The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษา 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ASCAR.RMUTK, 2022-06-29 00:23:21

คู่มือนักศึกษา 2565

คู่มือนักศึกษา 2565

(๙)9(๐๒0))( คคมู่่มู อือื นนกักั ศศกึึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี รี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

หมวด ๓
การเทยี บโอนผลการเรยี น จากการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย

เขา้ สกู่ ารศึกษาในระบบ

ข้อ ๑ม๖หาหวลิทักยเากลณัยเฑท์กคาโนรเโทลียยีบราโชอมนงผคลลกการรุงเเรทียพน เโปด็นยสกถาารบเทันียอบุดโมอศนึกผษลาลสัพังธก์กัดาสราเนรักียงนารนู้
และใคหณ้หะนกร่วรยมกกิตารจกาากรกอาุดรมศศึกึกษษาาตนาอมกพรระะบราบชบแัญลญะตั กิมาหราศวึกิทษยาาลตัยาเมทอคโัธนยโลาศยีรัยาชเขมง้าคสลู่กาพรุทศธึกศษักราาใชนร๒ะ๕บ๔บ๘
มีดงั นเมี้ ื่อวันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๔๘ เป็นการรวมตัวของ ๓ วิทยาเขต คือ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ

วิทยาเขตบกพ. ิตรรพะิมดุขบั มปหราิญเมญฆาแตลระี วิทยาเขตพระนครใต้ ภายใต้ชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพ จดั การเ(ร๑ีย)นกวาริธสีกอานรใปนรระะดเมับินอดุเพมื่ศอึกกษาารหเทลกัียสบตู โรอปนรผญิ ลญกาาตรรเีแรลียะนปรโญิ ดญยากโาทรหเทลาียกบหโลอานยผสาลขลาัพวชิ ธา์
การเยรึดียมน่ันรใู้จนะอุดกมรกะาทราณไ์แดล้โะดปยรกัชาญราทกดาสรอจัดบกมาารตศึกรษฐาาเนพ่ือกผาลริตทบดัณสฑอิตบนทักี่ปไมฏ่ใิบชัต่กิ ตาอรบทสดนสอองบควมาามตตร้อฐงกาานร
การปขรอะงเสมังินคมกาโรดจยัดเชกื่อามร่ันศวึก่าษเทาคหโรนือโอลยบีแรลมะทอ่ีจาัดชีโวดศยึกหษานเ่วปย็นงการนะภบาวคนรกัฐารหศรึกือษเอาทก่ีจชานเปก็นาใรนปกราะรเเสมรินิมแสฟร้า้มง
สะสมมงาาตนรฐานคณุ ภาพ เพื่อเปน็ กาลังสาคญั ในการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมไทย

(๒) การเทียบโอนผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยเทียบโอนผลการเรียนจะเทียบ
รายวิชาตามหลักสูตรท่ีเปิดสอนในมหาวทิ ยาลัย โดยรายวิชา หรือชุดวิชาให้เม่อื รวมกนั แล้วต้องมี
จานวนหน่วยกิตไม่เกินสามในสข่ี องจานวนหนว่ ยกติ ตลอดหลกั สูตร

(๓) การขอเทียบโอนผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยเทียบโอนผลการเรียนเป็น
รายวิชา หรือชุดวิชาให้คณะกรรมการเทียบโอนเป็นผู้ดาเนินการเทียบโอน ตามแนวปฏิบัติการ
เทียบโอนผลการเรียนจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
เขา้ สู่ระบบการศึกษาในระบบ ท่มี หาวิทยาลยั กาหนด โดยการเทียบโอนผลลพั ธ์การเรียนรนู้ ้ันตอ้ ง
ได้รับผลการประเมินเทียบผลการเรียนได้ ไม่ต่ากว่า “ค” หรือ “C” หรือแต้มคะแนน ๒.๐๐
หรอื เทยี บเทา่ จงึ จะใหน้ บั จานวนหน่วยกิตชุดวชิ าหรอื รายวชิ านั้น

(๔) รายวิชาหรือชุดวิชาท่ีเทียบโอนให้ จะไม่นามาคิดค่าระดับคะแนนเฉล่ีย
ประจาภาค และค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสม โดยบันทึก “เทียบโอนนอกระบบ” หรือ “Prior
Learning Credits” ไวส้ ่วนบนของรายวิชาทเ่ี ทียบโอนใหใ้ นใบแสดงผลการเรยี น เว้นแต่หลักสตู ร
ที่มอี งคก์ รวิชาชพี ควบคุม ให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑแ์ ละข้อกาหนดขององค์กรวิชาชพี นั้น

ในกรณีมีเหตุผลความจาเป็น มหาวิทยาลัยมีเอกสิทธ์ิที่จะให้ภาควิชาหรือ
สาขาวชิ าทาการประเมนิ ความรู้ของผทู้ จี่ ะขอเทยี บโอนความรู้

คค่มู มู่อื อืนนกั กัศศึกกึ ษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕ )(9(๙๑1๑)()

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี รี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ข. ระดับบัณฑิตศึกษา
(๑) วิธีการประเมินเพื่อการเทียบโอนผลการเรียน โดยการเทียบโอนผลลัพธ์

การเรียนรู้จะกระทาได้โดยการทดสอบมาตรฐาน หรือการทดสอบที่ไม่ใช่การทดสอบมาตรฐาน
การประเมินการจัดการศึกษา หรืออบรมที่จัดโดยหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชนหรือการประเมิน
แฟ้มสะสมงาน

(๒) การขอเทียบโอนผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยเทียบโอนผลการเรียนเป็น
รายวิชาหรือชุดวิชา ให้คณะกรรมการเทียบโอนเป็นผู้ดาเนินการเทียบโอนตามแนวปฏิบัติการ
เทียบโอนผลการเรียนจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
เข้าสู่ระบบการศึกษาในระบบที่มหาวิทยาลัยกาหนด โดยการเทียบโอนผลลัพธ์การเรียนรูน้ ั้นต้อง
ได้รับผลการประเมินเทียบได้ไม่ต่ากว่า B หรือแต้มระดับคะแนน ๓.๐๐ หรือเทียบเท่าสาหรับ
รายวิชาหรือชุดวิชานั้น จึงจะให้นับจานวนหน่วยกิตรายวิชาหรือชุดวิชาน้ัน แต่จะไม่ให้ระดับ
คะแนนตัวอักษร และไม่มกี ารนามาคิดคะแนนผลการเรียน

(๓) นักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาหรือวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้า
อสิ ระตามจานวนหนว่ ยกติ ทสี่ อดคล้องกับหลกั สูตร

(๔) รายวิชาท่ีเทียบโอนให้ จะไม่นามาคิดค่าระดับคะแนนเฉล่ียประจาภาค
และค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม โดยบันทึก “เทียบโอนนอกระบบ” หรือ “Prior Learning
Credits” ไว้ส่วนบนของรายวิชาท่ีเทยี บโอนให้ในใบแสดงผลการเรียน เว้นแตห่ ลักสตู รท่ีมีองค์กร
วิชาชพี ควบคมุ ใหเ้ ป็นไปตามหลักเกณฑแ์ ละข้อกาหนดขององค์กรวชิ าชีพนัน้

ในกรณีมีเหตุผลความจาเป็น มหาวิทยาลัยมีเอกสิทธิ์ที่จะให้คณะทาการประเมิน
ความรขู้ องผทู้ ี่จะขอเทยี บโอนความรู้

ขอ้ ๑๗ ใหม้ กี ารบนั ทกึ ผลการเรียนรายวชิ า และชุดวชิ าตามวิธีการดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) หน่วยกติ ทีไ่ ด้จากการทดสอบมาตรฐาน ใหบ้ นั ทกึ อักษร “CS” (Credits from
Standardized Test)
(๒) หน่วยกิตท่ีได้จากการทดสอบที่ไม่ใช่การทดสอบมาตรฐาน ให้บันทึกอักษร
“CE” (Credits from Examination)
(๓) หน่วยกิตท่ีได้จากการประเมินการจัดการศึกษาหรืออบรมที่ไม่ได้จัด โดย
สถาบันอดุ มศกึ ษา ให้บันทกึ อกั ษร “CT” (Credits from Training)

(๙)9(๒๒2)) ( คคมู่มู่ อือื นนกักั ศศกึกึ ษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

(๔) หน่วยกิตที่ได้จากการเสนอแฟ้มสะสมผลงาน ให้บนั ทึกอักษร “CP” (Credits
from Portfolio)

(๕) หน่วยกิตจากการประเมินการศกึ ษาหรืออบรมหลักสตู รในสถาบนั อุดมศึกษาท่ี
ไมไ่ ด้รบั ปริญญา ใหบ้ ันทกึ อักษร “CN” (Credits from Non-degree Program)
ใขกคมหอาา่ห้สรรงาขะารวกขเควมยมาดมอิทิทึรดณาอยาื่ับอใงุตยยมงะบวรเวรสคาทั่านกถิชัฐอนังเละพใรขนาาคนทนแัยรนตจาม่ีมอุญหนค๑บมดัใกก(กุด๖รนณุโนากพ๙าราาดมือต)เาใรรภณรกิตยกฉชหรกปวบารรมเาเมลทีดุาหมบ้พชรพรัณรนกรห่ีย่ีียผว่ือกะันณนิมอรทปนาิชีู้ขทมกันุทข่าุดว์แเวึกการั่อนพอี่แคหมมิึกยลทาทะผเวื่อบลมหศระอลกทยจเ่ี่าลเึสกะวาปทกัปัิากตเีายกอเษบิทช๒ลรษ็นยีภมสบจนาาัชาคัันยกบ๕ฆราูตโารใญชโตเาทนอคโ๔กเนทรแีลพ“าอทารนึก๘โกทมคงัลCแะนลียผสกพใโะา่ีดมลCมใยหบานลาวรรบัหีะ”อีีเคผแรกิโทะ้กโปปอค้ญัจลลลงอราาย(็ุดนรัด่ายะคาCกใรนหามกนชะรีกอร์เกาrเตศนทะบขากeาเาารรกึมารรดชดาชตัญdียเวษมรรศริีนมวพับรบiญิพชtวียาึกศวะงรกคsโหมตััฒานษิึคธกดะอะาิมลตfชีกษลานนตับนrแรกัหัวเีoพกาาาคาไพคศนสขาเเรดมmรรคศูตว่ืปะึอกอนุปงใ้วิทรรผแว็นตงเษเษิธรปทCยฉลบน้ก๓ีะกาฐราพิrตลภรนคญกิลหeเาบะ่ยีมาวใิจุัยรมdญลบยัิณนสทินเแเปiทปัใากวtะลยรแฑใตรsต็คนนสะสานาะ้ลชิตรโกสยเสBมูตวนเื่ีแอขนะงัามวถaรลโรมตคักตรโิชลnานิระใหดมศป้อยบาคนkคปมไึยากฏีรังืนอทรหารวหSษาบิบใิญยอิกทะชนyวชารันัตุญดมกยบิทsทือ่ึ้งผิทมtงาวาตี่ยจกบลeคลใึกโ่าศอาาลทหลคmกัยหอึกเเบุ่มปข้บเลาหักนษสทพวต็นรัoังนลษ่ึางนคิชุทเใเหาfวททรอโนรสาธกิธนนRงีึคยกศักเงห“กีคโพM่กัวนกาไนลลPาววัรื่อรดิยคายUปราL้าเสยนสกกีรสมป”ชTร่สวาาาริรตตรKะานนชุิงมม(๒้อะขP)กเมักทสขางท๕เาrองงมคกร้วาอi๔พคoา้าชาิบินิดยง๘นลฯrงรา
Learning) ไวส้ ว่ นท้ายรายวชิ าทีเ่ ทียบโอนใหใ้ นใบแสดงผลการเรียน

ข้อ ๑๘ การพิจารณาบันทึกผลการเรียนรู้ ให้เป็นไปตามท่ีคณะกรรมการเทียบโอน
ผลการเรียนกาหนด

บทเฉพาะกาล

ข้อ ๑๙ นักศึกษาที่เข้าศึกษาก่อนปีการศึกษา ๒๕๖๔ ให้ใช้หลักเกณฑ์การเทียบ
โอนตามระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ว่าด้วยการเทียบโอนผลการเรียน
พ.ศ. ๒๕๕๐ จนกวา่ จะสาเรจ็ การศึกษาโดยอนโุ ลม

ประกาศ ณ วันท่ี ๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

ศักดทิ์ ิพย์ ไกรฤกษ์
(นายศักด์ิทิพย์ ไกรฤกษ์)
นายกสภามหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ

คค่มู ่มูอื อืนนกั กัศศกึ ึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕ )(9(๙๑3๓) ()

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
เรอ่ื ง การลงทะเบียนเรียนข้ามภาคการศึกษา
------------------------------------------

เพื่อให้การลงทะเบียนเรียนของนักศึกษาระดับปริญ ญ าตรี ดาเนินไปด้วย
ความเป็นระเบยี บเรียบร้อย อย่างมีประสทิ ธิภาพ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพจงึ ขอ
แจง้ กาหนดการ ดงั ตอ่ ไปนี้

นักศึกษาที่มีความประสงค์จะลงทะเบียนเรียนข้ามภาค เช่น ภาคปกติไป
ภาคสมทบ หรือภาคสมทบไปภาคปกติจะต้องชาระค่าธรรมเนียมการลงทะเบียนเรียน
ขา้ มภาคในรายวชิ าละ ๑,๐๐๐ บาท และไมเ่ กนิ ๒ รายวชิ า ต่อภาคการศกึ ษา

กรณีที่นักศึกษาภาคปกติลงทะเบียนเรียนข้ามภาค กับนักศึกษาภาคสมทบเกิน
๒ รายวิชา ถือเป็นการย้ายรอบ จะต้องชาระค่าธรรมเนียมการลงทะเบียนเช่นเดียวกับนักศึกษา
ภาคสมทบ และกรณีนักศึกษาภาคสมทบลงทะเบียนเรียนข้ามภาคกับนักศึกษาภาคปกติ
จะลงทะเบยี นได้ไม่เกิน ๒ รายวิชา

ประกาศน้ใี ห้ใช้บังคบั ตงั้ แต่วันประกาศเปน็ ต้นไป

ประกาศ ณ วันท่ี ๒๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๑

(ลงช่อื ) เฉลิม มตั โิ ก
(ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์เฉลิม มตั โิ ก)

อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๙)9(๔๒4))( คคมู่มู่ อือื นนกักั ศศึกกึ ษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยีรรี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เร่ือง การตรวจสอบผลการลงทะเบียน และกลุ่มเรียน (Section)

--------------------------------------------------
เพื่อให้กมาหราลวงิททยะาเลบัยียเทนครโานยโวลิชยาีราแชลมะงคกลากรเรขุง้าเทชพั้นเรเปีย็นสไดถ้ตาบรันงกอลุดุ่มศ(ึกSษeาctสioังnกัด) สในานแักตง่ลาะน
ภาคคกณาระศกรึกรษมกาาขรอกงารนอักดุ ศมึกศึกษษาารตะาดมับพประรริญาชญบัญาตญรัตี ิมเปหา็นวไิทปยอาลยัย่าเทงถคูโกนตโล้อยงีรามชหมงาควลิทยพาุทลธัศยักเทราคชโน๒โ๕ล๔ย๘ี
ราชมเมงคื่อลวักนรทุง่ี ๑เท๙พ มจกึงขราอคปมระ๒กา๕ศ๔ใ๘หน้ กัเปศ็นกึ กษาารตรรววมจตสัวอขบองผล๓กวาิทรยลางเทขะตเบคยีือนวิทดยังานเี้ขตเทคนิคกรุงเทพฯ
วิทยาเข๑ต.บพใหิตน้รพักิมศุขกึ มษหาาตเรมวฆจแสลอะบวผิทลยกาเาขรตลพงรทะะนเคบรียในต้ราภยาวยชิใตา้ชแื่อลมะหกาวลิทุ่มยเราียลัยนเขทอคงโแนตโล่ลยะีรราาชยมวงชิคาล
ใหถ้ ูกกตร้อุงเงทพตรจงดั กกับารอเารียจนากรยาร์ผสู้สออนนในแรละะดเบั วอลดุ ามเรศยีกึ ษนาผห่าลนกั สเวตู บ็รปไซรญิตร์ญะาบตรบีแงลาะนปทรญิะเญบายี โนท หขลอางกสหาลนาักยสา่งขเสาวรชิมา
วิชากยาึดรมแั่นลในะองุาดนมกทาะรเณบ์แียลนะป(wรัชwญwา.aกsาcรaจrัด.rกmารuศtึกkษ.aาcเพ.t่ือhผ) ลภิตาบยัณในฑิต๒นักสปัปฏดิบาัตหิ ต์แอรบกสขนอองงกคาวราเมปติด้อภงกาาคร
การศขกึ อษงสาังคม โดยเช่ือม่ันว่าเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเป็นกระบวนการศึกษาที่จาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตรฐานคุณภการพณีทเพี่ผ่ือลเปกน็ากราลลงังทสะาคเบญั ียในนกราารยพวฒั ิชนาาเแศรลษะฐกกลจิ ุ่มแลเระียสังนคไมมไ่ถทูกยต้อง ให้นักศึกษาติดต่อ
สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน เพ่ือดาเนินการแก้ไข ให้ถกู ต้องเสรจ็ สิ้น ภายในสัปดาห์ที่
๔ หลังจากเปิดภาคการศึกษา
๒. กรณีท่ีนักศึกษาไม่ตรวจสอบผลการลงทะเบียนรายวิชา และเข้าเรียนผิดกลุ่มไม่
ตรงตามที่ลงทะเบียนไว้ และเพิกเฉย ไม่ดาเนินการใด ๆ มหาวิทยาลัย จะให้ผลการศึกษาประจา
ภาคของนักศึกษาท่ีเข้าเรยี นผดิ กลมุ่ (Section) เป็น F โดยอตั โนมัติ
๓. ประกาศน้ี ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันประกาศเป็นตน้ ไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๕ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๒

(ลงช่ือ) เฉลิม มตั ิโก
(ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยเ์ ฉลมิ มัตโิ ก)

อธิการบดมี หาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

คคมู่ ่มูอื อืนนกั กัศศึกึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕ )(9(๙๑5๕) ()

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี รี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เร่อื ง การลงทะเบียนของนกั ศึกษากลมุ่ สหกจิ ศึกษา นักศึกษาฝึกงานใน
สถานประกอบการ หรอื นกั ศึกษาฝึกประสบการณก์ ารสอนในสถานศกึ ษา

---------------------------------------------------------
เพื่อให้การลงทะเบียนของนักศึกษากลุ่มสหกิจศึกษา นักศึกษาฝึกงานในสถาน
ประกอบการ หรือนักศึกษาฝึกประสบการณ์การสอนในสถานศึกษา ดาเนินไปด้วยความเป็น
ระเบยี บ เรยี บรอ้ ย มีประสทิ ธิภาพ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ จงึ ขอแจ้งข้อปฏบิ ัติ
ดังตอ่ ไปน้ี
“มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ อนุญาตให้นักศึกษาท่ีลงทะเบียน
กลุ่มสหกิจศึกษา นักศึกษาฝึกงานในสถานประกอบการ หรือนักศึกษาฝึกประสบการณ์การสอน
ในสถานศึกษา ลงทะเบียนเรียน จานวน ๖ หน่วยกิต ในภาคการศึกษานั้นได้ และไม่อนุญาตให้
นักศึกษากลุม่ ดังกลา่ ว ลงทะเบยี นเรียนรายวชิ าอ่ืนรว่ มด้วยทกุ กรณี”
ประกาศน้ีให้ใช้บังคับ ต้งั แตว่ นั ประกาศเป็นตน้ ไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๓๐ เดือน มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓

(ลงช่อื สาธิต พทุ ธชัยยงค์
(นายสาธติ พุทธชัยยงค์)

อธกิ ารบดีมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๙)9(๖๒6))( คค่มูมู่ อือื นนกักั ศศกึกึ ษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
เรอ่ื ง การลงทะเบียนเรียนประจาภาคฤดรู ้อน
------------------------------------

นกั ศกึมษหาาวทิทส่ี ยาามลาัยรเถทลคงโทนะโลเบยียีรนาชเรมยี งนคภลกาครุงฤเดทรูพ้อนเปใ็นนสกถราณบีดันังอตุดอ่ มไศปึกนษ้ี า สังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการ๑อ.ุดมลศงึกทษะาเตบาียมนพรราะรยาวชิชบาญั ตญิดัติมFหหาวริทือยาWลัยไเทว้ใคนโนภโลายคีรเารชียมนงกคล่อนพหุทนธศ้าักนรี้ าแชละ๒เ๕ป๔็น๘
รายวเิชมาื่อบวังันคทบั ่ี ๑ก๙อ่ นมทกีจ่ ระาเครียมนใ๒น๕ภ๔า๘คเรเียปน็นตก่อาไรปรวมตัวของ ๓ วิทยาเขต คือ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ
วิทยาเขตบพิตรพ๒ิมุข. มรหายาเวมิชฆาสแลุดะทว้าิทยยเาพเขอื่ ตสพารเระจ็นกคารรใตศ้ ึกภษาายใต้ชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ จดั การเรีย๓น.กหารลสักอสนูตในรรกะาดหับนอดุดมแศผึกนษกาาหรลเกัรยีสตูนรใปนรภญิ าญคาฤตดรรูีแ้อลนะปรญิ ญาโท หลากหลายสาขาวชิ า
ยึดมั่นในอุดมการ๔ณ.์แลนะักปศรึกัชษญาาทก่ีถาูกรปจรัดับกาทรุจศรึกิตษาสเาพมื่อาผรลถิตลบงัณทฑะเิตบนียักนปรฏาิบยัตวิ ิชตาอทบ่ีทสจุนรอิตงคไดวา้ (มรตา้อยงวกชิ าาร
ทีถ่ กู ยขกองเลสกิังคไมมส่โดายมเาชรื่อถมล่ันงวท่าะเทเบคโยี นนโไลดย้)ีและอาชีวศึกษาเป็นกระบวนการศึกษาที่จาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตรฐานคณุ ภาพในเกพรือ่ ณเปีทน็ ก่ีนาักลศังสึกาษคาัญขในอกลางรทพะฒั เนบาียเศนรขษ้าฐมกภิจแาลคะปสกังคตมิไปไทเยรียนภาคสมทบ และภาค
สมทบไปขอเรียนภาคปกติ กระทาได้กรณีเดียวคือ เป็นวิชาสุดท้ายของการเรียน และเพ่ือสาเร็จ
การศกึ ษา

ค่าลงทะเบียน ให้ชาระตามอัตราข้ันสูง ของกล่มุ ที่ไปลงทะเบียน
นักศึกษาที่ไม่เป็นไปตามประกาศน้ี และได้ทาการลงทะเบียนไปแล้ว ขอให้
มาดาเนินการยกเลิกการลงทะเบียน และทาเร่ืองขอรับเงินคืน แต่ถ้านักศึกษาผู้ใดที่ไม่มายกเลิก
การลงทะเบียน ทางสานกั ส่งเสรมิ วิชาการและงานทะเบยี น จะทาการยกเลกิ การลงทะเบยี นให้

ประกาศ ณ วันที่ ๒๕ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑

(ลงชอื่ ) เฉลมิ มตั ิโก
( ผชู้ ่วยศาสตราจารย์เฉลมิ มตั โิ ก)

อธกิ ารบดีมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

คคมู่ ่มูอื อืนนกั กัศศึกกึ ษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕ )(9๙(๑7๗) ()

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรื่อง การลงทะเบียนประจาภาคการศึกษา
-----------------------------------------

ตามท่ี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ กาหนดการลงทะเบียนประจา
ภาคการศึกษานั้น เพ่ือให้การลงทะเบียนของนักศึกษา และรายช่ือในการเข้าช้ันเรียน และเข้า
สอบประจาภาคการศึกษา เป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ มหาวิทยาลัยจงึ ขอประกาศดงั น้ี

ข้อ ๑ นักศึกษาท่ีทาการลงทะเบียนผ่านเว็บไซต์ หรือผ่านเคาน์เตอร์ให้บริการ
โดยเจ้าหน้าท่ีสานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน จะต้องชาระเงินภายในวัน เวลาท่ี
มหาวทิ ยาลัยกาหนด

หากภายหลังจากเปิดภาคการศึกษา ๓๐ วัน นักศึกษายังมิได้ดาเนินการ
ดังกล่าว สวท.จะทาการยกเลิกการลงทะเบียน และนักศึกษาจะไม่มีรายช่ือในการเข้าช้ันเรียน
และหมดสิทธ์ิสอบ ท้ังนี้ นักศึกษาจะต้องติดต่อสานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน เพื่อทา
การรกั ษาสภาพการเปน็ นักศึกษา โดยเสียคา่ ธรรมเนียมในการรกั ษาสภาพ จานวน ๓๐๐ บาท

ข้อ ๒ นั ก ศึ ก ษ าที่ มิ ได้ ด าเนิ น การใด ๆ ใน ภ าค ก ารศึ ก ษ านั้ น เช่ น
การลงทะเบียนแล้วมิได้ชาระเงิน การลาพักหรือการรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา ภายหลังจาก
เปิดภาคการศึกษา ๓๐ วัน สวท.จะทาการปรับสถานะนักศึกษาดังกล่าว นักศึกษาจะต้อง
ดาเนินการติดตอ่ สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน เพ่ือทาการรักษาสภาพการเป็นนกั ศึกษา
โดยเสยี คา่ ธรรมเนยี มในการรักษาสภาพ จานวน ๓๐๐ บาท

ข้อ ๓ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ไม่อนุญาตให้นักศึกษา
ดาเนนิ การลงทะเบยี นย้อนหลงั เวน้ แตน่ กั ศึกษาจะทาการขอผอ่ นผันต่อคณบดไี วก้ ่อน หนา้ น้นั

ข้อ ๔ ในกรณีที่มีปัญหาเก่ียวกับประกาศน้ี ให้เสนอต่ออธกิ ารบดีเป็นผู้พิจารณา
ตัดสินผล

ขอ้ ๕ ประกาศนี้ ให้ใช้บังคับตง้ั แตว่ ันประกาศเป็นตน้ ไป

ประกาศ ณ วันที่ ๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔

ลงชอื่ สาธติ พทุ ธชยั ยงค์
(นายสาธติ พทุ ธชยั ยงค์)

อธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

(๙)9(๘๒8))( คค่มู่มู อือื นนกักั ศศึกึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
เรอื่ ง เกณฑ์การลงทะเบียนเรยี นซา้ หรอื แทน
และการนบั หน่วยกติ รวมตลอดหลกั สูตร

ลงทะเควมเิทณบ่ือยะยีวากนันเรขเทรรต่ีมีย๑บกนพ๙าดซริต้วกา้รมยมาพกหรหมิมอรราหุขาุดวอื าคมมิทแวมหศยทิทึกาานเษย๒ลมาาัย๕แฆ-ลตเล-๔ทัแยา-ะ-๘มคลเ-กทพโะ-าน-วรค-เริโทะ-ปโนล-รยน็น-ยาบั -าโกชีร-หเลพ-บขาา-นยรชตัญ.-ศร-ว่ีรมพญ-ว.ยา-งรมัต-ช๒กคะ-ิมตลติ-มน๕ห-ัวกรคง-๕ขา-วครรว-อ๔ุมงใ-ลิทตงเ-ตทยก-้ ๓-ลาพรภ-ลอ-ุงาว-ัยดเยิ-ทเทเ-หทปใย-ตพ็ค-ลนา้-ชโักเส-นื่อขเ-สถหโมตลตูา็นหยบคราสีรัืนอวาใมอิทหชวคุดมยิท้เวหมงายครลมศาลปัยึกาเขเระษทพตับสาคุทเมปทโสธนยรคศังโง่ิุงกันกลขเัรดิคยกน้ึาสกีรณชาารนชุงฑ๒เมัก์ท๕กงง๔พาคาร๘นลฯ
กรุงเทพ จดั กอาารศเรัยียอนากนาราสจอตนาใมนคระวดาับมอใดุนมขศ้อกึ ษ๑า๘หลแกั หสูต่งขรป้อรบญิ ังญคาบั ตมรหีแลาะวปิทรยิญาญลายั โเททหคลโนากโหลลยาีรยาสชามขงาควชิลา

กรุงเทยึดพมั่วนา่ในดอ้วุดยมกกาารรศณกึ ์แษลาะรปะรดัชับญปาริญกาญรจาัดตกรีาพรศ.ศึก.ษ๒าเ๕พ๕่ือ๐ผลซิตง่ึบอัณอฑกิตตนาักมปคฏวิบามัติในตอมบาสตนราอง๑ค๗วาม(๒ต)้องแกหา่งร
พระรขาอชงบสังัญคญมัตโดิมยหเาชว่ือิทมยั่นาวล่าเัยทเคทโคนโโนลโยลีแยลีระาอชามชงีวคศลึกกษราุงเปเท็นพกรพะบ.ศว.น๒ก๕าร๔ศ๘ึกษมาหทา่ีจวาิทเปย็นาใลนยั กาจรงึ เสปรริมะสกรา้าศง
ดังต่อมไาปตนรฐ้ี านคณุ ภาพ เพื่อเปน็ กาลังสาคัญในการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมไทย

ข้อ ๑ ประกาศนี้ เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรื่อง เกณฑ์การลงทะเบียนเรียนซ้า หรือแทน และการนับหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร
พ.ศ. ๒๕๕๔”

ข้อ ๒ การลงทะเบียนเรียนซ้า หรือแทน และการนับหน่วยกิตรวมตลอด
หลักสูตร

๒.๑ เกณฑก์ ารลงทะเบียนเรียนซา้ หรอื การเรียนเนน้ (Regrade)
๒.๑.๑ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน มีหน่วยกิตรวมตั้งแต่ ๓๐ – ๕๙

หน่วยกิต และมีค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมระหว่าง ๑.๕๐ ถึง ๑.๗๔ ให้มีสิทธิลงทะเบียนเรียน
รายวิชาทไ่ี ด้รับคะแนน ง (D) หรือ ง+ (D+) นัน้ ซ้าอีกได้

๒.๑.๒ นักศึกษาท่ีลงทะเบียนเรียน มีหน่วยกิตรวมต้ังแต่ ๖๐ หน่วยกิต
ขึน้ ไปถึงจานวนหน่วยกิตก่อนครบหลักสูตร และมีค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสมระหว่าง ๑.๗๕ ถึง
๑.๘๙ ให้มสี ิทธิลงทะเบยี นเรยี นรายวชิ าทไ่ี ด้รบั คะแนน ง (D) หรือ ง+ (D+) น้นั ซา้ อกี ได้

๒.๑.๓ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนครบหลักสูตร และมีค่าระดับคะแนน
เฉลี่ยสะสมระหว่าง ๑.๗๕ ถึง ๑.๙๙ กรณีนักศึกษามีรายวิชาที่ได้รับระดับคะแนน ต (F) ให้
นักศกึ ษาขอลงทะเบียนเรียนซ้าในรายวิชาทไ่ี ด้ระดบั คะแนน ต (F) และมสี ิทธิลงทะเบียนเรียนซ้า
รายวิชาอนื่ ควบคูก่ นั ได้

คคมู่ มู่อื อืนนกั กัศศึกกึ ษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕ )(9(๙๑9๙)()

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

๒.๑.๔ นักศึกษาท่ีลงทะเบียนเรียนครบหลักสูตร และมีค่าระดับคะแนนเฉล่ีย
สะสมระหว่าง ๑.๙๐ – ๑.๙๙ ให้มีสิทธิลงทะเบียนเรียนรายวิชาที่ได้รับคะแนนตา่ กว่า ก (A) น้ัน
ซา้ อกี ได้

การนับหน่วยกิตรวม ให้คานวณจากหน่วยกิตที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนใน
แต่ละภาคการศึกษา และได้รับผลการศึกษาตั้งแต่เร่ิมสภาพการเป็นนักศึกษา จนถึง
ภาคการศึกษาปัจจบุ ัน

๒.๒ การลงทะเบียนเรียนซ้า หรือแทนกัน ให้นับหน่วยกิตของรายวิชาท่ีได้ระดับ
คะแนนท่ีดีทสี่ ุดเพยี งคร้งั เดยี ว ในการคานวณหาคา่ ระดบั คะแนนเฉลยี่ สะสม

๒.๓ การนับหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ให้นับรวมเฉพาะหน่วยกิตของรายวิชาที่
ได้ระดับคะแนนตงั้ แต่ ง (D) ขนึ้ ไป หรอื ได้คะแนน พ.จ. (S) เท่าน้นั

๒.๔ การลงทะเบียนเรียนซ้า หรือการเรียนเน้น (Regrade) สามารถกระทาได้ไม่
เกนิ ระยะเวลาสองเทา่ ของแผนการเรียนตามหลักสูตร

๒.๕ นกั ศกึ ษาที่ลงทะเบยี นเรยี นเนน้ (Regrade) ไม่มีสทิ ธิได้รับเกยี รตินยิ ม
ข้อ ๓ ประกาศน้ี ให้ใชบ้ ังคับต้ังแต่วนั ถัดจากวนั ประกาศเปน็ ตน้ ไป

ประกาศ ณ วนั ที่ ๖ เดอื น มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔

ลงชือ่ สาธิต พุทธชยั ยงค์
(นายสาธติ พุทธชยั ยงค)์

อธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๑)1๐(๒0๐0))( คค่มู่มู อือื นนกักั ศศึกกึ ษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
เร่อื ง ข้อปฏิบัติในการสอบของนักศกึ ษาระดับปริญญา

พ.ศ. ๒๕๕๗
ดมว้ หยามวหิทายวาิทลยัยาเทล-คยั--โเ-ทน--โค-ลโ-ย-น-ีรโ-า-ล-ชย-ม-ีร-งา-ค-ช-ลม--กง-ร-ค-ุงล-เ-ทก--พร-งุ-เ-ทเ-ป-พ-็น- สเหถน็าบสันมอคุดวมรปศึกรับษปา รสงุังขกอ้ัดปสฏานิบักัตงใิ านน
การสคอณบะขกอรงรนมกกั าศรึกกษาราอรดุ ะมดศบั ึกปษราญิ ตาญมาพใรหะ้เรหามชบาะัญสญมัตยิมิ่งหขา้ึนวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘
เม่ือวันที่ ๑๙ อมากศรัยาอคามนา๒จ๕ต๔า๘มคเวปา็นมกในารขร้อวม๕ตัวแขหอ่งงร๓ะเวบิทียยบาสเขถตาคบือันวเทิทคยโานเขโตลเยทีรคานชิคมกงรคุงลเทพว่าฯ
ด้วยกวาิทรยสาอเขบตขบอพงิตนรักพศิมึกุขษมหาราะเมดฆับแปลระิญวญิทยาาตเขรีตพพ.รศะ.น๒ค๕รใ๓ต๗้ ภมาหยใาตว้ชิทื่อยมาหลาัยวิทจยึงาปลรัยะเทกคาศโนโขล้อยปีรฏาชิบมัตงิใคนล
การสกอรบงุ เขทอพงจนดั กั กศาึกรเษรียานระกาดรับสปอนรญิในญระาดดับังอนดุ ี้ มศึกษาหลกั สูตรปรญิ ญาตรีและปริญญาโท หลากหลายสาขาวชิ า
ยึดมั่นในอุดมกขาอ้ รณ๑์แลปะปรระัชกญาศานกี้ าเรรจียัดกกวา่ารศ“ึกปษราะเกพาื่อศผมลหิตบาวัณิทฑยิตานลักัยปเทฏคิบโัตนิ ตโลอยบรีสานชอมงงคควาลมกตร้อุงงเทกาพร
เรือ่ งขขอ้องปสังฏคบิ มตั โใิ ดนยกเาชรื่อสมอั่นบว่าขเอทงคนโนกั ศโลกึ ยษีแาลระะอดาับชีวปศรึกิญษญาเาป็นพก.ศร.ะบ๒ว๕น๕ก๗าร”ศึกษาที่จาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตรฐานคุณภขา้อพ ๒เพื่อปเประน็ กกาาลศังนสี้าใคหญั ใ้ ชใน้บกังาครับพฒัต้ังนแาตเศ่วรนั ษปฐกรจิะแกลาะศสเังปคน็ มตไท้นยไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลกิ “ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ เรื่อง ข้อ
ปฏิบัตใิ นการสอบของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญา พ.ศ. ๒๕๕๒”
ข้อ ๔ ผู้เข้าสอบจะต้องเข้าสอบตามตารางสอบและห้องสอบที่คณะ หรือ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพได้ประกาศไว้ หากไม่มาเข้าสอบตามตารางสอบและ
ห้องสอบทก่ี าหนด ถอื วา่ ขาดสอบในรายวิชานน้ั
ข้อ ๕ ในกรณีผู้เข้าสอบมาถึงห้องสอบสายไม่เกิน ๓๐ นาที จะเข้าสอบได้
ต่อเม่ือได้รับอนุญาตจากกรรมการกากับห้องสอบ และไม่อนุญาตให้ต่อเวลาสอบ หากผู้เข้าสอบ
มาถึงห้องสอบสายเกินกวา่ ๓๐ นาที จะไมไ่ ด้รับอนญุ าตให้เข้าห้องสอบ
ขอ้ ๖ ผู้เข้าสอบตอ้ งแสดงบัตรประจาตัวนกั ศึกษา ให้กรรมการกากับหอ้ งสอบ
ตรวจทุกคร้ังที่เข้าสอบ ในกรณีท่ีผู้เข้าสอบ มิได้นาบัตรประจาตัวนักศึกษามา สามารถใช้ใบแทน
บัตรประจาตัวนักศึกษาท่ีออกจากสานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน/ บัตรประจาตัว
ประชาชน / บัตรประจาตัวข้าราชการ / ใบขบั ข่ีมาแสดง จึงจะเขา้ สอบได้ และไม่อนุญาตให้ต่อ
เวลาสอบ
ข้อ ๗ ผู้เข้าสอบจะต้องน่ังประจาตามท่ีนั่งสอบท่ีกาหนดให้ จะเปลี่ยนที่นั่ง
สอบก่อนได้รบั อนุญาตไม่ได้

คค่มู มู่อื อืนนกั กัศศึกึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕ )(1๑(๑0๐)1๑()

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ข้อ ๘ ผู้เข้าสอบต้องแต่งกายให้สุภาพตามประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรุงเทพ วา่ ดว้ ยเคร่ืองแบบ เครอ่ื งหมาย และเครื่องแตง่ กายของนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๔

ข้อ ๙ ผู้เข้าสอบต้องจัดหาอุปกรณ์ เคร่ืองเขียนที่จาเป็นเก่ียวกับการเขียน
มาเอง เช่น ปากกา ดินสอ ยางลบ ไม้บรรทัด ไม้ฉาก ไม้โปรแทรกเตอร์ วงเวียน เป็นต้น และ
ไม่อนุญาตให้ยืมส่ิงของทุกชนิดจากผู้เข้าสอบอ่ืน เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากกรรมการกากับ
ห้องสอบ

ข้อ ๑๐ ห้ามผู้เข้าสอบนาตารา บันทึก เอกสาร เครื่องคานวณ อุปกรณ์หรือสิ่ง
อ่ืนใดท่ีมีสูตรสัญลักษณ์ท่ีเกี่ยวข้องกับการสอบในรายวิชานั้น ๆ เข้าห้องสอบ เว้นแต่จะได้รับ
อนญุ าตไว้ในขอ้ สอบของรายวชิ านน้ั ๆ และผู้เข้าสอบต้องจัดหามาเอง

ข้อ ๑๑ ในระหว่างการสอบ ห้ามผู้เข้าห้องสอบพูดหรือติดต่อซ่ึงกันและกัน หรือ
กอ่ การรบกวนแกผ่ อู้ ่ืน เช่น สบู บหุ รี่ ส่งเสียงดงั เปน็ ต้น

ข้อ ๑๒ ผู้เข้าสอบต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามความท่ีแจ้งไว้ในข้อสอบเมื่อส่งสมุด
คาตอบและ/หรอื กระดาษคาตอบแล้ว จะขอแก้ไขเปล่ียนแปลงใด ๆ อกี มิได้

ข้อ ๑๓ การขอสมุดคาตอบและ/หรือกระดาษคาตอบเพ่ิมเติม หรืออุปกรณ์
เก่ียวกับการสอบ หรือมีข้อสงสัยในการสอบ ให้ผู้เข้าสอบสอบถามจากกรรมการกากับห้องสอบ
เทา่ นั้น

ข้อ ๑๔ ห้ามฉีกหรือนาสมุดคาตอบและ/หรือกระดาษใด ๆ ที่แจกให้ในห้องสอบ
ออกจากห้องสอบ ไม่วา่ กรณใี ด ๆ

ขอ้ ๑๕ ผู้เข้าสอบจะออกจากห้องสอบได้ ต่อเมื่อการสอบได้ดาเนินการผ่านพ้น
ไปแล้วกึ่งหนึ่งของเวลาในการสอบรายวิชานั้น ๆ นับแต่เร่ิมสัญญาณให้เข้าสอบ และรอจนกว่า
กรรมการกากับห้องสอบจะมาเกบ็ สมุดคาตอบและ/หรือกระดาษคาตอบเรยี บร้อยแลว้

การขออนุญาตออกจากห้องสอบชั่วคราว หรือหลังระยะเวลาท่ีกาหนด
ในวรรคแรก ให้อยู่ในดลุ พินจิ ของกรรมการกากบั หอ้ งสอบ

ข้อ ๑๖ หากผู้เข้าสอบต้องการส่งสมุดคาตอบและ/หรือกระดาษคาตอบก่อน
หมดเวลาที่กาหนดไว้ ให้ยกมือขึ้นและรอจนกว่ากรรมการกากับห้องสอบจะมาเก็บสมุดคาตอบ
และ/หรอื กระดาษคาตอบเรยี บร้อยแล้ว จงึ จะออกจากหอ้ งสอบได้

ในกรณีที่ผู้เข้าสอบมิได้ทาข้อสอบให้ดาเนินการตามความในวรรคแรก
เช่นเดียวกัน

()๑1๐(0๒๒2)) ( คค่มูมู่ อือื นนกักั ศศกึึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ข้อ ๑๗ เมื่อมีสัญญาณหมดเวลา ห้ามผู้เข้าสอบเขียนต่อไปอีก ให้ผู้เข้าสอบ
วางสมุดคาตอบและ/หรือกระดาษคาตอบนั้นไว้บนโต๊ะของตน และรอจนกว่ากรรมการกากับ
ห้องสอบจะมาเก็บสมุดคาตอบและ/หรือกระดาษคาตอบเรยี บรอ้ ยแล้ว จงึ จะออกจากห้องสอบได้

ข้อ ๑๘ เมื่อผู้เข้าสอบได้ส่งสมุดคาตอบและ/หรือกระดาษคาตอบแก่กรรมการ
กากับห้องสอบเรียมบหรา้อวิยทแยาลล้วัยผเทู้เคขโ้านสโอลบยีรตา้อชงมองอคกลไกปรุใงหเท้พพ้นบเปร็ิเนวสณถหาบ้อันงสอุดอมบศทึกันษทาี สแังลกะัดไสมา่กนรักะงทาาน
การรคบณกะวกนรแรมกกผ่ าู้เรขกา้ าสรออบดุ มอศืน่ ึกทษีก่ าาตลางั มสพอรบะอรายชู่ บญั ญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘

เมื่อวันที่ ๑๙ ขม้อกร๑า๙คมใน๒ก๕ร๔ณ๘ีที่ผเปู้เข็น้ากสาอรรบวตม้อตังวสของสง ัย๓กวริทะยทาาเขกตารคทือุจวริทิตยาใเหขต้กเรทรคมนกิคากรกุงเาทกพับฯ
ห้องสวอิทบยามเีอขาตนบาพจิตตรรพวิมจุขคม้นหผาูเ้ ขม้าฆสแอลบะไวดิท้ ยาเขตพระนครใต้ ภายใต้ชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

กรุงเทพ จดั การขเ้อรยี ๒นก๐ารผสู้เอขน้าในสรอะบดผบั ูอ้ใดุ มกศรกึ ะษทาาหกลากั รสฝูตร่าปฝรืนญิ ปญราะตกรีแาลศะนปี้รหิญรญือาพโทยหาลยาากมหกลารยะสทาาขกาวาชิ รา
ทุจริตยึดในมกั่นาในรอสุดอมบกราารยณว์แิชลาะใปดรัชเมญื่อาไดก้สารอจบัดสกวานรศแึกลษ้วาเปพร่ือะผธลาิตนบกัณรฑรมิตกนัากรปหฏริบือัตผิ ตู้มอีอบาสนนาอจงหคนว้าามทต่ีใน้องกกาารร
จัดกาขรอสงอสังบคมมอี โาดนยเาชจ่ือสมงั่ ั่นไมว่า่ใหเท้ผคนู้ โน้ันโเลขย้าีแสลอะบอราาชยีววศิชึกาษนา้ันเปห็นรกือรสะง่ับไวมน่ตกราวรจศคึกาษตาอทบ่ีจารเาปย็นวใิชนากนาัน้รเขสอริมงผสู้นร้าั้นง
โดยถมือาวตา่รสฐาอนบคตุณกภเฉาพพาะเพรา่ือยเปว็นิชกาากล็ไงั ดส้ าคญั ในการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมไทย

ถา้ การกระทาดงั กลา่ วในวรรคแรกเขา้ ลักษณะรา้ ยแรง อาจส่งั ไมใ่ ห้ผู้นน้ั เข้าสอบ
ต่อไปก็ได้

ข้อ ๒๑ ผู้เขา้ สอบผู้ใดกระทาการทุจริตในการสอบรายวิชาใด ให้คณะกรรมการ
สอบประจาภาคการศึกษาทารายงานเสนอให้คณะกรรมการประจาคณะที่เป็นคณะกรรมการ
ภายในของคณะ พจิ ารณาโทษเป็น ๓ สถาน ตามลักษณะของความผดิ คือ

๒๑.๑ ให้ได้ระดบั คะแนน ต. หรือ F ในรายวิชาที่ทาการทุจริตน้ัน
๒๑.๒ ให้ได้ระดับคะแนน ต. หรือ F ในรายวิชาท่ีทาการทุจรติ นั้น และส่ัง
ยกเลกิ การลงทะเบยี นเรียนทุกรายวชิ าในภาคการศึกษานั้น
๒๑.๓ ใหพ้ น้ สภาพการเปน็ นักศึกษา
เมื่อคณะกรรมการประจาคณะที่เป็นคณะกรรมการภายในของคณะ
พจิ ารณาโทษสถานใด ให้คณบดีเป็นผลู้ งนามในคาสั่งกรณีลงโทษตามข้อ ๒๑.๑ และ ๒๑.๒ แล้ว
แจ้งสานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนเพื่อทราบ กรณีลงโทษตามข้อ ๒๑.๓ ให้เสนอ
มหาวทิ ยาลยั พิจารณาส่ังการ
ขอ้ ๒๒ กรณีกระทาการทุจริตโดยการคัดลอกคาตอบระหว่างผู้เข้าสอบด้วยกัน
ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้เขา้ สอบนั้นได้สมคบกันกระทาการทุจริต

คค่มู ่มูอื อืนนกั กัศศึกกึ ษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕ )(1๑(0๑๐3)๓()

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี รี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ข้อ ๒๓ กรณีท่ีมีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามประกาศน้ี หรือประกาศน้ีมิได้
กาหนดไวใ้ หอ้ ธกิ ารบดีเปน็ ผวู้ ินิจฉัย ช้ขี าด

ประกาศ ณ วันท่ี ๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

(ลงชือ่ ) สาธิต พทุ ธชยั ยงค์
(นายสาธติ พุทธชยั ยงค์)

อธิการบดมี หาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๑)1๐(๒0๔4))( คค่มูมู่ อือื นนกักั ศศกึึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี รี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรอื่ ง เกณฑ์การวดั และประเมินผลการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี

--------------------------------------------
อาศัยอานาจตามความในข้อ ๑๘ แห่งข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรุงเทพ มวห่าาดว้วิทยยกาาลรัยศเึกทษคาโนระโลดยับีรปาชริมญงญคลาตกรรุงี เพทพ.ศ. เ๒ป็๕นส๕ถ๐าบัซนึ่งออุดอมกศตึกาษมาคสวังากมัดใสนามนาักตงราาน
๑๗ (ค๒ณ)ะกแรหรม่งพการระกราารชอดุบมัญศญึกษัตาิมตหาามวพิทระยราาลชัยบเญั ทญคตัโนิมหโลาวยิทีรยาาชลมัยงเทคคลโกนรโลุงยเทีราพชมพง.คศล. ๒พุท๕ธ๔ศ๘ักราแชล๒ะ๕โด๔ย๘
ความเมเห่ือ็นวันชทอ่ีบ๑ข๙องมสกภราามคหมาว๒ิท๕ย๔าล๘ัยเทเปค็นโกนาโรลรยวรี มาตชัวมขงอคงล๓กรวุงิทเทยพาเขใตนคกือารวปิทรยะาชเขุมตคเรทง้ั คทน่ี ิค๔ก/ร๒ุง๕เท๕พ๐ฯ
เมื่อววันิททยา่ี เข๒ต๖บพเิตดรือพนิมุขกมุมหภาเามพฆันแธล์ ะพวิ.ทศย.า๒เข๕ตพ๕ร๐ะนคมรหใตา้ วภิทายยใาตล้ชัยื่อเมทหคาโวนิทโยลาลยัยีรเาทชคมโนงโคลลยกีรารชุงมเทงคพล
จึงกากหรนงุ เดทเพกณจดั ฑกก์าราเรรวียดันกแาลระสปอรนะในเมระนิ ดผับลอกุดามรศศกึ ึกษษาหารละกั ดสตูับรปปรริญญิ ญญาาตตรรีแีดลงัะตป่อริญไปญนาี้โท หลากหลายสาขาวชิ า
ยึดม่ันในอุดมกขา้อรณ๑์แลใะหป้ครณัชญะทาี่เกปาิดรสจัอดกนาใรนศมึกหษาาวเพิท่ือยผาลลิตัยบัณจฑัดิตกนาัรกวปัดฏแิบลัตะิ ตปอรบะสเมนินองผคลวกาามรตศ้อึกงกษาาร
สาหรขับองรสาังยควมิชโาดทยี่นเชัก่ือศมึก่ันษวา่าเลทงคทโะนเโบลยียีแนลเะรอียานชไีววศ้ใึกนษแาตเป่ล็นะกภราะคบกวานรกศาึกรศษึกาษหานท่ึงี่จาโเดปย็นกในารกปารรเะสเรมิมินสรผ้าลง
การศมึกาตษราฐาในนคแณุ ตภ่ลาะพรายเพว่อื ิชเปา็นใกหาล้กงั าสหาคนัญดใเนปก็นารรพะัฒดนับาคเศะรแษฐนกนจิ แคล่าะสรังะคดมับไทคยะแนนต่อหน่วยกิตและ
ผลการศกึ ษา ดงั ตอ่ ไปนี้

ระดับคะแนน (GRADE) ค่าระดบั คะแนนตอ่ หนว่ ยกติ ผลการศึกษา

ก หรือ A ๔.๐๐ ดเี ยย่ี ม (Excellent)
๓.๕๐ ดีมาก (Very Good)
ข หรอื B
ข หรือ B ๓.๐๐ ดี (Good)
๒.๕๐ ดีพอใช้ (Fairly Good)
ค หรอื C ๒.๐๐ พอใช้ (Fair)
ค หรอื C ๑.๕๐ ออ่ น (Poor)
๑.๐๐ ออ่ นมาก (Very Poor)
ง หรอื D
ง หรือ D ๐ ตก (Fail)
ต หรอื F  ถอนรายวชิ า (Withdrawn)
ถ หรอื W  ไมส่ มบูรณ์ (Incomplete)
ม.ส. หรอื I  พอใจ (Satisfactory)
พ.จ. หรือ S
ม.จ. หรอื U  ไมพ่ อใจ (Unsatisfactory)
ม.น. หรือ AU  ไม่นับหนว่ ยกติ (Audit)

คคมู่ ่มูอื อืนนกั กัศศึกกึ ษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕ )(1๑(0๑๐5)๕()

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ข้อ ๒ การให้ระดับคะแนน ก (A) ข+ (B+) ข (B) ค+ (C+) ค (C) ง+( D+)
ง (D) และ ต (F) จะกระทาได้ในกรณี ตอ่ ไปน้ี

๒.๑ ในรายวิชาทีน่ ักศึกษาเขา้ สอบและหรือมผี ลงานทป่ี ระเมินการศกึ ษาได้
๒.๒ เปลย่ี นจากระดับคะแนน ม.ส. (I)
ขอ้ ๓ การใหร้ ะดับคะแนน ต (F) นอกเหนือไปจากขอ้ ๒ แล้วจะกระทาไดด้ ังตอ่ ไปน้ี
๓.๑ ในรายวิชาท่ีนักศึกษามีเวลาศึกษาไม่ครบร้อยละ ๘๐ ของเวลาศึกษาตลอด
ภาคการศกึ ษา
๓.๒ เม่ือนักศึกษาทาผิดระเบียบการสอบในแต่ละภาคการศึกษา ตามข้อบังคับ
หรือระเบียบหรือประกาศมหาวิทยาลัย ว่าด้วยการนั้น ๆ และได้รับการตัดสินให้ได้ระดับคะแนน
ต (F)
ข้อ ๔ การใหร้ ะดบั คะแนน ถ (W) จะกระทาไดใ้ นกรณตี ่อไปน้ี
๔.๑ นักศึกษาป่วยก่อนสอบ และไม่สามารถเข้าสอบในบางรายวิชาหรือ
ทั้งหมดได้ โดยย่ืนใบลาป่วยพร้อมใบรับรองแพทย์ให้คณบดีพิจารณาร่วมกับอาจารย์ผู้สอน
หากเห็นว่าการศึกษาของนักศึกษาผู้นั้นขาดเนื้อหาส่วนท่ีสาคัญ สมควรให้ระดับคะแนน ถ (W)
ในบางวชิ าหรือท้งั หมด
๔.๒ นักศึกษาลาพักการศึกษาหลังจากสัปดาห์ท่ี ๑๒ ในระหว่างภาคการศึกษา
ปกติหรอื สัปดาห์ ที่ ๖ ในระหวา่ งภาคการศกึ ษาฤดรู อ้ น
๔.๓ คณบดีอนุญาตให้เปลี่ยนระดับคะแนนจาก ม.ส. (I) เน่ืองจากป่วยหรือเหตุ
สุดวิสัย
๔.๔ ในรายวิชาที่นักศึกษาได้รับอนุญาตให้ลงทะเบียนเรียนโดยไม่นับหน่วยกิต
(AU) และมีเวลาศึกษาไม่ครบรอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาศกึ ษาตลอดภาคการศกึ ษา
ขอ้ ๕ การให้ระดับคะแนน ม.ส. (I) จะกระทาได้ในรายวิชาท่ีผลการศึกษายังไม่
สมบูรณ์โดยอาจารย์ผู้สอนจะต้องระบุสาเหตุที่ให้ระดับสาเหตุท่ีให้คะแนน ม.ส. (I) ประกอบไว้
ดว้ ย ในกรณตี อ่ ไปนี้
๕.๑ กรณีมีเหตุเจ็บป่วยหรือเหตุสุดวิสัย และมีเวลาศึกษาครบร้อยละ ๘๐
โดยได้รบั อนุมตั จิ ากคณบดี

(๑)1๐(๒0๖6))( คค่มู่มู อือื นนกักั ศศึกกึ ษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

๕.๒ กรณนี ักศึกษาทางานที่เป็นส่วนประกอบการศึกษายังไม่สมบูรณ์ และ
อาจารย์ผู้สอนรายวิชาน้ันเห็นสมควรให้รอผลการศึกษาไว้ ด้วยความเห็นชอบจากหัวหน้า
ภาควิชา

ขอ้ ๖ การขอแก้ระดับคะแนน ม.ส. (I) นักศึกษาจะต้องยื่นคาร้องต่ออาจารย์
เนวอภผสเปปิชู้นสมกัา็นิดาอคุศมบวภกนึกกตัมวกคขเยูรันมิทาาึรดณาอษณิจารื่อสงุตครยมงราาาะเ์ใว้นิรสแายกทั่ศกนทกนัฐนังเภลพวึาคใกรี่ไขารคทนรดิชรานะณษตาจมี่มอศคร้าคง๑บยดัากบุดะนึกากณุโกพวถ๙าดมดดนา้ันษาิชรภิัตดยกกีบัรรกทโาาารเไมเาเมศ่อดาพคพชรนพยปะรกรหกึนยียื่ะอื่อณิกั้มนเอรนษาแบเมเวเุขเาดุ์แรเพวปกว่ัันานนพเีคยมมิ็วลทพาื่ใ้นอลวนอื่สมหศนทระดย่่ืาอี่ยขเกิ้ึสกนาปปี่กสาเมเนออเๆษาทภ๒ลร็นปุ่มดอ.นรรใาัชคัยสกา๕ฆลถนหเใะญโตทเคา.ปน๔่ีัยดนทด้วอแลาา(้ักงรลนไ๘ัโIัมบคนงัลาะน)ปลาสี่กยพรจโะดคสรี้ใจยจานาะนวรับานะ้ิศนีเคแะราิโทะดปรอรแรัญจลึลกตกภรยยั็บดุะนานัดยะาษภ้ใอาา์มผยดกนชคีกอรนเงาาคศู้วบสัขากบาาาะกถคกึิชกรรชาชตญัมอแครัดกษรรศาีมวพา.นนญะะพสาวไาึใกศรงรปทดกนหแรมัตฒั.ษึคกศะศิถมลตานา(ษลานนึกหมIกัึกหหัภกูวเ)นกาาคพษสม.ขาษเเนาเแสรรปศตูว่ืปอาอายมุางใลด.ิทรรผล็ยนตงถเทใ.ษะป(ทรยสล้ีย่นถกัดI๓นี่ใฐราะ)พิตภ.นึรงกหญกไิลักยบใะาปวเ(าิจั้ยคกหศญปIะบยัิณทห)เแเณ่อกึ้ทปแเใาน็วหลยขฑนวตตนษ็คนลนะะราาล้อชิตดรโกวส้ะสวาเสกนื่ีแอาขงนัไนังาดเ่งถลโรสมพ๑ดสตคักรรลบัาทะาหมศา้รปร้๐ะนยบคปคี่ทยหะไึ็จากฏดีรัืนกอทระวว่ีดมษภาวิรบับิญยอิาทแิชชบัวัหนับาาัตคุหญดมนยิาททยคาทิกะมงาทานนตี่ยจวใะคาาแลโศนอี่าาเิทดทแกลรัยนปตึกเเบนทยปวขาเหน๓ษ็นสทพัดร(าต็นน้ังลFถาน๐โคลหุทเผใาค)ึงทอโนม๒สัยธกลลนสรวโงคศัก.งหกังดกสคาโงันกันกากลจลายนกว.าัรรดิคาหยราาอนราักาเ(ยสกกีรณสมIนชศรตั)ัสบสาารรวตดึกโีา่ไนนงชุแิงมใัน๒้อนวขเไเษมหัก้ีตแสสงท๕วเเ้ามงงปปก้ารข่ววลร้ใ๔พตัคา้าชทาิหั็นิินมอด้ว๘นลฯิงรา่ี้
ระยะเวลา ๑ ภาคการศึกษา ยกเว้นภาคการศึกษาฤดูร้อนซึ่งเป็นภาคการศึกษาที่ไม่บังคับ แต่
หากนักศึกษาลงทะเบียนในภาคการศกึ ษาฤดูร้อน จะต้องดาเนินการวัดผลการศึกษาที่สมบูรณ์ให้
เสร็จส้ินก่อนวันสิ้นภาคการศึกษาฤดูร้อน มิฉะน้ันระดับคะแนน ม.ส. (I) จะถูกเปล่ียนเป็นระดับ
คะแนน ต (F) โดยอัตโนมัติ นักศึกษาที่ได้ระดับคะแนน ม.ส. (I) ในภาคการศึกษาใด ไม่
จาเป็นต้องลงทะเบียนเรียนเพ่ือขอปรับระดับคะแนน ม.ส. (I) ในภาคการศึกษาต่อไปแต่การขอ
เปลี่ยนระดับคะแนน ม.ส. (I) ในภาคการศึกษาสุดท้ายของนักศกึ ษา นักศึกษาตอ้ งขอรกั ษาสภาพ
การเป็นนกั ศึกษา และชาระเงินคา่ ธรรมเนยี มตามประกาศของมหาวทิ ยาลัย

ข้อ ๗ การเปลีย่ นระดบั คะแนน ม.ส. (I) จะกระทาได้ในกรณีดังตอ่ ไปน้ี
๗.๑ นักศึกษาที่มีเวลาศึกษาครบร้อยละ ๘๐ ของเวลาศึกษาตลอดภาค

การศึกษาแต่ไม่ได้สอบเพราะเจบ็ ป่วยหรือมเี หตุสุดวิสัยและได้รับอนุมัติจากคณบดี ในกรณีเช่นนี้
การเปลย่ี นระดับคะแนน ม.ส. (I) ให้ได้ตามระดับคะแนนปกติ

๗.๒ เม่ืออาจารย์ผู้สอนและหัวหน้าภาควิชาเห็นสมควรให้รอผลการศึกษา
เพราะนักศึกษาต้องทางานซ่ึงเป็นส่วนประกอบการศึกษาในรายวิชาน้ันโดยมิใช่ความผิดของ
นักศึกษา ในกรณีเช่นนี้การเปลี่ยนระดับคะแนน ม.ส. (I) ให้สูงกว่าระดับคะแนน ค (C) ข้ึนไปได้

คคมู่ ่มูอื อืนนกั กัศศึกึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕ )(1๑(0๑๐7)๗()

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

แต่ถ้าเป็นกรณีความผิดของนักศึกษาแล้ว การเปลี่ยนระดับคะแนน ม.ส. (I) ไม่ให้ได้สูงกว่าระดับ
คะแนน ค (C)

ข้อ ๘ การให้ระดับคะแนน พ.จ. (S) และ ม.จ. (U) จะกระทาได้ในรายวิชาท่ี
ผลการประเมนิ ผลการศกึ ษาเป็นทีพ่ อใจ และไมพ่ อใจ ดังกรณตี ่อไปนี้

๘.๑ ในรายวิชาท่ีหลักสูตรกาหนดไว้ว่ามีการประเมินผลการศึกษาอย่างไม่เป็น
ระดับคะแนน ก (A) ข+ (B+) ข (B) ค+ (C+) ค (C) ง+( D+) ง (D) และ ต (F)

๘.๒ ในรายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียน นอกเหนือไปจากหลักสูตรและ
ขอรับการประเมินผลการศึกษาระดับคะแนน พ.จ. (S) และ ม.จ. (U) จะไม่มีค่าระดับคะแนนต่อ
หน่วยกิตและหน่วยกิตท่ีได้ไม่นามาคานวณหาค่าระดับคะแนนเฉล่ียประจาภาคและค่าระดับ
คะแนนเฉลีย่ สะสม แตใ่ หน้ ับรวมเข้าเปน็ หนว่ ยกติ สะสมด้วย

ข้อ ๙ การให้ระดับคะแนน ม.น. (AU) จะกระทาได้ในรายวิชาใดวิชาหน่ึงที่อาจารย์
ท่ีปรกึ ษาอาจจะแนะนาให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียน เพื่อเป็นการเสริมความรู้โดยไม่นับหน่วยกิต
ในรายวิชานั้นกไ็ ด้ แต่ตอ้ งไดร้ ับอนญุ าตจากอาจารย์ผสู้ อนรายวชิ านน้ั

ขอ้ ๑๐ การคานวณหาค่าระดับคะแนนเฉลยี่
เมื่อส้ินภาคการศึกษาหนึ่ง ๆ มหาวิทยาลัยจะคานวณค่าระดับคะแนนเฉล่ีย

ของรายวิชาท่ีนักศึกษาแต่ละคนได้ลงทะเบียนเรียนไว้ ในภาคการศึกษานั้น ๆ เรียกว่าค่าระดับ
คะแนนเฉล่ียประจาภาคตามผลรวมของหน่วยกิต ที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนในแต่ละ
ภาคการศึกษา ซึ่งเรียกว่าหน่วยกิตประจาภาค และจะคานวณหาค่าระดับคะแนนเฉลี่ย
ทุกรายวิชาของทุกภาคการศึกษา รวมท้ังภาคการศึกษาฤดูร้อนด้วยตั้งแต่เริ่มสภาพการเป็น
นักศึกษาจนถึงภาคการศึกษาปัจจุบัน เรียกว่า ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตามผลรวมของ
หนว่ ยกิตทีน่ กั ศึกษาลงทะเบยี นเรยี นทุกภาคการศึกษาท้ังหมด ซง่ึ เรยี กวา่ หนว่ ยกิตสะสม

คา่ ระดบั คะแนนเฉลีย่ มี ๒ ประเภท ซึง่ คานวณหาไดด้ ังตอ่ ไปน้ี
๑ ๐ .๑ ค่ าระ ดั บ ค ะ แ น น เฉ ลี่ ย ป ระ จ าภ าค ให้ ค าน ว ณ ห าจ าก
ผลการศึกษาของนักศกึ ษาในแต่ละภาคการศึกษา โดยเอาผลรวมของผลคณู ของหน่วยกิตคานวณ
กับค่าระดับคะแนนต่อหน่วยกิต ที่นักศึกษาได้รับในแต่ละรายวิชาเป็นตัวตั้ง แล้วหารด้วยผลรวม
ของหน่วยกิตประจาภาคในการหาร เมื่อได้ทศนิยมสองตาแหน่งแล้ว ถ้าปรากฏว่ายังมีเศษก็ให้
ปดั ทิง้

(๑)1๐(0๒๘8))( คค่มู่มู อือื นนกักั ศศกึึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

๑๐.๒ ค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสม ให้คานวณหาจากผลการศึกษาของ
นักศึกษา ต้ังแต่เริ่มสภาพการเป็นนักศึกษา จนถึงภาคการศึกษาปัจจุบันท่ีกาลังคิดคานวณ โดย
เอาผลรวมของผลคูณของหน่วยกิต คานวณกับค่าระดับคะแนนต่อหน่วยกิตท่ีนักศึกษาได้รับใน
แต่ละรายวิชาเป็นตัวต้ัง แล้วหารด้วยผลรวมของจานวนหน่วยกิตสะสม ในการหาร เม่ือได้
ทรปจหาะาศรยไกะนดวเกยวมขกคเยิ ปชิร้ มิทึรดณาออมะาน็่ืองุตยงมสบดะนเวรรสาท่ันกอบััน้ัฐนกาังเพขใรขางยคคซทนารอ้นตตจวมะร่ี้ามอคา๑บดัิชอแขกุด๑ุณแโกพ๙านากีดมอ๑หาบรภิตไยกนอ๑๑ถรกนดารังมเาเมต้านาพ๑ชรคพ๑้ก่งรกรหรากยีืุ่อแญณบัิ.ามอร.มา๒นาามลร๑ุขาุดใ์แยเวารทกั่นลนพ้วคมมิลทตลวา่หี งว่ือหรมหศระิยงชถปท่านเลาึสกาลปทปา้าเารยะัักอเษทกัก๒ลรป็นะมใะเวนสาัชคัดสยศบเก๕ฆริกชใบูตญโตเูตทาึานยีก๔นทาอแรลยีาการรี่นนใษ๘โมคกงัลบนะแฏดลเสักกพโะาดารเลวยวทานารหวศรบัยีทิว้ชีเคา่แรี่ิยีโนทะปึนกอนยัญจลี่ลาไรนยนัก็ดุนษดัดซงัดยะาชใาทมศักมกนชไีกอา้ร้าีพรเศวึศ่กีบกขากเีาาาไั บศกึห้ตรรดชาชตัญลึกษษษรรศรคีามวพ้า่รษญาพวาึกือศมกวะงระไาหมตััฒษึคกแดนะใ็ดพจแิมลตหษลาทนน้รี้ัะบกรัหนัวเเ้ปกะาาคนตพรสะขคาเเนดรรดัียศ้อูตวื่ปอรอะุงใแับทิทรกรงผ็นาตงเแลงษปทลยคว้งิลช้ก๓น+ะฐราา่งพิตะภรบ(ญกิลกทนบแะDาวกัิจัยญาญะตบยัินณท+เแาเรเทปใาญวา)ลรนยบนฑตต็คนมนเะาหั้บัชิยีตตรรโกสตเสขนื่ีแอียนขนิหรอังาถ้อลโมนตคัืกเอร่ื(นนลาระFหมศปเยบว่๑คปยีน)ไึากงฏใีรยัืนอทรน๑วน้หหษา(ิบิญกยอิDทรชว้ร.ามัตติุ๒ญด(ามยิ)ททือRิีสรยมงาาต่ียจใeควิทลเวโมศนอาาปทgมลัิชยึกธ.เเบrรจ็ปขนตเาaหิษลสทพา.ต็นนลdรลงานคยุท(เใอา้ันาeทUทอโนสธกวยดนซ)งคะศั)กงหิ ชวหคา้โกันกเาหลลิชอวบาลัรรดิคายราาีกทาเกัียยสกีรสมือชเสส่ี านตาลรรจตานชูตุถิงม้ือ๒้นอเอขเมัรรกสงกท๕กาง(ีงยงกรวW๔ใพวใคา้าชานิ นช่า๘นลฯงร)า้
หลักสูตรนกั ศกึ ษาจะลงทะเบยี นเรียนรายวิชาอน่ื แทนกไ็ ด้

ราย วิช าใด ท่ี นั ก ศึ ก ษ าได้ ระดั บ ค ะแ น น ต (F) ห รือ ม .จ.(U) เม่ื อ มี
การลงทะเบียนเรียนรายวิชาซ้าหรือแทนกันแล้ว ให้นับหน่วยกิตสะสมเพียงคร้ังเดียวในการ
คานวณหาคา่ ระดบั คะแนนเฉลย่ี สะสม

ข้อ ๑๒ การนับหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ให้นับรวมเฉพาะหน่วยกิตของรายวิชาท่ี
ไดร้ ับคะแนนตง้ั แต่ ง (D) ขึน้ ไป หรอื ไดค้ ะแนน พ.จ. (S) เท่าน้นั

ในกรณีท่ีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนรายวิชาใดซ้าหรือแทนกันให้นับ หน่วยกิต
ของรายวชิ าทีไ่ ดร้ ะดบั คะแนนดีทสี่ ดุ เพียงคร้ังเดียว

ขอ้ ๑๓ เกณฑก์ ารพน้ สภาพเน่อื งจากผลการศึกษา
๑๓.๑ มีค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสมต่ากว่า ๑.๕๐ เม่ือลงทะเบียนเรียน มี

หน่วยกิตสะสม (Credit Attempt-CA) ท่ีนามาคิดค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสม (Grade Point
Average-GPA) ระหวา่ ง ๓๐ ถึง ๕๙ หน่วยกติ

๑๓.๒ มีค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสมต่ากว่า ๑.๗๕ เมื่อลงทะเบียนเรียน มี
หน่วยกิตสะสม (Credit Attempt-CA) ท่ีนามาคิดค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสม (Grade Point
Average-GPA) ตงั้ แต่ ๖๐ หน่วยกิตข้ึนไป ถึงจานวนหนว่ ยกติ สะสมกอ่ นครบหลกั สูตร

คค่มู มู่อื อืนนกั กัศศึกกึ ษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕ )(1๑(๑0๐)9๙()

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

๑๓.๓ มีค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (Grade Point Average - GPA) ต่ากว่า
๒.๐๐ เม่ือลงทะเบียนเรียนครบตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตร ยกเว้นกรณีท่ีนักศึกษาได้ค่าระดับ
คะแนนเฉลี่ยสะสมต้ังแต่ ๑.๙๐ ข้ึนไป แต่ไม่ถึง ๒.๐๐ ซึ่งผลการศึกษาไม่เพียงพอที่จะรับการ
เสนอชื่อเพ่ือรับปริญญา ให้นักศึกษาขอลงทะเบียนเรียนซ้าในรายวิชาที่ได้ระดับคะแนนต่ากว่า
ก (A) เพื่อปรับค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมให้ถึง ๒.๐๐ ภายในกาหนดระยะเวลา ๓
ภาคการศึกษา รวมภาคการศึกษาฤดูร้อนแต่ไม่เกินระยะเวลาสองเท่าของแผนการเรียนตาม
หลักสตู ร

ข้อ ๑๔ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับกับนักศึกษาท่ีเข้าศึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๐
เป็นต้นไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๗ เดอื น กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐

(ลงชอ่ื ) เฉลมิ มัตโิ ก
(ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยเ์ ฉลิม มัตโิ ก)

อธกิ ารบดมี หาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

(๑)1๑(๒1๐)0)( คคมู่่มู อือื นนกักั ศศกึกึ ษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรอ่ื ง เกณฑ์การวดั และประเมินผลการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี (ฉบับท่ี ๒)

พ.ศ. ๒๕๕๒
มหาวิทยา-ล--ัย--เท--ค--โ-น--โ-ล-ย--ีร-า--ช-ม--ง-ค--ล--ก-ร-ุ-ง-เ-ท--พ---เ-ป--็น--ส--ถ-า--บันอุดมศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะกรรมดก้วารยกมาหรอาดุ วมิทศยึกาษลาัยตเาทมคพโรนะโรลาชยบีรัญาชญมัตงิมคหลาวกิทรยุงาเลทัยพเทเคหโน็นโสลยมีรคาวชรมปงครลับปพรุทุงธเศกักณราฑช์ก๒าร๕ว๔ัด๘
และปเมร่ือะวเมันนิที่ผ๑ล๙กามรศกรึกาษคามใน๒ป๕ร๔ะ๘กาศเปม็นหกาาวรทิ รยวามลตัยัวเขทอคงโ๓นโวลิทยยีราาเชขมตงคคือลกวริทุงยเาทเพขตเเรทื่อคงนเิคกกณรุงฑเท์กาพรฯ
วดั แลวะิทปยราเะขเตมบนิ พผิตลรกพาิมรุขศมึกหษาาเรมะฆดแบั ลปะรวญิ ิทญยาาเตขตรีใพหร้เะหนมคาระใตส้มภยา่ิงยขใ้นึ ต้ชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

กรงุ เทพ จดัอกาาศรเัยรยีอนากนาราสจอตนใานมรคะดวบั าอมดุ ใมนศึกขษ้อาห๑ลกั๘สตู แรปหร่งญิ ขญ้อาบตรังีแคลับะปมรหญิ ญาวาิโททยหาลลากัยหเลทาคยสโานขโาลวชิยาี
ราชมยงึดคมลั่นกใรนุงอเุดทมพกาวร่าณด์แ้วลยะกปารัชศญกึ ษา ากราะรดจับดกปารรญิ ศึกญษาาตเพรี่ือพผ.ลศิต.๒บ๕ัณ๕ฑ๐ิตนซักึ่งปอฏอิบกัตติ าตมอคบวสานมอใงนคมวามตตร้อาง๑กา๗ร
(๒) แขหอ่งพสังรคะมราโชดบยเัญช่ือญมัต่ันิมวห่าเาทวคิทโยนาโลลยัยีแเทละคอโนาชโีวลศยึกีรษาชาเมปง็นคกลรกะบรุงวเนทกพารพศ.ึกศษ.๒าท๕่ีจ๔า๘เป็นมใหนากวาิทรเยสารลิมัยสรจ้าึง
ประกมาศตรดฐังาตนอ่ คไณุ ปภนาี้ พ เพือ่ เป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมไทย

ขอ้ ๑ ประกาศน้ี เรียกว่า ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เร่ือง
เกณฑก์ ารวัดและประเมินผลการศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๒

ขอ้ ๒ ประกาศนี้ ใหใ้ ช้บังคับตั้งแตว่ ันถัดจากวันประกาศเปน็ ตน้ ไป
ขอ้ ๓ ให้ ย กเลิ ก ค วาม ใน ข้อ ๖ แห่ งป ระก าศ ม ห าวิท ยาลั ยเท ค โน โล ยี
ราชมงคลกรุงเทพ เรื่อง เกณฑ์การวัดและประเมินผลการศึกษาระดับปริญญาตรี ลงวันที่ ๒๗
กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๐ และให้ใช้ขอ้ ความต่อไปนแ้ี ทน

“ข้อ ๖ การขอแก้ระดับคะแนน ม.ส. (I) นักศึกษาจะต้องยื่นคาร้องต่อ
อาจารย์ผู้สอนรายวิชาน้ันโดยเร็วที่สุด ท้ังนี้จะต้องกระทาภายในกาหนด ๑๐ วันทาการหลังจาก
วนั เปดิ ภาคการศึกษาถัดไป เพ่ือขอให้อาจารยผ์ ู้สอนกาหนดระยะเวลาสาหรับการวดั ผลการศึกษา
ท่ีสมบูรณ์ในรายวิชาน้ัน เพื่อเปลี่ยนระดับคะแนน ม.ส. (I) ให้แล้วเสร็จภายใน ๓๐ วัน นับแต่วัน
เปิดภาคการศึกษายกเว้นการเปล่ียนระดับคะแนน ม.ส. (I) ของรายวิชาที่เป็นโครงการ ให้ขอ
อนุมัติจากคณบดี เพ่ือเปลี่ยนระดับคะแนน ม.ส. (I) และให้คณะส่งระดับคะแนนถงึ สานกั ส่งเสริม
วิชาการและงานทะเบียนก่อนวันส้นิ ภาคการศึกษาถัดไป หากพ้นกาหนดทั้ง ๒ กรณแี ล้วนกั ศกึ ษา
ท่ไี ด้ระดบั คะแนน ม.ส. (I) ในรายวิชาใดถูกเปลยี่ นเป็นระดบั คะแนน ต (F) โดยอัตโนมตั ิ

ก่อนวันสิ้นภาคการศึกษาถัดไป หมายถึง ก่อนวันท่ีท่ีมหาวิทยาลัยกาหนดไว้ให้
เป็นวันสิ้นภาคการศกึ ษาใด ๆ ถัดไปจากภาคการศกึ ษาท่นี ักศกึ ษาได้ระดบั คะแนน ม.ส. (I) ไวเ้ ป็น

คค่มู มู่อื อืนนกั กัศศกึ กึ ษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕ )(1๑(1๑๑)1๑()

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี รี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ระยะเวลา ๑ ภาคการศึกษายกเว้นภาคการศึกษาฤดูร้อนซึ่งเป็นภาคการศึกษาไม่บังคับ แต่หาก
นกั ศึกษาลงทะเบียนในภาคการศึกษาฤดูร้อนจะตอ้ งดาเนินการวัดผลการศึกษาท่ีสมบูรณ์ให้เสร็จ
ส้ินก่อนวันส้ินภาคการศึกษาฤดูร้อน มิฉะนั้นระดับคะแนน ม.ส. (I) จะถูกเปล่ียนเป็นระดับ
คะแนน ต (F) โดยอัตโนมัติ การขอเปล่ียนระดับคะแนน ม.ส. (I) ในภาคการศึกษาสุดท้าย
นักศึกษาจะต้องขอรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา และชาระเงินค่าธรรมเนียมตามประกาศของ
มหาวิทยาลัย”

ข้อ ๔ ให้ยกเลิกความในข้อ ๑๓ แห่งประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรุงเทพ เรื่อง เกณฑ์การวัดและประเมินผลการศึกษาระดับปริญญาตรี ลงวันท่ี ๒๗
กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๐ และใหใ้ ชข้ ้อความต่อไปนแี้ ทน

“ขอ้ ๑๓ เกณฑก์ ารพน้ สภาพเนื่องจากผลการศกึ ษา
๑๓.๑ นักศึกษาจะพ้นสภาพการเป็นนักศึกษา เมื่อมีค่าระดับคะแนน

เฉลย่ี สะสมตามจานวนหนว่ ยกติ ดังนี้
๑๓.๑.๑ มีค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ากว่า ๑.๕๐ เมื่อ

ลงทะเบยี น มหี น่วยกิตรวมทัง้ หมด ระหวา่ ง ๓๐ ถงึ ๕๙ หน่วยกิต
๑๓.๑.๒ มีค่าระดับคะแนนเฉล่ียสะสมต่ากว่า ๑.๗๕ เม่ือ

ลงทะเบียน มหี นว่ ยกติ รวมทงั้ หมด ต้ังแต่ ๖๐ หนว่ ยกติ ขึ้นไป

๑๓.๒ มีค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม (Grade Point Average 
GPA) ต่ากว่า ๒.๐๐ เมอ่ื ลงทะเบยี นเรียนครบตามท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตร ยกเว้นกรณีท่นี ักศึกษา
ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมระหว่าง ๑.๙๐ ถึง ๑.๙๙ ซึ่งผลการศึกษาไม่เพียงพอท่ีจะรับการ
เสนอชื่อเพื่อรับปริญญา ให้นักศึกษาขอลงทะเบียนเรียนซ้า ในรายวิชาท่ีได้ระดับคะแนนต่ากว่า
ก (A) เพื่อปรับค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมให้ถึง ๒.๐๐ ภายในกาหนดระยะเวลา ๓
ภาคการศึกษา รวมภาคการศึกษาฤดูร้อนแต่ไม่เกินระยะเวลาสองเท่าของแผนการเรียนตาม
หลักสูตร”

ประกาศ ณ วันท่ี ๑๕ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๒

(ลงช่อื ) เฉลมิ มัติโก
(ผูช้ ว่ ยศาสตราจารยเ์ ฉลิม มตั โิ ก)

อธิการบดีมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ

()๑1๑(1๒๒2)) ( คคมู่่มู อือื นนกักั ศศกึกึ ษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

เร่ือง เกณฑ์มาตรฐานความรู้ภาษาองั กฤษของนักศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี

พ.ศ. ๒๕๖๐

มหาวิทยาลัยเ-ท--ค-โ-น--โ-ล--ย-ีร--า-ช--ม--ง-ค-ล--ก--ร-ุง-เ-ท--พ----เ-ป-็-น-ส- ถาบันอุดมศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะกรรมการโกดายรอทุดี่เปมศ็นึกกษาารตสามมคพวรระกราาชหบนัญดญเกตั ณิมหฑาว์มิทายตารลฐัยาเทนคคโวนาโมลยรีรู้ภาาชษมงาคอลังกพฤุทษธขศอักงรนาชักศ๒ึก๕ษ๔า๘
ระดับเมป่ือรวิญันญที่า๑ต๙รจี ึงมอกอรกาคปมระ๒กา๕ศ๔ม๘หาเวปทิ ็นยกาาสรัยรเวทมคตโัวนขโอลงย๓ีราวชิทมยงาคเลขกตรคุงือเทวพิทยเรา่ือเขงตเเกทณคนฑิคม์ การตุงรเฐทาพนฯ

ความวริทู้ภยาษเขาตอบงั พกิตฤรษพขิมอุขงมนหักาศเมึกฆษาแรละะดวับิทปยารเิญขตญพารตะรนี คพร.ศใต.้ ๒ภ๕าย๖ใ๐ต้ชไื่อวมด้ หงั าตว่อิทไยปานล้ี ัยเทคโนโลยีราชมงคล

กรุงเทพ จดั กาขรเ้อรีย๑นกปารรสะอกนาใศนรนะ้ีเดรบัียอกุดวม่าศึก"ปษราหะลกกั าสศูตมรหปราญิวิทญยาตารลีแัยลเะทปคริญโนญโาลโยทีรหาลชามกงหคลาลยกสราุงขเาทวชิพา

เรือ่ งยเึดกมณ่ันฑใน์มอาุดตมรกฐารนณค์แวลาะมปรรูภ้ ัชาญษาาอกังากรฤจัดษกขาอรงศนึกักษศาึกเพษ่ือาผรละิตดบับัณปฑริญตนญักาปตฏริบี ัตพิ .ตศอ. บ๒ส๕น๖อ๐งค"วามต้องการ

ของสังคม โดยขเ้อช่ือ๒มั่นปวร่าะเกทาคศโนนโ้ใี ลหยใ้ ีแชล้บะงั อคาบั ชีวตศั้งึกแษตา่วเปนั ็นถกัดรจะาบกววนันกปารระศกึกาษศาเทปี่จน็ าตเปน้ ็นไใปนการเสริมสร้าง
มาตรฐานคุณภขา้อพ ๓เพนือ่ ักเปศน็ึกกษาาลรงั ะสาดคับัญปในริญกาญรพาัฒตนรีาสเศารมษาฐรกถิจยแล่ืนะคสาังรค้อมงไทขยอเทียบโอนผลการศึกษา

รายวิชาภาษาอังกฤษ ต่อสานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน กรณีมีผลคะแนนจากการ

ทดสอบความรู้ภาษาอังกฤษโดยข้อสอบมาตรฐานภาษาอังกฤษ (TOEIC) หรือข้อสอบมาตรฐาน

ภาษาอังกฤษอ่ืนท่ีสามารถเทียบเคียงได้กับข้อสอบภาษาอังกฤษมาตรฐาน (TOEIC) โดยเป็นไป

ตามเกณฑ์ดงั น้ี

ระดับคะแนน (TOEIC) รายวชิ าท่เี ทียบโอนได้

ได้รับคะแนนสอบมากกว่าหรือเท่ากบั ๔๕๐ ๑-๒๑๑-๐๐๑ ภาษาองั กฤษทัว่ ไป

คะแนน General English

๑-๒๑๑-๐๐๒ ภาษาองั กฤษเพอื่ งาน

English for Work

ไดร้ บั คะแนนสอบ ระหวา่ ง ๓๕๐ - ๔๔๙ ๑-๒๑๑-๐๐๑ ภาษาองั กฤษทั่วไป

คะแนน General English

ประกาศ ณ วันที่ ๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

สกุ จิ นติ นิ ยั
(นายสกุ ิจ นิตินยั )
อธกิ ารบดมี หาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

คค่มู มู่อื อืนนกั กัศศึกกึ ษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕ )(1๑(1๑๑3)๓()

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี รี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรอื่ ง เกณฑ์มาตรฐานความรู้ด้านคอมพวิ เตอร์ของนักศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี

พ.ศ. ๒๕๖๑
-----------------------------------

โดยท่ีเป็นการสมควรกาหนดเกณฑ์มาตรฐานความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ของ
นักศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี จึงออกประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ เรื่อง เกณฑ์
มาตรฐานความรดู้ า้ นคอมพวิ เตอร์ของนกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ. ๒๕๖๑ ไว้ดงั ต่อไปน้ี

ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า "ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรอื่ งเกณฑม์ าตรฐานความรดู้ ้านคอมพิวเตอร์ของนักศึกษาระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๖๑"

ข้อ ๒ ประกาศนใ้ี หใ้ ชบ้ งั คบั ตง้ั แตว่ นั ถดั จากวันประกาศเป็นตน้ ไป
ข้อ ๓ กรณีนักศึกษาระดับปริญญาตรี มีหลักฐานใบรับรองการสอบผ่าน
มาตรฐาน IC3 Digital Literacy Certification นักศึกษาสามารถยื่นคาร้องขอเทียบโอนผล
การศึกษาต่อสานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน เพื่อมิต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาหลัก
เทคโนโลยดี ิจทิ ัล ๓ (๒-๒-๕) จานวน ๓ หน่วยกติ

ประกาศ ณ วันท่ี ๓ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๑

สุกจิ นติ ินยั
(นายสกุ จิ นิตินยั )
อธิการบดมี หาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ

()๑1๑(1๒๔4)) ( คค่มู่มู อือื นนกักั ศศึกึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ

เรอื่ ง เกณฑ์มาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี

พ.ศ. ๒๕๖๔

มหาวิทยาลัย-เท--ค--โ-น--โ-ล-ย--ีร-า--ช-ม--ง-ค--ล--ก-ร-ุ-ง-เ-ท--พ---เ-ป--็น--ส-ถาบันอุดมศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะกรรมการเกพา่ือรอใหุดม้กศาึกรษกาาหตนามดพเรกะณราฑช์มบาญั ตญรตัฐิมาหนาคววิทายมาสลัยาเมทาครโถนทโลายงีรภาาชษมงาคอลังกพฤุทษธขศอักงรานชักศ๒ึก๕ษ๔า๘
ระดับเมปื่อรวิญันญที่า๑ต๙รี เมปก็นรไาปคตมาม๒ม๕ต๔ิสภ๘ามเปห็นาวกทิารยราวลมัยตเัทวขคอโงนโ๓ลยวิทีรายชามเขงตคลคกือรวุงิทเทยพาเขใตนเกทาครนปิครกะรชุงมุ เทคพรั้งฯ
ท่ี ๑๑วิท/๒ยา๕เข๖ต๓บพเมิต่ือรวพันิมุจขมันหทารเ์ทมฆี่ ๒แลพะฤวศิทจยิกาเาขยตนพร๒ะ๕น๖คร๓ใตส้ อภดายคใลต้อ้ชงื่อกมับหปาวริทะยกาาลศัยคเทณคะโกนรโลรยมีรกาาชรมกงาครล
อดุ มศกรึกงุ ษเทาพเรจื่อดั งกานรเโรยยี บนากยากรสาอรนยใกนรระะดดบับั อมดุามตศรึกฐษาานหภลากั ษสาูตอรปังกรญิฤษญใานตสรีแถลาะบปนั รอญิ ุดญมาศโทึกหษลาากหลายสาขาวชิ า
ยึดม่ันในอุดมกดาังรนณ้ัน์แลจะึงปเรหัช็นญคาวกรายรกจเัดลกิกาปรศรึกะษกาาเศพม่ือผหลาิตวบิทัณยฑาิตลนัยักเทปคฏิโบนัตโิ ลตอยบีรสาชนอมงงคควลากมตรุ้องเงทกาพร
เรอ่ื งขเอกงณสังฑค์มมาตโดรยฐเาชนื่อคมว่ันาวม่าเสทาคมโานรโถลทยีแาลงภะอาาษชาีวอศังึกกษฤาษเปข็นอกงนระกั บศวึกนษกาารระศดึกับษปาทรี่จิญาญเปา็นตใรนี กพา.รศเ.สร๒ิม๕ส๖ร้า๓ง
ฉบับมลางตวรนั ฐทาน่ี ๒ค๕ุณภธานั พวาคเพม่อื เ๒ป๕็นก๖า๓ลังแสาลคะัญเหในน็ กคาวรรพอัฒอนกาปเศรระษกฐากศิจใแหลมะส่ ดังคงั มตไ่อทไยปนี้

ข้อ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า "ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

เร่ือง เกณฑ์มาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.

๒๕๖๔"

ข้อ ๒ ประกาศน้มี ผี ลบังคบั ใช้ตง้ั แตว่ นั ถัดจากวันประกาศเป็นตน้ ไป

ข้อ ๓ เกณฑ์มาตรฐานการทดสอบความสามารถภาษาอังกฤษของนักศึกษา

ระดับปริญญาตรี ดงั นี้

เกณฑ์มาตรฐาน การทดสอบและคา่ ธรรมเนยี มการสอบ

(๑) TOEIC (๙๙๐) ม ห า วิ ท ย า ลั ย จ ะ ด า เนิ น ก า ร จั ด ส อ บ ใ ห้ แ ก่

ระดับคะแนนไม่น้อยกวา่ ๔๐๕ คะแนน นักศึกษาแบบไม่เรียกเก็บค่าธรรมเนียมการ

หรือ สอบ โดยนกั ศึกษาทเี่ ข้าทดสอบจะตอ้ งผ่านการ

อบรมให้ความรู้ท่ีมหาวิทยาลัยจัดขึ้น ไม่น้อย

กว่าร้อยละ ๖๐ ของชั่วโมงการอบรม จึงจะมี

สิทธิ์เข้าทดสอบได้ ท้ังน้ี นักศึกษาจะมีสิทธ์ิเข้า

ทดสอบแบบไม่เสียค่าธรรมเนียมการสอบได้ไม่

เกนิ ๒ คร้งั

เกณฑม์ าตรฐาน คคมู่ ่มูอื อืนนกั กัศศึกกึ ษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕ )(1๑(1๑๑)5๕()
(๒) TOEFL (๖๗๗) (Paper-based test)
ระดบั คะแนนไมน่ ้อยกว่า ๔๓๗ คะแนน หรอื มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี รี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

(๓) TOEFL (๑๒๐) (Internet-based test) การทดสอบและคา่ ธรรมเนยี มการสอบ
ระดับคะแนนไม่น้อยกวา่ ๔๑ คะแนน หรือ นักศึกษาสามารถเข้ารับการทดสอบจากศูนย์
สอบภายนอกมหาวิทยาลัย ซ่ึงนักศึกษาจะเป็น
(๔) TOEFL (๓๐๐) (Computer-based test) ผู้ชาระค่ าธรรม เนี ยมก ารสอบ เอง ทั้ งนี้
ระดับคะแนนไมน่ ้อยกวา่ ๑๒๓ คะแนน หรอื นักศึกษาสามารถนาผลการทดสอบมาย่ืนกับ
มหาวิทยาลัยโดยผลการทดสอบท่ีนามายื่นต้อง
(๕) IELTS (๙) มีอายุไม่เกิน ๒ ปีนับจากวันท่ีเข้ารับการ
ระดับคะแนนไมน่ ้อยกวา่ ๔ คะแนน หรือ ทดสอบ

(๖) CU-TEP (๑๒๐) หรือมาตรฐานเทยี บเคียง
อื่น
ระดับคะแนนไม่น้อยกว่า ๖๐ คะแนน

(๗) มาตรฐานอ่นื ตามท่ีมหาวทิ ยาลัยกาหนด
โดยมีผลคะแนนตามประกาศของมหาวิทยาลัย

ขอ้ ๔ สาหรับนกั ศกึ ษาที่เข้าศกึ ษาในหลักสูตรปรับปรุง หรือหลักสตู รใหม่ ตั้งแต่
พ.ศ. ๒๕๖๔ เป็นต้นไป จะต้องเข้ารับการอบรมให้ความรู้และเข้ารับการทดสอบความสามารถ
ทางภาษาอังกฤษที่มหาวิทยาลัยจัดข้ึน หรือสามารถย่ืนผลการทดสอบจากศูนย์สอบภายนอก
มหาวิทยาลัยโดยผลการทดสอบนั้นจะต้องมีคะแนนเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานเกณฑ์ใดเกณฑ์
หนงึ่ ตามประกาศน้กี อ่ นสาเร็จการศึกษา

ข้อ ๕ ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการให้เป็นไปตามประกาศน้ี และมีอานาจออก
ประกาศเพม่ิ เติมเกีย่ วกับแนวปฏบิ ตั ิซึ่งไม่ขัดหรือแย้งกับประกาศนี้

ประกาศ ณ วันท่ี ๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๔

สมพร ปิยะพันธ์
(นายสมพร ปยิ ะพนั ธ์)

รักษาราชการแทน
อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ

()๑1๑(๒1๖6)) ( คค่มูมู่ อือื นนกักั ศศึกึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยีรีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรอื่ ง การขอกลับเขา้ ศกึ ษา และ คนื สภาพการเปน็ นกั ศึกษา

---------------------------------------------------------
เพ่ือให้การกลับเข้าศึกษา และคืนสภาพการเป็นนักศึกษาของนักศึกษาระดับ
รชเหสปเขนา่างรร้า่ืชอเริญือศสะมงขวกมยคเมึกรญจเมงิทึรดณาองิิมไษคา่ือาุงตนิ ดยงมะกวเลาตวรสาท่ัคน้ดกิชใตัฐกนังรเพ่าในราขาาค้อรีทนรธนเตดกภงุจมง่ีมอนรค๑บเดัาาย๒๑ากุดรทิุณนโรเกพค๙่ืนาม..ดมนพแากรภิตกคเยกนนิรนกลนาารามเาาเมจััากพกไชระพรยีรรรกรหงึปยี่ือศศงใณิศมม้ออขรนาดดามึึกุกขึกเาุดง์อแเวกนพั่้วนพคขมมษษิษลทแๆายทว่ือ่อืมอหศระจายาา่าคเคึสกะกาป๒ทปทง้าทเวอเษืนเทขล๒ลรน็ม่ี่ีผถบี่ไานาัชคัส้อับยภก๕ดฆู่ากมียใญโตภปเาเน้นาร๔นถทเนขแลาาาปฏรัคบม๘โอมคังล้าะพล็บินกสกกอาพศโะนดยกานาไัต่าอรวรนึกบั ชีเคแมาริะโรทะิดนปอษุญื่ัญจลอรล่มรศเยัง็ดุนกัเดบายะาอใีตรึาาปกมกานชตีกอรียเอาตอ่ศษ็นหบขากาา่าอยบกกึไใรรชาชตัญนานคปวหษรรจศีมวพตักเญณดิชพนวา้ึกลรศางริศดหกมัตาัฒี้ียษกึคกบะากึตลิมลตาบษลานนทพดษกัหร่ังอวเกาาครีัะพกสทลขาาเกเเร้อรศเตูวื่ปอมกงอะุงับในยิทรจรผท็นต่ืองเาเษปีทยยบาล้ กรไะม๓ขฐรานนพดิตีภศรยเญกีิลปอบวบ้ระนาวึนกจิัยกญรนับบยีัิยณทัเแกเเษะทปลใาวรอนลยฑศต๓สตา็คนัียนบะนาไ้ึชิตกริทโ๐มกสนเสเุมหนื่ีแอขนษขังธา่๐ถนลโัตมตคัรกริเภ้าลาา้ะอมิหแืมศอปบเยบาคปยปไ่ืึอเลากฏรีรพัืนาอทนรวกษ้าวนั็กินบญิทยอิทื่ชอวใวาัมกัษตนุญดหมยิ่ทางทิศหัามงกาจ้านต่ียจคึกลส๑าโศศาอาาาทลัวยษึภกเกเบึคกปขิทเหาษไาสทาสษพต็นยมปลรพานคัปุทาเใาา่้อมรทอโนสเไธกดลนะงปางดคศักงหาัยยคโสลก็ันก้นาลลหื่เนวหงัรงรดิคาทยนา์ คาเทตยสาแกีรสมคัชก์ขส่อกาะารลรตโศาอนชุสิงเมมน๒้อะขบึเมักกกาสีเงตท๕โาีงหนยงลกษลรว้อ๔พคา้าชาิันับกยตาง๘นลฯงราีุ
อันสมควร โดยได้รับความเห็นชอบจากคณบดี และได้รบั อนุมัติจากอธิการบดี และต้องชาระเงิน
ค่าธรรมเนียมการรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา ภาคการศึกษาละ ๓๐๐ บาท ค่าธรรมเนียม
การคืนสภาพการเป็นนักศึกษา จานวน ๓๐๐ บาท และค่าบารุงการศึกษา ค่าลงทะเบียนตาม
ระเบียบมหาวทิ ยาลัยฯ

ทั้งน้ี นักศกึ ษาที่ได้รับอนุมตั ิให้คืนสภาพการเป็นนักศึกษา จะมีสถานภาพ การเป็น
นักศกึ ษาตามปกติ และการนับระยะเวลาการศึกษาให้เปน็ ไปตามระเบยี บของมหาวิทยาลยั

ประกาศนใ้ี ห้ใชบ้ ังคับ ต้งั แต่วนั ประกาศเปน็ ต้นไป

ประกาศ ณ วันท่ี ๓๐ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๓

(ลงชอื่ สาธิต พทุ ธชยั ยงค์
(นายสาธิต พทุ ธชยั ยงค์)

อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

คค่มู ่มูอื อืนนกั กัศศึกึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕ )(1๑(1๑๑7)๗()

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรอื่ ง การยา้ ยคณะ หรือเปล่ียนสาขาวิชา

พ.ศ. ๒๕๕๗

----------------------------------------
ด้วยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เห็นสมควรปรับปรุงเกณฑ์
การยา้ ยคณะหรอื เปล่ียนสาขาวชิ า ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
อาศัยอานาจตามความในข้อ ๕ แห่งข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรุงเทพ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๐ ซ่ึงออกตามความในมาตรา
๑๗(๒) แห่งพระราชบัญญัตมิ หาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ พ.ศ. ๒๕๔๘ มหาวิทยาลัย
จึงประกาศดงั ต่อไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศน้ี เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ เรอ่ื ง เกณฑ์การยา้ ยคณะ หรอื เปลย่ี นสาขาวิชา พ.ศ. ๒๕๕๗”
ขอ้ ๒ ประกาศน้ี ใหใ้ ช้บังคบั ต้งั แตว่ นั ประกาศเปน็ ต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิก “ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรื่อง การย้ายคณะ หรือเปลี่ยนสาขาวชิ า พ.ศ. ๒๕๕๔”
ขอ้ ๔ เกณฑก์ ารย้ายคณะ ดงั น้ี

๔.๑ นักศึกษาที่ประสงค์จะย้ายคณะ ต้องมีผลการศึกษาเฉล่ียสะสม
อย่างน้อย ๒.๐๐ โดยมีผลการลงทะเบียนรวมไมน่ ้อยกว่า ๑๘ หน่วยกิต และมีผลการลงทะเบียน
ในหมวดรายวชิ าชพี มาแล้วไม่น้อยกวา่ ๒ รายวชิ า

๔.๒ นักศึกษาที่ประสงค์จะย้ายคณะ ต้องได้รับการพิจารณาให้ความ
เห็นชอบจากหัวหน้าสาขาวิชา รองคณบดีฝ่ายวิชาการ และคณบดีของคณะท่ีนักศึกษาสังกัดอยู่
และได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าสาขาวิชา รองคณบดีฝ่ายวิชาการ และคณบดีของคณะที่
นกั ศึกษาประสงคจ์ ะย้ายเขา้ ศกึ ษา

๔.๓ นักศึกษาที่ประสงค์จะย้ายคณะ จะต้องเสียค่าธรรมเนียมในการ
ย้ายคณะครั้งละ ๒,๐๐๐ บาท

ขอ้ ๕ เกณฑ์การเปลีย่ นสาขาวชิ าภายในคณะที่นกั ศกึ ษาสังกัดอยู่ ดังนี้

()๑1๑(1๒๘8)) ( คค่มู่มู อือื นนกักั ศศกึึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี รี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

๕.๑ นักศึกษาท่ีประสงค์จะเปลี่ยนสาขาวิชา ต้องมีผลการศึกษาอย่างน้อย
๑ ภาคการศกึ ษา โดยมผี ลการลงทะเบียนรวมไม่น้อยกว่า ๑๘ หน่วยกติ และมีผลการลงทะเบียน
ในหมวดรายวชิ าชีพมาแล้วไม่น้อยกวา่ ๒ รายวชิ า

๕.๒ นักศึกษาที่ประสงค์จะเปลี่ยนสาขาวิชา ต้องได้รับการพิจารณาให้
นสคกคสาาอรกัวขร้ังงาศเเาเมึกขมวกยคเปดทวมิทึรดณาอษเยีล่ิชา่ือหุงตยมงวาีย่ะขเาวรส็าทน่ันขตกนใอัฐนังเพหใรอลชขางสคทนรนงมตอแอจมาี่มอมค๑บ่ดัผดขบกุดรณุหโกพ๙านราดมอจาาวระภิขตกยกงขารวกิชยาร้อคมเาาเมก้ทิอาพชราพะรรณกรหยีห่ือยณเิมเอรค๗ว๕นารมบาัวุข๖าุด์แเรวลีกยล่ัน.พดหคมมิั้งลท๓าานยันว่อืฝีมหศลระนยท่าเกเกัึสก่าะาปนทปต้าเาี่ศยอเศษาท๒ลรน็ักมคสาึก๕นวรากึัชคัยกม๕ฆศโาษชิใข๐ญษโตนเานหข๔ึกนทาาแอลา๐าาโราลกษ๘อโมคงัลลภะยลวสกักาพยโะบายด้าายิานรชาวสู่เรทบัรีคายีเคแทริโทะาปูตาทอ่ีปแสัญจลลคร่าเยช็ุดนรัลดมยะาดรในณามมยกนชีกะอะทริเม้ันศงกบขากาาคาะสบคกึรรชาชตเัญณกงแวษรรลศีหมวพคจญลร้นพวาบึกกศงระร์จหรมตัะฒัภษึคกรดะืขอะมิมลไตุงษลานนาขี มอเกัเหัเวเกคกาาคอปปทพย่เสขาเเารปกรงศตูวื่ลปพลอา้อุงรใคา็ินทรรยผี่็่ียนตงยเบรษณปทยรเล้นกน๓ศหฐรารอพิตภะรสญกิลึสกิตหบบะทาวจิัยาษญาุใบยัิเณาทนี่เแเขหปขทปาใารวลยกัฑาต้ขตน็ฤ็าคนนหะาวศ้ชิตรยโวดภกสเสลิชนื่ีแอึกขนิาชังูารถาัลโกมาตษคัยกร้อคลาาะหมสศปรายบนจจปคปไึะากูสฏตีรัืนะะอทรกวยษางันิบริญตยสอิตทชกวะาัสัตบุ้ญดอมไิายิททัดเิมาแวมงมางาต่ียจอคขไ่ลลเโตศอาาายดทสลัยาาึ่วกเเรบู่้ียปขกเวันหษถสทพต็คนิชาลขานกคุทเร่าใาาึ้นทอโนรสศธกธในงคทศะักงหหรึกคโกันกาทะรลลษมวัรรดิคมาเยาาา่าเบยสกีรสมเไหเชสนียากาดรรตัวานชุนิงีมิยน้๒้อเขหเมัพกสมงกท๕เางงปกนรีวยใว๔พคา้าชาิน็้น่าาง๘นลฯงรา

ขอ้ ๘ ในกรณีไมเ่ ป็นไปตามขอ้ ๔ ข้อ ๕ ข้อ ๖ และข้อ ๗ ให้คณบดขี องคณะที่
นักศึกษาสังกดั นาเสนออธิการบดีเปน็ ผู้พิจารณาอนมุ ัตเิ ป็นราย ๆ ไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๗ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๗

ลงชอ่ื สาธิต พุทธชยั ยงค์
(นายสาธิต พทุ ธชัยยงค์)

อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

คค่มู มู่อื อืนนกั กัศศกึ ึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕ )(1๑(๑1๑)9๙()

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เร่อื ง หลักเกณฑ์การพิจารณาเทยี บรายวิชาหรือกลุ่มวิชา

----------------------------------------

เพื่อให้การพิจารณาการเทียบรายวิชาหรือกลุ่มวิชาระหว่างหลักสูตรต่าง ๆ ภายใน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มีข้อพิจารณาการเทียบรายวิชาที่เป็นมาตรฐาน
เดียวกัน มหาวิทยาลยั จึงประกาศดังน้ี

ขอ้ ๑ ประกาศน้ี เรียกวา่ “ประกาศมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรือ่ ง หลกั เกณฑ์การพจิ ารณาเทยี บรายวชิ าหรอื กลุ่มวชิ า”

ข้อ ๒ หลักเกณฑ์การพจิ ารณาการเทียบรายวิชาหรอื กลมุ่ วชิ า
๒.๑ เป็นรายวิชาหรือกลุ่มวิชาที่มีเนื้อหาสาระการเรียนรู้ และจุดประสงค์

ครอบคลุมไม่น้อยกว่าสามในส่ีของรายวิชาหรือกลุ่มวิชาที่นักศึกษาต้องการเทียบ ยกเว้นรายวิชา
ทอี่ ยใู่ นขอ้ บงั คบั ของสภาวชิ าชพี ให้ยึดถือตามเงื่อนไขท่ีสภาวิชาชพี กาหนด

๒.๒ เปน็ รายวชิ าหรือกลุ่มวิชาที่มีหน่วยกติ เทา่ กนั
๒.๓ เป็นรายวิชาหรือกลุ่มวิชาที่มีจานวนช่ัวโมงปฏิบัติ และจานวนชั่วโมง
บรรยายเท่ากัน
ข้อ ๓ ในกรณีไม่เป็นไปตามข้อ ๒.๒ หรือ ๒.๓ ให้อนุโลมเทียบกันได้โดยถือ
หลักว่า รายวิชาหรือกลุม่ วิชาที่นามาขอเทยี บต้องมจี านวนหน่วยกิตและชว่ั โมงปฏิบัติ และช่ัวโมง
บรรยายไม่น้อยกวา่ รายวชิ าหรือกลุ่มวิชาในหลักสตู รทีต่ อ้ งการเทยี บ
ข้อ ๔ ในกรณีที่มีปัญหาอันเกิดจากการเทียบรายวิชาหรือกลุ่มวิชาตาม
ประกาศนี้ ให้อธิการบดีเปน็ ผู้มอี านาจวินจิ ฉัยชขี้ าด
ข้อ ๕ ประกาศน้ี ให้ใชบ้ ังคับตง้ั แตว่ นั ถัดจากวันประกาศเปน็ ต้นไป

ประกาศ ณ วนั ที่ ๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔

ลงชื่อ สาธิต พทุ ธชัยยงค์
(นายสาธิต พทุ ธชยั ยงค)์

อธิการบดมี หาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

()๑1๒(2๒๐)0) ( คคมู่มู่ อือื นนกักั ศศึกกึ ษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
เรอื่ ง แนวทางการดาเนินการพัฒนาและบรหิ ารจัดการหลักสตู ระยะสั้น

----------------------------------------
ด้วยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เห็นสมควรกาหนดแนวทาง
แวคอก่านาาลดศรวั งว้ ทดัยหเขควยมกยมิทึราดณาอาอนก่ือุงตงยงมเะาเ่าวกวนรสาทั่นกนรัฐนัยางเิ นพใรขเาคารทนกทรนตกดจมจ่ีมอิ ียตค๑บดัขขขาาตกุดุณบโขกพเ๙ร้้ออ้อาดมานาโรภิอพตยกม"อร๒๓๑ินการหงมัเาเมฒนคาพชรกพมรกรหลใปปียผื่อวาณิมนนอรหันากรรลมราุขาดุ์แปาเวกะะาพั่มนกสพคมมิลทแารกกวาวูัฒื่อใมตหศระะยลิาา่นทารเึสกาปรปนกาศศเศะอเษขยท๒ลรใ็นามานนกึบนา้ันชอคัายศกแ๕ฆใ้ี้ีเษใญรโลตรเารนหลน๔นทาิ๑แลหียาั ะายระี้้ใ๘โมคงัลกชะ๒พาบบลใสกพโะดวบ้หรยราน.าบวรบัศ่าีเคจแงัแ้ิหรเิโทะปอค.ปคัญจลลั ดหร"าย็ดุนป๒ัดับลยะ็ารนใก่างมกนชีกอรรัจ๕ถงเรไศาบขากาาะาดัหัดป๖ะึกรรรชาชตัญกกจษนเรรหศ๔ดีมวพาญบาาพวาึกศ่้วงวศลรรกหีมตัฒัยจษึคกะยยมัหกวิมลตึงบษลานนหกคนัลกัหกสัวเกาาคมพิสากัตขวาทาู เตเรรศูตววื่ปหอหอสาุปี่งใริทรรทิผ็"นตงเมูตนารรษปทยล้ยกวรหด๓เะะฐราพิตภราริรทกญกิลแยมบีละยะาวจิัยานยญะบยัาิัยณทยบเแเศวาทปใสายวเะลยฑเตรทปลต็คนนั้ปสะนคา้้ชิอตรัฏคโยกสเส้ันน็ วนื่ีแอขนยโังาบิเถเ"ตลโามนตคัทกพรแลาตั ะ้นมหมศปโยคบ่ื คอลปิดลไึไากวฏีรัืนอทโรปงัสะยว่ษาาิบนิญตยอิทชเีระวาัตปุโอ่ญดมายหิททสิลช็ไมงานาตี่ยจลมปคยลโมศอาามัทกลหนัยี รึงกเเบาปขเสค้ีาหนษสทพตต็นูชลลต่านวคุทเรใากมทรอยโนสธกฐรนรงงคศักกงหางุ คโคะกันกาิลเลตนวทัรลรดยิคายาใาเเยสพกะกีรสนมดชสาารสรรตีรยาเนชุิงมุ๒้ง้ัอรนขะวเมักสเง่ือท๕าบททกงงกรวง๔พคา้ัี่าชาบินพม๘นลฯงราี
กระบวนการจัดการเรียนการสอน การฝึกอบรม หรือการฝึกอาชีพที่มีระบบชัดเจน อาจจัดใน
ชั้นเรยี น หรือการศึกษาแบบทางไกลผา่ นสื่อ เรียนเปน็ กลุ่มหรอื เรียนรดู้ ้วยตนเองท่ีมหี ลักฐานการ
แสดงผลการเรียนรู้เป็นใบรับรองวุฒิบัตร ประกาศนียบัตร สัมฤทธิบัตร หรือลักษณะอ่ืนใด
โดยสะสมหน่วยกิตผลการเรียนรู้ไว้ในระบบคลังหน่วยกิตและไม่จากัดระยะเวลาในการสะสม
หนว่ ยกติ

"หลักสูตรระยะส้ัน" หมายความว่า หลักสูตรสาหรับจัดการศึกษานอกระบบท่ีมี
วตั ถปุ ระสงค์ส่งเสริมการเรยี นรู้แกบ่ ุคคลทั่วไปที่สนใจให้มีความรู้ ทกั ษะความสามารถในงานหรือ
กิจกรรมเฉพาะอย่าง ที่ตอบสนองความต้องการเฉพาะ มีโอกาสเพ่ิมพูนความรู้ทางวิซาการหรือ
วชิ าชีพได้กว้างขวางยง่ิ ข้ึน เพ่อื นาไปพฒั นางานและพฒั นาวชิ าชพี มกี ารประเมินผลความรู้ได้ตาม
เกณฑข์ องทางมหาวทิ ยาลัย

"หลักสูตรปกติ" หมายความว่า หลักสูตรสาหรับจัดการศึกษาในระบบมีการ
จัดการเรียนการสอนตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพพจิ ารณาอนุมัตหิ รอื เหน็ ชอบใหเ้ ปิดหลกั สตู ร

คคมู่ มู่อื อืนนกั กัศศกึ กึ ษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕ )(1๑(2๑๒)1๑()

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

"นักศึกษาในระบบ" หมายความว่า นักศึกษาที่ขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษาใน
รูปแบบการจัดการศึกษาในระบบท่ีเข้าศึกษาตามหลักสูตรปกติของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรงุ เทพ

"นักศึกษานอกระบบ" หมายความว่า นักศึกษาที่ข้ึนทะเบียนเป็นนักศึกษาใน
รูปแบบการศึกษานอกระบบ หรือการศึกษาตามอัธยาศัย ที่เข้าศึกษาหลักสูตรระยะสั้นของ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

"สวท." หมายความว่า สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

ข้อ ๔ หลกั สตู รระยะส้นั สามารถจัดทาได้ ดังต่อไปน้ี
(๑) จัดทาเป็น รายวิชา
(๒) จัดทาเปน็ ชุดวิชา
(๓) จัดทาเปน็ โมดูลการเรยี นรู้
(๔) จัดทาเปน็ ลักษณะอ่ืน ๆ
ท้งั นี้ รูปแบบการจัดการเรยี นการสอน ให้เปน็ ไปตามที่มหาวทิ ยาลัยกาหนด
ข้อ ๕ แนวทางดาเนนิ การพฒั นาหลกั สตู รระยะส้นั
(๑) หลักสูตรระยะสั้น ต้องพัฒนาจากเป็นรายวิชาในหลักสูตรปกติท่ี

จัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ โดยยังคงสาระวิชาที่
สอดคลอ้ งกับรายวชิ าน้ัน ๆ

(๒) หลักสูตรระยะส้ันที่ไม่ใช่การพัฒนาจากหลักสูตรปกติ ให้คณะ
เสนอต่อสภาวิชาการ และสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ พิจารณาอนุมัติหรือ
เห็นชอบใหเ้ ปดิ หลกั สูตร

(๓) หลักสูตรระยะส้นั เป็นการจัดการศึกษานอกระบบ และสามารถนา
รายวิชา ชุดวิชา หรือโมดูลการเรยี นรู้ ท่ีสะสมหน่วยกิตไว้ในคลังหน่วยกิตมาขอเทียบโอนผลการ
เรยี น เพื่อนับจานวนหน่วยกติ สะสมตลอดหลักสตู รได้ เม่อื ได้สมคั รเข้าศึกษาและขึ้นทะเบียนเป็น
นักศึกษาในระบบตามหลกั สตู รปกตขิ องมหาวิทยาลยั

(๔) การพัฒนาหลักสูตรระยะส้ันเพอ่ื สะสมหน่วยกิตในระบบคลังหน่วย
กิต ให้ยังคงรกั ษาไวซ้ ่งึ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของมหาวทิ ยาลัย

()๑1๒(2๒๒2)) ( คคมู่มู่ อือื นนกักั ศศกึึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

(๕) การพัฒนาหลกั สตู รระยะส้ัน ตอ้ งมีการวดั และประเมนิ ผลความรขู้ องการ
จัดการเรียนการสอนที่ชัดเจนสามารถประเมินผลได้ทันที ท้ังนี้ ให้คานึงถึงคุณภาพการจัดการ
เรียนการสอนและประโยชนท์ ผ่ี ้เู รียนจะไดร้ ับเปน็ สาคญั
สกมจัดาาารตมทศราากวขเมคยึมกฐรเิทึรดณาอป่ืาอษถุงตยมงะนเ็นวรสเาาทั่นกทัฐนอัปงตเพใรขาคียทานารรนตจมชมี่บมอะค๑บดัพีกุดกหเุณโกพ๙คาดมหาลารภิตียศยกขรรักขขการมเขางเมืออ้สาอ้้อพชรพรกอรหมยีูต่ือหณิม๖อร๗๘งนาามรุรขาดุค์แเวตกทั่นพือคมโมกคิณลท((ารคี่ม๒ว๑่ือมหศสระาณุฐย่าะรเหึสกรา)ปอ)าปาเงสอเษรทาน๒ลรดผน็แวมสมนับวาัชคัยสิู้กคธ๕ลเฆรใบทิญขเโตเาีมกน้ะาลข๔นทแตัล้ยาาางรแรา้อา้๘โมคงัลศผิาหะรลรจศสงกพโะลดึกู้เถลรย้งกึกานขาวรบััยษนัีเคบแักรษับิโทา้ะสปอกัญจลละาสรศสายเว็ดุนาัดยะาใกูใตึกมาทมหแนกนชีกอรณเรษศัค.ลบขากนาาาหรึการรชาชต้วญัเรฑดะลพษใรรศีแมวพญ์หยมัพกกวาึก่ือศหตงระหมาตั้เฒัสษาึคกทะก่ปรสติมลตหูตษลานนือรรน็กั้ัหนัรวเกาาราคนณมพสไขาฐเเบรรรปีศลดกตูว่ืปออีาุงใะแิทรรักตผา็รนตนงเยษปลทยหัษลบา้กก๓ะฐราะพมิตภนรณสาญกิลสดบะทาวดริจัมยะั้ญนาบยัิณที่หเแคเเัคเเทปใปาตวลปนยลิดฑตตร็คนน้อะ็นาิน็กัน้ชิหตรโกสเสงหหนื่สีแอกหขนนังาขถลโมตูนตาคัรกนร่วลา้ึนะรหืมรศอป่ว่ยบวยคปใทรไึากยฏเีรยันืกนอทรระวะษากิบสิญิสยตอ่ืิทอยชวเาิตัตมุ่วบญดหมะยิงททหิรนมงอสาีายตร่ียจรครลโทศื่้นันืออนาาทถือลัยึกเเีเ่บกกเนปขชกเหๆปษาสทาพต็น่ัะี่ยวลห็านนรคุทเโววใทากทอนมโนนสธชิกขน่ีเงาคศัดงกงหัากกอ้ คโหกกันกาชลล่ีงศยวัรรดาินคาีพยาึวกาเรยสกีรสมดทชขษศสาารรตช้ไ่ีอาึกนชาุิงม๒้อด่ัวขเงนมัษกสงท๕จ้าโงงกอราวมใา๔พคา้าชาิทหกกง๘นลฯงราี่้
ระบบ และลงทะเบียนเรียนตามวนั เวลาและสถานท่ีท่ีคณะกาหนด ก่อนเร่ิมศึกษาพร้อมทั้งชาระ
คา่ ธรรมเนียมตา่ ง ๆ ตามท่ีมหาวิทยาลยั กาหนด จึงจะมสี ถานภาพเป็นนกั ศกึ ษานอกระบบ

(๓) ผู้เข้าศึกษาในหลักสูตรระยะส้ัน และมีความประสงค์จะบันทึกผล
การศึกษาสะสมหนว่ ยกติ ในฐานขอ้ มูลระบบคลงั หน่วยกิต ต้องข้ึนทะเบียนเป็นบคุ คลเรยี นรู้ตลอด
ชีวิตหรือนักศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิตพร้อมชาระค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ตามท่ีมหาวิทยาลัยกาหนด
จึงจะมสี ถานภาพเปน็ บุคคลเรยี นรตู้ ลอดชีวิตหรือนักศกึ ษาเรยี นร้ตู ลอดชวี ติ

ข้อ ๙ เกณฑ์การประเมินผลความรู้ให้เป็นไปตามข้อกาหนดของหลักสูตรระยะ
ส้นั น้นั ๆ โดยใหค้ ณบดีเปน็ ผอู้ นุมตั ิ

ข้อ ๑๐ เมื่อดาเนินการจัดการเรียนการสอนเสร็จสิ้นตามเงื่อนไขที่หลักสูตร
ระยะสั้นกาหนด ให้คณะจัดทาหลักฐานการแสดงผลการเรียนรู้เป็นใบรับรอง วุฒิบัตร
ประกาศนียบัตร สัมฤทธิบัตรหรือลักษณะอื่นใดให้ผู้สาเร็จการศึกษา และให้แจ้งผลการศึกษาไป
ยงั สวท. เพ่อื ทราบและดาเนินการในสว่ นท่เี ก่ียวข้อง

ข้อ ๑๑ นักศึกษานอกระบบต้องปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ
และชาระคา่ ธรรมเนียมการศกึ ษาตามทม่ี หาวทิ ยาลยั กาหนด

คคมู่ มู่อื อืนนกั กัศศกึ ึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕ )(1๑(2๑๒)3๓()

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี รี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ข้อ ๑๒ ให้อธิการบดีรักษาการตามประกาศนี้ และมีอานาจตีความและวินิจฉัย
ปัญหาที่เก่ยี วกับการปฏบิ ตั ิตามประกาศนี้

ประกาศ ณ วันท่ี ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

สมพร ปิยะพันธ์
(นายสมพร ปยิ ะพันธ)์

รักษาราชการแทน
อธิการบดมี หาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ

()๑1๒(2๒๔)4) ( คคมู่มู่ อือื นนกักั ศศึกึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เรอ่ื ง การแต่งกายทใ่ี ช้ในการตดิ รูปถ่ายบนบัตรประจาตัวนกั ศึกษา

------------------------------
เพื่อให้การแต่งกายของนักศึกษาที่ใช้ในการติดรูปถ่ายบนบัตรประจาตัวนักศึกษา
มมเเหรีงค่ือน็ควงคลาวคยกมเขมกวกมิทึรดณาอื่รอางุตรยถมงะเกรวรสุงาท่ันูกกแัฐานัเงเพใรตทขาหตคทนรน้ตอพจมง่นี่มอค๑บกดังกุดดณุโแกพวา๙าขขขดมกาย่ลารภิต้้้ออยกอารกดทาะรมเราเมาพชร๓้วพ๒๓เีใ่ร๑แกรหหยีื่ชอยณิม.ตอรน๑าใ้มใปมุขปาุด์ง่แเวนหเกั่นพารคมกมคิลทรรากน้ะะว่อืมหศารระะะยา่ากัก๓เสยึสกื่อาปดปการเศาอเษมขท.ง๒ลรับต็นมา๑ศนกึาัแอชคัยกศ๕ดิปฆร.นใษญงบโต๑เานรน๔รวนทน้ีแลาาบาูปริญใมี้เ๘โมคังลแนกัะหรลถสกถพญโะตดศเกัีย้ใย่าานคาึงวรบัช่งึกศีเาคแกยริเโทะรกปอบ้ษตพึกญัจลลบวรื่อย็าดุนัดงัรยะษาา่ื่าอในงายมคกนชีีกอราเหใบศดบ"ขับากาาาหชดปกึมัตรรงัชาชตัญตา้สังษรนรศารีรมวพยญนั้งพอวาึยกศะปี้งแรี้หมัตัฒดษึคกมกะรตแิมลตคษลานนะีลาว่กัหัลวเกจาลศาคักนัพสขาะเเรา้รอษมศูตว่ืปถออกุงตใิทรงรณหผ็ดันตงเาวัษกปทยล้จการ๓นะฐรัาบพิตภาวรแดญกิลกั บกะขิาทวติจัยังศญบยัิว้ณอทเแน่เงยกึทปใันาวบกลยฑี้าตตษ็คนนปะาาังล้ชิตรโกสาเสยครนื่ีแัอยขน"ังาถะขัลบโมตคัเกรลากทะอหมศมปยบคปางไคึากฏหีรัืศนอทรนวษาโิบิญาเยอิทันชกวปาัวตุญดมยิศททโิิทน็ มงาลาตึี่กยจคตยลโศยอาาษทลัน้ยาึกเเบีราปขสเไหษาสทพปต็นัยลพชานคุทเใาเทมอ.โนทสธกศนงคงศักงหค.คโคกันกาลลโว๒ัรรดิลคานยาาเยส๕กีกรสมโชสาาลรรตร๔านชุิงมยุ๒้งอข๙เมักสเีรงท๕าทงงกราว๔พจคา้าชาพิชึ๘งนลฯงรา

(๑) ผมสน้ั ทรงสภุ าพ ไม่ไว้หนวดเครา
(๒) เส้ือเชิ้ตสีขาวแขนยาวถึงข้อมือ ไม่พับปลายแขน ไม่รัดรูปและไม่
หลวมเกินไป ไม่มีลวดลาย ไม่บางเกินสมควร ผ่าหน้าตลอด ติดกระดุม ๕ เม็ด มีกระเป๋าขนาด
พอเหมาะที่อกเส้ือเบ้ืองซ้าย ตัวเส้ือมีความยาวเพียงพอสาหรับให้กางเกงทับได้ เวลาสวมให้สอด
ชายเสอื้ ไว้ในกางเกงใหเ้ รียบรอ้ ย
(๓) ผกู เนคไทตามแบบท่ีมหาวิทยาลัยกาหนด กลดั เข็มตราสัญลกั ษณ์
มหาวทิ ยาลัย
(๔) กางเกงขายาวแบบสากล ทรงสุภาพ ไม่รัดรูปหรือหลวมเกินไป
มหี เู ขม็ ขดั เย็บด้วยผา้ สเี ดียวกนั ผา้ พน้ื สดี า หรือสกี รมท่า ไม่มลี วดลาย
(๕) สายเข็มขัดหนังสีดา หัวเข็มขัดมีลายดุนนูนตราสัญลักษณ์
มหาวทิ ยาลัย
(๖) รองเทา้ หนังหมุ้ สนั้ สดี า ไมม่ ีลวดลาย ทรงสภุ าพ
(๗) ถงุ เท้าสดี า หรือสีทก่ี ลมกลืนกบั รองเทา้ ไม่มลี วดลาย

คค่มู ่มูอื อืนนกั กัศศกึ ึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕ )(1๑(2๑๒)5๕()

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี รี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

๓.๑.๒ นักศึกษาหญงิ มีลักษณะดังน้ี
(๑) ผมทรงสภุ าพ ถ้าผมยาวรวบใหเ้ รียบร้อย เปดิ ผมด้านหน้าใหเ้ ห็นคิว้
(๒) เส้ือเชิ้ตสีขาวแขนส้ันเพียงศอก ปลายแขนปลอ่ ยตรง ไม่ผ่าปลาย

แขนไม่บางเกินสมควร ไม่รัดรูปและไม่หลวมเกินไป ไม่มีลวดลาย ผ่าหน้าตลอด ติดกระดุมสีเงิน
ลายดุนนูนตราสัญลักษณ์มหาวทิ ยาลัย ตัวเส้ือมีความยาวเพียงพอสาหรับให้กระโปรงทับได้ เวลา
สวมใหส้ อดชายเสอ้ื ไวใ้ นกระโปรงให้เรียบรอ้ ย

(๓) เขม็ กลดั เสือ้ ตราสัญลกั ษณ์มหาวทิ ยาลัย กลัดบนอกเสอื้ เบื้องซา้ ย
(๔) กระโปรงทรงตรง เอวสูง ด้านหลังผ่าป้ายแบบสุภาพ ไม่รัดรูป
ยาวเสมอเข่า ผ้าเนื้อเรยี บ ไม่มลี วดลาย สดี า หรือสีกรมท่า
(๕) สายเข็มขัดหนังสีดา หัวเข็มขัดมีลายดุนนูนตราสัญลักษณ์
มหาวิทยาลยั
(๖) รองเทา้ หนงั หุม้ สน้ สีดา ไม่มลี วดลาย ทรงสภุ าพ
๓.๒ ระดับบัณฑติ ศกึ ษา
๓.๒.๑ นกั ศกึ ษาชาย มีลักษณะดังน้ี
(๑) ผมสน้ั ทรงสุภาพ ไม่ไวห้ นวดเครา
(๒) เสื้อเช้ิตสีขาวแขนยาวถึงข้อมือ ไม่พับปลายแขน ไม่รัดรปู และไม่
หลวมเกินไป ไม่มีลวดลาย ไม่บางเกินสมควร ผ่าหน้าตลอด ติดกระดุม ๕ เม็ด มีกระเป๋าขนาด
พอเหมาะท่ีอกเสื้อเบ้ืองซ้าย ตัวเส้ือมีความยาวเพียงพอสาหรับให้กางเกงทับได้ เวลาสวมให้สอด
ชายเสือ้ ไว้ในกางเกงให้เรยี บร้อย
(๓) ผกู เนคไทตามแบบท่มี หาวิทยาลัยกาหนด กลดั เขม็ ตราสัญลักษณ์
มหาวทิ ยาลัย
(๔) สวมทับดว้ ยสทู สกี รมทา่
(๕) กางเกงขายาวแบบสากล ทรงสุภาพ ไม่รดั รูปหรือหลวมเกินไป มี
หเู ขม็ ขัดเยบ็ ดว้ ยผา้ สเี ดยี วกัน ผ้าพ้ืนสีกรมท่า ไม่มีลวดลาย
(๖) รองเทา้ หนงั หุ้มสน้ สีดา ไม่มลี วดลาย ทรงสภุ าพ
(๗) ถงุ เท้าสดี า หรอื สีทีก่ ลมกลืนกบั รองเท้า ไมม่ ีลวดลาย

()๑1๒(2๒๖)6) ( คค่มูมู่ อือื นนกักั ศศึกกึ ษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยีรรี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

๓.๒.๒ นักศกึ ษาหญงิ มีลักษณะดงั น้ี
(๑) ผมทรงสภุ าพ ถา้ ผมยาวรวบให้เรยี บร้อย เปดิ ผมด้านหน้าใหเ้ ห็นคว้ิ
(๒) เส้ือเช้ิตสีขาวแขนสน้ั เพียงศอก ปลายแขนปล่อยตรง ไม่ผา่ ปลายแขน

ไม่บางเกินสมควร ไม่รัดรูปและไม่หลวมเกินไป ไม่มีลวดลาย ผ่าหน้าตลอด ติดกระดุมสีเงินลาย
เดใสหนุ ม้สนออกคขเวยนู เมดิทึรดณขอตื่อชุงยมง่าะรเวสาาท่ันกาัผนยังเพใรสขค้าทเนรญัสตเจมี่มอน๑้อืบดั ลกุดโื้อกไพ๙าักดมวเาริตยกรษ้ใรกรนียมเาเมณาชรพรบกกรหยี่ือณิ์มมอรรนามุไขหาดุะ์แวกมั่นคมมโิลท(((าา(่ม๓๕๔ปว๖มหศวระย่าีลึสรก)))ิทาป)าเงวอเษทสเก๒ลรยรมใขดนาัชคัวรอยาห๕ฆม็ใลญะมโตลเงน้เ๔นทกาแโเราทยัารทป๘ยโลมคยีละบัลกา้พรตัดโะบดยสดนหางวรัเวับรีเแกีรสทว้ิโทะนปเอ้อจลลสยรื้อรรย็ดุงันยัดยะามอ้ืสงตาหมกชีกอรตทเมูทรศุ้มบขาาาารา่าคีกึสรรชสชตญั งสษวรกีศีมวพน้ญัญวาาเึกรศงรสอหมมตัมษึคกละีดวิมลตยทษลานกั สากัหัวาเกาคษ่าพงูสขาวเไรรณตูว่ืปอมเอุดงใพิทรผ็นตงเ่มม์้าปทยียล้กนีล๓หราพิตงภรวญิลหาพบะาวดัยวลญบยัิณทอเเลทิ งัทปใาวสยฑาตผยต็คนนาาย้ชิา่ตารโกเสหนื่ปีแลอขนทาถรลโมยัตัา้กรลารับะยหศปยบงคปกใแึากฏสีรัืหนอรลวบษาิบุภิญอิก้ทดัชวาบัตาุญดมรยบิททิสพะมงาาตน่ียจภุคลโโศอาาอทปลัยาึกเเบกปขพรเหษสทเพงต็นลสานคทไุทเใาื้อมทอโนสับธกนเร่งคศักงหบไคโัดกันกาดลลอื้วรัรรดิค้ายางปูาเเยสกีรสมวซชสาารรลต้ายานชุิงม๒้ยอาาขเมักสสงท๕วางงกรวว๔พคา้าชาิม๘นลฯงรา

มาตรฐานคณุ ภาพ เพอ่ื เป็นกาลงั สปาคระัญกในากศาณรพัฒวันนาทเี่ศ๙รษกฐมุกภิจแาลพะนั สธงั ค์ พมไ.ศท.ย๒๕๖๔

สมพร ปยิ ะพันธ์
(นายสมพร ปิยะพันธ์)

รักษาราชการแทน
อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

คค่มู ่มูอื อืนนกั กัศศึกึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕ )(1๑(2๑๒)7๗()

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี รี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ประกาศมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
เรอ่ื ง การขอผ่อนผนั เลื่อนรับพระราชทานปรญิ ญาบตั ร

---------------------------------------------------------
เพ่ือให้ผู้สาเร็จการศึกษา ได้ปฏิบัติในการขอผ่อนผันเลื่อนรับพระราชทานปริญญาบัตร
เป็นไปอย่างถูกต้อง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ จึงกาหนดหลกั เกณฑ์การขอเลื่อน
รับพระราชทานปรญิ ญาบตั รไว้เปน็ หลักปฏบิ ตั ิ ดงั นี้
๑. บัณฑิตท่ีสาเร็จการศึกษาในแต่ละปี ท่ีจะขอเลื่อนรับพระราชทานปริญญาบัตร
จะต้องทาเร่ืองขอผ่อนผันการเล่ือนรับพระราชทานปริญญาบัตร ท่ีสานักส่งเสริมวิชาการและ
งานทะเบียน โดยชี้แจงเหตุผลความจาเป็นพร้อมแนบหลักฐานประกอบเหตุผลและแจ้ ง
ปกี ารศึกษาทีจ่ ะขอเข้ารับ โดยไมเ่ กนิ ๒ ปี นบั จากปีทสี่ าเร็จการศกึ ษา
๒. บัณฑิตท่แี จ้งความจานงขอเลือ่ นรับพระราชทานปรญิ ญาบัตร จะต้องข้ึนทะเบียน
รบั พระราชทานปริญญาบัตร พรอ้ มกบั บัณฑติ ทจี่ ะขึ้นรบั พระราชทานปริญญาบตั รในรนุ่ น้ัน
๓. กรณีที่บัณฑิตมิได้แจ้งความจานงขอผ่อนผันเลื่อนรับพระราชทานปริญญาบัตรไว้
จะหมดสทิ ธ์ขิ ึ้นรบั พระราชทานปริญญาบัตร
๔. การย่ืนคาร้องขอผ่อนผันรับพระราชทานปริญญาบัตร ต้องย่ืนก่อนวันรับ
พระราชทานปริญญาบัตร ๗ วนั
๕. กรณีที่บัณฑิตเข้ารับการฝึกซ้อมแล้ว เกิดเหตุมิสามารถเข้ารับพระราชทาน
ปริญญาบัตร บัณฑิตจะต้องทาเร่ืองขอผ่อนผันการเลื่อนรับพระราชทานปริญญาบัตรท่ีสานัก
ส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน โดยบัณฑิตมิต้องชาระค่าใช้จ่ายในการฝึกซ้อมแล้ว เมื่อมาย่ืน
ความจานงขอรับพระราชทานปริญญาบัตรในปีถดั ไป
ทงั้ นี้ ถ้าไม่เป็นไปตามท่กี าหนด ให้อธิการบดีเป็นผพู้ ิจารณาเป็นราย ๆ ไป

ประกาศน้ี ใหใ้ ชบ้ งั คบั ตง้ั แตว่ นั ประกาศเปน็ ตน้ ไป

ประกาศ ณ วันที่ ๑๒ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๒

(ลงช่ือ สาธติ พทุ ธชัยยงค์
(นายสาธิต พทุ ธชัยยงค์)

อธิการบดีมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

()๑1๒(2๒๘)8) ( คคมู่มู่ อือื นนกักั ศศึกกึ ษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี รี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เป็นสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา ตามพระราชบญั ญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘
เม่ือวันท่ี ๑๙ มกราคม ๒๕๔๘ เป็นการรวมตัวของ ๓ วิทยาเขต คือ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ
วิทยาเขตบพิตรพิมุขมหาเมฆ และวิทยาเขตพระนครใต้ ภายใต้ชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ จดั การเรยี นการสอนในระดับอดุ มศึกษาหลกั สูตรปรญิ ญาตรีและปรญิ ญาโท หลากหลายสาขาวชิ า
ยึดม่ันในอุดมการณ์และปรัชญา การจัดการศึกษาเพ่ือผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ ตอบสนองความต้องการ

ระดบั บัณฑิตศกึ ษาของสังคม โดยเชื่อมั่นว่าเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเป็นกระบวนการศึกษาที่จาเป็นในการเสริมสร้าง

มาตรฐานคณุ ภาพ เพอ่ื เป็นกาลงั สาคัญในการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมไทย

คคมู่ ่มูอื อืนนกั กัศศึกึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕ )(1๑(2๑๒)9๙()

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี รี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ข้อบังคับมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
ว่าดว้ ยการศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศึกษา
พ.ศ. ๒๕๖๐

โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุงหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข เกี่ยวกับการศึกษา
ระดบั บณั ฑิตศึกษาให้สอดคล้องกบั ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอื่ ง เกณฑ์มาตรฐานหลักสตู รระดับ
บัณฑติ ศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๗ (๒) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกอบกับมตสิ ภามหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ใน
การประชมุ ครง้ั ท่ี ๕/๒๕๖๐ เม่อื วนั ท่ี ๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ จึงออกขอ้ บังคับไว้ ดงั ต่อไปน้ี

ข้อ ๑ ข้อบังคับน้ีเรียกว่า “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
ว่าดว้ ยการศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐”

ขอ้ ๒ ขอ้ บังคบั น้ใี ห้ใชบ้ ังคบั ตงั้ แต่วนั ถัดจากวนั ประกาศเป็นตน้ ไป
ขอ้ ๓ ให้ยกเลกิ ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ ว่าดว้ ยการศึกษา
ระดบั บณั ฑิตศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๙
ข้อ ๔ ในข้อบังคบั น้ี
“มหาวิทยาลยั ” หมายความวา่ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
“สภามหาวทิ ยาลยั ” หมายความวา่ สภามหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพ
“สภาวชิ าการ” หมายความว่า สภาวิชาการมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
“อธิการบดี” หมายความว่า อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพ
“คณบดี” หมายความว่า คณบดีคณะท่ีเปิดสอนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
“บัณฑิตศึกษา” หมายความว่า การศึกษาระดับสูงกว่าปริญญาตรีข้ึนไปของ
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ

()๑1๓(3๒๐)0) ( คคมู่มู่ อือื นนกักั ศศกึึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี รี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

“หลักสูตร” หมายความว่า หลักสูตรสาขาวิชาต่าง ๆ ในระดับบัณฑิตศึกษา
ทีส่ ภามหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพใหค้ วามเหน็ ชอบ

“คณะ” หมายความว่า คณะหรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะ
เทียบเท่าคณะที่ได้รับอนุมัติจัดตั้งโดยสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ที่เปิดสอน
หรเหศทาาลลคชสกักั มโตสสเกขมคยวนมงริทึรดณาอตูตู โคื่อุงาตยลมงรระเลจวรสาทั่รขนยกัฐกนัางเะพอีรใรขาครรทนดรางนตยงุจม่ีมอชมับค๑บเดั์กุดทมหณุบโรกพ๙าดมงพอาาัณรภิตยกค““““รวงการมเาฑเมลอคศคทิบาพชรพรกรหกิตาณียาณื่ยัอณณิมอรสรนาจศามุขบาดุ์แเะฑวุงตกลั่ึกนาพคมมิเลทดการัยิตทษรวอื่มหศระีบยาร่เายเวพาึสกาปทปจาเัณริ์ทอเษปท๒ลรน็คามมนาัชฑยคัยรกร๕โฆกใญนโตายเาิะตน๔นทแาลลา์โารวจ๘โแมคลงัลรัยะิทลาสกพลโะยบด”ยานย”าวรับะรี รีเคแราิโทะาปศอหิญัหจลลหลรชย็ดุนาัดมยะาใัยาามมมสกนชีกอราเร”ศงตบขาากาาายหคึกรรชาชตญัรยหคษลรรศลีามวพคญมพววากึกจศังกรวหมตัาาัฒษึครกาะสิมยมลาตงุรษลานนูกตัหเัมคววยเกาาคทพสขา่รวา์เวเรรศพตูวื่ปใออาุ”่งใานิทรบรผ็นตมงเษปทยมลั้หณกบว๓ฐราพิตหภร่าุมญกิลคฑบะาาวจิัยาญคคบยิัิณวตทเแเยณทปใาิทวลลวยฑตตค็คนนะิทายทบ้ชิตรโกวสเสาน่ีื่ยีแอดขนดงัาาถลลโมาตคีับกราลมาัยะลหมศปัณรยบคปวเไัึยากฏีรทงัืนอท่ราฑวษาิตบิญคยอิทมชวิตาัตคาุโญดมยิทหทวนิแณมงาาตี่ยจิทาคโลโหศอาาลวทะยลัยึกเเบินทยกปาขเหษสท่ีลรพยงต็นรลานคาอัยุทาเรใาทชอโนสลธกมานมงคมศักงหัยจกคโกหันกางลลเาวาัรครดิทคาายาราเรยสลวกีรสมคชยบสิทาากรรตโ์านชุิงรมรนย๒้อผขเมัิกุงหสางท๕โาู้ชงเงกลรลวา๔ทพค่าว้าชาิัยยร๘นลฯพงรายี
และปฏบิ ัติหน้าที่เตม็ เวลา

“อาจารย์ประจาหลักสูตร” หมายความว่า อาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิตรงหรือ
สัมพันธ์กับสาขาวิชาของหลักสูตรที่เปิดสอน ซึ่งมีหน้าที่สอนและค้นคว้าวิจัยในสาขาวิชา
ดังกล่าว ทั้งนี้ สามารถเป็นอาจารย์ประจาหลักสูตรหลายหลักสูตรได้ในเวลาเดียวกัน แต่ต้ อง
เป็นหลักสูตรที่อาจารย์ผู้นั้นมีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาของหลักสูตร

“อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร” หมายความว่า อาจารย์ประจาหลักสูตรที่มี
ภาระหน้าที่ในการบริหารและพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ตั้งแต่การวางแผน
การควบคุมคุณภาพ การติดตามประเมินผลและการพัฒนาหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
หลักสูตรต้องอยู่ประจาหลักสูตรนั้นตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษา โดยจะเป็นอาจารย์
ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเกินกว่า ๑ หลักสูตรในเวลาเดียวกันไม่ได้ ยกเว้นพหุวิทยาการ หรือ
สหวิทยาการ ให้เป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้อีกหนึ่งหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบ
หลักสูตรสามารถซ้าได้ไม่เกิน ๒ คน

“อาจารย์พิเศษ” หมายความว่า ผู้สอนท่ีไม่ใช่อาจารย์ประจา
“นักศึกษา” หมายความว่า ผู้เข้ารับการศึกษาในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
ของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ

คคมู่ ่มูอื อืนนกั กัศศึกึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕ )(1๑(3๑๓)1๑()

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี รี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

“ผู้ทรงคุณวุฒิ” หมายความว่า บุคคลซึ่งมีคุณวุฒิหรือตาแหน่งทางวิชาการตาม
เกณฑ์และข้อกาหนดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดสอน

“ผู้เช่ียวชาญเฉพาะ” หมายความว่า บุคคลซ่ึงมีความรู้และความเชี่ยวชาญใน
สาขาวิชาท่ีเปิดสอนเป็นอย่างดี หรือเป็นผู้เชี่ยวชาญภายนอกมหาวิทยาลัย โดยไม่ต้องพิจารณาด้าน
คุณวุฒิและตาแหน่งทางวิชาการ

ข้อ ๕ ให้อธิการบดีรักษาการตามข้อบังคับนี้ และมีอานาจวินิจฉัยตีความในกรณีท่ีมี
ปญั หาเกย่ี วกับการปฏบิ ตั ติ ามข้อบงั คับน้ี

หมวด ๑
บทท่วั ไป

ข้อ ๖ ในกรณีที่มีการจัดตั้งบัณฑิตวิทยาลัยแล้ว ให้บัณฑิตวิทยาลัยมีหน้าท่ีใน
การกาหนดนโยบาย การจัดการศึกษา การประสานงาน และสนับสนุนการดาเนินการระดับ
บัณฑิตศกึ ษา ในสาขาวิชาทเ่ี ก่ียวข้องกบั คณะต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัย

กรณีท่ียังไม่มีการจัดต้ังบัณฑิตวิทยาลัย ให้คณะดาเนินการในด้านต่าง ๆ ที่
เกีย่ วข้องกับการจดั การศึกษาระดบั บัณฑติ ศกึ ษาไปจนกวา่ จะมีการจดั ต้งั บัณฑิตวิทยาลยั

ข้อ ๗ ให้คณบดีแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เพ่ือบริหารและจัด
การศกึ ษาในหลกั สตู รต่าง ๆ ของคณะ

หมวด ๒
ระบบการศึกษา

ดังต่อไปนี้ ข้อ ๘ ระบบการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ให้จัดการศึกษาเป็น ๓ ประเภท
(๑) การศึกษาภาคปกติ จดั เป็น ๓ แบบ ดงั ตอ่ ไปน้ี

()๑1๓(3๒๒2)) ( คค่มูมู่ อือื นนกักั ศศกึกึ ษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

(ก) ระบบทวิภาค โดย ๑ ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น ๒ ภาคการศึกษาปกติ ๑ ภาค
การศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๕ สัปดาห์ และอาจเปิดสอนภาคการศึกษาฤดูร้อนได้
ซงึ่ มีระยะเวลาไม่นอ้ ยกวา่ ๗ สัปดาห์ โดยมชี ั่วโมงการเรียนในแต่ละรายวิชาเท่ากับภาคการศึกษา
ปกติ ในกรณีท่ีมีการเปิดภาคการศึกษาฤดรู ้อน ใหถ้ ือว่าเปน็ ส่วนหนึ่งของปีการศึกษาเดยี วกนั
รไ๑จไ๑ดดะต้กภ้บกรุภับาัภบบากเยขวมคคมคาไิทึรดณาอ๑ตก๑่ืคอกงุตยงมะ๐ราเวารส๒าท่ันกรภรัฐน/ังเพ/ศใรศข๑าาคทน๑รนึกคตึกจม๕ี่มอ๕คษ๑บษดั กุดณุโาหกพา๙าดมหปปารภนิตยก(รกนกกา๒ร่วมเาเมาพตตชรพ่วยรก)รหีย่ือิิมมณยิมกอร(ก(นามขคีรีรุกขิตาุด์แเวาก่ัะนะพ)คม)มิรติลทรายยวือ่ระมหศรระรศยะ่าะะเบะึสกาปะปึาเกเเบวอเษบทบวบ๒ลร็นมษลนาลบัชคบัทยกบ๕ฆาาใาญโตไเาจวนศ๔ทภนทศตแลาภิตารกึ๘โวึกมาครังละุลราษสกิคภภพษโะดคภยานาาวสรบัาาาีเคไแราิโทะไคปหคมอมัญจลลคมรย็ดุนร่ทนัดยะา่โนใหามือโกนชดีกออ้รบเ้อดศรบขากาายาย๒ยืยึกอรรชาชตัญเกกษปรรศ๑ีมวพหญว๑๔พววาึกศ็นงรา่นหมา่ัตฒัปษึคกะกปหิมลต่ว๑ีษลานน๑กาีกักหยันวเ๒กาาคา๐รพสขกาาเ่เวรรรจศูตวื่ปอรอติสุงยศใสัิทรดรศผ็นตงเรัปกปัึษปกทยกลึ้กะก๓ดิฐตรดาษพิตาภบรษญกิลาารรบะาาวบาจิัหยหะญศบยัิณทเแเทแ์บ์แทปใึากวโลยโฑบตวตดบ็คดนบนษะาิ้ภชิตร่งโยยกสเ่สงทานื่ีแอขนอาอังาถใลว๑โ๑คมตคักอรนอลาะิภเหมศปกยบกทชคปหหไึาากฏีเรัืนเอท่รียวนนปวคษาปิบญิยงอิบทช่ว่ว็เวนา็ันตเุทญดมยยไิยททวิดมงีากยกา๓ตลี่ยจ๔ค้กลโศิตติบอาาาทลัยบัึภกเรเภบวรไปขเะหดษะันาสทาพ๓ต็นบลบค้ากคนคหุทเใาบกบทัอกหบโนสยธกนจางไคาศันกงหุดตคโตร๕รกันกา่ลวลสศรวศุรัรรดิคยายภุาดภึหาเกึกยสกกีรสมชาสาสษนษาาริตรตคคัาปนชุิง่มาาว๒้รอเขเเมักปปทดทสะยงท๕างงกบรากกีกวยีย๔พคา้าชาิหบบิบตตต๘นลฯงรา์ิิ
หรอื นอกเวลาราชการในภาคการศกึ ษาปกติ

(๓) การศึกษาภาคพิเศษ เป็นการจัดการศึกษาในภาคการศึกษาปกติ หรือรูปแบบ
ใดรูปแบบหน่ึง หรอื แบบผสมผสาน ดงั ตอ่ ไปนี้

(ก) การศึกษาเฉพาะช่วงเวลาของปี จัดเฉพาะช่วงของภาคการศึกษาปกติ
หรือจัดเฉพาะในภาคฤดูร้อน

(ข) การศึกษาแบบนานาชาติ เป็นการจัดการศึกษาโดยความร่วมมือของ
สถาบันอุดมศึกษาในต่างประเทศ หรือเป็นหลักสูตรของมหาวิทยาลัย ที่มีการจัดการและมาตรฐาน
เดียวกันกับหลักสูตรนานาชาติ โดยอาจจัดในระยะเวลาท่ีสอดคล้องกับช่วงเวลาในต่างประเทศ ตาม
โครงการความรว่ มมือทางวิชาการ

การจัดการเรียนการสอนแต่ละรูปแบบ ให้พิจารณาตามความเหมาะสมกับ
แต่ละหลักสูตร ทั้งนี้ ต้องจัดให้ได้เนื้อหาโดยรวมที่มีน้าหนักสมดุลกับจานวนหน่วยกิตรวมของ
หลักสูตร โดยการคิดเทียบน้าหนักหน่วยกิตตามข้อ ๙ และให้จัดทาโครงการของหลักสูตรนั้น
เสนอต่อสภามหาวิทยาลัย และจัดทาเป็นประกาศมหาวิทยาลัย

คคมู่ ่มูอื อืนนกั กัศศกึ กึ ษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕ )(1๑(3๑๓)3๓()

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

ข้อ ๙ การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา เป็นการศึกษาแบบสะสมหน่วยกิต
การกาหนดหนว่ ยกิตแตล่ ะรายวิชา มหี ลกั เกณฑ์ดังต่อไปนี้

(๑) รายวชิ าภาคทฤษฎี ที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปรายปัญหาไมน่ ้อยกว่า ๑๕ ชั่วโมง
ตอ่ ภาคการศกึ ษาปกติ ให้มีค่าเทา่ กบั ๑ หน่วยกติ ระบบทวิภาค

(๒) รายวิชาภาคปฏิบัติ ที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า ๓๐ ช่ัวโมงต่อภาค
การศกึ ษาปกติ ให้มคี ่าเท่ากับ ๑ หนว่ ยกิตระบบทวภิ าค

(๓) การฝึกงานหรือฝึกภาคสนาม ท่ีใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า ๔๕ ช่ัวโมงต่อภาค
การศกึ ษาปกติ ให้มคี ่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิตระบบทวิภาค

(๔) การทาโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอื่นใดตามท่ีได้รับมอบหมาย ท่ีใช้เวลาทา
โครงงาน หรือกิจกรรมนน้ั ไม่น้อยกว่า ๔๕ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต
ระบบทวิภาค

(๕) การค้นคว้าอิสระ หรือวิทยานิพนธ์ ที่ใช้เวลาศึกษาค้นคว้าไม่น้อยกว่า ๔๕ ชั่วโมง
ต่อภาคการศึกษาปกติ ใหม้ ีค่าเท่ากับ ๑ หนว่ ยกิตระบบทวภิ าค

หมวด ๓
หลักสตู รการศึกษา

ขอ้ ๑๐ หลกั สูตรทีเ่ ปดิ สอนในระดบั บณั ฑติ ศึกษา มีดงั ต่อไปนี้
(๑) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีสร้างเสริม
ความเชี่ยวชาญหรือประสิทธิภาพในทางวิชาชีพ และเป็นหลักสูตรท่ีมีลักษณะส้ินสุดในตัวเอง สาหรับ
ผ้สู าเรจ็ การศึกษาในระดบั ปรญิ ญาตรีหรือเทียบเทา่ มาแล้ว
(๒) หลักสูตรปริญ ญ ามหาบัณ ฑิต เป็นหลักสูตรการศึกษาที่ส่งเสริม
ความกา้ วหนา้ ทางวชิ าการหรอื วิชาชพี ในสาขาวชิ าต่าง ๆ ในระดับทีส่ งู กว่าขน้ั ปริญญาตรี
(๓) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีสร้างเสริม
ความเชี่ยวชาญหรือประสิทธิภาพในทางวิชาชีพ และเป็นหลักสูตรท่ีมีลักษณะส้ินสุดในตัวเอง
สาหรับผสู้ าเรจ็ การศึกษาในระดับปริญญาโทหรือเทยี บเท่ามาแลว้

()๑1๓(3๒๔)4) ( คคมู่่มู อือื นนกักั ศศึกึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี รี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

(๔) หลักสูตรปริญ ญ าดุษฎีบัณ ฑิต เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีส่งเสริม
ความก้าวหนา้ ทางวิชาการและการวิจัยในสาขาวิชาตา่ ง ๆ ในระดับทีส่ งู กวา่ ขน้ั ปริญญาโท

ขอ้ ๑๑ โครงสรา้ งหลกั สูตร ระบบทวภิ าค
(๑) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต และประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ให้มี
จ๓ดหหางัน๖ลนตว่ักหว่อยกยเคมวขสนนมกไิทึรดณาอูตปื่ว่อหติุงตยมงระยเนวรสนาท่ันกอแกัฐนั้ีงเ่วพใรตาขาิตคทนยรนจ่จตจม่ีมอกโคะก๑บดัดกุดิตตณุโากยพ๙าดมรอ้หแารภิตยกว(รงบกน๒ารมมเาเมมาพชรง่พรด)ตกรหกผียีื่อณิมอหใลรา(นาลมหุกขาุดร์อแลเวกสั่นพศค้มเม)ิดลทัการัมว่อืแแมหศกึระหสแยีย่าฤเบษึบสกาปปูลาตนผเทอเษาทบ๒ลรบ็นรักมรนเนาัธชคัปยปก๕าสฆกใ์ิตญกโตยเรานูต็นก๔นทาแลิาญวา๑รร๘โ๒มมคังลิชะเ๒ไลญสกพปทโมะดทายานาาวรเับ่น็่ีหแนาีเคแทพรมิโทะปอเผ้อลญัจลลแรหฉาิ่มย็ุดนัยนดกัยะาผใวพาาเมกนชกีกอตรสบิทเนาศดบขากวาาาิมตูัณะยกึกรรชังาชตัญา่ รวษรรศตาีหมฑวาพญกทิ๒พวานึกศ่อรงรริตาหมตัยัฒ๔ษึคกิศไืพะอหิมลตปาใษลานนึทกนหกันหนหัวเนกาาคพษาส้ขธามนดพิเเร้ีรกศตูว่ืปอ์อาีจุว่งนใิทซริจรผ็นตทงเยาษธปทยกึ่งล้นกกี่เ๓์ฐรามรพิตนภซรวติญกิลรีคบะนา่ึง้วนิจัยมญบมยัิ่ณหทาเแเกททปใาเีควนลยฑตทาาต็คนน่าะา่ว้งชิรตรีโยเกสเสยวนื่ีทแอวขนงับาถกิชลโิมจตคัียกรลาิตไาะหัมศยปบดยบกคปรไึากฏไีร้วัไืนาอทรวโดษามิมบริญดยอิทช้ไวอาต่ันตมุญดยมยิทท่ืลนิ้อ่นมงามาตี่ยจอเคลโยศอ้พีอากาดทลัยึกกเยเบิ่หามปขเหษกวสทรลขพต็นล่าวานทคัก้ึุนทเใาา่ทอโนสสาธกก๑นงคศั๓กูวตงห็ไค๒โกันกดิารทล๖ลวัไรรดิ้คายยมาหโาเยสหกีรสดมชา่นสนาารนรยตน้อานชุ่ิงมว๒้ไอว่ขิยพเมัมกยสยงท๕ากงง่กนนรกวก๔พวคา้าชาิัิบธติต่๘านลฯงรา์
และศกึ ษารายวชิ าในระดบั บัณฑิตศึกษาอีกไมน่ ้อยกวา่ ๑๒ หน่วยกิต

(ข) แผน ข เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการศึกษารายวิชา โดยไม่ต้องทา
วทิ ยานิพนธแ์ ตต่ อ้ งมีการคน้ คว้าอิสระไม่น้อยกว่า ๓ หนว่ ยกติ และไม่เกิน ๖ หนว่ ยกิต

(๓) หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต แบ่งการศึกษาเป็น ๒ แบบ โดยเน้นการวิจัย
เพ่ือพัฒนานักวิชาการ และนักวิชาชพี ช้นั สงู คอื

(ก) แบบ ๑ เป็นแผนการศึกษาท่ีเน้นการวิจัย โดยมีการทาวิทยานิพนธ์ที่
กอ่ ให้เกดิ ความรู้ใหม่ หลักสูตรอาจกาหนดให้เรียนรายวชิ าเพ่ิมเติม หรือทากิจกรรมทางวชิ าการอ่ืน

เพ่มิ ข้นึ ก็ไดโ้ ดยไมน่ ับหน่วยกิต แต่จะตอ้ งมผี ลสัมฤทธิ์ตามท่ีหลักสตู รกาหนด ดังต่อไปน้ี

แบบ ๑.๑ ผู้เข้าศึกษาท่ีสาเร็จปริญญาตรี ต้องทาวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า

๗๒ หนว่ ยกิต

แบบ ๑.๒ ผู้เข้าศึกษาที่สาเร็จปริญญาโท ต้องทาวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า

๔๘ หน่วยกติ ทั้งน้ี วิทยานิพนธ์ตามแบบ ๑.๑ และแบบ ๑.๒ ต้องมีมาตรฐานและ
คุณภาพเดียวกนั

คค่มู มู่อื อืนนกั กัศศึกึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕ )(1๑(3๑๓)5๕)(

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี รี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

(ข) แบบ ๒ เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัย โดยมีการทาวิทยานิพนธ์
ที่มีคุณภาพสูง และก่อให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพ และศึกษารายวิชาเพ่ิมเติม
ดังต่อไปน้ี

แบบ ๒.๑ ผู้เข้าศึกษาท่ีสาเร็จปริญญาตรี ต้องทาวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า
๔๘ หน่วยกติ และศึกษารายวิชาอีกไมน่ ้อยกว่า ๒๔ หน่วยกติ

แบบ ๒.๒ ผู้เข้าศึกษาท่ีสาเร็จปริญญาโท ต้องทาวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า
๓๖ หน่วยกิต และศึกษารายวชิ าอีกไม่น้อยกว่า ๑๒ หน่วยกติ

ทั้งน้ี วิทยานิพนธ์ตามแบบ ๒.๑ และแบบ ๒.๒ ต้องมีมาตรฐานและ
คณุ ภาพเดียวกัน

ข้อ ๑๒ ระยะเวลาการศึกษา
(๑) หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต และประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง ให้ใช้ระยะเวลา
การศกึ ษาตามหลกั สตู รไม่เกนิ ๓ ปกี ารศึกษา
(๒) หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ให้ใช้ระยะเวลาการศึกษาตามหลักสูตรไม่เกิน ๕
ปกี ารศึกษา
(๓) หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ให้ใช้ระยะเวลาการศึกษาตามหลักสูตรไม่น้อยกว่า
๓ ปกี ารศกึ ษา และอย่างมากสาหรบั นักศึกษาทเ่ี ข้าศึกษาดว้ ยคุณวุฒิทแี่ ตกต่างกันดังตอ่ ไปน้ี

(ก) สาหรับผู้ท่ีเข้าศึกษาด้วยวุฒิปริญญาตรี ให้ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน ๘
ปกี ารศึกษา

(ข) สาหรับผู้ที่เข้าศึกษาด้วยวุฒิปริญญาโท ให้ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน ๖
ปีการศึกษา

(๔) การนับระยะเวลาการศึกษา ให้นับจากวันเปิดภาคการศึกษาแรกท่ีนกั ศึกษา
เข้าศกึ ษาในหลกั สูตร โดยท่มี ีสภาพการเปน็ นกั ศกึ ษาตามขอ้ ๑๖ (๓)

(๕) ในกรณีที่นักศึกษาไม่สามารถสาเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาที่กาหนด
ให้นักศึกษายื่นคาร้องขอขยายเวลาต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเพื่อพิจารณาและเสนอ
คณบดีเพ่ืออนุมัติ ทั้งนี้ การขยายเวลาให้สามารถขอขยายได้คราวละหนึ่งภาคการศึกษา แต่ไม่
เกนิ สองภาคการศกึ ษา

()๑1๓(3๒๖)6) ( คคมู่่มู อือื นนกักั ศศกึกึ ษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี รี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

หมวด ๔
การรบั เข้าเปน็ นักศึกษา ประเภท และสภาพนักศกึ ษา

กเตปกา้อรณริญงอสฑวกยคเญุดมาิทึรดณ์ก่ืมอุงเายมาะรเวศโาท่ัหนก็จทันึเกพใรนขกหทนษรตดาจี่มอรา๑บดัขรกุืดอกศพหอ๙ามเารทึิกงตรกข((รกห๒ื๑อรษีมยาเมอ้ารพลสร)กบ)ารหยี ณิมัก๑าหอรรนเาหุนขทสาุดะ์แล๓วกลคมมดตูัิกล่ทาักาัมกหศบัรระงจยสคึสกาาปสปาาูตนณุอเษ๒ลรกูตรมรนาัคชัยิญสส๕ปรฆใญณตเมถนป๔รญทแาาระบาะร๘มคลาะบกัตะกกพตโะดาันนาิกขรวรรับศเริโรทะอีหากปอจลนรมยศงร็ดุานัดยาียผกาือมรนกชีกรบเู้เเศศาบขาาีายขทัรตกึึรกรชตัญ้าบยีขษรรศมพษศญบัตวบ้าาึกงรึกาหมัตเรรษคัณะททษิมลาตบลาน่าฑ่ีกาชัหสัวเกัคณจพสขากิาตรราูตว่ืออนฑาุชงใกิทรผตงรเัั้กนสิตปทยล้พ๓ถงสราพิตภลาแญิลาูงบาวนบัยเลญยัิณผรทเเันคะทปใืาอู้เยฑตกขณตป็คนนา้ชิตาร้าโเรสะรนื่ีแรอศขนิญถับกศลโมตัึกกลาะรกึรหญปษยบคปรอษาฏีราัืนาอรมวงาาิตบิญมอิททกชว้ัอตแุญดหมยิาที่สิงลมงาราาตายสคะลโกศนบอาทาลัมยึกาเบักเัณขเรีคหรษงสทพต็จอลุฑาณานคุทเกนาุดทอิตโสสธกาคนมงคศังรหมณคโผกศันกศลลบวูั้รดเะึิคกึากยาขัตายกสกีษษรมช้าิอสราารตาาศารื่นชนุง๒้รอขมเึกมักหตะงท๕ากงษงกดวาร๔พคาาชาิืัมบอาร๘นลฯรา
สานักขงอางนสังคคณมะโกดรยรเชม่ือกมา่ันรวข่า้าเรทาคชโนกโาลรยพีแลลเะรอือานชีรวศับึกรษอางเปแ็นลกะรมะีคบุณวนสกมาบรศัตึกิอษ่ืนาตที่าจมาเเปก็นณในฑก์กาารหเสนริดมสขรอ้างง
หลกั สมาตู ตรรฐานคุณภาพ เพอ่ื เปน็ กาลังสาคัญในการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมไทย

(๓) หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ผู้เข้าศึกษาต้องสาเร็จการศึกษา โดยมีคุณสมบัติ
ดังตอ่ ไปน้ี

(ก) สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือสาเร็จการศึกษา
ระดับปริญญาตรหี รือเทียบเท่าที่มีผลการเรียนดีมาก ในสาขาวิชาเดียวกันกับหลักสูตรปริญญา
ดุษฎีบัณฑิตที่ประสงค์จะศึกษา โดยสาเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษาท่ีสานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือสานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนรับรอง และมีผล
การสอบภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์ท่ีคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนด

(ข) มีคุณสมบัติอน่ื ตามทก่ี าหนดไว้ในหลักสตู ร
(ค) ไม่เคยพ้นสภาพจากการเป็นนักศึกษาเนื่องจากการสอบวัดคุณสมบัติไม่ผ่าน
ตามข้อ ๓๒ ในการศกึ ษาระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลยั ในหลักสูตรที่จะเข้าศกึ ษา
ข้อ ๑๔ การรบั เขา้ ศกึ ษา
(๑) วิธีการสมัครเข้าเป็นนักศกึ ษา ใช้วิธีการตามทม่ี หาวิทยาลัยกาหนด โดยอาจมี
การทดสอบความรู้ การสอบคัดเลือก การพิจารณาคัดเลือก หรือโดยวิธีอื่นใดที่คณะ
กรรมการบริหารหลักสูตรเหน็ สมควร และคณะให้ความเหน็ ชอบ

คค่มู ่มูอื อืนนกั กัศศึกึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕ )(1๑(3๑๓)7๗()

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

(๒) ในกรณีที่ผู้สมัครกาลังรอผลการศึกษาระดับปริญญาขั้นใดขั้นหนึ่งอยู่
การรับเข้าศึกษาจะมีผลสมบูรณ์เม่ือผู้สมัครได้แสดงหลักฐานว่าสาเร็จการศึกษาแล้วก่อนวัน
รายงานตวั เป็นนกั ศกึ ษาตามวันและเวลาท่ีมหาวิทยาลยั กาหนด

(๓) คณะอาจพิจารณาอนุมตั ใิ หร้ บั นักศกึ ษาระดับบัณฑิตศกึ ษาจากมหาวทิ ยาลัยหรือ
สถาบันอุดมศึกษาอ่ืนลงทะเบียนเรียนรายวิชาตามความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหาร
หลกั สูตร และปฏบิ ัติตามระเบยี บหรือประกาศมหาวทิ ยาลัยท่เี กี่ยวข้อง

(๔) คณะอาจพิจารณาอนุมัติให้รับบุคคลภายนอกที่ไม่ใช่นักศึกษาระดับ
บณั ฑิตศึกษาเข้าเปน็ นกั ศกึ ษาพิเศษตามความเหน็ ชอบของคณะกรรมการบริหารหลกั สูตร แต่บุคคล
นัน้ ต้องมคี ุณวุฒิและคุณสมบตั ิตามขอ้ ๑๓

ข้อ ๑๕ การขึ้นทะเบียนเปน็ นักศึกษา
(๑) ผู้ท่ีได้รับการคัดเลือกเข้าเป็นนักศึกษา มีสภาพเป็นนักศึกษาต่อเม่ือได้ขึ้น
ทะเบียนเปน็ นกั ศึกษาแลว้
(๒) ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกเข้าเป็นนักศึกษา ต้องขึ้นทะเบียนนักศึกษาด้วย
ตนเองโดยนาหลักฐานตามท่ีมหาวิทยาลัยกาหนดมารายงานตัวต่อแผนกทะเบียนนักศึกษาของคณะ
หรือมหาวทิ ยาลยั พร้อมทัง้ ชาระเงนิ ตามระเบยี บทมี่ หาวิทยาลยั กาหนด
(๓) ผู้ท่ไี ด้รับการคัดเลอื กเข้าเป็นนักศกึ ษาที่ไม่อาจมาข้ึนทะเบียนตามวัน เวลา และ
สถานท่ีท่ีมหาวิทยาลัยกาหนด ให้หมดสิทธิ์ขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา เว้นแต่ได้แจ้งเหตุขัดข้องให้
มหาวิทยาลัยทราบเป็นลายลักษณ์อักษรภายในวันที่กาหนดให้มารายงานตัว และเม่ือได้รับอนุมัติ
แลว้ ตอ้ งมารายงานตวั ภายใน ๗ วนั นบั จากวันสดุ ท้ายทมี่ หาวทิ ยาลยั กาหนดให้มารายงานตวั
(๔) ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกให้เข้าเป็นนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของ
มหาวิทยาลัยจะข้ึนทะเบยี นเป็นนกั ศึกษาเกนิ กว่า ๑ สาขาวชิ าในขณะเดยี วกันไม่ได้
ข้อ ๑๖ ประเภทนักศึกษา สถานภาพการเป็นนักศึกษา และการเปลี่ยน
ประเภทและสถานภาพการเป็นนักศกึ ษา
(๑) นักศึกษา มี ๓ ประเภท ดงั ต่อไปนี้

(ก) นกั ศึกษาภาคปกติ ได้แก่ นักศึกษาทศี่ ึกษาในระบบการศกึ ษาตาม
ขอ้ ๘ (๑)

(ข) นักศึกษาภาคสมทบ ได้แก่ นกั ศึกษาท่ีศึกษาในระบบการศกึ ษาตาม
ขอ้ ๘ (๒)

(ค) นกั ศกึ ษาภาคพิเศษ ไดแ้ ก่ นกั ศึกษาที่ศึกษาในระบบการศกึ ษาตาม
ขอ้ ๘ (๓)

()๑1๓(3๒๘)8) ( คค่มู่มู อือื นนกักั ศศึกึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยีรรี าาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

(๒) การเปลย่ี นประเภทนกั ศึกษา
(ก) ในกรณีที่มีเหตุผลและความจาเป็นอย่างย่ิง คณะอาจอนุมัติให้นักศึกษา

ภาคปกติเปล่ียนประเภทเป็นนักศึกษาภาคสมทบหรือนักศึกษาภาคพิเศษได้ ทั้งนี้ นักศึกษาต้อง
ปฏิบัติตามข้อบังคับและระเบียบต่าง ๆ รวมทั้งชาระค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับการเป็น
นักศกึ ษาภาคสมทบหรอื ภาคพิเศษ ตามจานวนท่ีกาหนดไวใ้ นแตล่ ะหลักสูตร

มห(าขว)ิทนยักาลศัยึกเษทาคภโนาโคลสยมีรทาชบมหงรคือลนกักรุงศเึกทษพาภเปา็คนพสถิเศาบษันไมอ่สุดามมศาึกรษถาเปสลังก่ียัดนสปารนะักเภงาทน
เป็นนคกั ณศะึกกษรรามภกาาครปกการตอิไดุดม้ ศึกษา ตามพระราชบัญญตั ิมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘

เม่ือวันท่ี ๑๙ มกร(คา)คนมกั ศ๒กึ๕ษ๔า๘ภาคเปส็นมกทาบรไรมว่สมาตมัวาขรอถงเป๓ลว่ียิทนยปารเะขเตภทคืเอปว็นิทนยักาศเขกึ ตษเาทภคานคิคพกิเรศุงษเทไดพ้ ฯ
วิทยาเขตบพิต(๓รพ)ิมสุขถมาหนาภเมาพฆกแาลระเวปิทน็ ยนาักเขศตึกพษราะนมคดี รงั ใต่้อภไปายนใี้ ต้ชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพ จดั การเรีย(นกก)ารนสักอศนึกในษราะสดาบั มอัญดุ มหศมึกาษยาถหึงลกัผสู้ทตู ี่ครณประญิ รญับาเขต้ารีแเปล็นะปนรักญิ ศญึกาษโาทโดหยลาสกมหบลูราณยส์เพาข่ือาเวขชิ ้าา
ศกึ ษายใึดนมห่ันลใกันสอูตุดรมใกดาหรลณกั ์แสลตู ะรปหรันชญง่ึ า การจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ ตอบสนองความต้องการ
ของสังคม โดยเช่ือ(มขั่น) วน่าักเทศคึกโษนาโลทยดีแลลอะงอเราียชีนวศหึกษมาาเยปถ็นึงกผรู้ทะบี่ควณนะกราับรศเขึก้าษเปาท็น่ีจนาักเปศ็นึกใษนากทาดรเลสอรงิมเสรรีย้านง
ในภามคากตารฐราศนึกคษณุ าภแารพกตเาพม่ือเเงป่ือ็นนกไาขลทังสี่กาาคหัญนในดกายรกพเฒัว้นนาหเศลรักษสฐูตกริจปแลระิญสญังคามมไทหยาบัณฑิต แบบ ก ๑ และ
หลักสูตรปริญญาดษุ ฎีบณั ฑิต แบบ ๑ มใิ ห้มีนักศกึ ษาทดลองเรยี น

(ค) นักศึกษาพิเศษ หมายถึง ผู้ท่ีคณะรับเข้าร่วมศึกษาหรือทาการวิจัย
โดยไม่ขอรับปริญญาของมหาวิทยาลัย คณะอาจพิจารณารับบุคคลเข้าเป็นนักศึกษาพิเศษได้ โดย
อยู่ในดุลพินจิ ของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและไดร้ ับอนุมัติจากคณบดีให้เข้าศึกษาหรือทาการ
วิจัยได้ โดยต้องชาระเงินตามระเบียบหรือประกาศของมหาวทิ ยาลยั ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง

(๔) การเปลี่ยนสถานภาพการเป็นนักศึกษา นักศึกษาทดลองเรียนท่ีเข้าศึกษา
ในภาคการศึกษาแรกและลงทะเบียนเรียนวิชาในระดับบัณฑิตศึกษาตามเกณฑ์ท่ีกาหนด และสอบ
ได้คะแนนเฉล่ียสะสมไม่ต่ากว่า ๓.๐๐ สามารถเปล่ียนสถานภาพการเป็นนักศึกษาสามัญได้เม่ือสิ้นสุด
ภาคการศกึ ษาแรก โดยยน่ื คาร้องต่อคณะ มฉิ ะนัน้ ให้พน้ สภาพการเปน็ นกั ศึกษา

หมวด ๕
การบริหารหลกั สูตร

ข้อ ๑๗ คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร
(๑) ในแต่ละหลักสูตร ให้คณบดีแต่งตั้ง “คณะกรรมการบริหารหลักสูตร
(ช่ือหลักสูตร)” จานวนไม่น้อยกวา่ ๓ คน ประกอบด้วย

คค่มู ่มูอื อืนนกั กัศศึกึกษษาา ๒๒๕๕๖๖๕๕ )(1๑(3๑๓)9๙()

มมหหาาววิทิทยยาาลลยั ยั เทเทคคโนโนโลโลยยรี ีราาชชมมงงคคลลกกรรงุ งุเทเทพพ

(ก) คณบดีหรือผซู้ ึง่ คณบดีมอบหมาย เป็นประธานกรรมการ
(ข) อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลักสูตร เป็นกรรมการ
(ค) อาจารย์ประจาหลักสูตร หรืออาจารย์ประจา หรือผู้ทรงคุณวุฒิ
ภายนอกมหาวิทยาลัยในสาขาวิชาทเี่ กยี่ วขอ้ ง เป็นกรรมการ
(๒) ให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรมีวาระการดารงตาแหน่งคราวละ ๓ ปี
และอาจได้รบั แตง่ ต้งั ใหมอ่ ีกได้
(๓) คณะกรรมการบริหารหลกั สูตรมีอานาจและหน้าท่ี ดงั ต่อไปน้ี
(ก) บริหารจัดการหลักสูตรให้สอดคล้องกับนโยบายของคณะและ
มหาวทิ ยาลัย
(ข) ควบคุมมาตรฐานของหลักสูตรสาขาวิชาท่ีรับผิดชอบให้เป็นไปตาม
ข้อบังคับน้ี และตามมาตรฐานวชิ าชีพ (ถ้ามี)
(ค) กากบั และดูแลการสอนและการสอบของหลักสตู ร
(ง) กาหนดระบบประกันคุณภาพสาหรับหลักสูตรให้ชัดเจน โดยให้การ
ดาเนนิ งานของหลกั สูตรเปน็ ไปตามระบบการประกันคณุ ภาพหลกั สตู รของมหาวิทยาลัย
(จ) จัดใหม้ กี ารประเมินและปรบั ปรงุ มาตรฐานคณุ ภาพการศกึ ษาอยา่ งนอ้ ยทุก ๆ
๕ ปี
(ฉ) ปฏบิ ตั หิ นา้ ทีอ่ ่นื ตามทค่ี ณบดีมอบหมาย
ขอ้ ๑๘ จานวน คุณวฒุ ิ และคณุ สมบัติของอาจารย์
(๑) ประกาศนยี บัตรบณั ฑติ
(ก) อาจารย์ประจาหลักสูตร มีคุณวุฒิขน้ั ต่าปรญิ ญาโทหรือเทียบเท่า และมี
ผลงานทางวิชาการท่ีไม่ใช่ส่วนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่
ได้รับการเผยแพร่ ตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนดในการพิจารณาแต่งต้ังให้บุคคลดารงตาแหน่งทาง
วิชาการ อย่างน้อย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย ๑ รายการต้องเป็น
ผลงานวจิ ัย

สาหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิชาชีพ อาจารย์ประจา
หลักสตู รตอ้ งมคี ณุ สมบตั ิเปน็ ไปตามมาตรฐานวิชาชีพนั้น ๆ

(ข) อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จานวนอย่างน้อย ๕ คน มีคุณวุฒิ
ปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขัน้ ต่าปริญญาโทหรือเทยี บเทา่ ท่มี ีตาแหน่งรองศาสตราจารย์ และ


Click to View FlipBook Version