The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนบูรณาการสวนพฤกษศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนบูรณาการวิทย์64

แผนบูรณาการสวนพฤกษศาสตร์

Keywords: แผนบูรณาการ

(9)

ไม้พมุ่

วัดความสูงจากโคนต้นจนถึงปลายยอด ส่วนความกว้างทรงพุ่ม ให้วัดส่วนที่กว้างท่ีสุดของทรงพุ่ม ใน
กรณีไม้พุ่มที่ปลูกเป็นแปลง เช่น เข็มแดง ชาฮกเก้ียน ฯลฯ ให้เลือกต้นที่เห็นความกว้างของทรงพุ่มท่ีชัดเจน
ท่สี ดุ แล้ววดั ขนาดความกว้างและความสงู ของต้นนัน้

ไม้เล้ือย
- กรณที ี่ 1 ไมเ้ ล้อื ย เลื้อยไปตามสงิ่ ปลูกสร้าง เช่น เสา รั้ว ฯลฯ ให้วัดความสูงจากโคนต้นจนถึงปลาย

ยอด ส่วนความกว้าง ให้วัดส่วนทก่ี ว้างทสี่ ุดของทรงพุ่ม

(10)

- กรณีที่ 2 ไม้เลื้อย เล้ือยไปตามพื้นดิน เช่น ผักบุ้งทะเล มันแกว ฯลฯ วัดความสูงจากโคนต้นจนถึง
ปลายยอด ส่วนความกว้างทรงพุ่ม ให้วดั ส่วนท่กี ว้างท่ีสุดของทรงพุ่ม

2. นาความสูงและความกว้างทรงพุ่มที่วัดได้ของลักษณะวิสัยนั้นๆ มาเทียบกับสัดส่วนของ กรอบ
ภาพวาดทางพฤกษศาสตร์ ในหน้าปก โดยมีมาตราส่วนกากับ (เท่าจริง ย่อ ขยาย) เช่น มาตราส่วน 1 : 10
หมายถงึ มาตราส่วนย่อ ของภาพวาดที่มขี นาด 1 ส่วน เทียบกบั ขนาดจรงิ 10 ส่วน

3. วาดภาพความสงู ของลาตน้ กงิ่ กา้ น และความกว้างทรงพุ่ม พร้อมระบายสี

(11)

3. เรยี นรู้ข้อมูลพืน้ บา้ น (ก.7-003 หนา้ 1)
3.1 เรียนรู้วิธีการสอบถามข้อมูลพรรณไม้ โดยเรียนรู้วิธีการ การแนะนาตัวการสัมภาษณ์

การกล่าวขอบคุณ
3.2 สอบถามชอ่ื พื้นเมอื งและบันทึกข้อมลู การใช้ประโยชน์จากส่วนต่าง ๆ ของพรรณไม้ ด้าน

อาหาร ยารักษาโรค ก่อสร้างเคร่ืองเรือน เครื่องใช้ ยาฆ่าแมลง ยาปราบศัตรูพืช ความเกี่ยวข้องกับ
ประเพณี วัฒนธรรม หรอื ความเช่ือทางศาสนา อื่น ๆ (เช่น การเป็นพิษ อันตราย) การบันทึกช่ือ อายุ
ที่อยู่ผู้ให้ข้อมูล วนั ท่ี สถานทบ่ี ันทกึ

3.3 สรุปข้อมูลพรรณไม้ท่ีได้จากการสอบถาม หากผู้รู้ไม่ทราบข้อมูลให้ทาเครื่องหมาย
ยตั ิภงั ค์ “ - ”

(12)

ลาดบั การเรียนรทู้ ่ี 5 ทาผังแสดงตาแหนง่ พรรณไม้
วตั ถปุ ระสงค์

1. เพือ่ รู้วิธีการหาและบันทกึ ตาแหน่งพิกัดพรรณไม้
2. เพอ่ื รู้ความกว้างของทรงพุ่มและจัดทาผังพรรณไม้
กระบวนการเรยี นรู้
1. เรยี นรู้วิธกี ารหาและบนั ทึกตาแหน่งพิกดั พรรณไม้

1.1 เรยี นรู้การกาหนดจดุ อ้างองิ ในพ้ืนที่ศึกษา หลักการเลอื กจุดอ้างองิ ในหนง่ึ พื้นท่ีศกึ ษา
ควรมีหนึ่ง จุดอ้างอิง และเป็นจุดอ้างอิงที่เคล่ือนย้ายได้ยาก เช่น เสาธง เสาไฟ ฯลฯ (ไม่ควรเลือกต้นไม้เป็น
จุดอา้ งองิ )

1.2 เรียนรู้การกาหนดเส้นอ้างอิง (Base line) ให้เป็นไปตามทิศ เหนือ ใต้ ตะวันออก
ตะวันตก

1.3 เรยี นรู้การกาหนดขอบเขตพน้ื ทศี่ กึ ษา
1.4 เรยี นรู้วิธีการหาตาแหน่งพรรณไมใ้ ห้เหมาะสมในแต่ละระดับช้ันของผู้เรยี น

1.4.1 ระดบั ปฐมวัย เช่น วธิ ีการนับก้าวให้รู้จกั ทศิ ทางของตาแหน่งพรรณไม้
1.4.2 ระดบั ประถมศกึ ษา เช่น วิธีการใช้เข็มทิศหาตาแหน่งพรรณไม้ โดยการวัด
ระยะ มุม องศา
1.4.3 ระดับมัธยมศกึ ษา เช่น วธิ กี ารหาคู่อันดบั
1.4.4 ระดบั อาชีวศึกษา อุดมศึกษา เช่น ระบบ GPS
1.5 การบันทึกข้อมูลตาแหน่งพรรณไมใ้ นรปู แบบตาราง และผังแสดงตาแหน่งพิกัดพรรณไม้

(13)

2. เรยี นรู้การจัดทาผงั พรรณไม้
2.1 เรียนรู้การจดั ทาผงั พรรณไมเ้ ฉพาะพนื้ ท่ี ผังพรรณไมเ้ ฉพาะพน้ื ที่ คอื ผงั พรรณไม้ย่อย

ของแตล่ ะพืน้ ที่ศึกษา ซง่ึ ระบตุ าแหน่งพรรณไมแ้ ตล่ ะตน้ โดยมที ิศเหนอื และมาตราส่วนกากับ มวี ิธกี าร ดงั นี้
2.1.1 นาตาแหน่งของพรรณไมท้ อ่ี ยู่ในพ้ืนที่ศึกษา มาวดั ขนาดความกว้างของ

ทรงพุ่ม วัดจาก จุดกึ่งกลางจนถึงปลายสุดทรงพุ่มท่ีย่ืนออกไปของต้นไม้บันทึกลงในตารางการวัดความกว้าง
ทรงพมุ่ พรรณไม้

2.1.2 นาข้อมูลจากตารางบันทึกท่ไี ดม้ าเขยี นเปน็ ผงั พรรณไม้เฉพาะพ้นื ที่ โดย
แสดงมาตราส่วน เดยี วกนั กับผังแสดงตาแหน่งพิกดั พรรณไม้

(14)

(15)

2.2 เรยี นรู้การจดั ทาผงั พรรณไมร้ วม เปน็ การนาผังพรรณไมย้ ่อยแต่ละเขตพ้นื ท่ศี ึกษาทกุ
พ้นื ท่ที ี่มมี าตราส่วนเท่ากนั มาต่อรวมกนั

(16)

ลาดับการเรยี นร้ทู ่ี 6
ศกึ ษาและบันทกึ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ (ก.7-003 หน้า 2-7)

วัตถุประสงค์
1. เพ่ือให้รู้โครงสร้างและลักษณะทางพฤกษศาสตร์
2. เพือ่ ให้รู้การวดั
3. เพอื่ ให้รู้การวาดภาพทางพฤกษศาสตร์

กระบวนการเรยี นรู้
1. เรยี นรู้โครงสร้างและลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ (เอกสาร ก.7-003 หนา้ ท่ี 2-7)
1.1 ศกึ ษาลักษณะวสิ ยั และบันทึกลงในแบบศกึ ษาพรรณไม้
1.2 ศกึ ษาสภาพแวดล้อมและถนิ่ อาศัยของพรรณไม้
1.3 ศึกษาลักษณะภายนอกของลาตน้ ใบ ดอก ผล และเมล็ด แล้วบนั ทกึ ลงในแบบศึกษา

พรรณไม้
1.4 เรียนรู้ลักษณะของลาตน้ ได้แก่ ชนิดของลาตน้ เปลือกลาตน้ สี ลกั ษณะ การมยี าง
1.5 เรยี นรู้ลักษณะของใบ ได้แก่ ชนดิ ของใบ สี ขนาด ลักษณะพิเศษของใบ การเรยี งตวั ของ

ใบบน กงิ่ รปู ร่างแผ่นใบ ปลายใบ โคนใบ ขอบใบ
1.6 เรียนรู้ลกั ษณะของดอก ได้แก่ ชนดิ ของช่อดอก ตาแหน่งที่ออกดอก กลีบเล้ยี ง

(แยกออกจากกัน/เช่ือมติดกัน) จานวน สี กลบี ดอก (แยกออกจากกนั /เช่ือมติดกนั ) จานวน สี เกสรเพศผู้
(จานวน สี ลักษณะ) เกสรเพศเมยี (จานวน สี ลกั ษณะ) ตาแหน่งของรงั ไข่ กล่นิ ของ กลบี ดอก

1.7 เรียนรู้ลกั ษณะของผล ได้แก่ ชนดิ ของผล (ผลเดยี่ ว ผลกลุ่ม ผลรวม) สี รปู ร่าง ลกั ษณะ
พิเศษ ของผล

1.8 เรยี นรู้ลกั ษณะของเมล็ด ได้แก่ จานวนเมลด็ สี รูปร่าง

(17)

(18)

(19)

(20)
2. เรียนรู้การวัด เรียนรู้วธิ กี ารวดั ความสูง และความกว้างทรงพุ่ม

2.1 การเรียนรู้การวัดความสูง เช่น สามเหลี่ยมคล้าย ตรีโกณมติ ิไคลโนมิเตอร์

2.2 เรยี นรู้วธิ ีการหาความกว้างทรงพุ่ม วดั ขนาดความกว้างของทรงพุ่ม ตามแนวทิศ
เหนอื -ใต้-ตะวนั ออก-ตะวันตก

(21)

3 เรียนรู้การวาดภาพทางพฤกษศาสตร์
3.1 เรียนรู้หลักการวาดภาพทางพฤกษศาสตร์ โดยให้มรี ปู แบบมาตราส่วนกากับเช่นเดียวกนั

กบั ภาพวาดลักษณะวสิ ยั ในหน้าปก (ขนาดเทา่ จริง ย่อ ขยาย)
3.2 เรียนรู้ลาดับการวาดภาพทางพฤกษศาสตรใ์ นเอกสาร ก.7-003 หนา้ ที่ 7
1. ภาพลาตน้ ตาแหน่งกรอบส่เี หล่ยี มด้านบนซ้าย แสดงผวิ ของลาต้น
2. ภาพใบ ตาแหน่งกรอบส่เี หล่ยี มด้านบนขวา แสดงชนิดของใบ
3. ภาพดอก ตาแหน่งกรอบสีเ่ หลี่ยมด้านล่างซา้ ย แสดงชนิดของดอก
4. ภาพผล ตาแหน่งกรอบสเ่ี หลีย่ มด้านกลางขวา แสดงชนดิ ของผล
5. ภาพเมล็ด ตาแหน่งกรอบสี่เหลย่ี มด้านล่างขวา แสดงลักษณะของเมล็ด

(22)

ลาดับการเรยี นรทู้ ่ี 7
บันทกึ ภาพหรอื วาดภาพทางพฤกษศาสตร์
วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่อื รู้การบันทกึ ภาพทางพฤกษศาสตร์
2. เพอ่ื รู้การวาดภาพทางพฤกษศาสตร์
กระบวนการเรียนรู้
1. เรียนรู้การบันทกึ ภาพทางพฤกษศาสตร์ ของพรรณไม้ที่ได้ทาการสารวจและศึกษาพรรณไม้ตาม
เอกสาร ก.7-003 มาแลว้
1.1. เรยี นรู้การใช้กลอ้ งถ่ายภาพ (ดูรายละเอียดเพิม่ เตมิ ในภาคผนวก)
1.2. เรยี นรู้หลักการถ่ายภาพพรรณไม้
1.2.1 ภาพถา่ ยครบส่วน ลักษณะวิสยั โดยถ่ายต้งั แตโ่ คนตน้ ถึงปลายยอดของ
พรรณไม้

รูปร่างของใบ 1.2.2 ภาพถา่ ยเฉพาะส่วนในแต่ละส่วนของต้นเดียวกนั ประกอบด้วย
ดอกตูมและดอกบาน - ราก (บางชนดิ ) ถ่ายให้เห็นชนิดของราก และรปู ลักษณะของราก
และผิวผล - ลาต้น ถา่ ยให้เห็นผิวเปลือก หรือเนื้อไม้ หรอื น้ายาง
- ใบ ถ่ายให้เห็นชนิดของใบ (ใบเดี่ยว/ใบประกอบ) การเรียงตัวของใบบนก่ิง และ

- ดอก ถา่ ยให้เห็นชนิดของดอก (ดอกเด่ียว/ดอกช่อ) ด้านหนาและดา้ นขางของ

- ผล ถ่ายให้เห็นชนิดของผล (ผลสด/ผลแห้ง – ผลเดี่ยว/ผลกลุ่ม/ผลรวม) รูปร่าง

- เมลด็ ถ่ายให้เหน็ รูปราง ผิว และการตดิ ของเมล็ด

(23)

1.3 หลกั การจดั เก็บและสบื ค้นภาพถา่ ยพรรณไม้
1.3.1 แบบเอกสาร
1.3.2 แบบคอมพิวเตอร์
1. จดั เกบ็ ภาพแต่ละชนดิ โฟลเดอร์ ประกอบด้วย ภาพลักษณะวิสัย ราก (บางชนิด)

ลาต้น ใบ ดอก ผล และเมลด็ โดย ตงั้ ชอื่ ขึ้นต้นด้วยรหัสประจาต้นและตามด้วยชื่อพ้นื เมือง เช่น 001-มะขาม

(24)

2. การถ่ายภาพให้บันทึกเป็นไฟลน์ ามสกลุ .jpg , .JPEG ท่ีขนาด 640 x 480
พิกเซล หรือ 1,280 x 960 พิกเซล เป็นวิธีการที่เหมาะสมและสะดวกต่อการสืบคน้ ตวั อย่างเช่น การเก็บไว้ใน
ลักษณะไฟล์สืบคน้ ใน ระบบคอมพวิ เตอร์

2. เรยี นรู้การวาดภาพทางพฤกษศาสตร์
2.1 หลกั การวาดภาพพรรณไม้ วาดภาพทางพฤกษศาสตร์ คอื งานศิลปะท่ีมกี ารจาเพาะลง

ไป เฉพาะพชื โดยนาศาสตรส์ าขาด้านวิทยาศาสตรแ์ ละศลิ ปะศาสตร์มารวมกนั เรียกว่า วิทย์สานศิลป์
สัดส่วน ถูกต๎องตามหลักวิทยาศาสตร์
สังเกต สงั เกตรายละเอยี ดอย่างถ่ถี ว้ น และแม่นยา
สวยงาม ผลงานสวยงามอย่างมคี ุณคา่ ทางศลิ ปะ

(25)

2.2 เรยี นรู้รูปแบบการกาหนด สัดส่วน เท่าจรงิ ย่อ ขยาย
1. แบบมาตราส่วน เช่น 1 : 1
2. แบบกาลังขยาย/ย่อ เช่น x 3
3. แบบเส้นขดี ระยะ เช่น 1 เซนติเมตร

2.3 เรียนรู้เรอื่ งทฤษฎที างศลิ ปะ องคป์ ระกอบศิลป์ เส้น รูปร่าง ผวิ สัมผัส การกลมกลืน
(harmony) ทฤษฎสี ีแสง – เงา

2.3.1 “ทฤษฏีศิลปะ” หมายถึง ศาสตรท์ ีว่ ่าด้วยความรู้สึกอนั มีความงามเปน็ พ้ืนฐาน
การ แสดงออกอนั ไม่มจี านวนเปน็ เขตสดุ นับตั้งแต่สงิ่ ทีง่ า่ ยทส่ี ุด เช่น ถว้ ยแกว้ เปน็ ต้น ไปจนถึงส่ิงทีย่ ากทสี่ ดุ
เช่น ภาพเขียน ดนตรี วรรณคดี เป็นต้น

2.3.2 “องค์ประกอบศิลป์” หมายถึงการนาสงิ่ ต่าง ๆ มาบรู ณาการเขา้ ด้วยกนั ตาม
สดั ส่วน ตรงตามคณุ สมบัติของสง่ิ นัน้ ๆ เพอื่ ให้เกดิ ผลงานท่ีมีความเหมาะสม

ส่วนประกอบขององค์ประกอบศิลป์
1. จุด คือส่วนประกอบที่เลก็ ท่ีสดุ เร่ิมต้นไปสู่ส่วนอืน่ ๆ เช่น การน าจุดมาเรยี งต่อ

กนั ตามตาแหน่งท่ี เหมาะสม และซา้ ๆ กนั จะทาให้สามารถมองเห็นเป็นเส้น รปู ร่าง รปู ทรง ลักษณะผวิ เป็น
ต้น

2. เส้น คือจุดท่ีเรียงต่อกันในทางยาว หรอื เกิดจากการลากเส้นไปยงั ทิศทางต่าง ๆ มี
หลายลกั ษณะเช่น ตงั้ นอน เฉยี ง โค้ง ฯลฯ

3. รปู ร่าง คือพืน้ ท่ีท่ีลอ้ มรอบด้วยเส้นท่แี สดงความกว้าง และความยาว รูปร่างจงึ มี
สองมติ ิ

4. รูปทรง คือภาพทีต่ ่อเนอ่ื งจากรปู ร่าง โดยมีความหนาหรือความลกึ ทาให้ภาพที่
เห็นมีความชดั เจน และสมบูรณ์รปู ทรงจึงมสี ามมติ ิ

5. แสงเงา คือองคป์ ระกอบของศลิ ปท์ ่ีอยู่รวมกนั แสง เม่ือส่องกระทบ กับวตั ถุ จะ
ทาให้เกดิ เงา แสงและ เงา เป็นตัวกาหนดระดบั ของค่านา้ หนัก ความเข้มของเงาจะข้ึนอยู่กับความเข้มของแสง
ในทีแ่ สงมีความสว่าง มาก เงาจะเข้มข้นึ และในท่มี ีความสว่างของแสงน้อย เงาจะไม่ชดั เจน ในที่ ๆ แสงสว่าง
จะไม่มีเงา และเงาจะอยู่ ในทิศทางที่ตรงข้ามกบั แสงเสมอ

6. สี คือลกั ษณะของแสงทีป่ รากฏแก่สายตาเห็นเป็นสี ในทางวทิ ยาศาสตรใ์ ห้คา
จากดั ความของสวี ่า เป็นคล่นื แสงหรือความเข้มของแสงท่ีสายตามามารถมองเห็น ในทางศิลปะ สี คอื ทัศนะ
ธาตอุ ย่างหน่ึงทเ่ี ปน็ องค์ประกอบสาคัญของงานศิลปะ และใช้ในการสร้างงานศลิ ปะโดยจะทาให้ผลงานมี
ความสวยงามช่วยสร้าง บรรยากาศ มีความสมจริง เด่นชดั และน่าสนใจมากข้ึน สีเป็นองค์ประกอบทม่ี ีอิทธิพล
ต่อความรู้สกึ อารมณ์ และจิตใจ ไดม้ ากกว่าองคป์ ระกอบอ่ืน ๆ

7. พื้นผวิ คอื ส่วนท่ีเปน็ พื้นผิวของวัตถุท่ีมีลักษณะต่างกนั เช่น เรียบ ขรขุ ระ หยาบ
มัน นุ่ม ฯลฯ ซง่ึ สามารถมองเห็นและสัมผสั ได้ การน าพื้นผิวมาใช้ในงานศิลปะ จะช่วยให้เกดิ ความเด่นใน
ส่วนทีส่ าคัญ และทาให้เกดิ ความงามสมบรู ณ์

2.4 เรียนรู้ประเภทการวาดภาพทางพฤกษศาสตรเ์ ช่น วาดแบบลายเส้น วาดแบบลงสีหรือ
ภาพวาด ระบายสีต้องระบมุ าตราส่วน กาลังขยาย หรือ เส้นขีดระยะ (Scale) กากับอยู่ในภาพวาดนั้น ๆ

(26)

2.5) เรียนรู้ขั้นตอนการวาดภาพ เรยี นรู้ถงึ ลกั ษณะเด่นๆ ของพืชในแต่ละกลุ่ม รวมถึง
ลกั ษณะท่ีสาคัญทางพฤกษศาสตร์ต่าง ๆ เช่น ราก ลาตน้ เปลือก ชนดิ ของใบ ใบประดับ ดอก ช่อดอก ผล ช่อ
ผล ตลอดจนเมลด็ เพือ่ เลอื กเทคนคิ ทีจ่ ะใช้วาดภาพ ให้เหมาะสม ตามหลกั วิทยาศาสตรซ์ ึ่งมีรายละเอียดและ
ขน้ั ตอนโดยสังเขป คือ

1. เตรียมการวาดภาพลายเส้นขาวดา หรือภาพสีขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการ
นาไปใช้ รวมถึงการ กาหนดขนาดภาพ พร้อมมาตราส่วนทจ่ี ะใช้ให้ถูกตอ้ ง พรรณไม้ที่วาดอาจเป็นตวั อย่าง
พรรณไมอ้ ดั แห่ง ตัวอย่าง สด หรือภาพถ่ายสี

2. ศึกษาข้อมูลตวั อย่างพรรณไม้ เพ่ือแสดงรายละเอียดส่วนสาคัญของพรรณไม้ได้
ครบถว้ น พร้อมชื่อ พฤกษศาสตรท์ ถี่ กู ต้อง

3. รา่ งภาพในมาตราส่วนท่ีถกู ต้อง ด้วยการวดั ขนาด แล้ววางตาแหน่งของภาพทัง้
ภาพหลกั และภาพ ย่อยประกอบหรอื ส่วนขยาย (ถ้ามี) ตามวสิ ัยของพรรณไม้ในธรรมชาติ

4. เพม่ิ เตมิ รายละเอยี ดลกั ษณะพรรณไม้ สี และแสงเงา
5. ตรวจสอบความถูกต้องของภาพวาดข้นั สุดท้าย วนั ทีว่ าดเสรจ็ สมบรู ณ์ และ
ลายมอื ช่ือของผู้วาด

(27)

(28)

3. หลักการจดั เกบ็ และสบื ค้นภาพวาดทางพฤกษศาสตร์
3.1 แบบเอกสาร โดยการน าภาพวาดทางพฤกษศาสตร์มาเก็บเปน็ แฟม้ เอกสาร
3.2 แบบคอมพิวเตอร์ โดยจัดเกบ็ ภาพวาดแต่ละชนดิ ในโฟลเดอร์ ตงั้ ชื่อโฟลเดอรข์ ึน้ ต้นด้วย

รหัสประจาต้นและตามดว้ ยชอ่ื พน้ื เมือง

(29)

ลาดับการเรียนรู้ที่ 8
ทาตัวอยา่ งพรรณไม้ (แห้ง ดอง และเฉพาะสว่ น)
วัตถปุ ระสงค์
1. เพือ่ รู้การทาตวั อย่างพรรณไม้แห้ง
2. เพอ่ื รู้การทาตวั อย่างพรรณไม้ดอง
3. เพอ่ื รู้การทาตวั อย่างพรรณไม้เฉพาะส่วน
กระบวนการเรยี นรู้
1. เรยี นรู้การทาตวั อย่างพรรณไม้แห้ง
1.1. เรยี นรู้หลักการทาตัวอย่างพรรณไม้แห้ง
1.1.1 สามารถทาไดท้ ุกส่วนของพืช เช่น ราก ลาตน้ ใบ ดอก และผล
1.1.2 ตัวอย่างมีความสมบรู ณ์ เลือกเกบ็ ต้นหรือกิ่งที่มีลักษณะปกติ ไม่เหย่ี ว แมลง
กัด ไฟไหม้ หรือเป็นโรค (ขนึ้ อยู่กบั ระยะเวลาการตดิ ผลและดอกของพชื แต่ละชนดิ )
1.1.3 ทาตัวอย่างซา้ ทเี่ หมือนกนั คือ ตวั อย่างสาหรับพืชแต่ละชนิด จะต้องมีต้งั แต่
2 ช้นิ ขึ้นไป
1.2 เรยี นรู้วสั ดอุ ุปกรณ์ในการทาตัวอย่างพรรณไม้แห้ง
1.2.1 ชนิ้ ตวั อย่าง ยาวประมาณ 30 เซนติเมตร ประกอบไปด้วย กิ่ง ใบดอก หรือ
กงิ่ ใบ ผล
1.2.2 แผงอัดพนั ธุ์ไม้ กว้าง 30 เซนตเิ มตร ยาว 45 เซนตเิ มตร มลี กั ษณะเป็นตาราง
ส่ีเหลี่ยมผืนผ้า 2 แผงประกบกนั
1.2.3 เชอื กไส้ตะเกียงแบบแบนสาหรับผูกแผงอดั พันธ์ุไม้ กว้าง 2.5 เซนติเมตร ยาว
150 เซนติเมตร จานวน 2 เส้นต่อแผง
1.2.4 กระดาษลูกฟูก (หรอื เทียบเท่า) กว้าง 30 เซนตเิ มตร ยาว 45 เซนติเมตร
1.2.5 กระดาษหนังสอื พิมพ์ กว้าง 30 เซนติเมตร ยาว 45 เซนติเมตร
1.2.6 ปา้ ยแสดงขอ้ มูลพรรณไม้ กว้าง 10 เซนติเมตร ยาว 15 เซนติเมตร
1.2.7 ปา้ ยขอ้ มูล (tag) สาหรบั ผกู พนั ธุ์ไม้กว้าง 3 เซนตเิ มตร ยาว 5 เซนตเิ มตร
ปลายขา้ งหนงึ่ เจาะรูสาหรบั ร้อยด้าย (ด้ายยาว 20 เซนติเมตร ทาเป็น 2 ทบ)
1.2.8 เข็มเบอร์ 8 และดา้ ย
1.2.9 กระดาษสีขาว 300 แกรมสาหรับเยบ็ ตวั อย่างพรรณไมแ้ ห้ง กว้าง 30
เซนตเิ มตร ยาว 42 เซนตเิ มตร
1.2.10 ปกตัวอยา่ งพรรณไมแ้ ห้ง ใช้กระดาษสีขาว 300 แกรม พับคร่ึงให้ได้ขนาด
กว้าง 35 เซนตเิ มตร ยาว 45 เซนติเมตร

(30)

1.3 เรียนรู้ขั้นตอนการทาตวั อย่างพรรณไมแ้ ห้ง
1.3.1 คดั เลอื กสว่ นของพชื ในการทาตวั อย่างพรรณไม้แห้ง ประกอบด้วย ก่ิง ใบ

ดอก หรือกงิ่ ใบ ผล ตัดชน้ิ ตวั อย่างพนั ธไ์ุ มย้ าว 30 เซนติเมตร โดยพนั ธุไ์ ม้หนงึ่ ชนิดให้เก็บอยา่ งน้อย 2
ตวั อย่าง

1.3.2 ผกู ปา้ ยข๎อมูลท่ีชิ้นตัวอย่างพันธ์ุไม้ในตาแหน่งกง่ิ ท่ีแข็งแรงที่สดุ เพ่ือป้องกัน
การสญู หาย

(31)

1.3.3 เตรียมอุปกรณ์สาหรับอัดพรรณไม้โดยวางแผงอัดพันธ์ุไม้ 1 แผง กระดาษลูกฟูก 1
แผ่น และกระดาษหนงั สือพิมพ์ 1 คู่ ตามลาดบั

1.3.4 จัดช้นิ ตวั อย่างพนั ธุ์ไมบ้ นกระดาษหนังสอื พิมพ์ให้เห็นลักษณะของหน้าใบ หลัง
ใบ ดอก และผลชัดเจน แล้วจงึ ปิดด้วยกระดาษหนงั สอื พมิ พ์ กระดาษลูกฟูก 1 แผ่น และแผงอัดพันธุ์ไม้ 1 แผง
ตามลาดับ แล้วจึงผูกเชือกรัดแผงอัดพันธ์ุไม้ให้แน่น (แผงอัดพันธ์ุไม้1 แผง สามารถอัดพรรณไม่ได้ 1 – 10
ตัวอย่าง ขึน้ อยู่กบั ขนาดและชนิดของพรรณไม้)

1.3.5 อบตัวอย่างพรรณไม้ การอบพรรณไมห้ รอื ตากตัวอย่างพรรณไม้สามารถตาก
ไวใ๎ นบริเวณ พ้นื ทีท่ ม่ี แี สงแดดส่องถงึ หากในฤดูฝนหรือฤดูหนาวสามารถใช้วิธกี ารอบไว้ในตอู้ บพรรณไม่ได้

(32)

1.3.6 เย็บตวั อย่างพรรณไมแ้ ห้ง นาตัวชิ้นตัวอย่างพันธ์ไุ มท้ ่แี หง้ สนทิ วางบน
กระดาษสาหรับ เย็บตัวอย่างพรรณไม้แห้ง เย็บยึดด้วยเข็มและด้ายบริเวณกิ่ง และเส้นกลางใบให้ช้ินตัวอย่าง
พันธุ์ไม้ติดแน่นกับ กระดาษ โดยเว้นระยะแต่ละปมประมาณ 1 นิ้ว หรือตามความเหมาะสมโดยไม่มีการตัด
ด้ายระหว่างการเยบ็

1.3.7 ติดป้ายแสดงขอ้ มลู พรรณไม้ ตรงมุมล่างดา้ นซ้ายของตวั อย่างพรรณไม้แห่ง
ที่ทาการเย็บ เสร็จแล้วโดยทากาวเพียง 1 เซนติเมตรทางด้านซ้าย เพื่อให้สามารถเปิดปิดป้ายรายละเอียด
ข้อมูลพรรณไมไ้ ด้

(33)

1.3.5 เรยี นรู้ระบบการจดั เกบ็ และสืบค้น เช่น แฟ้มทะเบยี นตัวอย่าง ชิ้นตวั อย่าง วางบนชั้นวาง หรอื ตู้

2. ศึกษาการทาตวั อย่างพรรณไม้ดอง
2.1 เรยี นรู้หลักการทาตวั อย่างพรรณไม้ดอง เก็บได้ทุกส่วนเช่น ส่วนดอกและผลของพืชที่

ต้องการเก็บรกั ษาเป็นพิเศษ หรือ ขนาดใหญ่ และมลี กั ษณะ อวบนา้ หรอื ฉ่านา้ เช่น ผลมะม่วง ผลมะยม ผล
มะปริง ผลมะปราง ดอกขิง ดอกข่า เปน็ ต้น

(34)

2.2 เรียนรู้วัสดุอุปกรณ์ในการทาตวั อย่างพรรณไม้ดอง
2.2.1 มดี ผ่าตัวอย่าง
2.2.2 ขวดแกว้ สุญญากาศ (Vacuum bottle) แบบใส มีฝาปิดมดิ ชดิ ไม่ทาให้

เอทานอล ระเหยงา่ ย
2.2.3 เอทานอล / เอทลิ แอลกอฮอล์Ethyl alcohol) ความเขม้ ขน้ ร้อยละ 70
2.2.4 ป้ายขอ้ มลู พรรณไมข้ นาดกว้าง 10 เซนติเมตร ยาว 15 เซนตเิ มตร

(35)

2.3 เรยี นรู้ข้ันตอนการทาตัวอย่างพรรณไมด้ อง
2.3.1 คัดเลอื กสว่ นของพืชในการทาตวั อย่างพรรณไม้ดอง ประกอบด้วย ผล

หรอื ดอก ท่อี วบนา้ โดยพรรณไม้แตล่ ะชนิดให้เก็บ 1 ตัวอย่าง
2.3.2 ตดั ตามขวาง ตดั ตามยาว ส่วนของผล ตวั อย่างพรรณไมท้ ่ีมีลกั ษณะอวบนา้

ใส่ในขวด หรอื โหล ดองในเอทลิ แอลกอฮอลค์ วามเข้มขน้ ร้อยละ 70 ชน้ิ ส่วนทนี่ ามาดอง แสดงการดองทั้งผล
และผ้า ตามยาว ตามขวางให้เหน็ ลกั ษณะภายในผล และติดป้ายข้อมูลที่ขวดตัวอย่างหรืออาจใช้กระดาษแบบ
กันนา้ แล้วเขยี นบนั ทึกข้อมูลพรรณไมล้ งในขวดโหลตัวอย่างได้

2.3.3 ดองส่วนของพชื
2.3.4 บันทึกข้อมูลและติดป้ายข้อมลู พรรณไม้ดอง สาหรบั ตัวอย่างพรรณไม้ดอง
แผ่นป้าย ข้อมูลจะติดบนภาชนะท่ีบรรจุตัวอย่าง ขนาดของแผ่นป้ายสาหรับตัวอย่างดองนน้ั ใหญ่หรือเลก็
แล้วแต่ความเหมาะสม โดยควรเหมาะสมกบั ขนาดของภาชนะที่บรรจตุ วั อย่าง และควรติดอยู่ในบรเิ วณท่ี
เหมาะสม ไมบ่ ดบัง ตัวอย่างที่อยู่ภายใน

(36)

หมายเหตุ
ตัวอย่างพรรณไม้ดองบางชนิดเมื่อถึงระยะเวลาหน่ึงจะต้องมีการเปล่ียนถ่ายเอทานอลเก่า ออก และ

ใส่ เอทานอลใหม่ลงไปแทน เพ่อื ให้รกั ษาสภาพตวั อย่างไดน้ านข้นึ โดยเฉพาะตวั อย่างทม่ี สี ลี ะลาย ออกมาใน
เอทานอลมากจนกลายเป็นสีคล้าเข้มทาให้มองไม่เห็นช้ินตัวอย่างที่บรรจุอยู่ภายในภาชนะ ควร จะต้องทาการ
เปล่ียนบ่อยข้ึน

2.4 เรยี นรู้ระบบการจดั เก็บและสืบค้น
สามารถจัดเกบ็ ไว้ในตหู้ รือชนั้ วางเรียงกนั ไว้ในห้องเก็บตัวอย่าง ท่ีมแี สงผ่านเข้าเล็กน้อย

หรอื จัดเป็น หมวดหมู่ ยกตวั อย่างเช่น พรรณไม้ที่อยู่ในสกุลเดียวกันและวงศเ์ ดยี วกันจัดสามารถจัดรวมกนั
และเรียงลาดบั รหัสตดิ ไว้ทต่ี เู้ ก็บตวั อย่าง ซ่ึงง่ายต่อการสืบคน้

(37)

(38)

3. เรยี นรู้การทาตัวอย่างพรรณไม้เฉพาะส่วน
3.1 เรยี นรู้หลกั การทาตัวอย่างพรรณไมเ้ ฉพาะส่วน สาหรับพืชบางชนิดซ่ึงมผี ลท่มี ีลักษณะ

เปน็ ผลแห้ง (ไมม่ ีเน้อื ฉ่านา้ ) นนั้ นอกจากจะเก็บก่ิงทมี่ ีใบ และ ดอก มาอดั เปน็ ตัวอย่างพรรณไมแ้ ห้งแล้ว ยัง
สามารถเกบ็ ตวั อยา่ งเฉพาะส่วนของผล (ซึ่งไม่สามารถอัดให้แบนติดบนกระดาษได้) หรือตัวอย่างมักใช้กับส่วน
ของพืชที่ต้องการเก็บรักษา เป็นพิเศษ หรือ ขนาดใหญ่มาก มาทาเป็นตัวอย่างพรรณไม้แห้งเฉพาะส่วนได้ด้วย
เช่น ฝกั สะบ้า ผลตะแบก อินทนลิ สะแก ยางนา มะพร้าวฯลฯ นอกจากน้ียังอาจเก็บส่วนของเมล็ดได้ด้วย เช่น
เมล็ดมะกล่าตาหนูเมล็ดถั่วต่าง ๆ ฯลฯ โดยตัวอย่างแห้งเฉพาะส่วนน้ีไม่ต้องอัดในแผงอัดพรรณไม้แต่อบหรือ
ตากแดดให้แห้ง แล้วเก็บรักษาไว้ในภาชนะใสแบบต่าง ๆ ในกรณีท่ีมีขนาดใหญ่มาก เช่น ฝักสะบ้า อาจจัด
แสดงไว้ในห้องโดยไมต่ อ้ งใส่ภาชนะ

3.2 เรียนรู้วสั ดุอุปกรณใ์ นการทาตัวอย่างพรรณไม้เฉพาะส่วน

3.3 เรียนรู้ขน้ั ตอนการทาตัวอย่างพรรณไมเ้ ฉพาะส่วน
3.3.1 คดั เลอื กสว่ นของพชื ในการทาตัวอย่างพรรณไม้เฉพาะส่วน ประกอบด้วย

ผล เมล็ด หรือ ดอกท่ีแห้งโดยธรรมชาติโดยเก็บชนิดพรรณไม้ละ 1 ตัวอย่าง
3.3.2 ทาตวั อย่างพรรณไมเ้ ฉพาะ โดยเกบ็ ตวั อย่างพรรณไม้ทม่ี ลี ักษณะแห่ง เช่น

เกบ็ เป็นผล แห้ง ฝัก เมล็ด ใส่กล่องหรือขวด ปดิ ฝาให้มดิ ชิดปอ้ งกันแมลง หากพรรณไม่มีขนาดใหญ่ไมส่ ามารถ
ใส่กลอ่ งได้ ให้วาง หรอื แขวนบนชั้น แล้วตดิ ป้ายข้อมลู พรรณไม้

3.3.3 บันทึกข้อมลู และตดิ ป้ายข้อมูลพรรณไม้เฉพาะส่วน แผ่นปา้ ยข้อมูลจะตดิ บน
ภาชนะใน กรณที ่ีสามารถบรรจใุ นภาชนะได้โดยให้มีขนาดและบริเวณท่ีตดิ แผ่นป้ายตามความเหมาะสม แต่ถ้า
ช้นิ ตวั อย่าง มขี นาดใหญ่มาก และไม่ไดบ้ รรจุในภาชนะ ก็ควรมีแผ่นปา้ ยขอ้ มูลติด (อาจใช้วิธีห้อยหรอื แขวน) ไว้
ที่ชนิ้ ตวั อย่าง หรือทาเปน็ ป้ายตง้ั แสดงใกล้ ๆ กับชิน้ ตัวอย่าง

(39)

3.4 เรียนรู้ระบบการจดั เก็บและสืบค้น
ให้จัดแสดงไว้ในตหู้ รือชน้ั หรอื อาจวางเรียงไว้ท่มี ุมตา่ ง ๆ ในห้องพิพิธภณั ฑ์ให้สวยงาม หลกั สาคัญท่ี
ต้อง คานงึ ถงึ คือ ต้องเรยี งเป็นหมวดหมู่ ให้ตัวอย่างพรรณไม้ทีอ่ ยู่ในสกลุ และวงศ์เดียวกันอยู่รวมกัน

(40)

ลาดับการเรียนรู้ที่ 9
เปรยี บเทยี บข้อมูลทสี่ รุป (ก.7–003 หน้า 8) กับข้อมูลทสี่ ืบคน้ จากเอกสาร

แลว้ บันทกึ ใน ก.7–003 หน้า 9–10
วัตถุประสงค์

1. เพือ่ รู้การสรปุ ลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
2. เพอ่ื รู้การสบื คน้ ข้อมูลพรรณไม้
3. เพ่อื รู้การเปรียบเทียบและบันทึกข้อมูลเพมิ่ เติม
กระบวนการเรยี นรู้
1. เรยี นรู้การสรุปข้อมลู พรรณไม้ (ก.7–003 หนา้ 8)

1.1 บนั ทึกช่ือพ้ืนเมืองและรหสั พรรณไม้ (จากหน้าปก)
1.2 นาข้อมลู หน้า 2–7 มาเขียนเปน็ ความเรียงในย่อหน้าท่ี 1 ควรสรุปข้อความให้ไดใ้ จความ
กะทัดรัด ไม่ยาวจนเกินไป ไม่ใช้คาเชอื่ มเยอะจนเกนิ ไป
1.3 นาข้อมลู หน้า 1 มาเขยี นเปน็ ความเรยี งในย่อหน้าที่ 2

(41)

2. เรียนรกู้ ารสืบคน้ ขอ้ มูลพรรณไม้
2.1 เรยี นรู้หลักการสบื ค้นขอ้ มูลพรรณไมจ้ ากเอกสาร ส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ แหล่งสืบค้นขอ้ มูล

พรรณไมไ่ ดม้ าจาก เอกสาร หนังสือ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ท่ีมีความนาเชื่อถือ และเป็นที่ ยอมรับทางด้านวิชาการ
พฤกษศาสตร์ เช่น หนังสือช่ือพรรณไม้แห่งประเทศไทย อ.เต็ม สมิตินันทน์ หนังสือ พรรณไม้ในสวน
พฤกษศาสตร์โรงเรยี น ศาสตราจารย์ ดร. พเยาว์ เหมือนวงษญ์ าติ

(42)

(43)

2.2 เรยี นรู้วิธกี ารสืบค้น
2.2.1 ค้นจากหนงั สือช่ือพรรณไม๎แหงประเทศไทย อ.เต็ม สมติ นนั ทน์
2.2.2 การสืบคน้ จากส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์ของ อพ.สธ.
1. เขา้ สู่หนา้ เวบ็ ไซต์ www.rspg.or.th, www.rspg.org
2. จากหน้าหลัก (Home) คลิกทล่ี งิ ค์ สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น
3. คลิกท่ี ข้อมูลพรรณไม้
4. เลอื กชนดิ และข้อมลู พรรณไม้ทต่ี อ้ งการสบื คน้

2.3 เรียนรู้การเปรียบเทยี บและบันทกึ ข้อมูลเพิ่มเตมิ
2.3.1 เรยี นรู้การเปรียบเทยี บ
1. นาข้อมลู ทส่ี รุปในหน้าที่ 8 มาเปรยี บเทียบกบั ข้อมลู ที่ได้จากการสืบค้น

(44)

2. บนั ทกึ ขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากการสบื ค้น เช่น ชื่อวทิ ยาศาสตร์ ชือ่ วงศ์ ช่อื สามัญ
ชื่อพ้ืนเมืองอื่น ๆ ถ่ินกาเนิด การกระจายพันธุ์นิเวศวิทยา เวลาออกดอก เวลาติดผล การขยายพันธ์ุ การใช้
ประโยชน์ ประวตั พิ นั ธ์ุไม้ และ เอกสารอา้ งอิง ใน ก.7-003 หนา้ ท่ี 9

(45)

2.3.2 เรียนรบู้ ันทึกข้อมูลเพิ่มเติม (ก.7–003 หน้า 10) เช่น ประวตั กิ ารนาเข้ามาปลกู ใน
โรงเรียน เวลาการออกดอกหรอื ติดผลนอกฤดูกาล หรืออนื่ ๆ

(46)
ลาดบั การเรยี นรทู้ ี่ 10
จดั ระบบข้อมูลทะเบียนพรรณไม้ (ก.7-005)
วัตถปุ ระสงค์
1. เพอ่ื รู้รูปแบบการทาทะเบียนพรรณไม้
2. เพ่ือรู้วิธีการทาทะเบยี นพรรณไม้
กระบวนการเรียนรู้
1. เรยี นรู้รูปแบบการทาทะเบียนพรรณไม้ตามแบบ อพ.สธ. ประกอบไปด้วย
1.1 ปก

1.2 ตารางบันทกึ ข้อมลู ประกอบไปด้วย ชือ่ โรงเรยี น จงั หวดั รหัสสมาชกิ ฯ รหสั พรรณไม้ ช่อื
พ้นื เมือง ชอื่ วิทยาศาสตร์ ชือ่ วงศ์ ลักษณะวสิ ยั ลักษณะเด่นของพืช บรเิ วณทีพ่ บ

(47)
2 เรยี นรู้วธิ กี ารทาทะเบยี นพรรณไม้

2.1 รวบรวมข้อมลู จากเอกสาร ก.7 – 003

2.2 บันทึกข้อมลู ในทะเบียนพรรณไม้ ประกอบไปด้วย รหสั พรรณไม้ ช่อื พื้นเมอื ง
ช่อื วิทยาศาสตร์ ชอ่ื วงศ์ ลักษณะวสิ ยั ลักษณะเด่นของพืช บรเิ วณท่พี บ

(48)
3. จัดทาระบบการจัดเก็บและสืบค้นทะเบียนพรรณไม้

(49)

ลาดับการเรียนรู้ที่ 11
ทาร่างปา้ ยชื่อพรรณไม้สมบูรณ์
วัตถปุ ระสงค์
1. เพอ่ื รู้รูปแบบการทาป้ายช่อื พรรณไม้สมบูรณ์
2. เพื่อรู้วธิ กี ารทาปา้ ยช่ือพรรณไม้สมบูรณ์
กระบวนการเรยี นรู้
1. เรียนรู้รูปแบบการทาป้ายช่ือพรรณไม้สมบรู ณต์ ามแบบ อพ.สธ.ประกอบด้วย
1.1 รหัสพรรณไม้
1.2 ชื่อพืน้ เมือง
1.3 ชือ่ วิทยาศาสตร์
1.4 ชื่อวงศ์
1.5 ชอ่ื สามัญ
1.6 ประโยชน์

(50)
2. เรยี นรู้วธิ ีการทาปา้ ยชอื่ พรรณไม้สมบูรณ์

2.1 รวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ก.7–003 และทะเบียนพรรณไม้

2.2 บันทกึ ข้อมูล ร่างป้ายช่ือพรรณไม้สมบูรณ์ ประกอบไปด้วย
1. รหัสพรรณไม้ : (นาข้อมลู มาจากหน้าปกเอกสาร ก.7-003 หรือทะเบยี นพรรณไม้
ชอ่ งท่ี 1)
2. ชอื่ พนื้ เมือง : (นาข้อมูลมาจากหน้าปกที่ 1 ของเอกสาร ก.7-003 หรือทะเบยี น
พรรณไม้ช่องที่ 2)
3. ชอื่ วิทยาศาสตร์: (นาข้อมูลมาจากหน้าปกที่ 9 ของเอกสาร ก.7-003 หรือ
ทะเบียน พรรณไมช้ อ่ งท่ี 3)
4. ชือ่ วงศ์ : (นาข้อมูลมาจากหน้าปกท่ี 9 ของเอกสาร ก.7-003 หรอื ทะเบยี น
พรรณไม้ช่องท่ี 4)
5. ช่อื สามัญ : (นาข้อมลู มาจากหน้าปกที่ 9 ของเอกสาร ก.7-003 หรือทะเบียน
พรรณไม้ช่องท่ี 3)
6. ประโยชน์: (นาข้อมูลมาจากหน้าปกท่ี 1 ของเอกสาร ก.7-003)

(51)

(52)

ลาดบั การเรียนรู้ท่ี 12
ตรวจสอบความถกู ต้องทางวิชาการดา้ นพฤกษศาสตร์
วัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อรู้วธิ กี ารรวบรวมข้อมูลความถูกต้องทางวชิ าการด้านพฤกษศาสตร์
2. เพ่ือรู้วิธีการทาฐานข้อมลู ความถกู ต้องทางวิชาการด้านพฤกษศาสตร์
3. เพอ่ื รู้วธิ กี ารจัดส่งข้อมลู ความถูกต้องทางวชิ าการด้านพฤกษศาสตร์
กระบวนการเรียนรู้
1. เรียนรู้วธิ ีการรวบรวมข้อมูลความถกู ต้องทางวชิ าการด้านพฤกษศาสตร์
1.1 ตวั อย่างพรรณไม้และการศกึ ษาพรรณไม้ข้อมลู ตรงกับทะเบียนพรรณไม้
1.1.1 ภาพถา่ ยตัวอย่างพรรณไม้แห้ง
1.1.2 ภาพถา่ ยตวั อย่างพรรณไม้ดอง
1.1.3 ภาพถา่ ยตัวอย่างพรรณไม้เฉพาะส่วน
1.1.4 ไฟล์สรปุ ข้อมูลพรรณไม้ ก7.003 หนา้ ท่ี 8 ในรูปแบบ Microsoft Office

Word เช่น
1.2 ทะเบียนพรรณไม้และภาพถา่ ยพรรณไม้

1.2.1 ทะเบยี นพรรณไม้จดั ทาในรปู แบบ Microsoft Office Excel
1.2.2 ข้อมลู ภาพถา่ ยพรรณไม้ตรงกบั ทะเบยี นพรรณไม้
1.3 ปา้ ยช่ือพรรณไม้สมบรู ณ์ ไฟลร์ า่ งปา้ ยช่ือพรรณไม้สมบูรณใ์ นรปู แบบ Microsoft Office
Word หรือ Microsoft Office PowerPoint ให้ตรงกับทะเบียนพรรณไม้
2. เรยี นรู้วิธกี ารทาฐานข้อมลู ความถูกต้องทางวชิ าการด้านพฤกษศาสตร์
2.1 การสร้างโฟลเดอรห์ ลัก ต้ังช่ือว่า “งานประเมนิ ความถูกต้องทางวชิ าการ” และเม่ือเปิด
ใน โฟลเดอรห์ ลกั ให้สร้างโฟลเดอรย์ ่อยสาหรับเก็บข้อมูล จานวน 3 โฟลเดอรด์ งั นี้

(53)
2.1.1 การสรา้ งโฟลเ์ ดอร์และบนั ทึกข้อมลู โฟลเ์ ดอร์ที่ 1 ตวั อยา่ งพรรณไมแ้ ละ
การศึกษาพรรณไม้
ขั้นตอนที่ 1 สาหรบั โฟลเดอร์ ที่ 1 ตัวอย่างพรรณไม้และการศกึ ษาพรรณไม้จะ
ประกอบไปดว้ ย 3 โฟลเดอรย์ ่อยด้วยกนั ดงั นี้

ข้ันตอนท่ี 2 ในแต่ละโฟลเดอร์ย่อย ท้ัง 3 โฟลเดอร์ให้บันทึกข้อมูลทุกปีที่มีการ
สารวจพรรณไม้และ จัดทาทะเบียนพรรณไม้ จะประกอบไปด้วยโฟลเดอร์เก็บภาพตัวอย่างพรรณไม้จะต้องต้ัง
ชื่อขน้ึ ตน้ ด้วยรหสั ประจาตน้ และตามด้วยชื่อพ้ืนเมือง ดังภาพ

(54)
ขนั้ ตอนท่ี 3 ข้อมูลทบี่ ันทึกเก็บไว้ในตวั อย่างพรรณไมแ้ ตล่ ะชนิด จะประกอบด้วย
ภาพถา่ ยตวั อย่าง 2 ตัวอย่าง และไฟล์บนั ทกึ เอกสาร ก.7 – 003 หนา้ ที่ 8 ของพรรณไม้ชนดิ นน้ั (พมิ พ์ด้วย
Microsoft Office Word และบันทึกเปน็ นามสกลุ .doc)
1. โฟลเดอร์ตวั อย่างพรรณไม้แห้ง ในแต่ละชนิดให้ถ่ายภาพตวั อย่าง 2 ตวั อย่าง
โดยถา่ ยให้ เหน็ ชน้ิ ตัวอย่างและป้ายข้อมูลที่ติดกับกระดาษเยบ็ ตวั อย่าง โดยมขี นาดภาพ 640x480 พกิ เซล
หรือ 1,280x960 พิกเซล นามสกุล .jpg และไฟลบ์ นั ทึกเอกสาร ก.7-003 หนา้ ท่ี 8 ของพรรณไม้ชนิดน้ัน
(พิมพ์ดว้ ย Microsoff Office Word และบันทกึ เป็นนามสกลุ .doc)

2. โฟลเดอรต์ ัวอย่างพรรณไมด้ อง ในแต่ละชนดิ ให้ถ่ายภาพตวั อย่างเพยี ง 1 ตวั
อย่าง โดยถ่ายป้าย ข้อมูลพรรณไม้ 1 ภาพ และถ่ายชิ้นตัวอย่างข้างใน 1 ภาพ โดยมีขนาดภาพ 640x480
พกิ เซล หรอื 1,280x960 พิกเซล นามสกุล .jpg และไฟล์บันทึก เอกสาร ก.7-003 หน้าท่ี 8 ของพรรณไม้ชนิด
นน้ั (พมิ พด์ ้วย Microsoft Office Word และบนั ทกึ เปน็ นามสกุล .doc)

(55)
3. โฟลเดอร์ตัวอย่างพรรณไม้เฉพาะส่วน ในแต่ละชนิด ให้ถ่ายภาพตัวอย่างเพียง 1
ตัวอย่าง โดยถ่าย ป้ายข้อมูลพรรณไม้1 ภาพ และถ่ายภาพตัวอย่าง 1 ภาพ โดยมีขนาดภาพ 640x480พิกเซล
หรือ 1,280x960 พิกเซล นามสกุล .jpg และไฟล์บันทึก เอกสาร ก.7-003 หน้าที่ 8 ของพรรณไม้ชนิดนั้น
(พิมพด์ ว้ ย Microsoft Office Word และบนั ทึกเปน็ นามสกุล .doc)

2.1.2 การสร้างโฟลเ์ ดอรห์ ลักที่ 2 ทะเบยี นพรรณไม้และภาพถ่ายพรรณไม้ ขนั้ ตอนที่ 1 บนั ทกึ ข้อมูล
ทะเบียนพรรณไม้ 2 ปี ย้อนหลัง (รปู แบบไฟล์ Microsoft Office Excel) และ สร้างโฟลเดอร์บันทึกภาพถ่าย
พรรณไมแ้ ตล่ ะชนดิ แต่ละปี

(56)
ข้ันตอนที่ 2 ในโฟลเดอร์บนั ทึกข้อมูลภาพถ่ายพรรณไม้แตล่ ะชนดิ ประกอบด้วยภาพถ่าย 6-
7 ภาพ ประกอบด้วย ลักษณะวสิ ยั ราก (บางชนิด) ลาต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ด โดยมขี นาดภาพ 640x480
พิกเซล หรอื 1,280x960 พกิ เซล บนั ทกึ ภาพนามสกุล .jpg

2.1.3 การสร้างโฟลเดอร์หลกั ที่ 3 ปา้ ยชอื่ พรรณไม้ บันทกึ ขอ้ มลู การทาป้ายชอื่
พรรณไม้ ทั้ง 2 ปี โดยสามารถทาป้ายชื่อพรรณไม้เป็นไฟล์ข้อมูลด้วย โปรแกรม Microsoft Office
PowerPoint หรอื Microsoft Office Word ได๎ (เลือกทาเพียงอย่างเดียว)

(57)

3 เรยี นร้วู ธิ ีการจัดส่งขอ้ มูลความถกู ต้องทางวชิ าการดา้ นพฤกษศาสตร์
3.1 รวบรวมข้อมูลทัง้ หมดลงแผ่น ซีดีหรือดีวีดี ส่ง อพ.สธ.
3.2 หนังสือนาส่ง แบบฟอร์มนาส่ง แผนซดี ขี อ้ มูลความถูกต้องทางวิชาการด้าน

พฤกษศาสตร์

(58)
ลาดับการเรียนรูท้ ี่ 13
ทาป้ายช่ือพรรณไม้สมบูรณ์
วัตถปุ ระสงค์
1. เพอื่ รู้วิธีการทาป้ายช่ือพรรณไม้สมบูรณ์
2. เพอ่ื รู้วิธกี ารติดแสดงป้ายชอ่ื พรรณไม้สมบรู ณ์
กระบวนการเรียนรู้
1. เรียนรู้วธิ กี ารทาปา้ ยชือ่ พรรณไม้สมบูรณ์
1.1 ปรบั ปรุงและแก้ไขข้อมลู
1.1.1 เปรียบเทียบขอ้ มูลก่อนส่งตรวจสอบกบั ข้อมลู ท่ผี ่านการตรวจสอบจาก
อพ.สธ.
1.1.2 แก้ไขขอ้ มลู ให้ถูกตอ้ ง ประกอบไปด้วย รหัสพรรณไม้ ช่อื พ้นื เมือง ชือ่
วิทยาศาสตร์ ชอื่ วงศ์ ชอ่ื สามัญ ประโยชน์

2. เรียนรู้วิธีการติดแสดงปา้ ยชอ่ื พรรณไม้สมบูรณ์
2.1 รูปแบบการตดิ แสดงปา้ ยช่อื พรรณไมส๎ มบูรณใ์ ห้เหมาะสม
วิธีที่ 1 แบบผกู คล้องกบั ก่งิ หรอื ลาตน้ ของต้นไมใ้ นตาแหน่งทีเ่ หมาะสมและมองเห็นได้

อย่างชัดเจน ซ่งึ วิธนี ีเ้ หมาะสาหรับไม้ต้น ไม้พุ่ม ฯลฯ
หมายเหตุ – ไม่ควรตดิ รัดจนแนน่ เกินไป ควรแขวน หรือใช้วสั ดอุ ปุ กรณ์ท่ีมีความยดื หยุ่นในการติด

แบบงา่ ยๆ


Click to View FlipBook Version