The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษา 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ASCAR.RMUTK, 2022-06-29 00:23:21

คู่มือนักศึกษา 2565

คู่มือนักศึกษา 2565

คมู่ ือนักศึกษา

รการชุงมเทงพคล

Rajamangala University of Technology Krungthep

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

Rajamangala University of Technology Krungthep

คม่ ู ือนกั ศึกษา
๒๕๖๕

คมู่ ือนี้ มีเจา้ ของชื่อ..................................................................................................................
รหสั นกั ศึกษา..................................................................................................................................
สาขา............................................................................................................................................................
คณะ.............................................................................................................................................................
อาจารยท์ ี่ปรึกษาช่อื .............................................................................................................



สารจากอธิการบดี หน้า
ประวตั คิ วามเป็นมาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

สญั ลักษณ์ ๕

สีประจำมหำวทิ ยำลัย ๗

ตน้ ไม้ประจำมหำวิทยำลัย ๙

ผ้บู รหิ ำรมหำวิทยำลยั ๑๑
๑๖
วิสัยทัศน์ อตั ลกั ษณ์ และเอกลักษณ์ ๑๗
คำ่ นยิ มหลกั ๑๘
การจัดการศกึ ษา
คณะ/สำขำวชิ ำท่ีเปดิ สอนในมหำวทิ ยำลยั ๒๓

ควำมหมำยของเลขรหสั นักศกึ ษำ ๒๕
๕๔
เครอ่ื งแบบนกั ศึกษำ
๕๙
บทบำทของอำจำรย์ทีป่ รึกษำ
การใหบ้ รกิ ารจากสานักสง่ เสริมวชิ าการและงานทะเบียน ๖๕
๗๗
ประเภทกำรบริกำร ๘๐
พระราชบัญญัติ และพระราชกฤษฎกี า ทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั การจัดการศึกษา ๘๒
๙๓
พระรำชบัญญตั มิ หำวทิ ยำลัยเทคโนโลยรี ำชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘ ๙๔

พระรำชกฤษฎีกำว่ำดว้ ยปรญิ ญำในสำขำวิชำ อักษรย่อสำหรบั สำขำวชิ ำ

ครยุ วิทยฐำนะ เขม็ วทิ ยฐำนะ และครุยประจำตำแหน่งของมหำวิทยำลยั
เทคโนโลยีรำชมงคลกรุงเทพ พ.ศ. ๒๕๕๑

พระรำชกฤษฎีกำ วำ่ ดว้ ยปริญญำในสำขำวชิ ำ อกั ษรยอ่ สำหรบั สำขำวิชำ

ครุยวทิ ยฐำนะ เขม็ วทิ ยฐำนะ และครยุ ประจำตำแหนง่ ของมหำวิทยำลัย
เทคโนโลยรี ำชมงคลกรุงเทพ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๕๕
หมวดว่าด้วยการจดั การศึกษา
ระดับปริญญาตรี
ขอ้ บงั คับฯ วำ่ ด้วยกำรศกึ ษำระดบั ปริญญำตรี พ.ศ. ๒๕๕๐

ระเบียบฯ ว่ำด้วยกำรสอบของนักศกึ ษำระดบั ปรญิ ญำตรี พ.ศ. ๒๕๓๗

ระเบยี บฯ ว่ำด้วยกำรศกึ ษำลกั ษณะวิชำเพิม่ เติมสำหรบั บณั ฑติ พ.ศ. ๒๕๓๗

ระเบียบฯ วำ่ ด้วยกำรเทยี บโอนผลกำรเรยี น พ.ศ. ๒๕๖๔

ประกำศฯ เรื่อง กำรลงทะเบยี นเรยี นขำ้ มภำคกำรศึกษำ

ประกำศฯ เรอ่ื ง กำรตรวจสอบผลกำรลงทะเบยี นและกลุ่มเรยี น (Section)

หน้า

ประกำศฯ เรื่อง กำรลงทะเบยี นของนักศึกษำกลุม่ สหกิจศกึ ษำ นักศึกษำฝึกงำน ๙๕

ในสถำนประกอบกำร หรอื นกั ศกึ ษำฝกึ ประสบกำรณ์กำรสอนในสถำนศกึ ษำ

ประกำศฯ เรอ่ื ง กำรลงทะเบียนเรียนประจำภำคฤดูร้อน ๙๖

ประกำศฯ เรอื่ ง กำรลงทะเบียนประจำภำคกำรศึกษำ ๙๗

ประกำศฯ เร่ือง เกณฑ์กำรลงทะเบยี นเรยี นซำ หรอื แทน ๙๘

และกำรนับหนว่ ยกติ รวมตลอดหลักสตู ร พ.ศ. ๒๕๕๔

ประกำศฯ เรื่อง ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ นกำรสอบของนกั ศึกษำระดบั ปรญิ ญำ ๑๐๐

พ.ศ. ๒๕๕๗

ประกำศฯ เร่ือง เกณฑก์ ำรวัดและประเมินผลกำรศกึ ษำระดบั ปรญิ ญำตรี ๑๐๔

ประกำศฯ เร่อื ง เกณฑ์กำรวดั และประเมินผลกำรศึกษำระดับปรญิ ญำตรี ๑๑๐

(ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๒

ประกำศฯ เรือ่ ง เกณฑม์ ำตรฐำนควำมรภู้ ำษำอังกฤษของนกั ศึกษำระดบั ปรญิ ญำตรี ๑๑๒

พ.ศ. ๒๕๖๐

ประกำศฯ เรอ่ื ง เกณฑม์ ำตรฐำนควำมรดู้ ้ำนคอมพิวเตอร์ของนักศึกษำระดบั ปรญิ ญำตรี ๑๑๓

พ.ศ. ๒๕๖๑

ประกำศฯ เร่ือง เกณฑม์ ำตรฐำนควำมสำมำรถทำงภำษำองั กฤษของนักศึกษำ ๑๑๔

ระดับปรญิ ญำตรี พ.ศ. ๒๕๖๔

ประกำศฯ เรอื่ ง กำรขอกลบั เขำ้ ศกึ ษำ และ คนื สภำพกำรเปน็ นกั ศึกษำ ๑๑๖

ประกำศฯ เร่ือง กำรยำ้ ยคณะ หรือเปลยี่ นสำขำวิชำ พ.ศ. ๒๕๕๗ ๑๑๗

ประกำศฯ เร่อื ง หลกั เกณฑ์กำรพจิ ำรณำเทียบรำยวชิ ำหรือกลุ่มวชิ ำ ๑๑๙

ประกำศฯ เรอื่ ง แนวทำงกำรดำเนนิ กำรพัฒนำและบริหำรจัดกำรหลกั สตู ระยะสัน ๑๒๐

ประกำศฯ เร่อื ง กำรแตง่ กำยท่ใี ชใ้ นกำรติดรปู ถำ่ ยบนบัตรประจำตวั นักศึกษำ ๑๒๔

ประกำศฯ เรือ่ ง กำรขอผอ่ นผันเลื่อนรบั พระรำชทำนปรญิ ญำบัตร ๑๒๗

ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา

ข้อบงั คบั ฯ ว่ำด้วยกำรศกึ ษำระดบั บัณฑติ ศึกษำ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๑๒๙

หมวดการเงนิ
ระดบั ปริญญาตรี

ประกำศฯ เร่ือง อตั รำกำรเกบ็ เงนิ คำ่ บำรงุ กำรศกึ ษำ ค่ำลงทะเบยี น ค่ำขนึ ทะเบียน ๑๗๔

นกั ศึกษำ คำ่ ธรรมเนยี มกำรศึกษำและคำ่ ใช้จำ่ ยอื่น ในกำรจดั กำรศกึ ษำ

ระดับปริญญำตรี หลักสูตรนำนำชำติ พ.ศ. ๒๕๕๗

ประกำศฯ เร่ือง กำรถอนคนื เงินคำ่ บำรงุ กำรศกึ ษำ ค่ำลงทะเบยี น ค่ำสนบั สนนุ หนา้
กำรจดั กำรศกึ ษำ และคำ่ ธรรมเนียมกำรศึกษำในกำรจดั กำรศกึ ษำ ๑๗๖
ระดบั ปริญญำตรี พ.ศ. ๒๕๕๙ ๑๗๘
๑๘๓
ประกำศฯ เรอ่ื ง อตั รำกำรเก็บเงินคำ่ บำรงุ กำรศึกษำ ค่ำลงทะเบียน ค่ำสนบั สนนุ
กำรจดั กำรศกึ ษำ และค่ำธรรมเนียมกำรศกึ ษำในกำรจดั กำรศกึ ษำระดับ ๑๘๕
ปรญิ ญำตรี พ.ศ. ๒๕๖๓
๑๘๙
ประกำศฯ เรอื่ ง อัตรำกำรเกบ็ เงนิ คำ่ บำรงุ กำรศกึ ษำ คำ่ ลงทะเบยี น คำ่ สนบั สนุน
กำรจัดกำรศึกษำ และค่ำธรรมเนียมกำรศึกษำ ในกำรจัดกำรศกึ ษำ ๑๙๓
ระดบั ปริญญำตรี หลักสูตรบริหำรธุรกิจบัณทิต สำชำวิชำธรุ กิจกำรบนิ
พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๙๔
๑๙๗
ประกำศฯ เร่อื ง อตั รำกำรเก็บเงนิ ค่ำบำรงุ กำรศึกษำ ค่ำลงทะเบียน ๑๙๘
และค่ำธรรมเนยี มกำรศกึ ษำในกำรจดั กำรศกึ ษำระดบั ปรญิ ญำตรี ภำคสมทบ
โครงกำรควำมร่วมมอื กำรจดั กำรศกึ ษำระหวำ่ งคณะบรหิ ำรธรุ กิจ
และ บริษทั ซพี ี ออลล์ จำกดั (มหำชน) พ.ศ. ๒๕๖๔

ประกำศฯ เร่ือง อตั รำกำรเกบ็ เงนิ ค่ำบำรงุ กำรศึกษำ คำ่ ลงทะเบยี น
และคำ่ ธรรมเนยี มกำรศึกษำในกำรจัดกำรศกึ ษำระดับปรญิ ญำตรี ภำคสมทบ
โครงกำรควำมรว่ มมือกำรจดั กำรศกึ ษำระหวำ่ งคณะบรหิ ำรธรุ กิจ
และ บริษัท ชีอำรซ์ ี ไทวัสดุ จำกัด พ.ศ. ๒๕๖๔

ประกำศฯ ยกเวน้ กำรเรียกเกบ็ เงินค่ำบำรงุ กำรศึกษำ คำ่ ลงทะเบยี น
ประจำภำคกำรศึกษำฤดรู ้อน กรณนี ักศกึ ษำสำขำวิชำวศิ วกรรมซ่อมบำรงุ
อำกำศยำน คณะวิศวกรรมศำสตร์ (หลักสูตร พ.ศ. ๒๕๖๑)
ลงทะเบยี นรำยวชิ ำกำรฝกึ ประสบกำรณส์ ำหรับวศิ วกรรมซ่อมบำรงุ อำกำศยำน

ประกำศฯ อัตรำกำรเก็บเงนิ คำ่ บำรงุ กำรศึกษำ ค่ำลงทะเบยี น และค่ำธรรมเนียมกำรศกึ ษำ
ในกำรจัดกำรศึกษำระดับปรญิ ญำตรี กรณีนกั ศึกษำสำเรจ็ กำรศึกษำระดบั
ประกำศนยี บตั รตำมมำตรฐำน EASA PART-66 Category B1.1

ประกำศฯ เรื่อง กำรยกเลกิ กำรเรยี กเก็บเงินค่ำสนบั สนนุ กำรจดั กำรศึกษำ
(ชำระแรกเข้ำครงั เดยี ว) ในกำรจัดกำรศกึ ษำระดับปรญิ ญำตรี
สำหรบั คณะบริหำรธุรกิจ และคณะเทคโนโลยคี หกรรมศำสตร์ ภำคสมทบ

ประกำศฯ เร่อื ง อัตรำกำรเรยี กเกบ็ เงนิ ค่ำธรรมเนียมกำรศึกษำ สำหรบั ผู้เขำ้ ศกึ ษำ
ในหลักสตู รระยะสัน

หนา้

ประกำศฯ เรอ่ื ง อตั รำกำรเก็บเงินคำ่ ธรรมเนยี มกำรศึกษำ สำหรบั ค่ำใชจ้ ่ำยในกำร ๑๙๙

ขึนทะเบยี นบณั ฑติ ระดบั ปรญิ ญำตรี พ.ศ. ๒๕๖๓

ประกำศฯ เรือ่ ง อตั รำกำรเกบ็ เงินในกำรจดั กำรกำรศกึ ษำระดับปรญิ ญำตรี ๒๐๐

หลกั สตู รบริหำรธุรกจิ บณั ฑิต สำขำวชิ ำผู้ประกอบกำรธุรกิจแฟชน่ั

ภำคพิเศษ พ.ศ. ๒๕๖๔

ประกำศฯ เรอื่ ง อตั รำกำรเก็บเงนิ ในกำรจัดกำรกำรศึกษำระดบั ปรญิ ญำตรี ๒๐๕

หลักสตู รบรหิ ำรธรุ กจิ บณั ฑิต สำขำวชิ ำผ้ปู ระกอบกำรธุรกิจแฟช่นั ภำคพิเศษ

(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๔

ประกำศฯ เรอ่ื ง อตั รำกำรเก็บเงนิ ในกำรจัดกำรกำรศึกษำระดับปรญิ ญำตรี ๒๐๗

หลกั สูตรบรหิ ำรธุรกิจบณั ฑิต สำขำวิชำผู้ประกอบกำรธุรกจิ แฟชนั่ ภำคพเิ ศษ

(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๔

ประกำศฯ เรอื่ ง อัตรำกำรเกบ็ เงนิ ในกำรจดั กำรกำรศึกษำระดบั ปรญิ ญำตรี ๒๐๙

หลกั สูตรบรหิ ำรธุรกิจบณั ฑิต สำขำวชิ ำผู้ประกอบกำรธุรกจิ แฟช่ัน ภำคพเิ ศษ

(ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๔

ประกำศฯ อตั รำกำรเก็บเงนิ ค่ำบำรุงกำรศกึ ษำ ค่ำลงทะเบยี น ค่ำสนับสนุนกำร ๒๑๐

จดั กำรศึกษำและค่ำธรรมเนียมกำรศึกษำในกำรจัดกำรศึกษำ

ระดับปริญญำตรี พ.ศ. ๒๕๖๕

ระดับบัณฑติ ศกึ ษา

ประกำศฯ เรอ่ื ง อัตรำกำรเกบ็ คำ่ เล่ำเรียนแบบเหมำจ่ำย และคำ่ ธรรมเนยี มกำรศึกษำ ๒๑๖

ในกำรจัดกำรศกึ ษำระดบั บณั ฑติ ศึกษำ พ.ศ. ๒๕๕๘

ประกำศฯ เรื่อง อตั รำกำรเกบ็ คำ่ เล่ำเรียนแบบเหมำจำ่ ย และคำ่ ธรรมเนียมกำรศึกษำ ๒๑๙

ในกำรจัดกำรศกึ ษำระดับบณั ฑติ ศึกษำ คณะอตุ สำหกรรมส่ิงทอ ภำคสมทบ

พ.ศ. ๒๕๖๑

ประกำศฯ เร่ือง อตั รำกำรเก็บค่ำเล่ำเรยี นแบบเหมำจำ่ ย และคำ่ ธรรมเนียมกำรศกึ ษำ ๒๒๒

ในกำรจัดกำรศกึ ษำระดบั บณั ฑติ ศกึ ษำ คณะวทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ภำคสมทบ พ.ศ. ๒๕๖๑

ประกำศฯ เรือ่ ง อัตรำกำรเกบ็ คำ่ เลำ่ เรยี นแบบเหมำจำ่ ย และค่ำธรรมเนียมกำรศกึ ษำ ๒๒๔

ในกำรจัดกำรศึกษำระดับบณั ฑติ ศกึ ษำ คณะบรหิ ำรธรุ กิจ ภำคสมทบ

พ.ศ. ๒๕๖๓

ประกำศฯ เรือ่ ง อตั รำกำรเกบ็ คำ่ เลำ่ เรียนแบบเหมำจ่ำย และคำ่ ธรรมเนยี มกำรศึกษำ ๒๒๖

ในกำรจดั กำรศึกษำระดับบัณฑิตศกึ ษำ ภำคสมทบ พ.ศ. ๒๕๖๔

หน้า

ประกำศฯ เร่ือง อตั รำกำรเก็บคำ่ เล่ำเรียนแบบเหมำจ่ำย และคำ่ ธรรมเนยี มกำรศกึ ษำ ๒๒๙

ในกำรจดั กำรศึกษำระดับบัณฑิตศกึ ษำ ภำคปกติ พ.ศ. ๒๕๖๔

หมวดวา่ ดว้ ยการบริการและสวัสดิการนักศกึ ษา

ขอ้ บงั คับฯ ว่าด้วย กจิ กรรมนักศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๔ ๒๓๓
ระเบยี บฯ วำ่ ดว้ ยกำรปฐมนเิ ทศและปัจฉมิ นเิ ทศนกั ศกึ ษำ พ.ศ. ๒๕๓๙ ๒๕๓

ระเบยี บฯ ว่ำด้วยกำรแต่งกำยของนักศึกษำ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๒๕๖

ระเบยี บฯ วำ่ ดว้ ยกำรใช้บรกิ ำรสำนกั วิทยบรกิ ำรและเทคโนโลยสี ำรสนเทศ พ.ศ. ๒๕๕๙ ๒๖๐

ระเบยี บฯ ว่ำด้วยวินยั นกั ศกึ ษำและผมู้ ำขอรบั บริกำรทำงวชิ ำกำร พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒๗๐

ระเบียบฯ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ ว่าด้วยการเงนิ กจิ กรรมนกั ศึกษา ๒๙๑

พ.ศ. ๒๕๖๔ ๒๙๘
ประกำศฯ เรอ่ื ง มำตรกำรในกำรจดั กิจกรรมตอ้ นรับนอ้ งใหม่

และประชุมเชียร์ในมหำวิทยำลยั

ประกำศฯ เรอ่ื ง บทลงโทษนกั ศึกษำทีก่ ระทำผิดตำมประกำศมหำวิทยำลยั ๓๐๐

เทคโนโลยรี ำชมงคลกรุงเทพเร่ืองมำตรกำรในกำรจดั กจิ กรรม

ตอ้ นรับน้องใหม่และประชมุ เชยี รใ์ นมหำวทิ ยำลัย

สวัสดิการนกั ศกึ ษา

ทนุ กำรศกึ ษำ ๓๐๑

งำนแนะแนวกำรศึกษำและอำชพี ๓๐๓

งำนประกันอบุ ัติเหตุ ๓๐๕

งำนสุขภำพอนำมยั ๓๐๕

งำนวิชำทหำร ๓๐๗

องคก์ ำรนักศกึ ษำ ๓๐๙

สาระน่ารู้

ระบบกำรจดั กำรศกึ ษำ ๓๑๑

กำรลงทะเบยี นเรยี น ๓๑๑

บทลงโทษสำหรบั กำรปลอมแปลงเอกสำร ๓๑๒

กำรพ้นสภำพ ๓๑๒

กำรคำนวณระดบั คะแนนเฉลีย่ สะสม ๓๑๓

ท่ตี ังและแผนที่กำรเดนิ ทำง ๓๑๕

หมายเลขโทรศัพท์ ๓๑๖



คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕ ()๑I()

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ในนามของผู้บริหาร คณาจารย์ และบุคลากร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ขอต้อนรับ
นักศึกษาใหม่ประจาปีการศึกษา 2565 เข้าศึกษาใน
“มหาวิทยาลัยแห่งการพฒั นาคนสนู่ วตั กรรมและเทคโนโลยี
เชงิ สรา้ งสรรค์” ด้วยความยินดีย่งิ

ก า ร เข้ า ศึ ก ษ า ต่ อ ใ น ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า ข อ ง
นักศึกษาใหม่ทุกคนครั้งนี้เป็นช่วงเวลาสาคัญมากในชีวิตของ
นักศึกษา ที่กล่าวว่าสาคัญน้ัน คือ การศึกษาในระดับอุดมศึกษานี้เป็นการศึกษาเพื่อการประกอบ
อาชีพในอนาคต ซ่ึงนักศึกษาจะต้องปรับตัวให้เข้ากับระบบการจัดการเรียนการสอน
สภาพแวดล้อม และสังคมใหม่ ที่แตกต่างไปจากสถาบันการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หรือเทียบเทา่ ทที่ กุ คนสาเรจ็ การศกึ ษามา

การปรับตัวและการศึกษาของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพนี้
ผูบ้ ริหาร คณาจารย์ และบุคลากรของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพทุกคน พร้อมท่ีจะ
บริหารจัดการดาเนินการเรียนการสอน ตลอดจนให้การสนับสนุนช่วยเหลือแก่นักศึกษาทุกคน
ต้ังแต่ก้าวแรกจนประสบผลสาเร็จ เป็น “บัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ”
อยา่ งเต็มภาคภมู ิ

สาหรบั ปกี ารศกึ ษา 2565 นี้ นบั เป็นปที ่คี ณาจารย์ บุคลากร และนกั ศกึ ษาจะตอ้ งปรบั ตัว
ไปพร้อมๆ กัน น่ันก็คือปรับการจัดการเรียนการสอนเพ่ือป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) ซ่ึงเป็นสถานการณ์ที่ประชาคมโลกเผชิญอยู่ ซึ่งมหาวิทยาลัยได้มีการจัดการ
เรียนการสอน และจัดกิจกรรมนักศึกษา ทั้งในรูปแบบออนไลน์ ในห้องเรียน และห้องปฏิบัติการ
ตามความเหมาะสมกับสถานการณ์ โดยคานึงถึงสวัสดิภาพของนักศึกษาและบุคลากรเป็นสาคัญ
ทง้ั นีข้ อใหน้ กั ศึกษาไดต้ ดิ ตามประกาศขา่ วประชาสัมพันธ์ของมหาวทิ ยาลัยอยู่เสมอ

สุดท้ายนี้ผมขออาราธนาสิ่งศักด์ิสิทธิ์ในสากลโลกอานวยพรให้นักศึกษาใหม่ปีการศึกษา
2565 มีความสุขความเจรญิ สุขภาพแขง็ แรง สาเร็จการศกึ ษาสมดงั ท่ีตง้ั ใจ

พชิ ัย จนั ทรม์ ณี
(รองศาสตราจารยพ์ ชิ ยั จนั ทร์มณ)ี

รักษาราชการแทนอธิการบดี
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ



คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕ )(1๑()(๑)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลคย่มูรี อืาชนมกั งศคึกลษการ๒งุ เท๕พ๖๕

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

)(2๒)( คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕
(๒) ค่มู มอื หนากั วศิทกึ ยษาาล๒ยั เท๕ค๖โน๕โลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เป็นสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะกรรมกามรกหาารวอิทดุ ยมาศลึกัยษเาทตคาโมนพโลรยะีรราาชชบมญั งคญลัตกิมรหุงาเวทิทพยาลเปัย็นเทสคถโานบโลันยอีรุดาชมมศงึกคษลาพสุทังกธศัดักสราานชัก๒งา๕น๔๘
คณเมะก่ือรวรันมทก่ีา๑ร๙การมอกดุ รมาศคึกมษา๒ต๕าม๔พ๘ระรเาปช็นบกัญาญรรัตวิมมหตาัววิทขยอางล๓ัยเทวิทคโยนาโเลขยตีราคชือมงวคิทลยาพเขุทตธเศทักครนาชิคก๒ร๕ุง๔เท๘พฯ
เม่ือวิทวันยทาเ่ี ข๑ต๙บพมิตกรรพาิมคุขมมห๒า๕เม๔ฆ๘แลเะปว็นิทกยาารเขรวตมพตรัวะขนอคงรใ๓ต้ วภิทายยาใเตข้ชตื่อคมือหาววิทิทยยาาเลขัยตเเททคคโนนิคโลกยรีุรงาเทชพมงฯคล
วิทกยราุงเเขทตพบจพดั ิตกราพริมเรุขยี มนหกาารเมสฆอนแใลนะรวะิทดบัยอาเุดขมตศพึกรษะานหคลรกั ใสตูต้ รภปารยญิ ใญต้ชาตื่อรมีแหลาะวปิทรยิญาญลัยาโเททคหโลนาโกลหยลีราายชสมางขคาลวชิ า
กรยงุ เึดทมพ่ันจใดันกอาุดรมเรกียานรกณา์แรลสะอปนใรนัชรญะาดบั กอาดุรมจศัดกึกษาราหศึกลกัษสาูตเพรื่ปอผรญิลิตญบาัตณรฑีแิตละนปักรปิญฏญิบาัตโิทตอหบลาสกนหอลงาคยวสาามขตา้อวชงิ กาาร
ยึดขมอ่ันงใสนังอคุดมมกโดายรณเช์แ่ือลมะ่ันปวร่าัชเทญคาโนกโาลรยจีแัดลกะาอรศาชึกีวษศาึกเพษื่อาผเปล็นิตกบรัณะฑบิตวนนักกปารฏศิบึกัตษิ าตทอี่จบาสเนปอ็นงใคนวกาามรตเส้อรงิมกสารร้าง
ขอมงาสตังรคฐมานโดคยณุ เภชาื่อพม่ันวเพ่าเอ่ื ทเปค็นโนกโาลลยังีสแาลคะญั อใานชกีวาศรึกพษัฒานเปา็เนศกรรษะฐบกวจิ นแลกะาสรศังคึกมษไาททย่ีจาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตรฐานคุณภาพ เพอ่ื เป็นกาลังสาคญั ในการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมไทย

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕ )(3๑()(๓)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลคย่มูรี อืาชนมกั งศคึกลษการ๒งุ เท๕พ๖๕

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

พ้นื ทก่ี ารศกึ ษาทัง้ ๓ แห่ง ไดแ้ ก่
เทคนคิ กรงุ เทพฯ

ตั้งอยู่ท่ีเลขที่ ๒ ถนนนางลิ้นจ่ี

แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ ๑๐๑๒๐

ก่อตงั้ ข้ึนเม่อื วันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๔๙๕ บน

เน้ือท่ี ๑๔๕ ไร่ ๑ งาน ๖๒ ตารางวา เร่มิ ตน้ จาก

วิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพฯ ในรฐั บาลสมัยจอมพล

ป. พิบูลสงคราม ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาล

สหรัฐอเมริกาเป็นสถานศึกษาด้านเทคนิคแห่ง

แรกของประเทศไทย เริ่มการเรียนการสอนด้านช่างอิเล็กทรอนิกส์ ชา่ งไฟฟ้า ช่างยนต์ ช่างก่อสร้าง

เลขานุการ การบัญชี คหกรรมศาสตร์ จากวิทยาลัยเทคโนโลยี และอาชีวศึกษา วิทยาเขตเทคนิค

กรุงเทพฯ มาเป็นสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ ปัจจุบันเป็นท่ีตั้งของ

สานักงานอธกิ ารบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ และเป็นสถานทจ่ี ัดการเรียนการสอน

ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะ

บริหารธุรกจิ คณะศิลปศาสตร์ คณะอตุ สาหกรรมส่ิงทอ และวทิ ยาลยั นานาชาติ

บพิตรพิมขุ มหาเมฆ

ต้ังอยู่เลขท่ี ๘๗๘ ถนนอาคาร

สงเคราะห์ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร

กรุงเทพฯ ๑๐๑๒๐ เป็นวิทยาเขตท่ีแยก

การบริหารจัดการมาจากวิทยาเขตบพิตร

พิมุขจักรวรรดิ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๖ โดย

คณ ะรัฐมนตรีมีมติให้ใช้ที่ดินราชพัสดุ

แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ

บนเนื้อที่ ๑๘ ไร่ ๑ งาน ๙๘ ตารางวา และอนุมัติงบประมาณแผ่นดินจานวน ๑๐ ล้านบาท เมื่อปี

พ.ศ. ๒๕๑๙ ให้สร้างอาคารเรียนจานวน ๑ หลัง เพอ่ื จัดการเรียนการสอนระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพ

แผนกวิชาธุรกิจ สาขาวิชาการเลขานุการและการบัญชี และแผนกธุรกจิ สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ

(ภาษาจีน ภาษาญ่ีปุ่น ภาษาอังกฤษ) โดยเริ่มเปิดเรียนเม่ือ วันจันทร์ท่ี ๕ มิถุนายน ๒๕๒๑

)(4๒)( คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๔) ค่มู มอื หนากั วศิทึกยษาาล๒ยั เท๕ค๖โน๕โลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

จดั การเรียนการสอนในระดับประกาศนยี บตั รวิชาชีพชั้นสูง (พ.ศ. ๒๕๒๗) และระดับปรญิ ญาตรี (พ.ศ.

๒๕๓๖) ปัจจุบันเป็นสถานทจี่ ัดการเรยี นการสอนของ คณะบรหิ ารธรุ กจิ

พระนครใต้
ต้ังอยู่เลขท่ี ๑๔๙ ถนนเจรญิ กรุง

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเขเทตพสาทเปร็นกสรถุงาเทบัพนฯอุดมวิทศึกยษาเาขตสังพกรัดะสนาคนรักใตงา้ น
คณะกรรมการการอดุ มศึกษา ตามพระราชบัญญัติมหาวกิท่อยตา้ังลขัยึ้นเทภคาโยนใโตล้ชยื่อีราโชรมงเงรคียลนกพาุทรธชศ่าักงสราตชรี เ๒ป๕็น๔๘
เมื่อวันท่ี ๑๙ มกราคม ๒๕๔๘ เป็นการรวมตัวขอแงห๓่ งแวริทกยขาเอขงตปครือะวเทิ ยศาไเทขยตเทเมคื่ อนวิคันกรทุงี่ เท๑พฯ
วิทยาเขตบพิตรพิมุขมหาเมฆ และวิทยาเขตพระนครใสติง้หภาาคยมใต๒้ช๔ื่อม๖ห๕าแวิลทะยพาลัฒัยนเทามคาโนเปโ็ลนยโรีรงาเชรมียงนคล
กรุงเทพ จดั การเรียนการสอนในระดบั อุดมศกึ ษาหลกั สตู สรตปรรบี ญิ ้าญนาทตวราีแยลวะิทปยราญิ ลญยั าอโาทชีวหศลึกาษกาหพลราะยนสคาขรใาตว้ชิ า
ยึดม่ันในอุดมการณ์และปรัชญา การจัดการศึกษาเพื่อแผลละิตเบปั็ณนวฑิทิตยนาักลปัยฏเทิบคัตโิ นตโอลบยสีแนลอะงอคาวชาีวมศตึก้อษงกาาร
ของสังคม โดยเชื่อมั่นว่าเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเปว็นิทกยราะเบขวตนพกราะรนศึคกษรใาตท้ ี่จาโดเปย็นเปในิดกสาอรนเสรระิมดสับร้าง
ปมวาชต.รฐปาวนสค.ุณแภลาะพประเพก่ือาศเปน็นียกบาัตลรังปสารคะัญโยใคนคกราูมรพัธยัฒมนา(ปเศ.มรษ.)ฐตก่อิจมแลาเะปสิดงั คสมอไนทรยะดับปริญญาตรี สายวิชา

คหกรรมศาสตร์ สายวิชาศิลปกรรม สายวิชาบริหารธุรกิจ ภายใต้ช่ือสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล

วทิ ยาเขตพระนครใต้ ปจั จุบันเปน็ สถานทจ่ี ดั การเรียนการสอนของคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕ )(5๑()(๕)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลคย่มูรี อืาชนมกั งศคกึ ลษการ๒งุ เท๕พ๖๕

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ตราสญั ลักษณ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

เป็นตรารปู วงกลม มดี อกบัว ๘ กลีบล้อมรอบ หมายถึง ทางแห่งความสาเรจ็ มรรค ๘ และความ
สดช่ืนเบิกบาน ท่ีก่อให้เกิดปัญญาแผ่ขจรไปท่ัวสารทิศ ภายในดอกบัวเป็นตราพระลัญจกรบรรจุอยู่
อันเป็นสัญลักษณ์ และเคร่ืองหมายประจาองค์พระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ ๙ บนตรารูปวงกลมมีพระ
มหาพิชัยมงกุฎครอบ และมีเลข ๙ บรรจุอยู่ หมายถึง รัชกาลที่ ๙ ด้านล่างของตรารูปวงกลมทาเป็น
กรอบโค้งรองรับ มีช่ือมหาวิทยาลัยบรรจุอยู่ภายในว่า “มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ”
คัน่ ปดิ หวั ทา้ ยของกรอบด้วยลายดอกไม้ทิพย์ประจายามทั้งสองขา้ ง

สปี ระจามหาวทิ ยาลัย “สเี ขียว”

ท่ีมาและความหมาย สีเขียวเป็นสีวรรณะเย็น ท่ีแสดงถึงความเจริญงอกงาม ความสดช่ืน
แจ่มใส เป็นสัญลักษณ์แห่งความสงบร่มเย็น ซึ่งหมายถึง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีมุ่งสร้างบัณฑิตให้มีความเจริญงอกงามในทุกด้าน ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์
และสังคม และพร้อมจะเป็นสถานศึกษาที่เป็นบ้านอันร่มเย็นใหน้ ักศึกษาได้พักพิง เรียนรู้ และใช้ชีวิต
อยอู่ ย่างมคี วามสขุ

)(๒6() ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕
(๖) ค่มู มอื หนากั วศิทึกยษาาล๒ยั เท๕ค๖โน๕โลยีราชมงคลกรงุ เทพ

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ตน้ ไม้ประจามหาวิทยาลัย “ต้นสาธร”

สาธร เป็นไม้ยืนต้นหายากพันธุ์หน่ึง ท่ีมีชื่อพ้องกับ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยสีถราานชทมี่ตงค้งั ขลอกงรมุงหเทาวพทิ ยเาปล็นัยสเทถคาโบนันโลอยุดีรมาชศมึกงษคาลกสรังุงกเัดทสพานทัก่ีตงั้งาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา ตามพระรอาชยบู่บญันพญื้นัตทิม่ีเหขาตวสิทายทารลัยกเรทงุ คเทโนพโมลหยาีรนาคชมรงตค้นลสาพธุทรธเปศ็นักไรมา้ทช่ีม๒ีเน๕ื้อ๔๘
เม่ือวันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๔๘ เป็นไมก้แารลระวแมกต่นัวทขี่มอีลงัก๓ษณวิทะยสาวเยขงตามคืดออวกิทมยีสาีขเขาตวรเทวคมนกัินคเกปร็นุงเชท่อพฯ
วิทยาเขตบพิตรพิมุขมหาเมฆ และวิทยเารเือขนตยพอรดะเนป็คนรพใุ่มตท้ ึบภาใยบใอต่อ้ชนื่อแมลหะายวอิทดยอา่อลนัยเทมคีขโนนยโลาวยอีร่อานชมนงิ่มคล
กรุงเทพ จดั การเรียนการสอนในระดบั อุดคมลศ้ากึ ยษเสาห้นลไหกั สมูตปรกปครลญิ ุมญอายตู่ รเีแปล็นะลปักรษิญณญะาโขทอหงพลันากธหุ์ไมล้ทายี่มสีคาวขาามวชิ า
ยึดม่ันในอุดมการณ์และปรัชญา การจัดเขก้มาแรขศ็งึกแษลาะเอพ่อื่อนผโลยิตนบอัณยู่ใฑนิตตนัวักปลักฏษิบณัติะตขออบงตส้นนสอางธครวนา้ีมเหตม้อืองนการ
ของสังคม โดยเช่ือม่ันว่าเทคโนโลยีและเปอ็นาชสีัวญศลึกักษษาณเป์แ็นสกดรงะวบ่าวนมกหาารวศิทึกยษาาลทัย่ีจเาทเคปโ็นนใโนลกยาีรราเชสมริมงคสลร้าง
กมราุงตเรทฐพานเปค็นุณแภหาพล่งเรเพีย่ือนเปรู้ทน็ ี่กมาีคลวังาสมาคยัญืนใยนงกามร่ันพคัฒงนมาเีคศวรษามฐกเขจิ ้มแลแะขส็งังทคามงไวทิชยาการ แต่ขณะเดียวกัน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ก็มิได้ละทิ้ง การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของชาติ
และพรอ้ มจะเป็นร่มเงาทย่ี นื ยงเปน็ ทพ่ี งึ่ ด้านวชิ าการแก่สงั คมตลอดไป

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕ )(7๑()(๗)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลคย่มูรี อืาชนมกั งศคึกลษการ๒งุ เท๕พ๖๕

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

)(8๒)( คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๘) คมู่ มอื หนากั วศิทกึ ยษาาล๒ยั เท๕ค๖โน๕โลยีราชมงคลกรงุ เทพ

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เป็นสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา ตามพระราชบญั ญตั ิมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘
เม่ือวันท่ี ๑๙ มกราคม ๒๕๔๘ เป็นการรวมตัวของ ๓ วิทยาเขต คือ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ
วิทยาเขตบพิตรพิมุขมหาเมฆ และวิทยาเขตพระนครใต้ ภายใต้ชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ จดั การเรียนการสอนในระดบั อดุ มศกึ ษาหลกั สูตรปรญิ ญาตรีและปรญิ ญาโท หลากหลายสาขาวชิ า
ยึดมั่นในอุดมการณ์และปรัชญา การจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ ตอบสนองความต้องการ
ของสังคม โดยเช่ือม่ันว่าเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเป็นกระบวนการศึกษาท่ีจาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตรฐานคุณภาพ เพอ่ื เป็นกาลังสาคญั ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมไทย

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕ )(๑9()(๙)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลคย่มูรี อืาชนมกั งศคึกลษการ๒งุ เท๕พ๖๕

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

)1(๒0)( ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๑๐) คมู่ มอื หนากั วศิทึกยษาาล๒ยั เท๕ค๖โน๕โลยีราชมงคลกรงุ เทพ

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เป็นสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา ตามพระราชบญั ญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘
เมื่อวันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๔๘ เป็นการรวมตัวของ ๓ วิทยาเขต คือ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ
วิทยาเขตบพิตรพิมุขมหาเมฆ และวิทยาเขตพระนครใต้ ภายใต้ชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพ จดั การเรยี นการสอนในระดับอุดมศึกษาหลกั สูตรปรญิ ญาตรีและปรญิ ญาโท หลากหลายสาขาวชิ า
ยึดมั่นในอุดมการณ์และปรัชญา การจัดการศึกษาเพ่ือผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ ตอบสนองความต้องการ
ของสังคม โดยเชื่อมั่นว่าเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเป็นกระบวนการศึกษาที่จาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตรฐานคุณภาพ เพื่อเปน็ กาลงั สาคญั ในการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมไทย

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕ )1(๑1) (
มหาวิทยาลยั เทคโนคโล่มู ยอื รี นากชั มศงึกคษลาก๒รงุ๕เท๖พ๕ (๑๑)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

การจัดการเรียนการสอนในคณะ / สาขาวิชาท่ีเปิดรบั ปีการศึกษา ๒๕๖๕
ระดบั ปรญิ ญาตรี
คณะศลิ ปศาสตร์

หลักสูตร 4 ปี
ศศ.บ. การท่องเทย่ี ว (ปกติ)
ศศ.บ. การโรงแรม (ปกติ)
ศศ.บ. ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสารสากล (ปกต)ิ
ศศ.บ. ภาษาญ่ีปนุ่ (ปกต)ิ
ศศ.บ. ภาษาจนี เพื่อการส่อื สาร (ปกติ)
ศศ.บ. การออกแบบนวตั กรรมผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาไทย (ปกต)ิ

คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หลกั สตู ร 4 ปี
วท.บ. เคมี (ปกติ)
ทล.บ. ออกแบบผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม (ปกต)ิ
ทล.บ. เทคโนโลยกี ารถ่ายภาพและภาพยนตร์ (ปกต)ิ
ทล.บ. เทคโนโลยีการพมิ พ์ดิจิทัลและออกแบบบรรจุภัณฑ์ (ปกต)ิ
วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์ / วท.บ. เทคโนโลยสี ารสนเทศ (ปกต)ิ
ทล.บ. เทคโนโลยีเครื่องเรอื นและการออกแบบ (ปกติ)
วท.บ. เทคโนโลยแี ละการจดั การความปลอดภัยของอาหาร (ปกติ)
ทล.บ. เทคโนโลยสี ่อื ดิจิทัลและสื่อสารมวลชน (ปกติ)
วท.บ. วิทยาศาสตรเ์ พอื่ สุขภาพและความงาม (ปกติ)
วท.บ. เทคโนโลยีชวี ภาพเพื่ออตุ สาหกรรมเกษตรและสิง่ แวดลอ้ ม (ปกต)ิ
วท.บ. เทคโนโลยพี ลงั งานเพอื่ ส่งิ แวดลอ้ ม (ปกติ)

หลักสูตร 4 ปี (เข้าศึกษาโดยวธิ เี ทียบโอนผลการเรียนฯ)
ทล.บ. เทคโนโลยเี ครื่องเรือนและการออกแบบ (สมทบ)

คณะครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม

หลักสูตร 4 ปี
ค.อ.บ. เคร่ืองกล (ปกติ)
ค.อ.บ. อตุ สาหการ (ปกต)ิ
อส.บ. วิศวกรรมการผลิต (ปกติ)
อส.บ. เทคโนโลยยี านยนต์สมัยใหม่ (ปกต)ิ

)1(๒2) ( คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๑๒) คมู่ มอื หนากั วศิทกึ ยษาาล๒ยั เท๕ค๖โน๕โลยีราชมงคลกรงุ เทพ

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม (ต่อ)

หลกั สูตร 4 ปี (เข้าศกึ ษาโดยวิธเี ทียบโอนผลการเรียนฯ)
อส.บ. วิศวกรรมการผลิต (ปกติ)

คณะวศิ วกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชหมลงกั คสลตู รกร4ุงปเที พ เป็นสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสานักงาน
ควณศ.ะบก. รวริศมวกรารมกโายรธอาดุ (มปศกตึกิ)ษา ตามพระราชบญั ญตั ิมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘
เวมศ่ือ.บวั.นวทิศี่ ว๑ก๙รรมมไฟกฟรา้าค(ปมกต๒ิ) ๕๔๘ เป็นการรวมตัวของ ๓ วิทยาเขต คือ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ
ววิทศย.บา.เขวิศตวบกพรริตมรเคพริมือ่ ุขงกมลหา(ปเมกตฆ)ิ และวิทยาเขตพระนครใต้ ภายใต้ชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กวรศุง.เบท.พวิศจวดั กกรารมรเอรุตยี สนากหากราสรอ(นปกในตร)ิ ะดบั อดุ มศกึ ษาหลกั สูตรปรญิ ญาตรีและปริญญาโท หลากหลายสาขาวชิ า
ขยวววึดอศศศงม...บบบส่ัน...ังใวววคนิิิศศศมอวววุกกกดโรรรดมรรรยกมมมเาเอสชคราิเื่ลอมณรก็ีวม(์แทจปั่นลรก(วอปะต่านกปิ)เิกตทรสิ)ัชคแ์ ญโลนะาโโลทกยราคีแรมจลนัดะากอคาามรชศ(ีวปึกศกษึกตษาิ) เาพเ่ืปอผ็นลกิตรบะบัณวฑนิตกนาักรศปึกฏษิบาัตทิ ต่ีจอาเบปส็นนใอนงกคาวราเสมรติม้อสงกร้าางร
มวาศต.บร.ฐวาิศนวคกุณรรภมาซพอ่ มบเพารอ่ื ุงเอปาน็ กกาศาลยาังนสา(คปัญกตใน)ิ การพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมไทย

วศ.บ. วิศวกรรมอตั โนมัติและหุ่นยนต์ (ปกต)ิ
วศ.บ. วิศวกรรมคอมพวิ เตอร์และระบบไอโอที (ปกต)ิ

หลักสตู ร 4 ปี (เข้าศกึ ษาโดยวิธเี ทียบโอนผลการเรียนฯ)
วศ.บ. วิศวกรรมโยธา (ปกต)ิ
วศ.บ. วิศวกรรมโยธา (สมทบ)
วศ.บ. วิศวกรรมไฟฟ้า (สมทบ)
วศ.บ. วิศวกรรมเคร่อื งกล (ปกต)ิ
วศ.บ. วิศวกรรมเครอ่ื งกล (สมทบ)
วศ.บ. วิศวกรรมอตุ สาหการ (ปกต)ิ
วศ.บ. วิศวกรรมอิเล็กทรอนกิ ส์และโทรคมนาคม (สมทบ)

คณะบริหารธรุ กิจ

หลกั สูตร 4 ปี
บธ.บ. การเงิน (ปกติ)
บธ.บ. การสื่อสารธรุ กิจระหวา่ งประเทศ (ปกติ)
บธ.บ. การประเมนิ ราคาทรัพย์สิน (ปกติ)
บธ.บ. ระบบสารสนเทศ (ปกต)ิ
บช.บ. การบญั ชี (ปกต)ิ

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕ )1(๑3) (
มหาวิทยาลยั เทคโนคโล่มู ยอื รี นากชั มศงกึ คษลาก๒รงุ๕เท๖พ๕ (๑๓)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

คณะบรหิ ารธุรกจิ (ตอ่ )

บธ.บ. การจัดการ กลมุ่ วิชาการจัดการทว่ั ไป (ปกติ)
บธ.บ. การจัดการ กลมุ่ วชิ าการจดั การทรพั ยากรมนุษย์ (ปกต)ิ
บธ.บ. การตลาด กลุ่มวิชาการบริหารการตลาด (ปกต)ิ
บธ.บ. การตลาด กลุ่มวิชาการตลาดระหว่างประเทศ (ปกติ)
ทล.บ. เทคโนโลยสี ารสนเทศและธุรกิจดิจทิ ลั (ปกติ)
บธ.บ. ธรุ กิจการบิน (ปกติ)
บธ.บ. การประเมินราคาทรัพยส์ นิ (สมทบ)
บธ.บ. การจดั การ กลมุ่ วิชาการจัดการทัว่ ไป (สมทบ)
บธ.บ. การตลาด กลุ่มวิชาการบรหิ ารการตลาด (สมทบ)

หลักสูตร 4 ปี (เข้าศึกษาโดยวธิ เี ทียบโอนผลการเรียนฯ)
บธ.บ. ระบบสารสนเทศ (ปกต)ิ
บช.บ. การบญั ชี (ปกต)ิ
บธ.บ. การจดั การ กลุ่มวชิ าการจัดการทว่ั ไป (ปกติ)
บธ.บ. การตลาด กลุ่มวชิ าการบริหารการตลาด (ปกต)ิ
ทล.บ. เทคโนโลยีสารสนเทศและธุรกจิ ดจิ ทิ ลั (ปกติ)
บธ.บ. ระบบสารสนเทศ (สมทบ)
บธ.บ. การจัดการ กลุ่มวชิ าการจดั การท่ัวไป (สมทบ)
บธ.บ. การตลาด กลุ่มวชิ าการบริหารการตลาด (สมทบ)

โครงการความรว่ มมอื -คณะบริหารธรุ กจิ
บธ.บ. การตลาด กลุ่มวชิ าการบรหิ ารการตลาดธุรกจิ ค้าปลีก (4 ปี สมทบ)
โครงการความร่วมมือฯ บริษทั ไทวัสดุ จากัด
บธ.บ. การตลาด กลุ่มวชิ าการบริหารการตลาดธรุ กิจค้าปลีก (เทยี บโอน สมทบ)
โครงการความร่วมมอื ฯ บริษัท ไทวัสดุ จากัด
บธ.บ. การตลาด กลุ่มวิชาการบรหิ ารการตลาดธรุ กิจค้าปลกี (4 ปี สมทบ)
โครงการความร่วมมือฯ บริษัท ซีพี ออลล์ จากัด (มหาชน)

คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์

หลักสตู ร 4 ปี
ศษ.บ. คหกรรมศาสตร์ศกึ ษา (ปกต)ิ
คศ.บ. อาหารและโภชนาการ (ปกติ)
คศ.บ. อาหารและโภชนาการ (สมทบ)

)1(๒4)( คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๑๔) ค่มู มอื หนากั วศิทึกยษาาล๒ยั เท๕ค๖โน๕โลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ (ต่อ)

คศ.บ. เทคโนโลยเี สื้อผ้าและแพตเทิร์น (ปกต)ิ
ทล.บ. การออกแบบแฟช่ัน (ปกต)ิ
คศ.บ. ธรุ กจิ อาหาร (ปกต)ิ

คววณทท..ะบบก..รกวริทามรยกพาาศัฒรานกสามตาผรหรลอแ์ าิตลุดวภะมิทัณเศทยฑหึกคาอ์ลษโลนากั าัยหโสลตเาตู ทยรารกี มค(า4ปพโรนกปรอตโะาี ล)ิ(หรเยาขาชรี้ราบศา(ปึกชญั กษมญตาง)ิตัโคดิมลยหกวาิธรวเีุงทิทเียทยบาพลโอัยนเเทปผ็คลนกโสนาถรโลาเรยบียีรันนาฯอช)ุดมมงคศลึกษพาุทสธศังกักัรดาสชาน๒ัก๕ง๔า๘น
เศมษ่ือ.วบัน. คทหี่ ๑กร๙รมศมากสรตารค์ศกึมษา๒(๕ปก๔ต๘)ิ เป็นการรวมตัวของ ๓ วิทยาเขต คือ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ
วคิทศย.บา.เขอตาหบาพรแิตลระพโิภมชุขนมาหกาาเรม(ฆปกแตลิ) ะวิทยาเขตพระนครใต้ ภายใต้ชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

กรงุ เทพ จดั การเรียนการสอนในระดบั คอณุดมะศอึกุตษสาหาหลกักสรูตรรมปสรญิ่ิงทญอาตรีและปรญิ ญาโท หลากหลายสาขาวชิ า

ยึดม่ันในอุดมการณ์และปรัชญา การจัดการหศลึกกั ษสูตาเรพ4ื่อผปลี ิตบัณฑิตนักปฏิบัติ ตอบสนองความต้องการ
ขวอทง.บส.ังเคทมคโโนดโลยยเชสี ่ืองิ ทมอั่น(วป่ากเตทิ)คโนโลยีและอาชีวศึกษาเป็นกระบวนการศึกษาท่ีจาเป็นในการเสริมสร้าง
มทาลต.บรฐ. าอนอคกณุแบภบาสพ่งิ ทอเแพลื่อะเแปฟน็ ชกน่ั าล(ปงั สกตาค)ิ ัญในการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมไทย

บธ.บ. ผปู้ ระกอบการธุรกิจแฟช่ัน (พิเศษ)

วิทยาลัยนานาชาติ

หลกั สูตร 4 ปี
บธ.บ. การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ (ปกต)ิ
ศศ.บ. การทอ่ งเทีย่ วและการบริการ (ปกต)ิ

ระดบั บณั ฑิตศกึ ษา
ปรญิ ญาโท

คณะครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม

ค.ม. การวิจัยและพฒั นาการสอนเทคนิคศกึ ษา (สมทบ)

คณะวิศวกรรมศาสตร์

วศ.ม. วิศวกรรมการผลิต (ปกต)ิ
วศ.ม. วิศวกรรมการผลิต (สมทบ)
วศ.ม. วิศวกรรมไฟฟา้ (ปกติ)
วศ.ม. วิศวกรรมไฟฟ้า (สมทบ)

คณะบริหารธรุ กิจ

บธ.ม. บริหารธรุ กจิ (ปกติ)
บธ.ม. บรหิ ารธุรกิจ (สมทบ)

ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕ )1(๑5) (
มหาวิทยาลยั เทคโนคโล่มู ยอื รี นากชั มศงกึ คษลาก๒รงุ๕เท๖พ๕ (๑๕)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

วทิ ยาลัยนานาชาติ

บธ.ม. บรหิ ารธุรกิจมหาบัณฑิต
ศศ.ม. การพฒั นาทรัพยากรมนษุ ยแ์ ละการจัดการ

ปริญญาเอก
คณะวิศวกรรมศาสตร์

ปร.ด. วิศวกรรมศาสตร์ (3 ปี ปกต)ิ แบบ 1.1
ปร.ด. วิศวกรรมศาสตร์ (3 ปี ปกติ) แบบ 2.1
ปร.ด. วิศวกรรมศาสตร์ (3 ปี (สมทบ) แบบ 2.1
ปร.ด. วิศวกรรมศาสตร์ (4 ปี ปกต)ิ แบบ 2.2
ปร.ด. การจดั การวิศวกรรมและเทคโนโลยี แบบ 1.1 (3 ปี ปกติ)
ปร.ด. การจัดการวิศวกรรมและเทคโนโลยี แบบ 2.1 (3 ปี ปกติ)
ปร.ด. การจดั การวิศวกรรมและเทคโนโลยี แบบ 1.1 (3 ปี สมทบ)
ปร.ด. การจัดการวิศวกรรมและเทคโนโลยี แบบ 2.1 (3 ปี สมทบ)
วศ.ด. วิศวกรรมไฟฟ้า

วทิ ยาลัยนานาชาติ

ปร.ด. การพัฒนาทรัพยากรมนุษยแ์ ละการจดั การ

)1(๒6)( ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๑๖) ค่มู มอื หนากั วศิทึกยษาาล๒ยั เท๕ค๖โน๕โลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

AA – B– CC – DD – E – XXX-X

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เปล็นาสดถบั าทบ่ี ันอุดมศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา ตามพระราชบญั ญตั ิมหาวิทยาลัยเทภคาโคนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘

เมื่อวันท่ี ๑๙ มกราคม ๒๕๔๘ เป็นการรวมตัวของ ๓ วิทยสาาเขขาตวิชคาือ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ
วิทยาเขตบพิตรพิมุขมหาเมฆ และวิทยาเขตพระนครใต้ ภายใตค้ณชื่อะมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

กรงุ เทพ จดั การเรียนการสอนในระดบั อดุ มศึกษาหลกั สูตรปรญิ ญาหตรลีแกั ลสะตู ปรรญิ ญาโท หลากหลายสาขาวชิ า

ยึดมั่นในอุดมการณ์และปรัชญา การจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑปิตีทนเ่ี ขักา้ ปศฏึกิบษัตาิ ตอบสนองความต้องการ

ของสังAคมAโดยเชื่อปม่ัทีนวีเ่ ข่าเา้ ทศคกึ โษนโาลยีและอาชีวศึกษาเป็นกระบวนการศึกษาที่จาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตรฐาBนคณุ ภาพ หเลพัก่อื เสปูตน็ รกาลงั สาคญั ในการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมไทย

๕ หมายถึง ๔ ปี/ วทิ ยาลยั นานาชาติ

๖ หมายถึง ตอ่ เน่ือง, เทยี บโอนรายวิชา

๗ หมายถงึ ๕ ปี

๘ หมายถึง ปรญิ ญาโท

๙ หมายถงึ ปริญญาเอก

CC คณะ

๐๑ ศิลปศาสตร์ ๐๒ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

๐๓ ครศุ าสตร์อตุ สาหกรรม ๐๔ วศิ วกรรมศาสตร์

๐๕ บรหิ ารธุรกจิ ๐๖ เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์

๐๗ อตุ สาหกรรมสง่ิ ทอ ๐๘ วิทยาลยั นานาชาติ

๐๙ สถาบันวทิ ยาศาสตร์ นวตั กรรม และวฒั นธรรม

ตัวอย่าง เลขรหสั นกั ศกึ ษา คือ ๖๕ ๕ ๐๕ ๑๔ ๐ ๑๐๑ – ๐
หมายถึง นักศกึ ษาแรกเขา้ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ หลักสูตร ๔ ปี

คณะบรหิ ารธรุ กิจ สาขาวิชาการจัดการ ภาคปกติ ลาดบั ท่ี ๑๐๑

มหาวิทยาลยั เทคโนคโม่ลู คยอื ่มูนีรอืากั ชนศมกัึกงศษคึกาลษ๒การ๕๒งุ ๖เท๕๕พ๖๕)1(๑(7๑) ๗( )

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

เครื่องแตง่ กายแบบปกติ นกั ศึกษาชาย

(๑) เส้ือเช้ิตแขนส้ัน หรือแขนยาวสีขาวทรงสุภาพ กลัดกระดุม สีขาวทุกเม็ด
มีกระเป๋าขนาดเหมาะสมที่อกเบื้องซ้าย เวลาสวมให้สอดชายเสือ้ ไวใ้ นกางเกงให้เรยี บร้อย

(๒) กางเกงขายาวแบบสากล ทรงสุภาพ ไม่รัดรูปหรือหลวมเกินไป มีหูเข็มขัด
เย็บดว้ ยผ้าสีเดียวกัน ผา้ พื้นสดี า หรือสีกรมทา่ ไมม่ ลี วดลาย

(๓) สายเขม็ ขดั หนงั สีดา ไม่มีลวดลาย หวั เข็มขดั เครอื่ งหมายมหาวิทยาลัยตามแบบ
ทีม่ หาวิทยาลยั กาหนด

(๔) รองเท้าหุม้ สน้ สดี า ทรงสุภาพ
(๕) ถุงเท้าสีดา หรือสีที่กลมกลืนกับรองเท้า ไม่มี
ลวดลาย

เคร่อื งแต่งกายแบบปกติ นักศึกษาหญิง

(๑) เสื้อเช้ิตสีขาวแขนส้ันเพียงศอก ปลายแขน
ปล่อยตรง ไม่ผ่าปลายแขน ไม่บางเกินควร ไม่รัดรูป
และหลวมเกินไป ไม่มีลวดลาย ผ่าหน้าตลอด กระดุม
สีเงินลายดุนนูนตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัย ตัวเสื้อมี
ความยาวเพียงพอสาหรับให้กระโปรงทับได้ เวลาสวม
ให้สอดชายเส้อื ไว้ในกระโปรงให้เรียบรอ้ ย

(๒) เข็มกลัดเส้ือตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัย
กลัดอกเสอ้ื เบอ้ื งซา้ ย

(๓) กระโปรง เอวสูง แบบสุภาพ ไม่รัดรูป ไม่ส้ัน
เกินไป ผ้าเนือ้ เรยี บ ไม่มลี วดลาย สีดา หรือสีกรมทา่
(๔) สายเข็มขัดหนังสีดา หัวเข็มขัดเคร่ืองหมายมหาวิทยาลัย ตามแบบที่
มหาวิทยาลยั กาหนด
(๕) รองเท้าหนังหรอื ผ้าใบหุ้มส้นสดี า ไม่มีลวดลายทรงสภุ าพ

)1(๒8) ( คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕
(๑๘) ค่มู มอื หนากั วศิทึกยษาาล๒ยั เท๕ค๖โน๕โลยีราชมงคลกรงุ เทพ

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ด้วยวิสัยทัศน์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มีความเป็นเลิศในการจัดการศึกษา
วิชาชีพ บนพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อพัฒนากาลังคนให้เป็นนักปฏิบัติท่ีมีความรู้คู่
คุณธรรม ในการจัดการศึกษาให้สาเร็จลุล่วงไปได้น้ัน จาเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากบุคลากรและ
หน่วยงานภายในมมหหาาววิทิทยยาาลลัยั เทส่วคนโนหโนล่ึงยทีรี่สาาชคมัญงมคาลกกใรนุงกเาทรพจัดกเปาร็นศสึกถษาาบัคนือุด“มอศาึกจาษรายส์ทัง่ีปกรัดึกสษาาน”ักซงึ่งาน
ตค้อณงมะีหกนรร้ามทก่ีเกา่ีรยกวขาร้อองแุดลมะศตึก้อษงารับตผามิดพชอรบะรโดาชยตบรัญงญต่อัตนิมักหศาึกวษิทายใานลงัยาเนทดค้าโนวโลิชยาีรกาาชรมโงดคยลอาพจุทาธรศยัก์ทร่ีปารชึกษ๒า๕ม๔ี ๘
หเมน่ือ้าทวัน่ีเปท็นี่ ๑ผู้ใ๙ห้คมากปรราึกคษมาต๒่อน๕ัก๔ศ๘ึกษเาปใน็นเกราื่อรงรทว่ีเมกต่ียัววกขับองกา๓รเวริทียยนาแเขลตะปคัญือหวาิทเยร่ือาเงขอตื่นเทๆคทน่ีนิคักกศรึกุงเษทาพฯ
ตวอ้ ิทงยกาาเรขปตรบึกพษิตารแพลิมะุขกรมะหตาุ้นเมใหฆน้ แักลศะึกวษิทายมาีคเวขาตมพสรนะใจนใคนรดใา้ตน้ กภาารยเรใตยี ้ชนื่อรมวหมาถวึงิทส่งยเาสลรัยมิ เใทหค้นโักนศโึกลษยาีรปาฏชิมบงัตคิ ล
ตการมงุ ขเทอ้ พบังจคดั บั การระเเรบียียนบกาปรรสะอกนาศในขระอดงมับหอาุดวมทิ ศยกึ าษลาัยหอลยกั า่ สงเตู ครรป่งรคญิ รัดญาตรีและปริญญาโท หลากหลายสาขาวชิ า
คยุณึดลมกัั่นษในณอะุดขมอกงาอราณจา์แรลยะ์ทปี่ปรรัชึกญษาา การจัดการศึกษาเพ่ือผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ ตอบสนองความต้องการ
ขมาอตงรสฐังาคนม๒๑อคา))ณุโจดาภยราเยพชมม์ท่ือีีมค่ีปมวนเราั่นพุษึกมว่ือยษร่าเสาับปเมัททผ็นพด่ีิดคกนัีคชโานธวอลท์รโบงั มลี่ดสสีคยีางู ณุีคแญัลละกัในอษกาณาชะรีวพศดัฒึกงั ษนนาาี้ เเศปร็นษกฐรกะิจบแวลนะกสังาครมศไึกทษยาที่จาเป็นในการเสริมสร้าง

๓) ใจกว้างและรบั ฟังความคดิ เหน็ ของนักศกึ ษา
๔) มีความรกู้ ว้างขวางทันตอ่ เหตกุ ารณใ์ นงานวิชาการและวิชาชีพ
๕) มคี วามจริงใจและเห็นอกเหน็ ใจผอู้ น่ื
๖) มีเหตผุ ลและมีความสามารถในการแก้ปญั หา
๗) มีความเมตตากรุณา
๘) ไวตอ่ การรับรูแ้ ละเขา้ ใจส่งิ ตา่ ง ๆ ไดร้ วดเร็ว
๙) มีหลกั จติ วิทยาในการให้คาปรึกษา และมีจรรยาบรรณอาจารยท์ ี่ปรึกษา
๑๐) มีความประพฤตเิ หมาะสมที่จะเปน็ แบบอย่างทีด่ ี
๑๑) ร้บู ทบาทและหนา้ ที่ของอาจารย์ทปี่ รึกษาเป็นอยา่ งดี
๑๒) มปี ระสบการณ์ในหนา้ ที่ของอาจารยท์ ่ปี รึกษา

จรรยาบรรณของอาจารย์ท่ปี รึกษา
เนื่องจากอาจารย์ท่ีปรึกษามีหน้าที่ให้การปรึกษาแนะนาช่วยเหลืออบรมดูแลนักศึกษา จึงมี

ความจาเป็นต้องยึดม่ันในจรรยาบรรณ โดยต้องคานึงถึงสวัสดิภาพของนักศึกษา ต้องเก็บรักษาข้อมูล
ต่าง ๆ เร่อื งส่วนตัวของนักศึกษาให้เป็นความลบั ให้ความช่วยเหลอื (ภายในขอบเขตความสามารถของ
ตน) ไม่วพิ ากษว์ จิ ารณ์บคุ คลหรือสถาบนั ในทางเสือ่ มเสยี ให้นักศกึ ษาฟงั และท่สี าคญั อาจารยท์ ีป่ รกึ ษา
ต้องเป็นผู้ท่ีมีความประพฤติที่เหมาะสมตามจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพในสาขาที่ตนสอนและมีศีลธรรม
จรรยาท่ดี งี าม เพอื่ เปน็ แบบอยา่ งทีด่ แี กน่ ักศกึ ษา

มหาวิทยาลยั เทคโนคโ่มลู คยอื ่มูนีรอืากั ชนศมกักึ งศษคึกาลษ๒การ๕๒งุ ๖เท๕๕พ๖๕)1(๑(9๑) (๙)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

บทบาทอาจารย์ทีป่ รึกษา
หน้าท่ขี องอาจารยท์ ่ีปรกึ ษาดา้ นวชิ าการ
- ใหก้ ารปรึกษาแนะนานักศึกษาเก่ยี วกบั หลักสูตร
- ให้การปรึกษานักศึกษาเก่ียวกับวิธีการเรียน การค้นคว้า และติดตามผลการเรียนของ
นักศกึ ษาอยา่ งสม่าเสมอ
- ใหค้ าปรกึ ษาแนะนาหรอื ตกั เตอื นเม่อื ผลการเรยี นของนักศึกษาตา่ ลง
- ใหก้ ารปรึกษาและชว่ ยเหลือนกั ศึกษาเพ่อื แกไ้ ขปญั หาอุปสรรคในการเรียนวชิ าตา่ ง ๆ
- ใหค้ าปรกึ ษาแนะนาเกีย่ วกบั การคิดคา่ ระดับคะแนนเฉลย่ี ของนกั ศึกษา
- ใหค้ าปรกึ ษาแนะนาเกี่ยวกับการศกึ ษาต่อในระดบั สงู
หนา้ ท่ขี องอาจารยท์ ป่ี รกึ ษาดา้ นบรกิ ารและพฒั นานักศกึ ษา
- ใหก้ ารปรึกษาเก่ยี วกบั ปญั หาส่วนตวั ไดแ้ ก่ สขุ ภาพอนามยั ท้งั สุขภาพกายและสขุ ภาพจิต
- ใหก้ ารปรกึ ษาเกย่ี วกบั ปัญหาสงั คม เช่น การปรบั ตัวในสงั คม และปัญหาการคบเพอ่ื น
- ใหก้ ารปรึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาบคุ ลกิ ภาพ ความประพฤติ และจริยธรรม
- ให้คาแนะนา ควบคุมและสอดส่องนักศึกษา เก่ียวกับการแต่งกาย ความประพฤติ และ
มารยาททางสงั คม
หน้าทข่ี องอาจารย์ทีป่ รกึ ษาดา้ นอ่นื ๆ
- ประสานงานกับอาจารย์ผู้สอนและหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง ได้แก่ สานักส่งเสริม
วิชาการและงานทะเบยี น และกองพฒั นานกั ศกึ ษา เป็นต้น
- กาหนดเวลาให้นกั ศกึ ษาเขา้ พบเพอ่ื ขอคาปรกึ ษาแนะนาอย่างสมา่ เสมอ
- เก็บข้อมูลรายละเอียดของนกั ศึกษาท่ีอยใู่ นความรับผิดชอบเพ่ือเป็นข้อมลู พื้นฐานสาหรับ
ใหค้ าปรกึ ษาและช่วยเหลือนกั ศึกษา
- ให้ความร่วมมือสร้างสัมพนั ธภาพและความเขา้ ใจอันดรี ะหว่างนักศกึ ษากับคณาจารย์
- ให้การรับรองนักศึกษาเม่ือต้องการนาข้อมูลไปแสดงแก่ผู้อ่ืนในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น
การศกึ ษาต่อ เปน็ ต้น
- ป้อนข้อมูลย้อนกลับ (feed back) มายังผู้บริหารเก่ียวกับปัญหาต่าง ๆ ของนักศึกษา
เพ่ือปรบั ปรงุ แกไ้ ข
ภารกจิ ของอาจารย์ที่ปรกึ ษา
- อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาตอ้ งศกึ ษากฎระเบียบ ข้อบงั คับต่าง ๆ ของมหาวทิ ยาลยั
- อาจารย์ที่ปรึกษาต้องแจ้งตารางเวลา (office hours) เพื่อให้นักศึกษาเข้าพบอย่างน้อย
เดอื นละครง้ั

)2(๒0) ( ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๒๐) ค่มู มอื หนากั วศิทกึ ยษาาล๒ยั เท๕ค๖โน๕โลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

- อาจารย์ที่ปรึกษาควรติดตามผลการเรียนของนักศึกษาในความดูแลของตนเองเพื่อ
แนะนาและช่วยเหลือนักศึกษา และให้ความสนใจกับนักศึกษาในโครงการพิเศษ หรือ
กรณีท่ีนักศึกษามปี ญั หาในดา้ นต่าง ๆ

- อาจารยท์ ี่ปรึกษาควรสนใจทีจ่ ะพัฒนาตนเองทงั้ ในดา้ นเทคนิคในการใหค้ าปรึกษาและ
ด้านอ่ืน ๆ เพ่ือให้มีลกั ษณะของอาจารยท์ ีป่ รกึ ษาทดี่ ที ้ัง ๑๒ ประการ

เทคนคิ การใหค้ ามปหรกึาวษิทาเยบา้ือลงัยตเ้นทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เป็นสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะกรอรามจกาารรยก์ทาป่ี รรอกึ ุดษมาศตึก้อษงามีเตทาคมนพิครกะารราสชรบ้าญั งสญัมตั พิมนั หธาภวาิทพยทาลี่ดัยี เทพคอ่ื โในหโ้นลักยศีรึกาชษมารงค้สู กึลวา่พอุทาธจศาักรยรา์ ช ๒๕๔๘
ทเมป่ี ่ือรึกวษันาทสี่ า๑ม๙ารถมใกหรค้ าวคามมเป๒น็ ๕กนั๔เ๘อง ใเหปค้ ็นวกามารอรบวอมุน่ ตแัวลขะอเงปน็๓ทวพี่ ิท่งึ ทยาางเขใจตขอคงือนวักิทศกึยษาเาขไดต้เทคนิคกรุงเทพฯ
วิทยาเขเทตคบนพิคิตกราพรใิมหุข้กมาหรปาเรมึกฆษาแเลบะอื้ วงติท้นยทาเ่ีสขาตคพญั รแะลนะคจราเใปตน็้ ภมายดี ใังตน้ชี้ ื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กยึรดุงมเท่ันพในจอ๑ดั ุด.ก--มเาทกสเรคปารเนรดิรา้ ียคิงเณผนบใ์ยแนกรไลกรามยระาม่ สราปลีสกอรบัรานัช้าศลใญงนทมสารเ่ีคมัปะมกพ็นดใานันมับรธติอจภรดุ ัดามอกพศบาึกรอษศุ่นาึกหยษิ้มลาแกั เพยสมู้ตื่อแรผปจลม่ริตญิใบสญัณาฑติตรีแนลักะปปฏริบญิ ัตญิ าตโอทบหสลนาอกงหคลวาายมสตา้อขงากวชาิ รา
ของสังคม โ-ดยมเคี ชวื่อามมั่นสนว่าใจเทมคเี โมนตโตลายกีแรลณุ ะาอาชีวศึกษาเป็นกระบวนการศึกษาที่จาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตรฐานคณุ - ภมาีคพวามเพจรือ่ ิงเใปจน็ แกลาะลปงั ฏสบิาคตั ญัิตนในอกยา่ รงเพสฒั มอนตาเน้ ศเรสษมฐอกปจิ ลแาลยะสงั คมไทย

- ยอมรบั ท้ังคุณคา่ และความแตกตา่ งของบคุ คล
- ใหค้ วามชว่ ยเหลือนกั ศกึ ษาอยา่ งจริงจังและจรงิ ใจ
๒. การใหค้ าแนะนาและการปรกึ ษา

- การให้คาแนะนา (advising) เป็นวิธีท่ีอาจารย์ที่ปรึกษาให้การช่วยเหลือแก่ นักศึกษา
มากทสี่ ดุ ซง่ึ มกั จะเปน็ เร่ืองกฎ ระเบียบ หรือวธิ ปี ฏบิ ัติทใี่ ช้กันอยู่เปน็ ประจา เช่น การขาดเรียน การขาด
สอบ หรือปัญหาเล็กน้อยท่ีอาจารย์ที่ปรึกษามีประสบการณ์ เพ่ือช่วยให้นักศึกษาสามารถหาทาง
แก้ปัญหาได้ การให้คาแนะนาไม่เหมาะสมกับปัญหาที่เกี่ยวกับอารมณ์อย่างรุนแรง ปัญหาบุคลิกภาพ
หรอื ปญั หาท่ตี อ้ งตดั สนิ ใจเลอื กทาอย่างใดอย่างหนึ่ง

- การให้คาปรึกษา (counseling) เป็นกระบวนการช่วยเหลือให้นักศึกษาเข้าใจตนเอง
สภาพแวดล้อมและปัญหาท่ีเผชิญอยู่ สามารถใช้ความเข้าใจดังกล่าวมาแก้ปัญหาหรือตัดสินใจเลือก
เป้าหมายในการดาเนนิ ชีวิตท่ีเหมาะสมกับตัวเอง และเพื่อการปรบั ตัวท่ดี ใี นอนาคต

- เทคนิคในการปรึกษาเป็นเทคนิคในการปรึกษาเชิงจิตวิทยา ซ่ึงจะต้องมีการศึกษา
อบรมและมกี ารฝกึ ปฏิบัติเพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความชานาญ จึงจะสามารถแก้ปัญหาของนกั ศึกษาได้อยา่ ง
กว้างขวาง อาจารย์ท่ีปรึกษาท่ีไม่ได้ฝึกอบรมมาทางน้ีโดยตรงแต่มีหน้าท่ีต้องช่วยเหลือนักศึกษา
จึงจาเป็นต้องศึกษาและฝึกทักษะในเทคนิคต่าง ๆ เพื่อให้มีพื้นฐานความรู้ ความชานาญพอสมควรในการ
ช่วยเหลือนกั ศึกษา อย่างไรก็ตามปญั หาของนกั ศกึ ษาบางอยา่ งเป็นปญั หาทแ่ี กไ้ ขได้ยากหรือตอ้ งใช้เวลา
เช่น ปัญหาทางเศรษฐกิจ ปัญหาครอบครัว เป็นต้น อาจารย์ที่ปรึกษาจาเป็นต้องใช้เทคนิคในการ
ปรกึ ษาอย่างระมดั ระวังเพื่อชว่ ยให้ปัญหาคล่ีคลาย สิ่งสาคัญทส่ี ุดก็คือ การเป็นผฟู้ ังท่ดี ี ควรให้กาลงั ใจ

มหาวิทยาลยั เทคโนคโม่ลู คยอื มู่นรี อืากั ชนศมกักึ งศษคึกาลษ๒การ๕๒งุ ๖เท๕๕พ๖๕)2(๑(1๒) (๑)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ให้ความอบอุ่น และให้ความจริงจังและจริงใจในการช่วยเหลือนักศึกษาอย่างเต็มความสามารถ และ
หาทางออกเบื้องตน้ อย่างดที ี่สุดใหก้ บั นกั ศึกษาในฐานะอาจารย์ทีป่ รึกษา

บรรณานกุ รม

สานักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลยั กองบรกิ ารการศึกษา. ระบบอาจารย์ที่ปรกึ ษาวิชาการ
ระดบั ปริญญาตรีในมหาวิทยาลัย. พิมพค์ ร้งั ท่ี ๒. กรงุ เทพ ฯ: โรงพิมพจ์ ุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลยั : ๒๕๓๖.

http://www.amed.go.th/RTA_Med/MedSchool/insure/req.htm

)2(๒2) ( ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๒๒) คมู่ มอื หนากั วศิทึกยษาาล๒ยั เท๕ค๖โน๕โลยีราชมงคลกรงุ เทพ

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เป็นสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา ตามพระราชบญั ญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘
เมื่อวันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๔๘ เป็นการรวมตัวของ ๓ วิทยาเขต คือ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ
วิทยาเขตบพิตรพิมุขมหาเมฆ และวิทยาเขตพระนครใต้ ภายใต้ชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพ จดั การเรยี นการสอนในระดับอุดมศึกษาหลกั สูตรปรญิ ญาตรีและปรญิ ญาโท หลากหลายสาขาวชิ า
ยึดมั่นในอุดมการณ์และปรัชญา การจัดการศึกษาเพ่ือผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ ตอบสนองความต้องการ
ของสังคม โดยเชื่อมั่นว่าเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเป็นกระบวนการศึกษาที่จาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตรฐานคุณภาพ เพื่อเปน็ กาลงั สาคญั ในการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมไทย

มหาวิทยาลยั เทคโนคโ่มลู คยอื ่มู นรี อื ากั นชศมกั กึ งศษคกึ าลษ๒การ๕๒งุ ๖เท๕๕พ๖๕)2(๑(3๒) (๓)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

สถานที่ทาการ อาคาร ๓๖ ชนั้ ๑ ปีกซ้าย
เวลาทาการ วันจันทร์ – วันศุกร์ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. (เว้นวนั หยุดราชการ)
หนา้ ทีโ่ ดยสงั เขป สนับสนุนงานทเี่ กีย่ วขอ้ งกับการเรยี นการสอน ปฏบิ ตั ติ ามระเบียบ ขอ้ บังคับ
และประกาศของมหาวทิ ยาลัยฯ
ประเภทการบรกิ าร บริการนักศึกษาปัจจุบัน นักศึกษาท่ีสาเร็จการศึกษา ศิษย์เก่า ประชาชนท่ัวไป
ท้ังหน่วยงานภายในและภายนอก โดยแบ่งออกเปน็ ๒ ช่องทาง

๑. บรกิ ารผา่ นระบบออนไลน์
- - บริการข้อมูลและข่าวสารงานทะเบียน เช่น ปฏิทินการศึกษา ประกาศต่าง ๆ ผ่าน

www.ascar.rmutk.ac.th และ Facebook : สวท.มทร.กรงุ เทพ
- การรายงานตัวนักศึกษาใหมอ่ อนไลน์ http://www.ascar.rmutk.ac.th/ident
- การขอเอกสารและยื่นคาร้องออนไลน์ ผ่านระบบบริการสนับสนุนทางการศึกษา “eSSS”

http://www.ascar.rmutk.ac.th/eSSS
- การลงทะเบียนออนไลน์ ผา่ นระบบบริการการศกึ ษา reg.rmutk.ac.th
- การข้ึนทะเบยี นบัณฑิต http://www.ascar.rmutk.ac.th/graduate
๒. บริการหน้าเคานเ์ ตอร์ ให้บริการรับคารอ้ ง
- รบั คารอ้ งตา่ ง ๆ โดย นกั ศกึ ษาสามารถ Print ใบคาร้องไดจ้ าก www.ascar.rmutk.ac.th
- การออกหนงั สอื รบั รองการเป็นนกั ศึกษา และใบรายงานผลการศึกษา (Transcript )
- ทาบตั รนกั ศึกษาใหม่ กรณเี ปลย่ี นชือ่ -สกุล หรือบตั รสญู หาย
- การลงทะเบยี น ลงทะเบยี นเพ่ิม/ถอน ลงทะเบียนลา่ ชา้ ลงทะเบียนข้ามสถานศกึ ษา
วธิ ีการติดต่อ การตดิ ต่อสานักส่งเสริมวชิ าการและงานทะเบียน ใหป้ ฏิบัติดังน้ี
๑. นักศึกษาปัจจุบันต้องแสดงบัตรประจาตัวนักศึกษา ผู้เคยศึกษาแสดงบัตรประจาตัว
ประชาชน หรอื บตั รขา้ ราชการ หรอื ใบอนุญาตขับขี่รถยนต์/รถจักรยานยนต์
๒. แต่งกายสภุ าพ
๓. แจ้งเร่ืองที่จะตดิ ตอ่ และขอ้ มูลส่วนตวั เช่น ช่อื -สกลุ คณะ/สาขาวิชา รอบ ปีท่เี ขา้ ศึกษา
และปีทส่ี าเรจ็ การศกึ ษา เปน็ ต้น
๔. กรณีนักศกึ ษาต้องการเอกสารทางการศึกษาท่ีต้องติดรูปถ่าย ให้เตรียมรูปถ่ายขนาด ๑ นิ้ว
มาด้วย เมื่อรับเอกสารแล้ว นักศึกษาต้องตรวจสอบความถูกต้องทุกคร้ัง กรณีถ้าพบเอกสารไม่ถูกต้อง
ใหร้ บี แจ้งเพอ่ื ดาเนินการแกไ้ ข

)2(๒4) ( คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๒๔) คมู่ อื นมกัหศาวึกิทษยาา๒ลยั ๕เท๖ค๕โนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เป็นสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา ตามพระราชบญั ญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘
เม่ือวันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๔๘ เป็นการรวมตัวของ ๓ วิทยาเขต คือ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ
วิทยาเขตบพิตรพิมุขมหาเมฆ และวิทยาเขตพระนครใต้ ภายใต้ชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ จดั การเรียนการสอนในระดบั อุดมศกึ ษาหลกั สูตรปรญิ ญาตรีและปรญิ ญาโท หลากหลายสาขาวชิ า
ยึดมั่นในอุดมการณ์และปรัชญา การจัดการศึกษาเพ่ือผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ ตอบสนองความต้องการ
ของสังคม โดยเช่ือม่ันว่าเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเป็นกระบวนการศึกษาที่จาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตรฐานคณุ ภาพ เพ่อื เปน็ กาลงั สาคัญในการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมไทย

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕ )2(๑5) (
มหาวิทยาลยั เทคโนคโลมู่ ยอื รีนากั ชศมึกงษคาล๒กร๕งุ เ๖ท๕พ (๒๕)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

พระราชบญั ญัติ
มหาวิทยาลัยั เทคโนโลยรั าชมงคล

พ.ศ. ๒๕๔๘
------------------------
ภูมิพลอดลุ ยเดช ป.ร.
ให้ไว ณ วนัั ท่ ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๘
เป็นปที ่ ๖๐ ในรัชกาลปัจจบุ ัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ
ใหประกาศว่า

โดยที่เป็นการสมควรจัดตั้งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลขึ้นแทนสถาบัน
เทคโนโลยีราชมงคล จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญตั ิขนึ้ ไวโดยคำแนะนา
และยินยอมของรฐั สภา ดังตอ่ ไปน้ี

มาตรา ๑ พระราชบัญญัตนิ เ้ี รียกวา่ “พระราชบัญญัติมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
พ.ศ. ๒๕๔๘”

มาตรา ๒ พระราชบญั ญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา เป็นตนไป

มาตรา ๓ ใหยกเลกิ
(๑) พระราชบัญญตั วิ ทิ ยาลยั เทคโนโลยีและอาชวี ศึกษา พ.ศ. ๒๕๑๘
(๒) พระราชบัญญัติเปล่ียนช่อวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเป็นสถาบัน
เทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๓๒
มาตรา ๔ ในพระราชบญั ญัตนิ ้ี

“มหาวทิ ยาลัย” หมายความวา่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ตามพระราชบัญญัตินี้

)2(๒6) ( ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๒๖) คม่มู หอื นาวกั ิทศยึกาษลายั ๒เท๕คโ๖นโ๕ลยีราชมงคลกรงุ เทพ

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

“สภามหาวิทยาลัย” หมายความว่า สภามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี

ราชมงคลตามพระราชบัญญตั ินี้

“สภาวชิ าการ” หมายความว่า สภาวชิ าการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

ราชมงคลตามพระราชบัญญัติน้ี

“สภาคณามจหารายวแ์ิทลยะาขลาัยรเาทชคกโานรโ”ลยีราชมงหคมลากยรคุงวเทาพมว่าเป็นสสภถาาบคันณอาุดจมาศรึกยษ์แาละสขังกาัดราสชานกัการงาน
คณะกรรมการการอดุ มศึกษา ตามพระราชบัญญมัตหิมหาาววิททิ ยยาลาัยลเทั ยคเโนทโคลยโีรนาชโมลงยคีลร าพชุทมธศงักคราลชต๒า๕ม๔๘
เม่ือวันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๔๘ เป็นการรวพมรตะัวรขาอชงบ๓ัญญวิทัตยินาี้ เขต คือ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ
วิทยา“เวขิทตบยาพเิตขรตพ”ิมุขมหาเมฆ และวิทยาเขตพรหะมนาคยรคใตว้ามภวาย่าใตเ้ชขื่อตมกหาารวศิทึกยษาลาัยขเอทงคมโหนโาลวยิทีรยาาชลมัยงคล
กรุงเทพ จดั การเรยี นการสอนในระดบั อดุ มศกึ ษาทห่ีมลกัีคสณูตระปรสญิ ถญาาบตันรีแลสะปารนญิ ักญาวโททิ หยลาาลกัยหหลารยอสสา่ขวานวชิ า
ยึดมั่นในอุดมการณ์และปรัชญา การจัดการศึกรษาชาเกพาื่อรผลทิต่ีเบรีัยณกฑชิต่อนักอปยฏ่าิบงัอติ่นตทอ่ีมบีสฐนานองะคเทวาียมบตเ้อทงา่การ
ของสังคม โดยเชื่อมั่นว่าเทคโนโลยีและอาชีวศคึกณษะาเปต็นัง้ แกรตะ่สบอวงนสก่วานรศรึากชษกาทารี่จขาเ้ึนปไ็นปใตนั้กงอารยเู่ใสนริเมขสตร้าง
มาตรฐานคุณภาพ เพ่อื เป็นกาลงั สาคัญในการพกฒั ารนศาเกึ ศษราษนฐั้นกิจตแาลมะทสี่ งั คสมภไาทมยหาวิทยาลยั กำหนด
“รฐั มนตรี” หมายความวา่ รฐั มนตรผี รู ักษาการตามพระราช

บัญญัตนิ ี้

มาตรา ๕ ใหสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีราช

มงคล พ.ศ. ๒๕๑๘ เป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตามพระราชบัญญัติน้ี จำนวน

๙ แห่ง ดังนี้

(๑) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี
(๒) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
(๓) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก

(๔) มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร
(๕) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
(๖) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา
(๗) มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชยั
(๘) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภูมิ
(๙) มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕ )2(๑7) (
มหาวิทยาลยั เทคโนคโล่มู ยอื รีนากั ชศมึกงษคาลก๒ร๕งุ เ๖ทพ๕ (๒๗)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ใหมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลแต่ละแห่งตามวรรคหนึ่งเป็นนิติบุคคลและ
เป็นส่วนราชการ ตามกฎหมายว่าดวยวิธีการงบประมาณในสังกัดสานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ

มาตรา ๖ ใหรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ ารรกั ษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และ
มีอำนาจออก กฎกระทรวง และประกาศ เพอ่ ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ี

กฎกระทรวง และประกาศนั้น เม่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับ
ได

หมวดั๑
บททั่วไป
--------------------

มาตรา ๗ ใหมหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษาดานวิชาชีพและเทคโนโลยี
มีวัตถุประสงค์ให การศึกษา ส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงที่เนนการปฏิบัติ ทำการ
สอน ทำการวิจัย ผลิตครูวิชาชีพ ใหบริการทางวิชาการในดานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แก่สังคม ทะนุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม และอนุรักษ์ ส่ิงแวดลอม โดยใหผูสาเร็จอาชีวศกึ ษา
มโี อกาสในการศกึ ษาตอ่ ดานวิชาชพี เฉพาะทางระดับปรญิ ญาเป็นหลกั

มาตรา ๘ มหาวิทยาลยั อาจแบ่งสว่ นราชการ ดังน้ี
(๑) สานักงานอธิการบดี
(๒) สานกั งานวิทยาเขต
(๓) บัณฑิตวิทยาลยั
(๔) คณะ
(๕) สถาบัน
(๖) สานัก
(๗) วิทยาลัย
มหาวทิ ยาลัยอาจใหมีส่วนราชการที่เรียกช่ออย่างอ่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ
เพ่อดาเนนิ การตาม วัตถุประสงค์ในมาตรา ๗ เป็นส่วนราชการในมหาวิทยาลัยอกี ได
สำนกั งานอธิการบดแี ละสำนักงานวิทยาเขตอาจแบ่งส่วนราชการเป็นกองหรอส่วน

)2(๒8) ( ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๒๘) คม่มู หอื นาวกั ิทศยกึ าษลายั ๒เท๕คโ๖นโ๕ลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ราชการ ทเ่ี รยี กช่อ อยา่ งอ่นท่ีมีฐานะเทียบเท่ากอง
บัณฑิตวิทยาลัย อาจแบง่ ส่วนราชการเป็นสานักงานคณบดี กองหรอส่วนราชการ

ทเี่ รียกช่ออยา่ งอ่น ทมี่ ีฐานะเทยี บเท่ากอง
คณะ อาจแบ่งส่วนราชการเป็นสานักงานคณบดี ภาควิชา กองหรอส่วนราชการที่

เรยี กช่ออย่างอ่นทมมี่หีาฐวาิทนยะาเลทัยียเบทเคทโ่านภโลายคีรวาิชชามหงรคอลกกอรงุงเทพ เป็นสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะกสรรถมากบาันรกาสรอำุดนมกั ศหึกรษอาสต่วานมพรารชะรกาาชรบทัญี่เญรียัตกิมชห่อาวอิทยย่าางลอัย่นเททค่ีมโนีฐโาลนยะีราเทชมียงบคเลท่าพคุทณธศะักรอาาชจแ๒บ๕่ง๔๘

ส่วนเมร่ือาวชันกทาี่ ร๑เ๙ป็นมสกรำานคักมงา๒น๕ผู๔อา๘นวเยปก็นากรารกรอวมงตหัวรขออสง่ว๓นรวาิทชยกาาเขรตทีเ่ครือียวกิทชย่อาอเขยต่าเงทอค่นนทิคี่มกีฐรุางเนทะพฯ
เทียวบิทเยทาา่เขกตอบงพิตรพิมุขมหาเมฆ และวิทยาเขตพระนครใต้ ภายใต้ชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

กรงุ เทพวทิ จยดั กาลารัยเรยี นอกาาจรแสบอ่งนสใน่วรนะรดาบั ชอกดุ ามรศเึกปษ็นาสหำลนกั สักตูงราปนรผญิ ูอญาานตวรยีแกละาปรรญิ ภญาคาโวทิชหาลากกอหงลหายรสอาสขว่ านวชิ า
ราชยกึดามร่ันใทนอเ่ี รุดียมกกชา่อรอณย์แ่าลงะอป่นรัชทญ่ีมาีฐากนาะรจเทัดยีกบารเศทึก่าษภาาเคพวื่อิชผาลหิตรบอัณกฑอิตงนักปฏิบัติ ตอบสนองความต้องการ

ของสังสคำมนโกั ดงยาเชนื่อคมณั่นวบ่าดเที คโสนำโลนยักีแงลาะนอผาูชอีวาศนึกวษยากเปา็นรกระภบาวคนวกิชาารศึกกษาอทงี่จหารเปอ็นสใ่วนนกราารเชสกริามรสทร้า่ี ง
เรียมกาชต่อรฐอายน่าคงณุ อภ่นาทพี่มีฐเพาน่ือเะป็นเทกาียลบังสเทาค่าัญภาในคกวาิชราพหัฒรนอากเศอรงษฐอกาิจจแแลบะส่งงัสค่วมนไทรายชการเป็นงานหรอส่วน
ราชการทเ่ี รียกช่ออยา่ งอน่ ท่ีมฐี านะเทียบเทา่ งาน

มาตรา ๙ การจัดต้ัง การรวม และการยุบเลิกสานักงานวิทยาเขต บัณฑิต
วิทยาลัย คณะ สถาบัน สานัก วิทยาลัยหรอส่วนราชการที่เรียกช่ออย่างอ่นที่มีฐานะ
เทยี บเทา่ คณะ ใหทำเปน็ กฎกระทรวง

การแบ่งส่วนราชการเป็นสานักงานคณบดี สำนักงานผูอานวยการ ภาควิชา กอง
หรอส่วนราชการที่ เรียกช่ออย่างอ่นท่ีมีฐานะเทียบเท่าภาควิชาหรอกอง ใหทาเป็นประกาศ
กระทรวงศึกษาธกิ าร

การแบง่ สว่ นราชการเป็นงานหรอส่วนราชการที่เรียกช่ออย่างอ่นที่มีฐานะเทียบเท่างาน
ใหทำเปน็ ประกาศ มหาวิทยาลัย

มาตรา ๑๐ ภายใตวัตถปุ ระสงค์ตามมาตรา ๗ มหาวิทยาลัยจะรับสถาบันการศึกษา
ช้ันสูงหรอสถาบันอ่นเขาสมทบในมหาวิทยาลัยก็ไดและมีอานาจใหปริญญาอนุปริญญาหรอ
ประกาศนียบัตรชั้นหนึ่ง ช้ันใดแก่ผูสาเรจ็ การศกึ ษาจากสถาบันสมทบนั้นได

การรบั เขาสมทบหรอยกเลกิ การสมทบซ่งึ สถาบนั การศกึ ษาชั้นสงู หรอสถาบันอ่น ให
เป็นไปตามขอบังคบั ของมหาวทิ ยาลยั และประกาศในราชกิจจานุเบกษา

การควบคุมสถาบันการศึกษาช้ันสูงหรอสถาบันอ่นที่เขาสมทบในมหาวิทยาลัย
ใหเป็นไปตามขอบังคับ ของมหาวทิ ยาลยั

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕ )2(๑9) (
มหาวิทยาลยั เทคโนคโลมู่ ยอื ีรนากั ชศมกึ งษคาล๒กร๕งุ เ๖ท๕พ (๒๙)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

มาตรา ๑๑ มหาวิทยาลัยจะปฏิเสธการรับผูใดเขาศึกษาในมหาวิทยาลัย หรอยุติหรอ
ชะลอการศึกษา ของนักศึกษาผูใดดวยเหตเุ พียงว่าผูนั้นขาดแคลนทนุ ทรัพย์เพ่อจ่ายค่าธรรมเนียม
การศึกษาต่าง ๆ แกม่ หาวิทยาลัย มิได

หลกั เกณฑก์ ารพิจารณาว่านกั ศกึ ษาผูใดขาดแคลนทุนทรัพย์ ใหเป็นไปตามระเบียบท่ี
สภามหาวทิ ยาลัย กาหนด

มาตรา ๑๒ นอกจากเงินท่ีกาหนดไวในงบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยอาจมี
รายได ดังนี้

(๑) เงินผลประโยชน์ คา่ ธรรมเนยี ม ค่าปรบั และคา่ บรกิ ารต่างๆ ของมหาวิทยาลัย
(๒) รายไดหรอผลประโยชน์ท่ีไดมาจากการใชท่ีราชพัสดุซึ่งมหาวิทยาลัยปกครอง ดแู ล
หรอใชประโยชน์
(๓) เงนิ และทรัพย์สนิ ซึง่ มผี ูอทุ ิศใหแก่มหาวทิ ยาลัย
(๔) รายไดหรอผลประโยชนท์ ี่ไดจากการลงทนุ และจากทรัพย์สินของมหาวิทยาลยั
(๕) เงินอุดหนุนจากองค์กรปกครองส่วนทองถิ่นหรอเงินอุดหนุนอ่นที่มหาวิทยาลัย
ไดรับ
(๖) รายไดหรอผลประโยชน์อย่างอน่
ใหมหาวิทยาลัยมีอำนาจในการปกครอง ดูแล บำรุงรักษา ใชและจัดหาผลประโยชน์
จากทรัพย์สิน ของมหาวิทยาลยั ท้ังท่ีเป็นทรี่ าชพัสดุตามกฎหมายว่าดวยทีร่ าชพัสดุและทเ่ี ป็น
ทรัพย์สินอ่น รวมท้ังจัดหารายได จากการใหบริการ และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษา
ของสว่ นราชการในมหาวิทยาลยั
รายไดและผลประโยชน์ของมหาวิทยาลัยเบ้ียปรับท่ีเกิดจากการดำเนินการตาม
วตั ถปุ ระสงค์ของมหาวิทยาลยั รวมท้งั เบีย้ ปรบั ทเ่ี กิดจากการผิดสัญญาลาศกึ ษาและเบ้ียปรับ
ที่เกิดจากการผิดสัญญาการซ้อ ทรัพย์สินหรอสญั ญาจางทำของที่ดาเนินการโดยใชเงิน
งบประมาณ ไม่เป็นรายไดที่ตองนำส่งกระทรวง การคลัง ตามกฎหมายว่าดวยเงินคงคลัง
และกฎหมายว่าดวยวิธีการงบประมาณ
มาตรา๑๓ บรรดาอสังหาริมทรัพย์ที่มหาวิทยาลัยไดมาโดยมีผูอุทิศใหหรอไดมา
โดยการซ้อหรอ แลกเปล่ียนจากรายไดของมหาวิทยาลัยตั้งแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ
ไม่ถอเป็นที่ราชพัสดุและใหเป็น กรรมสิทธิ์ของมหาวทิ ยาลัย

)3(๒0) ( คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๓๐) คม่มู หอื นาวกั ิทศยึกาษลายั ๒เท๕คโ๖นโ๕ลยีราชมงคลกรงุ เทพ

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

มาตรา ๑๔ บรรดารายไดและทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยจะตองจัดการเพ่อ
ประโยชน์ภายใต วัตถปุ ระสงค์ของมหาวิทยาลัยตามมาตรา ๗

เงินและทรัพย์สินท่ีมีผูอุทิศใหแก่มหาวิทยาลัยจะตองจัดการตามเง่อนไขท่ีผูอุทิศให
กาหนดไวและตอง เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย แต่ถามีความจาเป็นตอง
เปลี่ยนแปลงเง่อนมไหขาดวังิทกยลา่าลวัยเทมคหโนาวโลิทยยีราาลชัยมงตคอลงกไรดุงรเับทพควาเมป็ยนินสถยาอบมันจอาุดกมผูศอึกุทษิศาใหสหังกรัดอสทาานยักางทาน
หากคไณมะม่ กีทรรามยกาาทรหกรารออทุดามยศาึกทษไามต่ปารมาพกรฏะราจชบะตัญอญงตั ไิมดหรับาวอิทนยมุาลตั ัยิจเาทกคโสนภโลายมีรหาชามวงทิ คยลาลพัยุทธศักราช ๒๕๔๘

เมื่อวันท่ี ๑๙ มกราคม ๒๕๔๘ เป็นการรวมตัวของ ๓ วิทยาเขต คือ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ

วิทยาเขตบพิตรพิมุขมหาเมฆ และวิทยาเขตหพมรวะดนัค๒รใต้ ภายใต้ชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพ จดั การเรยี นการสอนในระดบั อุดมกศากึรษดาาหเนลกัินสกตู ารรปรญิ ญาตรีและปรญิ ญาโท หลากหลายสาขาวชิ า
ยึดมั่นในอุดมการณ์และปรัชญา การจ-ัด-ก--า-ร-ศ--ึก--ษ-า--เ-พ-่ือ--ผ-ล--ิตบัณฑิตนักปฏิบัติ ตอบสนองความต้องการ

ของสังคม โดยเชื่อม่ันว่าเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเป็นกระบวนการศึกษาที่จาเป็นในการเสริมสร้าง

มาตรฐมานาตคณุราภา๑พ๕ เพใหอื่ เมปหน็ ากวาทิลังยสาาลคัยญั แใตนก่ลาะรแพหฒั ง่ นมาสี เศภราษมฐหกาจิ วแิทละยสาังลคัยมไทปยระกอบดวย
(๑) นายกสภามหาวิทยาลัย ซ่งึ จะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตง่ ต้ัง
(๒) กรรมการสภามหาวิทยาลัยโดยตำแหน่ง ไดแก่ อธิการบดีและประธานสภา

คณาจารย์ และ ขาราชการ
(๓) กรรมการสภามหาวิทยาลัยจำนวนหกคน ซึ่งเลอกจากผูดำรงตำแหน่งรอง

อธิการบดี คณบดี ผูอำนวยการสถาบัน ผูอานวยการสำนัก ผูอานวยการวิทยาลัย และ
หัวหนาสว่ นราชการ ท่ีเรยี กช่ออย่างอน่ ท่ีมี ฐานะเทียบเทา่ คณะ

(๔) กรรมการสภามหาวิทยาลัยจำนวนหกคน ซ่ึงเลอกจากคณาจารย์ประจำของ
มหาวิทยาลัยและ ขาราชการพลเรอนในสถาบนั อดุ มศกึ ษาทมี่ ิใช่ผูดารงตาแหน่งตาม (๓)

(๕) กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิจำนวนสิบส่ีคน ซึ ่ง จ ะ ได ท ร ง พ ร ะ
กรุณาโปรดเกลาฯ แต่งต้ังจากบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัย โดยคำแนะนำของนายกสภา
มหาวิทยาลัย และกรรมการสภา มหาวิทยาลัยตาม (๒) (๓) และ (๔) ทั้งนี้ ผูทรงคุณวุฒิ
ดังกล่าวตองมาจากผูมีความรู ความเชี่ยวชาญดานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กฎหมาย
การงบประมาณและการเงิน การบรหิ ารงานบุคคลการศึกษา เศรษฐศาสตร์ และสังคมศาสตร์
อย่างนอยดานละหนึ่งคน และดานอ่นๆ ตามทีส่ ภามหาวทิ ยาลยั เหน็ สมควร

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕ )3(๑1) (
มหาวิทยาลยั เทคโนคโลมู่ ยอื รีนากั ชศมกึ งษคาล๒กร๕งุ เ๖ท๕พ (๓๑)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ใหสภามหาวิทยาลัยแต่งตั้งรองอธิการบดีคนหนึ่ง ซึ่งมิใช่กรรมการสภ า
มหาวิทยาลัยตาม (๓) เป็นเลขานุการสภามหาวิทยาลัยโดยคาแนะนาของอธิการบดี

ใหสภามหาวิทยาลัยเลอกกรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิคนหนึ่งเป็น
อุปนายกสภา มหาวิทยาลัยทำหนาท่ีแทนนายกสภามหาวิทยาลัยเม่อนายกสภามหาวิทยาลัย
ไม่อาจปฏิบัติหนาทไ่ี ด หรอเมอ่ ไมม่ ีผูดารงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัย

คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการไดมาซึ่งนายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการ
สภามหาวิทยาลัย ผูทรงคณุ วุฒิ คณุ สมบตั ิของผูเลอก ตลอดจนหลักเกณฑ์ และวธิ ีการเลอก
กรรมการสภามหาวิทยาลัยตาม (๓) และ (๔) ใหเปน็ ไปตามขอบงั คบั ของมหาวทิ ยาลัย

มาตรา ๑๖ นายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัยตามมาตรา
๑๕ (๓) (๔) และ (๕) มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสามปี แต่จะทรงพระกรุณา
โปรดเกลาฯ แตง่ ตง้ั หรออาจไดรับเลอกใหม่อีกได

นอกจากการพนจากตำแหน่งตามวาระตามวรรคหนึ่ง นายกสภามหาวิทยาลัยและ
กรรมการสภามหาวิทยาลัย ตามมาตรา ๑๕ (๓) (๔) และ (๕) พนจากตำแหน่งเมอ่

(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ขาดคุณสมบัติของการเป็นนายกสภามหาวทิ ยาลัยหรอกรรมการสภา
มหาวิทยาลยั ใน ประเภทน้ัน
(๔) ถูกจาคกุ โดยคำพพิ ากษาถึงทส่ี ุดใหจาคุก
(๕) สภามหาวิทยาลัยมีมติใหออกเพราะมีความประพฤติเส่อมเสยี บกพร่องตอ่ หนาท่ีหรอ
หย่อน ความสามารถ
(๖) เป็นบุคคลลมละลาย
(๗) เป็นคนไรความสามารถหรอคนเสมอนไรความสามารถ
การพนจากตำแหน่งตาม (๕) ตองมีคะแนนเสียงลงมติไม่นอยกว่าสองในสามของ
จำนวนกรรมการ สภามหาวิทยาลัยเทา่ ทีม่ อี ยู่
ในกรณีที่ตาแหน่งนายกสภามหาวทิ ยาลัยหรอกรรมการสภามหาวิทยาลยั ว่างลงไมว่ ่า
ดวยเหตุใดและยังมิไดดาเนินการใหไดมาซึ่งนายกสภามหาวิทยาลัยหรอกรรมการสภา
มหาวิทยาลัยแทนตาแหน่งท่ีว่าง ใหสภา มหาวิทยาลัยประกอบดวยกรรมการสภา
มหาวิทยาลัยเทา่ ทม่ี ีอยู่

)3(๒2) ( คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๓๒) คมมู่ หอื นาวกั ิทศยึกาษลายั ๒เท๕คโ๖นโ๕ลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ในกรณีที่นายกสภามหาวิทยาลัยหรอกรรมการสภามหาวิทยาลัยตามมาตรา ๑๕
(๓) (๔) หรอ (๕) พนจากตำแหน่งก่อนครบวาระ และไดทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ แต่งตั้ง
หรอไดมีการเลอกผูดำรงตำแหน่งแทนแลว ใหผูซ่ึงไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แต่งตั้ง หรอ
ไดรบั เลอกอยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระท่ีเหลออยู่ของผซู ่ึงตนแทน แต่ถาวาระการดำรงตาแหน่ง
เหลออยู่นอยกวา่ มเกหาาสวิบิทวยนั าลจัยะไเทมค่ดโำนเนโลินยกีราารชใมหงมคผี ลดู การรุงงเทตพำแหเปน็นง่ แสทถานบกัน็ไดอุดมศึกษา สังกัดสานักงาน

คณะกใรนรมกกราณรกที า่นี ราอยดุ กมสศภึกษามา หตาามวพทิ รยะารลายัชบหัญรอญกตั ริมรหมากวาิทรยสาภลัยาเมทหคาโนวโิทลยยาีรลาชัยมตงาคมลมาพตุทรธาศักร๑า๕ช ๒(๕๓๔) ๘
(๔)เมื่แอวลันะท่ี (๑๕๙) พมนกจราาคกมตำแ๒ห๕น๔่ง๘ตาเมปว็นากราะรแรตว่ยมังตมัวิไขดอทง ร๓งพวิทระยกาเรขุณตาคโืปอรวดิทเยกาลเขาฯตเทแคตน่งติคั้งกนรุงาเยทกพฯ
สภวาิทมยหาาเวขิทตบยพาลิตัยรพหิมรุขอมกหรารเมมกฆาแรลสะภวิทายมาหเขาตวิทพรยะานลคัยรใผตูท้ ภรงาคยใุณต้ชวื่อุฒมิหหราวอิทยยังามลิไัยดเทเลคอโนกโกลรยรีรมาชกมางรคล
สภการมุงหเทาพวิทจดั ยกาาลรัยเรอยี ่นนกขาึ้นรสใหอนมใ่ในหรนะดาับยอกดุ สมภศากึ ษมาหหาลวกั ิทสตู ยราปลรัยญิ หญราอตรกีแรลระมปกรญิารญสาภโทามหหลาากวหิทลยายาสลาัยขซาวึ่งชิ า
พนยจึดามก่ันตใำนแอหุดมนก่งาปรฏณิบ์แัตลิหะปนราัชทญ่ีตา่อกไปารจจนัดกกาวร่าศจึกะษไาดเมพีน่ือผายลิตกบสัณภฑาิตมนหักาปวฏิทิบยัตาิลตัยอหบรสอนกอรงรคมวกามารตส้อภงกาาร
มหขาอวิทงสยังาคลมยั โใดหยมเแ่ชล่ือวมั่นว่าเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเป็นกระบวนการศึกษาท่ีจาเป็นในการเสริมสร้าง

มาตรฐใาหนมคกีณุ าภราดพาเนเพินื่อกเาปร็นใกหาไลดงั มสาาคซญั ่งึ นในากยากรสพภฒั านมาเหศารวษิทฐกยิจาแลลัยะหสรงั คอมกไรทรยมการสภามหาวิทยาลัย
ตามมาตรา ๑๕ (๓) (๔) และ (๕) ภายในเกาสิบวนั นับแตว่ ันท่ีผูนั้นพนจากตาแหน่ง

มาตรา ๑๗ สภามหาวิทยาลัยมีอานาจและหนาที่ควบคุมดูแลกิจการทั่วไปของ
มหาวิทยาลยั และ โดยเฉพาะใหมีอำนาจและหนาที่ ดังน้ี

(๑) วางนโยบาย และอนุมัติแผนพัฒนาของมหาวิทยาลัยเกี่ยวกับการศึกษาการ
ส่งเสริมวิชาการและ วิชาชีพชั้นสูงที่เนนการปฏิบัติ ทำการสอน ทำการวิจัย ผลิตครูวิชาชีพ
ใหบริการทางวิชาการในดานวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแก่สังคม ทะนุบารุงศิลปะและ
วัฒนธรรม และอนรุ ักษส์ ิ่งแวดลอม

(๒) วางระเบียบออกขอบงั คับและประกาศของมหาวิทยาลัย และอาจมอบใหส่วน
ราชการใดในมหาวิทยาลัยเปน็ ผูวางระเบียบ ออกขอบังคับและประกาศสำหรับส่วนราชการ
นั้นเป็นเรอ่ ง ๆ ไปก็ได

(๓) กากับมาตรฐานการศึกษาและการประกนั คุณภาพการศึกษา
(๔) ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานของมหาวิทยาลัย
(๕) พิจารณาใหความเห็นชอบหลักสูตรการศึกษาใหสอดคลองกับมาตรฐาน
ที่คณะกรรมการ การอุดมศึกษากำหนด
(๖) พิจารณาการจัดต้ัง การรวม และการยุบเลิก สำนักงานวิทยาเขต บัณฑิต
วิทยาลัย คณะ สถาบัน สำนัก วิทยาลัยหรอส่วนราชการที่เรียกช่ออย่างอ่นที่มีฐานะ

คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕ )3(๑3) (
มหาวิทยาลยั เทคโนคโล่มู ยอื ีรนากั ชศมกึ งษคาล๒กร๕งุ เ๖ท๕พ (๓๓)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

เทียบเท่าคณะรวมทั้งการแบ่งส่วนราชการของ ส่วนราชการดังกล่าว
(๗) อนุมัติใหปริญญา ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ประกาศนียบัตรบัณฑิต

อนุปริญญาและ ประกาศนียบัตร
(๘) อนมุ ัติการรบั สถาบนั การศึกษาช้นั สงู และสถาบันอน่ เขาสมทบ หรอการยกเลิก

การสมทบ
(๙) พิจารณาเสนอเร่องเพ่อทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แต่งต้ังและถอดถอนนายก

สภามหาวิทยาลัย กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ อธิการบดี ศาสตราจารย์ และ
ศาสตราจารยพ์ เิ ศษ

(๑๐) แต่งตั้งและถอดถอนรองอธิการบดี คณบดี ผูอำนวยการสถาบัน ผูอำนวยการ
สำนัก ผูอำนวยการวิทยาลัยหรอหวั หนาส่วนราชการทเ่ี รียกช่ออย่างอ่นท่ีมฐี านะเทียบเท่าคณะ
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ รองศาสตราจารย์พิเศษ ผูช่วยศาสตราจารย์พิเศษ และกรรมการ
สภาวิชาการ

(๑๑) อนมุ ตั งิ บประมาณรายจา่ ยจากเงินรายไดของมหาวิทยาลยั
(๑๒) วางระเบียบและออกขอบังคับเก่ียวกับการบริหารการเงินและทรัพย์สินของ
มหาวทิ ยาลัย และการจัดหารายไดของมหาวิทยาลัย
(๑๓) พิจารณาดาเนินการเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัยตาม
กฎหมายว่าดวยระเบียบ ขาราชการพลเรอนในสถาบันอุดมศึกษา และตามท่ีคณะกรรมการ
ขาราชการพลเรอนในสถาบันอดุ มศึกษามอบหมาย
(๑๔) แตง่ ต้ังคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรอบุคคลหนึ่งบุคคลใดเพ่อพิจารณา
และเสนอความเหน็ ในเร่องหนึ่งเร่องใด หรอเพ่อมอบหมายใหปฏิบัติการอยา่ งหนึ่งอย่างใดอันอยู่
ในอำนาจและหนาท่ีของสภามหาวิทยาลัย
(๑๕) พิจารณาและใหความเห็นชอบในเร่องท่ีเก่ียวกับกิจการของมหาวิทยาลัยตามท่ี
อธิการบดีเสนอ และอาจมอบหมายใหอธิการบดีปฏิบัติอยา่ งหนึ่งอย่างใดอันอยูใ่ นอานาจและ
หนาทข่ี องสภามหาวิทยาลัยก็ได
(๑๖) ส่งเสริม สนับสนุน และแสวงหาวิธีการ เพ่อพัฒนาความกาวหนาของ
มหาวิทยาลยั

)3(๒4) ( คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๓๔) คม่มู หอื นาวกั ิทศยึกาษลายั ๒เท๕คโ๖นโ๕ลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๑๗) ปฏบิ ัติหนาท่ีอ่นเก่ียวกับกิจการของมหาวิทยาลัยที่มิไดระบุใหเป็นหนาที่ของ
ผูใดโดยเฉพาะ

มาตรา ๑๘ การประชมุ สภามหาวิทยาลัย ใหเป็นไปตามขอบงั คับของมหาวิทยาลยั
มาตรา ๑๙ ใหมหาวิทยาลยั แต่ละแห่งมสี ภาวชิ าการ ประกอบดวย
(๑) อธกิ มาหราบวดิที ยเาปล็นัยปเทรคะธโนาโนลสยภีราาวชิชมางกคาลรกรุงเทพ เป็นสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะก(ร๒รม) กราอรกงาอรธอิกดุ ามรศบึกดษีฝา่าตยาวมชิ พารกะารารชบเปญั ็นญรตั อิมงหปารวะิทธยาานลัยสเภทาควโนิชโาลกยาีรราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘
เมื่อวัน(๓ท่ี )๑ก๙รรมมกกราาครสมภ๒าว๕ิช๔า๘กาเรปโ็นดกยาตรำรแวมหตนัว่งขอไงด๓แกวิท่ ยราอเขงตอธคิกือาวริทบยดาีปเขรตะเทจคาวนิทิคกยราุงเเขทตพฯ
คณวบิทดยีาเผขูอตาบนพวิตยรกพาิมรุขมสหถาาเบมันฆเพแล่อะกวาิทรยวาิจเยั ขตแพลระะนผคอู ราในตว้ ยภกาายรใตวิ้ทชื่อยมาหลัยาวิทถยาามลี ัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ(๔จ)ดั กการรเรรมยี นกกาารรสสอภนาในวริชะาดกับอาุดรมจศาึกนษวาหนลหกั สกตู ครนปรญิ ซญ่ึงาเตลรอีแลกะจปารกิญคญณาโทาจหาลรากยห์ปลรายะสจาาขใานวชิ า
มหยาึดวิทมั่นยใานลอัยุดมการณ์และปรัชญา การจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ ตอบสนองความต้องการ
ของสัง(ค๕ม) โกดรยรเชมื่อกมาั่นรวส่าภเทาวคิชโนาโกลายรีแผลูทะรองาคชุณีวศวึกุฒษิจาเำปน็นวกนรสะิบบวคนนกาซร่ึงศแึกตษ่งาตท้ัง่ีจจาาเปก็นบใุคนคกลารภเสายริมนสอรก้าง
โดยมคาวตารมฐานเหคน็ณุ ชภอาบพขอเพงสอ่ื ภเปา็นมกหาาลวังสิทายคาญั ลใยันการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมไทย
คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวิธีการไดมาซึ่งกรรมการสภาวิชาการตาม (๔) และ
(๕) ใหเป็นไปตาม ขอบังคับของมหาวทิ ยาลัย
ใหอธิการบดีแต่งตั้งคณาจารย์ประจำในมหาวิทยาลัยคนหนึ่งเป็นเลขานุการสภา
วิชาการและอาจ แต่งตั้งคณ าจารย์ประจาในมหาวิทยาลัยอีกไม่เกินสองคนเป็น
ผูชว่ ยเลขานุการ
มาตรา ๒๐ วาระการดำรงตำแหน่ง และการพนจากตาแหน่งของกรรมการสภา
วิชาการตลอดจน การประชุมและการดาเนินงานของสภาวิชาการ ใหเป็นไปตามขอบังคบั ของ
มหาวทิ ยาลัย
มาตรา ๒๑ สภาวิชาการมีอานาจและหนาที่ ดังน้ี
(๑) พิจารณาเกณฑม์ าตรฐานเกี่ยวกับหลักสูตร การเรียนการสอนการวิจัย การ
วัดผลการศกึ ษา และ การประกนั คุณภาพการศึกษาเสนอต่อสภามหาวิทยาลยั
(๒) เสนอความเห็นเก่ยี วกับการรวมและการยกเลิกสาขาวิชาตอ่ สภามหาวิทยาลัย
(๓) เสนอความเหน็ เก่ียวกบั การเปดิ สอนตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัย
(๔) พจิ ารณาเสนอความเห็นในเรอ่ งทเ่ี กี่ยวกับวิชาการต่อสภามหาวทิ ยาลัย
(๕) ส่งเสริมการวิจัยและการบริการทางวิชาการท่ีสอดคลองกับภารกิจของ
มหาวิทยาลัยและความ ตองการของชมุ ชน

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕ )3(๑5) (
มหาวิทยาลยั เทคโนคโล่มู ยอื ีรนากั ชศมึกงษคาล๒กร๕งุ เ๖ท๕พ (๓๕)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๖) แต่งต้ังคณะอนุกรรมการ หรอบคุ คลหนึ่งบุคคลใดเพ่อกระทำการใด ๆ อันอยู่
ในอานาจและหนาที่ ของสภาวิชาการ

มาตรา ๒๒ ใหมหาวิทยาลัยแต่ละแห่งมีสภาคณาจารย์และขาราชการ
ประกอบดวย ประธานสภา คณาจารย์และขาราชการ และกรรมการสภาคณาจารย์และ
ขาราชการซ่งึ เลอกจากคณาจารยป์ ระจำและขาราชการ ของมหาวทิ ยาลัย

จำนวน คุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการไดมา วาระการดำรงตำแหน่ง และการ
พนจากตำแหน่งของประธานสภาคณาจารย์และขาราชการ และกรรมการสภาคณาจารย์และ
ขาราชการตามวรรคหนึ่ง ตลอดจน การประชุมและการดำเนินงานของสภาคณาจารยแ์ ละ
ขาราชการ ใหเปน็ ไปตามขอบงั คบั ของมหาวิทยาลยั

มาตรา ๒๓ สภาคณาจารยแ์ ละขาราชการมอี านาจและหนาท่ี ดังน้ี
(๑) ใหคาปรึกษาและขอเสนอแนะในกิจการของมหาวิทยาลัยและการพัฒนา
มหาวทิ ยาลัยแกอ่ ธิการบดี หรอสภามหาวิทยาลัย
(๒) ส่งเสริมและพฒั นาศักยภาพของคณาจารย์และขาราชการในการปฏิบัติหนาท่ี
ตามจรรยาบรรณแหง่ วิชาชีพ
(๓) พิทักษ์ผลประโยชน์ของมหาวทิ ยาลัยและปฏิบัติหนาท่ีอ่นตามที่อธิการบดีหรอ
สภามหาวิทยาลยั มอบหมาย
(๔) เรียกประชุมคณาจารย์และขาราชการเพ่อพิจารณากิจกรรมของมหาวิทยาลัย
และนำเสนอ ความคดิ เห็นต่อสภามหาวิทยาลยั ทงั้ นี้ ตามขอบังคับของมหาวิทยาลยั
การปฏิบัติหนาที่ของสภาคณาจารย์และขาราชการถอเป็นการปฏิบัติหนาที่ราชการ
และการดำเนินการใด ๆ ในการปฏิบัติหนาที่โดยชอบย่อมไดรับความคุมครองและไม่เป็นเหตุใน
การดาเนินการทางวนิ ัย
มาตรา ๒๔ ใหมีอธิการบดีเป็นผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบการบริหารงานของ
มหาวิทยาลัยแต่ละ แห่ง และอาจมีรองอธิการบดี หรอผูช่วยอธิการบดีหรอจะมีทั้งรอง
อธิการบดีและผูช่วยอธิการบดีตาม จำนวนที่สภามหาวิทยาลัยแต่ละแห่งกาหนด เพ่อทา
หนาทแี่ ละรบั ผิดชอบตามท่ีอธิการบดีมอบหมายก็ได
มาตรา ๒๕ อธิการบดีนนั้ จะทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แต่งต้ังโดยการสรรหาตาม
ขอบังคับของ มหาวิทยาลัยจากผูมีคุณสมบัติตามมาตรา ๒๖ วรรคหนึ่ง ทั้งน้ี ให
คานึงถงึ การมีสว่ นรว่ มของบุคลากรของ มหาวิทยาลยั

)3(๒6) ( คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕
(๓๖) คม่มู หอื นาวกั ิทศยึกาษลายั ๒เท๕คโ๖นโ๕ลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

อธิการบดีมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี และจะทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ
แต่งตง้ั ใหมอ่ ีกได แตจ่ ะดำรงตาแหนง่ เกินสองวาระตดิ ต่อกนั มิได

นอกจากการพนจากตาแหน่งตามวาระตามวรรคสอง อธิการบดีพนจากตาแหน่ง
เม่อ

(๑) ตายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เป็นสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะก(ร๒รม) กลารากอาอรกอดุ มศึกษา ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘
เมื่อวัน(๓ที่)๑๙ถูกมลกงโรทาคษมทา๒งว๕ิน๔ัย๘อยา่เปง็รนากยาแรรรวงหมตรัอวขถอกู งสั่ง๓ใหวิทออยกาเจขาตกครืาอชวกิทายราเเขพตรเาทะคนิคกรุงเทพฯ
เหตวมุิทมียลาเทขินตบหพรอิตรมพวัิมหุขมมอหงาใเมนฆกแรลณะีทวิที่ถยกู าสเอขบตพสรวะนนทคารงใวติน้ ัยภอายยใา่ ตง้ชรื่อายมแหราวงิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพ(๔จ)ดั กเปาร็นเรบยี ุคนคกลาลรสมอลนะใลนาระยดบั คอนุดไมรศคึกวษาามหสลากั มสาูตรรถปรญิหญรอาคตรนีแเลสะมปอรนิญไญรคาโวทามหลสาากมหาลราถยสาขาวชิ า
ยึดม่ันใ(๕นอ) ุดถมูกกจาารคณุก์แโลดะยปครำัชพญพิ าากกาษราจถัดึงกทารสี่ ศดุ ึกใษหาจเาพค่ือุกผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ ตอบสนองความต้องการ
ของสัง(ค๖ม) โดสยภเชา่ือมมห่ันาวว่าเทิ ทยคาโนลโัยลใยหีแพละนอจาชาีวกศตึกำษแาหเปน็น่งกระเบพวรนากะาบรศกึกพษรา่อทงี่จตา่เอปห็นนในากทา่ีมรเีคสวริมาสมร้าง
ปรมะาพตฤรตฐาิเนสคอ่ ณุ มภเสาพียหรเพออื่ หเปย็น่อกนาคลงัวสาามคสญั าใมนการารถพฒั มนตาิขเศอรงษสฐภกจิาแมลหะาสวังคิทมยไาทลยัยใหพนจากตาแหน่ง
ตองประกอบดวยคะแนนเสียงไม่นอยกว่า สองในสามของจำนวนกรรมการสภามหาวิทยาลัย
ท้ังหมด

รองอธิการบดีใหสภามหาวิทยาลัยแต่งต้ังโดยคำแนะนำของอธิการบดีจากผูมี
คณุ สมบัตติ ามมาตรา ๒๖ วรรคหน่ึง

ผูช่วยอธิการบดี ใหอธิการบดีแต่งต้ังจากขาราชการพลเรอนในสถาบันอุดมศึกษาซ่ึงมี
คณุ สมบัติตาม มาตรา ๒๖ วรรคสอง และใหอธิการบดีมอี านาจถอดถอนผูช่วยอธิการบดีดวย

เม่ออธิการบดีพนจากตาแหน่ง ใหรองอธิการบดีและผูช่วยอธิการบดี พนจาก
ตาแหนง่ ดวย

มาตรา ๒๖ อธิการบดีและรองอธิการบดี ตองสำเรจ็ การศกึ ษาไม่ตา่ กว่าปริญญาตรหี รอ
เทียบเทา่ จาก มหาวิทยาลยั หรอสถาบันอดุ มศึกษาอ่นทสี่ ภามหาวทิ ยาลัยรบั รอง แ ล ะ ได ท ำ
การสอนหรอมีประสบการณ์ดาน การบริหารมาแลวไม่นอยกว่าหาปีในมหาวิทยาลัย หรอ
สถาบันอุดมศึกษาอ่นที่สภามหาวทิ ยาลัยรับรอง หรอเคย ดำรงตำแหน่งกรรมการสภา
มหาวิทยาลัยไม่นอยกว่าสามปีหรอดำรงตำแหน่งหรอเคยดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ รวมท้ังมี
คณุ สมบัติอน่ และไม่มลี ักษณะตองหามตามทก่ี าหนดในขอบงั คับของมหาวิทยาลัย

ผูช่วยอธิการบดี ตองสำเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าปริญญาตรีหรอเทียบเท่าจาก
มหาวิทยาลัย หรอ สถาบันอุดมศึกษาอ่นที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง และไดทำการสอนหรอมี

ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕ )3(๑7) (
มหาวิทยาลยั เทคโนคโลมู่ ยอื ีรนากั ชศมึกงษคาล๒กร๕งุ เ๖ท๕พ (๓๗)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

ป ระส บ ก ารณ ์ดาน ก ารบ ริห ารมาแล ว ไม่น อย ก ว่าสามปี ใน มหาวิทยาลัย ห รอ
สถาบนั อดุ มศึกษาอน่ ทส่ี ภามหาวิทยาลัยรบั รอง

มาตรา ๒๗ อธิการบดมี อี านาจและหนาท่ี ดังน้ี
(๑) บริหารกิจการของมหาวิทยาลัยใหเป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ
ขอบังคับของทางราชการ และของมหาวิทยาลัย รวมท้ังนโยบายและวัตถุประสงค์ของ
มหาวทิ ยาลยั
(๒) บริหารบุคลากร การเงิน การพัสดุ สถานท่ีและทรพั ย์สินอ่นของมหาวิทยาลัยให
เปน็ ไปตาม กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบงั คบั ของทางราชการและของมหาวิทยาลัย
(๓) จัดทาแผนพัฒนามหาวิทยาลัย ดูแลใหมีการปฏิบัติตามนโยบายและแผนงาน
รวมทง้ั ติดตาม ประเมินผลการดาเนนิ งานดานต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย
(๔) แต่งตั้งและถอดถอนผูช่วยอธิการบดี รองคณบดี รองผูอานวยการสถาบัน
รองผอู านวยการ สานัก รองผูอำนวยการวิทยาลัย รองหัวหนาส่วนราชการท่ีเรียกช่ออย่าง
อ่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะหัวหนาภาควิชา หัวหนาส่วนราชการท่ีเรียกช่ออย่างอ่นท่ีมีฐานะ
เทียบเท่าภาควิชาและอาจารยพ์ เิ ศษ
(๕) รายงานเกยี่ วกับกิจการและการดำเนินการของมหาวิทยาลัยต่อสภา
มหาวิทยาลัย
(๖) ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานของสภาคณาจารย์และขาราชการ
คณะกรรมการส่งเสริม กจิ การวทิ ยาเขต และสง่ เสริมการพัฒนานักศกึ ษาและกิจการนักศกึ ษา
(๗) ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัยกับชุมชน รวมทั้งการเขาไปมีส่วน
รว่ มในการสราง ความสมั พันธ์กบั ชมุ ชน
(๘) เปน็ ผูแทนมหาวิทยาลัยในกจิ การทว่ั ไป
(๙) ปฏิบัติหนาท่ีอน่ ตามระเบียบ ขอบังคับ และประกาศของมหาวิทยาลัย ตามที่
สภามหาวิทยาลัย มอบหมายหรอตามทกี่ ฎหมายกำหนดใหเปน็ อานาจหนาที่ของอธิการบดี
มาตรา ๒๘ ในกรณีท่ีผูดำรงตำแหน่งอธิการบดีไม่อยู่หรอไม่อาจปฏิบัติราชการได ให
รองอธิการบดีเป็นผูรักษาราชการแทนถามีรองอธิการบดีหลายคน ใหรองอธิการบดีซ่ึง
อธิการบดีมอบหมายเป็นผูรักษาราชการแทน ถาอธกิ ารบดีมิไดมอบหมาย ใหรองอธิการบดีซึง่
มีอาวุโสสงู สดุ เป็นผูรกั ษาราชการแทน

)3(๒8) ( ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕
(๓๘) คมมู่ หอื นาวกั ิทศยกึ าษลายั ๒เท๕คโ๖นโ๕ลยีราชมงคลกรงุ เทพ

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

ในกรณีท่ีไม่มี ผรู ักษาราชการแทนอธิการบดีตามความในวรรคหน่ึง หรอมีแต่ไม่อาจ
ปฏิบัติราชการได หรอไม่มีผูดำรงตำแหน่งอธิการบดี ใหสภามหาวิทยาลัยแต่งตั้งผูมี
คุณสมบัติตามมาตรา ๒๖ วรรคหน่ึง เป็นผรู ักษา ราชการแทนอธิการบดี

มาตรา ๒๙ ในวิทยาเขตใหมีรองอธกิ ารบดีคนหนึ่งซ่ึงสภามหาวิทยาลัยแต่งต้ังโดย
คำแนะนำของ มอหธิกาวาิทรบยาดลีเัยปเ็นทผคูบโนังโคลับยีบราัญชชมงาคแลลกะรรุงับเทผพิดชอเปบ็นกสาถราบบรันิหอาุดรมงศาึนกษขาองสวังิทกัดยสาเาขนตักใงหาน
เป็นคไณปะตการมรกมกฎาหรมกาารยอุดรมะเศบึกียษบา ตาขมอพบรังะครัาบชบแญัละญปัตริมะหกาวาิทศยขาอลงัยมเทหคาโวนิทโลยยาีรลาชัยมงแคลละปพุทฏธิบศัตักิหรานชาท๒ี่อ๕่น๔๘
ตามเมทื่อ่อี วธันิกทาี่ ร๑บ๙ดีมมอกบรหาคมมาย๒๕๔๘ เป็นการรวมตัวของ ๓ วิทยาเขต คือ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ

วิทยาเมขตาบตพริตารพ๓ิมุข๐มหใานเมวฆิทแยลาะเวขิทตยาเใขหตมพีรคะณนคะรกใตร้ รภมากยใาตร้ชปื่อมรหะาจวาิทวยทิาลยัยาเทเขคโตนคโลณยีระาหชมนงึ่งคล
องคกร์ปงุ รเทะพกอจดับการจเำรียนนวกนารสอคนุณในสรมะดบับัตอิ ดุ มหศลึกักษเากหณลกั ฑส์แตู ลรปะรวญิ ิธญีกาาตรรไีแดลมะาปรวญิ าญราะโกทาหรลดาำกรหงลตายำสแาหขนาว่งชิ า
แลยะึดกมา่ันรใพนอนุดจมากการตณำ์แแลหะปนร่งัชขญอางกการรรจัมดกกาารรศึกปษราะเพจ่ือำผวลิทิตยบาัณเฑขิตตนักตปลฏอิบดัตจิ ตนอกบาสนรปองรคะวาชมุมตข้อองกงาร
คณขะอกงสรังรคมมกโาดรยปเชรื่อะมจ่ันำวว่าิทเทยคาโเนขโตลแยลีและะกอาารชจีวัดศรึกะษบาเบปบ็นรกิหระาบรวงนานกาในรศึวกิทษายทาี่จเขาตเป็นใใหนกเปาร็นเสไปริมตสารม้าง
ขอบมาังตครบั ฐขานอคงณุมหภาาพวทิ ยเพาลอ่ื เยั ป็นทก้ัางลนังี้สาตคอญั งในมกี การรพรัฒมนกาเาศรรษทฐี่ เกปิจ็ นและผสู ทงั ครมงไทคยุ ณ วุฒิ ซ่ึ งแต่ งต้ั งจาก
บคุ คลภายนอกไมน่ อยกวา่ หน่ึงในสาม

มาตรา ๓๑ คณะกรรมการประจำวิทยาเขตมีอำนาจและหนาท่ี ดงั นี้
(๑) ส่งเสริมใหวทิ ยาเขตดำเนินภารกิจใหสอดคลองกับนโยบาย เป้าหมาย และ
แผนพฒั นาตามทส่ี ภา มหาวทิ ยาลัยกาหนด
(๒) ใหคาปรึกษาและขอเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินกิจการต่างๆ ของวิทยาเขต
แกอ่ ธิการบดี
(๓) เสนอแนะการเปิดสอนตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัยในวิทยาเขตต่อสภา
วิชาการ
(๔) ประสานงานระหว่างบัณฑิตวิทยาลัย คณะ สถาบัน สำนัก วิทยาลัย และ
สว่ นราชการทเี่ รียกชอ่ อย่างอน่ ท่ีมีฐานะเทยี บเท่าคณะภายในวิทยาเขต
(๕) พิจารณาวางระเบยี บหรอออกขอบงั คบั อ่นตามทสี่ ภามหาวทิ ยาลัยมอบหมาย
(๖) พิจารณาเสนอแผนพัฒนา แผนงาน และงบประมาณประจำปีและจัดทำ
รายงานผลการดาเนิน กิจการของวิทยาเขตเสนอต่ออธกิ ารบดี
(๗) แตง่ ตง้ั คณะอนุกรรมการ หรอบคุ คลหนึ่งบุคคลใดเพ่อกระทำการใด ๆ อันอยู่ใน
อานาจและหนาท่ี ของคณะกรรมการประจำวทิ ยาเขต
(๘) ปฏิบัตงิ านอน่ ตามทอี่ ธิการบดีมอบหมาย

คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕ )3(๑9) (
มหาวิทยาลยั เทคโนคโล่มู ยอื ีรนากั ชศมึกงษคาล๒กร๕งุ เ๖ท๕พ (๓๙)

มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

มาตรา ๓๒ ในวิทยาเขต ใหมีคณะกรรมการส่งเสริมกจิ การวทิ ยาเขต ประกอบดวย
(๑) ประธานกรรมการส่งเสรมิ กจิ การวิทยาเขต
(๒) กรรมการส่งเสริมกิจการวิทยาเขตโดยตำแหน่ง ไดแก่ รองอธิการบดีประจำ
วทิ ยาเขต คณบดี ผูอานวยการสถาบัน ผูอานวยการสำนัก และผูอานวยการวิทยาลัย ถามี
(๓) กรรมการส่งเสริมกิจการวิทยาเขตจำนวนส่ีคน ซ่ึงแต่งตั้งจากผูแทนศิษย์เก่า
จำนวนหนึ่งคน ผูแทน ผูปกครอง จานวนหน่ึงคน และผแู ทนนกั ศึกษา จานวนสองคน
(๔) กรรมการสง่ เสริมกิจการวทิ ยาเขตผูทรงคุณวุฒิจานวนเท่ากับจานวนกรรมการ
ตาม (๒) และ (๓) รวมกัน ซ่ึงสภามหาวิทยาลัยแต่งตั้งจากผูมีความรู ความเชี่ยวชาญ หรอมี
ประสบการณ์ในสาขาวิชาต่าง ๆ ตามที่สภามหาวิทยาลัยเห็นสมควร ในจานวนนี้ ใหแต่งต้ัง
จากบุคคลในเขตพ้นทีบ่ รกิ ารการศึกษาของวิทยาเขต ไม่นอยกว่ากึ่งหน่ึง
คุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวิธีการไดมา วาระการดำรงตำแหน่ง และการพนจาก
ตำแหน่งของประธาน กรรมการส่งเสริมกิจการวิทยาเขต และกรรมการส่งเสริมกิจการวิทยาเขต
ตาม (๓) และ (๔) ตลอดจนการประชุม และการดำเนินงานของคณะกรรมการส่งเสริม
กิจการวิทยาเขต ใหเป็นไปตามขอบงั คับของมหาวิทยาลัย
มาตรา ๓๓ คณะกรรมการส่งเสริมกจิ การวิทยาเขตมีอานาจและหนาท่ี ดังนี้
(๑) สง่ เสริม สนับสนุน ใหคาปรึกษาและขอเสนอแนะแก่วิทยาเขตเพ่อ
พฒั นาแนวทางการดำเนินงาน ของวิทยาเขต
(๒) ส่งเสริมใหมีทุนการศึกษาแก่นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ใหมีโอกาสศึกษา
ในมหาวิทยาลัย อนั เปน็ การสนบั สนุนความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา
(๓) ส่งเสริม และสนับสนุนการสรางสัมพันธภาพและการเรียนรูระหว่าง
มหาวิทยาลัยกับนกั ศึกษา และประชาชน
(๔) แตง่ ต้ังคณะอนุกรรมการ หรอบุคคลหน่ึงบุคคลใดเพ่อกระทำการใด ๆ ตาม (๑)
(๒) และ (๓)
มาตรา ๓๔ ในบัณฑิตวิทยาลยั ใหมีคณบดีเป็นผูบังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของ
บัณฑิตวิทยาลัย และจะใหมีรองคณบดีตามจำนวนที่สภามหาวิทยาลัยกำหนด เพ่อทำหนาท่ี
และรบั ผดิ ชอบตามทค่ี ณบดี มอบหมายก็ได
คณบดีนั้น ใหสภามหาวิทยาลัยแต่งตั้งโดยการสรรหาตามขอบังคบั ของมหาวิทยาลัย
จากผมู ีคณุ สมบัติ ตามมาตรา ๒๖ วรรคสอง


Click to View FlipBook Version