)2(๒4)0( ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕
(๒๔๐ม)หาวคิทมู่ ยอื านลกัยั ศเทึกคษโานโ๒ลย๕ีร๖าช๕มงคลกรงุ เทพ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
(6) ถกู ลงโทษทางวินยั ตามข้อบังคับหรอื ระเบียบของมหาวทิ ยาลัย
(7) อธิการบดมี ีคาส่งั ใหพ้ ้นจากตาแหนง่ โดยระบคุ วามผดิ ไว้อยา่ งชดั แจ้ง
ข้อ 29 ในกรณีท่ีสมาชิกภาพของสมาชิกสภานักศึกษาส้ินสุดลง ในขณะที่ยังเหลือ
ระยะเวลาเกิน 60 วนั ให้ทาการเลอื กตงั้ ซ่อมให้เสรจ็ สิน้ ภายใน 20 วัน หลังจากสมาชิกภาพส้ินสุด
ลง
ข้อ 30 มอหาธวิกิทายราบลดัยีเเทปค็นโผนู้ลโลงยนีราามชมแงตค่งลตก้ังรแุงลเทะพถอเดป็ถนอสถนาสบมันาอชุดิกมสศึภกษาานัสกังศกึกัดษสาานทักี่ดงาารนง
ตาแหคนณง่ ะตกา่ รงรๆมการการอุดมศึกษา ตามพระราชบัญญตั ิมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘
เม่ือวันขทอ้ ี่ ๑3๙1 มใกหร้มาีกคามรป๒ร๕ะช๔ุม๘สมเยัปส็นากมาัญรรขวอมงตสัวภขาอนง ัก๓ศวกึ ิทษยาาอเยขต่างคนือ้อยวิทภยาาคเกขาตรเทศึคกนษิคาปกรกุงตเทลิ พะฯ1
คสมรง้ััยสกยวาิทึรดมงุยมเัญาทั่นเขขพขใขน้้อออตจองบดั33ุดสกพม23ภาิตกราราเนอรพรกียกัธณิมานิกศุขร์แกาึกมกลารษหระาบสาาปหดอเรนมนีัชฆหดใญนรรแารือะละรกยะดอาวะบั รงิทเอจอวยดุัดลธามกิกเาศขากากึรตราษศพบราึกรดปหษะลีรานหกัะเคพสรชรตูืื่ออุใมรผผตปสลู้้ทราิตภี่ไญิ มบดาญัญยัณ้รใัาบฑตตสม้ชิตรมอื่ีแอนับลยมักะหหหปปามฏนรวิบาึ่ิญงิทยๆัตญยเิ ปาาตใลโห็นอทัยบ้สผเหสทู้ภเลปนคาาิดอโนกนงปหักคโิดลลศวากยาึกยีรามสษารตาชปา้อขมเรงาปงกะวค็นชาิชลราผุมู้
กาหนขดองสังคม โดยเชื่อมั่นว่าเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเป็นกระบวนการศึกษาท่ีจาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตรฐขาอ้ นค3ุณ4ภาพการเปพร่ือะเปชน็ุมกสามลัยงสวาสิ คาัญมใญั นกขาอรงพสัฒภนาานเศกั รศษกึ ฐษกาจิ ใแหล้มะสไี ดังค้ ดมไังทตย่อไปนี้
(1) อธกิ ารบดี / รองอธิการบดี / ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดี เรียกประชุม
(2) ประธานสภาเรียกประชมุ
(3) สมาชิกสภานักศกึ ษาไมน่ ้อยกว่าหน่ึงในสามของจานวนสมาชิกทงั้ หมดเขา้ ชื่อ
ร้องขอตอ่ ประธานสภาให้เรยี กประชมุ
(4) นายกองค์การนักศึกษาร้องขอต่อประธานสภาให้เรียกประชุมตามมติของ
คณะกรรมการบริหาร
(5) สโมสรนักศึกษาคณะใดคณะหนึ่งร้องขอต่อประธานสภาให้เรียกประชุมแต่
ทงั้ น้ตี ้องได้รบั การรบั รองจากสมาชิกสภานกั ศึกษาไม่นอ้ ยกว่า 5 คน
(6) นกั ศึกษาไม่น้อยกวา่ 300 คน ลงช่ือรอ้ งขอต่อสภานกั ศกึ ษาใหเ้ รียกประชมุ
ข้อ 35 ในการประชมุ สมัยสามัญของสภานักศึกษาสมัยที่หนึ่งให้สมาชิกสภานักศกึ ษาที่
เข้าประชุมเลือกผู้ทาหน้าท่ีประธานชั่วคราวคนหน่ึง จากคะแนนเสียงข้างมาก หากคะแนนเสียง
เท่ากันให้มีการเลือกใหม่จากผทู้ ไี่ ด้รบั คะแนนเสียงเท่ากันนน้ั
ข้อ 36 สมาชิกสภานักศึกษาจะดารงตาแหน่งในสภานักศึกษา ตามข้อ 14 ได้เพียง
ตาแหน่งเดยี ว
ข้อ 37 การประชุมสภานักศึกษาต้องมีสมาชิกสภานักศึกษาเข้าประชุมไม่น้อยกว่าก่ึง
หน่งึ ของจานวนสมาชกิ สภานกั ศึกษาท้งั หมดจงึ จะเป็นองคป์ ระชุม
คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕ )2(๑4)1(
มหาวิทยาลยั เทคโนคโ่มลู ยอื นรี ากั ชศมึกงษคาล๒กร๕งุ ๖เท๕พ (๒๔๑)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ในกรณีที่สมาชิกสภานักศึกษาเข้าร่วมประชุมไม่ครบองค์ประชุมให้เรียกประชุมอีก
คร้ัง ในการประชุมครั้งหลังน้ีถ้ามีผู้ประชุมไม่ต่ากว่าหนึ่งในสี่ของจานวนสมาชิกสภานักศึกษา
ทง้ั หมดให้ถอื ว่าครบองค์ประชมุ
ในกรณีท่ีสมาชิกสภานักศึกษาขาดการประชุมสามคร้ัง โดยไม่แจ้งให้ประธานสภา
ทราบล่วงหน้าเป็นลายลักษณ์อักษร ให้สภานักศึกษาเสนอชื่อบุคคลน้ันต่ออธกิ ารบดี เพื่อพิจารณา
ถอดถอนชอื่ ออกจากการเป็นสมาชกิ สภานกั ศึกษา
ข้อ 38 การนัดประชุมให้แจ้งวัน เวลาสถานท่ี และระเบียบวาระการประชุมให้
สมาชิกทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน สาหรับการประชุมสมัยสามัญ และไม่น้อยกว่า 3 วัน
สาหรับการประชุมสมยั วสิ ามญั
ข้อ 39 การลงมติของสภานักศึกษาให้ถือเอาเสียงข้างมากของสมาชิกสภานักศึกษา
ที่เขา้ ประชุม ในกรณีทค่ี ะแนนสยี งเท่ากนั ใหป้ ระธานที่ประชุมตัดสนิ ชี้ขาด
ขอ้ 40 ถ้าสภานักศึกษามีมติแยง้ กบั มติคณะกรรมการบริหารองค์การนักศึกษา และ
สภานักศกึ ษาต้องการยืนยันมติน้ัน ให้เรียกประชุมสภานักศกึ ษา เพื่อพิจารณายืนยันมตเิ ดิมอีกครั้ง
หนึ่งภายใน 7 วัน หลังจากการประชุมครั้งก่อน การลงมติในการลงประชุมคร้ังท่ีสองนี้ต้องได้
คะแนนเสียงไมน่ ้อยกวา่ สองในสามของจานวนสมาชิกสภานกั ศึกษาทงั้ หมด
ขอ้ 41 การใช้จ่ายงบประมาณของสภานักศึกษา ให้ประธานสภากบั เลขานุการสภา
นักศึกษา หรือบุคคลที่ประธานมอบหมายเป็นผู้เบิกจ่ายและแจ้งให้สภานักศึกษาทราบ และให้ทา
บัญชรี บั -จา่ ย ตลอดสมัยการประชมุ เสนอสภานักศึกษา
หมวดที่ 6
องค์การนักศึกษา / สโมสรนักศกึ ษา
ข้อ 42 การดาเนินงานขององค์การนักศึกษาหรือสโมสร ต้องไม่ขัดต่อกฎหมายและ
ระเบยี บใดๆ ของทางราชการ
ข้อ 43 ให้นักศึกษาของมหาวิทยาลัยที่กาลังศึกษาอยู่ทั้งหมดเป็นสมาชิก และต้อง
เสยี ค่าบารงุ องค์การนกั ศึกษา/สโมสรนักศึกษา (คา่ กจิ กรรมนกั ศึกษา)
ข้อ 44 สมาชิกมีสิทธิเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ซ่ึงองค์การหรือสโมสร จัดให้มีข้ึน และ
ใช้ประโยชน์ของอาคารสถานที่ และบริการต่างๆ ซ่ึงองค์การหรือสโมสรอานวยให้ ทั้งนี้ภายใต้
ขอ้ บังคับของระเบยี บน้ี
ข้อ 45 สมาชิกมีสิทธิจะเสนอข้อคิดเห็นอันเป็นประโยชน์ต่อการดาเนินงานและ
ความเจรญิ กา้ วหน้าขององคก์ ารหรือสโมสร
ข้อ 46 สมาชิกภาพของสมาชกิ จะส้นิ สดุ ลงเม่อื พน้ สภาพการเป็นนักศกึ ษา
)2(๒4)2( คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕
(๒๔๒ม)หาวคิท่มู ยอื านลกัยั ศเทกึ คษโานโ๒ลย๕ีร๖าช๕มงคลกรงุ เทพ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ขอ้ 47 ให้องค์การหรือสโมสรดาเนินงานโดยมคี ณะกรรมการบริหาร เจ้าหน้าที่องค์การ
หรอื สโมสรและประธานกิจกรรมต่างๆ
ข้อ 48 ให้มีคณะกรรมการบรหิ าร ดังนี้
(1) องค์การนักศึกษา ประกอบด้วย นายกองค์การนักศึกษา อุปนายกฯ คนที่ 1
อปุ นายกฯ คนท่ี 2 เหรัญญิก เลขานกุ าร ประธานกจิ กรรม และนายกสโมสรนกั ศึกษาจากทุกคณะ
(2ม)หาสวโิทมยสารลนัยักเศทกึคษโนาโใลนยแีรตา่ลชะมคงคณละกรปุงรเะทกพอบเปด็น้วยสถนาาบยันกอสุดโมมศสึกรษนากั สศังึกกษัดาสอานุปักนงาายนก
ฯ คนคทณ่ี ะ1กรอรุปมนกาารยกการฯอดุคมนศทึกี่ษ2า ตเหามรพัญรญะริกาชเบลญั ขญานัตุกิมหาราวปิทยราะลธัยาเนทคกโิจนกโลรยรีรมาชแมลงคะลผู้แพทุทนธนศักกรศาึกชษ๒า๕จ๔า๘ก
สาขาเวมชิ ื่อาวตัน่าทง่ีๆ๑๙ มกราคม ๒๕๔๘ เป็นการรวมตัวของ ๓ วิทยาเขต คือ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ
กคแตาณร่งะตเกยวงอั้งิิทึนรดหนงุยมแเรุกาทั่นลือเรขพใขะในร้อหตจกมอบดั้พ4าุดกกพร้นม9าาิตพกจรรราัเาสตรกพรก่ดายี าณิมหงนุรุข์แใๆกนแมหลา้ตาหกระ้ผท่งสาปาู้ดตี่ออเรรมา้ังนาัชจฆรกจใญัดนงราแาตตรรรละมั้างยกะดหแก์ทาวบั รหาินท่ีปอจรยน่วดุรัดดามึกย่งกาเศดษงขาเกึานรัตงาษนศตพกินาึก่ออรรกหษะรงไาลานมปครกัเคก์เกพนสลราตู่ืาอ้ีเือใรปรรผตกบปห็ลน้ ตรริตภรผญิั้ิหงบือาู้มญายัณกสีอรใาาโฑตตามรเ้ชิตรนจแสื่ีแอน้าาตลรมักหจ่งะหปพกนตปาฏั้าง้ริาจวิบญิครทิทาัตแณญ่ีอรยิ ตณางาตะลค่โงอกทาัยต์กบรอเั้หงารสทนผรลมนคุหมู้าตกอโกันรตงราหือคโิรวลลสแวบจายาโลรยสีรมมิหสะอาตสาชอาบ้อรขมรื่นงาบงกแวๆกคัญชาิลาลราทะชรีี่
เกยี่ วขขออ้ งงสกังัยคงมานโดกยิจเกชร่ือรมม่ันนวัก่าเศทกึ คษโนาโลยีและอาชีวศึกษาเป็นกระบวนการศึกษาที่จาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตรฐานคณุ ภ(1าพ) อเพง่ือคเ์กป็นารกนาลักังสศาึกคษัญาในเกปา็นรพอฒั านนาาเศจรขษอฐงกอจิ แธลิกะาสรังบคมดไีทหยรือรองอธิการบดี/ผู้ช่วย
อธิการบดี หรือผทู้ ่อี ธิการบดีมอบหมาย
(2) สโมสรนกั ศกึ ษาของคณะ/วทิ ยาลัย เปน็ อานาจของคณบด/ี ผอู้ านวยการ
ขอ้ 50 ให้คณะกรรมการบริหารมหี น้าทีด่ งั นี้
(1) พิจารณาและวางแผนการดาเนินงานขององค์การหรือสโมสรให้เป็นไปตาม
วัตถปุ ระสงค์ทีร่ ะบุไวใ้ นขอ้ 9 แหง่ ขอ้ บงั คบั นี้
(2) รับผดิ ชอบรว่ มกันในการบริหารกจิ กรรมขององค์การ หรอื สโมสร
(3) พิจารณาจัดสรรและรับผิดชอบการใช้จ่ายเงินงบประมาณขององค์การหรือ
สโมสรใหเ้ กิดประโยชน์แกน่ กั ศกึ ษาโดยส่วนรวม
(4) ควบคุมการใช้จา่ ยเงนิ ให้ถูกตอ้ งตามระเบียบและประหยดั
(5) วางระเบียบข้อบังคับ ข้อปฏิบัติ หลักเกณฑ์ หรือข้อแนะนาเกี่ยวกับการ
ดาเนินงานภายในองค์การหรอื สโมสรที่ไมข่ ดั แย้งต่อขอ้ บังคับน้ี
(6 ) เสน อแต่งต้ังห รือถอดถอน เจ้าห น้าที่องค์การ ห รือสโมสร และ
คณะอนุกรรมการต่างๆ ในคณะกรรมการบริหารตอ่ ผมู้ อี านาจตามข้อ 49 เพอ่ื พิจารณาอนุมัติ
(7) พิจารณาขอจัดตง้ั หน่วยงานในองค์การหรือสโมสร กิจกรรมชมรมต่างๆ เพ่ือ
เสนอผมู้ อี านาจตามขอ้ 49 พิจารณาอนุมตั ิ
ขอ้ 51 นายกองคก์ ารหรอื นายกสโมสร มหี น้าท่ดี ังนี้
(1) เปน็ ผ้แู ทนขององคก์ ารหรอื สโมสร
(2) เป็นประธานของท่ปี ระชมุ
ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕ )2(๑4)3(
มหาวิทยาลยั เทคโนคโม่ลู ยอื นีรากั ชศมึกงษคาล๒กร๕งุ ๖เท๕พ (๒๔๓)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
(3) ดูแลดาเนินงานขององค์การหรือสโมสรให้เป็นไปตามมติของ
กรรมการบรหิ าร
ขอ้ 52 อุปนายกองค์การ หรืออุปนายกสโมสร มหี น้าท่ดี ังน้ี
(1) ทาหน้าท่ีแทนนายกองค์การหรือนายกสโมสร ในกรณีท่ีนายกองค์การ
หรอื นายกสโมสรไมอ่ ยู่หรือไมส่ ามารถปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ได้
(2 ) ป ฏิ บั ติห น้ าที่ ตามท่ี น ายกองค์การห รือน า ยกสโมสร ห รือ
คณะกรรมการบริหารมอบหมาย
ข้อ 53 เหรัญญกิ มีหนา้ ทด่ี งั นี้
(1 ) เป็นประธานคณ ะอนุกรรมการการเงินและบัญ ชีของคณ ะ
กรรมการบริหาร
(2) เสนอแผนงบประมาณประจาปตี อ่ คณะกรรมการบริหารเพื่อพิจารณา
(3) ควบคุมและรับผิดชอบการเงินให้เป็นไปตามระเบียบ และ/หรอ
หลักเกณฑ์ในสว่ นทีว่ ่าด้วยการเงิน
(4) ควบคุมการเบิกและใช้จ่ายเงินขององค์การหรือสโมสรให้เป็นไปตาม
ระเบียบ และ/หรอื หลกั เกณฑ์
(5) เสนองบรายรับรายจ่ายประจาเดือน และงบรายรับรายจ่ายประจาปี
ตอ่ คณะกรรมการบริหาร
ขอ้ 54 เลขานุการ มีหน้าที่จัดเตรียมการประชุม ของคณะกรรมการบริหารและ
ทาหนา้ ทหี่ ัวหนา้ แผนกเลขานุการโดยตาแหน่ง
ขอ้ 55 ประธานกจิ กรรม มหี นา้ ทดี่ งั นี้
(1) เป็นประธานกิจกรรมตามท่ไี ด้รับแต่งตั้ง
(2) เป็นผู้ปรานการดาเนินงานระหว่างฝ่ายกิจกรรมกับหน่วยงานอ่ืนของ
องคก์ ารหรอื สโมสร
(3) เป็นผปู้ ระสานการดาเนินงานระหวา่ งฝ่ายกิจกรรมกบั ชมรมตา่ งๆ
(4) ติดตามผลการดาเนินงานของฝา่ ยกจิ กรรมและชมรม
(5) ทาหนา้ ท่อี ืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบรหิ ารมอบหมาย
ขอ้ 56 ผแู้ ทนนกั ศกึ ษา มีหน้าทีด่ ังนี้
(1) เป็นผแู้ ทนของนักศกึ ษาแต่ละสาขาวิชา
(2) เป็นผู้ประสานงานกิจกรรมนักศึกษาระหว่างนักศึกษาในแต่ละ
สาขาวิชา
(3) เป็นผู้ดาเนินงานในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมนักศึกษาในแต่ละ
สาขาวชิ า
)2(๒4)4( คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕
(๒๔๔ม)หาวคิทมู่ ยอื านลกัยั ศเทกึ คษโานโ๒ลย๕ีร๖าช๕มงคลกรงุ เทพ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
(4) ทาหน้าท่ีอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบรหิ ารมอบหมาย
ข้อ 57 การประชุมคณะกรรมการบริหาร ตอ้ งมีการประชุมสามัญอย่างน้อยปีการศกึ ษา
ละ 2 คร้ังในระหว่างเปิดภาคเรียน การประชุมคราวแรกให้นายกองค์การหรือนายกสโมสรเป็นผู้
กาหนด สว่ นการประชุมคร้ังต่อไปใหท้ ป่ี ระชมุ เปน็ ผู้กาหนด
ข้อ 58 การประชุมวิสามัญ จะกระทาได้โดยการได้รับความเห็นชอบของผมู้ ีอานาจตาม
ขอ้ 49 ในกรณีดังตมอ่ หไาปวนิท้ี ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เป็นสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะกรรมการ(ก1า)รอนดุ ามยศกึกอษงาคต์กาามรพหรระอืรานชาบยัญกญสตัโมิ สหราวเริทียยกาลปัยรเะทชคุมโนวโิสลายมีราัญชไมดง้คล พุทธศักราช ๒๕๔๘
เม่ือวันท่ี ๑๙(2ม)กรคาคณมะก๒ร๕รม๔ก๘ารเบปร็นิหกาารรรเขว้มาชต่ืัอวขกอันงม๓ีจาวนิทวยนาเไขมต่นค้อือยกวิทว่ายา1เขตในเท3คนขิคอกงรจุงเาทนพวฯน
เคลณขะานกยกวิทึรดรุกงุรยมาเมาท่ันรเใขกอพใขนน้อางตจกอครบดั ุรบด5ก์ กพณมรา9าิตกิหรรีทรหาเาี่รนพรรรใยี ณิามนทือนยุข์แเกั้งกลกมหลาาขอหระมราสงาปดปนคอเรมรรนุก์กัช้อฆะใญาานงรชรแขารสหุลมะอกโะรดใใมาวือับหหรสิทนอ้น้นจรยดุาัดาเาามยปยกเยศกขน็ากกกึรตสอเษศอลพโงาึกมขงครหษคสาะ์กลนานร์กากัเไกุครพาสมราหรตูื่อ่มใรรรหผตขาปอืล้รปอรสิตภือญิรงโบานทะมญยัณช่ีปสาใาฑุมตยรรต้ชิเตะรกรใื่ีแอชนหสยี ลมัุมกก้อโะหปมปุปปาฏสรรนวิบิญะิรทาัตชญทยยิ มุาากาตลโหอคทัยบนนเหสทท้าลนคี่ทา1อโกี่นปงหคโทรลลวาะายาหยธีรมสนาาตาชน้า้อขมทงางแกวี่เคปชาิลลรา็นะ
ประธขาอนงใสนังกคามรโปดรยะเชช่ือุมมคั่นรวา่าวเนทั้นคโนหโาลกยทีแั้งลนะาอยากชีวอศงึกคษ์กาาเรปแ็นลกะรนะาบยวกนสกโามรศสึกรษแลาทะี่จอาุปเปน็นายในกกคานรเทสี่ ร1ิมสไรม้า่มงา
ประชมุมาตใหรฐ้อาุปนนคุณายภกาพคนทเพ่ี อื่2เปทน็ ากหาลนงั ้าสทาคี่เปัญ็นในปกราะรธพาฒั นนใานเศกราษรฐปกริจะแลชะุมสคงั รคามวไทนยั้น และหากนายกองค์การ
หรือนายกสโมสรและอปุ นายกทั้ง 2 คน ไมม่ าประชมุ ให้ท่ีประชุมเลือกกรรมการบรหิ ารคนหนึง่ คน
ใดเป็นประธานสาหรับการประชมุ คราวนั้น
ในกรณีเลขานกุ ารไม่มาประชุม ให้ประธานท่ีประชุมแตง่ ตั้งกรรมการผู้หนง่ึ ผู้ใดทาหน้าที่
เลขานกุ ารสาหรบั การประชมุ คราวน้นั
ข้อ 60 ในการประชุมทุกคราว ต้องมีกรรมการเข้าประชุมไม่ต่ากว่าก่ึงหน่ึงของคณะ
กรรมการบรหิ ารท้งั หมด จงึ เป็นองคป์ ระชุม
ขอ้ 61 การลงมติใดๆ ในที่ประชุมให้ถอื คะแนนเสยี งขา้ งมาก หากมีคะแนนเสียงเท่ากัน
ใหป้ ระธานในทีป่ ระชมุ ออกเสียงชขี้ าด
ข้อ 62 มติใดๆ ของคณะกรรมการบริหาร จะเปล่ียนแปลงได้ต่อเมื่อมีการลงมติใหม่
ดว้ ยคะแนนเสยี งไมน่ อ้ ยกว่า 2 ใน 3 ของจานวนกรรมการบริหารทเี่ ขา้ ประชุม
ข้อ 63 ในการประชุมทุกคราว จะต้องมอี าจารย์ที่ปรกึ ษาองคก์ ารหรืออาจารย์ที่ปรึกษา
สโมสรเขา้ รว่ มประชุมดว้ ย
ข้อ 64 ให้มีเจ้าหน้าที่องค์การหรือเจ้าหน้าท่ีสโมสร ประกอบด้วยตาแหน่งต่างๆ ดังนี้
หัวหน้าแผนกเลขานุการ หัวหน้าแผนกประชาสัมพันธ์ หัวหน้าแผนกสวัสดิการ หัวหน้าแผนก
ปฏิคม หัวหน้าแผนกพัสดุ หัวหน้าแผนกแสงเสียง หัวหน้าแผนกศิลปกรรม สาราณียกร
บรรณารักษ์ และหัวหน้าแผนกอ่ืนๆ ที่คณะกรรมการบริหารเห็นสมควรให้มี โดยอยู่ในความ
ควบคมุ ของคณะกรรมการบรหิ าร
คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕ )2(๑4)5(
มหาวิทยาลยั เทคโนคโ่มลู ยอื นรี ากั ชศมึกงษคาล๒กร๕งุ ๖เท๕พ (๒๔๕)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ขอ้ 65 หวั หน้าแผนกเลขานุการ มหี นา้ ทดี่ ังน้ี
(1) รบั - สง่ และโตต้ อบหนังสอื ขององค์การหรอื สโมสร
(2) ควบคมุ และรบั ผดิ ชอบงานสารบรรณขององค์การหรือสโมสร
(3) หน้าที่อ่นื ๆ ตามทคี่ ณะกรรมการบรหิ ารมอบหมาย
ขอ้ 66 หวั หน้าแผนกประชาสัมพนั ธ์ มีหน้าท่ีดังน้ี
(1) ประชาสมั พันธ์กิจการขององคก์ ารหรอื สโมสร
(2) หน้าที่อน่ื ๆ ตามทค่ี ณะกรรมการบรหิ ารมอบหมาย
ข้อ 67 หัวหนา้ แผนกสวัสดิการ มีหนา้ ทีด่ ังน้ี
(1) สง่ เสรมิ สวัสดิการท่วั ไปของนกั ศกึ ษา
(2) ประสานงานด้านสวสั ดกิ ารทั่วไปของนักศกึ ษา
(3) หนา้ ทอ่ี น่ื ๆ ตามทค่ี ณะกรรมการบริหารมอบหมาย
ข้อ 68 หัวหนา้ แผนกปฏคิ ม มหี นา้ ทด่ี ังน้ี
(1) ตอ้ นรบั และอานวยความสะดวกแกผ่ ทู้ ่มี าติดตอ่ กับองค์การหรอื สโมสร
(2) หนา้ ทอี่ นื่ ๆ ตามที่คณะกรรมการบริหารมอบหมาย
ข้อ 69 หวั หนา้ แผนกพสั ดุ มหี นา้ ทด่ี งั น้ี
(1) รบั ผดิ ชอบทรัพยส์ นิ อันเปน็ สมบตั ขิ ององค์การหรอื สโมสร
(2) จดั ทานบุ ารงุ รกั ษาทรพั ยส์ นิ ขององคก์ ารหรือสโมสร
(3) จดั ทาบญั ชแี ละควบคมุ การเบกิ จา่ ยพสั ดุขององค์การหรอื สโมสร
(4) หน้าที่อน่ื ๆ ตามท่ีคณะกรรมการบรหิ ารมอบหมาย
ขอ้ 70 หัวหนา้ แผนกแสงเสยี ง มหี นา้ ทีด่ งั น้ี
(1) รบั ผดิ ชอบกจิ การด้านแสงเสียงขององคก์ ารหรือสโมสร
(2) รับผดิ ชอบวัสดุครุภัณฑ์ และอุปกรณท์ ่ีเกี่ยวกับแสงเสียงขององค์การหรือ
สโมสร
(3) ควบคมุ ดูแล และบารงุ รกั ษาอปุ กรณ์และเสยี งขององค์การหรอื สโมสร
(4) หน้าที่อน่ื ๆ ตามทค่ี ณะกรรมการบรหิ ารมอบหมาย
ข้อ 71 หัวหน้าแผนกศิลปกรรม มีหนา้ ทด่ี งั นี้
(1) รับผิดชอบกิจการด้านศลิ ปกรรมขององคก์ ารหรือสโมสร
(2) หนา้ ทีอ่ นื่ ๆ ตามท่คี ณะกรรมการบริหารมอบหมาย
ข้อ 72 สาราณียกร มีหน้าท่ดี ังน้ี
(1) จัดทาและรบั ผดิ ชอบกิจการดา้ นสิง่ พิมพข์ ององค์การและสโมสร
(2) หนา้ ท่ีอ่นื ๆ ตามท่ีคณะกรรมการบริหารมอบหมาย
)2(๒4)6( ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๒๔๖ม)หาวคิท่มู ยอื านลกัยั ศเทกึ คษโานโ๒ลย๕รี ๖าช๕มงคลกรงุ เทพ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ขอ้ 73 บรรณารักษ์ มหี นา้ ที่ดังนี้
(1) รับผดิ ชอบกิจการด้านห้องสมุดขององค์การหรือสโมสร
(2) รวบรวมและเก็บเอกสาร สง่ิ พิมพท์ ่เี ก่ียวกับกจิ การองค์การหรือสโมสร
(3) หน้าทอ่ี ื่นๆ ตาที่คณะกรรมการบรหิ ารมอบหมาย
ข้อ 74 การดาเนินงานกิจกรรม ให้องค์การหรือสโมสรนักศึกษา มีคณะกรรมการ
ดาเนินงานกิจกรรมมนหกั าศวกึ ิทษยาาตล่าัยงเๆทคดโงันตโลอ่ ยไปีรานชี้ มงคลกรุงเทพ เป็นสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการ(1อุด)มศคึกณษะากตรารมมพกราะรกาชิจบกัญรรญมัตฝิมา่หยาวิทชยากาลาัยรเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘
เมื่อวันที่ ๑๙ มก(2รา)คมคณ๒ะ๕ก๔รร๘มกเาปร็นกกิจากรรรรวมมฝต่าัวยขกอฬีง า๓ วิทยาเขต คือ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ
วยกิทึรดุงยมเาท่ันเพใขนตจอบดั ุดกพมาิตกรราเรพรยี((((ณิม6453นุข์แ))))กมลาหคคคระคสาปณณณณอเรมะะะนะัชฆกกกใกญนรรรรแารรรรรละมมมกมะดกกกาวกับราาาิทาอจรรรยรุดัดกกกกามกิจิจจิเิศจขากกกึกกรตรรรษศรพรรราึกรมมมรหมษะฝฝฝลาฝนา่่า่ากั เ่คายยยพสยรศนอตู่ือใอราลิผกัตปื่นสลป้ศราิตๆภกึะญิพบาแษทญยัฒัณลาี่ใมาะสนฑตตีผวมั้ชิาตรู้ฒัมสพื่ีแอนีอลังมนันักคะาหปธธปนมาร์ฏรวาแริบิญิทจมลัตญยตะิ าาาบตลโมอาทัยบขเเพห้อสทลญ็นคา4อโปกน9งหรคโะลลวกโายายายีรมหชสาตานชน้อขม์ดงางกวใคหชาิ ลรา้มี
ขนึ้ ของสังคม โดยเชื่อมั่นว่าเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเป็นกระบวนการศึกษาที่จาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตรฐขา้อนค7ณุ 5ภาพคณเพะือ่กเปรร็นมกากลาังสรากคิจัญกในรกรามรขพอัฒงนอาเงศคร์กษฐากรจิ หแรลือะสสังโคมมสไทรยนักศึกษา ประกอบด้วย
ประธาน รองประธาน(ถ้ามี) เหรัญญกิ (ถ้ามี) เลขานุการ(ถา้ มี) และผู้แทนนักศกึ ษาจากสาขาวิชา
ขอ้ 76 คณะกรรมการกจิ กรรม มหี น้าท่ี
(1) ควบคุมและประสานงานการดาเนินงานของกิจกรรมต่างๆ ในฝ่ายให้เป็นไป
ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องฝา่ ย ซงึ่ ไมข่ ัดแยง้ ตอ่ ระเบียบ
(2) วางหลกั เกณฑ์การขอตง้ั งบประมาณของกิจกรรมต่างๆ ในฝา่ ย
(3) เสนองบประมาณของกิจกรรมต่างๆ ในฝา่ ยตอ่ คณะกจิ กรรมการบรหิ าร
(4) ควบคุมการเงินของกิจกรรมต่างๆในฝา่ ย
(5) รวบรวมรายงานประเมนิ ผลการดาเนินการในรอบปีของกิจกรรมต่างๆ ในฝา่ ย
เสนอต่อคณะกรรมการบริหารกอ่ นสน้ิ สดุ วาระของวาระกรรมการฝ่ายในปีนนั้
(6) รับผดิ ชอบร่วมกันในการบริหารกจิ กรรมของฝ่าย
(7) หน้าท่อี ื่นๆ ตามท่ีคณะกรรมการบริหารมอบหมาย
ข้อ 77 การเลือกตั้ง และแต่งตั้งผู้ดารงตาแหน่งขององค์การ หรือสโมสรนักศึกษาให้
กระทาดงั นี้
(1) คณะกรรมการบริหารองค์การนักศึกษา ประกอบด้วย นายกองค์การ อุป
นายกองค์การ ให้เลือกตั้งจากนักศึกษาของมหาวิทยาลัย และพิจารณาแต่งต้ัง เลขานุการ
เหรัญญิก และประธานกิจกรรม โดยความเห็นชอบของผูม้ ีอานาจตามข้อ 49 ตามลาดับ
คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕ )2(๑4)7(
มหาวิทยาลยั เทคโนคโม่ลู ยอื นีรากั ชศมกึ งษคาล๒กร๕งุ ๖เท๕พ (๒๔๗)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
(2) คณะกรรมการบริหารสโมสรนักศึกษาของคณะ ประกอบด้วย นายกสโมสร
อปุ นายกสโมสร ใหเ้ ลือกตง้ั จากผู้แทนนักศกึ ษาของคณะ และพจิ ารณาแต่งตั้ง เลขานุการ เหรัญญิก
และประธานกิจกรรม โดยความเห็นชอบของผมู้ อี านาจตามขอ้ 49 ตามลาดับ
(3) เจ้าหน้าที่องค์การหรือสโมสรนักศึกษา ให้คณะกรรมการบริหารเป็นผู้เสนอ
ขอแต่งต้ังผู้มีอานาจตามข้อ 49
(4) คณะกรรมการฝ่ายกิจกรรม ให้คณะกรรมการบริหารเป็นผู้เสนอขอแต่งตง้ั ต่อ
ผู้มอี านาจตามขอ้ 49
(5) ผแู้ ทนนกั ศกึ ษาของคณะ ใหเ้ ลอื กตั้งโดยตรงจากสาขาวิชา
ข้อ 78 การดาเนินการเลือกตั้งคณะกรรมการบริหาร ให้ผู้มีอานาจตามข้อ 49 แต่งต้ัง
กรรมการข้นึ คณะหนงึ่ เปน็ ผดู้ าเนนิ การเลอื กต้งั และกาหนดรายละเอียดต่างๆ เกย่ี วกบั
(1) วัน เวลา ในการเลือกต้ัง
(2) การตรวจสอบคณุ สมบตั ิของผูส้ มัครรับเลือกตงั้
(3) วธิ ีดาเนนิ การเลอื กต้ัง
ขอ้ 79 ผูท้ ่จี ะดารงตาแหนง่ กรรมการบรหิ าร จะตอ้ งมีคุณสมบตั ิดังนี้
(1) ต้องเปน็ นกั ศึกษาปัจจุบนั และเปน็ สมาชกิ ขององคก์ ารหรือสโมสร
(2) ตอ้ งเป็นนักศึกษาที่ไม่มีความประพฤติเสียหายจนถกู สั่งลงโทษ หรือเคยถูกส่ัง
พกั การศึกษา
(3) ต้องไม่ลาพักการศึกษาในปีการศึกษานน้ั ๆ
(4) ต้องไมด่ ารงตาแหน่งเดียวกนั เกนิ กว่า 2 วาระติดต่อกัน
(5) ต้องไมด่ ารงตาแหน่งมากกว่า 1 ตาแหนง่ ในวาระเดียวกัน
ข้อ 80 ให้คณะกรรมการตามข้อ 78 ดาเนินการเลือกต้ัง เสนอรายช่ือผู้ได้รับเลือกต้ัง
ต่อผู้มีอานาจตามข้อ 49 เพ่ือประกาศแต่งตั้งกรรมการบริหารตาแหน่งต่างๆ ดารงตาแหน่งคราว
ละ 1 ปี ต้ังแต่วันที่ 1 พฤษภาคม ของปีหนึ่ง ถึงวันท่ี 30 เมษายน ของปีถัดไป หากมีเหตุจาเป็น
ให้แต่งต้ังนายกองค์การนักศึกษาคนเดิมปฎิบัติหน้าท่ีแทนไปพลางก่อน คณะกรรมการบริหารและ
เจ้าหน้าที่องค์การหรือสโมสรทุกคนจะต้องมอบงาน ในความรับผิดชอบของตนให้แก่คณะ
กรรมการบริหาร และเจ้าหนา้ ท่อี งคก์ ารหรอื สโมสรชดุ ใหม่กอ่ นสิ้นสดุ วาระของตน
ขอ้ 81 ผ้ดู ารงตาแหน่งกรรมการบรหิ าร ต้องพ้นตาแหน่งในกรณีต่อไปน้ี
(1) ถงึ คราวออกตามวาระ
(2) ลาออก
(3) ตาย
)2(๒4)8( คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๒๔๘ม)หาวคิทมู่ ยอื านลกัยั ศเทึกคษโานโ๒ลย๕รี ๖าช๕มงคลกรงุ เทพ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
(4) ในกรณีที่ผู้ดารงตาแหน่งหนึ่งตาแหน่งใด ในคณะกรรมการบริหารไม่ปฏิบัติตาม
มติของคณะกรรมการบริหาร ให้กรรมการจานวนไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 มสี ิทธเิ สนอให้ผู้มอี านาจตาม
ข้อ 49 พิจารณาถอดถอนออกจากตาแหนง่ ได้
(6) ผู้มอี านาจตามข้อ 49 เปน็ ผู้ใหพ้ ้นจากตาแหน่ง
ข้อ 82 ถ้าตาแหน่งกรรมการบริหารว่างลง ให้ดาเนินการเลือกตั้งกรรมการบริหาร
ตาแหน่งน้ันข้ึนมาแมทหนาภวิทายยาในลัย3เท0คโวนันโลเยวี้นราแชตม่วงาครละกกราุงรเทดพารงเตปา็นแสหถนาบ่งจันะอสุดิ้นมสศุดึกลษงาเหสังลกือัดไสมา่เกนินักง6าน0
วัน นคับณถะึงกวรันรมหกมาดรกวาารรอะุดขมอศึกงกษารรตมามกพาระบรราิหชบาญัรญใหตั ิม้คหณาวะิทกยรารลมัยกเทาครโบนโรลิหยาีรราชแมตง่งคตลั้งผพู้ทุ ่ีเธหศั็กนรสามชค๒ว๕ร๔เข๘้า
รักษเามกื่อาวรันแทท่ี ๑น๙ โดมกยรคาวคามมเ๒ห๕็น๔ช๘อบเปข็นอกงาผรู้มรวีอมาตนัวาขจองต๓ามวขิท้อยา4เข9ต คใืนอ ววิาทรยะาเดขาตรเทงคตนาิคแกหรนุงเ่งทขพอฯง
สก้ินรรสมุดกยวกลิทึรดางุงยมเตราท่ันบาเขขพใขมน้ออ้รตจวิอหบดั88าุดากพรม34ราะิตกทรขราเี่แใอรพอรหียาตณงิมน้ผจก่งุข์แกู้มาตรมลารอีรั้งหระยมามสาป์ทนกาอเรมป่ีาาทนัชฆรจรใญดนบตกึ แแารราษละทิหมกาะดนขาาอวับรรอ้ิทงอจเใคยดุรนัด4ก์าิ่มมกปเ9าศตขานีรึกรต้ังแห้นัษศแพตราึกตรือง่หษะ่วตสลานันั้งกัโเคอพมสทราตูื่สอ่ีผใจรผรตู้มปาล้ มีรอริตภญิยีหาบา์ทญนนยัณีป่ใาา้าฑตตจทร้ชิตรึกตดี่ ื่ีแอนษางัลมักนมาะหปอี้ปขาฏงร้อวิคบิญิทก์ัต4ญยิาา9าตรลโอหทัยปบรเหสทรอื ละนคสากอโโกนมงาหคโสศลลวรแายายตีรมสา่งตาชต้อขมั้งงางกแวคชาิลลราะ
ของสังคม โด(ย1เช)ื่อใมห่ัน้ควา่าปเทรคึกโษนาโลแยนีแะลนะอาาแชีลวศะึกดษูแาลเคป็วนากมระเรบียวบนรก้อารยศเกึกี่ยษวาทกี่ัจบากเิปจ็กนรในรกมาขรอเสงรอิมงสคร์ก้าางร
หรอื สมโามตสรรฐานคุณภาพ เพื่อเป็นกาลงั สาคัญในการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมไทย
(2) ยับย้ังการดาเนินการใดๆ ที่ขัดต่อระเบียบหรือคาสั่งของทางราชการ
ตลอดจนการกระทาใดๆ อันเปน็ การเสอื่ มเสียต่อสถาบนั
(3) เสนอความคดิ เหน็ ในการจดั กิจกรรมขององค์การหรือสโมสร
(4) เขา้ ร่วมประชุมกบั คณะกรรมการบรหิ ารองค์การหรือสโมสร
(5) หน้าทอี่ ื่นๆ ตามทผ่ี มู้ อี านาจตามขอ้ 49 มอบหมาย
ข้อ 85 ให้มีอาจารย์ที่ปรึกษาประจาฝ่ายกิจกรรมอย่างน้อย ฝ่ายละ 1 คน (ถ้ามี) โดย
ให้ผู้มีอานาจตามข้อ 49 เป็นผู้แต่งตั้ง และมีหน้าท่ีให้คาปรึกษาแนะนา และดูแลความเรียบร้อย
เกี่ยวกบั กิจกรรมของฝ่ายนั้นๆ
ข้อ 86 อาจารยท์ ่ปี รกึ ษาองค์การหรอื สโมสรและอาจารยท์ ่ปี รกึ ษาฝา่ ยกจิ กรรมองคก์ าร
หรอื สโมสรมกี าหนดวาระ 1 ปี และอาจได้รบั การแตง่ ตัง้ อกี กไ็ ด้
ข้อ 87 เงินค่าบารุงองคก์ ารหรือสโมสรตามข้อบังคับน้ี คือเงินท่ีเข้าลักษณะหน่ึงลักษณะ
ใดดงั ต่อไปนี้
(1) เงนิ ค่าบารุงองค์การหรือสโมสรทีเ่ รยี กเกบ็ จากนักศึกษาตามข้อบงั คบั น้ี
(2) เงนิ ทม่ี ผี บู้ รจิ าคให้แก่องคก์ ารหรือสโมสรหรือฝ่ายกจิ กรรม
(3) เงินท่ไี ดม้ าจากการจดั การกจิ กรรมของนักศกึ ษา
(4) ดอกผลท่ีเกดิ จากเงินคา่ บารุงองคก์ ารหรือสโมสร
เงินดังกล่าวขา้ งต้นตามขอ้ บงั คับนีไ้ ม่ถือว่าเปน็ รายรบั หรือรายไดข้ องมหาวิทยาลยั
ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕ )2(๑4)9(
มหาวิทยาลยั เทคโนคโ่มลู ยอื นรี ากั ชศมกึ งษคาล๒กร๕งุ ๖เท๕พ (๒๔๙)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ขอ้ 88 เงนิ คา่ บารงุ องคก์ ารหรือสโมสรจะใชจ้ า่ ยในลักษณะตา่ งๆ ดงั ต่อไปน้ี
(1) การบรหิ ารงานขององคก์ ารหรอื สโมสร
(2) พธิ กี รรมทางศาสนา งานประจาปีของทางราชการ
(3) การกีฬา หรือกจิ กรรมในลกั ษณะวชิ าการ
(4) การจดั กิจกรรมต่างๆ ท่ไี ม่ขัดกบั ขอ้ บงั คบั น้ี
(5) งานสวัสดกิ ารและการกศุ ล
ข้อ 89 ให้องค์การหรือสโมสรเรียกเก็บเงินค่าบารุงองค์การหรือสโมสรในอัตราตาม
ประกาศของมหาวิทยาลัย โดยให้เรียกเกบ็ ในวันลงทะเบยี นเรียนของภาคการศกึ ษาทห่ี นง่ึ
ข้อ 90 เงินค่าบารุงองค์การหรือสโมสรจะถอนคืนได้ ในกรณีท่ีนักศึกษาขอลาออก
จากสถาบนั ภายใน 7 วนั นับแตว่ ันลงทะเบียน
ข้อ 91 ให้คณะกรรมการบริหารองค์การหรือสโมสรเสนอผู้มีอานาจตามข้อ 49
แต่งต้ังอนุกรรมการการเงินและบัญชีขึ้นคณะหน่ึงไม่เกิน 5 คน โดยมีเหรัญญิกเป็นประธาน
คณะอนุกรรมการ เจ้าหน้าท่ีบัญชีเป็นอนุกรรมการ และเลขานุการ และให้มีอาจารย์ที่ปรึกษาตาม
ขอ้ 83 เปน็ ท่ีปรกึ ษา
ข้อ 92 ให้คณะอนุกรรมการการเงินและบัญชีมีอานาจหน้าที่ และรับผิดชอบตาม
ระเบียบการเงินขององค์การหรือสโมสรนักศึกษา
ขอ้ 93 เงินค่าบารุงองค์การหรอื สโมสรต่อปีการศึกษาน้ัน ให้ถือเป็นเงินค่ากิจกรรม
นักศึกษา
ข้อ 94 เม่ือเลิกกิจการองค์การหรือสโมสร ให้บรรดาทรัพย์สินขององค์การหรือ
สโมสรทง้ั หมดตกเปน็ ของมหาวิทยาลัย
ขอ้ 95 ให้อธกิ ารบดีออกระเบียบการเงินกิจกรรมนกั ศึกษา
ข้อ 96 ในกรณีที่ปญั หาเกี่ยวกบั การปฏบิ ตั ติ ามระเบียบน้ใี ห้อธิการบดเี ปน็ ผู้วนิ จิ ฉยั
หมวดท่ี 7
การจดั ตั้งชมรมกิจกรรมนกั ศึกษา
ข้อ 97 ชมรมกิจกรรมของนักศึกษาต้องมีลักษณะเป็นการรวมกลุ่มตามกิจกรรมที่
สนใจ เพื่อวัตถุประสงค์ใดวัตถุประสงค์หน่ึง อันเป็นการเฉพาะส่งเสริมการปฏิบัติงานกิจกรรม
นักศึกษา ตามนโยบายของมหาวิทยาลัยและไม่ขัด หรือแย้งต่อระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ข้อ 98 การจัดตั้งชมรมต้องมีนักศึกษาเป็นสมาชิกไม่น้อยกว่าสามสิบคน โดยต้อง
เป็นนักศึกษาที่มาจากต่างคณะกันไม่ต่ากว่าสามคณะ และต้องมีนักศึกษาในคณะหนึ่งเป็นสมาชิก
ก่อต้ังไม่น้อยกว่าสิบคน โดยให้สมาชิกลงชื่อกากับ พร้อมท้ังให้อาจารย์ที่ปรึกษาชมรมลงนาม
)2(๒5)0( ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๒๕๐ม)หาวคิทมู่ ยอื านลกัยั ศเทกึ คษโานโ๒ลย๕ีร๖าช๕มงคลกรงุ เทพ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
รบั รองการเป็นสมาชิกตามท่ีมหาวิทยาลัยกาหนด เพื่อเสนอต่อองค์การนักศึกษา พิจารณาให้ความ
เห็นชอบแล้วนาเสนอมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ พิจารณาอนุมัติการจัดต้ังชมรม
โดยมรี ายละเอียด ดงั ตอ่ ไปน้ี
(1) ช่อื ชมรม
(2) วัตถุประสงค์
(3ม)หราะวเิทบยียาบลขัย้อเทบคังคโนบั โขลอยงีรชาชมมรมงค(ลถกา้ รมุงี)เทพ เป็นสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะกรรมการ(ก4า)รเอคดุ รมื่อศงึกหษมาาตยาตมรพารสะัญราลชักบษญั ณญัตข์ ิมอหงชาวมิทรยมาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘
เม่ือวันท่ี ๑๙(5ม)กรราาคยมช่ือ๒ค๕ณ๔ะ๘กรรเปม็นกกาารรบรรวิมหตาัวรขแอลง ะ๓สวมิทายชาิกเขชตมรคมือ วติทายมาแเขบตบเทฟคอนริค์มกทรี่มุงเหทาพลฯัย
กรบาหกนากวยรดิทึรดแงุยมตเาท่ัน่งเขพใตขน้อตัง้จอจบดั9ุดากพ9มกาิต(กรม6ราเหชรพ)รียมาณิมนรวรุข์แกาิทมมลยายแหระชาตสาป่ือลอเ่ลรมอยันัชะฆาใญชแนจแมารลาละรระกะดมยตาวบั์ทใรอ้ิทหอจป่ีงยุด้มัดปรามีอกึกฏเศขาาษิบึกรตจาษศัตพาพาึกิงรรหารษยะลนอ้ าน์ทกัมเภค่ีปพสคารูตื่อรยใารึกผตรใปลษ้นับริตภามรญิ บาอหจญยัณงาาใาเฑวตนตปทิ้ชิตรว็นื่ีแอยนนอลมาักไาะลหมปจปัยา่เฏารกวิบริญดิทินยัตญงัย์ทิน3าาต่ีปลี้โอทคัยรบนึเกหสทษลนคซาาอโึ่งกนงเหปคโลลว็นายายบีรมสาุคตาชค้อขมงลางกวทคชาิ ่ีไลราด้
ของสังคม โด(ย1เช)่ือเมปั่น็นวอ่าเาทจคาโรนยโห์ลรยือีแเลจะา้ อหานชีว้าศทึกี่ปษฏาิบเปัต็นหิ กนร้าะทบี่ใวนนมกหาราศวึกทิ ษยาาทล่ีจัยาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตรฐานคุณภ(2าพ) อเาพจอื่ าเปรย็นก์ปารลึกังษสาคทัญ่มี ใีคนวกาามรพรู้ฒั คนวาาเมศรสษาฐมกาจิ รแถละปสรังะคสมบไทกยารณ์ เฉพาะดา้ นชมรม
(3) สามารถรับผิดชอบการดาเนินกจิ กรรมของชมรมได้
ข้อ 100 ชมรมท่ีจัดต้ังข้ึน จะต้องมีกิจกรรมท่ีไม่ซ้าซ้อนกับกิจกรรมของชมรมท่ีมีอยู่
แล้ว
ข้อ 101 ชมรมที่จัดตั้งข้ึนต้องสังกัดฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งขององค์การนักศึกษา มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ ดังตอ่ ไปนี้
(1) ฝ่ายสง่ เสริมวิชาการ
(2) ฝา่ ยกฬี า
(3) ฝ่ายพฒั นาสงั คมและบาเพญ็ ประโยชน์
(4) ฝา่ ยศลิ ปะและวัฒนธรรม
(5) ฝ่ายนักศึกษาสัมพันธ์
ข้อ 102 กิจกรรมของชมรมที่จัดตั้งข้ึนท้ังภายใน ภายนอกวิทยาลัย ต้องได้รับความ
เห็นชอบจากอาจารย์ท่ีปรึกษาชมรม คณะกรรมการบริหารองค์การนักศึกษา และมหาวิทยาลัย
อนมุ ตั ิให้จัดได้
ข้อ 103 กิจกรรมของชมรมท่ีจัดทาขึ้นภายนอกมหาวิทยาลัย และมีผลต่อภาพลักษณ์
ช่อื เสียงของนกั ศึกษาต้องดาเนินงานร่วมกันในนามขององค์การนักศึกษาเท่าน้ัน
ขอ้ 104 ชมรมแต่ละชมรมให้มีคณะกรรมการบริหารชมรมไม่นอ้ ยกว่า หา้ คน ซง่ึ สมาชิก
แต่ละชมรมเป็นผเู้ ลือกต้ังให้ดารงตาแหน่ง ดังต่อไปนี้
คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕ )2(๑5)1(
มหาวิทยาลยั เทคโนคโ่มลู ยอื นรี ากั ชศมกึ งษคาล๒กร๕งุ ๖เท๕พ (๒๕๑)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
(1) ประธานชมรม
(2) รองประธานชมรม
(3) เลขานกุ าร
(4) เหรญั ญิก
(5) คณะกรรมการตาแหน่งอ่ืน ตามท่ีคณะกรรมการบริหารชมรมเห็นสมควร
การดาเนนิ การเลือกตงั้ ใหเ้ ปน็ ไปตามขอ้ กาหนดของชมรม
ขอ้ 105 ผู้ดารงตาแหน่งคณะกรรมการบริหารชมรมจะดารงตาแหน่งได้ไม่เกินกว่าหน่ึง
ชมรมในเวลาเดยี วกัน
ข้อ 106 นกั ศกึ ษาคนหน่งึ สามารถสมัครเป็นสมาชกิ ชมรมได้ไม่น้อยกวา่ หนง่ึ ชมรม
ขอ้ 107 ให้คณะกรรมการบริหารชมรม มอี านาจหนา้ ท่ดี ังต่อไปน้ี
(1) พิจารณาและวางแผนการดาเนินงานของชมรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
ของชมรมซ่งึ ไม่ขดั หรอื แย้งต่อระเบียบ ข้อบงั คบั อื่นใด ของมหาวิทยาลัย
(2) กาหนดนโยบาย แผนงาน โครงการ และงบประมาณประจาปีของชมรม
เสนอต่อคณะกรรมการบริหารองคก์ ารนกั ศึกษา โดยผ่านการเหน็ ชอบจากอาจารย์ที่ปรกึ ษาชมรม
(3) กากับ ดแู ล ควบคมุ การบรหิ ารการเงนิ ของชมรม
(4) รับผดิ ชอบร่วมกันในการบริหารกจิ กรรมของชมรม
(5) รับผิดชอบร่วมกันในทรพั ยส์ นิ ของชมรม
(6) จัดทารายงานประเมินผลการดาเนินงานในรอบปีของชมรมเสนอต่อฝ่ายท่ี
ชมรมในสังกัดอยู่ เสนอคณะกรรมการบริหารองคก์ ารนกั ศกึ ษากอ่ นสิ้นสดุ วาระของกรรมการชมรม
ในปนี ัน้
(7) ร่วมมือประสานงานและให้ความสะดวกในการดาเนินงานของคณะกรรมการ
บริหารองค์การนักศกึ ษา และมหาวทิ ยาลัยใหเ้ ป็นไปดว้ ยดี
(8) หน้าที่อ่นื ตามทีค่ ณะกรรมการฝ่ายทีช่ มรมนนั้ สงั กดั มอบหมาย
ข้อ 108 สมาชิกภาพของคณะกรรมการบริหารชมรมนั้นสิ้นสุดลงเม่ือส่งมอบงานให้
คณะกรรมการบริหารชุดใหม่
ข้อ 109 ให้คณะกรรมการบริหารชมรมดาเนินการเลือกตั้งสมาชิกเข้าดารงตาแหน่ง
คณะกรรมการบริหารชมรมชุดใหม่ให้เสร็จสิ้นก่อนปิดภาคการศึกษาภาคสอง และมอบหมายงาน
ให้คณะกรรมการบริหารชมรมชุดใหม่เสรจ็ ส้ินภายใน สบิ ห้าวันนบั แต่วนั เลือกตั้ง พร้อมท้ังนาเสนอ
ต่อองค์การนักศึกษาเพ่ือพิจารณาให้ความเห็นชอบ แล้วนาเสนอมหาวิทยาลัย พิจารณาอนุมัติการ
แตง่ ตั้งคณะกรรมการบริหารชมรม
ข้อ 110 ชมรมอาจเลิกหรือถกู ยุบเลิกได้ในกรณีหน่ึง ดงั ตอ่ ไปนี้
(1) ไม่มีผลงานของชมรมปรากฏในรอบปี
)2(๒5)2( คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕
(๒๕๒ม)หาวคิทมู่ ยอื านลกัยั ศเทึกคษโานโ๒ลย๕รี ๖าช๕มงคลกรงุ เทพ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
(2) ดาเนินการฝ่าฝนื วัตถุประสงคข์ องชมรม
(3) ชมรมกระทาการอันเปน็ ทเ่ี ส่ือมเสยี ตอ่ มหาวิทยาลยั หรือเหตผุ ลอืน่ โดยอาจารย์
ท่ีปรึกษาชมรมและองค์การนักศึกษาเห็นสมควรว่าให้ยุบเลิกชมรม โดยได้รับอนุมัติจาก
มหาวิทยาลยั
(4) มหาวิทยาลัยเห็นสมควรให้ยกเลิกชมรมเนื่องจากกระทาอันเป็นการขัดต่อ
กฎหมายศีลธรรม ขมนหบาวธิทรรยมาลเนัยยี เทมคปโรนะโเลพยณีราี ชวัฒมงนคธลรกรรมุงอเทันพดีงาเปม็นขสอถงาคบนันไทอุดยมหศรึกือษฝาา่ สฝังนื กกัดฎสารนะักเบงาียนบ
ข้อบังคคณับะชกอรงรมกหาารวกิทารยอาดุลมัยศึกษา ตามพระราชบัญญตั ิมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘
เมข่ือ้อวัน1ท1ี่ ๑1๙ชมมกรรมาทคี่จมัดต๒ั้ง๕ข๔้ึน๘มีวเปาร็นะกา1รรปวีมนตับัวขตอ้ังงแต๓่ววันิทแยรากเขถตึงควือันสวิทุดยทา้าเยขขตอเทงคปนีงิคบกปรรุงะเทมพาฯณ
ออระงงคเคบ์ก์กยวกียาาิทึรดบรขรุงยมนเ้อนเดาทั่นักักเมิพใ1ขศนศไต1จึกปอึกบดัษ2ุดกษกพมาอ่ าาิตใใกนรหนรหาเจรพ้ปครลยีนณิมณงี ันงกบุข์แจกะวมปลาากา่ หระรกรรสาปะสะรอเมรมมิ้เนนับชาฆกปใญณยีนาีงแบารรนบละนอกัน้ะปดง้ีจาวๆบัรคระิทอะจ์กมไยดุมัดมาผีามการส่เลศขณาหาบกึรตมรใษศังพืหอาคาึกรรสห้จบัษะถโลัดาในใมกัชเตชคพสส้ั้ง้เรูต่ือรงชใรนินผตมปล้งักรรบิตภศญิมบปาึกขญยัณรษึ้นใาะฑตาตใม้ทชิตหราื่ีแอนี่มมณลมักีม่ ะหไหปาปดาฏากรใ้วกิบ่อนญิ ิทชัตนปญยิมปงีาาตรบลโรอทมัยปะบเใหกรสทดะลานคไาศมมอโกนใาง่จหชณคโัดลล้รวนาตยะาย้ันีร้ัเมงสบาใตๆาหชีย้อขม้สบงางกังวนคกชาิ ี้ใลราัดช้
ของสังคม โดยเช่ือม่ันว่าเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเป็นกระบวนการศึกษาท่ีจาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตรฐานคุณภาพปรเะพกอ่ื าเปศน็ กาณลงั สาวคนั ัญทใ่ีนก๑า๗รพฒัสิงนหาเาศครมษฐพก.ิจศแ.ล๒ะส๕ัง6คม4ไทย
สมพร ปยิ ะพนั ธ์
(นายสมพร ปิยะพันธ์)
รกั ษาราชการแทน
อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕ )2(๑5)3(
มหาวิทยาลยั เทคโนคโ่มลู ยอื นรี ากั ชศมึกงษคาล๒กร๕งุ ๖เท๕พ (๒๕๓)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ระเบียบสถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล
ว่าดว้ ยการปฐมนเิ ทศและปจั ฉิมนิเทศนกั ศึกษา
พ.ศ. ๒๕๓๙
----------------------------------------------
โดยท่ีเป็นการสมควรกาหนดระเบียบ วา่ ด้วยการปฐมนิเทศและปัจฉิมนิเทศนักศึกษา
ของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล เพือ่ ที่จะเขา้ รับการศึกษาตามวัตถปุ ระสงค์ของหลักสูตรของสถาบันฯ
ตลอดจนเพ่ือเป็นการพัฒนาและเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาที่จะออกไปประกอบอาชีพ
ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
อาศัยอานาจตามมาตรา ๑๕ (๙) แห่งพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
พ.ศ. ๒๕๑๘ และโดยมติของสภาสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ในการประชุม ครง้ั ท่ี ๔/๒๕๓๙ เม่ือ
วันท่ี ๒๓ เมษายน ๒๕๓๙ จึงกาหนดระเบียบไว้ดังต่อไปนี้
ขอ้ ๑ ระเบยี บนี้ เรียกว่า "ระเบยี บสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ว่าดว้ ยการปฐมนิเทศ
และปัจฉมิ นิเทศนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๓๙"
ข้อ ๒ ระเบยี บน้ใี หใ้ ชบ้ ังคบั ตั้งแต่ปกี ารศึกษา ๒๕๓๙ เป็นตน้ ไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ว่าด้วยการอบรม
ปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ พ.ศ. ๒๕๒๙ และระเบียบสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ว่าด้วยการอบรม
ปฐมนเิ ทศนักศกึ ษาใหม่ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ แล้วให้ใชร้ ะเบยี บน้ีแทน
ข้อ ๔ ในระเบียบนี้
“สถาบันฯ” หมายถึง สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
“อธิการบดี” หมายถงึ อธกิ ารบดีสถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล
“หวั หนา้ สถานศึกษา” หมายถงึ คณบดแี ละผอู้ านวยการวทิ ยาเขต
“นกั ศึกษา” หมายถึง นักศึกษาในสังกัดสถานศึกษาของสถาบันเทคโนโลยี
ราชมงคล
ขอ้ ๕ การปฐมนิเทศเป็นการจัดกิจกรรม เพื่อมีวัตถุประสงค์ในการเตรียมความพร้อม
และพัฒนานกั ศึกษาใหมต่ ามวัตถปุ ระสงคข์ องสถาบนั ฯ ซึ่งควรมีเน้ือหาและกจิ กรรมดงั ตอ่ ไปน้ี
๕.๑ ความรู้เกี่ยวกับสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ระบบการเรียนการสอนและ
การปฏบิ ตั ติ นในฐานะนักศกึ ษาของสถาบนั ฯ
๕.๒ ระเบยี บขอ้ บงั คบั และการรักษาวนิ ยั ในสถานศึกษา
๕.๓ การศึกษาเพ่อื ความมั่นคงของชาติ
๕.๔ การป้องกนั และแก้ไขปัญหาสารเสพติดใหโ้ ทษในสถานศกึ ษา
๕.๕ การป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาเอดส์ในสถานศึกษา
๕.๖ การอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม
)2(๒5)4( คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕
(๒๕๔ม)หาวคิทมู่ ยอื านลกัยั ศเทกึ คษโานโ๒ลย๕รี ๖าช๕มงคลกรงุ เทพ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
๕.๗ การพฒั นาจิตใจด้านคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม
๕.๘ การส่งเสรมิ พลานามัยและพฒั นาบคุ ลิกภาพ
๕.๙ การส่งเสริมให้นกั ศึกษาบาเพ็ญประโยชนร์ ่วมกัน
๕.๑๐ อน่ื ๆ
ข้อ ๖ การปัจฉิมนิเทศเป็นการจัดกิจกรรม เพ่ือมีวัตถุประสงค์ในการเตรียมความพร้อม
และพัฒนานักศึกษมาหทาี่กวาิทลยังาจละัยจเทบคกโานรโศลึกยีรษาาชตมางมควลัตกถรุงุปเทระพสงเคป์ข็นอสงถสาถบัานบอันุดมฯศึกซษ่ึงาควสัรงกมัดีเนส้ือานหักางแาลนะ
กจิ กรครณมะดกงั รตร่อมไกปานรก้ี ารอดุ มศึกษา ตามพระราชบญั ญตั ิมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘
เม่ือวันที่ ๑๙ มก๖ร.า๑คม ก๒า๕ร๔ให๘้ควเปา็มนกรู้าเกรรี่ยววมกตับัวขกอางร๓เตวริทียยมาตเขัวตเพค่ืืออศวิึทกยษาาเขตต่อเทคแนลิคะกหรุงรเือทกพาฯร
ประกวอิทบยอาเาขชตพี บพิตรพิมุขมหาเมฆ และวิทยาเขตพระนครใต้ ภายใต้ชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพ จดั การเรยี๖น.๒การสกอรนะใบนรวะนดกับาอรดุ สมมศคัึกรษงาาหนลแกั สลตูะรกปารรญิ ทญางาตานรีและปรญิ ญาโท หลากหลายสาขาวชิ า
ยึดม่ันในอุดมการ๖ณ.์แ๓ละปกรฎัชหญมาากยาเกรจ่ยี ัดวกกาับรอศาึกชษพี าเเพฉื่อพผาละิตบัณฑิตนักปฏิบัติ ตอบสนองความต้องการ
ของสังคม โดยเช๖ื่อม.๔ั่นว่าเกทาครโทนาโงลายนีแอลยะา่องามชีีปวศรึกะษสาิทเธปภิ็นากพระบวนการศึกษาที่จาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตรฐานคณุ ภาพ๖.๕เพื่อเปมน็ นกุษายลังสสมั าพคัญนั ธใน์แกลาะรกพาฒั รนอายเศู่รรว่ ษมฐกกนั ิจใแนลสะังสคงั คมมไทย
๖.๖ การพัฒนาจติ ใจดา้ นคุณธรรมและจริยธรรม
๖.๗ การพัฒนาบุคลิกภาพท่ีพงึ ประสงค์
๖.๘ อื่น ๆ
ข้อ ๗ ค่าใช้จ่าย ในการดาเนินการจัดกิจกรรมปฐมนิเทศและกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ
นกั ศึกษากาหนดไว้ ดงั นี้
๗.๑ ค่าตอบแทนวิทยากรในการอบรมปฐมนิเทศและปัจฉิมนิเทศนักศึกษา
ใหเ้ บกิ จ่ายจากเงินงบประมาณผลประโยชนป์ ระจาปีของสถานศึกษา ตามอัตราที่กาหนดไวใ้ นข้อ ๘
แห่งระเบียบน้ี
๗.๒ ค่าใช้จ่ายที่เรียกเก็บจากนักศึกษาในการจัดกิจกรรมปฐมนิเทศและ
ปัจฉิมนิเทศนักศึกษา ให้เรียกเก็บตามความจาเป็นจากนักศึกษาตามอัตราที่กาหนดในข้อ ๘ แห่ง
ระเบียบน้ี
ขอ้ ๘ การกาหนดอัตราค่าใช้จ่ายที่ต้องเรียกเก็บ และการเบิกจ่ายเงินในการจัด
กิจกรรมปฐมนิเทศ และกิจกรรมปัจฉิมนิเทศแห่งระเบียบนี้ ให้ทาเป็นประกาศของสถาบันฯ
ตามความเหน็ ชอบของอธกิ ารบดี
ขอ้ ๙ ให้หัวหน้าสถานศึกษาแต่งต้ังคณะกรรมการ และ/หรืออนุกรรมการ
ดาเนินการจัดปฐมนเิ ทศ หรือปัจฉมิ นเิ ทศนักศึกษาให้บรรลตุ ามวัตถุประสงค์
ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕ )2(๑5)5(
มหาวิทยาลยั เทคโนคโ่มลู ยอื นรี ากั ชศมกึ งษคาล๒กร๕งุ ๖เท๕พ (๒๕๕)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ข้อ ๑๐ การกาหนดเน้ือหาและกิจกรรมในการปฐมนิเทศและปัจฉิมนิเทศนักศึกษา
ตามข้อ ๕ และข้อ ๖ แห่งระเบียบนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของหัวหน้าสถานศึกษาท่ีจะพิจารณาอนุมัติ
และดาเนินการตามความเหมาะสม โดยถือระเบียบข้อบังคับฯ ที่เก่ียวข้องเป็นเกณฑ์ในการ
ดาเนนิ การแต่ถ้าเปน็ การดาเนนิ การนอกสถานศกึ ษาและมกี ารค้างคนื ให้สถานศึกษาดาเนินการตาม
ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ว่าด้วยการพานักเรียน นิสิต และนักศึกษาไปนอกสถานศึกษาโดย
เคร่งครัด
ข้อ ๑๑ ให้อธิการบดีเป็นผู้รกั ษาการตามระเบยี บน้ี และมีอานาจออกประกาศเก่ยี วกับ
วธิ ปี ฏบิ ัติท่ีไม่ขดั หรือแย้งกับระเบียบน้ี
ประกาศ ณ วันที่ ๑๗ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๙
(ลงชื่อ) สรุ ัฐ ศลิ ปอนนั ต์
(นายสุรัฐ ศิลปอนนั ต์)
ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
นายกสภาสถาบนั เทคโนโลยีราชมงคล
)2(๒5)6( ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๒๕๖ม)หาวคิท่มู ยอื านลกัยั ศเทึกคษโานโ๒ลย๕ีร๖าช๕มงคลกรงุ เทพ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ระเบยี บมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
วา่ ดว้ ย การแต่งกายของนกั ศึกษา พ.ศ.๒๕๕๘
..............................................................................
เพื่อให้กามรหแาตวง่ิทกยาายลนัยักเทศคึกโษนาโมลยหีราาวชทิ มยงาคลลัยกเรทุงคเทโนพโลเยปีร็นาสชถมางบคันลอกุดรมุงศเทึกพษามสีคังวกาัดมสเารนียักบงรา้อนย
เหมาคะณสะมกกรับรมสกภารากพากรอาุดรมเปศ็ึนกษนาักตศาึกมษพราะรแาลชะบเัญปญ็นตั เอิมหกาลวักิทษยาณล์ัยขเอทงคนโนักโศลยึกีรษาชามมงหคาลวิทพยุทธาศลักัยรเาทชค๒โน๕โ๔ล๘ยี
ราชมเงมคื่อลวันกทรีุ่ง๑เท๙พมอการศาคัยมอาน๒๕าจ๔ต๘ามเคปว็นากมาใรนรวมมาตตัวรขาอ๑ง ๓๗ ว(๒ิทย) าแเหขต่งพครือะวริทายชาบเขัญตญเทัตคิมนหิคากวริทุงเยทาพลฯัย
เทคโนวิทโลยายเีรขาตชบมพงิตครลพิมพุข.ศมห. า๒เ๕มฆ๔๘และแวลิทะยมาเตขิสตภพารมะนหคารวใิทต้ยภาลายัยใเตท้ชคื่อโมนหโลาวยิทีรยาาชลมัยงเคทคลโกนรโุงลเยทีรพาชใมนงกคาลร
ประชกมุ รคุงเรท้ังพทจี่ ๕ดั ก/๒าร๕เร๕ยี ๑นกเามรือ่สอวนันใทน่ีร๑ะ๓ดบั พอดุฤมษศภกึ าษคามหล๒กั ๕สูต๕ร๑ปรจญิ ึงญวาาตงรรีแะลเบะปียรบญิ ไวญ้ดาังโทนี้หลากหลายสาขาวชิ า
ยึดมั่นขใน้ออุด๑มการรณะ์แเลบะียปบรันชญี้เราียกกาวร่าจัด“กราะรเศบึกียษบาเมพ่ือหผาลวิติทบยัณาฑลิตัยนเทักปคฏโินบัตโลิ ตยอีรบาสชนมองงคควลากมรตุง้อเงทกพารฯ
ว่าด้วขยอกงาสรังแคตม่งกโดายยเขชอ่ืองมนั่นกั วศ่าเึกทษคาโนโพล.ยศีแ.ล๒ะ๕อา๕ช๘ีว”ศึกษาเป็นกระบวนการศึกษาที่จาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตรฐขาอ้ นค๒ณุ ภาพใหเ้ยพกือ่ เเลปิก็นรกะาเลบงั ียสบาคมญั หใานวกิทายรพาลฒั ัยนเาทเศครโนษฐโลกยิจแีรลาชะสมงังคคมลไกทรยุงเทพฯ ว่าด้วยการแต่งกาย
ของนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๖ และใหใ้ ช้ระเบยี บนแ้ี ทน
ข้อ ๓ ระเบยี บนใ้ี หใ้ ช้บงั คับตงั้ แต่วนั ถดั จากวันประกาศเปน็ ต้นไป
ขอ้ ๔ ในระเบียบน้ี
“มหาวทิ ยาลัย” หมายความว่า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
“สภามหาวทิ ยาลยั ” หมายความว่า สภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
“อธิการบดี” หมายความว่า อธกิ ารบดมี หาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
“นักศึกษา” หมายความว่า ผู้เข้ารับการศึกษาในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ
“ส่วนราชการ” หมายความว่า คณะ วิทยาลัย สถาบัน สานัก หรือส่วนราชการ
ที่เรียกช่ืออย่างอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเท่าคณะที่มีหน้าที่จัดการเรียนการสอน ท่ีมีอยู่ในวันที่
พระราชบญั ญัตมิ หาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘
“คณะ” หมายความว่า คณะต่าง ๆ ท่ีจัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี
ปริญญาโท และปริญญาเอก
ขอ้ ๕ เครือ่ งแบบปกติ
๕.๑ นักศกึ ษาชาย มีลกั ษณะ ดังนี้
คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕ )2(๑5)7(
มหาวิทยาลยั เทคโนคโ่มลู ยอื นรี ากั ชศมึกงษคาล๒กร๕งุ ๖เท๕พ (๒๕๗)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
(๑) ทรงผมแบบสภุ าพ ไม่ไว้หนวด และเครา
(๒) เส้ือเชิ้ตแขนส้ัน หรือแขนยาวสีขาวทางสุภาพ กลัดกระดุมสีขาว
ทกุ เมด็ มกี ระเป๋าขนาดเหมาะสมทีอ่ กเบื้องซา้ ย เวลาสวมให้สอดชายเสือ้ ไว้ในกางเกงให้เรยี บร้อย
(๓) กางเกงขายาวแบบสากล ทรงสุภาพ ไม่รดั รปู หรือหลวมเกินไป
มีหูเขม็ ขัด เยบ็ ด้วยผา้ สีเดยี วกนั ผ้าพน้ื สีดา หรือสีกรมท่า ไมม่ ีลวดลาย
(๔) สายเข็มขัดหนังสีดา ไม่มีลวดลาย หัวเข็มขัดเคร่ืองหมาย
มหาวทิ ยาลัยตามแบบทีม่ หาวทิ ยาลยั กาหนด
(๕) รองเท้าหุ้มส้นสีดา ทรงสุภาพ
(๖) ถงุ เท้าสีดา หรอื สที ่กี ลมกลืนกบั รองเท้า ไมม่ ลี วดลาย
๕.๒ นักศึกษาหญงิ มีลักษณะ ดังน้ี
(๑) ทรงผม แบบสภุ าพ ไมส่ ั้น หรอื ยาวเกินไป และรดั ผมให้เรยี บร้อย
(๒) เส้ือเชิ้ตสีขาวแขนสั้นเพียงศอก ปลายแขนปล่อยตรง ไม่ผ่า
ปลายแขน ไม่บางเกินควร ไม่รัดรูปและหลวมเกินไป ไม่มีลวดลาย ผ่าหน้าตลอด กระดุมสีเงิน
ลายดุนนูนตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัย ตัวเส้ือมีความยาวเพียงพอสาหรับให้กระโปรงทับได้
เวลาสวมใหส้ อดชายเส้อื ไว้ในกระโปรงให้เรียบร้อย
(๓) เข็มกลัดเสือ้ ตราสญั ลกั ษณม์ หาวิทยาลัย กลดั อกเส้ือ เบอ้ื งซ้าย
(๔) กระโปรง เอวสูง แบบสุภาพ ไม่รดั รปู ไม่สัน้ เกินไป ผ้าเนื้อเรียบ
ไม่มลี วดลาย สีดา หรอื สีกรมทา่
(๕) สายเข็มขัดหนังสีดา หัวเข็มขัดเครื่องหมายมหาวิทยาลัย
ตามแบบทมี่ หาวิทยาลัยกาหนด
(๖) รองเท้าหนังหรือผ้าใบห้มุ สน้ สดี า ไมม่ ลี วดลาย ทรงสุภาพ
๕.๓ นักศึกษาที่เป็นข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือภาคเอกชน อนุญาต
ให้แต่งเคร่ืองแบบของหน่วยงานเข้าเรียนได้ แต่ไม่อนุญาตให้ข้าราชการทหารหรือตารวจพกพา
อาวธุ ปนื เขา้ ชั้นเรยี น
ข้อ ๖ เครอื่ งแต่งกายในการเข้ารว่ มพิธีการ
๖.๑ นกั ศกึ ษาชาย ให้มีลักษณะดังน้ี
(๑) เสื้อเช้ิตสีขาวแขนยาวถึงข้อมือ ไม่พับปลายแขน ไม่รัดรูป และ
ไม่หลวมเกินไป ไม่มีลวดลาย ผ่าหน้าตลอด ติดกระดุม ๕ เม็ดมีกระเป๋าขนาดพอเหมาะท่ีอกเสื้อ
)2(๒5)8( ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕
(๒๕๘ม)หาวคิทมู่ ยอื านลกัยั ศเทึกคษโานโ๒ลย๕ีร๖าช๕มงคลกรงุ เทพ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
เบื้องซ้าย ตัวเส้ือมีความยาวเพียงพอสาหรบั ให้กางเกงทับได้ เวลาสวมให้สอดชายเสื้อไว้ในกางเกง
ใหเ้ รยี บรอ้ ย
(๒) เนคไทสีเขียวเขม้ ตามแบบที่มหาวทิ ยาลัยกาหนด กลดั เข็มตราสญั ลักษณ์
มหาวิทยาลัย
มห(า๓ว)ิทยกาาลงัยเกเทงคขโานยโาลวยแีรบาชบมสงาคกลลกรุงทเรทงพสุภเาปพ็นสถเชา่นบเันดอียุดวมกศับึกเษคาร่ือสงังแกตัด่งสกาานยักปงากนติ
สกี รมคทณ่าะกรรมการการอุดมศึกษา ตามพระราชบญั ญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘
เมื่อวันที่ ๑๙ มก(ร๔า)คมสา๒ยเ๕ข๔็ม๘ขัดหเปน็นังกสาีดรารวมหตัวัวเขขอ็มงข๓ัด วมิทีเคยารเ่ือขงตหคมือายวิมทหยาาเวขิทตยเทาคลนัยิคตการมุงแเทบพบฯที่
มหาววทิ ิทยยาาลเขยั ตกบาพหิตนรดพิมุขมหาเมฆ และวิทยาเขตพระนครใต้ ภายใต้ชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ จดั การเรยี น(๕ก)ารสรออนงเใทนร้าะหดนบั ังอหดุ ุม้มสศน้กึ ษสาีดหาลกั ไสมูต่มรลีปวรญิดลญาายตรีแทลระงปสรภุญิ าญพาโท หลากหลายสาขาวชิ า
ยึดม่ันในอุดมการณ(๖์แ)ละถปงุ รเัชทญา้ าสดี กาารจไัมดกม่ าีลรวศดึกลษาายเพื่อผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ ตอบสนองความต้องการ
ของสังคม โดย๖เช.่ือ๒ม่ันนวกั่าศเทึกคษโนาหโลญยงิีแลมะอีลาักชษีวณศึกะษาดเังปน็น้ีกระบวนการศึกษาที่จาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตรฐานคุณภาพ (๑เพ)ื่อเเปสน็ ้ือกเชาลิ้ตังสสีขาคาัญวในแกขานรพสัฒั้นนเพาเียศงรศษอฐกกจิ แปลละาสยังคแมขไนทปยล่อยตรง ไม่ผ่าปลายแขน
ไม่บางเกินควร ไม่รัดรูปและไม่หลวมเกินไป ไม่มีลวดลาย ผ่าหน้าตลอด ติดกระดุมสีเงินลายดุนนูน
ตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัย กลัดกระดุมคอเส้ือ ตัวเสื้อมีความยาวเพียงพอสาหรับให้กระโปรง
ทบั ได้ เวลาสวมใหส้ อดชายเส้อื ไวใ้ นกระโปรงให้เรียบร้อย
(๒) เข็มสญั ลักษณ์มหาวิทยาลยั กลดั บนอกเสอ้ื เบื้องซา้ ย
(๓) กระโปรงทรงตรง เอวสูง ด้านหลังผ่าป้ายแบบสุภาพ ไม่รัดรูป
ยาวเสมอเขา่ ผา้ เน้ือเรยี บ ไมม่ ีลวดลาย สีกรมทา่
(๔) สายเข็มขัดหนังสีดา หัวเข็มขัด มีเคร่ืองหมายมหาวิทยาลัยตามแบบที่
มหาวทิ ยาลัยกาหนด
(๕) รองเทา้ หนงั หมุ้ สน้ สีดา ไมม่ ลี วดลาย ทรงสุภาพ
(๖) ถงุ นอ่ งสีเนือ้ ไมม่ ีลวดลาย
ข้อ ๗ เครื่องแต่งกายชุดปฏิบัติการและชุดกีฬา ให้แต่งเฉพาะในชั่วโมง
ปฏิบตั ิการ หรือในชั่วโมงพลศึกษาและนันทนาการ
ขอ้ ๘ ในการเขา้ เรียนภาคทฤษฎี ให้สวมใสเ่ คร่อื งแบบปกติ
คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕ )2(๑5)9(
มหาวิทยาลยั เทคโนคโม่ลู ยอื นรี ากั ชศมกึ งษคาล๒กร๕งุ ๖เท๕พ (๒๕๙)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ข้อ ๙ ให้อธิการบดีมีอานาจส่ังการให้มีการปฏิบัติตามท่ีเห็นสมควรได้ และ
หากมีปญั หาเกยี่ วกบั การใชร้ ะเบยี บน้ี ให้อธิการบดเี ปน็ ผวู้ นิ จิ ฉยั
ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๘ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
(ลงช่อื ) สาธติ พุทธชยั ยงค์
(นายสาธติ พุทธชัยยงค)์
อธิการบดีมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ
)2(๒6)0( ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕
(๒๖๐ม)หาวคิท่มู ยอื านลกัยั ศเทกึ คษโานโ๒ลย๕รี ๖าช๕มงคลกรงุ เทพ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
วา่ ดว้ ยการใช้บริการสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
พ.ศ. ๒๕๕๙
ม..ห..า..ว..ิท...ย..า..ล..ัย...เ.ท..ค...โ.น...โ.ล..ย..ี.ร..า.ช...ม..ง..ค..ล..ก...ร..ุง.เ..ท..พ......เ.ป..็น...ส..ถ...า.บ...ัน...อ..ุด..ม...ศ..ึก. ษา สังกัดสานักงาน
คณะกรรมเกพาื่อรคกาวราอมุดเมหศมึกาษะาสตมาใมนพกราะรรดาาชเบนัญินญงาัตนิมหแาลวะิทกยาารลใัยหเทบ้ ครโกิ นาโรลขยีรอางชสมางนคกัลวพิทุทยธบศรักิกราารชแล๒ะ๕๔๘
เทคโนเมโื่อลวยันสี ทาี่ร๑ส๙นเทมศกดราาคเนมนิ ไ๒ป๕ด๔้ว๘ยควเาปม็นมกรีาะรเรบวยีมบตัวเรขียอบงร๓้อยวติทรยงาตเขาตมนคโือยวบิทายยาแเลขะตวเทตั คถนุปิคระกสรุงงเคท์ขพอฯง
มหาววิทิทยยาาลเขยั ตเทบพคิตโนรโพลิมยุขีรมาหชามเมงคฆลแกลระุงวเิททยพาเขตพระนครใต้ ภายใต้ชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ จอดั ากศารัยเอรียานนกาาจรตสาอมนคในวราะมดใบั นอมุดามตศรกึ าษา๑ห๗ลกั(๒สูต) รแปหรญิ่งพญราะตรราีแชละบปญั ริญญญตั มิาโหทาหวลิทายกาหลลยัายเทสคาขโนาวโชิลายี
ราชมยงึดคมล่ันในพอ.ศุดม. กา๒ร๕ณ๔์แ๘ละปปรัชรญะกาอกบากรจบั ัดมกตาิทรศปี่ ึกรษะาชเมุพส่ือภผลามิตบหัณาวฑทิ ิตยนาักลปัยฏเทิบคัติโตนอโลบยสีรนาอชงมคงวคามลตก้อรงุงกเทารพ
ในกาขรอปงรสะังชคมุ ม คโดรยั้งทเช่ี ื่อ๕ม/่ัน๒ว๕่า๕เท๑คโเนมโ่อื ลวยนัีแทละี่ ๑อา๓ชีวพศฤึกษษภาาเปค็นมก๒ระ๕บ๕ว๑นกมาหรศาึกวษิทายทา่ีจลายั เเปท็นคใโนนกโาลรยเสรี ราิมชสมรง้าคงล
กรุงเทมพาตรจฐึงามนีมคตณุ ิใภหา้อพอกเรพะื่อเเบปียน็ บกไาวล้ดงั สังาตค่อัญไปในนกี้ ารพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทย
หมวดท่ี ๑
บทท่ัวไป
ข้อ ๑. ระเบยี บน้เี รียกว่า “ระเบยี บมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพวา่ ดว้ ยการใช้
บรกิ ารสานกั วทิ ยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ. ๒๕๕๙”
ขอ้ ๒. ระเบียบนใ้ี หใ้ ชบ้ ังคับตัง้ แต่วนั ถัดจากวันประกาศเปน็ ต้นไป
ข้อ ๓. ให้ผู้อานวยการเปน็ ผรู้ กั ษาการตามระเบียบนี้ และมอี านาจวินจิ ฉยั ชี้ขาดเกีย่ วกับ
การปฏิบตั ติ ามระเบยี บน้ี คาวินิจฉัยชี้ขาดของผู้อานวยการเป็นทีส่ ุด
ข้อ ๔. ในระเบียบน้ี
“มหาวิทยาลัย” หมายถงึ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
“อธกิ ารบดี” หมายถึง อธิการบดมี หาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
“ผูอ้ านวยการ” หมายถงึ ผู้อานวยการสานักวทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
“สานัก” หมายถงึ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
“นักศึกษา” หมายถึง นกั ศึกษามหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕ )2(๑6)1(
มหาวิทยาลยั เทคโนคโ่มลู ยอื นีรากั ชศมกึ งษคาล๒กร๕งุ ๖เท๕พ (๒๖๑)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
“บุคลากรของมหาวิทยาลัย” หมายถึง ข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย พนกั งานราชการ
ลกู จ้างประจา ลูกจา้ งชัว่ คราว พนักงานเงินรายได้
“บุคคลภายนอก” หมายถึง บุคคลอ่ืนซ่ึงไม่ได้เป็นคณาจารย์ หรือ ข้าราชการ พนักงาน
ลูกจา้ ง หรือ นกั ศึกษา ของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
“ทรัพยากรสารสนเทศ”หมายถึง สอ่ื ส่งิ พิมพ์ และส่ือไม่ใช่สิ่งพมิ พ์ ท่จี ดั ไว้ให้บรกิ าร
“สือ่ สิ่งพมิ พ”์ หมายถงึ ส่อื ในรูปหนงั สอื วารสาร หนงั สอื พมิ พ์ จลุ สาร เอกสารต่างๆ
“สือ่ ไมใ่ ช่สง่ิ พิมพ์” หมายถงึ สือ่ ในรูปของโสตทัศนวัสดุ หรอื สื่ออิเล็กทรอนกิ ส์ในรูปแบบอ่นื
“เครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์” หมายถึง การเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อ่ืนเข้าด้วยกัน
โดยอาศัยช่องทางการสื่อสารข้อมูลท้ังแบบมีสายและไร้สายเพื่อใช้แลกเปลี่ยนข้อมู ลและใช้
ทรพั ยากรรว่ มกัน
หมวดที่ ๒
เวลาเปดิ ให้บริการ
ขอ้ ๕. เปดิ ให้บริการห้องสมุดตามวนั เวลา ดงั น้ี
๕.๑ ระหวา่ งเปิดภาคการศึกษา
วันจนั ทร์ ถงึ วนั ศุกร์ เวลา ๘.๐๐ – ๑๙.๓๐ น.
วันเสาร์ เวลา ๙.๐๐ – ๑๕.๐๐ น.
ปดิ วนั อาทติ ย์และวนั หยดุ นักขตั ฤกษ์
๕.๒ ระหวา่ งปิดภาคการศกึ ษา
วนั จนั ทร์ ถงึ วันศุกร์ เวลา ๘.๓๐ – ๑๖.๓๐ น.
ปดิ วนั เสาร์ วนั อาทิตย์ และวันหยุดนกั ขตั ฤกษ์
ข้อ ๖. เปดิ ให้บรกิ ารศูนยก์ ารเรียนรู้ด้วยตนเองตามวนั เวลา ดังน้ี
๖.๑ ระหว่างเปิดภาคการศึกษา
พื้นทเี่ ทคนิคกรงุ เทพฯ
วนั จันทร์ ถงึ วนั ศกุ ร์ เวลา ๘.๐๐ – ๑๙.๓๐ น.
วันเสาร์ เวลา ๙.๐๐ – ๑๕.๐๐ น.
ปดิ วันอาทติ ย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์
พนื้ ท่ีบพติ รพมิ ุขมหาเมฆ
)2(๒62) ( คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๒๖๒ม)หาวคิท่มู ยอื านลกัยั ศเทกึ คษโานโ๒ลย๕ีร๖าช๕มงคลกรงุ เทพ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
วันจันทร์ ถงึ วันศุกร์เวลา ๘.๐๐ – ๑๖.๓๐ น.
ปดิ วนั เสาร์ วนั อาทิตย์ และวันหยดุ นกั ขัตฤกษ์
พนื้ ทพี่ ระนครใต้
วนั จันทร์ ถงึ วนั ศุกร์ เวลา ๘.๐๐ – ๑๖.๓๐ น.
ปดิ วันเสมาหรา์ ววนัิทอยาาลทัยติ เยท์ คแโลนะโวลันยหีรายชดุ มนงักคขลัตกฤรุงกเษท์พ เป็นสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสานักงาน
๖ค.ณ๒ะกรระรหมวก่าารงกปาดิ รภอุดามคศกึกาษรศา ึกตษามาพทรงั้ ะร๓าชพบ้ืนัญทญ่ี ตั ิมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘
เมื่อวันวทันี่จ๑ัน๙ทรม์ ถกึงราวคันมศุก๒ร๕์เว๔ล๘า ๘เป.๓็น๐กา–รร๑ว๖มต.๓ัว๐ขอนง.๓ วิทยาเขต คือ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ
วิทยาเปขิดตวบันพเิตสราพริม์ วุขนั มอหาาทเมิตฆย์แแลละะววิทันยหาเยขดุ ตนพักระขนัตคฤรกใษต้์ ภายใต้ชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเเทมพ่ือจมดั ีเกหาตรเุจรายี เนปก็นารสผอู้อนาในนรวะยดับกอาดุรมมศีอึกาษนาหาลจกัเปสูตลร่ียปนรญิ แญปาลตงรวีแันละแปลระิญเญวาลโาทใหหล้บารกิหกลาารยไสดา้โขดายวชิ ใาห้
ประกยาึดศมล่ัน่วในงอหุดนม้ากไามร่นณ้อ์แยลกะวป่ารัช๓ญาวันกาแรจตัด่ใกนากรรศณึกษีฉาุกเพเฉื่อินผลเิตพบื่อัณรัฑกิษตนาักปปรฏะิบโยัตชิ ตนอ์ขบอสงนสอางนคัวกาหมรตือ้อคงกวาารม
ปลอดขภองัยสขังอคงมผโู้ใดชย้บเรชิก่ือามรั่นวผ่าู้อเทานคโวนยโกลายรีแมลีอะอานาชาีวจศปึกิดษบารเปิก็นากรรหะบรือวนเปกลาร่ียศนึกแษปาลทง่ีจวาันเปแ็นลใะนเกวาลราเสใหริม้บสรริก้าางร
เป็นกมาารตชรั่วฐคานราควุณโภดายพไมจ่ เพาเอ่ื ปเป็นน็ ตกอ้ างลปงั สิดาปครญั ะใกนากศารลพว่ ัฒงหนนาเา้ศรษฐกิจและสงั คมไทย
หมวดที่ ๓
บคุ คลผมู้ ีสิทธิในการใช้บรกิ าร
ข้อ ๗. บคุ คลผ้มู สี ทิ ธิในการใช้บริการ
๗.๑ ข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานราชการ ลูกจา้ งประจา ลูกจ้างช่ัวคราว
พนักงานเงินรายได้
๗.๒ อาจารย์พิเศษของมหาวทิ ยาลยั
- บคุ คลทไ่ี ดร้ ับเชญิ มาสอนหรอื มาบรรยายให้กับมหาวิทยาลยั
- ชาวต่างชาติท่ีมีสัญญาจ้างสอนช่ัวคราวในมหาวิทยาลัยโดยมีกาหนดระยะเวลา
๑ ภาคการศกึ ษาขึ้นไป
๗.๓ นักศึกษาของมหาวทิ ยาลยั
๗.๔ บุคคลภายนอก
ข้อ ๘. ผูม้ สี ิทธิยมื ทรัพยากรสารสนเทศของสานกั และใช้เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ ได้แก่ บคุ คล
ทีร่ ะบุในข้อ ๗.๑ และ ๗.๓ สาหรบั บุคคลตามข้อ ๗.๒ และ ๗.๔ ให้อยูใ่ นดุลยพนิ ิจของผู้อานวยการ
คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕ )2(๑6)3(
มหาวิทยาลยั เทคโนคโ่มลู ยอื นรี ากั ชศมึกงษคาล๒กร๕งุ ๖เท๕พ (๒๖๓)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
หมวดที่ ๔
ทรัพยากรสารสนเทศท่ใี ห้บริการและการให้บรกิ าร
ข้อ ๙. สานักมีทรัพยากรสารสนเทศท่ีให้บริการทั้งในรูปของสื่อส่ิงพิมพ์ และส่ือไม่ใช่สิ่งพิมพ์
โดยมีหลกั เกณฑ์การใหบ้ รกิ าร ดงั นี้
๙.๑ ส่ือสิ่งพิมพ์ ท่ีอนุญาตให้ยืมออกนอกสานัก ได้แก่ หนังสือ ตารา นวนิยาย เร่ืองสั้น
หนังสอื สารคดี หนงั สอื สารอง และเอกสารสงิ่ พิมพอ์ นื่ ๆ ทร่ี ะบุใหย้ มื ออกได้
๙.๒ สื่อส่ิงพิมพ์ ที่ไม่อนุญาตให้ยืมออกนอกสานัก ได้แก่ หนังสืออ้างอิง วิทยานิพนธ์
วารสาร หนงั สือพมิ พ์ เอกสารสง่ิ พิมพอ์ น่ื ๆ ทร่ี ะบุหา้ มยมื ออก
๙.๓ ส่ือไม่ตีพิมพ์ ที่อนุญาตให้ยืมออกนอกสานัก ได้แก่ ส่ือในรูปของโสตทัศนวัสดุ หรือ
ส่อื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ในรูปแบบอืน่
๙.๔ ส่ือไม่ใช่สิ่งพิมพ์ ที่ไม่อนุญาตให้ยืมออกนอกสานัก ได้แก่ ส่ือในรูปของโสตทัศนวัสดุ
หรือสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ในรปู แบบอน่ื ท่รี ะบุห้ามยืม
ข้อ ๑๐. การบรกิ ารมีดังน้ี
๑๐.๑ บริการทรัพยากรสารสนเทศ ได้แก่ บริการยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศของสานัก
บริการยืมระหว่างห้องสมุด บริการแนะนาวิธีการใช้ฐานข้อมูล บริการตอบคาถามและช่วยค้นคว้า
บรกิ ารแนะนาหนังสือใหม่
๑๐.๒ บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้แก่ บริการไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ บริการพื้นที่
จัดเก็บข้อมูลเว็บไซต์ของหน่วยงาน บริการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท้ังแบบใช้สายและไร้สาย บริการ
เครอื ขา่ ยอินเทอร์เนต็ บริการศูนย์การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง
๑๐.๓ บริการเทคโนโลยกี ารศกึ ษา ไดแ้ ก่ บริการยืม-คืนโสตทัศนูปกรณ์ บรกิ ารถา่ ยภาพนิ่ง
เเละภาพเคลื่อนไหว บริการผลิตส่อื ดจิ ทิ ัล บริการทาสาเนาเเละแปลงสญั ญาณ
ข้อ ๑๑. สานักอาจกาหนดวิธีการและเง่ือนไขในการใช้ทรัพยากรสารสนเทศให้เหมาะสมกับ
ทรัพยากรสารสนเทศแต่ละประเภทได้
)2(๒6)4( ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕
(๒๖๔ม)หาวคิทมู่ ยอื านลกัยั ศเทึกคษโานโ๒ลย๕ีร๖าช๕มงคลกรงุ เทพ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
หมวดท่ี ๕
สิทธแิ ละกาหนดเวลาการยืมทรัพยากรสารสนเทศ
ข้อ ๑๒. ผู้มีสิทธิในการยืมทรัพยากรสารสนเทศ ได้แก่ นักศึกษา คณาจารย์ ข้าราชการ
พนักงาน และลูกจ้างมหาวิทยาลัย ส่วนบุคคลภายนอกไม่มีสิทธิยืมทรัพยากรสารสนเทศ
แต่สามารถเข้าใช้บรมกิ หาารวภิทายยาใลนัยสเทานคักโนไดโล้ ยีราชมงคลกรุงเทพ เป็นสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสานักงาน
ขอ้คณ๑ะก๓ร.รมบกรากิรกาารรยอมื ุดทมรศพัึกษยาากตรามแพบระง่ ตราาชมบปัญรญะัตเภิมทหสาวมิทายชาิกลัยเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘
เมื่อวันท่ี ๑๑๙๓.๑มกรบารคิกมาร๒ย๕มื ๔ส๘อ่ื สง่ิเปพ็นิมกพา์ปรรรวะมเภตทัวขหอนงงั ส๓ือวิทยาเขต คือ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ
วิทยาเขตบพิตปรรพะิมเภุขมทหสามเมาฆชกิ และวิทยาเขตพรจะานนควรนใตห้ นภังาสยใอื ต้ชื่อมหาวิทยราะลยัยะเเทวคลโานโลยีราชมงคล
กรุงเนทักพศจึกดั ษกาารปเรรยีิญนญกาารตสรอี นในระดบั อุดมศกึ ษาหลกั ส๗ูตรเปลร่มญิ ญาตรีและปรญิ ญาโ๗ท วหันลากหลายสาขาวชิ า
ยึดมน่ันกัในศอกึ ุดษมากราะรดณบั ์แบลัณะปฑริตัชศญึกาษกาารจัดการศึกษาเ๑พื่อ๐ผเลลิต่มบัณฑิตนักปฏิบัติ ต๑อ๕บสวนันองความต้องการ
ของอสังาคจมารโยด์ ยขเา้ชรื่อามชั่นกวา่ารเทพคนโนกั โงลายนีและอาชีวศึกษา๑เป๕็นเกลรม่ ะบวนการศึก๑ษาภทา่ีจคากเปา็นรใศนึกกษาารเสริมสร้าง
มาตลรฐกู าจนา้ คงณุ ภาพ เพอ่ื เป็นกาลังสาคัญในการพฒั นา๑เศ๒รษเลฐกม่ จิ และสังคมไทย ๑ เดอื น
๑๓.๒ บรกิ ารยมื สอื่ ไม่ใชส่ ่งิ พิมพ์
ประเภทสมาชิก จานวน ระยะเวลา หมายเหตุ
นกั ศกึ ษาปริญญาตรี ๒ รายการ ๗ วัน -
นกั ศกึ ษาระดับบณั ฑติ ศึกษา
อาจารย์ ข้าราชการ ยกเวน้ สอ่ื โสตทศั น์ที่
พนกั งาน ๕ รายการ ๑ เดอื น มจี านวนนอ้ ย มี
ระยะเวลายมื ๗ วนั
ลูกจ้าง ๒ รายการ ๗ วนั -
ข้อ ๑๔. ผู้อานวยการอาจประกาศกาหนดปริมาณ ระยะเวลา และเง่ือนไขในการให้ยืม
ทรัพยากรสารสนเทศตอ่ จากทีก่ าหนดข้างต้นได้ ในกรณที ม่ี ีเหตุผลและความจาเป็น
ข้อ ๑๕. บตั รสมาชกิ
๑๕.๑ คณาจารย์ ข้าราชการ และพนักงานมหาวิทยาลยั นาบัตรประจาตัวขา้ ราชการ
และบัตรประจาตัวพนักงานมหาวิทยาลัย มาดาเนินการทาบัตรสมาชิก โดยบัตรสมาชิกมีอายุ
เทา่ กับอายุการปฏิบัตงิ านในมหาวิทยาลัย
ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕ )2(๑6)5(
มหาวิทยาลยั เทคโนคโม่ลู ยอื นรี ากั ชศมึกงษคาล๒กร๕งุ ๖เท๕พ (๒๖๕)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
๑๕.๒ อาจารย์พิเศษ และเจ้าหน้าท่ีท่ีเป็นลูกจ้างช่ัวคราวของมหาวิทยาลัยต้องนา
ใบค้าประกันความเสียหายไปให้ผู้บังคับบัญชาเป็นผู้ลงนามรับรอง เพ่ือนามาทาเป็นบัตรสมาชิก
โดยอายุบัตร สมาชิกเท่ากับอายุการปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยของอาจารย์พิเศษ และเจ้าหน้าที่ที่
เปน็ ลกู จ้างชั่วคราว
๑๕.๓ นักศึกษาใหม่เฉพาะในภาคการศึกษาแรกท่ียังไม่ได้รับบัตรนักศึกษา อนุญาต
ให้ใช้บัตรประจาตัวประชาชนแทนบัตรสมาชิกได้ กรณีนักศึกษาท่ีมีบัตรนักศึกษาแล้ว สามารถนา
บตั รนกั ศึกษามาใชบ้ รกิ ารสานกั ได้
ขอ้ ๑๖. การยมื ทรัพยากรสารสนเทศ
๑๖.๑ ผยู้ มื ต้องมายมื ด้วยตนเองเทา่ นน้ั
๑๖.๒ การต่ออายุการยมื สามารถยืมต่อได้ ๑ คร้ัง แต่ถ้ามีผูข้ อใช้สิทธิในการจองจะ
งดการตอ่ อายุการยืมเพอ่ื ให้สทิ ธิแก่ผขู้ อจอง
๑๖.๓ ทรัพยากรสารสนเทศทุกรายการท่ียืมไป ผู้ใช้บริการต้องนามาส่งคืนตาม
กาหนดระยะเวลาท่ีระบุ
๑๖.๔ ผู้ใช้บริการต้องตรวจสอบสภาพทรัพยากรสารสนเทศก่อนยืมออก และต้อง
รับผิดชอบในการชารุดเสยี หายของทรัพยากรสารสนเทศทีย่ ืม
๑๖.๕ ผู้ใช้บริการไม่คืนทรัพยากรสารสนเทศตามกาหนดหรือทาให้ชารุดเสียหาย
จะตอ้ งชาระค่าปรบั หรือชดใช้ค่าเสียหายตามท่ีกาหนดไว้ในหมวด ๖ คา่ ปรับและคา่ เสยี หาย
ข้อ ๑๗. ระเบยี บการขอใช้บริการอนิ เทอรเ์ น็ตและไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์
๑๗.๑ คณาจารย์ ข้าราชการ และพนักงานมหาวิทยาลัย ให้บันทึกข้อมูลตามแบบ
คาขอใชบ้ ริการอินเทอรเ์ น็ตและไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ โดยผู้บังคับบัญชาลงนามรับรอง
๑๗.๒ อาจารย์พิเศษ ให้บันทึกข้อมูลตามแบบคาขอใช้บริการอินเทอร์เน็ตพร้อม
สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน โดยคณบดีลงนามรับรอง โดยระยะเวลาท่ีสามารถใช้บริการได้
๑ ภาคการศึกษา
๑๗.๓ นักศกึ ษาให้บนั ทึกข้อมลู ตามแบบคาขอใช้บรกิ ารอินเทอร์เน็ตโดยผู้อานวยการ
สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบยี นลงนามรับรอง หรือบันทกึ ข้อมลู ตามแบบคาขอออนไลน์ผ่าน
เว็บไซตท์ ี่สานักจัดเตรียมไว้
)2(๒6)6( ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕
(๒๖๖ม)หาวคิทมู่ ยอื านลกัยั ศเทึกคษโานโ๒ลย๕รี ๖าช๕มงคลกรงุ เทพ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
๑๗.๔ วิทยากร หรือบุคคลภายนอก ให้บันทึกข้อมูลตามแบบคาขอใช้บริการ
อินเทอร์เน็ตพร้อมสาเนาบัตรประจาตัวประชาชน โดยคณบดี ผู้อานวยการสานัก/สถาบัน
ผู้อานวยการวิทยาลัยนานาชาติ และผู้อานวยการกอง หรือเทียบเท่า ลงนามรบั รอง
๑๗.๕ ไม่ใช้อินเทอร์เน็ต และจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงทรัพยากร
สารสนเทศอ่ืน ๆ ขมอหงมาหวิทาวยิทาลยัยาเลทยั คโกนรโะลทยาีรกาชารมใงดคลๆกอรุงันเเทปพน็ กเาปร็นลสะถเมาบิดันกฎอุดหมมศาึกยษา สังกัดสานักงาน
คณขะ้อกรร๑ม๘กา.รกราะรเอบดุ ียมบศกึกาษราขตอาใมชพบ้ รระิกราาชรบภญัายญใตั นิมหห้อางวศิทนูยายลก์ ัยาเทรเครโยีนนโลรยู้ดีร้วายชตมงนคเลองพุทธศักราช ๒๕๔๘
เมื่อวันที่ ๑๙ ๑ม๘ก.ร๑าคมแตง่๒ก๕า๔ย๘สภุ าเปพ็นเรกียาบรรรว้อมยตัวของ ๓ วิทยาเขต คือ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ
วิทยาเขตบพิต๑ร๘พิม.๒ุขมหใาชเ้มบฆัตแรลนะักวิทศยึกาเษขาตพในระกนาครรลใตง้ ทภะายเบใตีย้ชื่นอมเหข้าาว-ิทอยอากลัยเเทมค่ือโเนขโล้ายใีรชา้บชมรงิกคาลร
ศูนยก์ การรุงเเทรยีพนจรดั ู้ดก้วารยเตรียนนเอกางรสอนในระดบั อุดมศึกษาหลกั สตู รปรญิ ญาตรีและปริญญาโท หลากหลายสาขาวชิ า
ยึดม่ันในอุดมก๑า๘รณ.๓์แลวะาปงกรัชรญะเาป๋ากาสรมจุดัดกหานรศังสึกือษแาลเพะื่อเสผื้อลเิตเจบ็ตัณเกฑ็ติตไนวัก้ในปลฏ็อิบกัตเิ กตออรบ์ สทน่ีสอางนคักวาจมัดตไ้อวงใ้ หกา้ ร
ของสังคม โดย๑เช๘่ือ.ม๔ั่นวไ่ามเส่ทง่คเโสนียโงลดยงัีแรลบะกอวาชนีวผศูอ้ ึกื่นษาเป็นกระบวนการศึกษาท่ีจาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตรฐานคณุ ภ๑าพ๘.๕เพ่อื ไเมป่็นนกาาอลงัาสหาคาัญรในเคการร่ือพงัฒดนื่มาเศตรลษฐอกดจิ แจลนะขสงัอคงมคไทบยเค้ียวทุกชนิดเข้ามาใน
ศนู ย์การเรียนรดู้ ้วยตนเอง
๑๘.๖ รักษาความสะอาดและใช้อปุ กรณ์อย่างระมัดระวงั
๑๘.๗ กรณีอุปกรณ์ชารุดหรือมีปัญหา ให้แจ้งเจ้าหน้าที่ประจาศูนย์การเรียนรู้
ด้วยตนเอง ทนั ที
๑๘.๘ เมอ่ื เลิกใชบ้ รกิ ารเเลว้ ให้ปดิ เคร่อื ง เกบ็ เก้าอ้ีกลบั เข้าทีเ่ ดิม
อนุญาต ๑๘.๙ ห้ามนาเอกสารและอุปกรณ์ต่างๆ ของศูนย์ฯ ออกจากศูนย์โดยไม่ได้รับ
๑๘.๑๐ หากผู้ใช้บริการทาให้อุปกรณ์เสียหายโดยไม่ได้เกิดจากการใช้งานปกติ
จะตอ้ งรับผดิ ชอบตอ่ ความเสยี หายท่ีเกิดข้ึน
๑๘.๑๑ ห้ามใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์เพื่อกระทาความผิดภายใต้ พระราชบัญญัติ
วา่ ดว้ ยการกระทาความผิดเกย่ี วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐
๑๘.๑๒ ห้ามใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพ่ือการอ่ืนใด
นอกเหนือจากวตั ถุ ประสงคท์ างการศึกษา
๑๘.๑๓ ห้ามนาโปรแกรมจากภายนอกมาติดต้ังกับเครื่องคอมพิวเตอร์ภายใน
ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ด้วยตนเอง โดยไม่ได้รบั อนญุ าต
คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕ )2(๑6)7(
มหาวิทยาลยั เทคโนคโ่มลู ยอื นีรากั ชศมึกงษคาล๒กร๕งุ ๖เท๕พ (๒๖๗)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ขอ้ ๑๙. สทิ ธแิ ละกาหนดการใหบ้ ริการอนื่ ๆ ตามข้อ ๑๐.๑, ๑๐.๒ และ ๑๐.๓ หวั หน้างาน
แตล่ ะฝ่ายท่ีรับผิดชอบอาจประกาศสทิ ธิและกาหนดการให้บริการได้ตามความเหมาะสม
หมวดท่ี ๖
ค่าปรับและค่าเสียหาย
ข้อ ๒๐. ผู้ยืมทรัพยากรสารสนเทศ ที่ไม่สง่ คนื ภายในระยะเวลาท่ีกาหนด ต้องชาระค่าปรับดงั นี้
๒๐.๑ สื่อส่ิงพิมพ์ประเภทหนงั สือตารา สารคดี นวนิยาย เร่ืองสัน้ เลม่ ละ ๓ บาทต่อวัน
๒๐.๒ สื่อไมใ่ ช่สิ่งพิมพ์ ท่ีอนุญาตให้ยมื ออก รายการละ ๕ บาทตอ่ วัน
ขอ้ ๒๑. การนบั จานวนวันเพอื่ คานวณคา่ ปรับ ให้เรม่ิ นบั ต่อวันจากวันกาหนดคืน โดยไม่เว้น
วันหยุดราชการจนถึงวนั ท่ีผู้ยมื นาทรัพยากรสารสนเทศมาสง่ คนื
ข้อ ๒๒. การเสยี ค่าปรับในการใชต้ ลู้ ็อคเกอร์
๒๒.๑ กรณีนักศึกษาลืมรหัสผ่านในการเปิดตู้ล็อคเกอร์เพ่ือนาสัมภาระออก ต้องเสีย
คา่ ปรับในการเปดิ ครง้ั ละ ๒๐ บาท
๒๒.๒ นักศึกษาต้องนาของออกจากตู้ล็อคเกอร์ก่อนเวลาปิดทาการของสานัก กรณี
ไม่ปฏบิ ัติตาม ตอ้ งเสียค่าปรับครั้งละ ๒๐ บาท
ขอ้ ๒๓. หากทรัพยากรสารสนเทศที่ยืมชารุดเสยี หาย และอยู่ในวสิ ัยซ่อมแซมได้ ผยู้ ืมต้อง
ชดใช้ค่าเสียหายเพื่อการซ่อมแซมตามจานวนเงินท่สี านกั ได้จ่ายไปเพ่ือการนั้น
ข้อ ๒๔. หากทรัพยากรสารสนเทศที่ยืมสูญหายหรือชารุดเสียหายจนไม่อาจซ่อมแซมได้ ผู้ยืม
ต้องจัดซื้อในรายการท่ีเหมือนกันหรือดีกว่า โดยมีราคาไม่ต่ากว่ามูลค่าของทรัพยากรสารสนเทศ
หรือชดใช้เป็นจานวนเงิน ๒ เท่า ของมูลค่าทรัพยากรสารสนเทศที่ทาสูญหายหรือชารุด
พร้อมชาระค่าปรับนับต่อจากวันครบกาหนดส่ง ถึงวันนาเงนิ หรือ นาทรัพยากรสารสนเทศท่ีจดั ซื้อ
ใหมม่ าชดใชแ้ ทน ในกรณีไม่ทราบมูลคา่ ของทรพั ยากรสารสนเทศ ใหส้ านักเปน็ ผปู้ ระเมินทรัพยากร
สารสนเทศนน้ั ๆ
ข้อ ๒๕. ทรัพยากรสารสนเทศที่ได้เคยแจ้งหายไว้ หากพบในภายหลัง ให้ถือว่าเป็นสมบัติของ
มหาวทิ ยาลยั
ข้อ ๒๖. เงินค่าปรับ เงินค่าชดใช้ความเสียหาย และเงินอื่นๆ อันเน่ืองจากการให้บริการ
ของสานัก ใหม้ หาวิทยาลัยจดั สรรคืนให้สานกั ไวเ้ ป็นคา่ ใช้จ่ายในกจิ กรรมของสานกั โดยเฉพาะ
)2(๒6)8( ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๒๖๘ม)หาวคิท่มู ยอื านลกัยั ศเทกึ คษโานโ๒ลย๕รี ๖าช๕มงคลกรงุ เทพ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
หมวดที่ ๗
ขอ้ ปฏบิ ัติในการใช้บรกิ าร
ข้อ ๒๗. การใช้บรกิ ารในสานกั ตอ้ งปฏบิ ัตดิ งั ต่อไปนี้
๒๗.๑ แต่งกายสุภาพเรยี บร้อย
๒๗.๒ มเหกาบ็ วกิทรยะาเลปัย๋าเทถคุงโนยโา่ ลมยีรหาชรมอื หงคีบลหกอ่ รไุงวเทใ้ นพตลู้ เปอ็ ็คนเสกถอารบ์ ันแอลุดะมไมศึกน่ ษาขาอสงังทกี่ผัดดิสกานฎักหงมาานย
เข้าไปคเณกะบ็ กไรวรใ้ มนกตาลู้ ร็อกาครเอกดุ อมรศ์ ึกษา ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘
เม่ือวัน๒ท๗ี่ ๑.๓๙ กมรกณราฝี คามกข๒อ๕งไ๔ว๘้ภายเปใน็นตก้ลูา็อรรควเมกตอัวรข์ ตอ้องง๓นาวอิทอยกาเกข่อตนคเวือลวาิทปยดิ าทเขาตกเาทรคนิคกรุงเทพฯ
วิทยาเข๒ต๗บ.๔พิตรไพมิส่มุ่งขเมสหยี างเดมังฆ หแรลือะทวิทายกาาเรขใตดพๆระทน่รี คบรกใวตน้ ภผาู้อย่นื ใต้ชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพ๒จ๗ดั .๕การไเรมยี ่รนับกปารรสะอทนาในนอระาดหบั าอรดุ ขมนศกึมษเาคหรล่อื กั งสดตู ่มืรปหรญิรือญาสตูบรบีแลหุ ะรปี่ ริญญาโท หลากหลายสาขาวชิ า
ยึดม่ันใ๒น๗อุด.๖มกทารรณัพ์แยลาะกปรรสัชาญรสานกเาทรศจทัดก่ีไมาร่ไดศึย้กษมื ใาหเพ้ถ่ือูกผตล้อิตงบตัณามฑริตะนเักบปียฏบิบัหติา้ ตมอนบาสอนออกงนควอากมสตา้อนงักการ
ของสัง๒คม๗.โ๗ดยไเชม่ือ่ทมาั่นลวา่ายเทโคดโนยโกลายรีแฉลีกะอตาชัดีวศขึกีดษเาขเียปน็นกพระับบวหนรกือามรศีพึกฤษตาิกทร่ีจราเมปใ็นดใๆนกอาันรเทสราิมใหสร้เ้ากงิด
ความมเสาตยี รหฐาายนคแุณก่ทภราพพั ยาเพกอื่รเสปาน็ รกสานลเังทสาศคขญั อใงนสกาานรกัพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทย
๒๗.๘ ใช้บรกิ ารทรพั ยากรสารสนเทศ ณ ที่ซง่ึ จัดไว้โดยเฉพาะ
๒๗.๙ ให้เจ้าหน้าท่ีสานักตรวจสอบทรัพยากรสารสนเทศและกระเป๋าก่อนออกจาก
สานกั
๒๗.๑๐ ผู้ใช้บริการหยิบหนังสือ วารสาร และส่ิงตีพิมพ์อื่นๆ จากช้ันได้เอง หรือ
จากการแนะนาของเจ้าหน้าท่ี เมื่อใช้แล้วให้วางบนที่พักหนังสือ ยกเว้น หนังสือสารอง
วารสารยอ้ นหลัง ให้คืนเจา้ หนา้ ทบ่ี ริการ
๒๗.๑๑ ผู้ใชบ้ รกิ ารตอ้ งไม่ใชเ้ ครือข่ายคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลยั ในการกระทาใด
ทขี่ ดั ต่อกฎหมาย ประกาศ คาสั่งของมหาวทิ ยาลยั
หมวดท่ี ๘
การดาเนินการผูฝ้ า่ ฝนื ระเบียบ
ข้อ ๒๘. ผู้ใช้บริการท่ีฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามระเบียบ ผู้อานวยการหรือผู้ท่ีได้รับมอบหมาย
มีอานาจพจิ ารณาดาเนินการข้อใดข้อหน่ึงหรอื มากกวา่ ดงั ต่อไปนี้
๒๘.๑ ตกั เตอื น หรอื หา้ มปราม
๒๘.๒ เชญิ ใหอ้ อกนอกบรเิ วณสานกั
๒๘.๓ ตัดสิทธใิ นการใชบ้ ริการ
ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕ )2(๑6)9(
มหาวิทยาลยั เทคโนคโม่ลู ยอื นรี ากั ชศมกึ งษคาล๒กร๕งุ ๖เท๕พ (๒๖๙)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
๒๘.๔ ปรับเงินเป็น ๑๐ เทา่ ของราคาทรัพยากรสารสนเทศ ทน่ี าออกนอกสานักโดยไม่ได้
ยืมใหถ้ ูกตอ้ งตามระเบยี บ
๒๘.๕ เสนอใหม้ หาวิทยาลัยพจิ ารณาลงโทษทางวินัย หรือทางอาญา หรือ ใหม้ ีการ
รบั ผดิ ชอบตามกฎหมาย
ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๒ เดือน กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙
(ลงชื่อ) สาธิต พุทธชยั ยงค์
(นายสาธติ พุทธชยั ยงค)์
อธิการบดมี หาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
)2(๒7)0( คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๒๗๐ม)หาวคิทมู่ ยอื านลกัยั ศเทึกคษโานโ๒ลย๕ีร๖าช๕มงคลกรงุ เทพ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ระเบยี บมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
วา่ ด้วยวนิ ัยนกั ศกึ ษาและผูม้ าขอรบั บรกิ ารทางวิชาการ พ.ศ. ๒๕๖๓
โ ด ย ที่ เ ห็ น เป็ น ก า ร ส ม ค ว ร มี ร ะ เบี ย บ เก่ี ย ว กั บ วิ นั ย นั ก ศึ ก ษ า เพื่ อ ม า ร ย า ท แ ล ะ
ความประพฤติอันมดหีงาาวมิทคยวาาลมัยเเปท็คนโรนะโเลบยียีราบชเมรียงคบลรก้อรยุงเขทอพงนเักปศ็นึกสถษาาบแันลอะุดรมักศษึกาษไาว้สซัง่ึงกชัด่ือสเาสนียักงงขาอนง
มหาวคิทณยะากลรัยรมการการอดุ มศึกษา ตามพระราชบัญญตั ิมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘
เม่ือวันทอี่ า๑ศ๙ัยอมากนราาจคตมาม๒ค๕ว๔า๘มมาเปต็นรากา๒ร๔รวมแตลัวะขมอางต๓ราว๒ิทย๗าเแขหต่งคพือระวิรทายชาบเขัญตญเทัตคิมนหิคกาวรุิทงเยทาพลฯัย
เทคโวนิทโยลายเขีรตาบชพมิตงรคพลิมุขพมห.ศา.เม๒ฆ๕แ๔ละ๘วิทแยลาเะขมตตพิสระภนาคมรหใตา้ วภิทายยใาตล้ชัื่ยอมเทหาควโิทนยโาลลยัยีรเทาคชโมนงโลคยลีรกาชรมุงงเคทลพ
ในกากรรปุงเรทะพชจุมดั คกราั้งรทเร่ี ยี ๕น/ก๒าร๕ส๕อน๑ในเรมะื่อดวบั ันอทุดม่ี ๑ศกึ๓ษาพหฤลษกั สภตู ารคปมรญิ ๒ญ๕าต๕ร๑ีแลไะดป้มริญอบญอาโาทนหาลจาใกหห้มลหายาสวาิทขยาวาชิลาัย
ออกรยะึดเมบ่ันียในบอเุดกมี่ยกวากรับณว์แินลัะยปนรักัชศญึกาษกาารมจหัดกาาวริทศยึกาษลาเัยพจ่ือึงผกลาิตหบนัณดฑริตะนเักบปียฏบิบเัตกิ ่ียตวอบกัสบนวอินงัยคนวาักมศตึก้องษกาาไรว้
ดังต่อขไอปงนสี้ังคม โดยเชื่อมั่นว่าเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเป็นกระบวนการศึกษาที่จาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตรฐานคุณภาพ เพอ่ื เปน็ กาลังสาคัญในกหารมพวัฒดนทา่ีเ๑ศรษฐกจิ และสงั คมไทย
บทท่ัวไป
ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า "ระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ว่าด้วยวินัย
นกั ศึกษาและผูม้ าขอรับบรกิ ารทางวิชาการ พ.ศ. ๒๕๖๓
ข้อ ๒ ระเบียบนีใ้ ชบ้ ังคับตง้ั แต่วนั ถัดจากที่ประกาศเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิก"ระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ว่าด้วยวินัยนักศึกษา
และผมู้ ารับบรกิ ารทางวชิ าการ พ.ศ. ๒๕๕๗"
บรรดาข้อความในข้อบังคับ ระเบียบ คาสั่ง หรือประกาศอ่ืนใดในส่วนที่กาหนดไว้แล้วใน
ระเบยี บนีห้ รือซ่งึ ขัดแยง้ กับความในระเบยี บนี้ใหใ้ ช้ความในระเบียบน้ีแทน
ขอ้ ๔ ในระเบียบน้ี
"มหาวทิ ยาลยั " หมายความว่า มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
"อธกิ ารบด"ี หมายความว่า อธิการบดีมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
"คณะ " หมายความว่า ส่วนราชการท่ีจัดต้ังขึ้นตามมาตรา ๘ (๔) แห่งพระราชบัญญัติ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘ ท่ีจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท
และปรญิ ญาเอกในมหาวิทยาลัยหรอื หน่วยงานทเี่ รียกช่อื อยา่ งอ่ืนที่มฐี านะเทียบเท่าคณะ
"คณบดี " หมายความว่า หัวหน้าส่วนราชการระดับคณะหรือหัวหน้าส่วนราชการ
ทีเ่ รียกช่ืออย่างอ่ืนท่มี ีฐานะเทียบเทา่ คณะท่ีมีการจดั การเรยี นการสอนในสว่ นราชการนั้น
คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕ )2(๑7)1(
มหาวิทยาลยั เทคโนคโม่ลู ยอื นรี ากั ชศมึกงษคาล๒กร๕งุ ๖เท๕พ (๒๗๑)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
"สานัก" หมายความว่า ส่วนราชการท่ีจัดตั้งขึ้นตามมาตรา ๘(๖) แห่งพระราชบัญญัติ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘ หรือจัดตั้งขึ้นตามมติสภามหาวิทยาลัยท่ีมีฐานะ
เทยี บเทา่ คณะในสังกดั มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
"สถาบัน" หมายความว่า ส่วนราชการที่จัดต้ังขึ้นตามมาตรา ๘ (๕) แห่งพระราชบัญญัติ
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ.๒๕๔๘ ในสังกัดมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
"ผู้อานวยการ" หมายความว่า ผู้อานวยการสานัก ผู้อานวยการสถาบันหรือผู้อานวยการ
หน่วยงานท่ีเรียกช่ืออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพ
" นักศึกษา" หมายความว่า นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพและให้
หมายความรวมถึงผู้มาขอรับบรกิ ารทางวิชาการด้วย
"ผู้มารับบริการทางวิชาการ" หมายความว่า ผู้ที่มาขอเข้ารับการฝึกอบรมระยะส้ันหรือ
บุคลากรทที่ างราชการส่งเข้ารับการศึกษาหรือฝึกอบรมตามระยะเวลาท่กี าหนดหรือตลอดหลักสตู ร
โดยไม่อยู่ในฐานะของนักศึกษาหรือข้าราชการที่สมัครมาขอรับการศึกษาหรือการฝึกอบรม
ดว้ ยตนเองระยะเวลาหนึง่ ตลอดหลกั สตู รในคณะ
"บุคลากร" หมายความว่า ข้าราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานราชการ พนักงาน
เงินรายได้ ลกู จ้างประจา ลกู จ้างช่วั คราวทสี่ งั กัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
"คณะกรรมการวินัยนักศึกษา " หมายความว่า คณะกรรมการวินัยนักศึกษามหาวิทยาลัย
เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
"นายกองค์การนักศึกษา " หมายความว่า นายกองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรงุ เทพ
"ประธานสภานักศึกษา" หมายความว่า ประธานสภานักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรงุ เทพ
"คณะกรรมการสอบสวน " หมายความว่า คณะกรรมการสอบสวนที่ได้รับแต่งตั้งจาก
มหาวิทยาลยั หรือคณะแลว้ แต่กรณี
"คณะกรรมการสอบสวนกลาง" หมายความว่า คณะกรรมการสอบสวนที่ได้รับการแต่งต้ัง
จากมหาวทิ ยาลยั โดยอธกิ ารบดี
"คณะกรรมการอุทธรณ์และร้องทุกข์" หมายความว่า คณะกรรมการอุทธรณ์และร้องทุกข์
ที่ไดร้ ับการแตง่ ตัง้ จากอธกิ ารบดี
)2(๒7)2( ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๒๗๒ม)หาวคิท่มู ยอื านลกัยั ศเทึกคษโานโ๒ลย๕ีร๖าช๕มงคลกรงุ เทพ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
"วินัย" หมายความว่า ข้อควรปฏิบัติหรือข้อกาหนดท่ีนักศึกษาหรือผู้มารับบริการ
ทางวชิ าการจากมหาวทิ ยาลัยพึงยึดถอื และปฏิบัติ
"การลงโทษ" หมายความว่า การลงโทษนักศึกษาหรือผู้มารับบริการทางวิซาการที่
ไม่ประพฤติในสิ่งท่ีพึงปฏิบัติหรือฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับหรือข้อห้ามที่มหาวิทยาลัยกาหนด
โดยมีความมุ่งหมามยหในาลวิทักยษาณลัยะเกทาครโวน่าโกลลย่ีาราวชสม่ังงสคอลนกเรพุง่ือเทแพก้นเิสปัย็นแสลถะาคบัวนาอมุดปมรศะึกพษฤา ตสิทังกี่ไมัด่ดส าีหนรักืองเาพน่ือ
ให้รู้สคาณนะึกกรใรนมคกาวรากมารผอิดดุ ลมศะึกเวษ้นา ตกาามรพประรระาพชบฤญั ตญิผัติดิมแหลาวะิทกยลาลับัยมเทาคปโนรโะลยพีรฤาชตมิตงคนลในพทุทาธศงัทกร่ีดาีชหร๒ือ๕เ๔พ๘ื่อ
มิให้เเกมิด่ือคววันาทม่ี ๑เส๙ียหมากยรแากค่บมุค๒คล๕อ๔ื่น๘หรเือปเ็นพก่ือาใรหร้วเขม็ดตหัวขลอางบ๓แลวะิทหยราือเขเพต่ือคมือีใวหิท้เปย็านเเขยตี่ยเงทอคยน่าิคงกแรกุง่บเทุคพคฯล
อนื่ ต่อวไิทปยาเขตบพิตรพิมุขมหาเมฆ และวิทยาเขตพระนครใต้ ภายใต้ชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเ"ทวพินัยจดัไมกา่รร้าเยรยี แนรกงา"รหสอมนาใยนคระวดาบั มอวุด่ามศรึกะษดาับหโลทกั ษสูตยรังปไรมญิ ่ถญึงขาตั้นรอีแอละกปจราญิ กญกาาโรทเปหล็นานกักหศลาึกยษสาาขไาดวชิ้แาก่
ระดับยโึดทมษั่นใวน่าอกุดลม่ากวาตรักณเต์แือละนปภรัชาญคทาณั กาฑร์ จตัดัดกคาะรแศึกนษนาคเวพาื่อมผปลิรตะบพัณฤฑติตแิ นลักะปพฏักิบกัตาิ รตเอรบียสนนองความต้องการ
ของ“สัวงคินมัยอโดยย่าเงชร่ือ้ามยั่นแวร่างเท"คหโนมโาลยยคีแวลาะมอาวช่าีวรศะึกดษับาเโปท็นษกถรึงะขบ้ันวนใหก้อารอศกึกหษราือทค่ีจัดาเชป่ือ็นอในอกกาจราเกสรกิมาสรรเป้าง็ น
นกั ศกึ มษาตารฐานคณุ ภาพ เพ่อื เปน็ กาลงั สาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทย
"วา่ กล่าวตักเตือน " หมายความวา่ เป็นการกระทาผดิ ครั้งแรกไม่เคยกระทาผดิ มากอ่ นและ
เป็นความผดิ เลก็ น้อย
"ภาคทัณฑ์" หมายความว่า การตาหนิโทษเป็นลายลักษณ์อักษรเพ่ือตักเตือนมีให้กระทา
ความผดิ ข้นึ อีก
"ตัดคะแนนความประพฤติ" หมายความว่า การลงโทษโดยการตัดคะแนนความประพฤติ
ตามระเบียบน้แี ละให้บนั ทึกข้อมลู ไว้เปน็ หลักฐาน
"พักการเรยี น" หมายความวา่ การลงโทษโดยอธิการบดี คณบดี หรอื ผู้อานวยการแล้วแต่กรณี
"ให้ออก" หมายความว่า การให้พ้นจากสภาพการเป็นนักศึกษาโดยออกใบรับรองแสดงผล
การศกึ ษาและไมม่ ีสิทธ์ิกลับเขา้ มาเป็นนักศกึ ษาอีกจนกวา่ จะไดร้ บั โทษแลว้ ไม่น้อยกว่า ๑ ปี
"คัดชื่อออก" หมายความว่า ให้พ้นจากสภาพการเป็นนักศึกษา โดยไม่ออกใบรับรอง
แสดงผลการศกึ ษาใหแ้ ละไม่มีสทิ ธ์ิกลบั เขา้ มาเปน็ นักศึกษาอีกจนกว่าจะรับโทษแล้วไมน่ อ้ ยกว่า ๑ ปี
ข้อ ๕ ให้อธิการบดีรักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้และให้มีอานาจออกประกาศหรือ
คาสั่งเพ่ือปฏบิ ัตกิ ารให้เปน็ ไปตามระเบียบน้ี
คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕ )2(๑7)3(
มหาวิทยาลยั เทคโนคโ่มลู ยอื นรี ากั ชศมึกงษคาล๒กร๕งุ ๖เท๕พ (๒๗๓)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
หมวด ๒
วินัยและการรกั ษาวนิ ัยของนักศกึ ษาและผูม้ ารับบรกิ ารทางวิชาการ
ข้อ ๖ นักศึกษาและผู้มารบั บริการทางวิซาการต้องรักษาวินัยโดยกระทาการหรือไม่กระทาการ
ตามทก่ี าหนดไว้ในหมวดน้โี ดยเครง่ ครดั อยเู่ สมอ
ขอ้ ๗ นกั ศกึ ษาและผู้มารบั บริการทางวซิ าการต้องกระทาการอนั เป็นข้อปฏิบัตดิ งั ต่อไปน้ี
ข้อ ๗.๑ ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศและคาสั่งของ
มหาวทิ ยาลัยอยา่ งเครง่ ครัด ผ้ใู ดฝ่าฝนื หรือไมป่ ฏิบตั ิตามถือวา่ ผ้นู ั้นกระทาผดิ วินัย
ข้อ ๗.๒ ต้องรักษาไว้ซึ่งความเป็นระเบียบเรียบร้อย ช่ือเสียงและเกียรติคุณของ
มหาวทิ ยาลยั
ข้อ ๗.๓ ต้องประพฤติตนเป็นสุภาพชน ไม่ประพฤติในสิ่งท่ีอาจนามาซ่ึงความเสื่อมเสีย
แกต่ นเอง บิดา มารดา ผูป้ กครองหรือมหาวิทยาลัย
ข้อ ๗.๔ ต้องปฏิบัติตามหลักศีลธรรม จริยธรรมและวัฒนธรรมอันดีงามของ
สังคมไทยและต้องไม่นาขนบธรรมเนียมประเพณีหรือวิธีการที่ไม่เหมาะสมต่อวัฒนธรรมไทยมา
ปฏบิ ตั ิ
ขอ้ ๗.๕ ต้องไม่นาสุราหรือของมึนเมาใดๆ เข้ามาในบริเวณมหาวิทยาลัยและต้องไม่
เสพสุราหรอื ของมึนเมาใด ๆ ทงั้ ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยจนเป็นเหตุให้เกิดความเสอ่ื มเสีย
แกต่ นเอง บดิ า มารดา ผ้ปู กครองหรอื มหาวทิ ยาลยั
ขอ้ ๗.๖ ตอ้ งไมเ่ สพยาเสพติดหรือสารเสพติดหรือจาหน่ายยาเสพตดิ หรือมยี าเสพติด
หรอื สารเสพติดไวใ้ นครอบครอง
ขอ้ ๗.๗ ต้องไมก่ ระทาการอันเปน็ การล่วงละเมิดหรือคกุ คามทางเพศ
ข้อ ๗.๘ ตอ้ งไม่กระทาการอันได้ชอื่ ว่าเป็นผูป้ ระพฤติชว่ั อย่างรา้ ยแรง
ข้อ ๗.๙ ต้องไม่กระทาความผิดอาญาจนได้รับโทษจาคุกหรือโทษท่ีหนักกว่าโทษ
จาคุกโดยคาพิพากษาถึงท่ีสุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดท่ไี ด้กระทาโดยประมาทหรือ
ความผดิ ลหโุ ทษ
ข้อ ๗.๑๐ ต้องไม่เล่นหรือมีส่วนเก่ียวข้องหรือสนับสนุนการพนันใด ๆ เป็นอันขาด
รวมท้งั ไมเ่ ขา้ ไปในบริเวณหรอื สถานท่ีที่มกี ารเลน่ การพนนั
ข้อ ๗.๑๑ ต้องเชื่อฟังคาส่ังหรือคาแนะนาตักเตือนของอาจารย์หรือบุคลากรของ
มหาวทิ ยาลัยผู้ปฏบิ ัตหิ น้าท่โี ดยชอบด้วยกฎหมาย
)2(๒7)4( คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕
(๒๗๔ม)หาวคิท่มู ยอื านลกัยั ศเทึกคษโานโ๒ลย๕รี ๖าช๕มงคลกรงุ เทพ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ข้อ ๗.๑๒ ต้องแสดงบัตรประจาตัวนักศึกษาทันที เม่ืออาจารย์หรือบุคลากรของ
มหาวิทยาลัยตรวจสอบ
ข้อ ๗.๑๓ ต้องไม่อยู่ในบริเวณมหาวิทยาลัยนอกเหนือเวลาท่ีมหาวิทยาลัยกาหนด
เว้นแตจ่ ะได้รบั อนญุ าตจากมหาวทิ ยาลัยเปน็ กรณี ๆ ไป
ข้อ ๗.๑มห๔าวติท้อยงาไลมัย่กเทระคทโนาโตลนยีรเปาช็นมผงู้มคลีหกนร้ีสุงเินทลพ้นพเป้น็นตสัวถจานบันมีอเรุด่ือมงศเึกสษียาหสาังยกถัดึงสผาู้อน่ืนักงหารนือ
มหาวคิทณยะากลรยั รมการการอดุ มศึกษา ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘
เม่ือวันทขี่ อ้ ๑๙๗.๑ม๕กรตาค้อมงไม๒่ก๕ร๔ะท๘ากเาปร็นทกุจารรติ รใวนมกตาัวรขสอองบ๓หวริทือยแาสเวขงตหคาือปรวะิทโยยาชเขนต์ใดเทๆคนใิคหกก้ รับุงตเทนพเอฯง
ห รือ ผวิทู้ อย่ืนาอเขั นตเบปพ็ นิตกราพริมเุขสม่ือหมาเเมสฆีย แแลกะ่ มวหิทายวาิเทขยตาพลระั ยนถค้ ารคใตว้ าภมาเยสใี ยตห้ชื่อามยหทาี่ เวกิทิดยขา้ึลนัยยเั งทไคมโ่นถโึ งลขยั้ นีรารช้ามยงแครลง
เป็นคกวราุงมเทผพดิ วจนิดั กยั าไรมเร่รียา้ นยกแารรงสอนในระดับอุดมศกึ ษาหลกั สูตรปรญิ ญาตรีและปริญญาโท หลากหลายสาขาวชิ า
ยึดม่ันในถอ้าุดกมรกะาทราณก์แาลระทปุจรรัชิตญใานกกาารรจสัดอกบาหรศรึกือษแาสเพวง่ือหผาลปิตบระัณโฑยิตชนนัก์ใปดฏๆิบัตใหิ ต้กอับบตสนนเอองงคหวารมือตผ้อู้องื่นกาจรน
เปน็ เหขอตงทุ สาังใคหมร้ าโดชยกเาชรื่อเมสั่นยี หว่าาเยทอคยโน่างโลรย้าียแลแะรองเาปชน็ีวศคึกวษามาเผปิด็นวกินรยัะอบยวน่างกราา้ รยศแึกรษงาท่ีจาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตรฐาขน้อคุณ๗ภ.๑าพ๖ ตเพ้ออ่ืงเไปม็น่นกาาสลงั่ิงสผาิดคกัญฎในหกมาราพยัฒเขน้าามเศารใษนฐมกหจิ แาลวะิทสยังคามลไัยทหยรือมีส่ิงผิดกฎหมายไว้ใน
ครอบครองหรือเพ่อื จาหนา่ ย
ข้อ ๗.๑๗ ต้องไม่มหี รอื พกพาอาวุธ วัตถุระเบิดหรือส่ิงท่ีสามารถใช้เป็นอาวุธหรืออาจใช้
ต่างอาวุธเม่อื อยใู่ นบริเวณมหาวิทยาลัยหรอื นอกมหาวทิ ยาลัย
ข้อ ๗.๑๘ ต้องไม่ก่อการหรือมีส่วนเกี่ยวข้องในการทะเลาะวิวาทกับนักศึกษาด้วยกัน
หรอื กับผู้อ่ืนหรอื กระทาการใด ๆ อันเป็นการก่อกวนความสงบเรยี บร้อย
ขอ้ ๘ สิ่งทีห่ า้ มปฏบิ ัติและถือเป็นความผิดที่ต้องถกู ลงโทษ
๘.๑ ผู้ใดกระทาความผิดครั้งแรกและเป็นความผิดเลก็ น้อยใหล้ งโทษว่ากล่าวตักเตือนและ
ใหค้ ณะหรือมหาวทิ ยาลัยบันทกึ ไวเ้ ปน็ หลักฐาน
๘.๒ ผใู้ ดถูกลงโทษว่ากล่าวตกั เตอื นมาแล้วแต่ยังไม่เขด็ หลาบหรอื ประพฤติตนไม่เหมาะสม
กบั สภาพการเป็นนกั ศึกษาหรอื ฝา่ ฝืนประกาศหรือระเบยี บของมหาวิทยาลยั ให้ลงโทษภาคทัณฑ์
การลงโทษในระดับภาคทัณฑ์ให้ทาเป็นหนังสือและเชิญบิดามารดาหรือผู้ปกครองของ
ผู้กระทาความผดิ มาบันทกึ รบั ทราบความผิดและรบั รองการภาคทัณฑด์ ว้ ย
๘.๓ ผู้ใดกระทาความผดิ ดงั ต่อไปนีใ้ ห้ลงโทษตดั คะแนนความประพฤติ
๘.๓.๑ การสบู บุหรภ่ี ายในมหาวิทยาลยั
๘.๓.๒ แต่งกายผิดระเบยี บ
๘.๓.๓ ดื่มสุราหรอื ของมึนเมาทัง้ ภายในหรอื ภายนอกสถานศกึ ษา
คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕ )2(๑7)5(
มหาวิทยาลยั เทคโนคโม่ลู ยอื นรี ากั ชศมกึ งษคาล๒กร๕งุ ๖เท๕พ (๒๗๕)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
๘.๓.๔ กลา่ ววาจาอนั เปน็ เท็จตอ่ ครู อาจารย์ เจ้าหน้าที่ในสถานศึกษา อันเป็นเหตุ
ใหเ้ กิดความเสียหาย
๘.๔ ผู้ใดกระทาความผดิ ดังตอ่ ไปนี้ให้ลงโทษพักการเรยี นไมเ่ กิน ๒ ภาคการศกึ ษา
๘.๔.๑ นักศึกษาถูกตัดคะแนนความประพฤติในภาคการเรียนเดียวกันหรือ
ติดต่อกนั ๒ ภาคการศกึ ษารวมกนั เกิน ๕๐ คะแนน ให้พักการเรยี น ๑ ภาคการศกึ ษา
๘.๔.๒ นักศึกษาถูกตัดคะแนนความประพฤติสะสมรวมกันเกินกว่า ๗o คะแนน
พักการเรยี น ๑ ภาคการศึกษา
๘.๔.๓ เล่นการพนันทุกประเภท
๘.๔.๔ กลา่ ววาจาไมส่ ุภาพหรือแสดงกิรยิ าไม่เหมาะสมหรือไม่เคารพครู-อาจารย์
๘.๔.๕ กอ่ การทะเลาะววิ าทตัวตอ่ ตวั โดยไม่มีอาวุธ
๘.๔.๖ ลักทรพั ย์ในมหาวิทยาลัย
๘.๔.๗ ดมื่ สรุ าหรือกอ่ เหตุทะเลาะววิ าททั้งภายในและนอกมหาวิทยาลยั
๘.๔.๘ ก่อการทะเลาะวิวาทเป็นกลุ่มไม่มีอาวุธท้ังภายในและภายนอก
มหาวิทยาลัย
๘.๔.๙ เปน็ ผ้นู าก่อเหตทุ ะเลาะวิวาทท้ังภายในและภายนอกมหาวทิ ยาลัย
๘.๔.๑๐ เปน็ ผู้นาชกั ชวนหรือบังคบั ผู้อืน่ ใหก้ ระทาความผิด
๘.๔.๑๑ ทาร้ายรา่ งกายผู้อนื่ โดยไมใ่ ช้อาวธุ
๘.๔.๑๒ ใหก้ ารเทจ็ ในชั้นสอบสวนวินัยนักศึกษา
๘.๕ ผูใ้ ดกระทาความผิดดงั ต่อไปน้ใี ห้ลงโทษให้ออกหรือคัดชื่อออก
๘.๕.๑ พกพาอาวุธ (ท้ังภายในและภายนอกมหาวทิ ยาลยั )
๘.๕.๒ ทารา้ ยรา่ งกายผ้อู ่นื โดยใชอ้ าวุธ
๘.๕.๓ กอ่ การทะเลาะววิ าทตัวตอ่ ตัวโดยมอี าวุธ
๘.๕.๔ กอ่ การทะเลาะววิ าทเป็นกลุ่มโดยมีอาวุธ
๘.๕.๕ มยี าเสพตดิ หรือเสพยาเสพติดหรือสารเสพตดิ
๘.๕.๖ ประกอบอาชญากรรมอย่างร้ายแรงหรอื ตอ้ งโทษจาคุกตามคาพิพากษา
ของศาล เวน้ แต่เป็นโทษฐานกระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
๘.๕.๗ กระทาการอนั เปน็ เหตใุ ห้มหาวิทยาลัยเสือ่ มเสยี ชอื่ เสยี งอยา่ งร้ายแรง
๘.๕.๘ ยยุ งสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ความไม่สงบขึ้นในมหาวิทยาลยั
)2(๒7)6( ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕
(๒๗๖ม)หาวคิท่มู ยอื านลกัยั ศเทกึ คษโานโ๒ลย๕รี ๖าช๕มงคลกรงุ เทพ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
๘.๕.๙ ก้าวก่ายอานาจหนา้ ทใ่ี นการบริหารงานของมหาวทิ ยาลยั
๘.๕.๑๐ ก่อการประท้วง เช่น หยุดเรียน หยุดฝึกงาน ไม่เข้าห้องเรียนหรือ
เดินขบวนเพ่ือเรียกร้องสิ่งที่ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับหรือคาส่ังต่าง ๆ อันชอบด้วย
กฎหมาย
๘ม.๕ห.า๑ว๑ิทยการละัยทเทากคาโนรอโลันยเีปราน็ ชกมางรคลลบกหรุงลเู่ทดพูหมเน่ิ ปค็นรสู ถอาาบจันารอยุด์ มผศดิ ึกธษรรามสเังนกียัดมสปารนะักเงพาณนี
ที่ศษิ ยคพ์ณงึะปกรรระมพกฤาตรกิปาฏรอบิ ุดัตมติ ศอ่ ึกคษราู ตอาามจพารระยร์ าชบัญญตั ิมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘
เม่ือวันท่ี ๑๙ ๘ม.๕กร.๑าค๒มกร๒ะ๕ท๔าโ๘ดยเเปจ็นตกนาารหรรวอื มปตรัวะขมอางท๓เลวินิทเยลาอ่ เจขนตทคาือใหวิทเ้ กยดิ าคเขวตาเมทเคสนียิหคกายรุงอเยทา่พงฯ
ร้ายแวริทงแยากเท่ขรตัพบยพ์สิตินรพขิมอุขงมมหหาาเวมิทฆยแาลละยั วหิทรยอื าเเปข็นตพอรันะตนรคารยใตต่อ้ นภาักยศใึกตษ้ชื่อาหมหรือาวบิทุคยลาาลกัยรเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ จดั กา๘รเ.ร๕ยี .น๑ก๓ารปสอรนะใพนฤรตะดิตบันอลุดว่ มงศลึกะษเมาหิดลใกันสสูตทิ รธปิหรญิรือญเานตือ้ รตีแลวั ะรปา่ งริญกาญยาหโทรือหกลราะกทหลาาอยนสาาจขาารวชิ า
ตอ่ ผูอ้ ยน่ื ึดมั่นในอุดมการณ์และปรัชญา การจัดการศึกษาเพ่ือผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ ตอบสนองความต้องการ
ของ๘สัง.๖คมกโรดณยเีนช่ือักมศั่นึกวษ่าเาทไคดโ้รนับโลกยาีแรลละงอโาทชษีวศตึกั้งษแาตเ่ภป็นาคกรทะัณบวฑน์ถกึงาตรัศดึกคษะาแทน่ีจนาเคปว็นาในมกปารระเสพรฤิมตสิตร้า้องง
บาเพมญ็ าปตรรฐะาโนยคชณุ นภ์สาาพธารเณพอ่ื ะเภปน็ายกใานลงัมสหาาควญั ทิ ในยกาาลรัยพไัฒมนน่ า้อเศยรกษวฐ่ากิจ๖แลชะัว่ สโมงั คงมไทย
ขอ้ ๙ กรณีนักศึกษาไดร้ ับคาส่ังลงโทษพกั การเรียนในภาคเรียนสดุ ทา้ ยซึ่งนักศกึ ษาผู้นั้นจะ
สาเร็จการศึกษา มหาวิทยาลัยอาจพิจารณาโทษพักการเรียนเป็นระงับการออกใบรับรองผลการ
เรียนและพักการเสนอชื่อเพ่ือขออนุมัติปริญญาโดยมีกาหนดไม่เกิน ๑ ปีการศึกษาตามความ
เหมาะสมได้
ข้อ ๑๐ ความผิดในระดับโทษพักการเรียน ให้ออกหรือคัดช่ือออก หากมีเหตุอันควร
ลดหย่อนโทษ ให้อยู่ในดุลยพินิจของอธิการบดีหรือคณบดีแล้วแต่กรณี ถ้าเป็นโทษผิดวินัยอย่าง
ร้ายแรงให้ลดโทษได้ไม่ตา่ กว่าใหอ้ อก
ขอ้ ๑๑ ในกรณีที่มีการกระทาความผิดของนกั ศึกษาหรือผ้มู ารบั บรกิ ารทางวิชาการภายใน
ของแต่ละคณะให้คณะหรอื มหาวทิ ยาลยั แล้วแตก่ รณีมีอานาจสอบสวน ว่ากล่าวตกั เตือน ภาคทัณฑ์
ตัดคะแนนความประพฤติ พักการเรียนแล้วแต่กรณี เว้นแต่ระดบั โทษให้ออกหรือลงโทษคัดชอื่ ออก
ใหเ้ ป็นอานาจของอธกิ ารบดี
ขอ้ ๑๒ ในกรณมี ีการทะเลาะววิ าทกันระหวา่ งคณะใหค้ ณะกรรมการสอบสวนที่แต่งตั้งโดย
อธกิ ารบดมี อี านาจสอบสวนแล้วจดั ทาความเหน็ ในระดับโทษเสนอตอ่ อธกิ ารบดีเพ่ือส่งั การ
ข้อ ๑๓ นักศึกษาหรือผู้มารับบริการทางวิชาการกระทาความผิดในภาคการศึกษาใด
ภาคการศึกษาหนึ่ง หากกระบวนการสอบสวนยังไม่เสร็จส้ิน ให้ดาเนินการสอบสวนจนเสร็จสิ้น
คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕ )2(๑7)7(
มหาวิทยาลยั เทคโนคโ่มลู ยอื นรี ากั ชศมกึ งษคาล๒กร๕งุ ๖เท๕พ (๒๗๗)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
กระบวนการถ้ากระบวนสอบสวนเสร็จส้ินในภาคเรียนใดให้ลงโทษในภาคเรียนนั้นหรือตามที่ผู้ส่ัง
ลงโทษเห็นเป็นการสมควร
ขอ้ ๑๔ การกระทาผดิ วนิ ัยในลกั ษณะดงั ตอ่ ไปนีเ้ ป็นความผิดวินยั อยา่ งร้ายแรง
(๑) เสพยาเสพติดหรือครอบครองหรือจาหนา่ ยยาเสพติดหรือสารเสพติด
(๒) กระทาการอันเปน็ การล่วงละเมิดหรือคกุ คามทางเพศ
(๓) กระทาการอ่นื ใดอันได้ชื่อวา่ เป็นผูป้ ระพฤติชวั่ อย่างร้ายแรง
(๔) กระทาความผิดอาญาจนได้รับโทษจาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรบั ความผิดท่ีใด้
กระทาโดยประมาทหรอื ความผิดลหุโทษ
(๕) กระทาการทุจริตในการสอบหรือแสวงประโยชน์ใด ๆ เพ่ือให้ตนเองหรือผู้อื่น
ได้ประโยชน์โดยมิชอบดว้ ยกฎหมายอนั เปน็ การเสื่อมเสยี แก่มหาวทิ ยาลยั อย่างรา้ ยแรง
(๖) มีอาวุธหรอื พกพาอาวุธหรือวตั ถุระเบิดหรือส่ิงท่ีสามารถใช้เป็นอาวุธหรืออาจ
ใชต้ า่ งอาวุธเมอ่ื อยู่ในบริเวณมหาวทิ ยาลัยหรอื นอกมหาวิทยาลัย
(๗) กระทาความผิดถึงขน้ั ใหอ้ อกหรือคัดชอื่ ออกตามข้อ ๘.๕
(๘) จัดกิจกรรมในลักษณะผิดศลี ธรรมหรือลามกอนาจาร
(๙) จัดกิจกรรมอนั เปน็ เหตุทาให้มหาวิทยาลยั เสื่อมเสียชือ่ เสียงอยา่ งร้ายแรง
(๑๐) กระทาความผิดหลายข้อที่มีโทษพกั การเรียนรวมกนั เกนิ สองภาคการศึกษา
(๑๑) จดั กิจกรรมภายนอกมหาวทิ ยาลัยโดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าตจากอธิการบดี
หมวด ๓
บทลงโทษนกั ศึกษาหรือผู้มารับบริการทางวิชาการ
วา่ ด้วยการต้อนรบั น้องใหมแ่ ละประชุมเชียร์
ขอ้ ๑๕ การกระทาความผดิ ดงั ต่อไปน้ใี หล้ งโทษในระดับไม่ต่ากว่าพกั การเรยี น
๑๕.๑ ลว่ งละเมดิ สทิ ธสิ ่วนบุคคลทง้ั ร่างกายและจติ ใจของน้องใหม่
๑๕.๒ บงั คับใหน้ อ้ งใหมเ่ ข้ารว่ มกิจกรรมโดยไม่สมคั รใจ
๑๕.๓ ดม่ื สรุ าหรือของมนึ เมาทุกชนดิ ก่อนหรอื ขณะจดั กิจกรรม
๑๕.๔ จัดกิจกรรมภายในมหาวิทยาลัยโดยไม่ได้รับอนุญาตจากคณบดี
ผูอ้ านวยการหรอื อธกิ ารบดี
ขอ้ ๑๖ การกระทาความผดิ ดงั ต่อไปน้ใี หล้ งโทษในระดับให้ออก
๑๖.๑ จดั กิจกรรมในลกั ษณะผดิ ศีลธรรมหรอื ลามกอนาจาร
)2(๒7)8( ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๒๗๘) คม่มู หอื นาวกั ิทศยกึ าษลายั ๒เท๕คโ๖นโ๕ลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
๑๖.๒ จัดกจิ กรรมอันเป็นเหตุให้มหาวทิ ยาลยั เสอื่ มเสียชือ่ เสียง
๑๖.๓ กระทาความผิดหลายข้อท่ีมีโทษพักการเรียนรวมกันเกิน ๒ ภาค
การศกึ ษา
๑๖.๔ จดั กิจกรรมภายนอกมหาวิทยาลัยโดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตจากอธิการบดี
ข้อ ๑๗มโหทาษวทิทายงาวลนิัยยัเทนคกั โศนึกโลษยาีรแาลชะมผงมู้ คาลรกบั รบุงเรทกิ พารทเปา็นงวสิชถาากบาันรอมุดี ม๖ศสึกถษาานสังคกือัดสานักงาน
คณะกรรมการ(๑กา)รวอ่าดุ กมลศา่ ึกวษตาักตเาตมอื พนระราชบญั ญตั ิมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘
เม่ือวันที่ ๑๙(๒ม)กภราาคคทมณั ๒ฑ๕์ ๔๘ เป็นการรวมตัวของ ๓ วิทยาเขต คือ วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ
วิทยาเขตบพ(ิต๓ร)พติมัดุขคมหะแาเนมนฆคแวลาะมวปิทรยะาพเขฤตตพิ ระนครใต้ ภายใต้ชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเทพ จดั กา(๔รเ)รียพนกั กกาารสรเอรนยี ในนระดับอุดมศกึ ษาหลกั สตู รปรญิ ญาตรีและปริญญาโท หลากหลายสาขาวชิ า
ยึดม่ันในอุดม(ก๕า)รใณห์แ้อลอะกปรัชญา การจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ ตอบสนองความต้องการ
ของสังคม โด(ย๖เ)ช่ือคมัด่ันชวื่อ่าอเทอคกโนโลยีและอาชีวศึกษาเป็นกระบวนการศึกษาที่จาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตรฐานคณุ ภาพ เพอื่ เปน็ กาลังสาคัญในการพฒัหนมาวเดศร๔ษฐกจิ และสังคมไทย
การดาเนนิ การทางวนิ ยั นักศึกษาและผู้มารับบรกิ ารทางวิชาการ
ข้อ ๑๘ ผู้ใดมีกรณีถูกกล่าวหาโดยมีพยานหลักฐานตามสมควรว่ากระทาผิดวินัย
หรอื ความปรากฏต่อบุคลากรภายในมหาวทิ ยาลัย ให้คณบดีหรือมหาวิทยาลัยแล้วแต่กรณี
ที่นักศึกษาสังกัดต้ังคณะกรรมการสอบสวนโดยพลันและต้องสอบสวนให้แล้วเสร็ จโดย
ไม่ชักช้า เว้นแต่เป็นความผิดที่มีใช่ความผิดวินัยอย่างร้ายแรงหรือเป็นความผิดท่ีปรากฏ
ชัดแจ้ง จะไม่แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนก็ได้แต่ต้องให้ผู้ถูกกล่าวหาได้ทราบ
ขอ้ กล่าวหาและมีโอกาสโต้แยง้ หรือชี้แจงนาสบื แก้ขอ้ กลา่ วหาหรอื ป้องกนั สิทธิของตน
ข้อ ๑๙ เพื่อให้ได้ความจริงและยุติธรรม การสอบสวนพิจารณาผู้ที่ถูกกล่าวหาว่า
กระทาผิดวินัยให้คณ ะหรือมหาวิทยาลัยแล้วแต่กรณี ลงโทษตามควรแก่กรณี
ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการท่กี าหนดในระเบียบนี้
หมวด ๕
การตง้ั คณะกรรมการสอบสวนและคณะกรรมการวินัยนักศึกษา
ขอ้ ๒๐ ผใู้ ดมีกรณถี ูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวนิ ยั อย่างร้ายแรง ให้อธิการบดีเปน็ ผู้มี
อานาจแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนเว้นแต่เป็นการทะเลาะวิวาทภายในคณะหรือส่วน
ราชการที่เรียกช่ืออย่างอื่นเทียบเท่าคณะให้คณบดีหรือผู้อานวยการเป็นผู้มีอานาจแต่งตั้ ง
คณะกรรมการสอบสวนแลว้ แต่กรณี
คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕ )2(๑7)9(
มหาวิทยาลยั เคท่มู คอื โนนโกัลศยึกีรษาชาม๒งค๕ล๖ก๕รงุ เท(พ๒๗๙)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ทั้งน้ี การทะเลาะวิวาทภายในคณะแต่เป็นการกระทาความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
ให้มหาวิทยาลยั ดาเนนิ การสอบสวน
ข้อ ๒๑ ผู้ใดมีกรณีถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยไม่ร้ายแรงให้คณบดีหรือ
ผู้อานวยการเป็นผู้มีอานาจแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนเว้นแต่เป็น การทะเลาะวิวาท
ระหว่างคณะ ใหอ้ ธิการบดเี ป็นผมู้ ีอานาจแต่งต้งั คณะกรรมการสอบสวน
ข้อ ๒๒ คณะกรรมการสอบสวนประกอบด้วย ประธานกรรมการและกรรมการ
อีกอย่างน้อยสองคนโดยแต่งต้ังจากข้าราชการหรือพนักงานมหาวิทยาลัยหรือพนักงาน
ราชการและจะต้องประกอบด้วยผู้มีวุฒิทางกฎหมายหรือมีป ระสบการณ์ในการสืบสวน
หรือสอบสวนหรือผ่านการอบรมด้านสอบสวนวินัยอย่างน้อยหนึ่งคนท้ังน้ี ให้กรรมการ
คนหนึง่ เปน็ เลขานุการและอาจใหม้ ีผชู้ ว่ ยเลขานุการดว้ ยก็ได้
ข้อ ๒๓ ให้คณะกรรมการสอบสวนท่ีแต่งตั้งโดยคณบดีหรือผู้อานวยการมีอานาจ
สอบ ส วนนั กศึกษาท่ีทะเลาะวิวาทกันภ ายใน คณ ะแล ะให้ คณ บ ดี /ผู้อาน วยการลงโทษ
ตามควรแก่กรณีเฉพาะระดับโทษว่ากล่าวตักเตือน ภาคทัณฑ์ ตัดคะแนนความประพฤติ
และพกั การเรยี นส่วนระดับโทษใหอ้ อกและคดั ชือ่ ออกให้เป็นอานาจของอธิการบดี
ข้อ ๒๔ ให้อธิการบดีสามารถลงโทษทางวินัยตามควรแก่กรณีได้ทุกสถานโทษทั้ง
วินยั ไม่ร้ายแรงและวินัยอย่างร้ายแรง
ข้อ ๒๕ คาส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนต้องระบุช่ือและตาแหน่งของผู้ได้รับ
แต่งตั้งเป็นคณะกรรมการสอบสวนและผู้ช่วยเลขานุการ (ถ้ามี) ท้ังน้ีให้มีสาระสาคัญ
ตามแบบ วนศ.๑ ท้ายระเบียบนี้การเปลย่ี นแปลงตาแหน่งของผู้ใดร้ ับการแต่งตั้งไม่กระทบ
ถงึ การไดร้ ับการแต่งตงั้ ตามวรรคหน่งึ
ข้อ ๒๖ เม่ือมีคาสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนแล้ว ให้ผู้ส่ังแต่งต้ังดาเนินการ
โดยส่งสาเนาคาส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนให้คณะกรรมการสอบสวนพร้อมด้วย
เอกสารหลักฐานที่เก่ียวกับเร่ืองท่ีกล่าวหาให้ประธานกรรมการและให้ประธานกรรมการ
ลงลายมือช่ือและวันเดือนปีท่ีรับทราบไว้เป็นหลักฐาน การพ้นจากการเป็นกรรมการ
สอบสวนไม่กระทบถงึ การสอบสวนทไี่ ดด้ าเนินการไปแลว้
ข้อ ๒๗ เมื่อได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนแล้ว ถ้าผู้สั่งแต่งต้ัง
คณะกรรมการสอบสวนเห็นว่ามีเหตุอันสมควรหรือจาเป็นท่ีจะต้องเปล่ียน เพิ่มหรือลด
)2(๒8)0( คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๒๘๐) คม่มู หอื นาวกั ิทศยึกาษลายั ๒เท๕คโ๖นโ๕ลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
จานวนผู้ได้รับแต่งต้ังเป็นกรรมการสอบสวนให้ดาเนินการได้โดยให้แสดงเหตุแห่งการสั่ง
นั้นไวด้ ว้ ย
หมวด ๖
การสอบสวนและพิจารณา
ข้อ ๒๘มหเมาื่อวิทไดย้ราับลัยเรเื่อทงคตโนามโลขย้อีรา๒ช๖มงคแลลก้วรใหุงเ้ปทรพะธเาปน็นกสรถรามบกันาอรุดดมาศเึกนษินากสาัรงกปัดรสะาชนุมักงาน
คณคณะกะกรรรรมมกกาารรสกอารบอสุดวมนศเึกพษ่ือาพตจิามารพณระารแานชบวญัทญางัตกิมาหราสวอิทบยาสลวัยนเทตค่อโไนปโลยีราชมงคล พุทธศักราช ๒๕๔๘
เมื่อวันทก่ี า๑ร๙ปรมะกชรุมาคคณม ะ๒กร๕ร๔ม๘กาเรปส็นอกบาสรวรนวมตต้อัวงขมอีกงร๓รมวกิทายรามเขาปตรคะือชวุมิทไมยา่นเ้อขยตกเทวค่านกิคึ่งหกรนุงึ่งเทพฯ
ขอวงิทจยาานเขวตนบกพริตรรมพกิมาุขรมทหง้ั หาเมมดฆจแึงลจะะวเิปทย็นาอเงขคต์ปพรระะนชมุครใต้ ภายใต้ชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรงุ เทพกจาดั รกปารรเะรชียนุมกคาณรสะอกนรในรรมะกดาับรอสุดอมบศกึสษวานหตล้อกั งสมูตรีปปรระญิ ธญาานตกรรีแรลมะปกราญิ รญอยาโู่รท่วหมลปารกะหชลุมายดส้วายขาวชิ า
ในยกึดรมณ่ันีทในี่จอาุดเมปก็นาปรณระ์แธลาะนปกรัรชรญมากกาารรไจมัด่สกาามราศรึกถษเาขเ้พาร่ือ่วผมลปิตบระัณชฑุมิตไนดัก้ ใปหฏ้กิบรัตริ มตกอบารสทน่ีมองาคปวราะมชตุม้องการ
เลขอื อกงกสรังรคมมกโาดรยคเนช่ือหมน่ัน่ึงวท่าาเหทคนโ้านทโ่ีแลทยีแนละอาชีวศึกษาเป็นกระบวนการศึกษาที่จาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตรฐากนาครณุ ลภงามพติขเพอ่อืงเทปี่ป็นกราะลชังุมสาคคณัญะในกกรารรมพกฒั านราสเศอรบษฐสกวจิ นแใลหะส้ถังือคเมสไียทยงข้างมาก กรรมการ
คนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าเสียงเท่ากันให้ประธานในท่ีประชุมออกเสียง
เพิม่ ขึน้ อีกหนงึ่ เสียงเป็นเสยี งช้ีขาด
ข้อ ๒๙ คณะกรรมการสอบสวนมีหน้าท่ีสอบสวนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
ระยะเวลาที่กาหนดในระเบียบน้ีเพื่อแสวงหาความจริงในเรื่องที่กล่าวหาและดูแลให้เกิด
ความยุติธรรมตลอดกระบวนการสอบสวนในการนี้ให้คณะกรรมการสอบสวนรวบรวม
ประวัติและความประพฤติของผู้ถูกกล่าวหาที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่กล่าวหาเท่าท่ีจาเป็นเพ่ือ
ประกอบการพิจารณาและจัดทาบันทึกประจาวันไว้ทุกครั้งที่มีการสอบสวนด้วย ในการ
สอบสวนของคณะกรรมการสอบสวน ห้ามมิให้คนอ่ืนเข้าร่วมทาการสอบสวนเว้นแต่เป็น
บคุ คลตามมาตรา ๒๓ แห่งกฎหมายวธิ ีปฏิบตั ริ าชการทางปกครอง
ข้อ ๓๐ เพ่ือให้การสอบสวนเป็นไปด้วยความรวดเร็วและเป็นธรรมแก่ผู้ถูก
กล่าวหาให้คณะกรรมการสอบสวนดาเนินการสอบสวนตามกระบวนการท่ีกาหนดไว้ใน
ระเบียบนี้ให้แล้วเสร็จภายในหน่ึงร้อยแปดสิบวันนับแต่วันท่ีประธานกรรมการได้รับทราบ
คาสง่ั
ในกรณีที่คณะกรรมการสอบสวนไม่สามารถดาเนินการสอบสวนให้แล้วเสร็จ
ภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้ในวรรคหนึ่ง ให้คณะกรรมการสอบสวนแจ้งเหตุท่ีทาให้
การสอบสวนไม่แล้วเสร็จต่อผู้ส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเพ่ือขอขยายระยะเวลา
คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕ )2(๑8)1(
มหาวิทยาลยั เคทมู่ คอื โนนโกัลศยึกีรษาชาม๒งค๕ล๖ก๕รงุ เทพ(๒๘๑)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
สอบสวน ในกรณีเช่นน้ีให้ผู้สั่งแต่งตั้งขยายระยะเวลาดาเนินการได้ตามความจาเป็นใน
แต่ละกรณีหากยังดาเนินการตามระยะเวลาท่ีขอขยายไม่แล้วเสร็จ ผู้สั่งแต่งตั้ง
อาจพจิ ารณาอนุญาตขยายระยะเวลาอีกก็ได้ตามทีเ่ ห็นสมควร
ข้อ ๓๑ การนาเอกสารหรือวัตถุมาใช้เป็นพยานหลักฐานในสานวนการสอบสวน
ให้กรรมการสอบสวนบันทึกไว้ด้วยว่า ได้มาอย่างไร จากผู้ใดและเม่ือใด เอกสารที่ใช้เป็น
พยานหลักฐานในสานวนการสอบสวนให้ใช้ต้นฉบับแต่ถ้าไม่อาจนาต้นฉบับมาได้จะใช้
สาเนาท่ีกรรมการสอบสวนหรือผู้มีหน้าที่รับผิดชอบรับรองว่าเป็นสาเนาถูกต้องก็ได้ถ้าหา
ต้นฉบบั เอกสารไม่ได้เพราะสญู หาย ถกู ทาลายหรอื โดยเหตุประการอ่ืนจะให้นาสาเนาหรือ
พยานบุคคลมาสืบก็ได้
ข้อ ๓๒ เมื่อได้พิจารณาเรื่องที่กล่าวหาและการวางแนวทางการสอบสวนแล้วให้
คณะกรรมการสอบสวนเรียกผู้ถูกกล่าวหามาเพื่อแจ้งและอธบิ ายข้อกล่าวหาที่ปรากฏตาม
เรื่องท่ีกล่าวหาให้ทราบว่าผู้ถูกกล่าวหาได้กระทาการใด เมื่อใด อย่างไร ในการนี้ให้
คณะกรรมการสอบสวนแจ้งด้วยว่าผถู้ ูกกล่าวหามีสิทธิที่จะได้รับแจ้งสรปุ พยานหลักฐานที่
สนับสนุนข้อกล่าวหา สิทธิท่ีจะให้ถ้อยคาหรือช้ีแจงแก้ข้อกล่าวหาตลอดจนอ้าง
พยานหลักฐานหรือนาพยานหลักฐานมาสืบแก้ข้อกล่าวหาและสิทธิในการนาทนายความ
หรือที่ปรึกษาของผู้ถูกกล่าวหาเข้ามาในการให้ถ้อยคาต่อคณะกรรมการสอบสวนได้
การแจ้งตามวรรคหน่ึงให้ทาบันทึกมีสาระสาคัญตามแบบ วนศ.๒ ท้ายระเบียบนี้ โดยทา
เป็นสองฉบับเพ่ือมอบให้ผู้ถูกกล่าวหาหน่ึงฉบับ เก็บไว้ในสานวนการสอบสวนหน่ึงฉบับ
และให้ผู้ถูกกล่าวหา ลงลายมอื ช่อื รับทราบไวเ้ ป็นหลกั ฐานดว้ ย เมื่อได้ดาเนนิ การตามวรรค
หน่ึงและวรรคสองแล้วให้คณะกรรมการสอบสวนถามผู้ถูกกล่าวหาว่าได้กระทาการตาม
ท่ถี กู กล่าวหาหรอื ไม่ อย่างไร
ในกรณีที่ผู้ถูกกล่าวหาให้ถ้อยคารับสารภาพว่าได้กระทาการตามที่ถูกกล่าวหา
ให้คณะกรรมการสอบสวนแจ้งให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบว่าการกระทาตามท่ีถูกกล่าวหา
ดังกล่าวเป็นความผิดวินัยกรณีใด หากผู้ถูกกล่าวหายังคงยืนยันตามที่รับสารภาพ
ให้บันทึกถ้อยคารับสารภาพรวมทั้งเหตุผลในการรับสารภาพ (ถ้ามี) และสาเหตุแห่ง
การกระทาไว้ด้วย ในกรณีเช่นนี้ คณะกรรมการสอบสวนจะไม่ทาการสอบสวนต่อไปก็ได้
หรือถ้าเห็นเป็นการสมควรท่ีจะได้ทราบข้อเท็จจริงและพฤติการณ์อันเกี่ยวกับเรื่อง
ทีก่ ลา่ วหาโดยละเอียด จะทาการสอบสวนต่อไปตามควรแกก่ รณีกไ็ ด้
)2(๒8)2( ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๒๘๒) คมมู่ หอื นาวกั ิทศยกึ าษลายั ๒เท๕คโ๖นโ๕ลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ในกรณีที่ผู้ถูกกล่าวหามิได้ให้ถ้อยคารับสารภาพ ให้คณะกรรมการสอบสวน
ดาเนินการสอบสวนเพ่ือรวบรวมพยานหลักฐานที่เก่ียวข้องกับข้อกล่าวหาแล้วดาเนินการ
ตามขอ้ ๓๓
ในกรณีที่ผู้ถูกกล่าวหามาพบคณะกรรมการสอบสวนแล้วแต่ไม่ยอมลงลายมือช่ือ
รับทราบข้อกล่ามวหหาาวหิทรยือาไลมัย่มเทารคับโนทโรลายบีรขาช้อมกงลค่าลวกหราุงเใทหพ้คณเปะ็กนรสรถมากบัานรอสุดอมบศสึกวษนาสส่งังบกัันดสทาึกนมักี งาน
สาครณะะสการครัญมกตาารมกาแรบอบุดมวศนึกศษา.๒ตาทมาพงรไะปรราษชบณัญียญ์ลตั งิมทหะาเวบิทียยนาลตัยอเบทครับโนไโปลใยหีรา้ผชู้ถมูกงกคลล่าพวุหทธาศณักราทช่ีอ๒ย๕ู่ ๔๘
ขอเมงื่อผวู้ถันูกทกี่ ๑ล๙่าวมหการาซคึ่งมปร๒า๕ก๔ฏ๘ตามเปห็นลกักาฐรราวนมขตอัวงขทองาง๓ราวิทชยกาาเรขหตรคือือสวถิทายนาทเขี่ตติดเทตค่อนทิค่ีผกู้ถรุงูกเทพฯ
กลวิ่ทาวยหาเาขแตจบ้งพใิตหร้ทพริมาุขบมหพารเ้อมมฆทแั้งลมะีหวิทนยังาสเือขตสพอรบะถนาคมรผใตู้ถ้ ูกภกาลย่าใตว้ชหื่อามวห่าาไดวิท้กยราะลทัยาเกทาครโนตโาลมยทีรา่ีถชูกมงคล
กลก่ารวุงเหทาพหจรดัือกไามร่ เกราียรนแกจารง้ สขอ้อนกใลน่ารวะหดับาใอนดุ กมรศณึกษีเชาห่นลนกั ี้ สใหูต้ทรปารบญิ ันญทาึกตมรีแีสลาะรปะรสญิ าคญัญาโตทาหมลแาบกบหลวานยศสา.๒ขาวชิ า
เปย็นึดสม่ัานมในฉอบุดับมเกพา่ืรอณเก์แ็บละไวป้ใรนัชสญาานกวานรจกัดากราสรอศบึกษสาวเนพ่ืหอผนล่ึงิตฉบบัณับฑิตสน่งใักหป้ผฏู้ถิบูกัติกตลอ่าบวสหนาอสงคอวงาฉมบตับ้องการ
โดขยอใงหส้ัผงคู้ถมูกกโดลย่าเวชื่อหมา่ันเกว็่บาเไทวค้หโนนโึ่งลฉยบีแับละแอลาะชใีวหศ้ผึกู้ษถูากเกปล็น่ากวระหบาวลนงกลาารยศมึกือษชาทื่อ่ีจแาลเปะ็นวัในนกเดารือเนสริมปสี ร้าง
ที่รมับาตทรรฐาาบนคอุณีกภหานพ่ึงฉบเพับือ่ แเปล็นะกสา่งลกังสลาับคคญั ืนในมกาารรวพมฒั ไวน้ใานเศสราษนฐกวจินแกลาะรสสังอคมบไสทวยน เม่ือล่วงพ้นสิบห้า
วันนับแต่วันที่ได้ดาเนินการดังกล่าวแม้จะไม่ได้รับแบบ วนศ.๒ คืนให้ถือว่าผู้ถูกกล่าวหา
ได้ทราบขอ้ กล่าวหาแลว้ และให้คณะกรรมการสอบสวนดาเนินการตามวรรคห้าต่อไป
ข้อ ๓๓ เม่ือได้ดาเนินการตามข้อ ๓๒ แล้วให้คณะกรรมการสอบสวนดาเนินการ
ประชุมพิจารณาว่า มีพยานหลักฐานใดสนับสนุนข้อกล่าวหาว่าผู้ถูกกล่าวหาได้กระทา
การใดเม่ือใดและเป็นความผิดวินัยกรณีใดตามข้อใด แล้วให้คณะกรรมการสอบสวนเรียก
ผู้ถูกกล่าวหามาพบเพื่อแจ้งข้อกล่าวหาโดยระบุข้อกล่าวหาท่ีปรากฏตามพยานหลักฐาน
ว่าเป็นความผิดวินัยกรณีใด ตามข้อใดและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา
เท่าท่ีมีให้ทราบโดยระบุวัน เวลา สถานท่ีและการกระทาที่มีลักษณะเป็นการสนับสนุน
ขอ้ กล่าวหา สาหรับพยานบคุ คลจะระบหุ รอื ไม่ระบุช่ือพยานกไ็ ด้
การแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานท่ีสนับสนุนข้อกล่าวหาตามวรรคหน่ึง
ให้ทาบันทึกมีสาระสาคัญตามแบบ วนศ.๓ ท้ายระเบียบนี้โดยทาเป็นสองฉบับเพื่อมอบ
ให้ผู้ถูกกล่าวหาหน่ึงฉบับ เก็บไว้ในสานวนการสอบสวนหน่ึงฉบับ และให้ผู้ถูกกล่าวหา
ลงลายมือชือ่ และวนั เดือน ปที ่ีรับทราบไว้เป็นหลักฐานด้วย
เมื่อดาเนินการดังกล่าวแล้ว ให้คณะกรรมการสอบสวนถามผู้ถูกกล่าวหาว่าจะ
ยื่นคาช้ีแจงแก้ข้อกล่าวหาเป็นหนังสือหรือไม่ ถ้าผู้ถูกกล่าวหาประสงค์จะยื่นคาช้ีแจง
เป็นหนังสือ ให้คณะกรรมการสอบสวนให้โอกาสผู้ถูกกล่าวหายื่นคาชี้แจงภายในเวลา
คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕ )2(๑8)3(
มหาวิทยาลยั เคทมู่ คอื โนนโกัลศยกึีรษาชาม๒งค๕ล๖ก๕รงุ เทพ(๒๘๓)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
อั น ส ม ค ว ร แ ต่ อ ย่ า ง ช้ า ไม่ เกิ น สิ บ ห้ า วั น นั บ แ ต่ วั น ท่ี ได้ ท ร า บ ข้ อ ก ล่ า ว ห า แ ล ะ ส รุ ป
พยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหาและต้องให้โอกาสผู้ถูกกล่าวหาโต้แย้งและแสดง
พยานหลักฐานของตนหรือ ให้ถ้อยคาเพิ่มเติม รวมท้ังนาสืบแก้ข้อกล่าวหาด้วย ในกรณี
ทผี่ ู้ถูกกล่าวหาไมป่ ระสงคจ์ ะย่ืนคาช้ีแจงเป็นหนังสือให้คณะกรรมการสอบสวนดาเนินการ
ให้ผู้ถูกกล่าวหาให้ถ้อยคาและนาสืบแก้ข้อกล่าวหาโดยเร็ว การนาสืบแก้ข้อกล่าวหา
ผู้ถูกกล่าวหาจะนาพ ยาน หลักฐานมาเองหรือจะอ้างพ ยานหลักฐานแล้วขอ
ให้คณะกรรมการสอบสวนเรียกพยานหลักฐานนั้นมาก็ได้เม่ือคณะกรรมการสอบสวน
ไดร้ วบรวมพยานหลกั ฐานต่าง ๆ เสรจ็ แล้วใหด้ าเนินการต่อไป
ในกรณีที่ผู้ถูกกล่าวหามาพบคณะกรรมการสอบสวนแล้วแต่ไม่ยอมลงลายมือช่ือ
รับทราบหรือไม่มารับทราบข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานท่ีสนับสนุนข้อกล่าวหาให้
คณะกรรมการส่งบันทึกมีสาระสาคัญ ตามแบบ วนศ.๓ ทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ
ไปให้ผู้ถูกกล่าวหา ณ ท่ีอยู่ของผู้ถูกกล่าวหาช่ึงปรากฏตามหลักฐานของทางราชการหรือ
สถานที่ติดตอ่ ทีผ่ ถู้ ูกกลา่ วหาแจง้ ให้ทราบ พร้อมทง้ั มหี นังสอื ขอใหผ้ ถู้ ูกกล่าวหาช้ีแจงนัดมา
ให้ถ้อยคาและนาสืบแก้ข้อกล่าวหา การแจ้งในกรณีนี้ให้ทาบันทึกมีสาระสาคัญตามแบบ
วนศ.๓ เป็นสามฉบับ เพื่อเก็บไว้ในสานวนการสอบสวนหน่ึงฉบับ ส่งให้ผู้ถูกกล่าวหาสอง
ฉบับ โดยใหผ้ ู้ถูกกลา่ วหาเก็บไว้หนึง่ ฉบบั และให้ผู้ถกู กล่าวหาลงลายมอื ชือ่ และวัน เดือน ปี
ที่รับทราบส่งกลับคนื มารวมไว้ในสานวนการสอบสวนหนึ่งฉบับ เมอื่ ล่วงพน้ สิบหา้ วันนับแต่
วันท่ีได้ดาเนินการดังกล่าว แม้จะไม่ได้รับแบบ วนศ.๓ คืนหรือไม่ได้รับคาชี้แจงจากผู้ถูก
กล่าวหา หรือผู้ถูกกล่าวหาไม่มาให้ถ้อยคาตามนัดให้ถือว่าผู้ถูกกล่าวหาได้ทราบ
ข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานท่ีสนับสนุนข้อกล่าวหาแล้วและไม่ประสงค์ท่ีจะแก้
ขอ้ กล่าวหา ในกรณีเชน่ น้ีคณะกรรมการสอบสวนจะไม่สอบสวนต่อไปก็ได้หรือถ้าเห็นเป็น
การสมควรท่ีจะได้ทราบข้อเท็จจริงเพิ่มเติมจะสอบสวนต่อไปตามควรแก่กรณีก็ได้ แต่ถ้า
ผู้ถูกกล่าวหามาขอให้ถ้อยคาหรือยื่นคาช้ีแจงแก้ข้อกล่าวหาหรือขอนาสืบแก้ข้อกล่าวหา
ก่อนที่คณ ะกรรมการสอบสวนจะเสนอสานวนการสอบสวนต่อผู้สั่งแต่งต้ังให้
คณะกรรมการสอบสวนตอ้ งให้โอกาสแกผ่ ู้ถูกกล่าวหาตามท่ผี ู้ถกู กลา่ วหารอ้ งขอ
ขอ้ ๓๔ ผู้ถูกกล่าวหาซึง่ ได้ยื่นคาช้ีแจงหรือให้ถ้อยคาแก้ข้อกล่าวหาไว้แล้ว มีสิทธิ
ยื่นคาช้ีแจงเพ่ิมเติมหรือขอให้ถ้อยคาหรือนาสืบแก้ข้อกล่าวหาเพิ่มเติมต่อคณะกรรมการ
สอบสวนก่อนการสอบสวนแลว้ เสรจ็
)2(๒8)4( คมู่ อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๒๘๔) คม่มู หอื นาวกั ิทศยึกาษลายั ๒เท๕คโ๖นโ๕ลยีราชมงคลกรงุ เทพ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ข้อ ๓๕ ในการสอบปากคาผู้ถูกกล่าวหาและพยานต้องมีกรรมการสอบสวน
ไม่นอ้ ยกวา่ กงึ่ หนึง่ ของจานวนกรรมการสอบสวนทัง้ หมดจึงจะสอบสวนได้
ข้อ ๓๖ ก่อนเริ่มสอบปากคาพยาน ให้คณะกรรมการสอบสวนแจ้งให้พยานทราบ
ว่ากรรมการสอบสวนมีฐานะเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา การให้ถ้อยคา
อนั เป็นเทจ็ ตอ่ คณมหะากวริทรยมากลาัยรเสทอคบโนสโวลนยอีราาจชเมปงน็ คคลวการมุงเผทิดพตาเมปก็นฎสหถมาบายันอุดมศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะกรรขม้อกา๓ร๗การใอนุดกมาศรึกสษอาบตปามาพกรคะารผาชู้ถบูกญั กญลัต่าิมวหหาาวแิทลยะาลพัยยเทาคนโมนิใโลหย้กีรรารชมมงกคาลรสพอุทบธศสักวรนาผชู้ใ๒ด๕๔๘
กรเมะทื่อวาักนาทรี่ ล๑อ่๙ลวมงกขรู่เขาค็ญมให๒ส้ ญั๕๔ญ๘าหรเปือ็กนรกะาทรราวกมาตรใัวดขเอพงื่อ๓จงู วใิจทใยหา้บเขคุ ตคลคืนอั้นวใิทหย้ถาอ้เขยตคเาทอคยน่าิคงใกดรๆุงเทพฯ
วิทยาเขขต้อบพ๓ิต๘รพใิมนุขกมาหราสเมอฆบปแลาะกวคิทายผาู้ถเขูกตกพลร่าะวนหคารแใตล้ ะภพายยาใตน้ชื่อใหม้หคาณวิะทกยารลรัยมเกทาครโนสโอลบยสีราวชนมงคล
เรกียรกงุ เทผพู้ซึ่จงดัจกะาถรเูกรียสนอกาบรปสอานกในคราะเดขับ้าอมดุ มาศใึกนษทาห่ีสลอกั บสูตสรปวรนญิ คญราาตวรีแลละะปหรนิญ่ึงญคาโนทหหรลือากกหรลณายี ทสาี่มขีาวชิ า
กายรึดสมอ่ันบในปอาุดกมคกาารผณู้ถ์แูกลกะลป่ารวัชหญาา ผกู้าถรูกจกัดลก่าารวศหึกาษมาีสเพิทื่อธผินลาิตทบนัณาฑยิตคนวักาปมฏหิบรัตือิ ตทอี่ปบรสึกนษองาคขวอางมตตน้องการ
ท่ีไขมอ่ใงชส่บังคุคมคลโดทยีอ่ เ้าชง่ือเมปั่นน็ วพ่ายเทาคนโเนขโ้าลมยาีแใลนะทอส่ี าอชบีวศสึกวษนาไเดป้ ็นกระบวนการศึกษาที่จาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตรฐากนาครุณสภอาบพปาเพกอ่ืคเาปผน็ ู้ถกูกาลกงั ลส่าาวคหัญาในแกลาะรพพยฒั านนาเศใหรษ้บฐันกทิจแึกลถะ้อสยังคคมาไมทีสยาระสาคัญตามแบบ
วนศ.๔ หรือ แบบ วนศ.๕ ท้ายระเบียบนี้แล้วแต่กรณี เม่ือได้บันทึกถ้อยคาเสร็จแล้ว
ให้อ่านใหผ้ ใู้ ห้ถ้อยคาฟังหรอื จะให้ผู้ใหถ้ ้อยคาอา่ นเองก็ได้ เมอ่ื ผ้ใู ห้ถ้อยคารับว่าถกู ต้องแล้ว
ให้ผู้ให้ถ้อยคาและผู้บันทึกถ้อยคาลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐานและให้คณะกรรมการ
สอบสวนทุกคนท่ีร่วมสอบสวนลงลายมือชื่อรับรองไว้ในบันทึกถ้อยคานั้นด้วย ถ้าบันทึก
ถ้อยคามีหลายหน้า ให้กรรมการสอบสวนอย่างน้อยหนึ่งคนกับผู้ให้ถ้อยคาลงลายมือช่ือ
กากับไว้ทุกหนา้
ในการบันทึกถ้อยคา ห้ามมิให้ขูดลบหรือบันทึกข้อความทับ ถ้าจะต้องแก้ไข
ข้อคว ามที่ ได้ บั น ทึ ก ไว้ แ ล้ วให้ ใช้ วิธี ขีด ฆ่ าห รือต ก เติ มแ ล ะให้ กรร มกา รส อบ ส ว น ผู้ ร่ว ม
สอบสวนอย่างน้อยหน่ึงคนกับผู้ให้ถ้อยคาลงลายมือช่ือกากับไว้ทุกแห่งท่ีขีดฆ่าหรอื ตกเติม
ในกรณีท่ีผู้ให้ถ้อยคาไม่ยอมลงลายมือชื่อ ให้บันทึกเหตุนั้นไว้ในบันทึกถ้อยคา ในกรณีท่ี
ผู้ให้ถ้อยคาไม่สามารถลงลายมือช่ือได้ให้นามาตรา ๙ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณชิ ยม์ าใชบ้ ังคับโดยอนุโลม
ข้อ ๓๙ ในกรณีที่คณะกรรมการสอบสวนเรียกบุคคลใดมาเป็นพยานให้บุคคลนั้น
มาชแ้ี จงหรอื ใหถ้ อ้ ยคาตามวัน เวลาและสถานทท่ี ่ีคณะกรรมการสอบสวนกาหนด
ในกรณีท่ีพยานมาพบคณะกรรมการสอบสวนแต่ไม่ให้ถ้อยคาหรือไม่มาหรือ
คณะกรรมการสอบสวนเรียกพยานไม่ไดภ้ ายในเวลาอนั สมควร คณะกรรมการสอบสวนจะ
ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕ )2(๑8)5(
มหาวิทยาลยั เคทมู่ คอื โนนโกัลศยึกรี ษาชาม๒งค๕ล๖ก๕รงุ เทพ(๒๘๕)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ไม่สอบสวนพยานน้ันก็ได้แต่ต้องบันทึกเหตุนั้นไว้ในบันทึกประจาวันและรายงาน
การสอบสวน
ข้อ ๔๐ ในกรณีท่ีคณะกรรมการสอบสวนเห็นว่าการสอบสวนพยานหลักฐานใด
จะทาให้การสอบสวนล่าช้าโดยไม่จาเป็น หรือมิใช่พยานหลักฐานในประเด็นสาคัญ จะงด
การสอบสวนพยานหลักฐานน้ันก็ได้ แต่ต้องบันทึกเหตุที่ไม่สอบสวนน้ันไว้ในบันทึก
ประจาวันและรายงานการสอบสวน
ข้อ ๔๑ ในกรณีท่ีคณะกรรมการสอบสวนเห็นว่า กรณีมีมูลว่าผู้ถูกกลา่ วหากระทา
ผิดวินัยอย่างร้ายแรงในเร่ืองอื่นนอกจากท่ีระบุไว้ในคาส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน
ให้ประธานกรรมการสอบสวนรายงานไปยังผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนโดยเร็ว
ถ้าผู้ส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนเห็นว่า กรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัย
อย่างร้ายแรงตามรายงาน ให้สั่งแต่งต้ังคณ ะกรรมการสอบสวนโดยจะแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบสวนคณะเดมิ เป็นผู้ทาการสอบสวนหรือแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
ใหม่ก็ได้ท้งั น้ี ให้ดาเนินการตามหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารทกี่ าหนดในระเบียบนี้
ข้อ ๔๒ ในกรณีท่ีการสอบสวนพาดพิงไปถึงผู้อ่ืน ให้คณะกรรมการสอบสวน
พจิ ารณาในเบ้ืองต้นว่าผู้น้ันมีส่วนร่วมกระทาการในเร่ืองที่สอบสวนนั้นด้วยหรอื ไม่ ถ้าเห็น
ว่าผู้นั้นมีส่วนร่วมกระทาการในเรื่องที่สอบสวนนั้นอยู่ด้วย ให้ประธานกรรมการสอบสวน
รายงานไปยังผู้สั่งแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน เพื่อพิจารณาดาเนินการตามควรแก่กรณี
โดยเร็ว
ข้อ ๔๓ ในกรณีที่มีคาพิพากษาถึงท่ีสุดว่าผู้ถูกกล่าวหากระทาผิดหรือต้องรับผิด
ในคดีที่เก่ียวกับเรื่องท่ีกล่าวหา ถ้าคณะกรรมการสอบสวนเห็นว่าข้อเท็จจริงท่ีปรากฏตาม
คาพิพากษาได้ความประจักษ์ชัดอยู่แล้วให้ถือเอาคาพิพากษาน้ันเป็นพยานหลักฐาน
ทีส่ นบั สนนุ ข้อกล่าวหาโดยไมต่ ้องสอบสวนพยานหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้องกับข้อกล่าวหาแต่
ต้องแจ้งให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบและแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุน
ข้อกลา่ วหาให้ผู้ถูกกลา่ วหาทราบด้วย
ขอ้ ๔๔ เม่ือคณะกรรมการสอบสวนได้รวบรวมพยานหลักฐานต่างๆ เสรจ็ แล้วให้
ประชุมพิจารณาลงมติว่าผู้ถูกกล่าวหากระทาผิดวินัยหรือไม่ ถ้าผิดเป็นความผิดวินัยกรณีใด
ตามข้อใดและควรไดร้ ับโทษสถานใด
)2(๒8)6( ค่มู อื นกั ศกึ ษา ๒๕๖๕
(๒๘๖) คมมู่ หอื นาวกั ิทศยึกาษลายั ๒เท๕คโ๖นโ๕ลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ข้อ ๔๕ เม่ือได้ประชุมพิจารณาลงมติแล้ว ให้คณะกรรมการสอบสวนทารายงาน
การสอบสวนซ่ึงมีสาระสาคัญตามแบบ วนศ.๖ ท้ายระเบียบน้ีเสนอต่อผู้ส่ังแต่งต้ัง
คณะกรรมการสอบสวน กรรมการสอบสวนผู้ใด มีความเห็นแย้งให้ทาความเห็นแย้งแนบ
ไวก้ บั รายงานการสอบสวนโดยถือเป็นส่วนหน่ึงของรายงานการสอบสวนดว้ ย
รายงานมกหาารวสิทอยบาสลัวยนเทอคยโ่านงโนลอ้ยยีราตช้อมงงมคสี ลากรระุงสเาทคพัญดเปัง็นนส้ี ถาบันอุดมศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะกรร(๑มก) าสรรกุปารขอ้อดุ เมทศ็จึกจษราิงตแาลมะพพระยราานชบหัญลญักตัฐิมาหนาวว่าิทมยีอาลยัย่าเงทใคดโบน้โาลงยใีรนาชกมรงณคลีที่ผพู้ถุทูกธศกักลร่าาวชห๒า๕๔๘
ใหเมถ้ ื่อ้อวยันคทาร่ี ๑บั ๙สารมภการพาคใมหบ้ ๒ัน๕ท๔กึ ๘เหตเปผุ ็นลกในารกราวรมรตับัวสขาอรงภ๓าพวิท(ถยา้ ามเขี) ตไวค้ดือ้วยวิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพฯ
วิทยาเข(ต๒บ) พวิตินริจพฉิมัยุขเมปหราียเบมฆเทแียลบะพวิทยยานาเหขลตพักฐระานนคทร่ีสใตน้ ับภสานยุนใตข้ช้อื่อกมลห่าาววหิทายกาลับัยพเยทาคนโนหโลลักยีรฐาาชนมงคล
ทีห่กรกั งุ ลเทา้ พงขจอ้ ดั กกลารา่ เวรหียนาการสอนในระดับอุดมศกึ ษาหลกั สตู รปรญิ ญาตรีและปริญญาโท หลากหลายสาขาวชิ า
ยึดม่ันใน(๓อุด) มคกวาารมณเ์แหล็นะขปรอัชงญคาณกะากรรจัดรมกากราศรึกสษอาเบพส่ือวผนลิตวบ่าัณผู้ถฑูกิตกนักลป่าฏวิบหัตาิไตดอ้กบรสะนทอางคผวิดาวมินตั้อยงการ
หรขอือไงมส่ังอคยมา่ โงดไรยเถชื่า้อผมดิ่ันเวป่าน็เทคควโานมโลผยิดีแวลนิ ะัยอการชณีวศีใึดกษตาาเปม็นขกอ้ รใดะบแวลนะกคาวรรศไึกดษ้รับาทโที่จาษเสปถ็นาในนกใดารเสริมสร้าง
มาตรฐาเนมคื่อณุ คภณาพะกเรพรื่อมเปก็นากราสลอังสบาสควญั นในไกดา้ทรพารฒั านยางเศารนษกฐกาิจรแสลอะบสังสควมนไทแยล้ว ให้เสนอสานวน
การสอบสวนพร้อมท้ังสารบาญต่อผู้สั่งแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนและให้ถือว่า
การสอบสวนแล้วเสร็จ
ข้อ ๔๖ เม่ือคณะกรรมการสอบสวนได้เสนอสานวนการสอบสวนมาแล้ว ให้ผู้สั่ง
แต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนตรวจสอบความถูกต้องของสานวนการสอบสวนและ
พิจารณาสงั่ การตามทเ่ี ห็นสมควรโดยเร็ว
ข้อ ๔๗ ในกรณีผู้ส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเห็นสมควรให้สอบสวน
เพิ่มเติมประการใดให้กาหนดประเด็นพร้อมส่งเอกสารท่ีเกี่ยวข้องไปให้คณะกรรม
การสอบสวนคณะเดิมเพ่อื ดาเนนิ การสอบสวนเพม่ิ เตมิ ได้ตามความจาเป็น
ในกรณีท่ีคณะกรรมการสอบสวนคณะเดิมไม่อาจทาการสอบสวนได้หรือผู้ส่ัง
สอบสวนเพ่ิมเติมเห็นเป็นการสมควร จะแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนใหม่ข้ึนทา
การสอบสวนเพ่ิมเติมก็ได้ ให้คณะกรรมการสอบสวนทาการสอบสวนเพ่ิมเติมให้แล้วเสร็จ
โดยเร็ว เมื่อสอบสวนเสร็จแล้วให้ส่งพยานหลักฐานที่ไดจ้ ากการสอบสวนเพิ่มเติมไปให้ผสู้ ่ัง
สอบสวนเพมิ่ เตมิ โดยไม่ต้องทาความเหน็
ข้อ ๔๘ ในกรณีที่ปรากฏว่าการแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนไม่ถูกต้องให้
การสอบสวนทั้งหมดเสียไป ในกรณีเช่นน้ีให้ผู้มีอานาจแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน
แต่งตง้ั คณะกรรมการสอบสวนใหมใ่ ห้ถกู ต้อง
คมู่ อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕ )2(๑8)7(
มหาวิทยาลยั เทคโนคโม่ลู ยอื นรี ากั ชศมกึ งษคาล๒กร๕งุ ๖เท๕พ (๒๘๗)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ข้อ ๔๙ ในกรณีที่ปรากฏว่าการสอบสวนตอนใดทาไม่ถูกต้อง ให้การสอบสวนตอนนั้นเสีย
ไปเฉพาะในกรณีดงั ต่อไปนี้
(๑) การประชุมหรือการสอบปากคาผู้ถูกกล่าวหาและพยานของคณะกรรมการสอบสวนมี
กรรมการสอบสวนมาประชุมหรอื สอบปากคาไม่ถึงกง่ึ หน่ึงของกรรมการทั้งหมด
(๒) การสอบปากคาบุคคลที่มิไดป้ ฏบิ ัติตามมาตรา ๒๓ แห่งกฎหมายวิธีปฏิบตั ิราชการทาง
ปกครองหรือกระทาการล่อลวง ขู่เข็ญ ให้สัญญาหรือกระทาการใดเพ่ือจูงใจให้บุคคลนั้นให้ถ้อยคา
อย่างใด ๆ ถือเป็นการดาเนินการไม่ถูกต้องตามระเบียบน้ี ในกรณีเช่นนี้ให้ผู้มีอานาจแต่งต้ัง
คณะกรรมการสอบสวน สั่งให้คณะกรรมการสอบสวนดาเนนิ การใหมให้ถกู ต้องโดยเร็ว
ข้อ ๕๐ ในกรณีท่ีปรากฏว่าคณะกรรมการสอบสวนไม่เรียกผู้ถูกกล่าวหามารับทราบข้อ
กล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานท่ีสนับสนุนข้อกล่าวหาหรือไม่ส่งบันทึกการแจ้งข้อกล่าวหาและ
สรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหาทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับไปให้ผู้ถูกกล่าวหา
หรือไม่มีหนังสือขอให้ผู้ถูกกล่าวหาชี้แจงหรือนัดมาให้ถ้อยคาหรือนาสืบแก้ข้อกล่าวหาตามข้อ ๓๓
ให้ผู้มีอานาจแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน ส่ังให้คณะกรรมการสอบสวนดาเนินการให้ถูกต้อง
โดยเร็วและต้องให้โอกาสแก่ผู้ถูกกล่าวหาท่ีจะชี้แจงให้ถ้อยคาและนาสืบแก้ข้อกล่าวหาตามท่ี
กาหนดไวใ้ นข้อ ๓๓ ด้วย
ข้อ ๕๑ ในกรณีที่ปรากฏว่าการสอบสวนตอนใดทาไม่ถูกต้องตามระเบียบนี้ ถ้าการ
สอบสวนตอนนั้นเป็นสาระสาคญั อันจะทาให้เสยี ความเปน็ ธรรม ให้ผ้มู อี านาจแต่งตงั้ คณะกรรมการ
สอบสวนส่ังให้คณะกรรมการสอบสวนแก้ไขหรือดาเนินการตอนน้ันให้ถูกต้องโดยเร็ว แต่ถ้า
การสอบสวนตอนน้ันมิใช่สาระสาคัญอันจะทาให้เสียความเป็นธรรม ผู้มีอานาจดังกล่าวจะสั่งให้
แก้ไขหรือดาเนินการใหถ้ ูกตอ้ งหรือไม่ก็ได้
ขอ้ ๕๒ ให้มีคณะกรรมการวนิ ัยนกั ศึกษา ประกอบดว้ ย
(๑) รองอธิการบดีหรอื ผชู้ ่วยอธกิ ารบดีท่ีดูแลด้านกิจการนักศึกษา ประธานกรรมการ
(๒) ผ้อู านวยการกองพฒั นานกั ศึกษา รองประธานกรรมการ
(๓) รองคณบดีฝ่ายกิจการท่วั ไปทุกคณะ คณะละ ๑ คน กรรมการ
(๔) อาจารย์วนิ ัยนักศึกษาทุกคณะ คณะละ ๑ คน กรรมการ
(๕) หวั หนา้ งานสวัสดิการนกั ศกึ ษา จานวน ๑ คน กรรมการและเลขานกุ าร
(๖) เจ้าหน้าท่งี านวนิ ัยนักศกึ ษา จานวน ๑ คน ผูช้ ่วยเลขานุการ
)2(๒8)8( ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕
(๒๘๘ม)หาวคิทมู่ ยอื านลกัยั ศเทกึ คษโานโ๒ลย๕รี ๖าช๕มงคลกรงุ เทพ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ในกรณีจาเป็น คณะกรรมการวินัยนักศึกษาอาจขอให้นายกองค์การนักศึกษาหรือ
ประธานสภานกั ศึกษาเข้ารว่ มในการประชมุ ของคณะกรรมการวนิ ัยนกั ศึกษาดว้ ยก็ได้
ขอ้ ๕๓ คณะกรรมการวนิ ยั นักศกึ ษา มหี นา้ ท่ีและอานาจดังต่อไปนี้
(๑) ทาหน้าท่ีระงับเหตุเฉพาะหน้าในกรณีมีการกระทาผิดวินัยหรือถูกกล่าวหาว่ากระทา
ผิดวนิ ยั เกิดข้ึนภายใมนหมาหวิาทวยิทาลยัยาลเทยั คหโรนอื โนลยอีรกามชหมางวคิทลยการลุงเัยทพ เป็นสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสานักงาน
คณะ(๒กร)รทมกาการากราพรจิอุดามรณศึกาษเราื่อตงารมอ้ พงรเะรรยี านชบรัญ้อญงทตั ิมุกหขา์ เวบิทื้อยางลตัย้นเถท้าคตโนรโวลจยพีราจิ ชามรงณคลาแพลุทว้ ธเหศักน็ รวาา่ ชเป๒็น๕เ๔ร่ือ๘ง
รอ้ งเรเมียื่อนวใันหท้จ่ีัด๑ส๙่งเรม่ือกงรใาหค้คมณะ๒ท๕่ีผ๔ู้ถ๘ูกกเลป่า็นวกหาารสรังวกมัดตดัวขาเอนงิน๓กาวริทยแาตเข่ถต้าเคปือ็นเวริท่อื ยงารเ้อขงตทเทุกคขน์ใหิค้สกง่รุเงรเท่อื พงไฯป
ยังคณวะิทกยราเรขมตกบาพริตอรุทพธิมรุขณม์แหลาะเมรฆ้องแทลุกะขว์ิพทยจิ าาเรขณตพาระนครใต้ ภายใต้ชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
กรุงเ(ท๓พ) จทดั ากกาารรเรสยี ืบนสกาวรนสขอ้อนเใทนร็จะจดรับิงอเบดุ ม้ือศงกึ ตษ้นาใหนลกกั รสณตู รีนปักรญิ ศญึกษาตารทีแะละเลปาระิญวญิวาาโททกหันลภากาหยลใานยคสณาขะาหวชิ ราือ
ระหวย่าึดงมค่ันณในะอแุดลมะกใหาร้สณ่งร์แาลยะงปารนัชกญาารสกาืบรสจวัดนกขาร้อศเึทกษ็จาจเรพิงื่อไผปลยิตังบคัณณฑะิตหนรักือปมฏหิบาัตวิ ิทตยอาบลสัยนแอลงค้ววแาตม่กตร้อณงกีเพารื่อ
ดาเนขนิ อกงาสรังตคอ่ มไปโดยเช่ือมั่นว่าเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเป็นกระบวนการศึกษาที่จาเป็นในการเสริมสร้าง
มาตขรฐ้อาน๕ค๔ุณภผาู้ทพ่ีมีอเาพนอ่ื เาปจน็ สก่ังาลลงงั โสทาคษญั คใวนากมารผพิดัฒทนาางเวศินรษัยฐนกักิจศแลึกะษสางั แคมลไะทผยู้มารับบริการทางวิชาการ
ไดแ้ กอ่ ธกิ ารบดีหรือคณบดีหรอื ผู้อานวยการแลว้ แต่กรณี
ข้อ ๕๕ เม่ือได้สงั่ ลงโทษนกั ศึกษาหรอื ผมู้ ารบั บริการทางวชิ าการผใู้ ดแลว้ ให้รบี แจง้ ตอ่ บดิ า
มารดาหรือผู้ปกครองนักศกึ ษาผู้นนั้ รวมทง้ั อาจารยท์ ี่ปรึกษาและมหาวทิ ยาลยั แล้วแต่กรณเี พอื่ ทราบ
หมวด ๗
การอุทธรณแ์ ละการรอ้ งทุกข์
ข้อ ๕๖ ผู้ใดถูกสั่งลงโทษว่ากล่าวตักเตือน ภาคทัณฑ์ ตัดคะแนนความประพฤติ
พักการเรียนให้ออกหรือคัดชื่อออก มีสิทธอิ ุทธรณ์ตอ่ คณะกรรมการอุทธรณ์และร้องทุกข์ได้ภายใน
สามสบิ วันนับแต่วันได้รับแจ้งคาสั่ง
ข้อ ๕๗ ผู้ใดเห็นว่าตนไม่ได้รับความเป็นธรรมหรือมีความคับข้องใจเน่ืองจากการ
กระทาหรือคาสั่งของบุคลากรของมหาวิทยาลัย ยกเว้นกรณีส่ังลงโทษหรือต้ังคณะกรรมการ
สอบสวนวินัย ผู้น้ันมีสิทธิร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการอุทธรณ์และร้องทุกข์ภายในสามสิบวันนับแต่
วันได้รบั ผลกระทบถงึ การกระทาหรือไดร้ บั คาส่งั
ข้อ ๕๘ คาวินิจฉัยของคณะกรรมการอุทธรณ์และร้องทุกข์ต้องมีลายมือช่ือของ
กรรมการที่วินิจฉัยเรื่องนั้นถ้ากรรมการคนใดมีความเห็นแย้งให้มีสิทธิทาความเห็นแย้งของตนรวม
ไว้ในคาวนิ ิจฉยั น้นั
ค่มู อื นกั ศึกษา ๒๕๖๕ )2(๑8)9(
มหาวิทยาลยั เทคโนคโม่ลู ยอื นรี ากั ชศมกึ งษคาล๒กร๕งุ ๖เท๕พ (๒๘๙)
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ
ขอ้ ๕๙ เมอ่ื คณะกรรมการอุทธรณแ์ ละรอ้ งทุกข์ได้มมี ติแล้วใหผ้ บู้ ังคบั บัญชาซึ่งเป็นผสู้ ั่ง
ลงโทษสั่งให้ปฏิบัติเป็นไปตามมติน้นั โดยให้ดาเนนิ การให้แล้วเสร็จภายในสิบหา้ วนั นับแตว่ ันท่ีได้รับ
แจ้งคาวินิจฉยั จากคณะกรรมการอทุ ธรณแ์ ละร้องทกุ ข์
ข้อ ๖๐ เมื่อผู้บังคับบัญชาซ่ึงเป็นผู้ส่ังลงโทษได้มีการดาเนินการตามมติของ
คณะกรรมการอุทธรณ์และร้องทุกข์แล้ว ให้รายงานให้มหาวิทยาลัยทราบโดยเร็วและแจ้งผลคา
วินิจฉัยคาอุทธรณ์หรือร้องทุกข์พร้อมท้ังแจ้งสิทธิ ในการฟ้องคดีให้ผู้อุทธรณ์หรือร้องทุกข์ทราบ
ภายในสบิ ห้าวนั นับตัง้ แต่วนั ทีไ่ ดด้ าเนนิ การตามมติคณะกรรมการอุทธรณ์และร้องทุกข์
ข้อ ๖๑ กรณีผู้อุทธรณ์หรือผู้ร้องทุกข์ไม่พอใจในคาวินิจฉัยของคณะกรรมการอุทธรณ์
และร้องทุกข์หรือในกรณีคณะกรรมการอุทธรณ์และร้องทุกข์มิได้วินิจฉัยทาการคาอุทธรณ์หรือคา
ร้องทุกข์ให้แล้วเสร็จภายในเก้าสิบวันนับแต่วันท่ีคณะกรรมการอุทธรณ์และร้องทุกข์รับเรื่อง ให้ผู้
น้ันมีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครองได้ตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนดในกฎหมายว่าด้วยการจัดต้ังศาล
ปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดปี กครอง
ขอ้ ๖๒ ให้คณะหรือมหาวิทยาลัยดาเนินการแก้ไขคาส่งั ลงโทษให้เป็นไปตามคาวินจิ ฉัย
ของคณะกรรมการอุทธรณแ์ ละร้องทุกข์โดยเร็ว
ขอ้ ๖๓ ใหน้ าเอาขอ้ บังคบั มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพว่าด้วยการอทุ ธรณ์
และรอ้ งทุกขม์ าใช้บงั คับโดยอนโุ ลมเท่าที่ไมข่ ัดหรือแยง้ กบั ระเบียบนี้
ข้อ ๖๔ ให้มคี ณะกรรมการอุทธรณ์และรอ้ งทุกข์ ประกอบดว้ ย
(๑) รองอธิการบดที ่ีมใี ช่รองอธกิ ารบดีที่ดแู ลดา้ นกิจการนักศึกษา ประธาน
(๒) รองคณบดฝี า่ ยกิจการทว่ั ไปทุกคณะ กรรมการ
(๓) ผู้อานวยการกองพัฒนานกั ศกึ ษา กรรมการและเลขานกุ าร
(๔) บคุ ลากรผมู้ วี ุฒทิ างกฎหมาย กรรมการเละผูช้ ่วยเลขานุการ
ขอ้ ๖๕ ให้คณะกรรมการอุทธรณ์และรอ้ งทกุ ข์ มหี นา้ ทแี่ ละอานาจดังต่อไปน้ี
(๑) ทาการพิจารณาตรวจสอบการใช้อานาจดุลพินิจในการลงโทษของผู้มีอานาจส่ัง
ลงโทษให้มคี วามถกู ตอ้ ง เปน็ ธรรมตามมาตรฐานโทษ
(๒) มีอานาจในการเรียกบุคคล ผู้เก่ียวข้อง มาให้ถ้อยคาต่อคณ ะกรรมการ
เพือ่ ประกอบการพิจารณา
(๓) มอี านาจในการเรียกพยานเอกสาร พยานวัตถทุ ี่เกยี่ วขอ้ งมาประกอบการพิจารณา