วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายของการดำเนินงาน
วัตถปุ ระสงค์
เพ่ือให้นกั เรยี นสามารถสานตะกร้า กระเปา๋ จัดทำดอกไม้ โมบายและพวงกุญแจในรปู แบบตา่ ง ๆ ไดห้ ลากหลาย
เปา้ หมาย
เชงิ ปรมิ าณ
๑. นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๔-๖ จำนวน ๓๗ คนมที ักษะในการสานผลติ ภัณฑต์ า่ ง ๆ จากเส้นพลาสติก
๒. ได้ผลติ ภัณฑ์ ท่ีสามารถนำมาจำหนา่ ยสร้างรายได้ให้กบั นักเรียน สัปดาหล์ ะ ๑ คร้งั
เชิงคุณภาพ
๑. ผลติ ภัณฑจ์ ากเสน้ พลาสตกิ ทหี่ ลากหลาย สวยงาม ทนทานต่อการใชง้ าน
๒. นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียนและผ้ปู กครองสามารถสร้างรายไดเ้ พิม่ ขน้ึ
กระบวนการดำเนนิ งาน
๑. ครูประชุม วางแผนการเรียนการสอนโดยบูรณาการกับกลุ่มสาระวิชาการงานอาชีพโดยเริ่มตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
ถึงชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖
๒. ครูประชุมและนักเรียนในแต่ละชั้นเรียนวางแผน พูดคุยสภาพปัญหาและความสนใจ ความต้องการของแต่ละในชั้นเรียน
๓. ครูและนักเรียนดำเนินการหาสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ยูทูป จากเอกสารและการสัมภาษณ์ สอบถามกับผู้ชำน าญการ
ในชุมชนของตนเองแลว้ รวบรวมข้อมูลการทำผลิตภณั ฑใ์ นรปู แบบตา่ งๆจากเสน้ พลาสติก
๔. นักเรียนแต่ละชั้นเรียนนำข้อมูลที่ได้จากการศึกษา ตามรูปแบบต่าง ๆ มาดำเนินการทำผลิตภัณฑ์ต่างๆจากเส้นพลาสติก
โดยมคี ุณครูคอ่ ยสอนและแนะนำเทคนคิ ในการทำแตล่ ะแบบ
๕.นักเรียนนำ ตะกร้า กระเป๋า ช่อดอกไม้ โมบาย พวงกุญแจ ผลิตภัณฑ์จากเส้นพลาสติกออกจำหน่ายโดยการหาราคาต้นทุนกับ
ราคาขายไปคิดกำไรขาดทนุ
๖. สรปุ ผลการดำเนินกิจกรรม นำผลงานปรบั ปรงุ พัฒนา และรายงานผลการดำเนนิ งาน
91
ผลการดำเนินงาน
ผลการดำเนนิ งานเปน็ ไปตามวัตถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายของการดำเนนิ การ ดังนี้
๑. นักเรียนสามารถสานตะกรา้ กระเป๋า จัดทำดอกไม้ โมบายและพวงกุญแจ รูปแบบต่างๆได้
๒. นักเรยี นรู้จักการทำงานเป็นกลมุ่
๓. นกั เรยี นได้รบั การพัฒนาใหเ้ กดิ กระบวนการคดิ เป็น ทำเป็น แกป้ ัญหาเปน็
๔. นักเรียนมองเห็นชอ่ งทางการประกอบอาชีพและมรี ายได้ระหวา่ งเรียน
๕. นักเรียนไดป้ ระสบการณ์ในการทำงานและมีพื้นฐานในการเตรยี มตวั สู่อาชีพในอนาคตได้
ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับและการเผยแพร่
ประโยชน์ท่ีไดร้ ับ
๑. นักเรยี นมีความรแู้ ละทกั ษะในการสานผลิตภณั ฑต์ า่ ง ๆ จากเสน้ พลาสตกิ
๒. นกั เรียนไดร้ ับการพัฒนาใหเ้ กิดกระบวนการคดิ เป็น ทำเปน็ แกป้ ัญหาเปน็
๓. นักเรยี นมองเหน็ ชอ่ งทางการประกอบอาชีพและมรี ายได้ระหว่างเรยี น
การเผยแพร่
๑. นำผลิตภัณฑไ์ วต้ ้อนรับคณะครทู ี่มาศึกษาดูงาน หรอื มาเย่ียมโรงเรยี น
๒. นำไปขายตามสถานที่จัดงานต่าง ๆ เช่น งานประจำอำเภอ งานประเพณีในหมบู่ า้ น และช่องทางออนไลน์
๓. มอบเปน็ ของท่รี ะลึกในวนั เกษียณ งานปจั ฉิมนิเทศตามโรงเรยี นต่าง ๆ ในอำเภอและเป็นวิทยากรใหก้ ับหนว่ ยงานราชการและผูท้ สี่ นใจ
ปัจจยั ความสำเร็จ
๑. โรงเรียนมบี คุ ลากรที่มีความรู้ทกั ษะในการสานผลิตภณั ฑจ์ ากเสน้ พลาสติก
๒. โรงเรยี นมตี ารางการจดั การเรยี นการสอน ๑ ชม./สปั ดาห์
๓. รอ้ ยละของนักเรียนท่ีเขา้ ร่วมกจิ กรรมมีทกั ษะในการทำงานและสามารถนำไปประกอบอาชพี ในอนาคต
92
ปัญหาอปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะ
ปญั หาอุปสรรค
ยังขาดตลาดทจ่ี ะจำหนา่ ยผลิตภัณฑข์ องนกั เรยี น
ข้อเสนอแนะ
หารา้ นคา้ หรอื หนว่ ยงานที่รองรบั ผลติ ภณั ฑข์ องนักเรียนเปน็ เจ้าประจำ
แนวทางการพัฒนาตอ่ เนื่อง
๑. เพ่มิ ลวดลายท่ีสวยงาม
๒. เพ่มิ รูปแบบผลติ ภัณฑ์ให้มีความแปลกใหมเ่ สมอและจัดหาสถานที่ในการจำหนา่ ยผลติ ภณั ฑ์
เอกสารอา้ งอิง
อรวรรณนานา. (๒๕๖๓). วธิ สี านกระเป๋าจากเสน้ พลาสตกิ . สืบคน้ จาก https://www.youtube.com/watch?v=8pYh2EvP3ts.
Orawannana. (๒๕๖๔). กระเป๋าสานเส้นพลาสติก. สืบค้นจาก https://web.facebook.com/Orawannana-
249241549039782/.๒. ช่องทาง Facebook ช่อง Orawannana
ภาพประกอบ
93
ดานท่ี ๔
ดานการอนุรกั ษ
วฒั นธรรมทอ งถิ่น
“...¾Ù´¶Ö§àÃÍ×è §Ç²Ñ ¹¸ÃÃÁ¹éѹ 㹡ŋÁØ ¹Ñ¡àÃÂÕ ¹àÃÒ¹Õé
¶×ÍÇÒ‹ ໹š ¼ÙŒ·ÊèÕ ×º·Í´ªÕÇµÔ ÁÒ¨Ò¡ËÅÒ¡ËÅÒÂÇ²Ñ ¹¸ÃÃÁ
¡Ò÷Õäè ´ÃŒ ¡Ñ ÉÒ ÇѲ¹¸ÃÃÁ¢Í§ªØÁª¹äÇŒ¹¹Ñé
໹š ¡ÒÃáÊ´§àÍ¡ÅѡɳËÃÍ× ÍµÑ Åѡɳ¢Í§µ¹àͧ
«è§Ö ໚¹¡ÒÃÊÃÒŒ §¤ÇÒÁÁÑè¹ã¨·è¨Õ Ðà¨ÃÔÞ ÃØ‹§àÃÍ× §¢é¹Ö Áҵ͋ ä´.Œ ..”
¾ÃÐÃÒª´ÓÃÑÊ Çѹ¾ÄËÊÑ º´·Õ èÕ ñù àÁÉÒ¹ ¾·Ø ¸ÈÑ¡ÃÒª òõõõ
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
ดา้ นที่ ๔ การอนุรักษว์ ฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน
ชอ่ื ผลงาน การอนุรกั ษ์วัฒนธรรมท้องถ่ิน “โนรา (NORA)”
สถานศึกษา โรงเรียนบา้ นครี รี าษฎร์รังสฤษดิ์ สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต ๑
ผู้เสนอผลงาน นางสาวรัตนา การยั ภมู ิ
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘ ๔๙๖๔ ๕๔๒๙ E-mail : [email protected]
ความสำคญั ของ “ แนวปฏบิ ตั ทิ ด่ี ี ”
สืบเนื่องจากปัจจุบันเยาวชนคนรุ่นใหม่เริ่มไม่เห็นถึงคุณค่าและความสำคัญของการรำโนรา ทำให้การแสดงโนราได้ห่างหายไป
จากท้องถิ่น โรงเรียนบ้านคีรีราษฎร์รังสฤษดิ์เป็นโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่พหุวัฒนธรรมที่แตกต่างจากท้องถิ่นอื่น จึงทำให้การแสดงโน รา
ของโรงเรียนมีความหลากหลายและมีการประยุกต์ท่ารำให้เข้ากับบรบิ ทตามท้องถ่ินและกจิ กรรมนนั้ ๆ กจิ กรรมแสดงโนราได้บรรจุเข้าไปอยู่
ในโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษารายวิชาเพิ่มเติม เพื่อให้นักเรียนทุกคนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถ่ิน
การแสดงโนรา ปลกู ฝังความศรทั ธาใหน้ กั เรียนมีความภาคภูมิใจในการอนุรักษศ์ ลิ ปวัฒนธรรมพ้นื บ้านการแสดงโนรา และให้นกั เรียนสามารถ
สบื สานศลิ ปวัฒนธรรมการแสดงโนราได้อย่างภาคภมู ใิ จ
วตั ถปุ ระสงค์และเป้าหมายของการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนร้ใู หน้ ักเรียนและเยาวชน มีความรู้ ความเขา้ ใจ และเหน็ ถงึ คุณค่าของวฒั นธรรมและภูมิปัญญา
การแสดงโนรา
๒. เพ่อื ปลูกฝังความศรัทธาให้นกั เรยี นและเยาวชน มคี วามภาคภูมใิ จ ในการอนรุ ักษ์ศิลปวฒั นธรรมพ้นื บ้านการแสดงโนรา
๓. เพอื่ ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ใหน้ ักเรียนและเยาวชน ไดส้ ืบสานและเผยแพร่ศลิ ปวฒั นธรรมการแสดงโนรา
เปา้ หมาย
เชิงปรมิ าณ
นกั เรียนอนุบาล ๒ – ประถมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๙๘ คน มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในการแสดงโนรา
96
เชิงคณุ ภาพ
นักเรยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจ และเห็นคุณคา่ ของวัฒนธรรมการแสดงโนรา มคี วามศรทั ธาและมคี วามภาคภูมิใจในการอนรุ ักษ์
วฒั นธรรมการแสดงโนราและสามารถสืบสาน เผยแพร่วัฒนธรรมการแสดงโนราได้
กระบวนการดำเนินงาน
ขนั้ ตอนการดำเนินงาน ของ NORAS MODEL ไดด้ ำเนนิ การดังนี้
๑. N (Needs) ความตอ้ งการ ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชนและโรงเรยี น
๒. O (Opportunity) เปดิ โอกาสและสร้างโอกาสใหผ้ ู้เรยี นเรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและนำไปปฏิบัติจริง จดั กจิ กรรมให้ผู้เรียน
ไดฝ้ กึ ทักษะแสดงออก กล้านำเสนอผลงาน สรา้ งโอกาสใหน้ ักเรียนที่มีความถนัดและสนใจฝกึ ฝนให้เกดิ ทักษะท่ีชำนาญและสวยงาม
๓. R (Responsibility) รบั ผิดชอบร่วมกัน ร่วมกันฝึก ร่วมกันแลกเปลยี่ นและเรียนรรู้ ว่ มกันระหวา่ งภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ครูผสู้ อนและ
นักเรียน
๔. A (Attitude) ทศั นคติ ปลูกฝังทัศนคติให้นักเรียนมีความภาคภูมใิ จ ในการอนุรักษศ์ ิลปวฒั นธรรมพน้ื บ้านการแสดงโนรา
๕.S (Skills) ทักษะความชำนาญ ชุมชนให้ความสำคัญในการร่วมกันอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมการแสดงมโนรา หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ใหก้ ารสนบั สนนุ จนเปน็ ท่ีรู้จกั และได้การยอมรับจากบคุ คลทัว่ ไปมากยิ่งข้นึ
97
ผลการดำเนนิ งาน
๑. นักเรียนและเยาวชน มีความรู้ เหน็ คณุ ค่าของวัฒนธรรมและภูมิปญั ญาการแสดงโนรา
๒. นกั เรยี นและเยาวชน มคี วามภาคภูมิใจ ในการอนุรักษศ์ ิลปวฒั นธรรมพืน้ บา้ นการแสดงโนรา
๓. นักเรียนและเยาวชน ได้สืบสานและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมการแสดงโนรา
ผลทเ่ี กดิ กบั ชมุ ชุน
๑. ชมุ ชน หนว่ ยงานและองค์กรอื่น ๆ มีสว่ นรว่ มในการอนุรกั ษ์วัฒนธรรมการแสดงโนรา
๒. ชมุ ชนร่วมมือกับโรงเรยี นจัดตั้งชมรม To Be Number one
ประโยชน์ท่ไี ดร้ ับและการเผยแพร่
นักเรยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และเหน็ คุณค่าของวัฒนธรรมการแสดงโนรามากย่ิงข้ึนและสามารถนำความรู้ท่ีได้รบั ไปพัฒนางานการแสดง
ใหด้ ีขนึ้ และแนวทางการเผยแพร่ประชาสมั พันธ์ทางโรงเรยี นได้จัดทำชอ่ ง YouTube, TikTok และ Facebook ในชอ่ื โรงเรีนบา้ นคีรรี าษฎรร์ ังสฤษดิ์
YouTube Facebook TikTok การแสดงโนรา
98
ปัจจัยความสำเร็จ
การแสดงโนราได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ผู้บริหาร ครู บุคลากร ชุมชน หน่วยงานวัฒนธรรมจังหวัดนราธิวาส
ชมรมโนรานราธิวาส และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาสเขต ๑ ที่เล็งเห็นความสำคัญในการแสดงโนรา จึงได้ร่วมมือกันคิด วางแผน
จัดกิจกรรมการแสดงโนรา และจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE ขึ้น และส่งเสริม สนับสนุนในทุก ๆ ด้าน จึงทำให้ประสบผลสำเร็จ
ตามวตั ถุประสงค์
ปัญหาอุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ
ปัญหา อปุ สรรค
โรงเรียนขาดครภู มู ปิ ัญญาท่มี ีความเช่ยี วชาญในด้านการแสดงโนรา
ข้อเสนอแนะ
โรงเรียนควรจัดหาครูภูมปิ ัญญาท่ีมคี วามเช่ยี วชาญในดา้ นการแสดงโนรา
แนวทางการพฒั นาต่อเน่ือง
๑. โรงเรียนบ้านคีรีราษฎร์รังสฤษดิ์ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของมหาวิทยาลัยทักษิณ สงขลาในการฝึกอบรมการแสดงโนรา และการบรรเลง
ดนตรีโนรา ทุกครัง้ ท่ีไดจ้ ดั ฝกึ อบรม โดยตรงจากผชู้ ่วยศาสตราจารย์ธรรมนติ ย์ นิคมรัตน์
๒. ดำเนินการฝึกนกั เรียนทีเ่ ข้าใหมเ่ พิ่มขึ้น เพ่อื ทดแทนนักเรยี นรนุ่ เก่าทีจ่ บการศึกษา
๓. ฝึกประยุกตท์ ่ารำ เปน็ โนราบิก โนราแดนซ์ ส่งเสรมิ การออกกำลังการแก่ชุมชน และนกั เรยี นในโรงเรียน
๔. ฝึกการสอนการเลน่ ดนตรีประกอบท่ารำแสดงโนราแกน่ ักเรยี นที่สนใจ
๕. ฝึกการรำนายพราน เพื่อเพมิ่ อรรถรสในการรับชม
99
เอกสารอ้างอิง
สำนกั งานโครงการสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี สำนกั พระราชวัง สวนจิตรลดา. (๒๕๖๐). แผนพัฒนาเดก็ และเยาวชน
ในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๙
(พิมพค์ รั้งที่ ๑). กรุงเทพฯ : แอคทฟี พรน้ิ ท์.
ภาพประกอบ
100
กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน
ดา้ นท่ี ๔ การอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ
ช่อื ผลงาน รอ้ ยรกั ษ์งานแกะสลกั สู่วฒั นธรรมท่สี บื สาน
สถานศึกษา โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบา้ นนายาว ตำบลทา่ กระดาน อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา
ผู้เสนอผลงาน ดาบตำรวจหญิงวนนั ยา เฮ้าวนั
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘ ๑๘๓๕ ๕๙๑๗ E-mail : [email protected]
ความสำคญั ของ “ แนวปฏบิ ตั ิทดี่ ี ”
ชุมชนบ้านนายาวส่วนใหญ่ ย้ายถิ่นฐานมาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จึงทำให้มีความหลากหลายทางตัวบุคคล วัฒนธรรมและ
ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ิน ปจั จุบนั การจดั การเรียนการสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ท่ีมงุ่ เน้นพัฒนานักเรียน
ให้มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทย จากความก้าวทันเทคโนโลยีใหม่ ๆ และความจำเป็น
ในการประกอบอาชีพ สร้างรายได้ให้กับครอบครัว เป็นปัจจัยที่ส่งผลให้วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น เกี่ยวกับงานแกะสลักผักผลไม้
งานใบตอง ไดร้ ับความสนใจจากเยาวชนลดลง
โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านนายาว จึงได้จัดทำสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ด้านแกะสลักผักผลไม้
และได้พัฒนาต่อยอดชิ้นงานเป็นการแกะสลักสบู่ เพื่อสร้างมูลค่าของชิ้นงานเพิ่มขึ้น จัดทำเป็นของที่ระลึก ของชำร่วย ในงานพิธีต่าง ๆ โดยนำเอา
ทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาสร้างชิ้นงานเพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทักษะความสามารถด้านการแกะสลัก เกิดความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่าของ
วัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถ่ิน เผยแพร่สืบทอด ความรู้ไปสเู่ ยาวชนรนุ่ หลงั
วัตถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายของการดำเนนิ งาน
วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพื่อใหน้ ักเรยี น มคี วามรู้ และมที กั ษะการแกะสลัก เพอื่ เป็นของท่ีระลึก ของชำรว่ ย สามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวัน พิธีกรรม
ต่าง ๆ ได้
๒. เพอ่ื ใหน้ ักเรียน รกั และหวงแหน อนุรักษ์และภาคภูมใิ จในวฒั นธรรมภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ของตนเอง
101
เปา้ หมาย
เชิงปริมาณ
๑. นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ถงึ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖ จำนวน ๔๗๗ คน มคี วามรู้ ดา้ นวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิน่ ของชุมชนตนเอง
๒. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑๗๘ คน มีความสามารถในการแกะสลักผักผลไม้ แกะสลักสบู่
เพ่อื เปน็ ของท่ีระลึก ของชำรว่ ย สามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจำวัน พิธีกรรมตา่ ง ๆ
๓. นักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๔ ถึง ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ร้อยละ ๘๕ มคี ะแนนเฉล่ยี รายวชิ าการงานอาชีพสงู ขน้ึ
เชิงคุณภาพ
๑. นักเรียนรักและหวงแหน อนรุ กั ษแ์ ละภาคภูมิใจในวัฒนธรรมภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ของชุมชนตนเอง
๒. นกั เรยี นสามารถเผยแพร่ผลงานดา้ นวฒั นธรรมภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น สร้างเป็นอาชพี สรา้ งรายได้ ให้กบั ตนเองและครอบครัว
กระบวนการดำเนินงาน
102
ผลการดำเนนิ งาน
ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับและการเผยแพร่
ประโยชน์ที่ได้รบั
๑. โรงเรยี นมีสาระการเรียนรู้ทอ้ งถนิ่ เร่อื งการแกะสลักผักผลไม้ และการแกะสลักสบู่
๒. นักเรียน รักและหวงแหน อนุรักษ์วัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นการแกะสลัก ศิษย์เก่าได้สืบสาน สืบทอดนำไปประกอบเป็นอาชีพ
สรา้ งรายได้ให้กบั ตนเองและครอบครวั
๓. ปราชญ์ชาวบา้ น ชมุ ชนเหน็ ความสำคัญของการสืบสานวฒั นธรรมภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ ของชุมชนให้คงอยู่
103
การเผยแพร่
๑. โรงเรียนนำนักเรียนเข้าแข่งขนั ทักษะวชิ าการระดับเขตคุณภาพการศึกษา (สนามชยั เขต) และระดับกองกำกับการตำรวจตระเวน
ชายแดนท่ี ๑๒ ได้รบั รางวัลเหรียญทอง
๒. เผยแพร่ จัดนิทรรศการด้านวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น ผ่านวารสารโรงเรียน และ Social Media ได้แก่ website , Facebook ,
Line
๓. นำนักเรียนเสนอผลงานคณะศึกษาดูงานจากต่างประเทศ เข้าเยี่ยมชมการดำเนินโครงการตามพระราชดำริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี (ตามคำทูลเชิญ) ด้านการแกะสลักผักและผลไม้ งานใบตอง ดังนี้ ประเทศสาธารณรัฐ
อินโดนีเซีย (๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๕) ,ประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ( ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๖) ,สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์เลสเต
(๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗) ,ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน (๔ มีนาคม ๒๕๕๘) , สหภาพเมียนมาร์ (๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘) และประเทศญี่ปุ่น
(๘ มถิ นุ ายน ๒๕๕๙)
ปจั จยั ความสำเร็จ
๑. ผูบ้ รหิ ารระดบั สงู ผบู้ รหิ ารโรงเรยี น ครผู รู้ ับผดิ ชอบด้านการแกะสลกั ใหก้ ารสนับสนนุ สง่ เสรมิ การดำเนนิ โครงการอยา่ งเตม็ ที่
๒. ปราชญช์ าวบา้ น ชมุ ชนเหน็ ความสำคญั ของการสบื สานวัฒนธรรมภมู ิปญั ญาท้องถ่ินใหค้ งอยู่
๓. นกั เรยี นรักหวงแหน อนุรักษว์ ัฒนธรรมภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ด้านการแกะสลัก
ปญั หาอปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะ
๑. การแกะสลกั ผักผลไม้ มคี วามสวยงาม ประณตี แต่มรี ะยะเวลาการเกบ็ ผลงานทีจ่ ำกดั
๒. ความสนใจในงานแกะสลักลดลง เพื่อความยั่งยืน ควรส่งเสริมให้ศิษย์เก่าได้มาแนะนำการสร้างอาชีพ สร้างรายได้ ก่อให้เกิด
แรงจูงใจต่อนกั เรียน
104
แนวทางการพฒั นาตอ่ เน่ือง
๑. โรงเรยี นมงุ่ เน้นให้นักเรยี นสรา้ งสรรค์การแกะสลกั ต้นเทียน เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการใช้วัสดแุ กะสลักท่หี ลากหลาย
๒. ม่งุ เนน้ ใหน้ ักเรียนต่อยอดสรา้ งเปน็ อาชพี สร้างรายได้ ให้กบั ตนเองและครอบครัว
เอกสารอา้ งอิง
สำนกั งานโครงการสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี สำนักพระราชวงั สวนจติ รลดา. (๒๕๖๐). แผนพฒั นาเด็กและเยาวชน
ในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๙
(พิมพ์ครัง้ ท่ี ๑). กรุงเทพฯ : แอคทฟี พริน้ ท.์
ภาพประกอบ
105
สำนกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ดา้ นท่ี ๔ การอนุรกั ษ์วฒั นธรรมท้องถ่ิน
ชอื่ ผลงาน แหล่งเรยี นร้วู ฒั นธรรม “บ้านแหง่ ภูมิปญั ญาท้องถิน่ ”
สถานศกึ ษา ศูนยก์ ารเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟา้ หลวง” บ้านกองสุม
ผู้เสนอผลงาน ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอแมส่ ะเรยี ง จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน
หมายเลขโทรศัพท์
คนที่ ๑ นางเกพย์วีร่ ิณท์ มณีโชติ คนท่ี ๒ นางสนุ ยี ์ ศรีวิชัย คนที่ ๓ นายวีระชัย พายหุ มุนวน
๐๘ ๕๒๑๘ ๖๒๑๗ E-mail : [email protected]
ความสำคัญของ “ แนวปฏิบัตทิ ดี่ ี ”
จากความเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม เศรษฐกิจ ความเจริญก้าวหน้าในด้านต่าง ๆ ส่งผลให้ความสำคัญของวัฒนธรรมภูมิปัญญา
ท้องถิ่นและองค์ความรู้ต่าง ๆ เริ่มลดลง ภูมิปัญญาท้องถิ่นบางอย่างเริ่มเลือนหายไป เมื่อมีสิ่งอำนวยความสะดวกเข้ามาทดแทน ความนิยม
ต่อการใช้เคร่ืองมือเครื่องใช้ อุปกรณต์ า่ ง ๆ จากฝีมอื ภูมปิ ัญญาท้องถ่ินเร่ิมลดลง เมอื่ เทยี บกับราคา ความทนทาน และระยะเวลาในการผลิต
นอกจากนี้ ยังมีสมนุ ไพรต่าง ๆ ที่คนรุ่นใหม่ไมร่ จู้ ัก เนอื่ งจากหนั มาใช้ยาแผนปจั จุบัน นิทานชนเผ่า คำสอนของบรรพบรุ ุษ องคค์ วามรู้ต่าง ๆ
ท่นี บั วนั จะเลอื นหาย หรือบางอย่างแทบจะไม่เปน็ ท่ีร้จู ักในปัจจบุ ัน
วัตถุประสงคแ์ ละเปา้ หมายของการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ การอนุรักษ์ และสร้างความตระหนักในคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่นให้กับนักศึกษา เยาวชน และคนในชุมชน
บ้านกองสมุ
๒. เพ่ือให้ ศศช. เปน็ แหลง่ เรยี นรูด้ า้ นวัฒนธรรมภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ ให้กับชนรนุ่ หลงั และบคุ คลทสี่ นใจ
เปา้ หมาย
เชิงปริมาณ
นกั ศึกษา เยาวชน และคนในชมุ ชน จำนวน ๕๐ คน ได้ศึกษา เรยี นรกู้ จิ กรรมต่าง ๆ ในแหล่งเรียนรวู้ ัฒนธรรม “บ้านแห่งภูมิปัญญา
ทอ้ งถิ่น” 106
เชิงคณุ ภาพ
นกั ศกึ ษา เยาวชน และคนในชมุ ชน มีความรู้เก่ยี วกับวัฒนธรรมภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ เหน็ ความสำคัญ ตระหนักในคุณค่า รว่ มสบื สาน
อนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ เกิดความภาคภูมิใจในวิถชี วี ติ ของตนเอง และ ศศช. ม“ี บา้ นแห่งภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น”เป็นแหลง่ เรยี นรู้
ที่สำคัญของชมุ ชน
กระบวนการดำเนนิ งาน
107
ผลการดำเนนิ งาน
๑. มีแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรม “บ้านแห่งภูมิปัญญาท้องถิ่น” ซึ่งได้รวบรวมเอาวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นทุกด้านมารวมไว้
ใหน้ กั ศึกษาและผูท้ ่ีสนใจไดศ้ ึกษาเรียนรู้ ทำให้ “บา้ นแห่งภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ิน” มีความน่าสนใจ น่าเรียนรู้ ดว้ ยสอ่ื ประกอบทห่ี ลากหลาย บุคคล
ภมู ิปัญญาสามารถถ่ายทอดเรอื่ งราวไดช้ ัดเจน
๒. บคุ คลภมู ปิ ญั ญามคี วามภาคภูมิใจที่ได้ถ่ายทอดความรู้แกน่ ักศึกษาและเยาวชน
๓. นักศึกษา เยาวชน และคนในชุมชน ตระหนักในคุณค่าของวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้วยการสวมใส่ผ้าทอในงานศาสนพิธี
งานประเพณี กจิ กรรมพบกลุม่ กิจกรรม กศน. ประชุมประจำเดือน เป็นต้น
๔. นักศึกษาไดน้ ำผลงาน/ช้ินงาน จดั แสดงไว้ในบ้านแห่งภูมิปัญญาท้องถ่ิน ทำใหน้ ักศึกษาเกิดความภาคภูมิใจและตระหนักในคุณค่า
ของวฒั นธรรมภมู ิปญั ญาท้องถิ่น
ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั และการเผยแพร่
๑. นักศึกษา เยาวชน และคนในชุมชน เกิดการเรียนรู้วัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นของตนเอง ทำให้มีความภาคภูมิใจ ยอมรับ และ
รว่ มกนั สืบสานวฒั นธรรมภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่
๒. มีแหล่งเรียนรดู้ า้ นวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถน่ิ ให้นกั ศึกษา เยาวชนและคนในชุมชนได้ศกึ ษาเรียนรู้
๓. ชุมชนได้รับการส่งเสรมิ อาชพี ท่เี กยี่ วกับภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น สามารถสร้างรายไดใ้ หก้ บั ชุมชน
๔. เผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธก์ ารจัดกจิ กรรมผา่ น Facebook และ page มีมุมเผยแพร่ “แนวปฏบิ ัติที่ดี”
ในศูนย์การเรียน และ กศน.อำเภอแม่สะเรียง หอ้ ง Onie Online Commerce Center (OOCC)
เอกสารรวบรวมองคค์ วามรู้และลายผ้ารปู แบบต่าง ๆ
108
ปัจจยั ความสำเรจ็
๑. ครูและคนในชมุ ชนรว่ มกันศึกษาและวเิ คราะหส์ ภาพปญั หาและความตอ้ งการของชุมชน
๒. ความสามัคคี ความร่วมมือของคนในชุมชน ในการจัดทำแหล่งเรียนรู้ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยมีบุคคลภูมิปัญญา ครู เป็นแรงเสริม
สนับสนุน
๓. มีเครือข่ายเข้ามาสนับสนุนกิจกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นให้กับชุมชน คือ สนับสนุนอาชีพทอผ้า โดยสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ
แมส่ ะเรียง และหน่วยงานตน้ สงั กดั ให้การสนบั สนุนเตรียมพฒั นาในปถี ัดไป
ปญั หาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาอปุ สรรค
การสร้างจิตสำนึกให้เกิดการยอมรบั หรือปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรมเป็นสง่ิ ยาก และไม่สามารถบังคับได้
ขอ้ เสนอแนะ
การสร้างจิตสำนึก ให้เกิดการยอมรับหรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น จำเป็นต้องใช้เวลา
แรงจูงใจ ในการหล่อหลอมจติ ใจ โดยการสนบั สนนุ และมีส่วนรว่ มของครแู ละบุคคลภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ในชมุ ชน
แนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง
๑. ให้แหล่งเรียนรู้วัฒนธรรม “บ้านแห่งภูมิปัญญาท้องถิ่น” เป็นส่วนหนึ่งของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรม
การเรียนรู้ ให้บคุ คลภมู ิปญั ญามีสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรม
๒. จัดหาข้อมูล สื่อ พัฒนาแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรม “บ้านแห่งภูมิปัญญาท้องถิ่น”ให้มีความน่าสนใจสามารถกระตุ้น และสร้างแรงจูงใจ
ใหเ้ ดก็ เยาวชน คนในชุมชนมคี วามสนใจ อยากศกึ ษาเรียนร้มู ากข้นึ
109
ภาพประกอบ
110
สำนกั งานคณะกรรมการส่งเสริมการศกึ ษาเอกชน
ดา้ นที่ ๔ การอนุรกั ษ์วฒั นธรรมทอ้ งถนิ่
ช่ือผลงาน ฮารรี ายอ ความสขุ ของชาวมุสลิม
สถานศกึ ษา โรงเรยี นส่งเสริมอิสลาม สำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสงขลา
ผู้เสนอผลงาน วา่ ที่รอ้ ยตรีหญิงนจั ญมา เสนานิคม
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๙ ๓๗๔๗ ๐๘๘๓ E-mail : [email protected]
ความสำคัญของ “ แนวปฏิบัตทิ ด่ี ี ”
วนั ฮารีรายอ เป็นวันสำคัญของชาวมสุ ลมิ ทัว่ โลกวันหนึ่ง ถอื ไดว้ า่ เป็นวนั รื่นเริงประจำปีของชาวมุสลิมท่ีได้เดนิ ทางกลบั ภูมิลำเนาของ
ตนเองเพื่อเข้าร่วมประกอบพิธีกรรมทางศาสนาโดยพร้อมเพรียงกันช่วงเวลาในรอบ ๑ ปีของชาวมุสลิม มีวันฮารีรายอ ๒ ครั้ง คือ ๑. วันอีดิลฟิตรี
๒. วันอีดลิ อัฎฮา (ข้อมลู เพิม่ เตมิ QR)
โรงเรยี นส่งเสริมอสิ ลาม เปน็ โรงเรียนสอนศาสนาควบคูก่ บั สามญั มคี ุณครู และนักเรยี นนับถอื ศาสนาอสิ ลามร้อยเปอร์เซ็นต์
ได้เล็งเห็นความสำคัญของประเพณีชาวมุสลิม จึงจัดทำกิจกรรมต้อนรับวันฮารีรายอขึ้นในทุก ๆ ปี เพื่อสืบทอดประเพณีของชาว
มสุ ลมิ ทง้ั ด้าน ศาสนา ความเชื่อ และพิธกี รรมตา่ ง ๆ ในวันฮารีรายอ ประเพณีวนั ฮารี
วัตถปุ ระสงค์และเป้าหมายของการดำเนินงาน รายอ
วัตถุประสงค์
๑. เพอ่ื ใหน้ กั เรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจประเพณีของชาวมุสลมิ ในวนั ฮารีรายอ
๒. เพ่ือให้นกั เรยี นตระหนกั และเหน็ คณุ คา่ ของการสบื ทอดประเพณีวันฮารีรายอ
เป้าหมาย
เชงิ ปรมิ าณ
นกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๖ จำนวน ๔๔๕ คน มีความรู้ ความเข้าใจในวนั ฮารรี ายอ
เชิงคณุ ภาพ
นักเรียนมีความตระหนักและเห็นคุณคา่ ของก1าร1ส1บื ทอดประเพณวี ันฮารรี ายอ
กระบวนการดำเนนิ งาน
โรงเรียนส่งเสรมิ อสิ ลามไดด้ ำเนนิ การตามข้นั ตอนกระบวนการของเดมม่งิ (PDCA) ในทุกขั้นตอนใชห้ ลกั การบรหิ ารแบบมีส่วนร่วม
ทัง้ ผู้บริหาร ครู นักเรียน และชุมชน (ขอ้ มูลเพม่ิ เติม QR)
การดาเนินการ (Act) การวางแผน (Plan)
ดาเนนิ การปรบั ปรุงสมรรถนะ กาหนดเปา้ หมายและ
ของกระบวนการ กระบวนการตา่ ง ๆ
อย่างต่อเนื่อง ทจ่ี าเป็นเพ่ือให้ไดผ้ ลลัพธ์
ตามความตอ้ งการ
Act Plan
การติดตาม (Check) Check กระบวนการ
ตรวจติดตาม ตรวจสอบและ Do ดำเนนิ งาน
วัดผลกระบวนการทางาน
ว่าเป็นไปตามแผนงานและ การนาไปปฏบิ ตั ิ (Do)
เปา้ หมาย ปฏิบตั ิ ดาเนนิ การ
ตามกระบวนการต่าง ๆ
ทก่ี าหนดไว้
112
๑) กิจกรรมแข่งขนั กล่าวตกั บีร (คำสรรเสริญแสดงความยง่ิ ใหญต่ ่ออลั ลอฮ)ฺ
๒) กจิ กรรมแข่งขนั วาดภาพระบายสีตามจินตนาการในหวั ขอ้ “วนั ฮารีรายอในจินตนาการของฉนั ”
๓) กจิ กรรมฟงั บรรยายประวัติความเป็นมาและภารกจิ ท่ีมุสลิมควรปฏบิ ัติในวันฮารรี ายอ
113
ผลการดำเนนิ งาน
๑. จากการจัดกิจกรรมต้อนรับวันฮารีรายอ โดยจัดให้มีกิจกรรมการแข่งขัน และการบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับวันฮารีรายอ พบว่า
นักเรยี นร้อยละ ๙๕ มีความรู้ ความเข้าใจ เกีย่ วกบั วนั ฮารรี ายอมากขนึ้ และสามารถนำความรทู้ ไ่ี ด้รับไปปฏบิ ัติและเผยแพร่ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง
๒. จากการทำแบบสอบถามความพึงพอใจ พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อกิจกรรม และสามารถประเมินได้ว่านักเรียนร้อยละ
๙๐ ตระหนกั และเหน็ คณุ คา่ ใหค้ วามสำคญั กบั วนั ฮารรี ายอมากขึ้น
ผลที่เกิดกับชุมชุน ชุมชนมีสมาชิกที่มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับประเพณีวันฮารีรายอเพิ่มขึ้น และชุมชนสามารถจัดกิจกรรม
เพื่อสร้างสัมพนั ธภ์ ายในชมุ ชนได้
ประโยชน์ท่ีได้รับและการเผยแพร่
นกั เรียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกบั วันฮารีรายอมากยง่ิ ขึ้น และสามารถนำความรทู้ ไี่ ดร้ ับ กจิ กรรมฮารรี ายอ
ไปปฏิบัตไิ ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งในชวี ิตประจำวนั อีกท้งั ยังสามารถบอกกลา่ วให้ชนรนุ่ หลังตอ่ ไปได้ และแนวทาง
การเผยแพรป่ ระชาสมั พันธก์ ารจดั กิจกรรมผา่ นเพจ Facebook
ปัจจัยความสำเรจ็
“วันฮารีรายอ ความสุขของชาวมุสลิม” ได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ผู้บริหาร คณะครู และชุมชน ที่เล็งเห็น
ความสำคัญในเรื่องประเพณีของมุสลิม และร่วมมือกันคิด วางแผน จัดกิจกรรมต่าง ๆ ขึ้นและสนับสนุนในทุก ๆ กิจกรรม จึงทำให้ประสบ
ผลสำเรจ็ ตามวตั ถุประสงค์
ปญั หาอปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะ
ปัญหาอปุ สรรค สถานทจี่ ัดกจิ กรรมไมเ่ อื้ออำนวย และระบบเสยี งมีความขัดข้อง
ข้อเสนอแนะ จัดหาสถานที่จัดกิจกรรมที่เอื้ออำนวย เพิ่มสื่อเทคโนโลยีและอุปกรณ์ให้เพียงพอต่อการบรรยาย ปรับปรุงระบบเสียง
ใหเ้ สียงดังฟงั ชดั
114
แนวทางการพฒั นาต่อเนื่อง
๑. จัดใหม้ ีกิจกรรมดังกล่าวข้ึนในทุก ๆ ปี
๒. จัดต้งั นักเรียนแกนนำ และฝึกใหน้ กั เรียนเปน็ ผู้บรรยาย เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ผนู้ ำในการขับเคล่ือนกิจกรรมต้อนรบั วนั ฮารีรายอต่อไป
เอกสารอ้างองิ
พาตฮี ะ เจะ๊ มูดอ. (๒๕๕๙). วัฒนธรรม ประเพณี พิธีกรรม. สบื คน้ จาก https://www.lib.ru.ac.th/journal2/?p=6389.
สำนักงานโครงการสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี สำนักพระราชวัง สวนจติ รลดา. (๒๕๖๐). แผนพัฒนาเดก็ และเยาวชน
ในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๙
(พิมพค์ รง้ั ที่ ๑). กรงุ เทพฯ : แอคทีฟ พริน้ ท.์
ภาพประกอบ
115
สำนักงานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ
ด้านท่ี ๔ อนุรักษว์ ัฒนธรรมทอ้ งถนิ่
ชอื่ ผลงาน การใช้ทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี ๒๑ สูก่ ารพัฒนา “งานสานสู่งานศลิ ป์”
สถานศึกษา โรงเรยี นวดั บญุ ยนื ตำบลกลางเวียง อำเภอเวียงสา จังหวัดนา่ น
ผเู้ สนอผลงาน พระวโิ รจน์ สิรสิ ุวณฺโณ
หมายเลขโทรศพั ท์ ๐๘ ๑๓๘๗ ๔๙๒๖ E-mail : [email protected]
ความสำคัญของ “ แนวปฏบิ ัตทิ ด่ี ี ”
จากการสำรวจความรู้และเจตคติ ด้านการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่นของสามเณรนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ จำนวน ๑๒ รูป
พบว่า สามเณรนักเรียนมาจากหลากหลายวัฒนธรรม ยังขาดความรู้ความเข้าใจ มีเจตคติ ความรู้สึกไม่ภูมิใจ มองข้ามคุณค่าในมรดก
ทางวัฒนธรรมท้องถิ่นของตนเอง ปัญหาดังกล่าวอาจมีผลทำให้วัฒนธรรมท้องถิ่นบางอย่างถูกลืม และสูญหายไปจากชุมชนได้ ประกอบกับ
ศตวรรษที่ ๒๑ สถานการณ์โลกเปลี่ยนแปลงไป การจัดการเรียนรู้ต้องมีการพัฒนาให้สอดคล้องกับภาวะความเป็นจริง เตรียมความพร้อม
ให้สามเณรนักเรยี นมีทักษะการเรียนรูแ้ ละนวตั กรรม ทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑ และส่อื เทคโนโลยีทต่ี อ้ งเรียนร้ตู ลอดชีวิต
แนวทางในแผนพฒั นาเด็กและเยาวชนในถ่ินทุรกันดาร ฉบบั ที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๙ เป้าหมายหลกั ที่ ๖ เสรมิ สรา้ งศักยภาพของ
เด็กและเยาวชนในการอนุรักษ์และสืบทอดวัฒนธรรม และภูมิปัญญาของท้องถิ่น และของชาติไทย โดยนำงาน จักสานที่มีในท้องถิ่น
มาประยุกต์เป็นงานศิลป์ เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ให้สามเณรนักเรียนมีความรู้และเห็นคุณค่าของวัฒนธรรมท้องถิ่นของตนเอง
โดยการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning 5 Step นำทักษะการเรียนรู้ 3R x 8C มาบูรณาการ ประกอบกับนำแอปพลิเคชัน Nearpod
มาชว่ ยในการจัดการเรยี นการสอนให้กจิ กรรมการเรียนรู้มคี วามนา่ สนใจยงิ่ ข้ึน
วัตถุประสงค์และเปา้ หมายของการดำเนนิ งาน
วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพ่อื ให้สามเณรนักเรียนมีความรู้ เกดิ ความภาคภูมิใจ เหน็ คุณค่าในมรดกทางวฒั นธรรมภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ
๒. เพือ่ ใหส้ ามเณรนักเรยี น มีทักษะการเรยี นรู้ 3R x ๘C ในศตวรรษท่ี ๒๑
116
เป้าหมาย
เชิงปรมิ าณ
สามเณรนกั เรยี นร้อยละ ๗๐.๐๐ มคี วามรู้ เกย่ี วกับวัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน มที ักษะการเรียนรู้ 3R x 8C ในศตวรรษที่ ๒๑
เชิงคุณภาพ
สามเณรนักเรียนเกิดความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า รักในมรดกทางวัฒนธรรมภูมิปัญญาของท้องถิ่น สามารถนำทักษะกระบวนกา ร
เรยี นรู้ 3R x 8C นำไปใช้ในการดำรงชวี ิตในโลกศตวรรษท่ี ๒๑ ได้ และผปู้ กครองนักเรียนมีความพึงพอใจในระดบั ดีข้นึ ไป
กระบวนการดำเนนิ งาน
ดำเนินการตามขั้นตอนกระบวนการวงจร PDCA (Plan-Do-Check-Act) ของศาสตราจารย์เดมมิ่ง และเพิ่มเติมประยุกต์เป็น PDCAS
(Plan-Do-Check-Act-Show&Share)
• ประชมุ ปรึกษา สรา้ งความเขา้ ใจร่วมกนั ระหวา่ งนกั เรยี น และคณะครูในการดาเนินกิจกรรม
Plan
• จดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning 5 Step
• จัดทาส่อื การเรยี นการสอนโดยใชแ้ อปพลิเคชนั Nearpod
DO • นาแผนจัดการเรียนรู้สสู่ ามเณรนกั เรียน
• วัดประเมนิ ผลความรู้ ความเขา้ ใจสามเณรนักเรียนก่อนและหลังการเรียนรู้
Check • วัดเจตคตคิ วามภาคภมู ิใจ เห็นคุณคา่ ในมรดกทางวัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาของทอ้ งถน่ิ ก่อนและหลงั ดาเนินกิจกรรม
• ประเมินความพงึ พอใจของผู้ปกครองสามเณรนกั เรียนทม่ี ีต่อการจัดการเรยี นรู้
• สรุปผล นาผลสรุปการดาเนนิ กิจกรรมมาอภปิ รายแลกเปล่ยี นเรียนรู้ (PLC) รว่ มกนั กับคณะครู หาวธิ ปี รบั ปรงุ แก้ไข
Act และพฒั นากจิ กรรมใหม้ ีประสทิ ธภิ าพย่ิงขน้ึ และรายงานผลการดาเนินกิจกรรมต่อผู้มีส่วนเก่ยี วขอ้ ง
Show • จดั นิทรรศการแลกเปลยี่ นเรียนรู้กบั คณะครใู นโรงเรยี น
&Share • สามเณรนักเรียนนาความรู้ ทักษะทไี่ ดไ้ ปแนะนาเผยแพร่แกส่ มาชิกในครอบครัว และคนในชุมชน
117
ผลการดำเนินงาน
สามเณรนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ร้อยละ ๗๕.๐๐ มีความรู้ ความเข้าใจ อธิบายเกี่ยวกับวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นได้
มีความกระตือรือร้น รักที่จะเรียนรู้วัฒนธรรมท้องถิ่น เข้าร่วมกิจกรรมตลอดการจัดการเรียนรู้ เวลาว่างหรือพักเที่ยงสามเณรนักเรียนจ ะนำ
เส้นตอกมาสานเป็นรูปต่าง ๆ ตามจินตนาการของตนเอง และตระหนักเห็นคุณค่าในมรดกทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของท้องถ่ิน
เกิดทักษะการเรียนรู้ 3R สามารถอ่าน เขียน เรียบเรียงประโยคที่ศึกษาค้นคว้าได้ สามารถคิดคำนวณขนาด จำนวนวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้
และเกดิ ทกั ษะการเรยี นรู้ 8C สามเณรนักเรยี นมคี วามคิดสรา้ งสรรค์ออกแบบชนิ้ งาน มผี ลงาน/ช้ินงานเป็นทปี่ ระจักษเ์ ป็นทย่ี อมรับของชุมชน
สามารถแก้ไขปัญหาขณะที่ดำเนินงานด้วยตัวเองได้ และยังปรับตัวทำงานร่วมกับเพ่ือนได้งา่ ย เคราพความคิดเห็นของเพ่ือนร่วมทีม มีภาวะ
ความเป็นผู้นำสูง รู้เท่าทันสื่อสามารถเลือกใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับสมณะสารูปของตนเอง ผู้ปกครองนักเรียนมีความพึงพอใจ
ตอ่ กจิ กรรมภาพรวมมคี า่ เฉลยี่ ๔.๕๐ มคี วามพึงพอใจมากทสี่ ดุ
ประโยชน์ที่ไดร้ ับและการเผยแพร่
สามเณรนักเรยี นไดค้ วามรู้ เกดิ ความภาคภูมิใจ ตระหนกั เห็นคณุ คา่ เกิดเจตคตทิ ี่ดี มคี วามรัก ความหวงแหน ในมรดกทางวัฒนธรรม
ของตนเอง เกิดทักษะกระบวนการเรียนรู้ 3R x 8C ผู้ปกครองมีความพึงพอใจต่อกิจกรรม และแนวทางการเผยแพร่ได้จัดนิทรรศการ
แลกเปล่ียนเรียนรกู้ ับคณะครใู นโรงเรียน ใหส้ ามเณรนกั เรยี นนำความรู้ ทกั ษะท่ีได้ไปแนะนำเผยแพรแ่ กส่ มาชิกในครอบครวั และคนในชุมชน
ปจั จัยความสำเร็จ
ผู้บริหาร คณะครู บุคลากรทางการศึกษา ทั้งคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้ปกครองของนักเรียน
เห็นความสำคัญและให้การสนับสนุน ส่งเสริมอย่างเต็มที่ และร่วมกันดำเนินกิจกรรมในครั้งนี้จนประสบผลสำเร็จ และที่ขาดไม่ได้คือ
ครูภูมิปัญญาในชุมชน ที่ถ่ายทอดความรู้ด้านการจักสานให้แก่สามเณรนักเรียน สามเณรนักเรียนให้ความสนใจ ทุ่มเท มุ่งมั่น ตั้งใจ เรียน รู้
อย่างจริงจงั สง่ ผลให้ประสบผลสำเร็จตามวตั ถปุ ระสงค์
118
ปัญหาอปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะ
มีสามเณรนักเรียนร้อยละ ๒๕.๐๐ มีทักษะกระบวนการเรียนรู้ช้ากว่าเพื่อน ทำให้เรียนไม่ทันเพื่อนร่วมชั้นเรียน ช่วงหลังเวลาเลิกเรียน
ภาคบ่ายของทุกวัน ครูนัดสามเณรนักเรียนที่มีทักษะกระบวนการเรียนรู้ช้ามาเรียนซ่อมเสริม จนกว่าสามเณรนักเรียนจะบรรลุเป้าหมาย
ที่กำหนด ครคู วรมแี นวปฏิบตั ทิ ่ดี ี การจดั การเรยี นการสอนท่ีบรู ณาการ เรื่อง การอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่นกับทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ให้กับ
ผู้เรยี นทกุ ชน้ั ทุกรปู จะทำให้ผู้เรยี นมคี วามรู้เกยี่ วกับวฒั นธรรมและภูมิปญั ญาท้องถ่นิ มีความภาคภูมใิ จ เหน็ คณุ ค่า รกั ในมรดกทางวัฒนธรรม
และภมู ิปัญญาของท้องถน่ิ
แนวทางการพฒั นาต่อเนื่อง
จัดให้มีการดำเนินงานแนวปฏิบัติที่ดี ด้านที่ ๔ การอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น เป็นโครงการสำคัญไว้ในแผนปฏิบัติการประจำปีของ
โรงเรียนตลอดปกี ารศกึ ษา
เอกสารอา้ งอิง
สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้. (๒๕๖๐). ทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑. สืบค้นจาก https://www.okmd.or.th/okmd-
opportunity/new-gen/262/.
สำนกั งานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สำนักพระราชวัง สวนจติ รลดา. (๒๕๖๐). แผนพัฒนาเดก็ และเยาวชน
ในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๙
(พิมพ์ครัง้ ท่ี ๑). กรงุ เทพฯ : แอคทฟี พริน้ ท์.
119
ภาพประกอบ
120
สำนักการศกึ ษา กรุงเทพมหานคร
ด้านที่ ๔ การอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมทอ้ งถิ่น
ช่ือผลงาน รู้ รกั ษ์ มวยไทยใหค้ งอยคู่ ูแ่ ผ่นดนิ
สถานศกึ ษา โรงเรยี นวิชูทิศ สำนกั งานเขตดนิ แดง สำนักการศกึ ษากรุงเทพมหานคร
ผู้เสนอผลงาน นางสาวกุสสิ รา อนิ พานิช
หมายเลขโทรศพั ท์ ๐๙ ๙๒๖๘ ๔๓๙๔ E-mail : [email protected]
ความสำคญั ของ “ แนวปฏบิ ตั ทิ ดี่ ี ”
มวยไทยถือเป็นเอกลักษณ์ของคนไทย ซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษ คนไทยเชื่อกันว่ามวยไทยเปน็ ศาสตร์และศิลปแ์ หง่ การตอ่ สู้ของชาติ
ไทย เป็นศิลปะที่สะท้อนถึงวิญญาณแห่งการต่อสู้ป้องกันตัว ที่แสดงให้เห็นความเจนจัดในทางสร้างสรรค์ที่ได้รับจากการต่อสู้ โรงเรียนวิชูทิศ
จัดการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้นปฐมวัยจนถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โดยมีทั้งหลักสตู รสามญั หลักสูตรเฉพาะทางขนมอบ และที่สำคัญคอื
โรงเรยี นมหี ลักสูตรห้องเรียนกีฬา ทจ่ี ดั การเรียนการสอนสำหรับนักเรียนท่ีมีความสามารถหรือมีความถนัดทางด้านกีฬาประเภทต่าง ๆ โดยเฉพาะ
กีฬามวยไทย เพื่อเป็นการส่งเสริมศักยภาพของนักเรียนและร่วมอนุรักษ์ศิลปะการต่อสู้ ให้มวยไทยคงอยู่คู่ประเทศไทยต่อไป และสอดรับ
กับนโยบายของสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร ที่ต้องการฟื้นหลักสูตรกีฬามวยไทย โดยบรรจุกีฬามวยไทยลงในหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนเล็งเหน็ ความสำคัญและความจำเป็นในการอนรุ ักษ์มวยไทย จงึ ดำเนนิ โครงการ“รู้ รกั ษ์ มวยไทยให้คงอยู่คู่แผ่นดิน” เพ่อื กอ่ ให้เกิดความรู้
ทักษะทางด้านมวยไทย พัฒนาทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม สร้างความมีระเบียบวินัยและส่งเสริมการอนุรักษ์วัฒนธรรมมวยไทย
ซ่งึ ถอื เปน็ เอกลักษณ์ของคนในสังคมไทยทีพ่ ึงชว่ ยอนรุ ักษ์ไว้
วตั ถุประสงค์และเป้าหมายของการดำเนินงาน
วัตถปุ ระสงค์
๑. เพอ่ื ส่งเสริมใหน้ ักเรียนมีความรู้ มีทักษะ พ้ืนฐานมวยไทย
๒. เพ่ือส่งเสริมใหน้ ักเรียนเห็นคุณคา่ เหน็ ความสำคญั และร่วมอนุรักษศ์ ิลปะมวยไทยเปน็ ศิลปะประจำชาติ
121
เป้าหมาย
เชงิ ปริมาณ
นกั เรียนโรงเรียนวชิ ทู ิศ ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ – ๓ รวมกล่มุ เป้าหมาย จำนวน ๔๒๑ คน มคี วามรู้ และทกั ษะพน้ื ฐานมวยไทย
เชิงคณุ ภาพ
นักเรยี นในกลมุ่ เปา้ หมาย ตระหนัก เห็นคณุ คา่ และมสี ว่ นรว่ มอนรุ ักษ์ สบื สานศิลปะมวยไทยใหค้ งอยู่ คปู่ ระเทศไทย
กระบวนการดำเนินงาน
การดำเนินงานการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น “รู้ รักษ์ มวยไทยให้คงอยู่คู่แผ่นดิน” โรงเรียนวิชูทิศ ได้ดำเนินการตามขั้นตอน
กระบวนการของเดรมมิ่ง (PDCAS) ในทุกขั้นตอนใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม (Participative Management:PM) โดยประยุกต์ใช้
ให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน ดงั น้ี
122
ผลการดำเนินงาน
๑. นักเรยี นมคี วามรู้ และทกั ษะพื้นฐานมวยไทย จากการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนในระดับช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ - ๓ โดยพจิ ารณา
จากผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น รายวชิ ามวยไทย ที่ผ่านเกณฑ์ระดบั ผลการเรียนต้ังแตร่ ะดบั ๒.๕ ขนึ้ ไป คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐.๐๐
๒. สรุปผลการร่วมกิจกรรมการอนุรักษ์กีฬามวยไทย นักเรียนเห็นคุณค่า เห็นความสำคัญและร่วมกันอนุรักษ์ศิลปะมวยไทย
โดยการแสดงออกและร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องการการอนุรักษ์มวยไทยในโอกาสต่าง ๆ อย่างเต็มใจ ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครองและชุมชน
ให้ความร่วมมือให้การสนับสนุนและร่วมสืบสานมวยไทยเป็นอย่างดี ส่งผลให้การดำเนินกิจกรรม “รู้ รักษ์ มวยไทยให้คงอยู่คู่แผ่นดนิ ” สำเร็จลุล่วง
ไปไดด้ ว้ ยดี
ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั และการเผยแพร่
๑. นกั เรยี นมสี ุขภาพร่างกายแข็งแรง
๒. นกั เรยี นมคี วามมานะ อดทน มรี ะเบยี บวนิ ัย มนี ้ำใจนักกีฬา รแู้ พ้ รู้ชนะ รอู้ ภยั
๓. นกั เรยี นเกดิ ความภาคภมู ิใจในมวยไทย อันเป็นมรดกของชาติ
๔. นกั เรียนสามารถนำทักษะมวยไทยไปเปน็ เครื่องมือในการประกอบอาชีพได้
๕. เผยแพร่มวยไทยทั้งในและนอกสถานศึกษา ได้แก่ การแข่งขันกีฬามวยไทยที่หน่วยงานต่าง ๆ จัดขึ้น เช่น การแข่งขันกีฬา
ชิงแชมป์ประเทศไทย การแข่งขันกีฬาเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ ๓๗ พัทลุงเกมส์ การแข่งขันกีฬาช้างน้อยเกมส์ ครั้งที่ ๓๓ กีฬานักเรียนสังกัด
กรุงเทพมหานคร การแสดงศิลปะทางด้านนาฎมวยไทย เช่น การแสดงท่าทางมวยไทยประกอบเพลง ในพิธีปิดกีฬาช้างน้อยเกมส์
ของกรุงเทพมหานคร ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๕ ณ สนามกีฬา ไทย-ญี่ปุ่น ดินแดง รวมถึงแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชาวต่างชาติ และช่องทางอื่น ๆ
เชน่ Facebook ของโรงเรยี น
123
ปจั จัยความสำเรจ็
๑. ผู้บริหารสถานศึกษา คณะครู และคณะกรรมการสถานศึกษา ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการให้ข้อมูลต่าง ๆ สนับสนุนส่งเสริม
และเป็นที่ปรึกษา สร้างขวัญกำลังใจในการดำเนนิ กิจกรรมต่าง ๆ ให้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี จากแบบสอบถามความพึงพอใจ คิดเป็นร้อยละ
๙๗.๐๐
๒. ผ้ปู กครอง ให้ความร่วมมือในการส่งนกั เรยี นเข้ารว่ มฝึกซอ้ ม เข้ารว่ มการแข่งขนั กฬี ามวยไทย รวมถึงการแสดงศลิ ปะทางด้านนาฎมวยไทย
๓. มเี ครอื ข่ายกีฬามวยไทย ภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ เพ่ือช่วยฝกึ ซอ้ มเพ่ิมพูนทกั ษะดา้ นมวยไทย
ปัญหาอุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ
ปญั หาอปุ สรรค
๑. ในการฝึกปฏิบตั ิทา่ ต่าง ๆ ของมวยไทย โดยไมถ่ กู ตอ้ ง ทำใหไ้ ด้รบั การบาดเจบ็ ตามร่างกาย
๒. หน่วยงานภายนอกเข้ามาขอความร่วมมือกับทางโรงเรียน ส่งผลกระทบให้เวลาในการดำเนินกิจกรรมตามที่วางแผนไว้ มีจำกัด
จึงสง่ ผลให้การเรียนรู้ของนักเรยี นเป็นไปอย่างไมเ่ ต็มที่
ขอ้ เสนอแนะ
๑. การฝกึ ปฏบิ ตั ิครตู อ้ งควบคุม แนะนำ จัดวางท่าทางให้ถูกต้อง เพื่อลดการบาดเจบ็ ตามรา่ งกาย
๒. จดั การเรียนการสอนซอ่ มเสรมิ เพิ่มเติม หลงั เลกิ เรียน เพือ่ การเรยี นรไู้ ด้อย่างเต็มที่
แนวทางการพัฒนาตอ่ เน่ือง
๑. ส่งเสรมิ ให้มกี ารจดั การเรียนการสอนเพื่อสรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจในมวยไทยอยา่ งต่อเนือ่ ง
๒. ดำเนินการขยายจัดการเรียนการสอนมวยไทยในระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษา ทกุ ระดบั
124
เอกสารอ้างอิง
กรมพลศกึ ษา. (๒๕๖๒). ทา่ ไหว้ครูและร่ายรำมวยไทยกรมพลศกึ ษา. สืบคน้ จาก https://www.youtube.com/
watch?v=DvJ94JwAVNc.
กุลกานต์ โพธปิ ญั ญา. (๒๕๖๒). รำไหว้ครูมวยไทย: ความหมาย ความเหมือน และความต่าง. (ปรญิ ญานิพนธ์ปรญิ ญามหาบณั ฑิต).
ชลบรุ ี: มหาวทิ ยาลัยบรู พา.
ชาญชยั ยมดิษฐ.์ (๒๕๕๓). มวยไทย : การร่ายรำไหว้ครมู วยไทย. ใน สารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชนฯ (เลม่ ๓๕ เร่อื งที่ ๓).
กรงุ เทพฯ: มูลนิธิโครงการสารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชนฯ.
ภาพประกอบ
วดี ีโอการแสดง
125
กรมการปกครองสว่ นท้องถ่นิ
ดา้ นที่ ๔ อนรุ กั ษ์วัฒนธรรมท้องถ่นิ
ช่อื ผลงาน การแปรรปู ผ้าทอ ปกาเกอะญอถา้ เสือ
โรงเรียนต้ารวจตระเวนชายแดนบ้านถา้ เสือ องคก์ ารบริหารส่วนต้าบลพระธาตุผาแดง อ้าเภอแมส่ อด จังหวดั ตาก
สถานศึกษา คนท่ี ๑ นางสนุ สิ า ทองมา คนท่ี ๒ นางสาวนพคุณ อุปสอด
ผ้เู สนอผลงาน ๐๘ ๔๘๑๕ ๑๙๓๐,๐๘ ๔๔๙๔ ๓๘๕๒ E-mail : [email protected]
หมายเลขโทรศพั ท์ [email protected]
ความส้าคัญของ “ แนวปฏบิ ตั ิทดี่ ี ”
ปัจจุบันทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษท่ี ๒๑ เป็นการเรียนรู้จากการศึกษาค้นคว้าเองของนักเรียน โดยผู้บริหารและครู
ช่วยแนะนาและออกแบบกจิ กรรมให้นักเรียนแต่ละคน เกดิ ทกั ษะการเรียนรู้และนวตั กรรม ซ่งึ จะเปน็ ตวั กาหนดความพร้อมของนักเรยี นเข้าสู่
โลกการทางานท่ีมีความซับซ้อนมากขึ้น และเน้นสมรรถนะทางวิชาชีพ ดังนั้นเพ่ือให้สอดคล้องกับบรบิ ทของโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน
บ้านถ้าเสอื ผู้บรหิ ารและครู ซ่งึ มีความถนัดในเรื่องการเย็บปกั ถักร้อย จงึ เกิดแนวคิดการแปรรปู ผลติ ภัณฑ์ผ้าทอมอื นาไปแปรรปู เปน็ ผลิตภัณฑ์
ที่ใช้จักรเย็บ โดยเร่ิมต่อยอดแปรรูปผ้าทอมือเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบต่างๆ ที่ทันสมัยโดยใช้ผ้าทอมือของนักเรียนโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน
บ้านถ้าเสือและชาวบ้านถา้
วัตถุประสงคแ์ ละเป้าหมายของการดาเนินงาน
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อเปน็ การแปรรูปผลติ ภัณฑผ์ ้าทอมอื ท้องถนิ่ ชาวปกาเกอะญอให้เป็นสินคา้ ในรปู แบบใหมๆ่
๒. เพื่อเปน็ การปลกู ฝังวิถีชวี ติ ดัง้ เดมิ ของชาวปกาเกอะญอใหย้ ่งั ยืนแก่ลกู หลานต่อไป
๓. เพื่อใหผ้ ู้ท่สี นใจผ้มู ใี จรักมีความคิดสรา้ งสรรค์ในการแปรผา้ ทอมือเพอื่ เพ่ิมผลิตภณั ฑ์ในรูปแบบใหม่
126
เป้าหมาย
เชิงปรมิ าณ
กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย นักเรียนจานวน ๘ คน ศิษย์เก่าจานวน ๑๐ คน ครูจานวน ๗ คน ผู้ปกครองจานวน ๕ คน
รวมกลมุ่ เป้าหมายจานวน ๓๐ คน มอี งค์ความรูเ้ ก่ียวกับการแปรรูปผา้ ทอมือ ใช้เวลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ มีรายได้เพม่ิ มากขนึ้
เชงิ คุณภาพ
กลุม่ เป้าหมายสามารถถ่ายทอดและสืบทอดการแปรรูปผ้าทอมือไปยังลูกหลานได้ และเปน็ ชมุ ชนสรา้ งอาชพี เพ่มิ รายไดท้ ีย่ ั่งยนื ภายใน
หมูบ่ า้ น
กระบวนการดาเนินงาน
๑. สง่ เสรมิ อาชีพของกลมุ่ เปา้ หมายแปรรปู ผา้ ทอปกาเกอะญอถ้าเสือ
๒. ประชาสัมพันธผ์ ทู้ ีม่ ีความสนใจในด้านแปรรูปผา้ ทอมือ ประกอบดว้ ย ครู นกั เรียน ศิษยเ์ ก่าผปู้ กครอง เขา้ ร่วมโครงการ
๓. ผูเ้ ชี่ยวชาญให้ความรอู้ บรมเชิงปฏิบตั ิการ โครงการพัฒนาสง่ เสรมิ สินคา้ ผลิตภัณฑ์ในตาบลพระธาตุผาแดง
๔. ฝึกความชานาญให้กลุ่มเป้าหมายสร้างผลิตภัณฑ์ให้มีความคงทน สวยงามตามรูปแบบสมัยใหม่ และตรงตามความต้องการของ
ทอ้ งตลาด
ผลการดาเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายสามารถแปรรูปผ้าทอมือจากภูมิปัญญาชาวบ้านในชุมชน เป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น กระเป๋าเป้ กระเป้าถือ
กระเป๋าสพาย พวงกุญแจ นาไปใช้จัดกิจกรรมการแปรรูปผ้าทอมือให้เด็กและเยาวชน ชุมชนปกาเกอะญอ เพ่ือถ่ายทอดการแปรรูปผา้ ทอมือ
ให้แกล่ กู หลานต่อไป และสบื สานอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมที่มีอยู่ในทอ้ งถนิ่ ให้ยั่งยนื และคงอยู่กับชมุ ชน
ประโยชนท์ ไี่ ดร้ ับและการเผยแพร่
๑. นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติได้ฝึกทอผ้าเพ่ือเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมการทอผ้าปกาเกอะญอเอาไว้ โดยได้นาผ้าทอมือเหล่านั้นไปแปรรูป
เปน็ ผลติ ภณั ฑต์ า่ ง ๆ ทสี่ ร้างรายได้ให้ตนเองและครอบครัวตอ่ ไป
๒. คนในชุมชุน มีความม่ันคงได้มีอาชีพให้ย่ังยืนด้วยการอนุรักษ์ภูมิปัญญาการทอผ้าด้วยกรีเอว (ทอมือ) ส่งต่อนาไปแปรรูป
ผลติ ภณั ฑผ์ ้าทอปกาเกอะญอถ้าเสือ เป็นผลติ ภณั ฑ์ตา่ ง ๆ อยา่ งสวยงามนา่ สนใจในตลาดไว้เป็นอาชีพเสรมิ สบื ต่อไป
127
ปจั จยั ความสาเร็จ
๑. ผบู้ ริหารและครูให้ความสาคัญกบั โครงการแปรรูปผา้ ทอมือ วิทยากรทุ่มเทเวลาการสอนให้ กลุ่มเป้าหมาย ครู ศิษย์เกา่ ผู้ปกครอง
๒. จัดตง้ั กลมุ่ แปรรูปผา้ ทอมอื เพ่อื จัดกิจกรรมแปรรปู ผา้ ทอมอื และต่อยอดให้บุคคลทสี่ นใจ เพือ่ เพมิ่ รายไดใ้ ห้กับครอบครวั
ปญั หาอุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ
๑. การแปรรูปผ้าทอปกาเกอะญอจะมีขั้นตอนที่ยุ่งยาก ต้องมีใจรักการตัดเย็บ ต้องมีฝีมือท่ีปราณีต เรียบร้อย สวยงาม นักเรียน
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ยงั ไม่มีฝมี ือในการตัดเย็บให้ปราณีต เรียบร้อย เท่าทคี่ วร ประกอบกับผู้ท่ถี ่ายทอดไมม่ ีเวลาในการฝึกปฏิบัติอยา่ งต่อเน่ือง
๒. งบประมาณสนับสนุนไม่เพียงพอให้ผู้สนใจในการตัดเย็บมาเข้าอบรมอีกคร้ัง เพ่ือทบทวนและสรรหาผู้สนใจและมีใจรัก
พร้อมจะลงมอื ทาจรงิ ๆ มาร่วมกันสรา้ งสรรคผ์ ลติ ภัณฑ์ตอ่ ไป
๓. ผู้บริหาร วิทยากร ควรมีเวลาขยายผล ถ่ายทอด ทุ่มเทเวลาการสอนใหก้ ล่มุ เป้าหมาย ประกอบดว้ ย ครู ศิษยเ์ กา่ ผู้ปกครอง
แนวทางการพฒั นาตอ่ เนื่อง
- ขยายชน้ั เรยี นให้จบการศึกษาภาคบังคับเพื่อสง่ เสรมิ เด็กมัธยมศึกษาตอนตน้
- ส่งเสรมิ จัดต้ังกองทุนเพอื่ สนบั สนุนกระตุ้นให้เกิดการผลิตสินคา้ อย่างตอ่ เนื่อง
- ส่งเสริมจัดต้งั กองทุนเพือ่ สนับสนนุ ใหเ้ กิดการจาหน่ายในเชงิ พาณชิ ย์อยา่ งแพร่หลาย
- ส่งเสรมิ การจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง จะทาใหเ้ กิดความตระหนักในชมุ ชนจนกลายเป็นความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมในทอ้ งถิน่ ของ
ตนเอง ใชเ้ ปน็ อาชพี ภายในหมบู่ ้านและมชี วี ิตอยกู่ บั ลูกหลานอยา่ งมีความสุขตลอดไป
เอกสารอา้ งอิง
สทุ ธวิ รรณ ตณั ติรจนาวงศ์. (๒๕๖๐). ทิศทางการจัดการศกึ ษาในศตวรรษที่ ๒๑. มหาวิทยาลยั ศิลปากร, ๑๐ (๒), ๒๘๔๓-๒๘๕๔.
สานกั งานโครงการสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี สานกั พระราชวัง สวนจติ รลดา. (๒๕๖๐). แผนพฒั นาเดก็ และเยาวชน
ในถ่ินทุรกันดารตามพระราชด้าริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๙
(พมิ พ์ครง้ั ท่ี ๑). กรงุ เทพฯ : แอคทฟี พรน้ิ ท.์
128
ภาพประกอบ
129
ดานท่ี ๕
ดา นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม
“...¡Ò÷Õè¨Ðá¹Ð¹Ó¹¡Ñ àÃÕ¹ã¹àÃ×èͧµ‹Ò§ æ ã¹»˜¨¨ºØ ¹Ñ ¹ÕéäÁã‹ ªà‹ Ãè×ͧ§Ò‹ Â
à¾ÃÒЪÕÇÔµáÅÐâÅ¡¹Ñé¹à»ÅèÂÕ ¹ä»ÍÂÒ‹ §àÃÇç µÅÍ´àÇÅÒ
ʧèÔ ·èÕ·Ó¤Í× ¾ÂÒÂÒÁãËŒ¹¡Ñ àÃÕ¹䴤Œ ÇÒÁÃŒ´Ù ÒŒ ¹¡Òû¯ºÔ µÑ ÔµÑǾ×é¹°Ò¹
·è¤Õ Ô´Ç‹Ò¨ÐãËÁŒ ¤Õ ÇÒÁÊÒÁÒö·è¨Õ Ð»ÃºÑ µÑÇà»ÅÂèÕ ¹á»Å§ä»ä´ŒáÅÐ໹š ¤¹´ÕÁդس¸ÃÃÁ
Í‹µÙ ‹Íä»ä´ãŒ ¹âÅ¡ÊÁÑ»˜¨¨ºØ ¹Ñ ...”
¾ÃÐÃÒª´ÓÃÑÊ ÊÁà´¨ç ¾ÃС¹ÉÔ °Ò¸ÔÃÒªà¨ÒŒ ¡ÃÁÊÁà´¨ç ¾ÃÐà·¾Ãѵ¹ÃÒªÊØ´Ò Ï ÊÂÒÁºÃÁÃÒª¡ØÁÒÃÕ
¾ÃÐÃÒª·Ò¹á¡‹¤³Ð¼ŒÙ»¯ºÔ µÑ §Ô Ò¹â¤Ã§¡ÒõÒÁ¾ÃÐÃÒª´ÓÃÔ ³ ÈÒÅÒ´ØÊÔ´ÒÅÑ Êǹ¨µÔ ÃÅ´Ò ¡Ãا෾ÁËÒ¹¤Ã
ÇѹÈء÷ èÕ òö àÁÉÒ¹ ¾.È. òõöò
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน
ด้านท่ี ๕ คุณธรรมและจริยธรรม
ชอื่ ผลงาน ธรรมะธรรมชาติ
สถานศึกษา โรงเรยี นบา้ นโนนสะอาดห้วยตะกั่ววิทยา
ผู้เสนอผลงาน สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต ๓
หมายเลขโทรศัพท์
สำนกั งานคณะกรรมการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
คนที่ ๑ นางนภาพร สีถา คนท่ี ๒ นางดวงจนั ทร์ นติ ยาชิ คนที่ ๓ นายนติ ชิ น พหลทัพ
๐๖ ๔๔๖๓ ๔๖๖๔ E-mail : [email protected]
ความสำคญั ของ “ แนวปฏบิ ตั ิทด่ี ี ”
ป่าชุมชนโคกโป่งแดง เป็นพื้นที่สาธารณะ มีพื้นที่ครอบคลุม ๒ ตำบล ๓ หมู่บ้าน เมื่อประมาณ ๒๐ ปีก่อน ป่าชุมชนโคกโป่งแดง
มีพื้นที่ ๗,๐๐๐ ไร่ แต่เนื่องจากคนในชุมชนส่วนใหญ่แสวงหาผลประโยชน์จากผืนป่า ด้วยการบุกรุกเป็นที่ทำกิน รวมท้ั งแก่งแย่งใน
การครอบครองและมีความอยากได้พื้นที่ส่วนรวม มีการบุกรุกของนายทุนและผู้ปกครอง เกิดปัญหาการทะเลาะวิวาท แย่งที่ทำกิน อีกท้ัง
ผู้เรียนหลายคนได้มีส่วนร่วมกับผู้ปกครองในการตัดไม้เพื่อเผาถ่านขาย ทำให้ผืนป่ามีแนวโน้มลดลงเรื่อย ๆ จนเหลืออยู่ ๓๑๑ ไร่ ซึ่งเป็น
พฤติกรรมที่ก่อให้เกิดปัญหาพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม ที่จะส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม และสภาพภูมิอากาศในวงกวา้ ง เป็นปัญหาที่ต้องแก้ไข
อย่างเร่งด่วน โรงเรียนเหน็ ความสำคญั ของปัญหาดังกลา่ วจึงไดร้ ่วมกบั ชุมชนหาแนวทางการแก้ไข โดยใช้กระบวนการรู้ดี รู้ชั่ว และกิจกรรม
ผูพ้ ิทักษ์ ๔ ป ใหก้ บั ผเู้ รยี นและชมุ ชนตาม“บวร” โมเดล โดยใช้การเรียนรู้แบบ สุ จิ ปุ ลิ ในการปลูกฝงั และสร้างจิตสำนกึ เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนและ
ชุมชนมคี ุณธรรม “ความสนั โดษ” โดยเกิดความพอใจ พอดี พอเพยี ง ในการดำเนนิ ชวี ติ และมจี รยิ ธรรม ไมบ่ กุ รกุ พนื้ ป่าชมุ ชน
วตั ถุประสงค์และเปา้ หมายของการดำเนนิ งาน
วตั ถปุ ระสงค์
๑. ปลกู ฝังผเู้ รียนและชมุ ชน ใหม้ ีคณุ ธรรม “ความสนั โดษ” โดยเกดิ ความพอใจ พอดี พอเพยี ง
ในการดำเนนิ ชวี ติ โดยใช้ สุ จิ ปุ ลิ จัดกิจกรรมการเรยี นรู้
๒. ผู้เรียนและชุมชน มจี ริยธรรม ไม่บกุ รุกพืน้ ทปี่ า่ และรว่ มอนรุ กั ษ์ป่าชมุ ชนโคกโปง่ แดง
132
เป้าหมาย
เชิงปริมาณ
๑. ผเู้ รียนและชุมชน รอ้ ยละ ๘๐ ใช้คณุ ธรรม “ความสันโดษ” ทั้งด้าน พอใจ พอดี พอเพียงในชีวิตประจำวัน
๒. ผเู้ รยี นและชมุ ชน ร้อยละ ๙๐ มจี ริยธรรมไม่บุกรุกพนื้ ท่ปี า่ และร่วมอนุรักษพ์ ื้นทีป่ า่ ชุมชนโคกโป่งแดง
เชิงคุณภาพ
๑. ผเู้ รียนและชุมชนมคี วามตระหนกั ในการดำเนินชวี ิตโดยใชค้ ุณธรรม “ความสันโดษ”ท้ังในดา้ น พอใจ พอดี พอเพยี ง
๒. ผูเ้ รยี นและชมุ ชนร่วมกนั อนุรกั ษแ์ ละฟน้ื ฟูพืน้ ที่ปา่ ชุมชนโคกโป่งแดง ให้มีความอุดมสมบรู ณ์มากขึ้นและย่งั ยืน
กระบวนการดำเนนิ งาน
๑. ครู ผู้เรียน ผู้ปกครองและชุมชน ประชุมร่วมกัน เกี่ยวกับปัญหาการบุกรุกพื้นที่ป่าชุมชนโคกโป่งแดง เพื่อหาข้อสรุปของปัญหา
และแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน โดยได้ข้อสรุปดังนี้ สร้างองค์ความรู้ ปลูกฝังสร้างจิตสำนึก รณรงค์และจัดกิจกรรมให้ ผู้เรียนและชุมชน
โดยเสนอให้พระอาจารย์ไสว สุเมธโส เจ้าอาวาสวัดป่าชุมชนโคกโป่งแดง เป็นที่ปรึกษา โดยเน้นสร้าง คุณธรรม“ความสันโดษ” ด้านพอใจ
พอดี พอเพยี ง ใหก้ บั ชมุ ชน และมจี ริยธรรมไม่บกุ รกุ พนื้ ท่ปี า่ ชมุ ชนโคกโปง่ แดง
๒. คณะครูประชุมเพื่อวิเคราะห์หาวิธีและโมเดลในการแก้ไขปัญหา โดยสรุปได้กำหนดการแก้ไขปัญหาโดยใช้ “บวร” โมเดล โดยมี
กระบวนการ ดี รู้ชั่ว และใช้วิธีการเรียนรู้แบบ สุ จิ ปุ ลิ ในการปลูกฝังสร้างจิตสำนึก คุณธรรม จริยธรรม และใช้กิจกรรมผู้พิทักษ์ ๔ ป
๓. ครจู ดั กิจกรรมการเรียนรู้ใหผ้ ู้เรียนศึกษาคุณธรรม “ความสนั โดษ” โดยใชร้ ปู แบบการเรียนรู้ ๔ ขั้นตอน ในรูปแบบของ สุ จิ ปุ ลิ
คือ ผู้เรียนได้อะไรจากจากเรื่องที่ฟัง ผู้เรียนได้ข้อคิดอะไรจากเรื่องที่ฟัง ผู้เรียนมีเรื่องอะไรที่ไม่เข้าใจและอยากรู้เพิ่มเติม ผู้เรียนสามารถ
นำไปปฏบิ ัตไิ ดอ้ ย่างไร
๔. ใหผ้ เู้ รยี นและชมุ ชน ร่วมกจิ กรรมตาม“บวร” โมเดล โดยมี กระบวนการ รดู้ ี รูช้ วั่ และผู้พิทักษ์ ๔ ป ดงั นี้
รดู้ ี โดยใหผ้ ูเ้ รยี นและชมุ ชน ได้ฟงั พระธรรมเทศนา ในกจิ กรรม “วปิ สั สนา” ชวั่ โมงโฮมรมู และจากหอกระจายเสยี งของโรงเรียน
รู้ชัว่ โดยผู้เรยี นและชมุ ชนลงพื้นท่ีป่าชมุ ชนโคกโป่งแดง เพ่อื ให้รู้ถงึ ปัญหาอย่างแทจ้ ริง
ป ปลูก จดั กจิ กรรมการปลูก ต้นไม้ เพอื่ สรา้ งความรัก ความผูกพัน มีความหวงแหนตน้ ไมท้ ่ีตัวเองปลกู
ป ปรับ จัดกจิ กรรมการปรับสภาพพน้ื ท่ีปา่ ท่ีไดร้ ับความเสยี หาย โดยการร่วมกันกำจัดขยะ จัดทำป้ายหา้ มเผา และห้ามท้ิงขยะใน
พืน้ ท่ปี ่า
ป ปัก จัดกจิ กรรมให้นกั เรยี นรว่ มกบั ชมุ ชนดำเนินปกั ธงสมี ่วงรอบป่าสรา้ งเป็นแนวป้องกันผู้บุกรกุ พน้ื ท่ปี า่
ป ประเสริฐ จัดกิจกรรม ให้นักเรียนร่วมกับชุมชนเกิดจิตสำนึกในการ ปลูก ปรับ ปัก เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการอนุรักษ์ธรรมชาติ
และสง่ิ แวดลอ้ ม
133
๕. การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรยี นรู้และสะท้อนผลการจดั กจิ กรรมของโรงเรยี นและชมุ ชน
๖. ครูและผู้เรียนสรุปองค์ความรรู้ ่วมกนั และรายงานผลและเผยแพร่ผลการดำเนนิ งาน
ผลการดำเนินงาน
๑. ผู้เรยี นและชุมชน มีคณุ ธรรม “ความสันโดษ” โดยเกิดความพอใจ พอดี พอเพียง จำนวน ๕๓๘ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๘๗.๑๙
๒. ผเู้ รียนและชมุ ชน มจี ริยธรรม ไม่บกุ รุกพน้ื ทป่ี ่าและร่วมอนุรักษป์ ่าชมุ ชน โคกโป่งแดง จำนวน ๖๑๗ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐
ประโยชนท์ ี่ได้รับและการเผยแพร่
ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั
๑. ผเู้ รียนและชุมชน มีคุณธรรม “ความสันโดษ” ใช้ความพอใจ พอดี พอเพียงในการดำเนินชีวติ และมคี วามรกั และหวงแหนธรรมชาติ
ของพนื้ ทป่ี า่ ชุมชนโคกโป่งแดง
๒. ผู้เรียนและชมุ ชนมจี ติ สำนกึ รัก และจติ สาสาธารณะ ในการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมของชมุ ชน
การเผยแพร่
ประชาสมั พันธ์ภาพการทำกิจกรรมและสรปุ ผลการดำเนนิ โครงการผา่ นเว็บไซต์ของโรงเรียน รวมทั้งรายงานผลการดำเนนิ โครงการ
ต่อสำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาขอนแก่น เขต ๓
ปัจจัยความสำเรจ็
ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นแกนนำในการจัดกิจกรรม ร่วมกับการประสานความร่วมมือกับผู้นำชุมชน ผู้ปกครองนักเรียน และ
หน่วยงานต่าง ๆ มีการกำกับ ติดตาม อย่างสม่ำเสมอ และสนับสนุนงบประมาณในการจัดกิจกรรม การจัดหาต้นกล้า พันธุ์ไม้ที่หลากหลาย
การประชาสัมพนั ธ์ โนม้ นา้ วชุมชนให้เขา้ รว่ มกจิ กรรมด้วยความเต็มใจ การสนับสนนุ วัสดุ อปุ กรณ์ จากหน่วยงานต่าง ๆ
ปญั หาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะ
ปญั หา
ฝนไมต่ กตามฤดกู าล ขาดแหลง่ นำ้
134
ขอ้ เสนอแนะ
๑. จัดกจิ กรรมการปลกู ป่าในชว่ งต้นของฤดฝู น
๒. ให้ชุมชนมสี ว่ นร่วมโดยการแบ่งพ้ืนทรี่ บั ผดิ ชอบ รวมท้ังจัดใหช้ ุมชนมสี ว่ นรว่ มในการบวชปา่
แนวทางการพัฒนาต่อเน่ือง
สร้างความตระหนักให้กับเยาวชน ในชุมชนต่างๆอย่างต่อเนื่อง ในการปลูกจิตสำนึกผู้เรียนรักษ์ป่า ปลูกป่าและสอดส่องดูแลการใช้
พื้นท่ปี ่า
เอกสารอา้ งอิง
พระมหาวีรยุทธ กุสลจิตฺโต และพระมหามิตร ฐิตปญฺโญ. (๒๕๖๔). สันโดษ คือ องค์ธรรมแห่งการรู้จักพอ. Buddhist Education and
Research, ๗ (๑), ๒๗๖-๒๘๘.
สำนักงานโครงการสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี สำนักพระราชวัง สวนจติ รลดา. (๒๕๖๐). แผนพัฒนาเดก็ และเยาวชน
ในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๙
(พิมพค์ รัง้ ท่ี ๑). กรุงเทพฯ : แอคทฟี พร้ินท์.
ภาพประกอบ
135
กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน
ดา้ นท่ี ๕ คุณธรรมและจรยิ ธรรม
ชอ่ื ผลงาน ๑ พุทธนวัตกรรม ๑ พุทธธรรมประจำโรงเรียน
สถานศกึ ษา ศูนยก์ ารเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านแผน่ ดินเสมอ
ผู้เสนอผลงาน กองกำกบั การตำรวจตระเวนชายแดนท่ี ๔๒ จงั หวดั นครศรีธรรมราช
หมายเลขโทรศพั ท์
สบิ ตำรวจโทหญิง ทัศนีย์ ศรสี มบตั ิ
๐๙ ๒๔๒๘ ๑๑๕๑ E-mail : [email protected]
ความสำคัญของ “ แนวปฏบิ ตั ทิ ดี่ ี ”
ปัจจุบันประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่ยุค Thailand ๔.๐ ซึ่งขับเคลื่อนประเทศด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม
ไปสู่ความ “มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประเทศไทยจะต้องมีการสร้างนวัตกรรมเป็นของตนเอง ดังนั้น การศึกษาในยุค
๔.๐ ไม่ใช่เป็นเพียงการให้ความรู้กบั คนหรือผูเ้ รียนเท่านัน้ แต่เป็นการเตรียมมนุษย์ให้เป็นมนุษย์ ด้วยการพัฒนาทักษะที่สำคัญในการดำเนิน
ชีวิตไปด้วยโดยเฉพาะในส่วนของผู้เรียนต้องสอนให้มี “ความรู้คู่คุณธรรมและมีทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” ดังพระราชกระแสรับสั่งของ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ และพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐
เรื่องการสร้างคนดีให้แก่บ้านเมือง จะต้องเริ่มจากแนวทาง “สร้างคนดีก่อน แล้วพัฒนาให้เป็นคนเก่ง” ศูนย์การเรียนตำรวจตระเวนชายแดน
บา้ นแผน่ ดินเสมอและครูผู้สอน ตระหนกั ถึงความสำคัญของการสรา้ งเยาวชนของชาติใหเ้ ป็นคนดี จึงจดั กระบวนการเรยี นรู้ให้เหมาะสมกับยุค
Thailand ๔.๐ อย่างสร้างสรรค์ โดยเนน้ การเรยี นรู้บูรณาการกับคุณธรรมเพื่อสร้างคนดี พร้อมกับพัฒนาให้เปน็ คนเก่ง โดยการใช้หลักธรรม
อิทธิบาท ๔ มาเป็นแนวปฏิบัติที่ดี “๑ พุทธนวัตกรรม ๑ พุทธธรรมประจำโรงเรียน” ซึ่งเป็นการนำ ๑ นวัตกรรมการสอนที่บูรณาการ
กับพระพุทธศาสนา มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ โดยใช้หลักธรรม ๑ หลักธรรม คือ อิทธิบาท ๔ เพื่อให้เยาวชนเป็นคนดีมีคุณธรรม และเป็นคนเก่ง
ทีม่ คี ุณภาพแกส่ ังคมและประเทศชาติต่อไป
136
วัตถปุ ระสงค์และเป้าหมายของการดำเนนิ งาน
เปา้ หมาย
เชงิ ปริมาณ
๑. …………………………………………………………………………………………..
๒. …………………………………………………………………………………………..
เชงิ คุณภาพ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กระบวนการดำเนนิ งาน
ครผู ู้สอนไดจ้ ัดทำนวัตกรรมการสอน “๑ พุทธนวัตกรรม ๑ พทุ ธธรรมประจำโรงเรียน”โดยดำเนนิ การภายใต้การทำงานแบบวงจร
คณุ ภาพ PDCA ท่มี คี วามสมั พนั ธ์สอดคลอ้ งกบั หลกั ธรรมอทิ ธบิ าท ๔ ดงั นี้
137
ผลการดำเนินงาน
ดา้ นปริมาณ
นักเรียนเป็นคนดีมีคุณธรรม (ร้อยละ ๙๕ สามารถนำหลักธรรมอิทธิบาท ๔ มาใช้ในการเรียนได้)นักเรียนเป็นคนเก่งที่มีคุณภาพ
(ประถมศึกษาปีที่ ๑, ๓ และ ๖) มีผลการทดสอบระดับชาติ (RT,NT,O-Net) สูงกว่าระดับประเทศ ๓ วิชา คือ ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ
และวทิ ยาศาสตร์ สว่ นคณติ ศาสตร์ คะแนนเพิ่มขึ้นจากปี ๒๕๖๔ จำนวน ๘.๓๘ คะแนน)
138
ด้านคุณภาพ
นกั เรียนนำความรู้คู่คณุ ธรรมอทิ ธบิ าท ๔ มาประยกุ ต์ใช้ในการเรียนจนประสบความสำเร็จ มชี ื่อเสยี งและผลงานอันเป็นทป่ี ระจักษ์
เปน็ ท่ียอมรบั ทงั้ ในระดบั จังหวดั และระดับประเทศ
ประโยชน์ท่ีได้รบั และการเผยแพร่
ประโยชน์ท่ไี ด้รบั
ด้านผู้เรยี น
นกั เรียนเปน็ คนดีมีคณุ ธรรมและเป็นคนเก่งที่มีคณุ ภาพ มีผลสัมฤทธิ์ท่ีดใี นการเรยี น อนั เกิดจากการเรียนรคู้ วบคู่คุณธรรม
ดา้ นสถานศกึ ษา
ศูนย์การเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบา้ นแผ่นดินเสมอ มีชื่อเสียงและภาพลักษณ์ทีด่ ีในการจัดการเรียนรู้ควบคู่คณุ ธรรม มีนักเรียน
ทีเ่ ก่ง ดี มีคณุ ธรรม
ด้านชุมชน
ชุมชนเกิดความไว้วางใจและเชื่อมั่นในการจัดการศึกษาของโรงเรียน เพราะนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีควบคู่กับ
การเป็นคนดมี คี ุณธรรม
การเผยแพร่
เผยแพร่ผลการดำเนนิ กจิ กรรมต่างๆของโครงการผา่ นทาง Facebook หรือ LINE โดยประชาสัมพนั ธ์ทาง Facebook สถานีโทรทศั น์
ตำรวจแห่งชาติ (Police TV by UCI Media), สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดกระบ่ี, หนังสือพิมพ์สนามข่าวออนไลน์, เพจ ศกร.ตชด.
บ้านแผน่ ดินเสมอ
ปัจจัยความสำเร็จ
ครูผู้สอน เป็นครูยุคใหม่ ที่มีผลงานระดับประเทศ จากการจัดการเรยี นรู้ควบคู่คณุ ธรรม ที่สามารถนำหลักธรรมมาใชเ้ ป็นนวัตกรรม
ในการสอนที่เหมาะสมกับการศึกษาไทยแลนด์ ๔.๐ โดยผู้บังคับบัญชาให้การสนับสนุนงบประมาณ พร้อมทั้งขวัญและกำลังใจใน
การดำเนนิ งาน จนเกดิ การต่อยอดแนวปฏิบัตทิ ดี่ ีไปสู่คณะครูทุกวิชา ทำใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธ์ิทดี่ ีต่อนักเรียน และสร้างชือ่ เสยี งอันดีงามต่อภาค ๔,
กก.ตชด. ๔๒ และโรงเรียน
139
ปญั หาอุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ
พุทธนวัตกรรมบางกิจกรรม ไม่เหมาะสมกับกลุ่มนักเรียนที่มีพัฒนาการช้า จึงทำให้เกิดช่องว่างในการเรียนรู้ ส่งผลให้พัฒนา
การเรียนรู้ของนักเรียนไม่เท่ากัน ครูผู้สอนและคณะครู จำเป็นต้องจัดกิจกรรมที่เหมาะกับกลุ่มนักเรียน เพื่อให้นักเรียนแต่ละกลุ่มได้ เรียนรู้
หลักธรรมอทิ ธิบาท ๔ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมจนประสบความสำเร็จ
แนวทางการพฒั นาตอ่ เนื่อง
นำแนวปฏิบัติที่ดีไปเผยแพร่แก่โรงเรียนอื่นๆ เพื่อน้อมรับคำติชมและพัฒนาต่อยอดให้ดียิ่งขึ้น พร้อมศึกษาหาความรู้ใหม่ ๆ มาปรับใช้
ในการจดั การเรียนรูค้ วบคู่คุณธรรม เพ่อื ให้เหมาะสมกับการศึกษาไทย ๔.๐
เอกสารอ้างอิง
สำนักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี สำนกั พระราชวงั สวนจิตรลดา. (๒๕๖๐). แผนพฒั นาเดก็ และเยาวชน
ในถิ่นทุรกันดารตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ฉบับที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๙
(พิมพ์ครั้งท่ี ๑). กรงุ เทพฯ : แอคทีฟ พริน้ ท.์
ภาพประกอบ
140