สำนกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
ด้านที่ ๕ คุณธรรมและจริยธรรม
ชอ่ื ผลงาน สรา้ งสรรคช์ ุมชนด้วยจติ อาสา
สถานศกึ ษา ศนู ย์การเรยี นชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟ่ ้าหลวง” บ้านแมเ่ กิบ
ผู้เสนอผลงาน สำนกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภออมก๋อย จงั หวัดเชยี งใหม่
หมายเลขโทรศพั ท์
คนท่ี ๑ นายเจตน์ สนธคิ ณุ คนที่ ๒ นายวาสุ แสงอรณุ คีรี
๐๘ ๙๘๕๔ ๐๖๗๙, ๐๘ ๔๔๘๒ ๙๕๙๓ E-mail : [email protected], [email protected]
ความสำคัญของ “ แนวปฏิบัตทิ ด่ี ี ”
หมู่บ้านแม่เกิบมีสภาพปัญหา เช่น ต้นไม้ปิดบังถนนทางเข้า–ออกหมู่บ้านในช่วงปลายฤดูฝน ชุมชนไม่มีบ่อขยะ ท่อประปา
ในชุมชนร่ัวซึมเกิดการขาดแคลนน้ำในชุมชน ลำห้วยไม่มีฝายชะลอน้ำเกิดปัญหาน้ำไหลแรงกัดเซาะดินริมตลิ่ง ในขณะเดียวกันสำนักงาน
ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมีจุดเน้นการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ข้อที่ ๑ น้อมนำ
พระบรมราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ ข้อที่ ๑.๓ การสร้างกลุ่ม จิตอาสาพัฒนาชุมชน รวมทั้งปลูกฝังผู้เรียนให้มีหลักคิดที่ถูกต้อง
ด้านคุณธรรม จริยธรรม มีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง และเป็นผู้มีความพอเพียง มีระเบียบวินัย สุจริต จิตอาสา รวมทั้งมุ่งพัฒนาผู้เรีย น
ให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาศูนย์การเรียน ฯ ให้มีความพร้อมสำหรับการเป็นแหล่งเรียนรู้ของคนในชุมชนในการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิตตามความต้องการของตนเอง
จากสภาพปัญหาและจุดเน้นการดำเนินงานดังกล่าว ศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” บ้านแม่เกิบ จึงได้จัดกิจกรรม
การเรียนรู้ในรูปแบบกระบวนการทางสังคมให้กับเด็กและเยาวชนในชุมชนเพื่อปลูกฝังคุณลักษณะการเป็นผู้มีจิตอาสาเพื่อสาธารณะประโยชน์
โดยการจัดกิจกรรมโครงการ “สร้างสรรค์ชุมชนด้วยจิตอาสา” เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีประสบการณ์ในการทำงานร่วมกับบุคคลอื่น
ในการทำประโยชน์เพื่อส่วนรวมจนบรรลุตามเป้าหมาย และเป็นการปลูกฝังการมีจิตสาธารณะ เสียสละ ร่วมแรงร่วมใจ ช่วยลดปัญหา
และพัฒนาชุมชน เพื่อเป็นแนวทางการเสริมสร้างเด็กและเยาวชนให้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีจิตอาสา เป็นพลเมืองดีที่พัฒนาครอบครัว
ชุมชนและสังคมต่อไป
141
วัตถุประสงค์และเปา้ หมายของการดำเนนิ งาน
วัตถปุ ระสงค์
๑. เพ่ือให้เด็กและเยาวชน เกิดจิตอาสาเพื่อสาธารณะประโยชน์ในชุมชน
๒. เพื่อให้เด็กและเยาวชน โน้มน้าวบุคคลอืน่ เข้าร่วมกจิ กรรมด้วยความความเต็มใจ
เปา้ หมาย
เชิงปริมาณ
เดก็ และเยาวชนในชมุ ชน จำนวน ๑๕ คน
เชิงคุณภาพ
เด็กและเยาวชนในชุมชนที่เข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสาเพื่อสาธารณะประโยชน์ สามารถโน้มน้าวบุคคลอื่นเข้าร่วมกิจกรรมและ
มีความสัมพันธ์ท่ี ดีในการทำงานร่วมกับบุคคลอื่น และรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายจนบรรลุเป้าหมาย มีจิตสาธารณะ ร่วมกัน
สร้างสรรค์ประโยชน์สุขแกชุมชน
กระบวนการดำเนินงาน
โครงการ “สร้างสรรค์ชุมชนด้วยจิตอาสา” มีการใช้กระบวนการตามรูปแบบ PDCA เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนโครงการอย่างเป็นระบบ
และต่อเนอื่ ง ดังน้ี
142
ผลการดำเนนิ งาน
๑. เด็กและเยาวชนในชุมชนทั้ง ๑๕ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑๐๐ เข้าร่วมเป็นจิตอาสาในกิจกรรมที่ตั้งไว้ในทุกกิจกรรม
ด้วยความสมัครใจ โดยได้มีการรวมกลุ่มกันดำเนินกิจกรรมจิตอาสาเพื่อสาธารณะประโยชน์จนสำเร็จลุล่วง มีจิตสาธารณะเข้าร่วม
กิจกรรมอย่างสม่ำเสมอ และช่วยกันแก้ปัญหาและพัฒนา ชุมชน ศูนย์การเรียนฯ ได้เป็นอย่างดี
๒. เด็กและเยาวชนในชุมชน สามารถโน้มน้าวชักชวนบุคคลอื่นเข้าร่วมกิจกรรมเป็นจิตอาสาเกินเป้าหมายแต่ละกิจกรรม
จำนวนทั้งสิ้น ๙๙ คน และจากการสำรวจความพึงพอใจของบุคคลอื่นที่เข้าร่วมกิจกรรมพบว่า เด็กและเยาวชนในชุมชน และบุคคลอื่น
ทเี่ ขา้ ร่วมกิจกรรมทั้งหมดคิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๙๔.๘๕ มีความพึงพอใจในทุกกจิ กรรมคิดเป็นร้อยละ ๙๖.๕๘
ตารางสรปุ การเข้าร่วมกิจกรรมและความพึงพอใจในโครงการ “สร้างสรรคช์ ุมชนด้วยจติ อาสา”
ที่ กิจกรรม กลมุ่ เป้าหมาย ผู้เข้ารว่ มกิจกรรม ร้อยละ ความพึงพอใจของผเู้ ขา้ รว่ ม
(คน) (คน) กิจกรรม
๑ พัฒนาถนนเขา้ ชุมชน (ร้อยละ)
๒ ขุดวางท่อประปาใหม่ในชุมชน ๑๕ ๒๕ ๑๖๖.๖๗
๓ ทำรว้ั รอบ ศนู ยก์ ารเรยี น ฯ ๑๕ ๒๕ ๑๖๖.๖๗ ๙๖
๔ ขุดบอ่ ขยะชมุ ชน ๑๕ ๒๗ ๑๘๐ ๙๗.๔
๕ ทำฝายชะลอน้ำ ๑๕ ๒๕ ๑๖๖.๖๗ ๙๖.๕
๖ เตรยี มพื้นที่เกษตรใน ศนู ย์การเรยี น ฯ ๙๗.๙
๗ ขดุ ขน้ั บันไดในทีล่ าดชัน ๑๕ ๒๖ ๑๗๗.๓๓ ๙๖.๑
รวม ๑๕ ๓๗ ๒๔๖.๖๗ ๙๕.๙
๑๕ ๓๙ ๒๖๐ ๙๗.๘
๑๐๕ ๒๐๔ ๑๙๔.๘๕ ๙๖.๕๘
143
ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ บั และการเผยแพร่
๑. เด็กและเยาวชน มคี วามสัมพันธ์ทด่ี ีในการทำงานร่วมกับบุคคลอื่น มีความรับผิดชอบในงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย และมจี ติ สาธารณะ
เสยี สละ ร่วมแรงรว่ มใจ มคี วามรว่ มมอื ในการทำประโยชน์เพื่อสว่ นรวม จากบนั ทกึ การเขา้ รว่ มกิจกรรม พบวา่ มปี ระชาชนนอกกลุ่มเป้าหมาย
สมคั รใจรว่ มเป็นจติ อาสาในกิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการ “สรา้ งสรรค์ชุมชนดว้ ยจิตอาสา” เพิม่ ขน้ึ เกิดจากการโน้มน้าว ชักชวน ของเด็กและ
เยาวชนส่วนด้านศูนย์การเรียน ฯ ได้รับการพัฒนาให้มีความพร้อมสำหรับเป็นแหล่งเรียนรู้ และทางชุมชนมีการลดปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ
ได้ด้วยตนเองไม่ต้องรอความช่วยเหลอื จากหนว่ ยงาน
๒. มีการเผยแพร่การดำเนินงานผ่าน Facebook Fanpage ของศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” บ้านแม่เกิบ
ซึ่งมผี ูต้ ิดตาม จำนวน ๖,๐๗๗ คน
ปจั จัยความสำเร็จ
เด็กและเยาวชนในชุมชน มีความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสาเพื่อสาธารณะประโยชน์อย่างสม่ำเสมอ ผู้นำชุมชนและชาวบ้าน
ใหค้ วามสนใจร่วมผลกั ดนั กิจกรรม มีการสนบั สนุนการดำเนนิ กจิ กรรมจากเครอื ขา่ ย เช่น เล้ยี งอาหารกลางวัน อาหารวา่ ง และเส้ือกจิ กรรม
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาอปุ สรรค
การดำเนินกิจกรรมอยู่ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ทำให้บางช่วงไม่สามารถ
รวมตวั กันไดห้ รอื รวมตัวกนั ไดจ้ ำนวนไมม่ าก
ขอ้ เสนอแนะ
ควรดำเนินกิจกรรมจติ อาสาเพอื่ สาธารณะประโยชน์ทม่ี คี วามหลากหลาย
แนวทางการพฒั นาตอ่ เน่ือง
มกี ารวางแผนการจัดกิจกรรมโดยให้กลุ่มเป้าหมายร่วมโน้มนา้ ว ชกั ชวน เด็ก เยาวชนและบคุ คลอน่ื ในชุมชนเขา้ รว่ มกิจกรรมจติ อาสา
เพือ่ สาธารณะประโยชน์
144
เอกสารอา้ งอิง
บษุ ราภรณ์ ติเยาว์, ปาริชาติ วลัยเสถยี ร และ ววิ ฒั น์ หามนตรี. (๒๕๖๒). ขบวนการจิตอาสา: การขัดเกลาทางสงั คมกับการพัฒนาตน
ของเยาวชนในกรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล. สนั ตศิ ึกษาปรทิ รรศน์ มจร, ๗, ๖๗-๗๘.
ภาพประกอบ
145
สำนักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน
ด้านที่ ๕ คุณธรรมและจริยธรรม
ช่ือผลงาน รู้จักฉัน รู้จกั เธอ
สถานศกึ ษา โรงเรยี นอิบตีดาวิทยา
ผูเ้ สนอผลงาน สำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน
หมายเลขโทรศัพท์
นางสาวสูการมี หะยีเปาะ
๐๙ ๒๖๐๒ ๓๕๓๖ E-mail : [email protected]
ความสำคญั ของ “ แนวปฏิบัตทิ ดี่ ี ”
การศึกษาเป็นกระบวนการที่สำคัญยิ่งในการพัฒนาคนให้มีคุณภาพมีความสามารถที่จะปรับตัวได้อย่างรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง
ต่าง ๆ และมีคุณลักษณะตามที่ประเทศชาติพึงประสงค์ เหมาะแก่กาลเวลาและบริบทสังคมไทยดังปรากฏจากนโยบายทางการปฏิรูป
การศึกษาให้ความสำคัญสูงสุดกับการปฏิรูปการเรียนรู้ โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ มีกระบวนการจัดเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความสนใจและความถนัด
ของผู้เรียนเน้นการปลูกฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เพ่ือใหส้ ามารถพัฒนาสู่การเป็นคนทสี่ มบูรณ์ คือ เปน็ คนดี คนเก่ง และมีความสุขอย่างแท้จริง
ปจั จุบันในสังคมไทยจะมุ่งเนน้ ไปท่ีการพัฒนาดา้ นวตั ถุมากกว่าด้านจิตใจ เช่น เทคโนโลยีมบี ทบาทเขา้ มาในสงั คมมากขึ้น ทำใหว้ ิถชี ีวิตของคน
ในสังคมมีการเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งถือเป็นสิ่งที่ดีที่เกิดขึ้น อำนวยความสะดวกมากขึ้น เมื่อมีการพัฒนา อีกด้านหนึ่งนักเรียนส่วนใหญ่มี ปัญหา
ภายในครอบครัว อันเนอ่ื งมาจากเศรษฐกจิ ไม่ดี ผปู้ กครองต้องไปทำงานต่างถ่ิน บิดามารดาหย่าร้าง นักเรยี นจงึ ตอ้ งอาศัยอยู่กบั ปู่ ยา่ ตา ยาย
ส่งผลทำให้ความประพฤติของนักเรียนมีความถดถอยลงไปเร่ือย ๆ ขาดคุณธรรม จริยธรรมในการดำเนนิ ชีวิต ในขณะเดียวกันการรบั รู้ข้อมลู
ขา่ วสาร เขา้ ถึงได้งา่ ย แตข่ าดการไตร่ตรองขอ้ มลู จงึ นำเอาความเชื่อและคา่ นิยมทไี่ ม่ถูกต้องมาใช้ในการดำเนนิ ชีวิตประจำวนั จากการสังเกต
พฤติกรรมของนักเรียนส่วนใหญ่มีพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ เช่น ไม่มีมารยาท ขาดจิตสำนึก ก้าวร้าว พูดจาไม่สุภาพ ปัญหาที่เกิดขึ้นต่า ง ๆ
เกิดจากภูมิหลังของนักเรียน ซ่ึงผู้ดูแลนักเรียนอยู่ในช่วงวัยชราทำให้การอบรม สั่งสอนไม่ทั่วถึง จึงทำให้เรื่องคุณธรรม จริยธรรมเกิดกบั นักเรียนได้น้อย
โรงเรียนอิบตีดาวิทยาได้เห็นถึงความสำคัญของสภาพปัญหาดังกล่าว จึงดำเนินการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม โดยการให้นักเรียน
ฝึกปฏิบัติการสลาม ในการแสดงถึงการมีสัมมาคารวะด้วยการทักทายในศาสนาอิสลาม การชมเชยให้พรแก่กัน ขอให้ปลอดภัยจากสิ่งไม่ดี
ความสันตสิ ขุ สันติภาพ ปราศจากสิง่ ท่ีคลุมเครอื และถือว่าการสลามเป็นเรือ่ งที่ปฏบิ ัติอยู่เปน็ ประจำ แต่นักเรียนได้นำมาใช้น้อยมาก เพราะไม่กล้ายื่นมอื
ให้อกี ฝา่ ย เพราะความเขนิ อายกบั บุคคลรอบขา้ ง จึงจัดโครงการ “รู้จกั ฉนั รจู้ กั เธอ” เพอื่ ให้นักเรียนตระหนักและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม
รูจ้ ักการมมี นุษย์สมั พันธท์ ่ีดี มีความออ่ นน้อมถอ่ มตน มกี ิริยามารยาททด่ี กี ับครู เพอ่ื น รวมถึงคนในครอบครัวจนไปถึงชมุ ชนและสังคม
146
วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายของการดำเนนิ งาน
วัตถปุ ระสงค์
๑. เพ่ือสรา้ งความตระหนักและปลกู ฝงั คุณธรรม จริยธรรมให้นักเรียนมสี มั มาคารวะกบั ผู้อนื่
๒. เพ่ือใหน้ ักเรยี นมมี นษุ ยสมั พนั ธท์ ีด่ ี มีความสามคั คีในหมูค่ ณะ
เป้าหมาย
เชิงปริมาณ
นกั เรยี นโรงเรียนอิบตดี าวทิ ยาชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ จำนวน ๗๘ คน
เชิงคณุ ภาพ
นักเรียนที่ได้เข้าร่วมโครงการ รู้จักฉัน รู้จักเธอ มีคุณธรรม จริยธรรม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและเกิดความสามัคคีในสถานศึกษา
ครอบครัว และสามารถอยรู่ ว่ มกันในสังคมเป็นอย่างดี
กระบวนการดำเนินงาน
P ขัน้ ตอนการวางแผน D ขน้ั ตอนการปฏิบตั ิ C ข้นั ตอนตดิ ตามนักเรียน A ขน้ั สรุปและปรบั ปรงุ
- สำรวจพฤติกรรมวางแผน - ครูปฏิบัติการสลามใหน้ ักเรยี นได้ - ครูประเมินพฤติกรรมแสดงถงึ - ผู้รับผิดชอบโครงการร่วมประชุม
การจัดกจิ กรรมของนักเรียน เหน็ เป็นตัวอย่าง การมสี ัมมาคารวะ ของนกั เรยี น ครู ผแู้ ทน เข้าร่วมสรปุ กับ
ในโรงเรียน - ครูใหน้ กั เรียนฝึกปฏิบตั กิ ารสลาม โดยการประเมนิ จากเพื่อน นกั เรียนในการจัดโครงการ
- คณะครูและผบู้ ริหารโรงเรียน กับเพ่อื นๆ ผปู้ กครองและครผู ูท้ เ่ี กีย่ วข้อง - กรณีมีนกั เรียนไม่ได้ปรบั เปล่ยี น
ประชุมเพื่อกำหนดแนวทาง พฤตกิ รรม ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ
ในการแก้ปัญหา และครูชว่ ยกันตดิ ตาม เพอ่ื ให้
- แต่งตง้ั คณะครผู ้รู ับผดิ ชอบ นักเรยี นได้เหน็ ถงึ ความสำคัญ
โครงการ ของการปฏบิ ตั ิดงั กลา่ ว
147
คณุ ธรรมพ้นื ฐานจากการสลาม
- สภุ าพ มคี วามออ่ นน้อม ถอ่ มตน ตามสถานภาพและกาลเทศะ มสี ัมมาคารวะ เรยี บร้อย ไม่ก้าวร้าว
- มีน้ำใจ เอื้อเฟ้ือต่อกัน เหน็ ใจและเหน็ คณุ ค่าในเพ่ือนมนุษย์ พรอ้ มทจี่ ะปรบั ตวั เพือ่ อยรู่ ว่ มกันอยา่ งสนั ติ
- มีวนิ ยั ปฏบิ ตั อิ ย่างเต็มใจและตงั้ ใจ รวมถึงการมีวินยั ต่อตนเองและสงั คม
ผลการดำเนนิ งาน
๑. นกั เรียนมีสมั มาคารวะกบั บุคคลตามสถานภาพและกาลเทศะไดเ้ หมาะสม
๒. นักเรียนมีมนษุ ยสัมพันธท์ ีด่ กี ับคนรอบข้างและมีความสามัคคีในหมูค่ ณะ
ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั และการเผยแพร่
ประโยชน์ท่ไี ด้รับ
นักเรียนมีความตระหนักถึงความสำคัญของคุณธรรม จริยธรรมมีสัมมาคารวะกับผู้อื่น มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและมีความสามัคคี
ในหมคู่ ณะ
การเผยแพร่
๑. โรงเรียนไดม้ ีการเผยแพร่ทางเพจของโรงเรียน
๒. การประชาสัมพันธ์โครงการหนา้ เสาธงและประกาศมอบเกียรติบตั รนกั เรียนทม่ี ีคุณธรรม จริยธรรมเดน่
ปจั จัยความสำเร็จ
๑. คณะผบู้ รหิ ารและครูได้แลกเปล่ียนและใหค้ ำเสนอแนะการแก้ไขในการจัดกจิ กรรมในครั้งน้ี
๒. ครทู ี่เก่ยี วข้องมกี ารตดิ ตามพฤติกรรมของนักเรยี นอยู่สม่ำเสมอ
๓. นักเรยี นให้ความรว่ มมอื ในทำเขา้ รว่ มกิจกรรม รว่ มถงึ ผูป้ กครองเห็นคุณคา่ และสนับสนุนเป็นอย่างดี
148
ปญั หาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
๑. นักเรียนอาศัยอยู่กับบุคคลอื่นและมีเทคโนโลยีเข้ามีบทบาทในสังคม ทำให้นักเรียนได้รับข้อมูลข่าวสาร โดยขาดการไตร่ตรอง
ขอ้ มูล จงึ ไมเ่ ห็นถงึ ความสำคัญของคณุ ธรรม จริยธรรม
๒. ครูควรให้นกั เรียนเหน็ ถึงความสำคญั ของการสลามท่บี ง่ บอกถึงการมสี ัมมาคารวะ ถือเปน็ มารยาทที่นา่ ยกย่องของคนในสงั คม
๓. ครูควรให้นกั เรยี นเหน็ คณุ ค่าถึงการสลามทีไ่ มเ่ พียงแต่เปน็ การทักทายแต่ยงั ได้ผลบญุ เชน่ เดยี วกัน
แนวทางการพัฒนาตอ่ เนื่อง
โรงเรยี นดำเนินโครงการอยา่ งต่อเน่ืองโดยให้นกั เรยี นทกุ คนได้ทำกิจกรรมของโครงการ มกี ารสง่ เสรมิ กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง นักเรียน
ที่มีพฤติกรรมที่ดีมีการให้รางวัล รวมถึงผู้ปกครองและชมุ ชนเข้ามามีส่วนร่วมใน การฝึกปฏิบัติปลกู ฝังคุณธรรม จริยธรรมของนกั เรียนแ ละ
การกำกับตดิ ตามการปฏิบัตขิ องนกั เรียนตลอดเวลา
เอกสารอา้ งอิง
สำนักงานเลขานุการกรม กลุ่มคุ้มครองจริยธรรม. (๒๕๕๙). ๙ คุณธรรมพื้นฐาน. สืบค้นจาก http://ethics.nso.go.th/index.php/2016-
11-02-04-40-44/28-2016-10-31-09-20-14.
Pensri Thodsaporn. (๒๐๑๔). คุณธรรมและจรยิ ธรรม : ตา่ งกนั อย่างไร. สบื คน้ จาก https://www.gotoknow.org/posts/567761.
ภาพประกอบ
149
สำนักงานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ
ด้านท่ี ๕ คณุ ธรรมและจริยธรรม
ช่ือผลงาน คำม่ัน ๓ ประการ
สถานศกึ ษา โรงเรยี นวัดดอนมงคลสันตสิ ุขวิทยา พระปรยิ ัติธรรมแผนกสามัญศกึ ษาฯ ตำบลดพู่ งษ์ อำเภอสันตสิ ุข จังหวัดนา่ น
ผ้เู สนอผลงาน นายจีรวฒั น์ ปนั ทองมา
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘ ๖๑๘๖ ๔๙๔๙ E-mail : [email protected]
ความสำคัญของ “ แนวปฏิบตั ิทดี่ ี ”
โรงเรียนวัดดอนมงคลสันติสุขวิทยา เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ผู้เรียนที่เข้ามาเรียนต้องบวชเป็นสามเณร ซึ่งสามเณร
ส่วนใหญ่มาจากสภาพครอบครัวที่แตกต่างกัน ประกอบกับผู้เรียนอยู่ในช่วงวัยรุ่นที่มีความคิดและการกระทำที่แตกต่างกันมาก จึงมีปัญหา
การอยู่ร่วมกันในเรื่องระเบียบวินัยและการปฏิบัติตามกิจของสงฆ์ที่เหมาะแก่สมณสารูปที่พึงปฏิบัติ อันส่งผลกระทบต่อผู้เรียนในการอยู่
ร่วมกันทั้งในโรงเรียนและชุมชนได้ โรงเรียนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้แสวงหาวิธีการที่จะทำให้ผู้เรียนอยู่ร่วมกั นได้
อยา่ งสงบสุข และกิจกรรมการเรียนรู้ “คำมั่น ๓ ประการ” เป็นกิจกรรมหนึ่งทีส่ ามารถฝึกนิสัยและปรับเปลย่ี นพฤติกรรมผู้เรียนได้เป็นอย่าง
ดี ทั้งนี้ “คำมั่น ๓ ประการ” ซึ่งเป็นการทำความดีขั้นพื้นฐาน ๓ ประการ คือ กิริยาอ่อนน้อม ห่มดองรัดอก ท่องบทสวดมนต์ ดังน้ัน
ในการแก้ปัญหาด้วยการฝึกปฏิบัติตามหลัก “คำมั่น ๓ ประการ” ให้เป็นกิจวัตรประจำวันอย่างต่อเนื่องอาจจะขัดเกลาและปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมของผู้เรียนให้เป็นคนดี มีกิริยาวาจาสุภาพอ่อนน้อม มีระเบียบวินัยและท่องบทสวดมนต์อย่างมีสติ สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่าง
มคี วามสขุ และเป็นคนดีในสงั คมต่อไป
วัตถุประสงค์และเปา้ หมายของการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ เข้าใจและเห็นความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนให้เป็นคนดี มีวินัย ตามหลักสูตร
การเรยี นรู้ “คำม่นั ๓ ประการ”
๒. เพื่อให้ผู้เรียนที่มีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เป็นคนมีกิริยาวาจาสุภาพอ่อนน้อม มีระเบียบวินัย
มคี วามประพฤตทิ ี่ดี มจี ิตอาสา มคี วามรับผดิ ชอบและอยู่ร่วมกนั ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ
150
เปา้ หมาย
เชงิ ปรมิ าณ
๑. ผู้เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑-๖ ทกุ รูป (จำนวน ๕๕ รปู ) มีการปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมในทางที่ดขี ้ึน
เชงิ คณุ ภาพ
๑. สง่ ผลให้ผเู้ รยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑-๖ ทุกรปู อยรู่ ่วมกนั ในโรงเรยี นและชุมชนได้อย่างมคี วามสุข
กระบวนการดำเนินงาน
Plan (การเตรียมการ)
1. สรา้ งหลักสตู รการเรยี นรู้ “คำมน่ั ๓ ประการ” โดยจัดเป็น ๔ หน่วย ๒๐ ช่ัวโมง
กิรยิ าอ่อนนอ้ ม • การแสดงกริ ิยาวาจาอย่างสุภาพ ออ่ นน้อม มสี ัมมาคารวะ
(หนว่ ยท่ี ๑ • ผู้น้อยออ่ นน้อมถ่อมตนตอ่ ผู้ใหญ่ ผใู้ หญก่ ็แสดงออกในความมี
บุญกริ ิยาวตั ถุ ๑๐) เมตตาตอ่ ผนู้ ้อย ใหค้ วามเคารพในความแตกตา่ ง
ซ่ึงกนั และกัน (๔ ช่ัวโมง)
ห่มดองรัดอก • การนงุ่ หม่ เป็นปริมณฑล เป็นระเบียบเรียบร้อย
(หน่วยท่ี ๒ ถูกธรรมเนยี มนิยม เหมาะแกส่ มณะสารปู
คา่ นิยมของคนไทย
๑๒ ประการ และ • การสรา้ งวินยั ตามคา่ นิยมหลกั ของคนไทย (๑๐ ชวั่ โมง)
หน่วยท่ี ๔ จิตอาสา) • การทอ่ งบทสวดมนตอ์ ยา่ งมสี ติ
• การปลกู ฝงั คณุ ธรรม จริยธรรม เพ่อื พฒั นาสกู่ ารเป็นคน
ท่องบทสวดมนต์
(หน่วยท่ี ๓ ทีส่ มบูรณ์ คอื เป็นคนดี คนเกง่ และมคี วามสขุ (๖ ชัว่ โมง)
การท่องบทสวดมนต์ภาวนา
และศาสนสภุ าษติ )
151
2. สร้างความเข้าใจร่วมกันระหวา่ งผเู้ รยี นและครูทีป่ รึกษาในการดำเนนิ กิจกรรม “คำมั่น ๓ ประการ”
Do (การลงมอื ปฏบิ ตั )ิ
1. แบ่งกลุ่มผู้เรียนเปน็ กลมุ่ จำนวน ๑๐ กลุม่ ๆ ละ ๕-๖ รปู โดยมีครปู ระจำกลุ่มดูแลผเู้ รียน (ครอบครวั เล็ก)
2. ใหผ้ ้เู รียนแต่ละกลุ่มเรียนรู้และลงมอื ปฏบิ ตั ิ ตามหลักสูตรการเรยี นรู้ “คำม่นั ๓ ประการ”
Check (การเช็คตรวจสอบ)
๑. หลังเสร็จการดำเนินกิจกรรมในแต่ละสัปดาห์(ทุกวันศุกร์) ครูประจำกลุ่มตรวจสอบการทำกิจกรรม โดยอภิปรายร่วมกับผู้เรียน
ในการปฏิบัติกิจกรรมเป็นอย่างไร มีจุดเด่น จุดบกพร่อง ควรปรับแก้ไขตนเองตรงจุดไหน อย่างไร มีการสร้างความยอมรับร่วมกันและ
ฝึกปฏบิ ตั ใิ หเ้ ปน็ วิถชี วี ิตประจำวนั
๒. กรณีทีผ่ ู้เรียนกลับจากโรงเรยี น ประสานความรว่ มมอื กบั เจา้ อาวาส ในการตดิ ตามพฤตกิ รรมของผเู้ รยี น
Action (การปรบั ปรุงแกไ้ ขส่วนที่มปี ัญหา)
ครูผู้รับผิดชอบโครงการ ครูประจำกลุ่ม เจ้าอาวาส อภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้และหาวิธีแก้ไข สร้างข้อตกลงร่วมกันเพื่อให้
มกี ารปฏบิ ัตใิ นทางท่ีดขี ึน้
ผลการดำเนนิ งาน
๑. ผู้เรียนรอ้ ยละ ๑๐๐ (จำนวน ๕๕ รูป) มคี วามรู้ ความเข้าใจ เหน็ ความสำคัญของการปฏิบตั ิตามหลัก “คำมั่น ๓ ประการ” และ
เตม็ ใจปรับเปล่ยี นพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงคข์ องตนเองในชีวิตประจำวัน โดยมีการใชว้ าจาสภุ าพ มีกริ ยิ าอ่อนน้อมถอ่ มตน มรี ะเบียบวินยั
และมคี วามรบั ผดิ ชอบ
๒. ผู้เรียนทม่ี พี ฤตกิ รรมไมพ่ งึ ประสงค์ มีการปรับเปลยี่ นพฤติกรรมทด่ี ีข้ึนรอ้ ยละ ๙๐ และอยรู่ ว่ มกับผู้อืน่ ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข
๓. ผบู้ ริหาร คณะครู ผูป้ กครอง เจา้ อาวาส และชุมชน รอ้ ยละ ๙๐ มีความพึงพอใจในการดำเนนิ โครงการ
ประโยชน์ที่ได้รับและการเผยแพร่
๑. ผู้เรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของโรงเรียน ซึ่งส่งผลให้ผู้เรียนอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขและทำให้
โรงเรยี นมสี ภาพแวดลอ้ มทีด่ เี หมาะตอ่ การเรียนรู้
๒. มีการประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินการโครงการในการประชุมคณะกรรมการบริหารโรงเรียน คณะครู ผู้ปกครอง กลุ่มโรงเรียน
การแสดงผลงานวชิ าการระดับจงั หวดั ระดับภาคและระดบั ประเทศ
152
ปจั จยั ความสำเรจ็
๑. ความร่วมมือของผู้บริหาร คณะครู ผู้ปกครอง เจ้าอาวาสและผู้เรียน ในการเห็นความสำคัญและให้การสนับสนุนการดำเนิน
โครงการอยา่ งเต็มที่
๒. การกำกับ ติดตาม การดำเนนิ การของครทู ี่ปรกึ ษาประจำกลุม่ และเจา้ อาวาสอยา่ งใกลช้ ดิ และต่อเนือ่ ง
ปญั หาอปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะ
ปัญหาอุปสรรค
การดแู ล กำกับ ติดตามการปฏิบัตทิ ่ีไม่ต่อเนื่องของครูประจำกลมุ่ ทำใหผ้ เู้ รียนบางรปู หลีกเล่ียงการปฏิบัติตามหลักคำมน่ั ๓ ประการ
ขอ้ เสนอแนะ
ควรมีการกำหนดเงื่อนไข กฎหรือกติกาให้ผู้เรียนรับทราบก่อนการเข้าศึกษา ถึงการปฏิบัติตามหลักคำมั่น ๓ ประการ และมี
การกำกับ ติดตามอย่างเปน็ ระบบและตอ่ เนือ่ ง รวมทั้งมีการสร้างแรงจูงใจในการปฏบิ ัติโดยมอบใบประกาศหรือรางวลั แกผ่ ู้เรยี นทป่ี ฏิบัติอยา่ งสมำ่ เสมอ
แนวทางการพัฒนาตอ่ เน่ือง
กำหนดเปน็ นโยบายของโรงเรยี น และใหผ้ เู้ รยี นทุกคนยึดเป็นหลกั ปฏบิ ตั เิ ปน็ วิถใี นการดำเนนิ ชวี ิตประจำวัน รายละเอียดเพม่ิ เตมิ
เอกสารอ้างอิง
พระปราโมทย์ ปาโมชฺโช. (๒๕๖๕). บญุ กิรยิ าวัตถุ ๑๐. สืบคน้ จาก https://www.dhamma.com/10-meritorious-deeds/.
พระมหาวุฑฒ์ สวุ ฑุ ฒฺ ิโก, อินถา ศริ วิ รรณ, สนิ งามประโคน และ พระมหาเผด็จ จริ กโุ ล. (๒๕๖๕). รูปแบบการจดั การเรยี นรูเ้ พอ่ื สร้าง
ศาสนทายาทสำหรบั คณะสงฆ์ไทย. ครศุ าสตร์ปริทรรศน์ฯ, ๘(๑), ๓๒๔-๓๓๕.
สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๖๐).
แนวทางการพัฒนาและประเมนิ คา่ นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ (พิมพ์ครัง้ ท่ี ๑). กรงุ เทพฯ: ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตร
แห่งประเทศไทย.
153
ภาพประกอบ
154
สำนักการศึกษา กรงุ เทพมหานคร
ดา้ นที่ ๕ คณุ ธรรมและจริยธรรม
ชอื่ ผลงาน ซื่อสัตยม์ ีวินัย หวั ใจสู่ความสำเร็จ
สถานศกึ ษา โรงเรียนวดั ศรนี วลธรรมวิมล
ผเู้ สนอผลงาน สำนกั งานเขตหนองแขม
หมายเลขโทรศัพท์
สงั กัด สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร
นางสาวสพุ รรษา วรการฤทธวิ งค์
๐๘ ๒๓๓๔ ๓๖๔๐ E-mail : [email protected]
ความสำคัญของ “ แนวปฏิบัตทิ ดี่ ี ”
โรงเรียนวัดศรีนวลธรรมวิมล อยู่ในพื้นที่เขตโรงงานอุตสาหกรรม ผู้ปกครองของผู้เรียนส่วนใหญ่ทำงานในโรงงาน ซึ่งมีการทำงาน
ไม่เป็นเวลา ซึ่งมีผลทำให้ผู้เรียนบางส่วนขาดความรับผิดชอบ บางคนไม่มีวินัยในตนเอง และหลายคนขาดทักษะในการทำงาน และใช้เวลาว่าง
ในการเลน่ เกม คบหาเพ่ือนทีเ่ ปน็ สมุ่ เส่ียง โรงเรียนจึงนำคุณธรรมและจริยธรรมมาเป็นแนวทางในการพัฒนาผู้เรยี นให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิต
ของตนเองได้ ประกอบกับสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร มีนโยบายส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน โดยโรงเรียนสนับสนุนให้มีการจัด
กิจกรรมร้านค้า กิจกรรมส่งเสริมการผลิต กิจกรรมออมทรัพย์นักเรียน และกิจกรรมสาธารณประโยชน์ ซ่ึ งมุ่งให้ผู้เรียนได้มีการปฏิบัติจริง
ในทุกกิจกรรม ดังนั้น ในการจัดกิจกรรมสหกรณ์ร้านคา้ จงึ ไดจ้ ัดให้ผู้เรยี นได้มีส่วนรับผิดชอบในการดำเนนิ การรว่ มกับครูโดยใหผ้ ู้เรียนเรยี นรู้
หลักการ วิธีการ และทดลองปฏิบัติจริงภายใต้การกำกับดูแลของครู เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการทำงาน สามารถทำงานร่วมกัน
รวมทั้งปลูกฝังและสร้างเสริมคุณลักษณะในด้านคุณธรรมจริยธรรมในการดำรงชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านความซื่อสัตย์สุจริต มีความเพียร
อีกทั้ง ให้ผู้เรียนมีแนวทางการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รู้วิธีการทำบัญชีรายรับ - รายจ่าย ให้สามารถนำไปปรับใช้
ในชีวติ ประจำวนั และประกอบอาชพี ได้
วตั ถปุ ระสงค์และเปา้ หมายของการดำเนินงาน
วตั ถุประสงค์
๑. เพ่อื ใหผ้ ู้เรียนมีคุณธรรมจรยิ ธรรม ดา้ นความซ่อื สัตยส์ ุจริต รบั ผดิ ชอบต่อหน้าท่ี มวี ินยั ในตนเองและการทำเพื่อสว่ นรวม
๒. เพอื่ สง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนมที ักษะการทำงาน เปน็ แนวทางในการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชพี ท่ีสุจรติ
155
เป้าหมาย
เชงิ ปรมิ าณ
กลุ่มประชากร ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ทั้งหมด จำนวน ๓๖๕ คน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เรียนที่เป็นคณะกรรมการดำเนินการ
สหกรณร์ า้ นค้า จำนวน ๓๕ คน โดยเลอื กแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
เชิงคุณภาพ
ผ้เู รียนมีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม มีความซ่ือสตั ย์สจุ ริต รบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่ีมีวนิ ัยในตนเองและทำเพ่ือสว่ นรวม
รวมท้ังมที กั ษะในการทำงาน สามารถประกอบอาชีพทสี่ จุ ริตไดใ้ นอนาคต
กระบวนการดำเนินงาน
การพฒั นาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมผเู้ รียนใหม้ ีความซอ่ื สตั ย์ มวี นิ ยั เพอ่ื สู่ความสำเร็จมีขั้นตอนการดำเนินงานตามกระบวนการ PDCA ดงั นี้
156
ผลการดำเนินงาน
๑. ด้านความรบั ผดิ ชอบ มีวินัย คุณธรรมจริยธรรม
ผู้เรียนมีพฤติกรรมแสดงออกถึงความเอาใจใส่ จดจ่อตั้งใจมุ่งมั่นต่อหน้าที่ปฏิบัติกิจกรรมบรรลุผลสําเร็จตามความมุ่งหมาย
ในเวลาที่กําหนด และสามารถปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้นได้ โดยมีคุณธรรมจริยธรรมด้านความซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อหน้าที่ มีวินัย
ในตนเอง และการทำเพื่อสว่ นรวม ร้อยละ ๙๔.๒๙
๒. ด้านทกั ษะและกระบวนการ
๒.๑ ผู้เรียนมีความสามารถในการจัดการสหกรณ์ร้านค้า และสามารถดำเนินการจัดทำบัญชีรายรับรายจ่ายได้ถูกต้อง ร้อยละ
๙๐.๐๐ และสามารถใช้กระบวนการในการปฏิบัติในกิจกรรมสหกรณ์ และการทำบัญชีรายรับ - รายจ่าย ไปปรับใช้ในการดำเนิน
ในชีวิตประจำวันและนำไปสู่การประกอบอาชีพในอนาคต และเปน็ แนวทางในการศึกษาตอ่ ได้
๒.๒ ผู้เรียนใช้เวลาว่างในการปฏิบัติกิจกรรมที่เอื้อให้เกิดประโยชน์ในการดําเนินชีวิตประจำวัน ด้วยความรับผิดชอบและมีวินัย
ในการทาํ งาน ร้อยละ ๙๒.๘๖
ประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั และการเผยแพร่
๑. ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม ด้านความซื่อสัตย์สุจริต ความรับผิดชอบ มีวินัยในตนเอง และมีความเสียสละในการทำหน้าที่ด้านต่าง ๆ
เพื่อส่วนรวมทั้งในระดบั ห้องเรยี นและโรงเรยี น
๒. โรงเรยี นเป็นแหล่งเรียนรใู้ นการจัดทำโครงการสหกรณร์ ้านคา้ ให้กบั โรงเรยี นตา่ ง ๆ และชุมชน โดยผเู้ รยี นสามารถเป็นผู้ให้บริการ
ความรู้แกช่ มุ ชน และองค์กรต่าง ๆ ท่มี าศึกษาดงู าน รวมท้งั ฝกึ อาชีพแก่ชุมชนและผูส้ นใจ
ปจั จัยความสำเร็จ
๑. นโยบายทีช่ ดั เจนของผบู้ รหิ าร ในการใหค้ รใู ชร้ ะบบสหกรณใ์ นโรงเรียนเป็นแหลง่ เรยี นรูแ้ ละพัฒนา และปลกู ฝังคุณธรรมจริยธรรม
แก่นกั เรยี น
๒. การสนบั สนุนงบประมาณจากหน่วยงานต้นสงั กัด
๓. สภาพเศรษฐกิจและความรว่ มมอื ของผู้ปกครองและชมุ ชน
157
ปัญหาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาอุปสรรค
๑. ผู้เรียนที่มาจากครอบครัวที่มีการดูแลของผู้ปกครองไม่ทั่วถึง ต้องใช้เวลาในการอบรมและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ทั้งด้าน
ความซื่อสัตยส์ ุจริต ความรับผดิ ชอบ ความมีวนิ ัยในตนเองมาก ทำใหก้ ารปฏบิ ตั กิ จิ กรรมไดไ้ ม่ดเี ท่าทค่ี วร
๒. ในการจัดซื้อจัดหาสินค้าในสหกรณ์ร้านค้าผู้เรียนไม่ได้เรียนรู้ถึงกระบวนการจัดซื้อ การคิดต้นทุน -กำไร อันจะเป็นแนวทาง
ในการประกอบอาชีพในอนาคตของผู้เรยี น
ข้อเสนอแนะ
ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงเพื่อพัฒนาทักษะในการทำงาน โดยเน้นการมีส่วนร่วม ทั้งนี้ให้ผู้เรียนได้ผลตอบแทนที่จะเป็นขวัญ
และกำลังใจในการทำงานด้วยความซ่ือสัตยส์ จุ รติ
แนวทางการพฒั นาตอ่ เนื่อง
จัดกิจกรรมปลกู ฝังคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ฝกึ ระเบยี บวนิ ยั และความรับผิดชอบให้กับนกั เรียนต้งั แตร่ ะดบั อนุบาล จนถงึ ระดบั มัธยมศึกษา
เพื่อพัฒนาและส่งเสริมประสบการณ์ด้านคุณธรรมจริยธรรม รวมถึงการทำเพื่อประโยชน์ส่วนรวม เน้นกระบวนการทำงาน
ท่ีมงุ่ สคู่ วามสำเรจ็ ในอนาคต
เอกสารอา้ งอิง
โรงเรียนวัดศรีนวลธรรมวิมล สำนักงานเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร. (๒๕๖๔). รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา(SAR)
๒๕๕๙-๒๕๖๔ โรงเรียนวดั ศรีนวลธรรมวมิ ล. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
158
ภาพประกอบ
159
ดานท่ี ๖
ทรดัพา นยกาการรอธนรรรุ มกั ชษา ติ
และสงิ่ แวดลอ ม
“...ËÅÑ¡¡ÒÃ㹡ÒôÓà¹¹Ô ¡ÒÃ์¹à´¡ç áÅÐàÂÒǪ¹à»š¹È¹Ù ¡ÅÒ§
¤×Í ãËŒà´ç¡à»š¹¼ŒÅÙ §Á×Í»¯ºÔ µÑ ´Ô ÇŒ µ¹àͧ (learning by doing)
ÁªÕ ØÁª¹à¢ŒÒÁÒÁÕʋǹËÇÁ áÅÐàªÍ×è Á⧡Ѻ·ÃѾÂҡâͧªÁØ ª¹ ·ÍèÕ ÂÙ‹Ãͺ æ µÇÑ
ÇÔ¸¡Õ Òà ¤×Í Ê͹ãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹Á¤Õ ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁࢌÒ㨠àË¹ç ¤ÇÒÁ§´§ÒÁ ¤ÇÒÁ¹Ò‹ ʹã¨
à¡´Ô ¤ÇÒÁ»µÔ·¨èÕ ÐÈÖ¡ÉÒáÅÐ͹ÃØ ¡Ñ ɵ‹Íä» à»š¹¤ÇÒÁÃ¡Ñ ¤ÇÒÁ¼Ù¡¾Ñ¹ Ëǧá˹㹷ÃѾÂҡâͧµ¹
ã¹¢³Ðà´ÂÕ Ç¡Ñ¹ÊÔ觷ÁÕè ãÕ ¹¸ÃÃÁªÒµÔ¨Ð໚¹Í»Ø ¡Ã³¡ÒÃÊ͹ã¹ÇªÔ ÒµÒ‹ § æ ä´ŒËÅÒÂÍ‹ҧ...”
¾ÃÐÃÒª¹Ô¾¹¸ àÃèÍ× § “¡ÒÃÊÌҧÊÓ¹Ö¡ãËàŒ ´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹Í¹ÃØ Ñ¡É·ÃѾÂҡøÃÃÁªÒµÔ”
㹡ÒûÃЪØÁÊÁÑ Á¹Ò “ÃÑ¡É»†Ò¹‹Ò¹” ¤Ãé§Ñ ·èÕ ñ Çѹ¨Ñ¹·Ã· èÕ ñð Á¹Õ Ò¤Á ¾·Ø ¸È¡Ñ ÃÒª òõõ÷
สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
ดา้ นที่ ๖ การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม
ชื่อผลงาน “แนวปฏบิ ัตทิ ่ดี ี” ศกึ ษาและขยายพรรณกล้วยไมส้ ่กู ารอนรุ ักษ์ปา่ ชุมชน
สถานศึกษา โรงเรียนบ่อเกลอื อาเภอบ่อเกลอื จงั หวัดนา่ น
สังกัด สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษานา่ น
ผู้เสนอผลงาน นางสาวมะลวิ ัลย์ บริคตุ และนางสาวณฐั ณิชา ขนั หลวง
หมายเลขโทรศัพท์
๐๙ ๓๑๔๐ ๑๗๗๓, ๐๙ ๖๙๔๖ ๕๒๗๒ E-mail : [email protected]
ความสาคญั ของ “ แนวปฏบิ ตั ทิ ดี่ ี ”
โรงเรียนบ่อเกลือ จัดการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษา ต้ังอยู่ในพ้ืนท่ีห่างไกล สภาพบริบทเป็นพื้นท่ีภูเขาสูง มีความหลากหลาย
ของชนเผ่าอีกท้ังยังมีความอุดมสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติ แต่ในระยะเวลาท่ีผ่านมาพบว่าชาวบ้านมีการเก็บของป่าและพืชพรรณชนิดต่าง ๆ
ในป่าเพื่อนาไปจาหน่าย ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศและจานวนพรรณไม้ในป่าโดยเฉพาะกล้วยไม้ที่เป็นสนิ ค้าท่ีตอ้ งการเป็นอย่างมาก ดังน้ัน
โรงเรียนบ่อเกลือจึงได้ตระหนักถึงความสาคัญของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้จัดทาโครงการศึกษาและขยายพรรณ
กล้วยไม้สู่การอนุรักษ์ป่าชุมชน เพ่ือส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้และมีทักษะในการสารวจและจัดทาทะเบียนพรรณกล้วยไม้ อนุรักษ์พันธ์ุ
กล้วยไม้โดยการเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือ สามารถนาความรู้มาเผยแพร่สู่ครู บุคลากร ครอบครัวและชุมชน อีกท้ังยังนากล้วยไม้ท่ีได้จากการ
เพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อกลับคืนสู่ป่าชุมชน ทาให้นักเรียนเกิดความตระหนักถึงความสาคัญและเห็นคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม
ในชุมชนของตนเองและสรา้ งจติ สานึกที่ดีให้คนในชุมชนเกิดความหวงแหนช่วยกนั อนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไม่ให้ถกู ทาลาย
อีกท้ังยังมีจิตสาธารณะในการร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถ่ินและเป็นแหล่งเรียนรู้ให้นักเรียนและคนในชุมชนอย่างยั่งยืนสื บ
ตอ่ ไป
วัตถุประสงค์และเป้ำหมำยของกำรดำเนินงำน
วตั ถุประสงค์
๑. เพือ่ ส่งเสริมให้นักเรยี นมีความรู้ และมีทักษะในด้านการสารวจและจดั ทาทะเบยี นพรรณกลว้ ยไม้บริเวณรอบ ๆ โรงเรยี น
๒. เพ่ืออนรุ กั ษ์พนั ธก์ุ ลว้ ยไม้ทมี่ ีปริมาณน้อยในธรรมชาติโดยการขยายพันธุ์โดยวิธีการเพาะเล้ียงเนอ้ื เย่ือและนากล้วยไม้ที่ได้จากการ
เพาะเล้ียงเน้อื เยื่อกลบั คืนส่พู ้ืนทีป่ ่าชุมชน 162
๓. เพือ่ ใหน้ กั เรียน ครู บุคลากรและชุมชน ตระหนักเหน็ คณุ คา่ มจี ิตสานกึ ในการอนรุ ักษส์ ิง่ แวดลอ้ มมคี วามหวงแหน และนา
ทรัพยากรในธรรมชาติในท้องถิน่ มาใช้ให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ
เป้าหมาย
เชิงปรมิ าณ
นักเรียนแกนนากิจกรรมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน กิจกรรมเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อ และชมรมจิตอาสารักษ์ป่าน่าน จานวน ๑๒๐ คน
มีความรู้และมีทักษะในด้านการสารวจพันธ์ุกล้วยไม้บริเวณป่ารอบ ๆ โ รงเรียนและจัดทาทะเบียนพรรณกล้วยไม้ และมีทักษะ
การขยายพันธพ์ุ ชื โดยวิธกี ารเพาะเล้ยี งเนอ้ื เยื่อและขยายผลความรสู้ ชู่ ุมชน
เชิงคุณภาพ
๑. นักเรียนแกนนากิจกรรมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน กิจกรรมเพาะเล้ียงเนื้อเยื่อ และชมรมจิตอาสา รักษ์ป่าน่าน มีความรู้และ
มีทักษะในด้านการสารวจพันธุ์กล้วยไม้บริเวณป่ารอบ ๆ โรงเรียนและจัดทาทะเบียนพรรณกล้วยไม้ และมีทักษะการขยายพันธ์ุพืช
โดยวธิ ีการเพาะเลยี้ งเน้อื เยื่อและขยายผลความรสู้ ่ชู มุ ชน
๒. โรงเรียนเป็นแหล่งเรยี นร้เู กีย่ วกบั การเพาะเลี้ยงเนอื้ เยอ่ื ให้กบั นกั เรียน ชุมชน และหนว่ ยงานอ่นื
กระบวนกำรดำเนนิ งำน
163
ผลกำรดำเนนิ งำน
นักเรียนแกนนา จานวน ๑๒๐ คน มคี วามร้แู ละมีทกั ษะในด้านการสารวจพนั ธ์ุกลว้ ยไม้บริเวณป่ารอบ ๆ โรงเรยี นและจัดทาทะเบียน
พรรณกล้วยไม้ และมีทกั ษะการขยายพันธุ์พชื โดยวธิ ีการเพาะเลย้ี งเนื้อเย่ือเพ่ือกลับคืนสู่พ้นื ที่ปา่ ชุมชนและขยายผลความรู้สู่ชมุ ชน ทาให้พื้นที่
ป่าชุมชนมีปรมิ าณกลว้ ยไม้เพ่ิมมากข้ึนเกิดความสมดุลทางระบบนิเวศวิทยา อีกท้ังโรงเรียนยังเป็นแหลง่ เรียนรูเ้ ก่ียวกับการเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือ
ให้กับนักเรยี น ชมุ ชน และหนว่ ยงานอ่ืน
ประโยชน์ที่ได้รบั และกำรเผยแพร่
นักเรียนมีความรู้และมีทักษะในด้านการสารวจพันธ์ุกล้วยไม้ การจัดทาทะเบียนพรรณกล้วยไม้ การขยายพันธ์ุกล้วยไม้ โดยการ
เพาะเล้ียงเนื้อเยื่อเพื่อกลับคืนสู่พ้ืนท่ีป่าชุมชนเกิดความสมดุลทางระบบนิเวศวิทยาของป่าชุมชน นักเรียน ครู บุคลากรและชุมชน ตระหนัก
เห็นคุณค่า มีจิตสานึกในการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมมีความหวงแหนและนาทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และ
โรงเรียนเป็นแหลง่ เรียนรู้เกีย่ วกบั การเพาะเลยี้ งเนื้อเย่อื ใหก้ ับนักเรยี น ชุมชน และหนว่ ยงานอ่ืน การเพ่มิ กล้วยไมใ้ หป้ า่ ชุมชนส่งผลให้ป่าชุมชน
มีจานวนกล้วยไม้เพ่ิมข้ึน มีชนิดพันธ์ุไม้ในป่าชุมชนที่หลากหลายเป็นระบบนิเวศมีความสมบูรณ์ โดยมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทาง
เว็บไซต์โรงเรยี น
ปัจจัยควำมสำเร็จ
164
ปัญหำอปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะ
ปญั หา อุปสรรค
ขั้นตอนในการเพาะเล้ียงเนื้อเย่ือและการอนุบาลต้นกล้าจนเจริญเต็มที่พร้อมสาหรับการนากลับคืนสู่ป่าค่อนข้างใช้ระยะเวลานาน
ดังน้ันจึงทาให้ผลการสรปุ ผลดาเนินงานตามขัน้ ตอนตอ้ งใช้ระยะเวลานาน
ขอ้ เสนอแนะ
นาผลการประเมินการปฏิบตั ิงานมาวเิ คราะหแ์ ละหาแนวทางในการปรบั ปรุงเร่ืองเวลาใหส้ อดคล้องกบั กิจกรรม
แนวทำงกำรพฒั นำตอ่ เนื่อง
ส่งเสริมให้มีการขยายพันธ์ุไม้หายากชนิดอ่ืนเพ่ือนากลับคืนสู่ป่าให้มากที่สุด และเพิ่มจานวนกล้วยไม้หายากในการต่อยอดให้เป็น
กล้วยไมเ้ ชิงเศรษฐกิจเพื่อป้องกันการลักลอบนากลว้ ยไมจ้ ากปา่ ไปใชเ้ พื่อการจาหนา่ ยแบบไม่ถูกต้อง
เอกสำรอ้ำงองิ
กองคุ้มครองพันธ์ุสัตว์ป่าและพืชป่าตามอนุสัญญา. (๒๕๕๘). จัดต้ังกองคุ้มครองพันธ์ุสัตว์ป่าและพืชป่าตามอนุสัญญา. สืบค้นจาก
http://portal.dnp.go.th/Content/citesdnp?contentId=300.
จิตราพรรณ พิลึก. (๒๕๕๐). การเพาะเมล็ดและการเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อกล้วยไม้. เอกสารประกอบการฝึกอบรมประชาชนหลักสูตร
การเพาะเมล็ดและเพาะเลีย้ งเนือ้ เย่ือกล้วยไม้. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
เตม็ สมิตินันทน.์ (๒๕๔๔). ชือ่ พรรณไม้แห่งประเทศไทย (พมิ พค์ ร้งั ที่ ๒). กรุงเทพฯ : สานกั วชิ าการปา่ ไม้ กรมป่าไม.้
มลฤดี โภคศริ ิ. (๒๕๕๙). การอบรมผู้ประสานดา้ นการจัดการความร้ขู อง ทบ. สบื คน้ จาก http://km.fsh.mi.th/wp-content/
uploads/2016/08/102.pdf.
สานกั งานโครงการสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี สานักพระราชวงั สวนจิตรลดา. (๒๕๖๐). แผนพฒั นาเดก็ และเยาวชน
ในถ่นิ ทุรกันดารตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๙
(พิมพ์ครัง้ ที่ ๑). กรงุ เทพฯ : แอคทฟี พร้นิ ท์.
165
ภำพประกอบ
166
กองบญั ชาการตำรวจตระเวนชายแดน
ด้านท่ี ๖ การอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
ช่อื ผลงาน หญา้ แฝก กำแพงธรรมชาติ ทมี่ ีชีวติ
สถานศกึ ษา โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนสงิ คโปรแ์ อรไ์ ลน์สเฉลิมพระเกยี รตฯิ อำเภอสอยดาว จังหวัดจนั ทบุรี
ผเู้ สนอผลงาน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน
หมายเลขโทรศพั ท์
ด.ต.กรกฏ ออ่ นแพง
๐๘ ๔๕๖๒ ๑๐๗๖ E-mail : [email protected]
ความสำคญั ของ “ แนวปฏิบตั ทิ ดี่ ี ”
โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนสิงคโปร์แอร์ไลน์สเฉลิมพระเกียรติฯ ได้น้อมนำโครงการพัฒนา และรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอัน
เนื่องมาจากพระราชดำริ สู่การดำเนินงานตามแผนการพฒั นาเด็กและเยาวชนในถ่ินทุรกันดาร ตามพระราชดำริ สมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจ้า
กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ฉบบั ที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๙ เป้าหมายหลักท่ี ๕ โดยปลูกฝงั จิตสำนึกและพัฒนา
ศักยภาพของเด็กและเยาวชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จากการศึกษาพบว่า สภาพชุมชนถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่
การการเกษตร มีการใช้สารเคมีจำนวนมาก ทำให้ความสามารถในการดูดซึมธาตุอาหารของพืชลดนอ้ ยลงและมีผลต่อการเจรญิ เติบโตของ
พืช ในฤดูฝนเกดิ การชะล้างพังทลายของดิน ทำให้หนา้ ดนิ ที่มีความอุดมสมบูรณ์สูญเสียไป ดินถูกชะล้างพังทลายจะตกตะกอนตามแหล่งนำ้
ทำใหต้ ้นื เขนิ
โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนสิงคโปร์แอร์ไลน์สเฉลิมพระเกียรติฯ ได้ดำเนินการพัฒนาปรับปรุงพื้นที่โรงเรียน เพื่อให้เป็น
ศูนย์บริการความรู้และเปน็ แหล่งเรียนรูโ้ ครงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หญ้าแฝก เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ความรู้กับ
นักเรยี น ครู ประชาชน หรือผสู้ นใจมาศึกษาเรยี นรู้ โดยถ่ายทอดความรู้ เรอื่ งหญ้าแฝก ชมุ ชนจะไดน้ ำคุณสมบตั อิ นั วิเศษของรากหญ้าแฝก
ไปช่วยแก้ปัญหาที่ดินขาดความอดุ มสมบูรณ์ การนำส่วนอื่น ๆ ของหญ้าแฝกไปใช้ประโยชน์โดยใช้ภูมปิ ัญญาท้องถิ่น เพื่อสร้างความเป็นอยู่
ที่ดีขึ้น บนพื้นฐานพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงด้วยการนำใบของหญ้าแฝกสร้าง “งานหัตถกรรม” เช่น หมวก กระเป๋า ตะกร้า แจกัน
กรอบรปู เป็นต้น เพือ่ จำหนา่ ยทำให้นักเรยี น ผปู้ กครองมรี ายได้เสรมิ เข้าสูค่ รอบครวั มีความเปน็ อยู่ของชีวิตทดี่ ขี ้ึน การใช้ใบหญ้าแฝกคลุมดิน
เป็นวิธีการที่เหมาะสมที่สุดอันหนึ่งซึ่งเรียกว่า “การห่มดิน” เป็นการ “คืนชีวิตให้แผ่นดิน” คืนความชุ่มชื้นไว้ในดินจนส่งผลให้ผลผลิต
ทางการเกษตรเพม่ิ มากขึ้น โรงเรยี นจงึ จดั ทำโครงการ “หญา้ แฝก กำแพงธรรมชาติ ทม่ี ีชวี ติ ” ขึ้น
167
วัตถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายของการดำเนนิ งาน
วตั ถุประสงค์
๑. เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกและพัฒนาศักยภาพของเด็กและเยาวชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยการ
ปลูกหญ้าแฝกเพื่ออนุรกั ษด์ นิ และนำ้
๒. โรงเรียน เป็นศูนย์บริการความรู้และเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียน ครู ผู้ปกครอง ประชาชนในชุมชน หรือผู้สนใจเข้ามา
ศกึ ษาเรยี นรู้
๓. เพอื่ ให้ผ้ปู กครอง ประชาชนในชมุ ชน นำหญ้าแฝกไปใชป้ ระโยชนใ์ นพ้นื ที่การเกษตรอย่างแพรห่ ลาย
๔. เพื่อให้ผู้ปกครอง ประชาชนในชุมชน เห็นการเปลี่ยนแปลงของผลผลิตทางการเกษตรหลังจากนำหญ้าแฝกไปปลูก
ในพ้ืนท่กี ารเกษตร
๕. เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง ประชาชนในชุมชน นำส่วนต่าง ๆ ของแฝกไปใช้ประโยชน์โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อสร้าง
“งานหัตถกรรม” เป็นผลิตภัณฑ์ ของใช้ เพื่อจำหน่ายและมีรายได้เสริมเข้าสู่ครอบครัว เป็นการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้
มีความเปน็ อยู่ของชวี ติ ที่ดีขนึ้
เป้าหมาย
เชิงปรมิ าณ
๑. ครู ผูป้ กครอง ประชาชนในชมุ ชน และผู้สนใจ จำนวน ๑,๐๐๐ คน
๒. นักเรยี นโรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดนสิงคโปรแ์ อรไ์ ลน์สเฉลมิ พระเกยี รตฯิ จำนวน ๒๑๐ คน
เชงิ คณุ ภาพ
๑. โรงเรียนเป็นศูนย์บริการความรู้และเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียน ครู ผู้ปกครอง ประชาชนในชุมชน หรือผู้สนใจเข้ามา
ศึกษาเรียนรู้
๒. เกษตรกรในชมุ ชนมีพืน้ ทมี่ คี วามอดุ มสมบูรณ์ขนึ้ หลงั การปลูกหญ้าแฝก
๓. เกษตรกรและโรงเรียนมผี ลผลิตทางการเกษตรเพิ่มขน้ึ ลดปญั หาดนิ ไหลลงก้นสระ ขอบบอ่ มรี ากหญา้ แฝกเพ่มิ ความแขง็ แรง
๔. ประชาชนในชมุ ชนมีงานหัตถกรรมเปน็ ผลติ ภณั ฑข์ องใช้เพื่อจำหน่าย และมีรายได้เพมิ่ ขึน้
168
กระบวนการดำเนินงาน
ผลการดำเนินงาน
169
ประโยชนท์ ีไ่ ด้รบั และการเผยแพร่
๑. นักเรียน ครู ประชาชนในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อมปลูกหญ้าแฝกทำให้ดนิ มคี วามอดุ มสมบูรณข์ ึน้
๒. นกั เรยี น ครู ผปู้ กครอง ประชาชนในชมุ ชนเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ในการใชห้ ญา้ แฝก
๓. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนสิงคโปรแ์ อร์ไลน์สเฉลิมพระเกียรติฯ เป็นศูนย์บริการความรู้และเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียน
ครู ประชาชนในชมุ ชนหรอื ผูส้ นใจเขา้ มาศึกษาเรยี นรเู้ ป็นแบบอย่างใหช้ ุมชน
๔. ผ้ปู กครอง ประชาชนในชุมชน นำหญา้ แฝกไปใช้ในพ้นื ทก่ี ารเกษตรและเห็นการเปลี่ยนแปลงของผลผลติ ทางการเกษตรหลังจาก
นำหญ้าแฝกไปปลูกในพื้นท่ีเกษตร และสร้าง “งานหัตถกรรม” จากใบหญ้าแฝกเพื่อจำหน่าย และมีรายได้เข้าสู่ครอบครัว
เพ่ิมรายได้ และมคี วามเปน็ อยขู่ องชวี ิตท่ดี ขี นึ้
ปัจจัยความสำเร็จ
ผู้บังคับบัญชา ครูใหญ่ คณะครู นักเรียน ผู้ปกครอง ครูภูมิปัญญาท้องถิ่น เครือข่ายและชุมชนให้ความร่วมมือ มีความกระตือรือรน้
เปน็ ที่ปรกึ ษาและสรา้ งขวญั กำลงั ใจในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ใหส้ ำเรจ็ ลุลว่ งไปไดด้ ้วยดี
แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง
เปดิ โอกาสให้ชมุ ชนและท้องถน่ิ ไดเ้ รียนรู้การน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงใชป้ ระกอบอาชีพ โดยสรา้ งงานสร้างอาชีพ
ใหก้ ับชมุ ชนภายใต้โครงการ “ หญ้าแฝก กำแพงธรรมชาติ ทม่ี ชี ีวติ ”
เอกสารอ้างอิง
สำนกั งานโครงการสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สำนกั พระราชวัง สวนจิตรลดา. (๒๕๖๐). แผนพัฒนาเด็กและเยาวชน
ในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๙
(พมิ พ์ครง้ั ที่ ๑). กรงุ เทพฯ : แอคทฟี พรน้ิ ท.์
170
ภาพประกอบ
171
สำนักงำนสง่ เสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศยั
ดา้ นท่ี ๖ การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม
ช่ือผลงาน แนวปฏบิ ัติท่ดี ี “ ขุมทรพั ยจ์ ากเศษอาหาร ”
สถานศึกษา ศนู ยก์ ารเรียนชุมชนชาวไทยภูเขาแมฟ่ ้าหลวง บ้านห้วยยาว อาเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่
กศน.อาเภออมก๋อย สานักงาน.กศน.จังหวัดเชยี งใหม่
ผ้เู สนอผลงาน นายกาธร ใจไธสง และนางแสงสุริยา ใจไธสง
หมายเลขโทรศัพท์
๐๘ ๕๖๓๖ ๘๗๒๘ E-mail : [email protected]
ความสาคัญของ “ แนวปฏิบัติทด่ี ี ”
ศนู ย์การเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขาแม่ฟ้าหลวง บ้านหว้ ยยาว (ศศช.บา้ นหว้ ยยาว) มีการจดั อาหารกลางวันให้กับนักเรียน เกดิ เศษอาหารจาก
อาหารสด เศษผัก และท่ีเหลือจากการรับประทานอาหารกลางวัน การจัดการกับเศษอาหารที่ไม่ถูกวิธีทาให้เป็นแหล่งพาหะนาโรคกระจาย
ไปสู่แหล่งนาดื่ม แหล่งการเกษตร และแหล่งท่ีอยู่อาศัย ส่ิงท่ีตามมาคือการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยเฉพาะของเสียประเภทสารอินทรยี ท์ า
ใหเ้ กดิ ก๊าซมีเทนเปน็ สาเหตขุ องภาวะโลกรอ้ น การจดั การเศษอาหารจึงเป็นเร่ืองสาคัญในการรักษาสิง่ แวดล้อม
ด้วยสาเหตุนี ครู ศศช.บ้านห้วยยาว เห็นควรให้มีการจัดการกับเศษอาหารเหล่านันให้ถูกต้อง โดยนาเศษอาหารไปใช้ในการหมัก
ให้ยอ่ ยสลาย ไดผ้ ลผลติ เป็นก๊าซชีวภาพสาหรบั หุงต้ม และไดน้ าหมกั ชวี ภาพเพ่ือนาไปใช้ในการทาเกษตรอินทรีย์ทดแทนปยุ๋ เคมี เปน็ แนวปฏิบัติท่ี
ดี การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เร่ือง “ ขุมทรัพย์ จากเศษอาหาร ” ซึ่งเป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจ ส่งเสริมทักษะ
ให้กับนักเรียนและคนในชุมชน ในการจัดการกับเศษอาหารอย่างถูกวิธีและเกิดประโยชน์สูงสุด ได้ก๊าซชีวภาพสาหรับใช้ในการหุงต้มและได้
นาหมักชีวภาพ โดยสามารถนาไปเป็นปุ๋ยใช้ในการเกษตรได้ ช่วยสร้างจิตสานึกเห็นคุณค่าของการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและการอนุรักษ์
สิง่ แวดล้อมอย่างย่งั ยนื
วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้ำหมำยของกำรดำเนนิ งำน
วัตถปุ ระสงค์
๑. เพื่อให้นักเรยี น คนในชมุ ชน มีความร้คู วามเขา้ ใจ และเกิดทกั ษะการบรหิ ารจัดการเศษอาหารที่เหมาะสมใน ศศช.
๒. เพ่ือใหน้ กั เรียน คนในชุมชน เหน็ คณุ คา่ และตระหนักถึงการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติและการอนุรกั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม
172
เป้าหมาย
เชิงปรมิ าณ
นกั เรยี น ศศช.บา้ นห้วยยาว จานวน ๓๐ คน และคนในชุมชน จานวน ๑๐ คน
เชงิ คุณภาพ
ศศช.บ้านห้วยยาว มที ักษะการจัดการเศษอาหารไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ โดยการนาเศษอาหารแปรรปู เป็นพลังงานเชือเพลิง
และนาหมกั ชีวภาพ ลดปริมาณเศษอาหารและลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นการอนรุ ักษ์สงิ่ แวดล้อม
กระบวนกำรดำเนนิ งำน
173
ผลกำรดำเนินงำน
ผลการจัดกิจกรรม ขุมทรัพย์จากเศษอาหาร ทาให้นักเรียน คนในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจ เกิดทักษะ และตระหนักถึงการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ได้ก๊าซชีวภาพใช้ในการหุงต้มเป็นการลดการใช้ฟืนเป็นพลังเชือเพลิง ได้นาหมักชีวภาพ
ใช้ในการเกษตร ลดการใช้สารเคมี และรักษาสภาพหนา้ ดนิ รกั ษาสง่ิ แวดลอ้ มใน ศศช. และในชุมชน
ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั และกำรเผยแพร่
นักเรียนมีจิตสานึก เหน็ คุณค่าการนาเศษอาหารมาใช้ประโยชน์ ศศช. มสี ภาพแวดลอ้ มที่เอือต่อการจดั การเรียนรู้ มีพลังงานทดแทน
เป็นก๊าซชวี ภาพ และนาหมักชีวภาพใชท้ ดแทนปุ๋ยเคมี เป็นแหล่งเรยี นรูด้ า้ นนวัตกรรมการใช้พลงั งาน รักษาสภาพแวดล้อมในชมุ ชนใหน้ า่ อยู่
และเปน็ แนวทางในการพัฒนาตอ่ ยอดตอ่ ไป
ปัจจัยควำมสำเรจ็
๑. ครูมีความรู้ ทักษะ ในดา้ นวทิ ยาศาสตร์ และมีความตงั ใจในการแกป้ ัญหา
๒. มีเคร่อื งมือ วตั ถุดบิ การให้ความร่วมมอื ของนกั เรียนและชุมชน และภาคเี ครอื ขา่ ยให้การสนับสนนุ
ปัญหำอปุ สรรคและข้อเสนอแนะ
๑. การหาภาคีเครือขา่ ยมาสนับสนุนการจัดซือ และการขนสง่ วัสดุ อปุ กรณ์
๒. สภาพอากาศท่ัวไปในชุมชนอากาศค่อนขา้ งเยน็ ตลอดทังปี สง่ ผลให้การย่อยเศษอาหารทางานไดช้ า้
๓. ควรหลกี เลี่ยงการเติมเศษอาหารประเภทท่ใี หร้ สเปรยี วเป็นกรดลงไปในถังหมัก
๔. อณุ หภมู ิมีผลต่อการย่อยจุลินทรีย์ ควรใหถ้ งั หมักได้รบั แสงแดดมากทีส่ ดุ
แนวทำงกำรพฒั นำต่อเนื่อง
จัดเป็นหลักสูตรระยะสัน ส่งเสริมการบริหารจัดการเศษอาหารขยายสู่ชุมชน เพ่ือลดการใช้ฟืนเป็นพลังงานเชือเพลิง และลดการใช้
สารเคมีในการทาการเกษตร
174
เอกสำรอำ้ งองิ
กรุงเทพธุรกิจ. (๒๕๖๔). ขยะอาหาร ตัวการภาวะโลกร้อน ท่ีหลายคนมองขา้ ม. สบื ค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/
social/954409.
โครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี. (๒๕๖๔). การประชุมวิชาการ
การพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดาริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
สยามบรมราชกุมารี ประจาปี ๒๕๖๔. สบื ค้นจาก http://www.psproject.org/?page_id=11109.
ทาแบบ บอย. (๒๕๖๒). สอนทาชดุ ผลิตก๊าซชวี ภาพไว้ใชเ้ อง ตอนท่ี ๑ (ชดุ ถงั ผลิตกา๊ ซชีวภาพ). สืบคน้ จาก
https://www.youtube.com/watch?v=bGJmRjg1G6M.
ภำพประกอบ
175
สำนกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน
ดา้ นท่ี ๖ การอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
ช่ือผลงาน การอนุรกั ษแ์ ละฟ้นื ฟูป่าชุมชนบา้ นหาดทราย
สถานศึกษา โรงเรียนธรรมคีรวี ิทยา อำเภอสะบา้ ย้อย จังหวัดสงขลา
ผูเ้ สนอผลงาน นายอดลุ ย์ ปะแตเลาะ
หมายเลขโทรศพั ท์ ๐๘ ๗๒๙๘ ๓๑๑๕ E-mail : [email protected]
ความสำคญั ของ “ แนวปฏบิ ัตทิ ดี่ ี ”
โรงเรียนธรรมคีรีวิทยา ตั้งอยู่เลขที่ ๓๖ หมู่ที่ ๖ ตำบลธารคีรี อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา ได้จัดโครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่า
ชุมชนบา้ นหาดทราย มีปา่ ชุมชนบา้ นหาดทราย เป็นพ้นื ที่ป่าตน้ น้ำถูกบุกรุกทำลาย มกี ารลกั ลอบตัดไม้หวงห้ามการบุกรุกแผ้วถางขยายพ้ืนที่
การทำมาหากินของคนภายในและภายนอกชุมชน การใช้ประโยชน์จากพื้นที่ป่าของคนในชุมชน ขาดความรู้ความเข้าใจในการใช้
อย่างระมัดระวัง ส่งผลกระทบอย่างมากต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมป่า โดยเฉพาะพื้นที่ป่าต้นน้ำ บ้านหาดทรายซึ่งเป็นแหล่ง
ทรัพยากร แหล่งอาหาร เป็นแหล่งเรียนรู้และยังเป็นดัชนีวัดความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศในท้องถิ่น โรงเรียนธรรมคีรีวิทยาร่วมกับ
ผู้นำชุมชน และคณะกรรมการสถานศึกษาได้รวมตัวกันจัดชุดรักษาป่าต้นน้ำบ้านหาดทราย เป็นอาสาสมัครหมู่บ้านเข้ามาดูแลรักษาพื้นท่ี
ทรพั ยากรป่าไม้ และสัตว์ป่า มิให้ถูกลา่ และถูกบุกรุกทำลาย มีการปลกู ป่าทดแทนบริเวณที่ถูกบุกรุกทำลาย จำนวน ๓ แปลง มีการสร้างฝาย
ชะลอน้ำ เพอื่ เพมิ่ ความชุ่มช้ืนให้กับระบบนิเวศ ควบค่กู ับการสร้างความรู้ ความเขา้ ใจ และปลูกจิตสำนึกให้คนในชุมชนร่วมกันหวงแหนและ
รักษาพืน้ ทป่ี ่าชุมชนป่าตน้ น้ำบา้ นหาดทรายใหม้ ีสภาพสมบูรณ์อยูค่ ู่ชมุ ชน
โรงเรียนธรรมคีรีวทิ ยาจึงเหน็ ว่าการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าชุมชนบ้านหาดทราย ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูง ภูเขา ซึ่งเป็นแหล่งน้ ำ
ลำธาร อดุ มด้วยทรัพยากรปา่ ไม้ น้ำตกเล็ก มีสภาพเป็น ท่รี าบล่มุ แม่น้ำ แอง่ กระทะ เหมาะแกก่ ารเพาะปลกู พชื ไร่ และพชื สวน โดยมกี จิ กรรม
ร่วมกับชุมชนบ้านหาดทราย กรมป่าไม้ กรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม อบต.ธารคีรี และหน่วยงานปกครองในพื้นที่ทำงานบู รณาการทุกภาคส่วน
โรงเรียนเป็นตัวเชื่อมให้ความรู้ ความเข้าใจกับชุมชน เพื่อเป็นการดูแลป่าต้นน้ำบ้านหาดทรายโดยการขุดลอกอ่างเก็บน้ำ การสร้างฝายชะลอน้ำ
และปลูกไผท่ ดแทน ให้ชมุ ชนมสี ่วนร่วม
176
วตั ถุประสงค์และเปา้ หมายของการดำเนนิ งาน
วัตถุประสงค์
๑. เพอื่ ใหบ้ คุ ลากรครู นกั เรยี น และชมุ ชนได้มสี ่วนรว่ มในการดูแลรักษาธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม
๒. เพ่อื ปลูกฝงั จติ สำนกึ ให้กับนักเรียนในการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ เกดิ ความสามัคคใี นชุมชน
๓. เพ่อื เป็นศูนย์การเรยี นรู้ใหก้ ับนกั เรียนและประชาชนในการศกึ ษาป่าชุมชนบ้านหาดทราย
๔. เพอื่ อนุรักษแ์ ละฟ้ืนฟปู า่ ชุมชนบ้านหาดทราย ให้เกิดประโยชน์สงู สดุ กับชุมชน
เป้าหมาย
เชิงปริมาณ
นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานในพื้นที่ร่วมกิจกรรม ร้อยละ ๘๐ ร่วมกิจกรรมการขุดลอกอ่างเก็บน้ำ การสร้างฝายชะลอ
นำ้ และปลกู ไผท่ ดแทนรวม ท้ังสิน้ ๕๐๐ ตน้
เชงิ คณุ ภาพ
บุคลากรครู นักเรียน และชุมชนได้มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปลูกฝังจิตสำนึกให้กับนักเรียนในการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ มีการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าชุมชน เกิดความสามัคคีในชุมชนและเป็นศูนย์การเรียนรู้ให้กับนักเรียน ประชาชนในพื้นท่ี
ไดม้ าศึกษาป่าชุมชนบ้านหาดทราย
กระบวนการดำเนินงาน
ข้นั ตอนที่ 5 เผยแพร่ผลงาน ข้ันตอนที่ 1 ชนั้ วางแผน (Plan : P)
(Share : S) ประชมุ ครู นักเรยี นผู้ปกครองและคน
ในชมุ ชนเพื่อร่วมกนั วางแผนและขอ
เผยแพร่ขอ้ มูล/ ประชาสัมพนั ธ์ปา่ ความรว่ มมอื จากหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้อง
ชุมชนบ้านหาดทรายเป็นแหล่ งเรยี นรู้
ในพื้นที่
ขน้ั ตอนการดำเนนิ การวางแผน ขน้ั ตอนที่ 4 ขน้ั ปรับปรงุ และรายงาน ข้ันตอนท่ี 2 ชั้นปฏิบตั ิตามแผน
ผล (Do : D)
(Flow Chart)
แผนปฏบิ ตั ิงานโครงการการอนรุ ักษ์และ (Action : A) ดาเนนิ งานตามโครงการการ
อนรุ ักษแ์ ละฟนื้ ฟปู ่าชุมชนบ้านหาด
ฟ้นื ฟปู ่าชมุ ชนบา้ นหาดทราย สรปุ ปรบั ปรุงและรายงานผลการ ทราย โดยมแี ผนปฏบิ ตั งิ านท่วี างไว้
ดาเนนิ กิจกรรม
ขนั้ ตอนที่ 3 ช้ันกากบั ตรวจสอบ
และประเมนิ ผล (Check : C)
ตดิ ตามผลการดาเนินงาน
กิจกรรมในแต่ละด้าน
177
ผลการดำเนนิ งาน
ด้านปริมาณ นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานในพื้นที่ร่วมกิจกรรม ร้อยละ ๘๐ การขุดลอกอ่างเก็บน้ำ การสร้างฝายชะลอน้ำ
และปลกู ไผท่ ดแทนรวมทั้งสิน้ ๕๐๐ ตน้
ด้านคุณภาพ บุคลากรครู นักเรียน และชุมชนได้มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปลูกฝังจิตสำนึกให้กับ
นกั เรยี นในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ มีการอนรุ ักษ์และฟื้นฟูปา่ ชุมชน เกิดความสามัคคีในชุมชนและเป็นศูนย์การเรียนรู้ให้กับนักเรียน
ประชาชนในพ้นื ที่ไดม้ าศกึ ษาป่าชุมชนบา้ นหาดทราย
178
ประโยชน์ทีไ่ ด้รับและการเผยแพร่
พื้นที่ป่าชุมชน ป่าต้นน้ำมีความอุดสมบูรณ์มีความหลากหลายทางชีวภาพ สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียน นักศึกษา
ตลอดจนผทู้ ส่ี นใจ ชมุ ชนมีความเข้มแข็ง มจี ิตสำนกึ ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม ผลติ ภณั ฑช์ ุมชนควบคู่ไปกับการเป็น
แหล่งการเรียนรพู้ ชื พันธ์ุหลาย ๆ ชนิด
ปจั จัยความสำเรจ็
โรงเรียนเป็นศูนย์กลางการประสานงานให้ความรู้กับชุมชน การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน เป็นปัจจัยที่สำคัญที่จะส่งผล
ต่อการดำเนินการโครงการการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าชุมชนบ้านหาดทราย และการสนับสนุนจากภาคส่วนอื่นที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สำนักจัดการ
ทรัพยากรป่าไม้ที่ ๑๓ (สงขลา) อุทยานแห่งชาติน้ำตกทรายขาว อบต.ธารคีรี องค์กรภาคเอกชน และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดำเนินงาน
เป็นไปด้วยความเรยี บรอ้ ย มปี ระสทิ ธภิ าพอย่างยัง่ ยนื
ปญั หาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะ
จากการดำเนินโครงการยงั มปี ัญหาอุปสรรค ในดา้ นท่ี 1 งบประมาณท่มี ีไมเ่ พียงพอต่อการดำเนินงานตาม กิจกรรมทวี่ างไว้ และดา้ นที่ ๒
ความล่าช้าของการจัดสรรงบประสานงานจากหน่วยงานต้นสังกัด รวมถึงข้อจำกัดของการจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอกับโครงการต่าง ๆ
ภายในโรงเรียน ด้านที่ ๓ ผู้นำชุมชนคณะกรรมการป่าชุมชน ควรมีการเผยแพร่ผลงาน รวมทั้งเผยแพร่ความรู้ข่าวความเคลื่อนไหวของป่าชุมชน
ด้านท่ี ๔ ขาดเคร่ืองมอื วสั ดุอุปกรณต์ ่าง ๆ ยงั ไมเ่ พียงพอตอ่ ความตอ้ งการ
แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง
จากการดำเนินโครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าชุมชนบ้านหาดทราย มีการบริหารจัดการป่าต้นน้ำให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
ที่ยั่งยืน ในปีที่ผ่านมาผู้บริหาร ครู บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและสถานประกอบการให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี และมีแผน
การดำเนินการในปตี อ่ ไปขยายปา่ ชมุ ชนเพมิ่ ขึ้น
179
เอกสารอา้ งองิ
นิวัติ เรืองพานิช. (๒๕๕๖). การอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม (พิมพ์ครั้งท่ี ๕). กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์
สมศักดิ์ สขุ วงศ์. (๒๕๕๐). การจัดการปา่ ชมุ ชน: เพือ่ คนและเพือ่ ป่า (พิมพ์ครง้ั ที่ ๑). กรุงเทพฯ: สารคด.ี
ภาพประกอบ
180
สำนักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ
ดา้ นที่ ๖ การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม
ชอ่ื ผลงาน BCG Model เพิ่มคุณภาพชวี ติ เปน็ มิตรกับสง่ิ แวดล้อม
สถานศกึ ษา โรงเรียนร้องแหย่งวทิ ยาคม วัดวุฒิมงคล อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
ผ้เู สนอผลงาน พระมหาพพิ ัฒน์ อภวิ ฑฒฺ โน
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘ ๙๕๕๙ ๓๖๒๙ E-mail : [email protected]
ความสำคญั ของ “ แนวปฏบิ ัติทดี่ ี ”
การพัฒนาประเทศไทยไปสู่ Thailand ๔.๐ จะต้องคำนึงถึงการพัฒนาที่ยั่งยืน สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ให้ความสำคัญต่อระบบการผลิตที่เปน็ มิตรต่อสิ่งแวดล้อม แบบทำน้อยได้มาก เพื่อเร่งแก้ไขปัญหาวกิ ฤติสิ่งแวดล้อม ลดมลพิษที่เกิดจากการ
ผลิตและการบริโภค (สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ๒๕๖๑) ด้วยโมเดลเศรษฐกิจ BCG ประกอบด้วย B Bio Economy
ระบบเศรษฐกจิ ชวี ภาพ มงุ่ เน้นการใช้ทรพั ยากรชีวภาพอย่างคุ้มค่า เชอ่ื มโยงกับ C Circular Economy ระบบเศรษฐกจิ หมนุ เวยี น ที่คำนึงถึง
การนำวัสดุต่างๆ กลับมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด และอยู่ภายใต้ G Green Economy ระบบเศรษฐกิจสีเขียว ซึ่งมุ่งแก้ไขปัญหามลพิษ
เพอื่ ลดผลกระทบต่อโลกอย่างยั่งยืน (สำนักงานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแหง่ ชาต,ิ ๒๕๖๓)
แนวทางการพัฒนาการเรียนรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้กับสามเณรนักเรียนในโรงเรียนร้องแหย่ง
วิทยาคม เพื่อให้สอดคล้องกับแผนการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดำริ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่ ๕ จึงนำกระบวนการ BCG Model มาใช้ร่วมกับการจัดการสอนเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นการจัด
กิจกรรมให้สามเณรนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง มีความตระหนัก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
รว่ มกับชมุ ชนได้อยา่ งยงั่ ยืนต่อไปในอนาคต
วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการดำเนนิ งาน
วัตถปุ ระสงค์
เพื่อให้สามเณรนักเรียนได้เรียนรูก้ ารอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม ด้วยระบบการพัฒนาเศรษฐกิจแบบ BCG Model
สนบั สนุนการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ท่เี ป็นมิตรกบั สิ่งแวดล้อม และสง่ เสรมิ ให้สามเณรไดเ้ รยี นรู้ด้วยการลงมอื ปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง
181
เป้าหมาย
เชงิ ปริมาณ
รอ้ ยละ ๘๐ ของสามเณรนักเรียนโรงเรยี นร้องแหย่งวทิ ยาคม ได้เขา้ รว่ มโครงการ
เชิงคณุ ภาพ
ร้อยละ ๘๐ ของสามเณรนักเรยี นได้เรยี นรู้แนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมดว้ ยกระบวนการ BCG
Model มีความตระหนกั ถงึ การอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ และสามารถพัฒนาสิง่ ประดษิ ฐ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดลอ้ มได้
กระบวนการดำเนนิ งาน
ใช้กระบวนการ PDCA เป็นฐานจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ Active Learning เน้นให้สามเณรนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
จัดกิจกรรมตามรูปแบบของ BCG Model ระบบเศรษฐกิจชีวภาพ มุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน คำนึงถึง
การนำวัสดตุ า่ งๆ กลบั มาใชป้ ระโยชนม์ ากท่ีสุด ระบบเศรษฐกจิ สีเขยี ว ทม่ี งุ่ แกไ้ ขปัญหามลพิษ ชว่ ยลดผลกระทบต่อโลกอยา่ งยั่งยืน
ผลการดำเนนิ งาน
จากผลการดำเนินงาน ตามโครงการ BCG Model เพิ่มคุณภาพชีวิต เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พบว่า สามเณรนักเรียนร้อยละ ๘๐
มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถอธิบายถึงระบบโมเดลเศรษฐกิจใหม่ BCG ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เกิดการเรียนรู้
ด้วยการลงมือปฏิบัติสามารถสร้างผลติ ภัณฑ์ทีเ่ ป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อมได้ มีส่วนร่วมในการลดการใช้พลังงาน มีความตระหนักในการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และมีพัฒนาการแสดงออกทางความคิดเห็นทางจิตใจ อารมณ์ สังคม สามารถทำงานร่วมกัน
เปน็ กล่มุ คณะได้
ประโยชน์ท่ีไดร้ ับและการเผยแพร่
สามเณรนักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จากระบบการพัฒนาเศรษฐกิจแบบ BCG
Model ด้วยกระบวนการสืบเสาะ สืบค้น สามารถวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง ส่งผลให้สามเณรนักเรียนสนใจในการ อนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม สามารถพัฒนาผลิตภณั ฑท์ ่ีเป็นมติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม และสง่ เสรมิ ให้สามเณรไดเ้ รียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติ
ด้วยตนเองด้านการพัฒนาเศรษฐกิจแบบ BCG Model มีการเผยแพร่กิจกรรมในการทำงานผ่านสื่ออินเทอร์เน็ต เฟซบุ๊ก ของโรงเรียน
สามารถแลกเปลี่ยนความร้รู ่วมกบั เยาวชนจากต่างโรงเรียนในโครงการพลงั เดก็ และเยาวชน สรา้ งสรรค์แบ่งปันความสขุ ของจงั หวัดแพร่ได้
182
ปัจจัยความสำเรจ็
โรงเรียนร้องแหย่งวิทยาคม ได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติส่งบุคลากรที่มีทักษะและ
ความเข้าใจทางด้านวิทยาศาสตร์ให้คำปรกึ ษา ตลอดถึงไดร้ บั การสนับสนุนจากผู้อำนวยการโรงเรียนมสี ว่ นร่วมเอื้อเฟอื้ สถานที่ และมีทีมงาน
ที่มคี ณุ ภาพชว่ ยเหลือในการทำกจิ กรรม สามเณรนกั เรียนให้ความร่วมมอื ในการทำกจิ กรรมใหส้ ำเรจ็ ลุล่วงไปดว้ ยดี
ปัญหาอุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ
การจัดการเรยี นการสอนบางกิจกรรมครูและสามเณรนกั เรียนมีเวลาไม่ตรงกนั จึงทำใหเ้ กดิ ความล่าช้าในการทำงาน ดังน้ันครูต้องใช้
เวลาในการเตรียมงานและวางแผนการทำงานมากขนึ้ เพ่ือให้ผเู้ รียนดำเนนิ กจิ กรรมไปในทศิ ทางทว่ี างแผนไว้
แนวทางการพฒั นาต่อเน่ือง
โครงการ BCG Model เพิ่มคุณภาพชีวิต เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นให้สามเณรนักเรียนในโรงเรียนได้เรียนรู้
ถึงโมเดลเศรษฐกิจใหม่ BCG ได้แก่ เศรษฐกิจชวี ภาพ เศรษฐกจิ หมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว ที่มีส่วนเกีย่ วขอ้ งกับการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ
ส่งเสริมให้สามเณรได้ลงมือปฏิบัติสร้างผลิตภัณฑ์ทางชีวภาพ รักษาคุณภาพดิน เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร นอกจากนี้ยังมีส่วนร่วมใน
การจัดการขยะ ทั้งนี้ ทางผู้รับผิดชอบโครงการมีแนวคดิ ในการพัฒนาเพื่อขยายผลสูช่ มุ ชนใหม้ ีส่วนร่วมในการจัดการขยะ ลดการใช้พลงั งาน
ในการป้องกนั การเกิดก๊าซคาร์บอน ให้เปน็ สังคมคาร์บอนต่ำ มีสว่ นร่วมการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตติ ่อไป
เอกสารอ้างองิ
สำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (๒๕๖๑). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒. สืบค้นจาก
https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=develop_issue.
สำนกั งานพัฒนาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหง่ ชาติ. (๒๕๖๓). BCG Economy Model คืออะไร. สบื ค้นจาก
https://www.nstda.or.th/home/knowledge_post/what-is-bcg-economy-model/.
183
ภาพประกอบ
184
สำนกั การศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร
ดา้ นท่ี ๖ การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม
ช่อื ผลงาน กจิ กรรมเยาวชนลำแขก รู้รกั ษส์ ิ่งแวดล้อม
สถานศกึ ษา โรงเรยี นสุเหร่าลำแขก แขวงลำผักชี กรุงเทพมหานคร
ผู้เสนอผลงาน สำนักการศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร
หมายเลขโทรศัพท์
นางราชิดา หม่นื ระยาภักดี
๐๘ ๖๗๒๒ ๕๙๓๙ E-mail : [email protected]
ความสำคัญของ “ แนวปฏบิ ตั ิทด่ี ี ”
โรงเรียนสุเหร่าลำแขก เป็นโรงเรียนขนาดกลาง ภายในโรงเรียนมีพื้นที่สีเขียวคิดเป็นอัตราส่วน ๑ ต่อ ๔ ของพื้นที่ทั้งหมด
สว่ นชุมชนรอบโรงเรียน มธี รรมชาตเิ ปน็ ท่งุ นาสเี ขยี วเปน็ ส่วนมาก
จากการสังเกตพบว่านักเรียนบางส่วนยังมีพฤติกรรมทำลายสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ทิ้งขยะมูลลงบนพื้น และคนในชุมชนบางส่วน
มีพฤติกรรมในการทำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อาทิเช่น เผาซังข้าว ทิ้งขยะมูลฝอยตามที่ต่าง ๆ และในแม่น้ำลำคลอง
โดยเฉพาะคลองลำแขก ด้วยเหตุนี้โรงเรียนสุเหร่าลำแขกตระหนักถึงความสำคัญของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
จึงจัดกิจกรรมเยาวชนลำแขก รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม มุ่งมั่นที่จะเสริมสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้กับ
นกั เรียนทกุ คน และตระหนักถงึ การมสี ่วนรว่ มในกระบวนการอนรุ ักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชนต่อไป
วัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมายของการดำเนินงาน
วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพื่อปลกู ฝังให้นกั เรียนมีจติ สาธารณะ และมีจิตสำนกึ ในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ มใหย้ ั่งยืน
๒. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และถ่ายทอดองค์ความรู้การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมให้แก่
เยาวชน และประชาชน ในชมุ ชนแผ่นดนิ ทองดารลุ้ นาซีฮะห์ (ชุมชนลำแขก)
๓. เพื่อให้คณะครูและบุคลากรในโรงเรียน และชุมชนตระหนักถึงความสำคัญ ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดลอ้ มในโรงเรียนและชมุ ชน
185
เปา้ หมาย
เชงิ ปริมาณ
๑. นักเรียนระดับช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ถงึ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๓ จำนวน ๔๖๗ คน
๒. คณะครูและบุคลากรในโรงเรยี น และประชาชนในชุมชนลำแขกรอบ ๆ บริเวณโรงเรียน จำนวน ๓๕๐ คน
เชิงคณุ ภาพ
๑. นักเรียนมีจิตสาธารณะ และมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ถ่ายทอดองค์ความรู้
ดา้ นการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ้ มให้แกเ่ ยาวชนและประชาชนในชุมชน
๒. คณะครู บุคลากรในโรงเรียน และประชาชนในชุมชนตระหนักถึงความสำคัญในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอ้ ม
กระบวนการดำเนินงาน
186
ผลการดำเนินงาน
๑. นักเรียนโรงเรียนสุเหร่าลำแขก มีจิตสาธารณะ และมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและ
ชุมชนให้ยั่งยืน และนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้วิธีปฏิบัติ
ด้านการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้กับชมุ ชน หน่วยงานภาครฐั และเอกชนทเี่ ขา้ มาศกึ ษาดูงาน
๒. ชุมชนแผ่นดินทองดารุ้ลนาซีฮะห์ แขวงลำผักชี เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร มีเครือข่ายความร่วมมือในการอนุรักษ์ทรัพยากร
ธรรมชาติ และสง่ิ แวดล้อมในชมุ ชนทมี่ คี วามเขม้ แขง็ และยงั่ ยนื
ประโยชน์ทไี่ ด้รับและการเผยแพร่
ดา้ นนกั เรยี น
๑. นกั เรียนรู้และเขา้ ใจการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ มสี ่วนร่วม และมจี ิตสำนกึ ในการบริหารจดั การขยะและส่งิ แวดลอ้ ม
ในโรงเรยี น
๒. นกั เรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจ ตระหนักในความสำคญั ของการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมในโรงเรียน
ดา้ นครู และบคุ ลากร
ครแู ละบคุ ลากรมีการทำงานเปน็ ทมี เกิดความสามัคคี และสามารถดำเนนิ งาน ตามรปู แบบ PDCA และเผยแพรส่ สู่ าธารณชนได้
ด้านโรงเรียน
๑. โรงเรยี นเป็นแหล่งเรียนร้ใู หก้ ับชุมชน หรือบุคคลภายนอกทเี่ ขา้ มาศึกษาดูงาน
๒. โรงเรยี นได้รับการสนบั สนนุ จากชุมชน หนว่ ยงานและองคก์ รตา่ ง ๆ ทำใหเ้ กิดความร่วมมือในการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อม
ดา้ นชมุ ชน
ผู้ปกครอง และชุมชนมีองค์ความรู้และวิธีปฏิบัติในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ทำให้ต้นไม้ แหล่งน้ำคลองลำแขก
ไดร้ บั การดแู ลใหส้ ะอาดปราศจากขยะและสงิ่ ปฏกิ ลู
ปจั จยั ความสำเร็จ
๑. ผ้บู รหิ ารให้การสนบั สนุนการดำเนนิ งานอยา่ งเต็มที่ และประสานความรว่ มมอื ระหวา่ งโรงเรยี นและสว่ นราชการ ทัง้ ในและนอก
พื้นที่
187
๒. ครูและบุคลากรในโรงเรียนให้ความร่วมมือในการดำเนินงานทั้งด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ และการจัดกิจกรรมต่าง ๆ
ทเ่ี กี่ยวข้องกับการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม
๓. นักเรียนให้ความร่วมมือในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เกี่ยวกับการบริหารจัดการขย ะและสิ่งแวดล้อม
ในโรงเรียน และชุมชน ให้สะอาดรม่ รนื่ นา่ อยู่
๔. ชุมชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติด้วยการไม่ตัดไม้ยืนต้นในบริเวณชุมชน ร่วมกันปลูกต้นไม้ และดูแลรักษา
แหลง่ น้ำในชมุ ชน ตลอดจนหนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน ให้ความรว่ มมอื สง่ เสรมิ และสนับสนนุ
ปญั หาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปญั หาอุปสรรค
ยงั มนี กั เรยี นบางคนท้งิ ขยะใบบริเวณตา่ ง ๆ ของโรงเรียน และคนในชมุ ชนใกล้คลองลำแขกบางส่วนไม่ให้ความร่วมมือในการอนุรักษ์
ทรัพยากรและสิง่ แวดลอ้ มเท่าทคี่ วร มีการทิ้งขยะมูลฝอยลงบนถนนและคลองลำแขก
ข้อเสนอแนะ
ควรให้ความรู้กับนักเรียนและชุมชนเกี่ยวกับความสำคัญของปัญหาขยะมูลฝอย โทษของการเกิดมลพิษทางน้ำ และทางอากาศ
และปลุกจติ สำนึกใหร้ ู้รักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมอย่างต่อเน่ือง
แนวทางการพฒั นาต่อเนื่อง
ปลูกฝังให้นักเรียนทุกระดับชั้นให้มีส่วนร่วม และมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน รวมท้ัง
ประชาสัมพันธเ์ ชิญชวนผปู้ กครองและชมุ ชนให้เห็นความสำคัญของการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อมอย่างยงั่ ยืน
เอกสารอา้ งองิ
สำนักงานโครงการสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สำนกั พระราชวงั สวนจติ รลดา. (๒๕๖๐). แผนพฒั นาเดก็ และเยาวชน
ในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๙
(พิมพค์ รง้ั ที่ ๑). กรงุ เทพฯ : แอคทฟี พรน้ิ ท์.
188
ภาพประกอบ
189
กรมการปกครองส่วนทอ้ งถิ่น
ดา้ นท่ี ๖ การอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม
ชือ่ ผลงาน หม่ ดนิ ใหเ้ ปน็ ดาว
สถานศึกษา โรงเรยี นต้ารวจตระเวนชายแดนบ้านถา้ เสอื อ้าเภอแม่สอด จงั หวดั ตาก
สังกดั องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น
ผูเ้ สนอผลงาน นายอทุ ัย แก้วมาลยั และนางสาวอัญชิสา ทองทาสี
หมายเลขโทรศพั ท์
๐๘ ๕๖๐๖ ๒๖๑๙ E-mail : [email protected]
ความสา้ คญั ของ “ แนวปฏบิ ตั ทิ ดี่ ี ”
โรงเรียนตำ้ รวจตระเวนชำยแดนบำ้ นถำ้ เสอื ตงั อย่พู นื ทสี่ ูง มีธรรมชำตทิ ีอ่ ุดมสมบูรณ์ ฝนตกตำมฤดกู ำล ท้ำใหม้ คี วำมหลำกหลำยทำง
ชีวภำพ มีภูเขำ แม่น้ำ สัตว์ป่ำ และแมลงหลำกหลำยสำยพันธ์ุ ทังท่ีเป็นประโยชน์ต่อธรรมชำติ และเป็นศัตรูต่อธรรมชำติ แต่กำรด้ำรงชีวิต
ของคนในชมุ ชน ยงั ด้ำรงชีวติ ในรูปแบบเดิม มีกำรตัดไมท้ ำ้ ลำยป่ำ เพ่ือใชส้ ร้ำงบำ้ น เผำถ่ำน และเพ่ือทำ้ กำรเกษตร โดยเฉพำะกำรท้ำไร่ข้ำว
ของคนในชุมชน ท้ำให้เกิดมลพิษทำงอำกำศในช่วงฤดูแล้ง ก่อให้เกิดภำวะหมอกและควันซึ่งเกิดขึนเป็นประจ้ำทุกปี และอำจจะเพิ่มขึนทุก ๆ ปี
สร้ำงควำมเสียหำยให้กับภำครัฐ และเป็นปัญหำด้ำนสุขภำพของประชำชนอย่ำงหลีกเล่ียงไม่ได้ และเป็นปัญหำภำวะโลกร้อนในอนำค
ตอซังข้ำว ฟำงข้ำว จำกกำรท้ำไร่ข้ำว และนำข้ำวแต่ละปีจะถูกเผำเป็นปริมำณมำกกว่ำ ๑ ตัน ซ่ึงจะเกิดก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ ถึง ๘๐ กิโลกรัม
ฝุ่น ๑๘ กิโลกรมั
โรงเรียนตำ้ รวจตระเวนชำยแดนบ้ำนถ้ำเสือ ไดเ้ ล็งเหน็ ควำมสำ้ คัญของกำรอนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละส่ิงแวดล้อม ในกำรปลกู จิตส้ำนึก
ของนักเรียน คณะครู คนในชุมชนและพืนท่ีใกล้เคียงให้มีควำมปลอดภัยต่อมนุษย์และสัตว์ จึงได้น้ำตอซังข้ำว หรือฟำงข้ำวที่ไม่ได้ใช้
ในกำรเกษตร นำ้ ไปใช้เปน็ วัสดคุ ลุมดนิ ใหก้ ับพืช และกำรปลกู ผักสวนครัวหรือน้ำมำสุมไวบ้ ริเวณโคนต้นไม้ให้เป็นป๋ยุ ทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ ต้นไม้
ต่อไป
วัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมายของการดาเนินงาน
วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพ่ือให้ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ และปลูกจิตส้ำนึก กำรอนุรักษ์ทรัพยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดล้อมให้กับ คณะครู นักเรียน และคน
ในชุมชน 190