็ แกนนำ ขยายผลจากภายในโรงเรียน
เข้าไปสวู่ ดั และชุมชนท่สี ามเณรนักเรยี นจำพรรษาอยู่

25

เอกสารอา้ งองิ

สํานกั งานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช). (๒๕๖๐). ธรรมนูญสุขภาพพระสงฆ์แห่งชาติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ (พิมพ์ครงั้ ที่ ๑). นนทบรุ ี:
โอ.เอส. พริ้นตงิ้ เฮา้ ส.์

สำนักงานส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (๒๕๕๗). แนวทางการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคเด็กวัยเรียนและเยาวชน
(พมิ พ์ครัง้ ที่ ๓). กรุงเทพฯ : ศูนย์สอื่ และสิง่ พมิ พ์แก้วเจ้าจอม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสนุ นั ทา.
. (๒๕๖๓). คมู่ อื สขุ อนามยั สถานที่จำวดั สามเณรโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม (พิมพค์ รงั้ ท่ี ๑). กรงุ เทพฯ : ทำดว้ ยใจ.

สำนกั งานโครงการสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี สำนกั พระราชวัง สวนจิตรลดา. (๒๕๖๐). แผนพัฒนาเด็กและเยาวชน
ในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๙
(พิมพค์ รงั้ ที่ ๑). กรุงเทพฯ : แอคทฟี พริ้นท์.

สำนักอนามัยผู้สูงอายุ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (๒๕๖๑). คู่มือแนวทางการอบรมหลักสูตรพระคิลานุปัฏฐาก (พระอาสาสมัคร
สง่ เสรมิ สุขภาพประจำวัด อสว.) (พิมพค์ ร้งั ที่ ๑). กรงุ เทพฯ : องคก์ ารสงเคราะหท์ หารผา่ นศึก.

โรงเรยี นพทุ ธโกศยั วิทยา. (๒๕๖๔). แผนปฏิบัตกิ ารประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๔. แพร่: ผแู้ ต่ง.

ภาพประกอบ

26

สำนักการศึกษา กรงุ เทพมหานคร

ดา้ นท่ี ๑ โภชนาการและสขุ ภาพอนามัย

ชอื่ ผลงาน แขง็ แรงสุขภาพดี ดว้ ยโครงการ WCT Healthy Heroes
สถานศึกษา โรงเรยี นวิชูทศิ สำนักงานเขตดินแดง สงั กดั กรงุ เทพมหานคร
ผู้เสนอผลงาน นางปณฏิ ฐา จนุ ขุนทด

หมายเลขโทรศัพท์ ๐๙ ๕๖๖๕ ๐๘๑๔ E-mail : [email protected]

ความสำคัญของ “ แนวปฏบิ ัติทดี่ ี ”

จากข้อมูลสถานการณ์ภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียน Health Data Center (HDC) ของกระทรวงสาธารณสุข พบว่า
ในกรุงเทพมหานคร ปี ๒๕๖๐ – ๒๕๖๓ เด็กอายุ ๖ – ๑๔ ปี ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนร้อยละ ๒๓.๙๔, ๑๘.๒๔, ๒๒.๔๕ และ ๑๙.๐๙ ตามลำดับ
(Health Data Center ,๒๕๖๓) จากข้อมูลดังกล่าวพฤติกรรมการรับประทานรสชาติหวาน มัน เค็ม อาจจะเป็นสาเหตุของโรคอ้วน
ซึ่งแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี ระยะที่สองได้กำหนดในตัวชี้วัดหลักในสำนักอนามัย ด้านที่ ๑ มหานครปลอดภัย เน้นส่งเสรมิ
ใหป้ ระชาชนมพี ฤติกรรมสขุ ภาพที่ดีตามมาตรการที่ ๑ ให้โรงเรยี นสงั กัดกรงุ เทพมหานครมมี าตรการป้องกนั โรคอว้ นและภาวะทุพโภชนาการ
ในโรงเรียน ข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของนักเรียนโรงเรียนวิชูทิศ ปี ๒๕๖๔ พบว่ามีนักเรียนมีภาวะโภชนาการเกินร้อยละ ๒๕.๓๘
ดังนั้นโรงเรียนวิชูทิศ จึงส่งเสริมให้นักเรียนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสม และส่งเสริมให้นักเรียนออกกำลังกาย มีความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับการดูแลตนเองให้ห่างไกลโรคอ้วน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID 19) ทำให้ครู
ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้ตามปกติ ทุกกิจกรรมอยู่ภายใต้เงื่อนไขการเว้นระยะห่างและเป็นรูปแบบนิวนอร์มอล (New normal)
การเรียนออนไลน์ที่บ้าน นักเรียนขาดการกระตุ้นเรื่องการออกกำลังกายและการบริโภคอาหารที่เหมาะสม อาจส่งผลให้นักเรียนมีภาวะ
โภชนาการเกินเพิ่มจำนวนมากขึ้น ดังนั้นโรงเรียนจึงเห็นความสำคัญของการส่งเสริมให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ได้เข้าร่วมโครงการ
เพื่อให้มีทัศนคติที่ดีในการดูแลสุขภาพให้กลายเป็น Heroes ที่เป็นยอดมนุษย์ แข็งแรง ทรงพลัง มีความว่องไวรวดเร็ว นักเรียนมีการปรับ
พฤติกรรมในการบริโภคที่เหมาะสมห่างไกลจากโรคอ้วน มีความรู้ ความเข้าใจ ในการเลือกรับประทานอาหาร สามารถออกกำลังกาย
ด้วยตนเองจากที่บ้านได้ ผ่านช่องทางการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูล ความรู้ สื่อต่าง ๆ ให้แก่นักเรียน โดยให้ชุมชนและผู้ปกครอง
มีส่วนร่วมตระหนักถึงการเลี้ยงดูบุตรหลาน เฝ้าระวัง ไม่ให้เกิดปัญหาภาวะโภชนาการเกินในวัยเด็ก ส่งเสริมให้บุตรหลานมีสุขภาพร่างกาย
ทีแ่ ขง็ แรงสมวยั ภายใตช้ ือ่ “แขง็ แรงสุขภาพดี ด้วยโครงการ WCT Healthy Heroes”

27

วัตถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายของการดำเนนิ งาน

วัตถุประสงค์
๑. เพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกบริโภคอาหารที่ถูกต้อง ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักและผลไม้

เกิดความตระหนกั ถึงผลกระทบจากการรบั ประทานอาหารที่ไมเ่ หมาะสม
๒. เพือ่ สง่ เสริมใหน้ ักเรยี นออกกำลงั กาย ดแู ลตนเองใหห้ า่ งไกลจากโรคอว้ น มีสขุ ภาพกายสุขภาพจติ ทแี่ ข็งแรง
๓. เพื่อเผยแพรแ่ ละประชาสมั พนั ธ์ให้ผู้ปกครอง ชุมชนมีส่วนร่วม เกิดความตระหนกั เกี่ยวกับการดแู ลสุขภาพ ห่างไกลจากโรคอ้วน

เปา้ หมาย
เชงิ ปรมิ าณ

นักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ จำนวน ๑๓๖ คน
เชงิ คณุ ภาพ

นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกบริโภคอาหารที่ถูกต้อง ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักและผลไม้ เกิดความตระหนัก
เกี่ยวกับผลกระทบจากการรับประทานอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม รู้จักออกกำลังกาย ดูแลตนเองให้ห่างไกลจากโรคอ้วน มีสุขภาพกาย
ทแ่ี ข็งแรง และมีสุขภาพจิตทด่ี ี

กระบวนการดำเนนิ งาน

โดยมฮี โี รป่ ระจำโรงเรียนจำนวน ๓ ตัวดังน้ี
- W (Wonder Girl) ฮโี รท่ ่ีเป็นยอดมนุษย์ แขง็ แรง มีความสามารถในการควบคุมจิตใจ อ่านใจศัตรูได้
อาวธุ ประจำกาย คือ แส้สจั จะ ซง่ึ มีความสามารถในการรดั ศัตรู และเม่ือโดนรัดจะทำให้ศัตรูพูดแต่ความจริงเท่านั้น
(ฮีโรต่ ัวนเี้ หมาะสมกับผูท้ ่ีช่ืนชอบกีฬา แบตมินตนั และเทนนสิ )
- C (Captain Wichutit) ฮโี ร่ที่เป็นผู้ทรงพลัง มีความฉลาดเฉลียวมคี วามเป็นผนู้ ำ ทรงพลงั
และมีความสามารถฟ้นื ฟูรา่ งกายตนเองได้ อาวธุ ประจำกาย คอื Reflect Shield เปน็ โล่คใู่ จ ช่วยปอ้ งกนั การโจมตีต่าง ๆ
และสะท้อนกลับเพื่อทำลายศัตรู (ฮีโร่ตวั นเี้ หมาะสมกับผูท้ ่ีช่ืนชอบกฬี า มวย, ยกน้ำหนัก, และฟตุ บอล)

28

- T (The Flash) ฮีโร่ที่มีความว่องไวรวดเร็วดุจสายฟ้าฟาด และมีความสามารถใช้ความว่องไวของตน
ในการมองเห็นอนาคตได้ ๑ นาที อาวุธประจำกาย คือ Electric Boots เป็นรองเท้าคู่ใจ เมื่อเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว
จะปล่อยประจุไฟฟ้า ทำลายศตั รู (ฮีโรต่ วั น้เี หมาะสมกับผู้ท่ีชื่นชอบกฬี า ว่ิง, ป่นั จกั รยาน และยมิ นาสตกิ )
กิจกรรมดำเนนิ งาน ๔ กิจกรรมหลกั ดังนี้

๑. “Healthy ศาสตร์ Smart Heroes” เปน็ การจัดกจิ กรรมเก่ียวกบั การสรา้ งองคค์ วามรูใ้ ห้กับนกั เรียนโดยใช้กิจกรรมต่างๆ
ดังน้ี จัดตง้ั Facebook Fan page Youtube Tiktok จดั ทำสมดุ บนั ทึกสุขภาพ ทำสื่อคลิปVDO บูรณาการความรู้สาระการเรยี นรู้ทัง้ ๘ กลมุ่ สาระ

๒. “Heroes Food Boost สุขภาพ” เปน็ กจิ กรรมทีม่ งุ่ เนน้ เก่ยี วกับการปลูกฝงั ลกั ษณะนิสัยและพฤติกรรมการเลือกบริโภค
อาหารท่ีดีมคี ุณภาพให้กบั นกั เรียน โดยจัดกจิ กรรม ดังน้ี การจัดทำเมนูอาหารเพือ่ สุขภาพนักเรียนร่วมกับผู้ปกครอง การรีววิ อาหารที่มีคุณค่า
ทางโภชนาการ การอ่านฉลากโภชนาการในรา้ นสะดวกซ้ือผ่าน application TikTok

๓. “Fit เต็มที่ Heroes Style” โรงเรียนส่งเสริมให้นักเรียนออกกำลังกายผ่านกิจกรรม TikTok Block & Burn ไขมัน
กระจยุ ลยุ ไปด้วยกันออกกำลงั กายหลงั เลกิ เรยี นทุกวันพธุ

๔. “Judgement Day” จัดนิทรรศการแสดงผลงานโครงการ WCT Healthy Heroes ประกอบด้วยซุ้มกิจกรรม
๓ กจิ กรรม มกี ารวดั และประเมินผลจากแบบประเมินความพึงพอใจ นกั เรยี นกล่มุ เป้าหมาย ๑๓๖ คน

ผลการดำเนนิ งาน

จากการดำเนินงานพบวา่ นักเรยี นกลุ่มเป้าหมายเกดิ ความรคู้ วามเข้าใจคดิ เปน็ ร้อยละ ๙๗.๐๐ มีการตระหนักถึงผลกระทบ
จากการรับประทานอาหาร ลดหวาน มัน เค็ม มีพฤติกรรมการกินผักและผลไม้เพิ่มขึ้น นักเรียนมีการออกกำลังกาย ดูแลตนเองให้ห่างไกล
จากโรคอว้ น มีสุขภาพกายสขุ ภาพจิตท่ีแข็งแรง ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในกจิ กรรมตา่ ง ๆ ท่ที างโรงเรยี นจัดขึ้น โดยมีผลลัพธ์ท่เี กดิ จาก
การดำเนินโครงการสรุปได้ ดงั น้ี

๑. ภาวะอ้วนกอ่ นเขา้ โครงการ มีจำนวน ๒๕ คน ร้อยละ ๑๘.๓๘ หลังเข้าโครงการ มจี ำนวน ๒๑ คน ร้อยละ ๑๕.๔๔
๒. บริโภคผัก ผลไม้เพิ่มขึ้น ก่อนเข้าโครงการ มีจำนวน ๘๓ คน ร้อยละ ๖๑.๐๒ หลังเข้าโครงการกินเพิ่มขึ้น จำนวน ๑๓๑ คน
รอ้ ยละ ๙๖.๓๒
๓. บริโภคขนมกรุบกรอบลดลง ก่อนเข้าโครงการกิน จำนวน ๑๐๐ คน ร้อยละ ๗๓.๕ หลังเข้าโครงการกินลดลง จำนวน
๓๒ คน ร้อยละ ๒๓.๕
๔. บริโภคน้ำหวาน/น้ำอัดลมลดลงก่อนเข้าโครงการกิน จำนวน ๑๓๐ คน ร้อยละ ๙๕.๕๘ หลังเข้าโครงการกินลดลง
จำนวน ๒๗ คน รอ้ ยละ ๑๙.๘๕

29

ประโยชนท์ ไ่ี ด้รับและการเผยแพร่

๑. นกั เรียนมสี ุขภาพร่างกายแขง็ แรง ปราศจากโรคภัยไขเ้ จบ็ มสี ุขภาพจติ ท่ดี ี เรยี นรไู้ ดอ้ ย่างมีความสขุ
๒. ผู้ปกครองและชุมชนเกิดความตระหนักเห็นความสำคัญของการรู้จักเลือกรับประทานอาหาร และการออกกำลังกาย ทำให้ลด
ปญั หาโรคอ้วนซง่ึ เป็นท่ีมาของโรคร้ายต่าง ๆ เช่น โรคไขมันอุดตันเส้นเลือด โรคเบาหวาน และโรคความดัน ซ่งึ ลว้ นแลว้ แต่มาจากการบริโภค
อาหารท้ังสิ้น

ปัจจยั ความสำเร็จ

๑. นักเรียนมคี วามรู้ความเข้าใจ เลอื กบรโิ ภคผัก ผลไม้เพม่ิ ขนึ้ ลดการบรโิ ภคขนมกรบุ กรอบ และน้ำหวาน/น้ำอัดลม คิดเป็นร้อยละ
๙๗.๐๐

๒. ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครองและชุมชนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการให้ข้อมูลต่าง ๆ สนับสนุนส่งเสริมและเป็นที่ปรึกษาสร้างขวัญ
กำลงั ใจในการดำเนินกิจกรรมตา่ ง ๆ ให้สำเร็จลุล่วงไปได้ดว้ ยดี จากแบบประเมินความพงึ พอใจคิดเปน็ ร้อยละ ๙๗.๐๐

ปญั หาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาอปุ สรรค การจดั กจิ กรรมบางกจิ กรรมขาดความตอ่ เน่ืองและไม่สามารถดำเนินงานได้ตามแผน นกั เรียนบางคนไม่บันทึกข้อมูล
ในสมุดสุขภาพใหค้ รบทุกกิจกรรม ผู้ปกครองบางคนไม่มีเวลาร่วมกิจกรรมการทำเมนูอาหารและร่วมกิจกรรมการออกกำลังกาย

ข้อเสนอแนะ ปรับวันและเวลาที่ผู้ปกครองสะดวกในการร่วมกิจกรรมกับนักเรียน นักเรียนถ่ายคลิป VDO กิจกรรมในสมุดสุขภาพ
ร่วมกับผปู้ กครอง

แนวทางการพฒั นาต่อเนื่อง

๑. ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความตระหนักเกี่ยวกับการเลือกบริโภคอาหารที่ถูกต้อง ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักและผลไม้ เกิดความตระหนัก
เก่ียวกบั ผลกระทบจากการรับประทานอาหารท่มี ีรสหวาน มัน เค็ม ผ่าน Application TikTok

๒. ส่งเสรมิ ให้นกั เรยี นตระหนักในการออกกำลังกาย ดแู ลตนเองให้ห่างไกลจากโรคอว้ น มสี ุขภาพกายสขุ ภาพจิตทแ่ี ขง็ แรง
ผา่ น Application TikTok , คลปิ VDO

เพลงประจำโครงการ คลิปการออกกำลังกาย

30

เอกสารอา้ งองิ

แผนงานสื่อศิลปวฒั นธรรมสร้างเสริมสุขภาพ สสส. (๒๕๖๕). คมู่ อื ดำเนนิ งานโครงการ “อยา่ ปล่อยใหเ้ ดก็ อ้วน (New Normal)”
ฉบับเพิ่มเตมิ (พิมพ์ครง้ั ท่ี ๑). กรุงเทพฯ : ทริปเปิล ดี เทรดด้งิ แอนด์ พริน้ ติง้ .

โรงเรยี นวิชูทิศ สำนักงานเขตดินแดง. (๒๕๖๔). รายงานภาวะโภชนาการของนักเรยี นมัธยมศึกษาโครงการพัฒนาเดก็ และเยาวชน
ในถ่นิ ทรุ กนั ดารตามพระราชดำริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี. กรงุ เทพฯ: ผู้แต่ง.

ภาพประกอบ

31

ดานท่ี ๒

ดานการสง เสรมิ

คุณภาพการศึกษา

“...㹡ÒÃàÃÂÕ ¹¡ÒÃÊ͹ ¹Í¡¨Ò¡àÃèÍ× §¢Í§ÇªÔ Ò¡Òà àÁ×Íè ôð »¹‚ é¹Ñ à»ÅÕè¹á»Å§ä»ÁÒ¡
ᵋ¡‹Í¹¹¹éÕ Ñ¡àÃÕ¹¢Í§âçàÃÕ¹·àèÕ ÃÒ仵Ñ駤ÇÒÁÊÓàèç á¤Ç‹ Ò‹ ãËÊŒ ÒÁÒö͋ҹÍÍ¡à¢Õ¹䴌
¹è¹Ñ ¡ç¶Í× ÇÒ‹ ໹š ¤ÇÒÁÊÓàÃç¨ãËÞá‹ ÅŒÇ µ‹ÍÁÒ¡çµÍŒ §ãËÊŒ ÓàÃ¨ç »ÃжÁÈ¡Ö ÉÒ áÅÐÁâÕ Í¡ÒÊàÃÕ¹µÍ‹

㹪Ñé¹Á¸Ñ ÂÁÈÖ¡ÉÒ áµ»‹ ˜¨¨ØºÑ¹¹éÕ àÃÒʧ‹ àÊÃÔÁãˌ䴌àÃÕ¹ã¹ÃÐ´ÑºÍ´Ø ÁÈ¡Ö ÉÒ
ÍÒ¨¨Ð໹š »ÃÞÔ ÞÒµÃÕ â· àÍ¡ ã¹ÊÒ¢ÒµÒ‹ §æ ·Õèà¢Òʹ㨠áÅÐÁ¤Õ ÇÒÁÊÒÁÒö·¨Õè ÐàÃÕ¹䴌
¡çµŒÍ§ãË⌠͡ÒÊ件§Ö ·ÕÊè ´Ø ¹Ò‹ Â¹Ô ´·Õ ¹Õè ¡Ñ àÃÂÕ ¹¨ºÁÒáÅŒÇä´Œ·Ó»ÃÐ⪹ãËጠ¡â‹ ¤Ã§¡Òà ·Ó»ÃÐ⪹ãˌᡋÊѧ¤Á´ŒÇÂ...”

¾ÃÐÃÒª´ÓÃÊÑ ã¹âÍ¡ÒÊ·èÕ¤³Ð¼ŒÙ»¯ºÔ ѵ§Ô Ò¹â¤Ã§¡ÒõÒÁ¾ÃÐÃÒª´ÓÃÔ à¢ÒŒ ཇÒÏ ³ ÍÒ¤ÒÃãËÁÊ‹ ǹÍÁÑ ¾Ã ¡Ãا෾ÁËÒ¹¤Ã
Ç¹Ñ ¾ÄËÊÑ º´Õ ·Õè óð àÁÉÒ¹ ¾·Ø ¸È¡Ñ ÃÒª òõõø

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

ดา้ นท่ี ๒ การสง่ เสรมิ คณุ ภาพการศึกษา

ช่อื ผลงาน นทิ านพาเพลิน learn and play: way to read เพอื่ ส่งเสริมนิสัยรกั การอ่านของนกั เรียน
สถานศกึ ษา โรงเรยี นบ้านโคกน้อย อำเภอวงั สมบูรณ์ จงั หวดั สระแก้ว

ผเู้ สนอผลงาน สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสระแกว้ เขต ๑
หมายเลขโทรศัพท์
นางสาวลลิตา เกยี รตินอก
๐ ๖๑๖๑ ๙๑๕๔ E-mail : [email protected]

ความสำคัญของ “ แนวปฏิบัติทดี่ ี ”

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กำหนดกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา เพื่อส่งเสริมและพัฒนา
ใหห้ น่วยงานในสงั กัดนำนโยบายสกู่ ารปฏิบัติ โดยมกี ลยุทธ์และจุดเนน้ ทส่ี ำคญั หลาย ๆ ด้านรวมทงั้ พัฒนาการอ่านการเขียนก็เปน็ อีกเร่ืองหนึ่ง
ทีส่ ำคัญ การอา่ นคล่องเขียนคล่องและการใช้ภาษาไทยอยา่ งมีประสิทธภิ าพ เปน็ การมุ่งเน้นเพื่อการเรียนรูส้ าระการเรียนรู้อ่ืน เพื่อการศึกษา
ต่อในระดบั ทสี่ งู ข้ึน

จากผลการทดสอบระดับชาติ O-NET และ NT ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรียนโรงเรียนบา้ นโคกน้อย ในวิชาภาษาไทยระดับชั้น
ประถมศึกษาปีที่ ๓ และชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๖ มีผลสัมฤทธ์ิอยูใ่ นระดับค่อนขา้ งตำ่ โรงเรียนจงึ ได้มุ่งพฒั นาใหน้ ักเรยี นอ่านคล่องเขยี นคลอ่ ง
มีทกั ษะในการสื่อสารทางภาษาไทยในรูปแบบต่าง ๆ มคี วามคิดริเร่ิมสร้างสรรค์และนำไปประยุกต์ใช้ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ จึงต้องปลูกฝังให้
นักเรยี นมนี ิสัยรักการอา่ น ทงั้ ท่โี รงเรยี นและที่บา้ น สง่ เสริมนักเรียนท่ีมีความสามารถ ด้านทกั ษะการใช้ภาษาไทย เขา้ ร่วมแข่งขันในโครงการ
ของหน่วยงานภายนอก และประสบความสำเร็จเป็นที่ประจักษ์แก่ชุมชน และสังคม " การอ่านได้ " เป็นเสมือนกุญแจดอกสำคัญ
ที่จะไขไปสู่โลกของการเรียนรู้ในเร่อื งอ่ืนๆอีกมากมายท้ังในระบบและนอกระบบโรงเรียน

วัตถุประสงค์และเปา้ หมายของการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์
๑. เพ่ือปลกู ฝังนสิ ยั รักการอ่านแก่นักเรียน
๒. เพื่อส่งเสรมิ ให้นักเรียนมพี ัฒนาการดา้ นการอ่านที่สูงขึน้ และผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนวิชาภาษาไทยสงู ขน้ึ

34

เปา้ หมาย

เชงิ ปรมิ าณ
๑. นกั เรยี นโรงเรยี นบ้านโคกน้อย รอ้ ยละ ๙๐ มีพฒั นาการทกั ษะการอ่านและผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นวิชาภาษาไทยสงู ขึ้น
๒. นักเรยี นโรงเรยี นบา้ นโคกนอ้ ย ร้อยละ ๑๐๐ ไดเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรมส่งเสรมิ การอ่าน
๓. มีนิทรรศการผลงานทางวิชาการวันสำคัญต่างๆ งานเปิดบ้านวิชาการโรงเรียนเผยแพรผ่ ลงานเสนอต่อสาธารณะชนทุกๆ
ปีการศกึ ษา

เชิงคณุ ภาพ
๑. นักเรยี นมนี สิ ัยรกั การอ่านและการคน้ ควา้
๒. นักเรียนมที กั ษะ ฟัง พดู อา่ น เขยี น ด้านภาษาไทย กลา้ แสดงออกตามความถนัดและความสนใจของตนเองเพม่ิ ข้นึ
๓. นักเรียนรู้จักใชเ้ วลาว่างให้เป็นประโยชนแ์ สวงหาความรู้ โดยการอ่านหนังสือด้วยตนเองจนเกิดเป็นนิสัยและรู้จักการจด
บนั ทึก

กระบวนการดำเนินงาน

การดำเนินกิจกรรม จัดกิจกรรมนิทานพาเพลิน learn and

play: way to read เพอื่ ส่งเสริมนิสยั รกั การอ่านของนักเรียน โดยใช้

Model “READ” โดยดำเนินการดงั นี้

๑. R– Reading การอ่าน ห้องสมุดได้ดำเนินการจัด

กิจกรรมส่งเสริมการอ่านโดยนำนิทานให้กับนักเรียนทุก

ระดบั ชน้ั ได้อ่านโดยจัดกจิ กรรมให้กับนกั เรยี นทกุ ช้ันเรียน ดงั นี้

- กจิ กรรมวางทุกงานอ่านทกุ คน - กจิ กรรมหอ้ งสมดุ เคล่ือนที่

- กิจกรรมนทิ านสัน้ ฉันอ่านสนุก - กจิ กรรมกล่องหรรษาพาหนูอ่าน

- กจิ กรรมภาษาไทย-ภาษาองั กฤษวนั ละคำ - กจิ กรรมเลา่ นิทานเสยี งตามสาย QR Code ขอ้ มูล
การดำเนินกจิ กรรม
- กิจกรรมนิทานสนุกท่ฉี นั ชอบ - กจิ กรรมแนะนำหนังสือนิทานใหม่

35

๒. E- Expanding การขยายผล เม่ือนกั เรียนเกดิ การเรียนรู้จากการอ่าน
และการศึกษาค้นคว้าจากหนังสือหรือสื่ออื่นๆ นักเรียนสามารถดำเนิน
กิจกรรมได้โดยใช้กระบวนการ expanding สู่การวางแผนและขยายผล
ในการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมนสิ ยั รักการอา่ นดงั นี้
- กิจกรรมแต่งนิทานจากภาพ
- กิจกรรมวาดภาพระบายสี
- กจิ กรรมจัดป้ายนเิ ทศสง่ เสริมการเรียนรู้
- กิจกรรมเขยี นเรยี งความ
- กจิ กรรมสรา้ งส่ือเลา่ นิทาน
- กจิ กรรมหนังสอื ดีมีคุณคา่ นานารูปแบบ

๓. A – Activities กิจกรรม เมื่อนักเรียนสามารถดำเนินกิจกรรมได้โดยใชก้ ระบวนการ expanding สู่การวางแผนและขยายผล
แล้วนำมาจดั กจิ กรรมส่งเสริมนสิ ยั รักการอ่านร่วมกับผู้อ่ืนให้เกิดทักษะการเรยี นรู้ ความสนใจ ความสนุกสนานเพลิดเพลิน โดยมี
กิจกรรมดงั น้ี
- กจิ กรรมเล่านิทานให้น้องฟัง ทำนทิ านให้น้องอา่ น
- กิจกรรมรอ้ งเพลง
- กจิ กรรมวาดภาพจากการฟังหรือเล่านิทาน
- กิจกรรมพธิ ีกร
- กิจกรรมประดิษฐส์ ื่อสอนการอา่ นใหน้ ้อง/หนังสือนิทานทำมอื

๔. D – Display นำเสนอ เม่ือนักเรยี นสามารถดำเนินกิจกรรมได้โดยใช้
กระบวนการ Activities เกิดทักษะตามกระบวนการแล้วเป็นที่ยอมรับ
จึงนำสกู่ ารประกวดผลงานและเสนอต่อสาธารณชน ดังนี้
- การจดั นิทรรศการผลงานทางวชิ าการ งานวันสำคัญต่างๆ
- งานเปดิ บา้ นวิชาการโรงเรยี นบา้ นโคกนอ้ ย
- การเผยแพร่ผลงานทางวารสารโรงเรยี นและ social media ได้แก่ Line , Facebook Page
- การเข้าร่วมการประกวดกบั หน่วยงานภายนอก

36

- เปน็ แหลง่ เรยี นรู้ในการศึกษาดงู านสำหรับผูท้ ี่มีความสนใจ

ผลการดำเนนิ งาน

๑. นักเรยี นร้อยละ ๙๐ มีนสิ ยั รักการอา่ น รักการเรยี นรู้

๒. นักเรียนรอ้ ยละ ๙๐ มีพัฒนาการทกั ษะการอ่านและผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นวิชาภาษาไทยท่สี ูงขน้ึ QR Code ตารางสรปุ การ
ประเมนิ นสิ ัยรักการอ่าน
๓. มกี ารจัดนทิ รรศการแสดงผลงานทางวิชาการของนกั เรียนในทุกปีการศึกษา

ของนักเรยี น

ประโยชนท์ ่ไี ด้รบั และการเผยแพร่

๑.นกั เรียนมพี ัฒนาการทกั ษะการอา่ นที่สงู ข้ึนความสามารถด้านการอ่านการเขยี นภาษาไทยของนักเรียนดขี น้ึ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน
สงู ข้ึน

๒. นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน ใฝ่รู้ใฝ่เรียน สามารถแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองมีความคิดต่อยอดนำความรู้จากการอ่านมาใช้ใน
ทักษะ เช่น การเขียนเรียงความ การวาดภาพ การเล่านิทาน การประชาสัมพันธ์เสียงตามสายการเป็นพิธีกรและการนำเสนอ
ผลงานของตนเอง

๓. นักเรียนมีความกล้าแสดงออกได้เป็นตัวแทนนำเสนอผลงานการอ่านและการเล่านิทาน นิทรรศการผลงานทางวิชาการ ที่ สพป.
สระแกว้ เขต ๑ และการฝึกเป็นพิธีกรในกิจกรรมตา่ งๆของโรงเรียน

๔. นกั เรียน คณะครูผูเ้ กี่ยวข้องเกดิ ความภาคภูมใิ จจากรางวัลทีไ่ ด้รบั

ปจั จัยความสำเรจ็ QR Code เพจโรงเรียนบ้านโคกนอ้ ย

๑. ผู้บริหารเป็นแบบอย่างใหค้ ำปรึกษาให้คำแนะนำ สง่ เสริมการดำเนนิ กจิ กรรมรว่ มประเมนิ ผลกำกับติดตามอย่างต่อเน่ืองสม่ำเสมอ
๒. ครูผู้สอน บคุ ลากรต่าง ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งให้ความรว่ มมือในการจัดกจิ กรรมเปน็ อยา่ งดี
๓. นกั เรียนตัง้ ใจเข้าร่วมกจิ กรรม ตัง้ ใจทำกจิ กรรมและรจู้ กั แสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง
๔. กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน น่าสนใจ เหมาะสมกับวัย/สถานภาพของนกั เรียน และมปี ระโยชน์
๕.บรรณารกั ษ์ รบั ผิดชอบงานการพัฒนาหอ้ งสมุดไดด้ ี/มีมาตรฐาน/ทันสมยั คดิ สร้างสรรค์
๖. มีผสู้ นบั สนนุ หนังสือ กิจกรรม และงบประมาณในการดำเนนิ งาน

37

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

๑. จำนวนหนงั สอื นิทานในการจัดกจิ กรรมวางทุกงานอ่านทุกคนยงั ไมเ่ พียงพอต่อจำนวนนกั เรียน
๒. สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด COVID 19 ปัจจุบนั ไมเ่ ออ้ื ต่อการจัดกิจกรรมบางกจิ กรรม

แนวทางการพฒั นาต่อเน่ือง

๑. จดั ประชุมผู้เกย่ี วขอ้ งแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ ข้อเสนอแนะปรับปรุงพัฒนากิจกรรมการอา่ นและกิจกรรมทเ่ี ก่ยี วข้องเพอื่ ให้มี
กิจกรรมทหี่ ลากหลาย แปลกใหม่และน่าสนใจกระตุ้นการเรียนรู้ของผเู้ รียนให้มากย่งิ ขึ้น

๒. จดั กิจกรรมให้ตอ่ เน่ืองและยง่ั ยืนและพร้อมท่จี ะพฒั นากิจกรรมใหท้ นั สมยั

เอกสารอ้างอิง QR Code เอกสารเพ่มิ เติม

บา้ นรกั เนอรส์ เซอรีส่ คูล. (๒๕๖๓). Read Model คืออะไร. สืบคน้ จาก https://www.banruk-nursery.com/17601369/read-model-
คืออะไร.

ภาพประกอบ

38

กองบญั ชาการตำรวจตระเวนชายแดน

ด้านท่ี ๒ การสง่ เสริมคณุ ภาพการศกึ ษา

ชื่อผลงาน การยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ พิชิต RT NT O-NET
สถานศึกษา ศูนย์การเรยี นตำรวจตระเวนชายแดนบา้ นแผ่นดนิ เสมอ กองกำกบั การตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๒

ผู้เสนอผลงาน จงั หวัดนครศรีธรรมราช กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน
หมายเลขโทรศพั ท์
สบิ ตำรวจเอก สายชล พรหมสดุ
๐๘ ๖๖๙๘ ๘๗๗๐ E-mail : [email protected]

ความสำคัญของ “ แนวปฏิบตั ทิ ดี่ ี ”

ศูนย์การเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบา้ นแผ่นดินเสมอ ตระหนกั ถึงความสำคัญกับการทดสอบระดบั ชาติที่สำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ดำเนินการ คือ RT, NT และ O-NET ผลการทดสอบของนักเรียนในปีการศึกษา ๒๕๖๓ ยังมีนักเรียนบางส่วน
ที่มีผลคะแนนต่ำมาก ส่งผลให้ค่าเฉลี่ยระดับโรงเรียนต่ำกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ การแก้ปัญหาและพัฒนาต้องเริ่มจากวางรากฐาน
ใหน้ ักเรยี นอา่ นออกเขยี นได้ เพมิ่ ทักษะการเรยี นรใู้ หแ้ ก่นกั เรียนในทุกชว่ งชนั้ โดยเน้นหลักที่นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ เพอ่ื เปน็ พ้ืนฐาน
สำคัญในการอ่านและเขียนระดับสูงต่อไปและทำกิจกรรมคู่ขนานทั้ง ๓ ชั้นเรียน โดยออกแบบแนวปฏิบัติที่ดีชื่อว่า การยกระดับผลสัมฤทธิ์
พชิ ิต RT NT และ O-NET

วัตถปุ ระสงค์และเป้าหมายของการดำเนนิ งาน

วตั ถุประสงค์
๑. เพ่อื ให้นักเรยี น มีคะแนนเฉลีย่ RT ,NT และ O-NET สงู กวา่ ระดบั ประเทศ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕
๒. เพื่อให้ครูผู้สอน มีแบบทดสอบตรงตาม ( Test Blueprint ) วิชาภาษาไทย ประถมศึกษาปีที่ ๑ วิชาภาษาไทยและวิชา
คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่๓ วิชาภาษาไทย วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาภาษาอังกฤษ
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ อย่างละ ๑๐ ชดุ

39

เปา้ หมาย
๑. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ จำนวน ๘ คน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ จำนวน ๑๔ คนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน
๑๐ คน มีคะแนนเฉลยี่ RT ,NT และ O-NET สงู กว่าระดบั ประเทศ ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ๕
๒. ครผู ู้สอน มแี บบทดสอบ วิชาละ ๑๐ ชุด
๓. ผู้ปกครองนกั เรยี นเสมอ จำนวน ๓๒ คน มีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมคา่ ยวชิ าการของโรงเรียน

กระบวนการดำเนนิ งาน

กิจกรรมพฒั นาทกั ษะการอ่านและการเขียน พชิ ิต RT ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๑

40


Click to View FlipBook Version