The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปีการศึกษา2564 ใช้เป็น คู่มือการจัดการเรียนการสอน
วิชาการเตรียมความพร้อมทันตกรรมคลินิก
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ทันตสาธารณสุข) วิทยาลัยการสาธารณสุข สิรินธร จังหวัดขอนแก่น
สถาบันพระบรมราชชนกสำนักงานปลัดกระทรวง
กระทรวงสาธารณสุข

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ratchaneewan poomsa-ad, 2021-05-29 11:20:35

คู่มือการจัดการเรียนการสอนปีการศึกษา 2564 วิชาการเตรียมความพร้อมทันตกรรมคลินิก หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ทันตสาธารณสุข)

ปีการศึกษา2564 ใช้เป็น คู่มือการจัดการเรียนการสอน
วิชาการเตรียมความพร้อมทันตกรรมคลินิก
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ทันตสาธารณสุข) วิทยาลัยการสาธารณสุข สิรินธร จังหวัดขอนแก่น
สถาบันพระบรมราชชนกสำนักงานปลัดกระทรวง
กระทรวงสาธารณสุข

Keywords: วิชาการเตรียมความพร้อมทันตกรรมคลินิก ม,หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ทันตสาธารณสุข),วิทยาลัยการสาธารณสุข สิรินธร จังหวัดขอนแก่น,สถาบันพระบรมราชชนกสำนักงานปลัดกระทรวง

คู่มอื การจัดการเรียนการสอน
วิชาการเตรียมความพรอ้ มทันตกรรมคลินกิ
หลกั สตู รสาธารณสุขศาสตรบณั ฑิต (ทันตสาธารณสุข)

เรยี บเรียงโดย
ทพญ. รัชนวี รรณ ภูมสิ ะอาด
ทพญ.อภิญญา ยุทธชาวทิ ย์
ดร.ทพญ. วงศว์ ฤณ พิชัยลกั ษณ์

ทพญ. วรันธร อักษรศริ ิ
ทพญ. ภัทราพร ยุทธชาวิทย์

ทพ. ธรรศ แสวงเจรญิ

วทิ ยาลัยการสาธารณสุข สิรินธร จงั หวัดขอนแกน่
สถาบันพระบรมราชชนกสำนักงานปลัดกระทรวง

กระทรวงสาธารณสุข

คำนำ

คูม่ อื การจดั การเรียนการสอนวชิ าการเตรยี มความพร้อมทนั ตกรรมคลนิ กิ Practice of Pre-clinical Dentistry

รหัสวิชา 5324 346 จำนวน 2 หนว่ ยกิต (0-6-3) เป็นค่มู ือสำหรับปฏิบัติการ มีการจดั การเรยี นการสอนในภาคเรียนท่1ี
สำหรบั นกั ศึกษาชน้ั ปีที่ 3 หลักสูตรสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑติ (ทนั ตสาธารณสขุ ) เป็นเอกสารทจี่ ดั ทำขนึ้ เพ่ือใหน้ กั ศึกษาและ
คณาจารย์ใช้เปน็ แนวทางในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ การวดั และการประเมินผลใหต้ รงตามวตั ถปุ ระสงค์ของรายวิชาที่
กำหนดไวใ้ นหลกั สตู ร

สาระคู่มอื ประกอบด้วยแผนการสอน การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นการสอน การวัดและการ
ประเมนิ ผลโดยมีแบบประเมินตามวตั ถุประสงคข์ องรายวชิ าอาทิ การดแู ลยนู ติ ทันตกรรมและปลอดเชอื้ การซกั ประวตั ิ
เนอ่ื งจากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของ COVID-19 จงึ มเี พม่ิ ให้ฝึกการคัดกรองกรณผี ู้ปว่ ยเสีย่ งต่อการตดิ เช้อื การเตรยี ม
นำ้ ยาบ้วนปากสำหรับผปู้ ่วยก่อนหตั ถการ การตรวจการวนิ จิ ฉยั โรคและวางแผนการรักษา การถา่ ยภาพรังสีและการแปลผล
ภาพรังสี การฉดี ยาชาเฉพาะที่ Local Infiltration Technique การลา้ งมือและใส่ถงุ มอื ผ่าตัดดว้ ยวิธปี ราศจากเช้อื การให้
ทนั ตสขุ ศกึ ษา ขดู หนิ น้ำลายด้วยมอื ใชก้ ารแปรงฟนั แทนการขดั ฟันการเคลือบฟลอู อไรด์ การเคลือบหลมุ ร่องฟัน การใสแ่ ผน่
ยางกนั น้ำลายกอ่ นบรู ณะฟนั เพื่อปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายของเช้อื การถอนฟัน เย็บแผล ตัดไหมในหนุ่ จำลอง เพือ่ ตรวจสอบ
วดั ผลการเรียนรู้ใหไ้ ดเ้ ม่อื สิ้นสดุ การเรยี นการสอนนักศึกษาสามารถตรวจวินิจฉัยวเิ คราะห์ปญั หาสขุ ภาพในชอ่ งปากวางแผน
แก้ปัญหาอยา่ งเป็นระบบสง่ เสรมิ ป้องกนั โรคในช่องปากและบำบัดรกั ษาเบือ้ งตน้ ไดต้ ามขอ้ กำหนดของกระทรวงสาธารณสุข

ทพญ. รชั นวี รรณ ภมู สิ ะอาด

มถิ นุ ายน 2564

สารบญั

ที่ หนา้

1 คำนำ

2 สารบญั

3 ปฏิบัตกิ ารท่ี1 การเตรยี มน้ำยาบ้วนปากก่อนทำหัตถการ การดูแลและการทำปลอดเช้อื ยนู ติ ทันตกรรม 1
และการนำส่งเคร่อื งมือ อบฆา่ เช้ือ

4 ปฏิบัติการท่ี2 การซักประวตั ิคดั กรองการตรวจการวินจิ ฉยั โรคและวางแผนการรักษา 32

5 ปฏบิ ัตกิ ารท่ี3 การถา่ ยภาพรังสีและการแปลผลภาพรงั สี 57

6 ปฏิบตั กิ ารท่ี4 การลา้ งมอื และใสถ่ งุ มือผา่ ตดั ดว้ ยวิธีปราศจากเช้ือ 76

7 ปฏบิ ัตกิ ารท่ี 5การฉดี ยาชาเฉพาะท่ี Local Infiltration Technique 81

8 ปฏบิ ัตกิ ารที่ 6การใหท้ นั ตสุขศึกษาและการขดู หนิ น้ำลาย 85

9 ปฏบิ ัตกิ ารท่ี 7การเคลือบหลุมร่องฟัน 94

10 ปฏิบัติการท่ี 8การเคลือบฟลูออไรด์ 99

11 ปฏิบตั ิการที่ 9การใส่แผ่นยางกนั น้ำลายในแบบจำลองฟนั ภายใตห้ ลกั การปอ้ งกันและควบคมุ การ 104

แพร่กระจายของเชอ้ื

12 ปฏบิ ัติการที่ 10การถอนฟัน เยบ็ แผล ตดั ไหมในแบบจำลอง และฝึกเขียนใบสง่ั ยาแกป้ วดและยาปฏชิ วี นะ 121

13 ภาคผนวก ก ก

14 ใบรายการตรวจรบั เครือ่ งมือวชิ าการเตรยี มความพรอ้ มคลนิ กิ ทนั ตกรรม ข

15 ใบเปลี่ยนเคร่ืองมอื ง

16 ใบรายการเครือ่ งมอื ขาด ง

17 แบบตรวจคดั กรองคนไขก้ อ่ นการรกั ษาทางทนั ตกรรม จ

18 แบบช่วยบันทึกการตรวจวินิจฉยั และวางแผนการรักษาทางทนั ตกรรม ฉ

19 แบบบนั ทึกการฝึกปฏบิ ัตกิ ารตรวจและวางแผนการรกั ษาในชอ่ งปากสมบรู ณ์[Complete Chart] ช

20 ภาคผนวก ข ฑ

21 แบบประเมนิ ปฏบิ ตั กิ ารท่ี 1 ฒ

การเตรยี มน้ำยาบ้วนปากใหค้ นไขก้ ่อนทำหัตถการการดูแลและการทำปลอดเชอื้ ยูนติ ทันตกรรม

22 แบบประเมิน1.1 การเตรียมน้ำยาบ้วนปากใหค้ นไข้ก่อนทำหตั ถการและเกณฑ์การให้คะแนน ฒ

23 แบบประเมิน1.2 การใช้งานดแู ลและการปลอดเช้อื ยูนิตทนั ตกรรมดา้ มกรอฟันและเกณฑก์ ารให้คะแนน ณ

24 แบบประเมนิ ปฏบิ ตั ิการที่ 2 ถ

การซักประวตั ิ คดั กรองการตรวจการวินจิ ฉัยโรคและวางแผนการรกั ษาทางทนั ตกรรม

25 แบบประเมิน 2.1 การคดั กรองผปู้ ว่ ย และการวดั สญั ญาณชพี (VITAL SIGNS)และเกณฑ์การให้คะแนน ถ

26 แบบประเมนิ 2.2การซกั ประวัตกิ ารตรวจช่องปากการวนิ จิ ฉยั โรคและวางแผนการรักษาทางทนั ตกรรม ธ

27 แบบประเมินปฏิบตั ิการท่ี 3 การถา่ ยภาพรงั สแี ละการแปลผลภาพรงั สีและเกณฑก์ ารให้คะแนน บ

28 แบบประเมินการถา่ ยภาพรงั สแี ละแปลผลภาพรังสีและเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน บ

29 แบบประเมินการอา่ นและแปลผลภาพถา่ ยรงั สจี ากโจทย์ทกี่ ำหนดให้ 1 ภาพ ฝ

30 แบบประเมนิ ปฏบิ ตั กิ ารที่ 4การลา้ งมือ7ขน้ั ตอนและการสวมถงุ มือผ่าตัดและเกณฑ์การใหค้ ะแนน พ

ที่ หนา้

31 แบบประเมินปฏิบตั ิการท่ี 5 การฉดี ยาชาแบบ Local infiltration techniqueและเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ฟ

32 แบบประเมนิ ปฏิบตั ิการท่ี 6 การใหท้ ันตสุขศึกษาขา้ งเกา้ อี้และการขดู หนิ นำ้ ลายและเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ภ

33 แบบประเมิน 6.1 การใหท้ ันตสุขศกึ ษาและเกณฑก์ ารให้คะแนน ภ

34 ใบแบบบนั ทกึ คา่ PCR ปฏิบตั ิการให้ทนั ตสุขศกึ ษาข้างเก้าอแ้ี ละการขดู หนิ น้ำลาย ม

35 แบบประเมนิ 6.2 การขูดหนิ นำ้ ลายและเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ร

36 แบบประเมนิ ปฏิบตั กิ ารที่ 7งานเคลอื บหลมุ ร่องฟันและเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ว

37 แบบประเมนิ ปฏบิ ตั กิ ารท่ี 8 งานเคลอื บฟลอู อไรด์และเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ศ

38 แบบประเมินปฏิบตั กิ ารท่ี 9การใสแ่ ผ่นยางกนั นำ้ ลายในแบบจำลองฟัน ษ

39 แบบประเมินปฏิบตั ิการที่10 การถอนฟนั ในแบบจำลองฟันการเยบ็ แผลและตดั ไหม ส

40 แบบประเมนิ 10.1การถอนฟนั ในแบบจำลองฟนั และการเขียนใบสั่งยาและเกณฑ์การให้คะแนน ส

41 แบบประเมนิ 10.2การเย็บแผลและตัดไหมและเกณฑ์การให้คะแนน ห

42 แบบประเมนิ การดแู ลรกั ษาเคร่ืองมอื และเกณฑ์การใหค้ ะแนน ฬ

43 แบบประเมนิ คะแนนพฤตกิ รรมประจำวันและเกณฑ์การใหค้ ะแนน อ

44 แบบประเมินช้ินงานการนำเสนอผลงานท่ีไดร้ บั มอบหมายของนิสิตและเกณฑ์การใหค้ ะแนน ฮ

45 แบบประเมนิ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีมและเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ฮ

I don't want you to be only a doctor. But I also
want you to be a man.

ฉนั ไมต่ อ้ งการใหพ้ วกเธอมคี วามรทู้ างการแพทยอ์ ยา่ งเดยี ว

ฉนั ตอ้ งการใหพ้ วกเธอเป็นบคุ คลทถ่ี งึ พรอ้ มแลว้

พระราชดารสั สมเดจ็ พระมหติ ลาธเิ บศรอดลุ ยเดชวกิ รมพระบรมราชชนก
พระราชทานในวโรกาสเปิดการศกึ ษาเวชนสิ ติ รุ่น 2471

1

ปฏบิ ตั ิการท่ี 1

การเตรยี มน้ำยาบว้ นปากก่อนทำหตั ถการ

การดแู ลและการทำปลอดเช้อื ยูนติ ทนั ตกรรม และ การนำส่งเครอื่ งมอื เพอื่ อบฆ่าเชือ้

แผนการสอนรายบท
ขน้ั นำ อาจารย์ประจำวชิ าปฐมนิเทศรายวิชา อธิบาย แนะนำ วชิ าการเตรียมความพร้อมทนั ตกรรมคลนิ ิกCourse Blue
printและTBPรวมถงึ การประเมนิ ผล

วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรรู้ ายปฏิบัตกิ ารเมอื่ เรยี นจบปฏิบตั กิ ารน้ีแล้ว นกั ศึกษาสามารถ

บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์รายวิชาตามรายข้อดังนี้
7.สามารถทำความสะอาดเครอื่ งมอื ที่ใชใ้ นงานทันตกรรมจดั เกบ็ และทำให้ปราศจากเชื้อได้ถูกต้องตามหลกั วชิ าการ

(LO ขอ้ 1.1,1.2,1.3,1.5 ,2.3, 6.4)

8. มีพฤตกิ รรมทางดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม การเคารพสทิ ธิผู้ใชบ้ รกิ าร ความมวี นิ ยั ซื่อสัตย์ รบั ผิดชอบ มเี จตคติ
และเป็นแบบอยา่ งท่ีดีแก่ผ้อู นื่ (LO ข้อ 1.1,1.2,1.3,1.5, 6.4)

วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรมเพอื่ ให้นักศกึ ษาสามารถ

1. เตรียมเครือ่ งมือสำหรับการปฏิบัตงิ านได้อยา่ งถูกตอ้ งและครบถว้ น
2. เรียกช่ือเครือ่ งมอื ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและครบถว้ น
3. จดั เก็บเคร่ืองมอื เพ่อื ทำให้ปราศจากเชอื้ และอยใู่ นสภาพพร้อมใช้งาน
4. ใชง้ านและดูแลรักษาระบบอดั อากาศ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง
5. ใช้งานและดูแลรกั ษาเก้าอผ้ี ูป้ ว่ ยและเก้าอที้ ันตแพทย์ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง
6. ใช้งานอ่างบว้ นปากและที่วางแก้วนำ้ ได้อยา่ งถูกต้อง
7. ใชง้ านและดูแลรักษากระบอกน้ำอดั อากาศ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง
8. ใชง้ านและดแู ลรกั ษาโคมไฟยูนติ ทนั ตกรรมได้อยา่ งถูกตอ้ ง
9. ติดต้งั ใช้งานด้ามกรอฟนั เรว็ และดา้ มกรอฟันชา้ ชนดิ หักมุม(Contraanglehandpiece)ชนดิ หักมมุ ชนิดหักมุมได้อยา่ งถูกตอ้ ง
10. ดแู ลรักษาและทำใหป้ ลอดเช้อื ด้ามกรอฟนั ได้อยา่ งถกู ต้อง
11. ผสมหรอื เตรยี มน้ำยาบ้วนปากสำหรับใหค้ นไขบ้ ้วนก่อนทำหตั ถการ

วัสดอุ ปุ กรณท์ ี่ใช้ในการเรยี นการสอน
1. เคร่ืองมือท่ีหอ้ งจ่ายกลาง เตรียมไว้ให้และ ให้นกั ศึกษาสามารถมาเบิกทีห่ อ้ งจา่ ยกลาง บรเิ วณ

คลนิ ิกเพอ่ื การศกึ ษา ชัน้ 1 อาคาร 9 เวลา 08.00 น. ของวันทม่ี กี ารเรยี นการสอน โดยใหเ้ บกิ ชดุ เครอ่ื งมอื ใหค้ รบถว้ น
เปน็ ไปตามปฏิบตั ิการ ท่เี รยี นในวนั นนั้ ๆ ยกตัวอยา่ งเช่น ปฏบิ ตั กิ ารตรวจรับเคร่อื งมอื ให้เบิกชดุ ตรวจ มาเพอื่ ทดลองลา้ ง
ฝกึ ห่อและเขยี นกำกับ วา่ ชดุ ตรวจ และ ส่งSterile ปฏบิ ัตกิ ารขูดหนิ นำ้ ลาย นกั ศกึ ษาต้องเบิกทง้ั ชดุ ตรวจ ชุดขดู หินปูน
(ไมไ่ ด้เบิก P10) และหัวกรอช้า ชนิดหักมุมเปน็ ตน้ เมือ่ ใช้เสรจ็ แล้วตอ้ งล้างเคร่ืองมือใหส้ ะอาดเช็ดใหแ้ ห้งดว้ ยผ้าสะอาดและ
ห่อดว้ ยผา้ ห่อเครอ่ื งมอื นำส่งคนื ที่ห้องจ่ายกลางบริเวณท่ีเขยี นวา่ วางชุดเคร่อื งมอื ทใ่ี ช้และลา้ งแล้วเตรยี มส่งไป Sterile

2

โดยให้นักศกึ ษาจดั เวรผลดั เปลี่ยนกนั นำเอาเครอ่ื งมอื เหลา่ นไ้ี ปส่งทหี่ อ้ งSupply กลางกับคุณยพุ ณิ เจา้ หน้าทหี่ ้องSupply กลาง

ให้เสร็จภายในเวลา12.30น.ของวันทม่ี ีการเรยี นการสอนวชิ าการเตรียมความพรอ้ มทันตกรรมคลินิกและจัดเวรไปรับ

เคร่อื งมือจากหอ้ งSupplyมาสง่ คนื แกค่ ณุ กรกมลวรรณเจ้าหน้าทห่ี อ้ งจา่ ยกลาง ทุกวันศุกร์เชา้ ก่อนเวลา 08.30น. โดยให้ Scan
QR Code การมาสง่ คืนเคร่ืองมอื ทหี่ อ้ งจา่ ยกลาง พรอ้ มจัดวางเครอ่ื งมือคนื ใหใ้ นชน้ั ที่เตรยี มไว้

1.เคร่อื งมอื ท่หี อ้ งจ่ายกลาง จัดเตรียมไวใ้ ห้ เบกิ ใชต้ ามแต่ละปฏิบัตกิ าร

ชื่อเคร่ืองมือและวัสดสุ นิ้ เปลือง

เคร่อื งวดั ความดัน Sphygmomanometer ชุดตรวจ ทห่ี นบี ฟิลม์ โลหะ
ฟลิ ์มเอกซเรย์
Stethoscope แกว้ นำ้ สำหรับผ้ปู ่วย ชุดเย็บแผลและกรรไกรตดั ไหม
ชุดถอนฟัน บนและล่าง
Thermometer วัดไข้ Saliva Ejector ชุดฉีดยาชา เข็มสนั้ ยาชา
ถงุ มอื ผ่าตัด
ชดุ เครือ่ งมอื เอกซเรย์ ผา้ เชด็ มอื สะอาด ยาชาเฉพาะท่ี

ชดุ ขูดหนิ ปูน Hand Scaler ผา้ ห่อเครอ่ื งมอื ทีส่ ะอาด

P.10 ชุดอุดฟันดว้ ยอมัลกมั

ด้ามกรอฟันเรว็ (Airotor) สำลีอบฆา่ เชอื้

เขม็ กรอฟัน ความเร็วสูง ผ้าก๊อซ อบฆา่ เชื้อ

ด้ามกรอฟันชา้ ชนดิ หกั มมุ (Contra angle เขม็ กรอฟนั ความเรว็ ต่ำ

handpiece)

2.ใบรายการเครอ่ื งมือ- วัสดุส้นิ เปลือง ทีน่ กั ศกึ ษาจะได้รับแจกคลู่ ะ

เนื่องจากสถานการณแ์ พรร่ ะบาดของCOVID-19 จึงให้ใชก้ ารแปรงฟนั แทน การขัดฟนั

เคร่ืองมอื -วัสดุ จำนวน

1 วสั ดุอนื่ ๆ

1.1 ขวดยาเลก็ บรรจุอัลกอฮอล์ (ภาพ https://qrgo.page.link/dNZF8 ) 1

1.2 dappen glass (ภาพ https://qrgo.page.link/R9ATz ) 2

1.3 กระปกุ สำลี Cotton wool container (ภาพ https://qrgo.page.link/6mUon) 1

1.4 พู่กนั etching – bonding (ภาพ https://qrgo.page.link/LFkCZ ) 6

1.5 ถาดหลมุ (บาง/หนา) (ภาพ https://qrgo.page.link/8FhFj) 1

3

3.อปุ กรณท์ ่ีนักศึกษาคลู่ ะตอ้ งเตรียมมาเอง

ท่ี รายการ จำนวน Check in หมายเหตุ

1 เส้ือกาวน์ยาวสขี าว (ถา้ ใชแ้ บบสะท้อนน้ำจะดีที่สดุ ) 2/คน

2 ผ้าปดิ ปาก (Surgical mask หรอื 95 maskจะดที ส่ี ดุ ) 10/คน

3 Face shield (มีแผน่ พลาสตกิ ปิดสนทิ ที่ดา้ นหน้าผาก) 1/คน

4 หมวกคลุมผม 10/คน

5 รองเทา้ แตะสวมในคลินิก 1/คน

6 กระจกส่องหนา้ แบบมีแทน่ 1/คน

7 แปรงสีฟันและไหมขัดฟัน ใชส้ ำหรบั แปรงฟันแทนการขัดฟัน 1/คน

8 กระดาษเทปกาวทึบ 1/คน

9 ถงุ พลาสตกิ ขนาด 5*7 น้ิว(แบบถุงใสแ่ กงใช้ทงิ้ สำลกี ั้นน้ำลาย) 1โหล/คน

10 นำย้ าบ้วนปาก เบตาดนี การเ์ ก้ิลหรอื ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 3 % 1ขวด/คน

11 สบู่เหลวลา้ งมอื บรรจขุ วดปมั๊ 1/คน

12 นำ้ ยาล้างจาน 1/คน

13 แปรงลา้ งเครอ่ื งมอื 1/คน

14 ฟองน้ำ + สกอ๊ ตไบรท์ 1/คน

15 กาละมัง ล้างเคร่อื งมอื 1/คน

16 ถงุ มืออย่างหนาใชล้ ้างเคร่ืองมอื 1/คน

17 กระดาษทชิ ชพู รอ้ มกลอ่ งทิชชู 1/คน

18 แปรงทำความสะอาดอา่ งลา้ งมือ 1/คน

ถงุ ซปิ ลอ็ คขนาดใหญ่ 30*45 c.m. เพอื่ ใสค่ ่มู ือ OPD กันการ 1/คน
19 ปนเปอ้ื นในคลินิก

20 ตะกรา้ ใสอ่ ุปกรณ์(ใช้ตะกร้าเรยี นวชิ าDAเพ่ือใชบ้ รรจุสิง่ ของ 1/คน

4

การจดั การเรยี นการสอน

ข้นั นำ เขา้ สู่รายวชิ า

1.*อธบิ าย มคอ.3 Test Blue print การประเมนิ ผล ระเบยี บการปฏิบัตงิ าน

ช้ีแจงเรือ่ งการ*มอบหมายงานใหน้ กั ศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเองในหัวข้อทสี่ นใจและต้องการเรียนร้เู พิม่ เติมจาก
การฝกึ ปฏบิ ตั ิการตรวจวนิ จิ ฉยั โรคในช่องปาก การปอ้ งกันโรคในชอ่ งปากและการรกั ษาทางทนั ตกรรมตามทกี่ ฎหมายกำหนด
ภายใตก้ ารดูแลของอาจารยผ์ สู้ อน

ในปีการศกึ ษา2563ไดม้ กี ารปรบั ปรงุ เนอื้ หาการเรยี นการสอนเพื่อปฏิบัติตามคำแนะนำของทนั ตแพทยสภาเนื่องจาก
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019(Covid-19)มีการเพ่ิมการฝึกปฏิบตั ิการคดั กรองคนไข้

ทางทันตกรรม การผสมนำ้ ยาบว้ นปากก่อนการหัตถการ การฝกึ ใช้แผ่นยางกันน้ำลายในการอดุ ฟัน การให้คน้ คว้า
เพิม่ เตมิ เกยี่ วกับ การบรู ณะฟนั โดยใช้แผ่นยางกนั นำ้ ลาย การอุดฟนั แบบ Atraumatic Restorative Treatment: ARTและ
Silver Modified Atraumatic Restorative Technique (SMART) รวมถึงเนน้ ใหใ้ ชภ้ าษาอังกฤษในการส่อื สารดา้ นวิชาชพี
เพื่อเตรียมนักศึกษาใหม้ ีความรู้ และทักษะทท่ี นั สมยั เพื่อใช้ปฏิบตั งิ านรกั ษาทางทันตกรรมกบั ผปู้ ่วยสมมตุ ิ

ก่อนการปฏิบตั ิงานการรกั ษาทางทนั ตกรรมในผู้ป่วยจรงิ

ขน้ั สอน

บรรยายสรุปขั้นตอนการปฏบิ ัตงิ านโดยใช้ Powerpoint

ขนั้ ตอนการปฏิบตั ิ

1.แบง่ นกั ศกึ ษาออกเปน็ กล่มุ ๆ ละ 10-12 คน

2.จัดเตรียมเครื่องมอื ตามรายการ“วัสดุอุปกรณท์ ่ีใช้ในการเรียนการสอน”

3.ปฏิบัตงิ านตาม “ข้นั ตอนการทำงาน”

ข้ันสรุป

ซกั ซอ้ มความเขา้ ใจ อธบิ าย แบบวัดทักษะในปฏิบตั ิการ

**สอบวดั ความรเู้ ดิมกอ่ นเรยี นวิชาปฏบิ ตั กิ ารการเตรียมความพร้อมทันตกรรมคลินกิ นกั ศกึ ษาจะต้องมคี วามรเู้ ดมิ ผ่านเกณฑ์ 60
% จึงจะสามารถปฏบิ ัตงิ านในผปู้ ว่ ยสมมตุ ิได้ ******

กิจกรรมของอาจารยป์ ระจำกลมุ่ ปฏบิ ตั กิ าร

ใหอ้ าจารย์ประจำกลุ่มพดู คยุ ถึงขนั้ ตอนและซกั ซ้อมความเข้าใจกบั นกั ศึกษาในกลมุ่ และตรวจสอบวา่ นกั ศกึ ษา
ได้ไปเบกิ ชุดเครื่องมือมาสำหรับปฏบิ ตั กิ ารนค้ี รบถว้ นหรือไม่

1. ดูแลนักศกึ ษาในกลมุ่ ทร่ี บั ผิดชอบ
2. อธิบายขนั้ ตอนการทำงานในปฏิบตั กิ ารนี้

5

3. สาธิต การผสมนำ้ นาบ้วนปากใหผ้ ปู้ ว่ ยก่อนการทำหัตถการ การหอ่ เครื่องมือเพ่ือส่งอบฆ่าเชอ้ื
4. แนะนำสว่ นประกอบยูนิตทนั ตกรรม สาธติ วธิ กี ารปลอดเช้อื และ สอบการใช้ ดแู ลและการทำปลอดเช้ือ
ยูนติ ทันตกรรม
5. สาธติ การติดต้ัง ใชง้ าน และดูแลดา้ มกรอฟนั เรว็ และดา้ มกรอฟนั ช้าชนดิ หกั มมุ (Contra angle handpiece)
6. ตรวจสอบความถูกตอ้ งการของใบรายการเครือ่ งมือ ดูแลยนู ิตทนั ตกรรมและการทำปลอดเช้อื
7. ให้คำแนะนำ แนะแนวทาง และสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานนกั ศึกษาแตล่ ะคน
8. ให้คะแนนในใบประเมินปฏิบัตกิ ารและคะแนนพฤติกรรมนกั ศกึ ษาแตล่ ะคน

กิจกรรมของนักศกึ ษา

1ศึกษาขั้นตอนการปฏิบัตงิ านจากคมู่ อื ปฏิบัตกิ ารคลินกิ ทันตกรรมเบอื้ งต้น

2นกั ศึกษาเบิก ชดุ ตรวจ แกว้ นำ้ สำหรบั ผปู้ ว่ ย ดา้ มกรอฟนั เรว็ (Airotor)ด้ามกรอฟนั ชา้ ชนิดหกั มมุ (Contra angle
handpiece) จากห้องจา่ ยกลางทจี่ ัดเตรียมไวใ้ ห้ ผา้ สะอาดผืนเล็กสำหรับเช็ดยนู ติ ผา้ เชด็ มอื สะอาด เขียนชอ่ื ลงใน
ใบรายการตรวจรบั เครอื่ งมือแล้วใหเ้ ขียนชอ่ื นามสกลุ รหสั ประจำตวั ในคู่มือเพ่ือใชใ้ นการตรวจรบั เครอ่ื งมือ

3จัดเตรยี มเครือ่ งมือตามรายการ “วัสดุอปุ กรณท์ ี่ใช้ในการเรยี นการสอน”

4ปฏิบัติงานตาม“ขัน้ ตอนการตรวจรบั เครือ่ งมือ”และใหอ้ าจารย์ประจำกลมุ่ ตรวจสอบความถูกต้อง

ฝกึ การเตรยี มนำ้ ยาบว้ นปากกอ่ นทำหัตถการ
1 เตรยี มน้ำยาบว้ นปาก เบตาดีนการเ์ กิล้ หรือไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ 3 % ทน่ี กั ศกึ ษา จดั เตรยี มาเอง

2 แกว้ น้ำสำหรบั ผปู้ ่วยคนละ 1 ใบ

3 น้ำสะอาด 1ขวดนักศกึ ษานำมาเอง สามารถใช้นำ้ ด่ืมทม่ี ีจุดบริการหนา้ คลนิ ิกได้

4 เตรียมนำ้ ยาบ้วนปากก่อนทำหัตถการตามอตั ราสว่ นทีไ่ ด้ฟังบรรยายล่วงหน้ามาแลว้ และฝกึ ใหค้ ำแนะนำผูป้ ว่ ยใน
การบ้วนปาก

ฝึกปฏบิ ตั ิการใชง้ านและดแู ลยนู ติ ทันตกรรม

1.สอบการใช้ ดแู ลและการทำปลอดเชือ้ ยนู ิตทนั ตกรรม ถา้ มีผ้าห่อเครื่องมอื มาด้วยตอ้ งหอ่ กลับให้เรยี บรอ้ ย
2.หลงั จากทำงานเสรจ็ ตอ้ ง ลา้ งเครือ่ งมือ เชด็ ให้แห้ง

นำไปสง่ คนื ทหี่ ้องจ่ายกลาง
สอื่ การเรียนการสอน

1. คู่มือปฏบิ ตั ิการคลนิ ิกทนั ตกรรมเบอ้ื งตน้
2. นำ้ ยาบว้ นปาก เบตาดีนการเ์ ก้ลิ หรือไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ 3 %
3. เคร่ืองมือทันตกรรม
4. ยูนติ ทนั ตกรรม

6

การประเมนิ ผล

1คะแนนจากแบบประเมนิ ทกั ษะการเตรียมนำ้ ยาบว้ นปากก่อนทำหตั ถการ 20 คะแนน
2คะแนนสอบทักษะการใชง้ าน ดแู ลและการทำปลอดเชอ้ื ยูนติ ทันตกรรม 15 คะแนน

3คะแนนจากแบบประเมนิ พฤตกิ รรมประจำวัน 10 คะแนน
เกณฑก์ ารประเมินผล

1. ผ้เู รียนตอ้ งเข้าเรยี นอยา่ งน้อย รอ้ ยละ80 ของเวลาเรียน
2.ผู้เรยี นตอ้ งได้คะแนนสอบทักษะการใช้งานดูแลและการทำปลอดเชอื้ ยูนิตทนั ตกรรมตง้ั แต่60%ข้นึ ไปจงึ จะมีสทิ ธิเ์ รยี นใน
ปฏบิ ัติ การต่อไป
3. ผู้เรยี นตอ้ งไดค้ ะแนนในแบบประเมนิ ทกั ษะแตล่ ะปฏิบัตกิ าร ตั้งแต่60%ข้ึนไปจงึ จะมสี ิทธิข์ อประเมนิ ผลการเรยี น
4. ผเู้ รยี นต้องได้คะแนนรวมจากแบบประเมนิ พฤตกิ รรมประจำวันตัง้ แต่60%ข้นึ ไปจึงจะมสี ิทธิข์ อประเมนิ ผลการเรยี น

ขั้นตอน การตรวจรบั เครอ่ื งมือ (Check in)

1. นกั ศึกษาจะใชใ้ บรายการเคร่ืองมอื ในคูม่ อื ปฏิบัตกิ ารบทท่ี 1 แล้วให้เขยี นช่ือ – นามสกลุ ,รหสั ประจำตวั
และหมายเลขยูนติ ทน่ี ักศกึ ษาท้งั สองคนใช้ ท้ัง 2 คน ตรวจดูเคร่อื งมอื ทแี่ จกใหว้ า่ ครบตามรายการทใ่ี ห้มาหรือไม่
ถ้าครบให้ทำเคร่ืองหมายถูก( /) ในชอ่ ง “ม”ี ถา้ ไม่ครบใหเ้ ขยี นจำนวนทไี่ ดร้ บั จรงิ ในช่อง “ มี ” ในใบรายการเคร่ืองมือคลินิก
ทงั้ 2 ชุด ใหต้ รงกัน

2. เชิญอาจารย์ประจำกลมุ่ ตรวจสอบความถูกต้องและหากพบว่าเคร่ืองมือมีตำหนิหรือชำรุดแต่พอใช้งานได้ให้
แจง้ อาจารย์ทราบ เช่น Dappen glass รา้ ว ฯลฯ เปน็ ต้น พรอ้ มลงในชอ่ ง“ หมายเหตุ ” และให้อาจารย์ประจำกลมุ่ คลินกิ
ลงนามกำกับในใบรายการเครือ่ งมอื ทงั้ 2 ชดุ

3. กรณมี เี คร่ืองมือขาด เสียหาย ชำรดุ ให้ นกั ศึกษา เขียน “ ใบรายการเครือ่ งมอื ขาด ” ใหอ้ าจารยป์ ระจำกลมุ่
คลนิ ิกเซ็นและ นักศึกษานำใบรายการดังกล่าวไปเบกิ เครือ่ งมอื จาก “ห้องจา่ ยวัสด”ุ ถ้ามีเครื่องมอื เกนิ ให้เกบ็ คืนหอ้ งจา่ ยกลาง
ประจำคลินิก

4. หลังจากอาจารยป์ ระจำกลมุ่ คลินกิ ตรวจรบั เครอ่ื งมอื เรยี บร้อยแล้ว ให้เซ็นชื่อกำกับในช่อง “check – in ”
พรอ้ มท้ังลง วัน เดือน ปี ในใบรายการเคร่อื งมือคลินิกทง้ั 2 ชุดของค่มู ือนักศกึ ษาท่เี ป็นค่กู นั
(กรณีมีการแก้ไขตวั เลขหรอื อกั ษรใดๆ ต้องใหอ้ าจารยป์ ระจำกล่มุ คลินิกลงนามกำกบั ทุกครั้ง)
นกั ศึกษาต้องดแู ลรกั ษาค่มู อื ฯให้ดี**ห้ามทำหาย***

5.นกั ศกึ ษาต้องนำเอกสาร เชน่ คูม่ อื ฯ OPD-card หรือของใช้อื่นๆที่จำเป็นปากกา โทรศัพทม์ ือถอื ใส่ในถุงซปิ ลอ็ ค
ขนาดใหญ่ปิดปากถุงให้เรียบรอ้ ยป้องกันการปนเปิอ้ นเชอ้ื ระหวา่ งปฏบิ ัตงิ านและล้างมอื ใหส้ ะอาดก่อนเปิดหยิบสง่ิ ของในถงุ

6. กระเป๋าสัมภาระอน่ื ๆทีอ่ นุญาตใหน้ ำเข้าต้องเป้นพลาสติกที่สามารถทำความสะอาดโดยเชด็ ด้วยแผ่นฆา่ เชอื้ ไดแ้ ละรูด
ซิบปดิ ให้มดิ ชิด วางใหเ้ ปน้ ระเบยี บไม่เผยผึง่ เส่ียงต่อการนำเช้ือกลับออกไป กอ่ นกลบั ตอ้ งเช็ดกระเป๋าเพื่อฆา่ เชื้อทกุ คร้งั

7

ระเบยี บการเบกิ จา่ ยวัสดแุ ละเครอื่ งมอื สำหรับนักศึกษา
********การยมื – คืนฯทห่ี ้องจา่ ยกลาง ใหน้ ักศกึ ษา Scan QR code ทกุ ครง้ั ทม่ี กี ารยมื และคืน************

นักศกึ ษาตอ้ งศกึ ษาวา่ ต้องใช้เครื่องมือทใี่ ดบา้ งในแตล่ ะปฏิบตั ิการโดยให้Scan QR code ที่หนา้ หอ้ งจา่ ยกลางและการคนื ต้อง
ทำความสะอาดและScan Codeคนื ทกุ ครั้ง
1. นักศึกษาสามารถเบกิ วสั ดดุ งั ตอ่ ไปน้ที ห่ี ้องจา่ ยกลางไดใ้ นวันตรวจรบั เคร่อื งมือวันแรกและนำใส่ขวดท่ีแจกให้ไดแ้ ก่

นำ้ ยายอ้ มสฟี ันAlcoholลา้ งแผล

2. นักศึกษาสามารถตรวจสอบรายการยาและค่ารกั ษาทางทนั ตกรรมไดท้ โ่ี ตะ๊ อาจารย์ประจำกลุม่ คลินกิ

3 . นกั ศกึ ษาสามารถเบิกวสั ดตุ ่อไปน้ไี ด้ที่หอ้ งจา่ ยกลางโดยทเี่ จ้าหนา้ ท่ีจะ เปน็ ผหู้ ยบิ ให้

Etching Sealant Pumice

Fluoride Gel Fluoride Vanish ยาชาเฉพาะท่ี

ยาชา ไหมเยบ็ แผล เขม็ เย็บแผล

การเปลยี่ นเครอ่ื งมือ ทำได้ 2 กรณี คือ

1.หลงั จากการตรวจรับเคร่อื งมือแล้วพบวา่ มเี ครื่องมอื ท่จี ่ายให้ชำรุดจนไมส่ ามารถใช้งานได้ให้นกั ศึกษาย่นื ใบเปลี่ยนเครื่องมือ

ไว้ทห่ี อ้ งจา่ ยกลางประจำคลินิกเพอ่ื เปลี่ยนใหมใ่ นวนั น้นั ไดเ้ ลย กรณไี มม่ เี คร่ืองมือทดแทนให้นดั หมายกบั ห้องจา่ ยกลาง

เพ่อื ขอรบั เครือ่ งมือดังกลา่ วภายใน1 อาทติ ยห์ ลงั จากย่นื ไปแล้ว

2. ปกตถิ า้ ไมม่ กี ารระบาดของCOVID-19 ระหวา่ งการเรียนการสอนจะใหข้ ดั ฟนั โดยใช้rubber cup }rubber brush, และ
mendrel for rubber cup ซีงถอื เปน็ วสั ดสุ ้นิ เปลือง หากเกิดการชำรดุ จากการใช้งาน เจา้ หนา้ ท่หี อ้ งจ่ายจะเปลี่ยนเคร่อื งมอื

ให้ นักศึกษา คอื ตอ้ งส่งเปลย่ี น อาทิตยล์ ะ 1 ครงั้ คอื ในเช้าวนั กอ่ นลงปฏิบัติงาน แลว้ ใหน้ กั ศึกษาตดิ ตอ่ รับเคร่ืองมอื

ได้ทหี่ อ้ งจา่ ยกลางใน เชา้ วันศุกรก์ ่อนลงปฏิบตั งิ าน วธิ ีการเขียนใบรายงานเพ่ือเบิกเปลย่ี น มดี ังนี้

▪ ใบเปล่ียนเครอื่ งมอื
- ในกรณเี มอ่ื วสั ดสุ นิ้ เปลือง เกิดการชำรดุ เสยี หายจากการใชง้ าน เชน่ rubber cup, mendrel ฯลฯ
- ใชก้ รณีทเี่ ครื่องมอื ท่ีใชป้ ฏบิ ตั ิงานในคลินิกทนั ตกรรม เกดิ การชำรดุ เสียหาย ขณะปฏิบตั ิงานนักศึกษา
ต้องชีแ้ จงให้อาจารยผ์ ูค้ วบคมุ คลินกิ ทราบทนั ทีถงึ สาเหตุของการชำรดุ เสยี หาย

ในการเขยี นใบเปล่ยี นเครอื่ งมือให้เขียนรายละเอยี ดทุกช่องและแนบวัสดุเครอ่ื งมือท่จี ะไปดว้ ยทกุ คร้ัง
พร้อมทัง้ ต้องมีลายเซน็ อาจารย์ท่คี มุ คลินิกในวันนั้นกำกบั มาดว้ ยโดยท่ีนกั ศกึ ษาไมต่ อ้ งเสียค่าปรับ โดยนำส่งเจา้ หนา้ ทห่ี อ้ งจ่าย
กลางพรอ้ มใบเปล่ยี นเครอื่ งมอื

8

ใบรายการเครื่องมอื ขาด
ใช2้ กรณี คอื

1.ในวนั ตรวจรบั เครื่องมือ เมื่อพบว่ามีเครอื่ งมอื ที่ภาควิชาฯ จ่ายใหไ้ ม่ครบตามใบรายการ Check in

นกั ศึกษาให้อาจารยป์ ระจำกลุม่ ลงนามในชอ่ งหมายเหตุ ตอ่ จากช่องcheck in ตามตวั อยา่ งและไปนำใบรายการ

เคร่อื งมือขาดทโ่ี ตะ๊ จา่ ยกลางเพอื่ เบกิ เครื่องมือทข่ี าดมาใหค้ รบและเม่อื เจา้ หน้าที่จ่ายเครอื่ งมือใหค้ รบแล้ว ให้เจ้าหนา้ ท่ี

เขียนเครอ่ื งหมาย + ตามจำนวนท่ีขาด และเชญิ อาจารย์ลงนามกำกับใน ใบรายการ check in(ทงั้ 2ชุดคอื ในค่มู ือนกั ศึกษาท่จี บั คู่
หรืออาจมีกลุ่มที่มี3คนต้องให้อาจารย์ลงนามในคู่มือทั้ง 3เล่ม)หากทำตามระบบนี้เรียบร้อย ในวันที่เจ้าหน้าที่จ่ายเครื่องมือครบ
นกั ศกึ ษาจะไม่ต้องเสียค่าใช้จา่ ย

ตัวอย่าง การตรวจรบั เครอื่ งมือ และพบว่ามีเครอื่ งมอื ที่ขาดไปจากจำนวนท่คี วรไดร้ ับ

ใหน้ ักศึกษา กรอกจำนวนเครือ่ งมือท่ีนบั ไดจ้ รงิ ในช่อง check in(ในค่มู ือตนเองท้งั สองคน)และเรยี นใหอ้ าจารย์

ประจำกลมุ่ ทราบ ใหเ้ มื่ออาจารยล์ งนามเรยี บร้อยท้ังในใบรายการ check in (ทั้ง2เลม่ )และใบรายการเครื่องมอื ขาด ให้
นักศกึ ษานำ เอกสารทั้งใบรายการcheck in และใบรายการเคร่ืองมอื ขาดมายน่ื และขอเบกิ เครอ่ื งมอื ที่หอ้ งจา่ ยกลาง

ตวั อย่างใบรายการตรวจรบั เครอ่ื งมอื วิชาการเตรยี มความพร้อมคลนิ ิกทันตกรรม (กรณีนกั ศกึ ษาตรวจพบวา่ เครอื่ งมือขาด)

รายการเครอ่ื งมอื จำนวน Check in หมายเหตุ Check out หมายเหตุ ราคา

1.เขม็ กรอฟนั

1.1 Bristle brush 22 50

1.2 rubber cup 2 1 1อ.รัชนีวรรณ 50

1.3 mandrel for Rubber cup 22 50

2 วสั ดุอืน่ ๆ

2.1 ขวดยาเลก็ ใส่อลั กอฮอล์ 11 50

2.2 dappen glass 22 18

2.3 Cotton wool container 11 288

2.4 พกู่ ัน etching - bonding 66 65

9

รายการเคร่อื งมอื ขาด ( ในวนั Check in )

ชื่อ – นามสกลุ นายก้องภพ สยบใจเสือและ นาย ตอ่ เตมิ เผดมิ คลนิ กิ ………รหสั พรีคลินิก…A11,A12 Unit ที3่ 6

ลำดับท่ี รายการ จำนวน ราคา

1 rubber cup 1-

ลงชื่อ นกั ศกึ ษา ………………ก้องภพ…และต่อเตมิ รวม -
……(ตัวบรรจง)………………………………………….

ลงช่ืออาจารย์ …………อ.รัชนวี รรณ……………………………………….

…24……….. / ……,มิย..…… / …64…………

เมื่อเจ้าหน้าท่ีในหอ้ งจ่ายกลาง จา่ ยเครอ่ื งมอื เพิ่ม จะลงจำนวนทจ่ี ่ายใหแ้ ละลงนามในcheck in ในใบรายการท้ัง2ชดุ
เพอ่ื ยนื ยนั ว่าไดร้ บั เครอื งมือ แตห่ ากเคร่ืองมือท่ีขาดยังไม่มีจ่ายตอ้ งรอจนกวา่ เจ้าหน้าที่นัดหมายจา่ ยเพม่ิ เตมิ ใหอ้ กี ครั้ง

ใบรายการตรวจรบั เครอ่ื งมอื วชิ าการเตรยี มความพรอ้ มคลินกิ ทันตกรรม (นักศกึ ษาขอเบิกเคร่อื งมือท่ีขาดแลว้ )

รายการเครอ่ื งมอื จำนวน Check in หมายเหตุ Check out หมายเหตุ ราคา

1.เข็มกรอฟัน

1.1 Bristle brush 22 50

1.2 rubber cup 2 1+1 จนท 1อ.รชั นีวรรณ 50

1.3 mandrel for Rubber cup 2 2 50

2.กรณีทนี่ กั ศกึ ษา เปน็ ผทู้ ำให้เครอ่ื งมือเกดิ การเสยี หายนอกเหนือขณะปฏบิ ตั ิงานและเปน็ เครือ่ งมือ

ท่ีมีอยใู่ นรายการในคลงั พสั ดุนกั ศกึ ษาต้องเป็นผ้ซู อ้ื เครื่องมือในรายการทขี่ าดนัน้ เองหมายเหตุใบเปลย่ี นเครือ่ งมอื

และรายการเคร่อื งมือขาดจะอยู่ในคู่มือ

กรณีนักศึกษาทำความเสียหายกบั วสั ดุ อุปกรณห์ รือเครอื่ งมืออนื่ ๆซึ่งไม่มสี ำรองในคลังพสั ดุนกั ศึกษา
ต้องเปน็ ผรู้ บั ผิดชอบค่าเสยี หายเองทงั้ หมด ได้แก่ อปุ กรณ์ยนู ิต ทอ่ นำแสงเคร่อื งฉายแสง เปน็ ต้น

ใน วนั check out เคร่ืองมอื นักศึกษาตอ้ งรายงานตัวเลขของเครืองมอื ตามท่เี หลอื อยจู่ รงิ ในชอ่ ง checkout
และใหอ้ าจารยล์ งนามกำกบั ทง้ั 2ชุด หากตรวจพบว่ามเี ครือ่ งมอื ขาด ให้ เขียนในใบรายการเคร่อื งมอื ขาดและ
อ.ประจำกลุ่มลงนาม มานำยน่ื ท่หี อ้ งจ่ายกลางเพ่อื ใช้ปลอดหน้ี

10

ใบรายการตรวจรบั เครื่องมอื วชิ าการเตรียมความพร้อมคลนิ ิกทนั ตกรรม (กรณีนักศกึ ษาตรวจพบว่าเครอ่ื งมอื ขาดวนั check out)

รายการเครอื่ งมอื จำนวน Check in หมายเหตุ Check out หมายเหตุ ราคา

2.2 dappen glass 22 2 18

2.3 Cotton wool container 11 1 288

2.4 พกู่ ัน etching - bonding 66 6 65

2.5ถาดหลุม(บาง/หนา) 11 1 100

รายการเคร่ืองมอื ขาด ( ในวนั Check out )

ชื่อ – นามสกุลนายกอ้ งภพ สยบใจเสือและ นาย ตอ่ เติม เผดิมคลนิ กิ ………รหัสพรคี ลินิก…A11,A12 Unit ท3่ี 6

ลำดบั ท่ี รายการ จำนวน ราคา

1 Cotton wool container 1 288

ลงชือ่ นกั ศึกษา ………………กอ้ งภพ…และตอ่ เติม ……(ตัวบรรจง)…………………………………………. รวม
ลงชือ่ อาจารย์ …………อ. รัชนวี รรณ……………………………………….
288

…7……….. / ……ต.ค...…… / …64…………

************หาก นักศึกษาไมท่ ำการปลอดหนไี้ มส่ ามารถลงทะเบยี นเรยี นวิชาเทอม 2 ต่อไปได้********************

การเตรียมพรอ้ มเคร่อื งมือ

หลงั จากตรวจรับเคร่อื งมือเรยี บรอ้ ยแลว้ ให้นักศกึ ษาปฏบิ ตั ดิ ังต่อไปน้ี

1. ฝึกจดั ชดุ หอ่ เคร่อื งมอื และนำส่งอบทห่ี ้องSupply กลาง กับคณุ ยพุ ณิ
1.1 นำชดุ ตรวจ ทไ่ี ดร้ ับมา ฝึกลา้ งให้สะอาดและเชด็ ดว้ ยผ้าสะอาดทเ่ี บิกมาจากหอ้ งจา่ ยกลางให้แห้งฝกึ การจัดชุดหอ่ เครื่องมือ

เขยี นกำกบั วา่ ชดุ ตรวจเพื่อนำส่งอบ
1.2 นำชดุ ขูดหินนำ้ ลาย (Hand Scaler) ถา้ เปน้ ไปไดค้ วรเบิกมาทั้ง 2แบบ คือ Universal toolsและ Area specific curette

เพ่ือมาทบทวนการเรยี กช่อื เสร็จแลว้ ฝกึ ล้างและฝึกหอ่ เครือ่ งมือเขยี นกำกบั วา่ ชดุ ขดู Universal หรอื Gracey
1.3 ฝกึ ลา้ งเข็มกรอฟนั เช็ดให้แห้งนำไปผ่านนำ้ ยากนั สนมิ ล้างนำ้ กล่นั โดยต้องแยก Rubber Cup Bristel Brushออก

ห้ามนำสง่ อบเพราะจะทำใหล้ ะลาย
1.4 ฝึกล้างหวั กรอความเรว็ สูง หัวกรอความเรว็ ต่ำ ด้วยแปรงสีฟันล้างเครือ่ งมือและน้ำยาลา้ งจานทใ่ี หเ้ ตรียมมาเอง

เชด็ ด้วยผา้ สะอาดทเ่ี บิกมาจากหอ้ งจ่ายกลางให้แห้งโดยปกติแลว้ การจดั ชุดเคร่ืองมือในแตล่ ะแบบจะมดี งั นี้

11

2.ใหศ้ ึกษาด้วยตนเองวา่ แตล่ ะปฏบิ ตั จิ ะใช้เครอ่ื งมือใดบ้างเพ่อื เบกิ มาใชใ้ นวันท่ีมเี รยี นปฏิบตั กิ ารนน้ั ๆ
ชุดเครื่องมอื ทส่ี มบรู ณจ์ ะประกอบด้วย

2.1 ชดุ ตรวจ จำนวน 1ชดุ แตล่ ะชดุ ประกอบด้วย

2.1.1 Shallow tray (ภาพประกอบ https://qrgo.page.link/JVN4S) 1 ใบ
ตวั
2.1.2 Explorer (ภาพประกอบ https://qrgo.page.link/EE4RJ) 1 อนั
ตัว
2.1.3 Mouth mirror (ภาพประกอบhttps://qrgo.page.link/kuEJc) 1

2.1.4 Cotton pliers(ภาพประกอบhttps://qrgo.page.link/7JixZ ) 2

2.2 ชุดขูดหนิ นำ้ ลาย จำนวน 1ชุด แบบ Universal tools แตล่ ะชุดประกอบด้วย

2.2.1 Periodontal probe (เบิกเพ่มิ ) 1 ตวั

2.2.2 Sickle ฟันหนา้ และฟันหลังอย่างละ 1 ตวั

2.2.3 Curette 4R / 4 L (Universal curette) 1 ตวั

2.2.4 Curette 2R / 2 L (Universal curette) 1 ตวั

2.2.5 Curette 13 / 14 (Universal curette) 1 ตัว

**เตือนความจา(Universal curette)13/14 ใชข้ ดู หนิ นา้ ลายเหนือเหงือกและใตเ้ หงือกของฟันหนา้ (Anterior teeth)

ภาพ เปรียบเทยี บ Sickle ฟนั หนา้ และฟันหลงั ภาพเปรยี บเทยี บ(Universal curette)4R / 4 L ,2R/2Lกับ 13 / 14

ทีม่ าภาพ https://qrgo.page.link/6pnJH ทีม่ าภาพ https://qrgo.page.link/JmZQc

*** กรณที ่ีตอ้ งการใชช้ ุดขดู หนิ นำลาย ทีเ่ ปน็ Area specific curette แต่ละชดุ ประกอบดว้ ย

1) Gracey 1-2 หรือ 3-4 ใชก้ บั ฟนั หนา้ 1ตัว

2) Gracey 7-8 หรอื 9-10 ใชก้ ับฟันกรามน้อยและฟันกรามดา้ น buccal กบั lingual 1ตวั

3) Gracey 11-12หรอื 15-16 ใชก้ บั ฟันกรามด้าน mesial 1ตวั

4) Gracey 13-14 หรือ17-18 ใชก้ ับฟนั กรามดา้ น distal 1ตัว

ภาพเปรยี บเทยี บ Area specific curette ท่มี า https://qrgo.page.link/3x5AJ

12

วิธีการ

1. ใหฝ้ กึ หอ่ เครื่องมอื ดว้ ยห่อผา้ เปน็ ชดุ ๆ พร้อมทั้งเขยี นช่ือ และรหสั ยูนิตคลินิกของนกั ศึกษาทงั้ สองคนทถี่ งุ ผ้า
แล้วนำไปสง่ อบ

2. cotton wool container, ใหล้ ้างทำความสะอาดและเช็ดให้แหง้ จดั ใส่ถุงเครื่องมือพร้อมทง้ั เขียนช่อื
และรหสั คลินิกของตนเองที่เทปทึบบนผ้าห่อเคร่ืองมอื แล้วส่งอบยกเว้นมวี ัสดุ ใช้รว่ มกนั กับป4ี วางอยู่ท่ยี ูนติ คอื tray cylinder(
ภาพประกอบ https://qrgo.page.link/3edWj), dressing forceps (ภาพประกอบ https://qrgo.page.link/xMPBB หรอื
https://qrgo.page.link/FRQaF) นักศึกษาชน้ั ปที ี่ 3 ไม่ต้องส่งอบ

3. ลา้ งทำความสะอาดขวดยาต่างๆ เชด็ ให้แหง้ แล้วเบกิ น้ำยาบรรจไุ ว้ใหไ้ ดป้ ระมาณคร่ึงขวด เช่น สยี อ้ มฟัน
4. กรณนี ้ใี ช้ ยูนิตร่วมกับ ชน้ั ปที ี่ 4 ในขั้นตอนนี้จึงไม่ได้ทำ แตใ่ ห้สังเกตุที่พปี่ 4ี ที่ใช้ยูนติ รว่ มกนั จดั วางไว้
(แตเ่ มอื่ ขน้ึ วิชาทันตกรรมผสมผสานต้องทำเอง คอื ปผู า้ พลาสติกทกุ ลนิ้ ชักเพอ่ื สามารถเช็ดพืน้ ผิวดว้ ยSterile Wipe ได้
แยกประเภทจัดเก็บเครอ่ื งมือ โดยตดิ กระดาษกาวและเขยี นชื่อประเภทเครอ่ื งมือด้านหนา้ ลิน้ ชกั เชน่ ชดุ ตรวจ ชดุ ขดู หนิ ปนู
ชุดอุดฟนั และเครือ่ งมืออ่ืนๆ เป็นต้น)
5. เตมิ นำ้ สะอาดในกระบอกน้ำข้างยนู ิตประมาณ 3/4
6. เชด็ ทำความสะอาดยนู ติ และบริเวณรอบๆ ยนู ติ ใหส้ ะอาดเป็นระเบยี บเรียบร้อย
7. เชญิ อาจารยป์ ระจำกลุม่ ตรวจและใหอ้ าจารยล์ งนามในใบรายการเครือ่ งมอื ทั้ง2 ชุด ในคูม่ ือของนักศึกษาทงั้ คู่
8. เข็มกรอฟัน เชน่ Rubber cup rubber brush และ mandrel ให้ฝกึ แช่นำ้ ยาฆ่าเชื้อประมาณ 10นาที
และนำมาผา่ นน้ำกลัน่ อีก10นาที ทโ่ี ตะ๊ ประจำกลุม่ จากนัน้ เชด็ ใหแ้ หง้ เก็บเข้าภาชนะ plateแก้วทีแ่ จกให้
ห้ามนำไปอบเพราะ ยางจะละลาย จนใช้การไมไ่ ด้ **แตเ่ นื่องจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดจงึ งดการขัดฟนั ซ่ึงเกิด
ละอองฝอย นกั ศกึ ษาจะไมไ่ ดร้ บั แจกRubber Cup Rubber brush และ Mandrel ***
ขัน้ ตอนการตรวจคืนเครื่องมือ(Check out)

1. นกั ศกึ ษาตรวจนับเคร่ืองมอื ใหค้ รบ ตามรายการเครื่องมอื ทไี่ ดต้ รวจรบั (Check in)ท้งั 2 ชุด
2. ถ้ามเี ครอ่ื งมอื ชนิ้ ใดขาด ใหเ้ ขยี น “ใบรายการเครื่องมอื ขาด” พรอ้ มใหอ้ าจารย์เซน็ กำกบั
3. นำส่งทห่ี ้องจ่ายกลาง โดยเยบ็ ติดกับใบรายการเครอ่ื งมอื และตดิ ตามชำระเงนิ ให้เรยี บรอ้ ย

มฉิ ะนน้ั จะไมไ่ ดร้ ับการพิจารณาเกรด
4. อาจารย์ประจำกลมุ่ เซน็ กำกับ ในช่องตรวจคืนเครื่องมือ

“ การแกไ้ ขในใบรายการเครอื่ งมอื

ต้องมีลายเซ็นอาจารย์กำกับทุกครง้ั หา้ มใชน้ ้ำยาลบคำผิด จงึ จะถือวา่ ถูกต้อง ”

13

การเตรยี มน้ำยาบ้วนปากก่อนทำหตั ถการ

ทพญ. วรนั ธร อักษรศิริ
การใชน้ ้ำยาบว้ นปาก (Prepocedural rinsing)

การบว้ นปากหรือการแปรงฟนั สามารถลดปรมิ าณเช้อื ทอี่ อกมากบั ละอองฝอยในขณะใหก้ ารรกั ษาทางทันตกรรม
ไดม้ ากถึง 70-95 % กอ่ นเริม่ ทำหตั ถการ ใหผ้ ูป้ ่วยบ้วนปากด้วยน้ำยาบว้ นปากที่ทันตแพทยสภาแนะนำ โดยให้อมกล้วั ในชอ่ ง
ปาก 1 นาที แล้วบว้ นท้งิ เพ่อื ประสิทธิภาพในการฆา่ เชอื้ ยาจะมปี ระสทิ ธิภาพในการควบคมุ เชอื้ 4 ชัว่ โมงหลงั ใช้ นำ้ ยาบว้ น
ปากท่ที นั ตแพทยสภาแนะนำ ไดแ้ ก่
1. 0.2% หรือ 0.5% Povidone Iodine

ในทอ้ งตลาดมีจำหนา่ ยคือ น้ำยาบว้ นปาก Betadine Gargle เบตาดีน การเ์ กลิ เป็นยาใช้ภายนอกห้ามรับประทาน
วธิ กี ารเตรียม

เตรยี มจาก Betadine ® Gargle 70 mg/ml ใหเ้ ป็น 0.2% หรือ 0.5% Povidone Iodine
a) 0.2% Povidone Iodine (ครอบคลมุ แบคทเี รีย และไวรสั )
: ใช้ Betadine ® Gargle 1 มลิ ลลิ ติ ร ในนำ้ 30 มิลลิลติ ร
b) 0.5% Povidone Iodine (ครอบคลมุ แบคทีเรยี ไวรสั และเชอ้ื รา)
: ใช้ Betadine ® Gargle 2 มิลลลิ ิตร ในนำ้ 30 มิลลลิ ิตร*** คอื อัตราสว่ นที่แนะนำให้ในสถาณการแพร่
ระบาดของCOVID-19
ภาพการเตรียมนำ้ ยาเบตาดีน การ์เกิ้ล ทม่ี าhttps://images.app.goo.gl/18c6tiycCBV8pikR7

ขอ้ ควรระวงั
- หา้ มใช้ในผู้ปว่ ยท่ีมีประวตั แิ พ้ไอโอดนี และอาหารทะเล
- หา้ มใชใ้ นผู้ปว่ ยที่มีการทำงานของต่อมไทรอยดผ์ ดิ ปกติ
- ห้ามใชใ้ นผปู้ ว่ ยโรคไต
- หา้ มใชใ้ นผปู้ ว่ ยท่ีได้รบั การรักษาโรคดว้ ยลเิ ทียม
- หา้ มใชใ้ นผปู้ ว่ ยตัง้ ครรภ์ ผปู้ ่วยในระยะให้นมบตุ ร และผปู้ ว่ ยเดก็ อายุต่ำกวา่ 6 ปี
- ยามีอายกุ ารใชง้ าน 6 เดือนหลังเปดิ ใช้

14

หากผู้ป่วยมีขอ้ ห้ามในการใช้นำ้ ยาบ้วนปากดังกลา่ ว ให้พจิ ารณาใชน้ ำ้ ยาบ้วนปากอยา่ งใดอย่างหน่ึงในขอ้ 2 หรือ 3 ดงั น้ี
2. 1% hydrogen peroxide (H2 O2)

ท่ีมาภาพ https://qrgo.page.link/3YWws
วธิ กี ารเตรยี มนำ้ ยาบ้วนปาก จาก Hydrogen peroxide (H2 O2)

เตรยี มจาก
- 3% hydrogen peroxide ผสมกบั นำ้ เปล่าในอตั ราส่วน 1:2 (H2 O2: นำ้ )
- 6% hydrogen peroxide ผสมกบั นำ้ เปลา่ ในอัตราสว่ น 1:5 (H2 O2: นำ้ )
ข้อควรระวัง
- อาจก่อใหเ้ กิดการระคายเคืองค่อนข้างสงู จงึ หา้ มใชใ้ นผู้สงู อายุ ผ้ทู ่ปี ากแหง้ น้ำลายน้อยหรือมแี ผลใน

ชอ่ งปาก และผปู้ ว่ ยท่มี แี ผลถอนฟัน
- หลีกเล่ยี งการใชใ้ นเดก็ เล็ก หรือผู้ปว่ ยทไี่ มส่ ามารถควบคุมการกลนื ได้
3. 0.12% chlorhexidine (C-20 mouthwash)

ท่ีมา ภาพ https://qrgo.page.link/VPkrN

ข้อควรระวงั
อาจเกิดการระคายเคืองในกรณที ี่ผปู้ ่วยทไ่ี มส่ ามารถควบคมุ การกลนื ได้ เชน่ ผปู้ ว่ ยเดก็ หรอื ผู้ปว่ ยสูงอายุ ใหใ้ ช้ผ้า
กอ๊ ซหรือสำลีชบุ นำ้ ยาบว้ นปากเช็ดภายในชอ่ งปากแทนการบ้วนน้ำยา

15

คำแนะนำของทันตแพทยสภาการเตรียมเครอ่ื งมือเพอื่ ใชใ้ นการรักษาผู้ป่วย

ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID19

เครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการรกั ษาผูป้ ว่ ย หากเป็นเครือ่ งมือทีม่ กี ารใช้ซำ้ มีข้อพิจารณาดังนี้

• เครื่องมือที่ทำให้เกิดความเสี่ยงในการทำให้เกิดการติดเชื้อสูง ได้แก่ เครื่องมือทางศัลยกรรม ต้องผ่านการทำให้
ปลอดเชอื้ อย่างสมบรู ณ์ หรือหากไมส่ ามารถทำได้ ก็ควรเป็นชนิดทใ่ี ชค้ ร้ังเดยี วท้ิง

• เครื่องมือที่ทำให้เกดิ ความเสี่ยงในการทำให้ตดิ เชื้อปานกลาง ได้แก่ เครื่องมือที่นำเข้าสู่ชอ่ งปาก ต้องทำให้ปลอด
เช้ืออย่างสมบรู ณห์ รือฆา่ เชื้อด้วยนำ้ ยาฆ่าเชอื้ ท่ีมีประสิทธิภาพสงู

• เครื่องมือท่ีทำให้เกดิ ความเสี่ยงในการตดิ เชื้อต่ำ ได้แก่ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่อยูภ่ ายนอกช่องปาก ก่อนนำมาใช้
ซ้ำ ตอ้ งทำความสะอาดและฆา่ เชอื้ ดว้ ยสารฆา่ เชือ้ ทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพปานกลาง ซง่ึ สามารถฆ่าเช้อื วัณโรคได้

• ด้ามกรอฟัน (Handpiece) ก่อนนำมาใช้งานต้องทำให้ปลอดเชื้ออย่างสมบูรณ์เสมอ เมื่อเริ่มต้นงานในแต่ละวัน
กอ่ นต่อดา้ มกรอฟันกับท่อนำ้ /ลม ใหเ้ หยยี บสวิตช์ด้ามกรอฟัน นาน 2-3 นาที เพ่อื ให้นำ้ ไหลผา่ นทำความสะอาดและ
ชะล้างส่ิงสกปรกและเชื้อจุลินทรีย์ที่ตกค้างใน Water line ออกก่อน และเมื่อสิ้นสุดการรักษาผู้ป่วยแต่ละราย ให้
เหยยี บสวิตช์ดา้ มกรอฟนั นาน 20-30 วนิ าทีเพือ่ ไลส่ ง่ิ สกปรกออกจากท่อน้ำ/ลม โดยยังไม่ถอดเข็มกรอฟนั (Dental
bur) ออก จากน้ันจงึ ถอดดา้ มกรอฟนั ออกไปทำความสะอาดและทำให้ปลอดเชอ้ื

การทำความสะอาดพ้ืนผวิ สัมผสั ต่าง ๆ

พ้ืนผวิ ภายในคลินกิ ทันตกรรม สามารถจัดแบ่งตามความเสย่ี งในการทำให้เกิดการตดิ เชือ้ ได้ 2 ประเภท ซึง่ แต่ละ
ประเภทจะต้องดูแลก่อนและหลังการใชง้ านเพ่ือปอ้ งกนั ไมเ่ กดิ การตดิ เชอ้ื และแพร่กระจายเชือ้ แตกต่างกนั ดังนี้

1. พ้นื ผวิ ที่สมั ผัสในขณะให้การรกั ษาผู้ป่วย (Clinical Contact Surfaces) ได้แก่ พืน้ ผิวตา่ ง ๆ ท่ีทันตแพทย์ หรือผูช้ ่วย
ทันตแพทย์ขา้ งยูนติ ทำฟันมกั จะสมั ผัสขณะให้การดแู ลรกั ษาผูป้ ่วย เช่น ถาดที่ตดิ มากับยนู ติ เพื่อวางชุดเครือ่ งมอื ทใ่ี ชใ้ น
การรักษา ดา้ มปรับไฟ ด้ามหวั ฉดี นำ้ และลม อา่ งบ้วนปาก ปุ่มปรับเก้าอ้ี เปน็ ตน้ พืน้ ผิวเหลา่ นี้จะเกิดการปนเปอ้ื น
ภายหลงั การรักษาเสมอ ซง่ึ เกดิ ไดท้ ง้ั จากละอองฝอยของสารคดั หลง่ั ที่กระเด็นและตกลง หรอื จากการสมั ผสั ของทันต
บุคลากร พ้นื ผิวเหลา่ นต้ี อ้ งไดร้ ับการดูแลอย่างเหมาะสมทงั้ กอ่ นและหลังให้การรักษาผู้ป่วยแตล่ ะราย ด้วยวธิ ีใดวิธีหนึ่งใน
สองวิธดี ังนี้
a) การเชด็ ทำความสะอาด แล้วตามด้วยการฆา่ เช้ือ โดยใชส้ ารฆ่าเช้อื ที่มปี ระสทิ ธิภาพในการฆา่ เชอ้ื ระดับปานกลาง
เชน่ โซเดียมไฮโปคลอไรต์ 0.5% นาน 10 นาที หากเลอื กใชน้ ำ้ ยาหรือสารฆ่าเช้ืออน่ื กต็ ้องศึกษาวา่ สว่ นผสมควรเป็น
เทา่ ใด และทสี่ ารฆา่ เชอ้ื ต้องสัมผัสกับพน้ื ผิวเปน็ เวลานานเทา่ ใดจงึ จะ มีประสทิ ธภิ าพสูงสุด ทงั้ นตี้ อ้ งศกึ ษาเอกสาร
ของผ้ผู ลิตก่อนการใชง้ านทุกครั้ง วิธนี ีไ้ มเ่ หมาะกบั พนื้ ผวิ ที่เป็นซอกหลบื หรอื จดุ อับที่การทำความสะอาดเขา้ ไปไม่ถงึ
b) การคลมุ พ้นื ผิว ได้แก่ การเลอื กวัสดุท่บี างและป้องกันของเหลวซมึ ผา่ น เช่น พลาสตกิ ท่ีใชห้ อ่ อาหาร (Plastic Wrap)
ถงุ พลาสตกิ มาคลมุ พื้นผวิ ทีต่ ้องการดแู ลเพ่ือไม่ใหพ้ ื้นผิวทีไ่ ดร้ ับการปกคลมุ น้ัน ๆ เกดิ การปนเป้ือนในระหวา่ งการ
ดูแลผปู้ ่วย กอ่ นการคลุมพื้นผวิ ต้องมั่นใจว่าพน้ื ผวิ นนั้ สะอาดและผ่าน การฆา่ เช้ือแล้วดว้ ยน้ำยาฆา่ เชื้อท่มี ี
ประสทิ ธภิ าพระดับปานกลาง ซง่ึ สามารถฆ่าเชอื้ วณั โรคได้ ภายหลังการรักษาผูป้ ่วยแตล่ ะราย ใหแ้ กะวสั ดทุ ค่ี ลมุ
พน้ื ผิวออก โดยยังสวมถงุ มอื อยู่ จากนั้นใหถ้ อดถงุ มือ ล้างมอื ใหส้ ะอาด และถ้าพื้นผิวท่ีคลมุ ไมเ่ กดิ การปนเปื้อนใดๆ ก็

16

ใหค้ ลมุ พื้นผิวสำหรับผปู้ ่วยรายต่อไปได้เลย แต่หากมีการปนเปื้อนบรเิ วณใด กต็ อ้ งทำความสะอาดและฆ่าเช้อื กอ่ นที่
จะคลมุ พ้นื ผิวสำหรบั ผู้ปว่ ยรายตอ่ ไปเสมอ
หมายเหตุ: ต้องไมว่ างวสั ดุอุปกรณท์ ี่ไม่เก่ยี วขอ้ งกับการรกั ษาผู้ปว่ ยรายนั้น ๆ ในบรเิ วณที่ให้การรกั ษา เพือ่ ป้องกัน
การสะสมของเช้ือจุลนิ ทรยี แ์ ละเชอื้ ทก่ี อ่ ให้เกิดโรค COVID-19 โดยไม่จำเปน็ หรอื ถ้าจำเปน็ ต้องวางในพน้ื ทีใ่ หก้ ารรกั ษา
เมือ่ เสร็จส้ินการรกั ษาในผปู้ ว่ ยแตล่ ะรายจะต้องนำไปทำให้ปลอดเชอื้ หรอื ฆ่าเชือ้ หรือเปล่ียนวสั ดุที่คลมุ ใหม่ทกุ ครั้ง
2. พนื้ ผิวทั่วไป เช่น ผนงั โต๊ะ เก้าอ้ี ล้ินชัก แปน้ พมิ พค์ อมพวิ เตอร์ พนื้ ห้อง เปน็ ตน้ จะมีโอกาสเกดิ การ ปนเปื้อนจากละออง
ฝอยทม่ี เี ชือ้ จุลินทรียป์ ะปนลอ่ งลอยและตกลงมา สถานพยาบาลควรกำหนดให้มีการ ดแู ลและทำความสะอาดตามระดับ
ความเสย่ี งในการปนเปือ้ นเชื้อ ดังน้ี
a) พน้ื ผิวสัมผสั ท่วั ไปท่ไี มม่ ีจดุ อับ เชน่ ผนงั โต๊ะ เกา้ อี้ ล้นิ ชัก แนะนำให้เชด็ ถูทำความสะอาดดว้ ยน้ำสบู่ หรอื นำ้ ยาฆ่า
เช้อื บ่อย ๆ
b) พน้ื ผวิ สัมผสั ท่ัวไปท่ีมีซอกหลบื เชน่ แปน้ พิมพ์คอมพิวเตอร์ แนะนำใหใ้ ชว้ สั ดุปิดคลุมพื้นผิว เช่น Plastic Wrap และ
ควรเปลยี่ นบ่อยๆ
c) พื้นหอ้ งและพ้นื ผิวทว่ั ไปในส่วนทผ่ี ปู้ ว่ ยน่งั รอ ควรทำความสะอาดทกุ 1 ช่วั โมง หรอื เพิ่มเป็นทุก 30 นาทีหากมผี ู้มา
รับบรกิ ารจำนวนมาก โดยเฉพาะในจุดท่ีผู้มารับบริการมกั ใช้มอื จบั หรอื สมั ผัส
หมายเหต:ุ ในกระบวนการฆ่าเชอ้ื ตามพืน้ ผวิ ตา่ ง ๆ แนะนำใหใ้ ช้วิธกี ารเชด็ ไม่แนะนำใหใ้ ช้การฉีดพน่ หรอื สเปรย์
เนื่องจากละอองฝอยของสารฆ่าเชอ้ื จะมีผลตอ่ ระบบทางเดินหายใจของผู้ทำงาน เพ่ิมโอกาสในการฟุ้งกระจายของ
เชอ้ื จุลินทรยี ์ และอาจทำการฆา่ เชอื้ ไดไ้ ม่ทวั่ ถึง
การทำให้ปราศจากเช้อื อย่างสมบรู ณ์

คอื การฆ่าเชอื้ โดยใช้เครอื่ งอบฆา่ เชือ้ ตา่ งๆ ดังน้ี

- เครือ่ งอบความดนั ไอน้ำ (Autoclave) อณุ หภมู ิ 121 องศาเซลเซียส นาน 15 นาที หรอื อุณหภมู ิ 134 องศา
เซลเซียส นาน 3 นาที

- ตู้อบอากาศรอ้ น อุณหภมู ิ 160 องศาเซลเซยี ส นาน 60 นาที แตม่ ขี ้อเสยี คอื ใชเ้ วลานาน ทำใหเ้ ครื่องมอื เสยี เร็วมาก
- ใชน้ ำ้ ยาเคมี เช่น อัลดไี ฮด์ ไอโอโดฟอร์ และคลอรอ็ กซม์ ขี อ้ เสยี บางประการคือ มกี ดั กร่อน เครื่องมือโลหะบางชนิด

สารฆ่าเชือ้ (Disinfectant)

สารฆา่ เชือ้ มีความสามารถในการทำลายเชื้อได้ 3 ระดบั คอื

1. สารฆ่าเชอื้ ทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพสงู (High-level disinfectant) เปน็ สารเคมที ส่ี ามารถทำลายได้ท้ัง แบคทีเรีย
(vegetative, mycobacteria, spore) เชื้อรา และไวรสั จึงเหมาะสำหรบั ใชท้ ำให้ปลอดเชือ้ ในอุปกรณท์ ีต่ ้องการ
ปลอดเชือ้ อยา่ งยง่ิ สารฆ่าเชื้อในกลุม่ นี้ ได้แก่
- กลูตาอัลดไี ฮด์ท่คี วามเขม้ ข้นมากกว่า 2% ข้นึ ไป (Glutaraldehydel)
- คลอรีนไดออกไซด์ (Chlorine dioxide)
- ไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซต์ (7.3% Hydrogenperoxide)
- กรดเพออะซติ ิก (0.08% Peracetic acid)
- ฟอร์มาลดไี ฮด์ (Formaldehyde) หรอื น้ำยาฟอรม์ าลิน

17

2. สารฆา่ เช้ือท่ีมีประสทิ ธิภาพปานกลาง (Intermediate-level disinfectant) เปน็ สารเคมที ส่ี ามารถทำลายเช้ือ
แบคทีเรีย ไมโครแบคทีเรยี รา และไวรสั บางชนดิ แต่ไมส่ ามารถทำลายสปอร์ของจลุ ชีพและไวรสั ชนิด non-lipid
small size สารฆ่าเชอ้ื ในกลุ่มนี้ ไดแ้ ก่
- เอทานอล (Ethanol) หรอื ไอโซโพรพานอล (Isopropanal) ทค่ี วามเข้มข้น 70% ขน้ึ ไป
- สารประกอบประเภทคลอรีน ไดแ้ ก่ ไฮเปอรค์ ลอรสั หรือคลอรนี ไดออกไซด์ (Chlorine compounds:
hypochlorous acid gaseous chlorine หรือ Chlorine dioxide)
- ฟนิ อลกิ (Phenolic)
- ไอโอโดฟอร์ (Iodophor)
- ทงิ เจอร์ (Tincture)

3. สารฆา่ เช้อื ท่มี ีประสทิ ธภิ าพต่ำ (Low-level disinfectants) เป็นสารเคมที ่ีสามารถทำลายเชอ้ื แบคทเี รยี ชนดิ
vegetative form และเช้อื ราได้ แต่ไมส่ ามารถทำลายเช้ือไมโครแบคทีเรยี และเชือ้ ไวรัส สารเคมีบางชนิดในกลุ่มนี้
เมอ่ื เพ่ิมความเขม้ ข้นข้นึ จะมีคุณสมบตั ิที่เหมาะสำหรบั ใชฆ้ า่ เช้ืออุปกรณ์ท่ไี ม่จำเป็นตอ้ งปลอดเช้ือมากนกั สารฆ่าเช้ือ
ในกลมุ่ น้ี ไดแ้ ก่
- สารควอเทอร์นารแี อมโมเนียม (Quaternary ammonium compounds)
- คลอร์เฮกซิดนี (Chlorhexidine)
- คลอโรไซลีนอล (Chloroxylenol)
- เซตรไิ มด์ (Cetrimide)
- เบนซาลโคเนียมคลอไรต์ (Benzalkonium chloride)
อ้างอิง

1. https://www.thaidental.or.th/main/download/upload/upload-204211344051371.pdf
2. http://www.dent.chula.ac.th/upload/download/30/file_11_1041.pdf
3. https://www.mhesi.go.th/home/index.php/pr/news/1412-2020-04-20-08-48-14
4. https://www.royalthaident.org/source/announce/2563/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0

%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%
B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%20COVID-19.pdf

18

การใชด้ แู ลและการปลอดเช้ือยนู ิตทันตกรรม

ข้ันตอนการฝึกปฏิบัติ
1.อาจารยส์ าธิตการใชง้ านและดูแลรกั ษายนู ติ ทนั ตกรรมส่วนตา่ งๆ ได้แก่ เกา้ อีผ้ ้ปู ว่ ย เก้าอท้ี ันตแพทย์ อา่ งบว้ นปาก

ทว่ี างแก้วนำ้ กระบอกนำ้ ท่ีฉีดนำ้ 3 ทาง และโคมไฟ
2.อาจารยส์ าธิตการติดตั้งใช้งานด้ามกรอฟันเรว็ และด้ามกรอฟันช้าชนดิ หักมมุ (Contra angle handpiece)

และสาธิตการดแู ลรักษาและทำใหป้ ลอดเช้ือด้ามกรอฟนั แบบหกั มมุ โดยการหล่อลนื่ นำ้ มันสาธิตแบบสเปรย์
และใชเ้ คร่ืองลา้ งและหลอ่ ลืน่ ด้ามกรอฟนั

3.นักศึกษาจบั ค่กู นั ฝกึ ปฏบิ ตั ิตามท่อี าจารยส์ าธิต โดยอาจารยช์ ว่ ยให้คำแนะนำ
4.อาจารยป์ ระเมนิ การฝกึ ปฏบิ ตั ิ โดยให้นกั ศกึ ษาปฏบิ ตั ิใหด้ ูรายบคุ คล และประเมนิ ใหค้ ะแนนการฝกึ ปฏบิ ัติ

ภาพเครือ่ งอดั อากาศทางทันตกรรม (ทีม่ าภาพ https://qrgo.page.link/BuBn8)

ส่วนประกอบ

1. ส่วนอดั อากาศ (Compressor unit) ทำหน้าท่ีอดั อากาศเพื่อเขา้ ไปเก็บในส่วนเก็บอากาศเพอื่ นำมาใชง้ าน
ทน่ี ยิ มใช้ทั่วไปเป็นแบบลูกสบู ประกอบดว้ ย ลกู สบู ลน้ิ เขา้ -ออกของลม ขอ้ เหว่ยี ง ไส้กรองอากาศ วงลอ้ ทดรอบ

2. ส่วนใหก้ ำลังในการผลติ อากาศอัด (Motor) เป็นต้นกำลงั ส่งแรงฉดุ ส่วนอัดอากาศ โดยอาศยั สายพานส่งผ่านกำลงั
3. ส่วนเกบ็ อากาศ หรือถงั ลม เป็นสว่ นท่ีเกบ็ อากาศที่ได้จากสว่ นอัดอากาศส่งผา่ น Check valve เพ่ือใหอ้ ากาศ
ไมไ่ หลย้อยกลบั ออกจากถังลม
4. Safety relief valve เปน็ วาลว์ ทป่ี อ้ งกันการอัดอากาศเกนิ พิกดั ของความจุถังลม เมอื่ แรงดนั อากาศเกนิ พิกดั
วาลว์ นี้จะเปดิ ระบายลมออกจากถงั ลม
5. Filter & Regulator ทำหนา้ ท่กี รองฝุ่นผงและนำ้ ออกจากอากาศทีจ่ ะนำไปใช้งาน พรอ้ มทั้งควบคุมแรงดนั ลม
ใหค้ งท่ีนำ้ ท่ีปนมากบั อากาศจะถูกแยกและตกอยกู่ ้นชดุ กรองเพ่ือระบายออกทิ้ง
6. Pressure gauge ทำหน้าทแี่ สดงคา่ ของแรงดันลมท่อี ยู่ในถัง
7. Automatic pressure switchเปน็ สวติ ชท์ ่ีมีหนา้ ท่ีเปดิ กระแสไฟใหม้ อเตอรท์ ำงานเม่อื ความดนั ในถงั ลดลม
ต่ำกวา่ พิกดั ท่ตี ง้ั ไว้ (ปกตแิ รงดันอยู่ท่ี 70 – 100 ปอนด/์ ตารางน้วิ )
8. Open/shut valve เปน็ วาล์วปดิ -เปิด เพอ่ื จ่ายลมเขา้ ส่ยู ูนติ ทันตกรรม เมอ่ื เลกิ งานใหป้ ดิ วาล์ว
9. Drain valve วาล์วทอี่ ยทู่ ่สี ว่ นลา่ งสดุ ของถังลมใช้ระบายนำ้ ท่ีอยใู่ นถังลม
10. Breaker เป็นสะพานไฟเพื่อเปดิ กระแสไฟฟา้ เขา้ มอเตอร์เพอ่ื ใหเ้ ครอ่ื งอดั อากาศทำงานได้ เม่ือเลิกใชง้ านให้ปิด
Breaker

19

การใช้งานและดแู ลรกั ษา

1. การเรมิ่ ต้นทำงานให้ตรวจสอบ Filter&Regulator โดยปลอ่ ยนำ้ ทงิ้ และเปดิ Open/shut valve เพือ่ ปล่อยลม
เขา้ สู่ยูนติ โดย Drain valve ตอ้ งปิด ตรวจสอบสีนำ้ มันและระดบั นำ้ มันหลอ่ ลื่นไมต่ ่ำกว่าขดี ทก่ี ำหนด (ประมาณคร่ึงหน่ึง
ของชอ่ งตาแมว)

กรณสี ีนำ้ มนั ขนุ่ ดำหรอื ปรมิ าณต่ำกว่าขดี กำหนดแจ้งเจา้ หนา้ ทเี่ พ่อื ดำเนนิ การเตมิ หรอื เปลยี่ นถ่ายนำ้ มนั เครอ่ื งตาม
ความเหมาะสม (ปกติเปลีย่ นถา่ ยทุก 6 – 12 เดือนตามการใชง้ าน) จากนั้นจึงเปิด Breaker

2. เลกิ งานใหป้ ดิ Breaker ปิด Open/shut valve เปดิ Drain valve เพื่อระบายน้ำในถงั (ในการระบายน้ำ
ออกจากถงั ลมตอ้ งมีลมอย่างนอ้ ย 8 – 15 ปอนด์/ตารางนวิ้ ในสว่ นของยนู ิตระบายลมทคี่ า้ งโดยยก High power suction

3.ทุกเดือนตรวจสอบดงั น้ี
3.1 ดงึ ห่วงท่ี Safety relief valve เพ่ือให้ Safety relief valve พรอ้ มทำงาน

3.2 ถอดไสก้ รองอากาศเข้าเครื่องอดั อากาศ (Air intake filter) ออกมาเปา่ ทำความสะอาด

4. ตรวจสอบการตึงของสายพาน โดยปกตสิ ายพานเมื่อใช้มือกดจะหยอ่ นได้ประมาณ 1 เซนตเิ มตร หากหยอ่ น
มากกวา่ 1 นิ้ว ต้องตัง้ ความตึงสายพานโดยเลอื่ นมอเตอรอ์ อกให้สายพานตึง
เก้าอผ้ี ปู้ ว่ ยและเกา้ อที้ ันตแพทย์

เก้าอีผ้ ้ปู ว่ ย ส่วนประกอบ

1. เก้าอแ้ี ละพนกั พงิ หลงั สามารถปรบั สงู ต่ำและความเอยี งของพนกั พงิ ได้ทีส่ วติ ชค์ วบคมุ
2. พนักพิงศรี ษะ สามารถปรับระดับสงู ตำ่ เพื่อให้ผปู้ ว่ ยนอนราบ ก้มเงยศรี ษะ โดยมปี มุ่ ปรบั ท่ีบรเิ วณพนกั พงิ
ศีรษะหรือทพ่ี นกั พิงหลงั
3. สวิตช์ควบคุม โดยปกติจะมีแผงควบคมุ เป็นชดุ สวติ ชอ์ ย่ทู ่ี ถาดวางเคร่ืองมือ ท่บี รเิ วณพนกั พงิ หรอื ท่สี วติ ช์เท้า
โดยมีปมุ่ ปรับดังน้ี
4. ป่มุ Set เปน็ ปมุ่ ท่มี ีการปรบั ระดบั ความสงู ของเก้าอ้แี ละความเอนของพนกั พงิ ไวแ้ ล้ว โดยปกติจะปรบั ให้เกา้ อสี้ ูง
พอดีกับผ้รู ักษายูนติ นนั้ ๆ และใหผ้ ปู้ ่วยนอนราบ เมือ่ กดปมุ่ นี้เก้าอี้และพนกั พงิ จะปรบั มาทีต่ ำแหนง่ ท่ตี ้ังไว้
5. ปมุ่ Reset หรอื Auto return เปน็ ปุ่มทจ่ี ะปรับใหเ้ กา้ อ้ีอยู่ในตำแหนง่ ตำ่ สดุ และพนักพงิ ตั้งตรง
6. ป่มุ ปรับพนกั พิงผ้ปู ว่ ย ใชป้ รบั ความเอนของพนักพงิ ผูป้ ว่ ย
7. ป่มุ ปรับความสงู ของเกา้ อผี้ ้ปู ่วย ใช้ปรบั ความสูงของเกา้ อ้ผี ปู้ ่วย
การใชแ้ ละดูแลรักษา

1.หลงั เสร็จสิ้นการปฏบิ ตั ิงานประจำวนั ทำความสะอาดบรเิ วณใตเ้ กา้ อ้ี โดย
1.1 ปรบั เก้าอใ้ี หอ้ ยู่ในตำแหน่งที่สงู สดุ

1.2 กวาดเก็บเศษผง เศษวสั ดุ ตลอดจนฝุ่นละออง

1.3 จดั เก็บตวั เก้าอใ้ี หอ้ ย่ตู ำแหน่ง Auto-return หรอื Zero-position

2.ส่วนของเบาะหลังเลกิ งานใหใ้ ชผ้ า้ ชบุ น้ำหมาดๆ เช็ดทำความสะอาด และพ่นน้ำยาฆา่ เชอื้ ทิ้งไว้ 10 นาที
และใชผ้ า้ สะอาดอกี ผนื ชุบนำ้ เช็ดนำ้ ยาออก

3.ทกุ สปั ดาห์ใชน้ ำ้ ยาขดั ทำความสะอาดดูแลรกั ษาหนงั ขัดทำความสะอาด

20

4.สวิตช์ควบคุม กรณเี ปลี่ยนผูป้ ว่ ยให้ใช้นำ้ ยาฆา่ เชอ้ื ทำความสะอาดและฆา่ เช้อื และเมื่อเลิกงานใชผ้ ้าชบุ น้ำหมาดๆ
เชด็ ทำความสะอาด และใช้นำ้ ยาฆา่ เชอื้ เชด็ ฆา่ เชื้อพน้ื ผวิ สำหรบั สวติ ช์ควบคมุ ทพี่ นักพงิ ทีเ่ ปน็ ปมุ่ อาจมนี ำ้ ยาฆา่ เช้ือซมึ ลงไป
ทำให้กดป่มุ แลว้ ค้าง ใหใ้ ช้ผ้ากอซชบุ แอลกอฮอล์เชด็ กรณไี ม่ออกอาจใชส้ เปรย์น้ำมนั หลอ่ ลืน่ ด้ามกรอฟันพน่ บรเิ วณสวติ ช์
และเช็ดออกเมอ่ื ซ่อมเสรจ็

5.ระบบป้องกนั อันตรายทจี่ ะเกดิ ข้ึนกับยูนิตผปู้ ว่ ยหรอื ผูใ้ ห้การรักษา (Emergency stop) โดยระบบจะส่ังให้เก้าอ้ี
ทำฟนั หยุดทำงาน กรณีที่เกา้ อผ้ี ู้ปว่ ยไปกดส่ิงกดี ขวาง หรอื ผูใ้ หก้ ารรกั ษาเหยียบสวิตช์เท้าเพ่อื ใชด้ า้ มกรอฟัน อยา่ งไรก็ตาม
ระบบดังกลา่ วไมไ่ ดค้ รอบคลมุ สว่ นต่างๆ ของยูนิตทันตกรรม ดังน้นั การปรบั เกา้ อี้ผู้ป่วยลงตอ้ งระวังส่ิงกดี ขวาง เช่น
เก้าอีท้ ันตแพทย์ สว่ นต่างๆ ของรา่ งกายผปู้ ่วยและผู้ใหก้ ารรักษา
หลักการปรับเกา้ อี้ผปู้ ว่ ย

1. การปรบั พนกั พงิ ปรับพนักพงิ ใหเ้ อนในแนวราบ เพอื่ ลดการเกดิ Venous Pool
2. การปรับ Head-rest สว่ นของ Head-rest ตอ้ งรองรบั Occipital Prominence ของคนไข้และศรี ษะ
คนไข้ตอ้ งอยู่ในแนวราบ

3. การปรบั ระดับ สงู -ตำ่ ของตวั เก้าอ้ี ปากคนไข้ต้องอยรู่ ะดบั ราวนม ของผู้ปฏิบตั งิ าน
เกา้ อที้ ันตแพทย์ ส่วนประกอบ

1. เบาะนั่ง
2. พนกั พงิ
3. ปมุ่ ปรบั ความสงู เก้าอ้กี ารปรับผู้ใหก้ ารรกั ษานงั่ บนเก้าอ้ี ดงึ ปุม่ ปรบั ขน้ึ กรณตี อ้ งการปรับข้นึ ให้ยกตัวผู้ปรบั ขนึ้
ใหส้ ่วนเกา้ อส้ี งู ข้ึนตาม กรณตี อ้ งการลดความสงู ใหก้ ดน้ำหนักผปู้ รับลงเพ่ือให้เก้าอี้ลงต่ำ เมื่อระดบั พอดีปล่อยปมุ่ ปรบั
การใช้และดูแลรกั ษา

1. ปรับพนกั พงิ และระดบั สูงต่ำเกา้ อ้ี โดย การปรบั พนักพิง(ถ้าเปน็ รนุ่ ทปี่ รับได้) ปรับพนกั พิงให้รองรับสว่ นสว่ น
Lumbar support ของผนู้ ั่ง และการปรับระดับ สงู -ตำ่ ของตวั เกา้ อี้ ปรบั ตวั เกา้ อใี้ ห้ เขา่ ของผูน้ ง่ั เปน็ มุมฉาก

2. หลังเลกิ งานใหใ้ ชผ้ ้าชบุ นำ้ หมาดๆ เช็ดทำความสะอาด
โคมไฟส่องปาก

สว่ นประกอบ

1. เสาโคมไฟสอ่ งปาก เป็นเสาท่ีตดิ กบั ตวั ยูนิตทนั ตกรรมมีหน้าที่เป็นทยี่ ึดของแขนโคมไฟส่องปากทำใหส้ ามารถ
ปรับตำแหน่งโคมไฟส่องปากในแนวระนาบได้

2. แขนโคมไฟสอ่ งปากมหี นา้ ทใี่ นการปรบั ระยะห่างของโคมไฟกบั จดุ ทจี่ ะส่องสวา่ ง และปรับทิศทางการสอ่ งสว่าง
โคมไฟสอ่ งปาก

3. โคมไฟส่องปากประกอบด้วย
3.1 ด้ามจบั โคมไฟ เปน็ พลาสตกิ หรอื โลหะไรส้ นมิ ทีส่ ามารถทำความสะอาดฆา่ เชื้อด้วยนำ้ ยาเคมไี ด้
3.2 สวิตช์เปิด-ปดิ โคมไฟใชเ้ ปดิ ปดิ โคมไฟนอกจากนีบ้ างร่นุ ยังสามรถปรบั ความสว่างของการส่องสวา่ งได้

หลายระดบั โดยโยกสวติ ช์ไปมาสามารถทำความสะอาดและฆา่ เชอื้ ดว้ ยน้ำยาเคมไี ด้

3.3Reflector เป็นแผน่ กระจกโคง้ ท่ีเคลือบดา้ นหลงั กระจกด้วยสารเคมี ชว่ ยให้สะทอ้ นแสง ลดความรอ้ น
(Cold mirror) และสอ่ งสว่างในจุดโฟกัสท่ตี อ้ งการ โดยระยะโฟกสั จะอย่ทู ่ี 50 – 70 เซนติเมตร

21

3.4หลอดไฟเป็นหลอดฮาโลเจน-ทังสเตน ขนาด 12 โวลต์ 45 – 50 วตั ต์ หรอื 24 โวลต์ 60 – 150 วตั ต์
ตามแต่บริษทั ผผู้ ลติ ให้ความสว่าง 15,000 – 28,000 ลักซ์ ความรอ้ นท่ีจดุ โฟกสั ไม่ตำ่ กว่า 4,000 องศาเคลวิน
อายกุ ารใชง้ านไมน่ อ้ ยกวา่ 2,000 ชั่วโมง

การใชง้ านและดูแลรักษา

1.ปรับตำแหนง่ ระยะห่างโคมไฟกับช่องปากผปู้ ว่ ยให้เหมาะสม คือประมาณ 50 – 70 เซนตเิ มตร จะให้
ความสว่างท่ีดที ่สี ดุ และปกตโิ คมไฟจะอยู่ดา้ นลา่ งของใบหนา้ ผู้ป่วยส่องในทศิ ทางเฉียงข้นึ เลก็ นอ้ ยเขา้ สูช่ ่องปากผูป้ ว่ ย

2.เมอื่ เปลยี่ นผปู้ ว่ ยและหลังเลกิ งานใหป้ ดิ โคมไฟและทำความสะอาดและฆ่าเชือ้ ดว้ ยนำ้ ยาเคมที ด่ี ้ามจับโคมไฟ
และสวติ ช์

3.หลังเลกิ งานทำความสะอาด Reflector โดยดา้ นหน้ากระจกใช้ผ้าขนนุม่ ชุบนำ้ หมาดๆเชด็ ทำความสะอาด และใช้
ผ้าแห้งเช็ดตามเพ่ือใหใ้ ห้เป็นคราบหยดน้ำ ส่วนดา้ นหลงั ใชท้ ่ฉี ีดน้ำ 3 ทางพ่นลมเป่าทำความสะอาด

4.สะอาด หลีกเล่ียงการสมั ผัสละอองน้ำ นำ้ มนั หรอื สารเคมี จะทำให้สารเคมีท่ีเคลอื บไวห้ ลุดลอกออก
5.โคมไฟส่องปากบางร่นุ มีพลาสตกิ ปิดกนั น้ำ การกระเด็นเป้ือนหลอดไฟและReflector ใหถ้ อด
แผน่ พลาสติกออกมาล้างนำ้ โดยใช้น้วิ ลูบเช็ดคราบสกปรกออก และทำใหแ้ ห้งด้วยการเปา่ ลมจากTriple Syringe
6.การเปลยี่ นหลอดไฟห้ามใช้มือจบั โดยตรงใหใ้ ช้ผา้ แห้งจับป้องกันคราบน้ำมนั จากมอื ตดิ หลอดไฟ จะทำให้
อายุการใชง้ านลดลง
7.ควรตรวจสอบความสว่างหากมคี วามสว่างนอ้ ยควรแจ้งเจ้าหนา้ ท่ีให้เปล่ียน เนือ่ งจากหลอดเสอ่ื มแตไ่ สห้ ลอด
ยังไม่ขาด
8.ตรวจสอบน๊อต/สกรูที่ยดึ ขอ้ ต่อต่างๆของด้ามจับโคมไฟหากหลวมแจง้ เจา้ หน้าทีข่ นั นอ๊ ต/สกรูใหแ้ น่น
ระบบดดู นำ้ ลายท่ีใชอ้ ยูใ่ นคลินกิ ทันตกรรมมี 2 ระบบคือระบบที่ใช้ลม (Air suction) และระบบทใี่ ชน้ ้ำวิ่งผา่ นและเกิด

แรงดันสญู ญากาศ(กาลกั น้ำ)ดดู น้ำลายได้ โดยชนิดท่ีดูดปริมาตรสูง (High volume suction) เป็นระบบทใ่ี ช้ลม
และที่ดดู นำ้ ลายชนิดปริมาตรต่ำใชร้ ะบบนำ้ (รนุ่ Actus) หรอื ลม(รุ่น Xelene)

ส่วนประกอบ

1. ทีด่ ดู ปริมาตรสูง (High volume suction) ใชด้ ูดนำ้ ลายทต่ี อ้ งการความรวดเร็วในการดดู ท่อดดู มีขนาดใหญ่
ต่อเข้ากับท่อโลหะทีจ่ ะใสเ่ ข้าไปดดู น้ำลายในช่องปากซ่ึงมักออกแบบให้โค้งหกั มุมและทีป่ ลายมียางซลิ ิโคนเพื่อใหไ้ มท่ ำอนั ตราย
ตอ่ เนอื้ เย่ือในช่องปากการควบคมุ การทำงานจะมไี มโครสวิตช์อยูท่ ท่ี ่ีวางท่ดี ูดนำ้ ลายเม่อื ดึงท่ดี ดู นำ้ ลายออกจากท่วี าง
ทดี่ ดู นำ้ ลายระบบดูดนำ้ ลายจะทำงานสารน้ำท่ถี ูกดดู ออกมาจากในชอ่ งปากผู้ปว่ ยจะผ่านตะแกรงกรองดักสิ่งแปลกปลอม
(Suction case)

2. ทีด่ ดู ปริมาตรตำ่ ใช้ดดู น้ำลายท่ีต้องการความเร็วตำ่ การใช้งานจะตอ้ งใช้แท่งพลาสติกดูดน้ำลาย (Saliva ejector)
มาตอ่ การควบคมุ การทำงานจะมไี มโครสวติ ช์อยทู่ ที่ ว่ี างที่ดูดนำ้ ลายเมอ่ื ดึงทด่ี ูดน้ำลายออกจากที่วางทดี่ ดู น้ำลายระบบดูด
นำ้ ลายจะทำงาน
การใชง้ านและดแู ลรักษา

1. ขณะปฏบิ ตั งิ านดดู นำ้ ลายในปากผปู้ ว่ ยต้องดูดนำ้ ตามเป็นระยะ เพ่อื ป้องกนั การอุดตันของท่อ
2. เมื่อเปลยี่ นผูป้ ว่ ยต้องดดู นำ้ ในแกว้ นำ้ ผปู้ ว่ ยตามมากๆ และเชด็ ทำความสะอาดและฆา่ เช้ือบรเิ วณ
ด้ามจับกา้ นที่ดดู น้ำลายด้วยน้ำยาฆา่ เช้อื

22

3. หลงั เลิกงานใหล้ า้ งตะแกรงกรองใหส้ ะอาดเพื่อท่ีจะไดป้ ระสทิ ธิภาพการดดู ทดี่ ี
4. ควรตรวจสอบ Suction case วา่ ปิดฝาไดส้ นทิ และ Suction caseเสยี บสนิทไมม่ ีลมรวั่ กรณใี สไ่ มส่ นทิ
จะทำให้ทด่ี ดู น้ำลายปรมิ าตรสงู ทำงานไดไ้ มด่ ี ห้ามดึง Suction caseออกมาลา้ งทั้งชดุ เนือ่ งจากการถอดใส่
หากไมท่ าวาสลินใหด้ ีจะใสย่ าก ใหถ้ อดเฉพาะตะแกรงกรองออกมาลา้ งทำความสะอาด
อ่างบว้ นน้ำลาย สว่ นประกอบ

1. อา่ งเซรามิก เป็นทร่ี องรบั นำ้ ลาย จะมตี ะแกรงกรองเศษวสั ดทุ ี่ผู้ปว่ ยบ้วนลงในอา่ ง
2. ก๊อกนำ้ ล้างอา่ งบว้ นนำ้ ลาย มปี มุ่ หมุน/กด เปดิ ปดิ นำ้ ล้างอ่างบ้วนน้ำลายเวลาผูป้ ่วยบว้ นนำ้ ลาย
การใช้งานและดแู ลรักษา

1. ขณะทำการรกั ษาใหผ้ ู้ชว่ ยเปิดกอ๊ กน้ำลา้ งอ่างบ้วนนำ้ ลายเปน็ ระยะ
2. เมือ่ เลิกงานให้เปดิ ก๊อกนำ้ ลา้ งอ่างบว้ นนำ้ ลายรว่ มกับเทนำ้ จากแกว้ นำ้ ผู้ปว่ ยลา้ งทำความสะอาด
3. หลังเลกิ งานให้ใชน้ ำ้ สบ่แู ละฟองนำ้ ล้างอา่ งบว้ นปากใหส้ ะอาด ราดนำ้ รว่ มกับเปดิ กอ๊ กนำ้ ล้างอ่างบ้วนน้ำลาย
ให้สะอาด ปรบั ยนู ิตใหส้ งู เพ่ือใหท้ ่อน้ำท้งิ ในยนู ติ ตรงไม่พับงอและเกดิ การตกคา้ งของส่งิ สกปรก
4. กรณีมีกลนิ่ ข้ึนมาจากอ่างบว้ นปากอาจใชน้ ้ำยาฆา่ เช้อื ล้างทำความสะอาดเป็นครัง้ คราวไป
ทวี่ างแกว้ น้ำ

สว่ นประกอบ

1. ทว่ี างแก้วนำ้ พร้อมชุดควบคุม เป็นทีว่ างแก้วน้ำ ขา้ งใต้มชี ุดควบคมุ การเปดิ ปดิ ของโซลนิ อยด์วาลว์ ในการเปดิ ปดิ นำ้
โดยใช้ระบบถ่วงน้ำหนัก เมื่อน้ำหนักเพียงพอโซลินอยดว์ าลว์ ก็จะปดิ นำ้ ไม่ใหไ้ หลลงแก้วน้ำ

2. ท่อน้ำสำหรบั เติมลงในแกว้ นำ้ บ้วนปากตอ่ กับระบบนำ้ ยูนิตเมือ่ โซลนิ อยด์วาลว์ เปดิ น้ำกจ็ ะไหลจากทอ่ ลงแกว้ นำ้
และปดิ เม่ือโซลนิ อยด์วาล์วปิดน้ำ
การใช้งานและดูแลรกั ษา

1. หลงั เลกิ งานลา้ งและเชด็ ทำความสะอาดด้วยผ้าชุบนำ้ หมาดๆ
2. กรณีทน่ี ้ำไมไ่ หลหา้ มนำแก้วนำ้ วางท่ีทีว่ างแกว้ น้ำเพราะเมือ่ ผู้ป่วยบ้วนน้ำน้ำในแกว้ จะลดลงหรดื หมดเมื่อนำไปวาง
สวิตช์ก็จะทำงานตลอดเวลาจะทำให้ชดุ ควบคมุ ไหม้และเสยี หายได้
3. กรณที ีป่ รมิ าตรนำ้ ในแก้วไมเ่ หมาะสมให้แจ้งเจ้าหน้าทปี่ รับตง้ั ปรมิ าณนำ้ ให้เหมาะสม
กระบอกน้ำอัดอากาศ

เป็นสว่ นของยนู ติ ทนั ตกรรมทอี่ ยดู่ า้ นข้างบริเวณเสาโคมไฟสอ่ งปากมหี นา้ ท่ีส่งนำ้ จา่ ยระบบดา้ มกรอฟนั และ

ท่ฉี ดี น้ำสามทาง (Triple syringe) โดยอาศยั แรงอัดอากาศเข้าไปในกระบอกนำ้ เม่อื เปดิ วาล์วแรงดันอากาศจะดันน้ำ

ไปตามสายน้ำเข้าสรู่ ะบบ

สว่ นประกอบ
1. กระบอกน้ำ เปน็ ทเ่ี กบ็ นำ้ และอากาศทถี่ กู อัดเข้ามาในถัง
2. วาล์วปล่อยน้ำและระบายแรงดันอากาศ
3. สกรปู ดิ เปดิ สำหรบั เตมิ น้ำ
4. Pressure gauge บอกแรงดันในกระบอกนำ้ อัดอากาศ

23

การใชง้ านและดแู ลรกั ษา

1. การเตมิ น้ำ ใช้น้ำกลน่ั ให้ ปิด Main switch ยนู ิต ปดิ วาล์วลมเข้าในกระบอกนำ้ แลว้ จงึ เติมนำ้ ประมาณ ¾
ของกระบอกเปดิ วาลว์ ลมพรอ้ มใช้งาน

2. ล้างทำความสะอาดกระบอกน้ำทกุ 3เดอื นโดยเจ้าหนา้ ท่ี(ถงั นำ้ รนุ่ ใหม่จะออกแบบใหถ้ อดลา้ งงา่ ยสามารถถอดล้าง
ไดท้ กุ สัปดาห)์

3. กรณไี ม่ไดใ้ ช้งานยนู ติ เป็นเวลานานให้ระบายน้ำในกระบอกและในท่อระบบทัง้ หมดเพ่อื ป้องกันการสะสมของเชื้อ
แบคทเี รีย และตะไคร่นำ้ ในระบบนำ้ ยนู ิต

ดา้ มกรอฟนั และระบบควบคุม

1. ด้ามกรอฟันความเร็วสูง
หมนุ เข็มกรอฟันดว้ ยแรงดนั ลม พน่ ทำให้กังหัน (Turbine) ภายในดา้ มกรอฟันซึ่งยึดกับเขม็ กรอฟันดว้ ยจำปา

(chuck)เมื่อเหยยี บสวิตชเ์ ท้าจะทำใหโ้ ซลนิ อยด์วาล์ว/วาลว์ ลมเปดิ ให้ลมพน่ ไปทีกังหนั นอกจากนต้ี ้องมรี ะบบระบายความร้อน
จากการกรอฟันดว้ ยนำ้ ทีฉ่ ดี พ่นโดยอาศัยแรงดนั ในกระบอกอัดอากาศ

สว่ นประกอบ
1. ดา้ มกรอฟนั มี 2 ชนิดตามชนดิ ของสว่ นยดึ กังหันใหท้ ำงานอยู่ใน Head casing ดงั น้ี
1.1 Ball bearing ส่วนยดึ เป็นลกู ปืน 2 ตลบั บน-ล่างประคองกังหันให้หมนุ หากลกู ปืนสกปรกหรือแตก

ก็จะมีเสียงดังหรอื ไม่หมุนได้ ปัจจบุ ันในคลินิกทันตกรรมมักใชแ้ บบน้ี เนอ่ื งจากสามารถกดไดเ้ ลก็ นอ้ ยขณะกรอ
1.2 Air bearing ส่วนของกังหันลอยอยู่ใน Head casing ดว้ ยลมท่อี อกแบบใหป้ ระคองกังหันไว้ได้ ใช้น้อยลง

ไม่สามารถออกแรงกดไดเ้ พราะเขม็ กรอฟันจะหยดุ เน่ืองจากไม่ใชล้ กู ปืน จึงไม่จำเป็นต้องใชน้ ำ้ มนั หลอ่ ล่นื แตย่ งั ต้องล้าง
สงิ่ สกปรกภายใน Head casing ปัจจบุ นั ในคลนิ กิ ทันตกรรมไมใ่ ช้รนุ่ นีแ้ ลว้

2. Connector ปัจจบุ นั ทีน่ ิยมใช้จะเปน็ แบบ Quick-joint (Rotor quick) ซงึ่ การถอดใสท่ ำไดส้ ะดวกโดย
สว่ นปลายของ Rotor quick จะไปเสยี บกบั ด้ามกรอฟนั มียางตัวโอรปู วงแหวน(O-ring) ควบคุมการจา่ ยนำ้ ลมเขา้ ดา้ ม
กรอฟนั ใหถ้ ูกช่องหากยางบิ่นขาด จะทำใหร้ ะบบน้ำลมท่ีจ่ายเขา้ ส่ดู ้ามกรอฟันผิดปกติ

3. Hoses เปน็ ส่วนของปลายสายที่จะมาตอ่ กบั Connector หากมกี ารร่ัวของแผน่ ยางรอง หรือขัน Hosesไมส่ นทิ กับ
Connector จะทำใหเ้ วลากรอฟนั นำ้ /ลมรั่วออกบริเวณดังกลา่ ว

4. สวติ ช์เท้าควบคุมการการทำงานดา้ มกรอฟัน
5. วาล์วปรับปริมาณน้ำ จะอย่บู รเิ วณใต้ถาดวางเครื่องมอื ปรบั นำ้ ใหพ้ น่ น้ำท่ีเขม็ กรอฟันปริมาณเหมาะสม

การใช้งานและดแู ลรักษา

1. การใส่ถอดดา้ มกรอฟันจาก Quick-joint ต้องใส่ใหถ้ กู ตอ้ งมิฉะน้ันเวลากรอฟันดา้ มกรอฟันจะหลดุ จาก Quick-
joint หรอื จะทำให้ O-ring บิน่ หรอื ขาดได้

2. การใสถ่ อดเขม็ กรอฟนั การเดนิ ดา้ มกรอฟนั ตอ้ งใสเ่ ข็มกรอฟันเสมอเพอื่ ใหเ้ กดิ การสมดลุ ของการหมนุ ของ Turbine
โดย

2.1 แบบใชค้ วามฝืด(Friction grip) ใส่เขม็ กรอแล้ววางเขม็ กรอบนท่ีถอดใสเ่ ขม็ กรอฟนั และกดเข็มกรอฟนั
ใหเ้ ข้าที่ กรณฝี ืดมากอาจเกิดจาก chuck สกปรก ให้พน่ นำ้ มันหลอ่ ลนื่ บริเวณ chuck หากยังฝืดให้ส่งเจา้ หนา้ ท่ใี ห้ถอดลา้ ง

24

2.2 แบบ push buttonจะมปี มุ่ กดทบี่ ริเวณ Head casing เวลาใส่-ถอดใหก้ ดปุม่ คา้ งไว้และใส่-ถอด
ดา้ มกรอฟนั จากนนั้ ปล่อยปมุ่ กด

3. การใช้งานการกรอฟนั ก่อนกรอฟนั ปรับนำ้ และลมให้พอเหมาะ ใหป้ ริมาณน้ำหล่อเยน็ เพยี งพอ และพน่ มา
ที่บริเวณ cutting edge ของเบอร์ ขณะกรอสังเกตการหล่อลน่ื นำ้ วา่ ทิศทางน้ำไปหล่อเย็นบรเิ วณท่กี รอหรือไม่
กล่ินของฟนั ที่กรอหากมีกลิน่ ผิดปกตใิ หต้ รวจดกู ารหลอ่ เยน็ การกรอไม่ควรใชแ้ รงกดจะทำใหด้ ้ามกรอฟนั ชำรดุ ได้ง่าย
ถึงแม้จะเป็นแบบ Ball bearing กต็ าม

4. การดแู ลรักษาและทำใหป้ ลอดเชอ้ื มีขั้นตอนดงั น้ี
4.1 เดินเคร่อื งพน่ นำ้ 20 วนิ าที โดยมีเขม็ กรอฟนั อยดู่ ้วย ภายหลงั ใหก้ ารรักษาผ้ปู ว่ ย
4.2 ถอดเขม็ กรอฟนั แลว้ ลา้ งด้ามกรอฟนั ดว้ ยแปรงกบั นำ้ สบู่ แลว้ เชด็ ใหแ้ หง้
4.3 ฉดี นำ้ มนั หล่อลน่ื บรเิ วณด้านท้ายดา้ มกรอฟนั และบรเิ วณที่เสยี บเขม็ กรอเดินเครอื่ งพ่นนำ้ มันส่วนเกินออก

โดยมเี ข็มกรอฟนั อยดู่ ว้ ย จากนัน้ ใช้ผา้ เช็ดนำ้ มนั ส่วนเกิน
4.4 ใส่ซองซลี สง่ อบไอน้ำ

2. ดา้ มกรอฟันช้าชนดิ หักมุม (Contra angle handpiece)ชนดิ หกั มมุ
1. ส่วนใหก้ ำลังในการหมุน มี 2 แบบ
1.1 Micromotorทีก้านเสยี บดา้ มกรอฟนั จะมมี อเตอรข์ นาดเล็กใหก้ ำลงั ในการหมุนสง่ ผา่ แกนหมุนส่ดู ้าม

กรอฟัน การหมุนจะมีป่มุ ทีถ่ าดเคร่อื งมอื เพื่อปรบั ให้ดา้ มกรอฟนั หมนุ ตามเขม็ -ทวนเขม็ นาฬกิ า

1.2 Air motor ทก่ี า้ นเสียบจะมกี ังหันลมอยู่ เมอื่ ใหล้ มผา่ นกงั หันก็จะหมุนแกนหมุนส่งแรงสู่ด้ามกรอฟัน
มีปมุ่ ปรบั ที่ดา้ มเพอื่ ปรบั ทศิ ทางลมใหด้ ้ามกรอฟันหมนุ ไปทางขวา(R)หรอื หมุนไปทางซ้าย(L)ปัจจุบนั คลินิกทันตกรรมใช้ระบบนี้

ทงั้ หมด

ดา้ มกรอฟันมีหลายแบบให้เลือกใช้มากมายทน่ี ยิ มใช้มี 2 แบบคือ

1. ด้ามกรอฟนั ตรง(Straight hand piece) ส่วนของดา้ มกรอฟันและทิศทางการกรอฟันเปน็ แนวเดยี วกนั
ใช้กรอฟันปลอม กรอกระดูกในการผา่ ตดั
2. ด้ามกรอฟันหกั มมุ (Contra-angle hand piece) สว่ นของด้ามกรอฟนั และทิศทางการกรอฟันเป็นคนละแนว
โดยทำมมุ กบั ด้ามกรอฟันเปน็ มมุ แหลม ใชก้ รอฟันทีต่ อ้ งการความรู้สกึ สัมผสั ในการกรอ เชน่ การกำจัดรอยผุ เปน็ ตน้

การใชง้ านและการดูแลรกั ษา
1. การใส่ด้ามกรอฟนั กบั ส่วนใหก้ ำลงั การหมุนใหเ้ สียบด้ามกรอฟันเข้าไปกับกา้ นสว่ นใหก้ ำลังจนดา้ มกรอฟันล็อกกบั

กา้ นเสียบ การถอดใหด้ ึงออกมาตรงๆ ยกเว้นบางรุ่น จะมหี มดุ ให้กดคลายลอ็ กด้ามกรอฟันจากกน้ ส่วนส่งกำลัง
2. การถอดใส่เขม็ กรอฟัน การใสเ่ ขม็ ใสเ่ ขม็ โดยใหร้ อยบากตรงกบั ตำแหนง่ ท่ีลอ็ กเข็มกรอฟันสามารถสับเข้าลอ็ กได้

การถอดเข็มกรอ ใหด้ นั ทล่ี อ็ กเข็มกรอฟนั ออกไปด้านขา้ ง และดึงเขม็ กรอฟนั ออกส่วนแบบpush button จะมปี ุ่มกดท่ี
บรเิ วณHead casing เวลาใส่-ถอดให้กดปุ่มคา้ งไวแ้ ละใส่-ถอดดามกรอฟันจากนน้ั ปลอ่ ยปุม่ กด

3. การดูแลรกั ษาและทำใหป้ ลอดเช้ือมขี ัน้ ตอนดังนี้
3.1 ล้างดว้ ยแปรงกับนำ้ สบู่แล้วเชด็ ใหแ้ ห้ง
3.2 ฉีดนำ้ มนั หลอ่ ลื่นบรเิ วณด้านทา้ ยและท่ีเสียบด้ามกรอฟัน (แบบ push button) แลว้ เชด็ นำ้ มนั

ส่วนเกนิ ออก
3.3 ใสซ่ องซลี ส่งอบไอน้ำ

25

สรปุ ขน้ั ตอนขบวนการปลอดเชอ้ื ในคลินกิ ทันตกรรมเพื่อการเรยี นการสอน

1. การเตรยี มยนู ติ ก่อนเร่ิมปฏิบัตงิ าน

1.1 ใชข้ วดสเปรย์ท่บี รรจุน้ำยา zeta-3 ฉดี พ่นสว่ นตา่ งๆของยูนิตทำฟนั ทงิ้ ไว้ 3-5 นาที แล้วใชส้ ำลีแผน่
หรือผา้ สะอาดเชด็ ให้แหง้ ดงั รายการต่อไปน้ี

เก้าอี้ผ้ปู ่วยสว่ นทเี่ ปน็ เบาะหนังที่วางแขนผู้ป่วย และสวิตชป์ รบั เก้าอี้
เกา้ อโ้ี อเปอเรเตอร์
ถาดวางเครอื่ งมอื และดา้ มจับถาดวางเครอื่ งมอื รวมถึงสวติ ชป์ ิด – เปดิ ยนู ติ ท่ีดฟู ิลม์
ถาดวางด้ามกรอฟัน
อ่างบ้วนปากผ้ปู ่วย
1.2 นำสำลแี ผ่นชบุ นำ้ ยา zeta-3 หมาดๆ หรือใช้ zeta-3 wipe(แผน่ เชด็ ฆ่าเช้อื ) โดยใชผ้ า้ กอซ 2 ชน้ิ ชุบนำ้ ยาzeta-
3 หมาดๆ ช้นิ ท1่ี เชด็ คราบสกปรกดา้ นนอกออกชนิ้ ท่ี 2 เชด็ ซำ้ อกี ครง้ั ทงิ้ ไว้ 3-5 นาที โดยเช็ดอปุ กรณด์ งั ต่อไปน้ี

ดา้ มจับโคมไฟสอ่ งปาก
ดา้ มกรอฟนั ความเร็วสูงและความเรว็ ตำ่
ที่เป่าลมและนำ้ สามทาง (Triple syringe)
ดา้ มจับทด่ี ดู นำ้ ลายความเรว็ ต่ำและสงู
1.3 ใช้ พลาสติกคลมุ ปดิ (Wrap) พนั ด้ามจบั โคมไฟ และด้ามจบั ทด่ี ดู น้ำลายความเร็วต่ำและสงู

1.4 จดั เตรยี มวัสดเุ ครอื่ งมอื ในการรักษา

2. ช่วงเปลี่ยนผปู้ ว่ ยเมือ่ ทำการรกั ษาผู้ป่วยรายแรกเสร็จแล้ว

2.1 ใช้ทด่ี ูดนำ้ ลายความเรว็ สูงและท่ดี ูดน้ำลายความเรว็ ตำ่ ดูดนำ้ ในแก้วน้ำ ประมาณ 1-2 แกว้
เพ่ือกำจัดคราบเลือด และน้ำลายท่ตี กค้างในทอ่

2.2 เปดิ น้ำอา่ งบว้ นปาก ล้างทำความสะอาด

2.3 แกะวัสดคุ ลมุ ปดิ ออก และเปล่ยี นวสั ดุใหม่

2.4นำสำลแี ผ่นชบุ นำ้ ยาzeta-3 หมาดๆหรอื ใช้zeta-3 wipe(แผ่นเชด็ ฆ่าเช้อื ) โดยใช้ผา้ กอซ 2 ชน้ิ ชุบน้ำยาzeta-3
หมาดๆชนิ้ ที่1 เช็ดคราบสกปรกดา้ นนอกออกชิน้ ท่ี 2 เช็ดซำ้ อกี คร้งั ทงิ้ ไว้ 3-5 นาที โดยเช็ดอุปกรณด์ ังตอ่ ไปน้ี

ทว่ี างดา้ มกรอฟันความเร็วสงู และความเร็วตำ่
ด้ามจบั กรอฟนั ช้าส่วนส่งกำลัง และ สายตอ่ ดา้ มกรอฟนั เรว็ (Quick joint)
ที่วางที่เปา่ ลมและนำ้ สามทาง (Triple syringe)
ท่ีเป่าลมและนำ้ สามทาง (Triple syringe)
ทว่ี างทีด่ ูดน้ำลายความเรว็ ตำ่ และสงู
2.5ให้เปล่ียนผ้าคลุมถาดวางเคร่อื งมือบนยนู ติ ทุกคร้งั การฆ่าเชอ้ื ในแตล่ ะวันใหท้ ำเมอ่ื จะเร่มิ ทำการรกั ษาผ้ปู ่วย

คนเเรก , เมือ่ เปลย่ี นผปู้ ่วยทกุ ครัง้ และทำอีกครง้ั เม่ือใหก้ ารรักษาผ้ปู ว่ ยคนสดุ ทา้ ยเสร็จ

26

3 .การฆา่ เชือ้ เม่อื รักษาผ้ปู ว่ ยคนสดุ ท้ายเสร็จ ใหท้ ำเหมือนในข้นั ตอนการเตรียมยูนติ สว่ นท่เี พม่ิ เติม คือ
3.1 ใชท้ ดี่ ดู นำ้ ลายความเรว็ สงู และทด่ี ูดน้ำลายความเร็วตำ่ ดูดน้ำในแก้วนำ้ ประมาณ 1-2 แกว้

เพอ่ื กำจดั คราบเลอื ด และน้ำลายท่ีตกค้างในทอ่
3.2 ดูแลรกั ษาด้ามกรอฟันความเรว็ สงู และดา้ มกรอฟนั ชนิดหกั มมุ
3.3 นำเครอื่ งมือทุกอยา่ ง ยกเวน้ ดา้ มกรอฟนั แช่ในนำ้ ผสมน้ำยาล้างจาน กอ่ นนำไปลา้ งทำความสะอาดตามปกติ
3.4ทำความสะอาดพ้ืนผวิ ต่างๆ ตามขน้ั ตอนการกำจดั สิ่งตกคา้ งและการฆ่าเชื้อ ดงั กล่าวมาแลว้ ในข้อ 1
3.5 แผ่นกนั หนา้ (Face shield) ลา้ งดว้ ยน้ำสบู่ แล้วใชผ้ า้ เช็ดใหแ้ หง้ ใชข้ วดสเปรยท์ บี่ รรจนุ ้ำยาzeta-3

ฉดี พ่นทง้ิ ไว้3-5 นาทแี ลว้ ล้างดว้ ยนำ้ สบ่แู ล้วใชผ้ ้าเชด็ ให้แห้ง
3.6 เคร่อื งมอื ทแ่ี ช่นำ้ ผสมน้ำยาลา้ งจานแล้วให้ล้างทำความสะอาดแลว้ เช็ดให้แห้ง ชุดอดุ -ถอน-ขดู หนิ น้ำลาย

ใหจ้ ัดใส่ถาด หอ่ ผ้าใหเ้ รยี บรอ้ ยเพอ่ื ทำใหป้ ราศจากเชอ้ื ด้วยการนึ่ง autoclave ต่อไป
3.7 เคร่อื งมือที่ต้องแชใ่ นน้ำยา zeta-3 เชน่ Dappen glass, Mouth prop, Plastic instrument, rubber cup

เม่ือแช่ครบตามเวลาทก่ี ำหนดแล้วให้นำไปผา่ นน้ำกลนั่ เชด็ ดว้ ยผา้ ทปี่ ราศจากเชอื้ ก่อนนำไปใชง้ านหรอื เกบ็ ไวใ้ นCotton
container ในลน้ิ ชกั

3.8 เขม็ กรอฟัน ล้างทำความสะอาดดว้ ยแปรงขนอ่อนชุบน้ำสบู่ เช็ดใหแ้ หง้ แล้วนำไปผ่านนำ้ ยากนั สนิม
แล้วเป่าลมใหแ้ ห้ง จดั ใสล่ งถาดแกว้ แล้วสง่ อบฆา่ เช้อื ด้วยความร้อนแหง้ (hot air oven)

3.9 ถอดปลายที่ดดู น้ำลายออกแล้วปฏบิ ตั ดิ งั น้ี
- ทดี่ ดู นำ้ ลายความเร็วสงู แชใ่ นน้ำผสมน้ำยาลา้ งจาน ประมาณ 10 นาทแี ลว้ จงึ ลา้ งเหมือนเคร่อื งมือทวั่ ไป
- สว่ นทอ่ ดดู นำ้ ลายความเร็วตำ่ ทท่ี ำจากพลาสติกให้ใชแ้ ลว้ ทงิ้ ลงในถังขยะติดเช้อื

3.10ใหน้ ักศึกษาใช้ผา้ ห่อเคร่ืองมือปบู นถาดวางเครื่องมือของยนู ติ กอ่ นการรกั ษาผ้ปู ่วย เม่ือรกั ษาผู้ปว่ ยเสรจ็
ให้เกบ็ ผา้ หอ่ เครอ่ื งมือซักและเบิกผา้ ผืนใหม่ทห่ี อ้ งจา่ ยกลางเพอ่ื ห่อเครื่องมือกอ่ นส่งฆ่าเชื้อ

3.11 อ่างบว้ นปากและตะแกรงกรอง หลงั เลกิ งานให้ล้างทำความสะอาดด้วยน้ำสบทู่ กุ วัน

ทีม่ าภาพ https://qrgo.page.link/synHh

27

การปฏิบัตติ ัวเพ่ือควบคมุ และปอ้ งกันการติดเช้ือในคลินกิ

1.เปลี่ยนรองเท้าก่อนเขา้ คลนิ กิ ทกุ ครง้ั รองเทา้ ในคลินิกหา้ มใส่ออกนอกคลนิ ิก

2.สวมเสอ้ื คลุมขณะปฏบิ ัตงิ าน

3.ลา้ งมอื ใหส้ ะอาดกอ่ นและหลงั ใส่ถงุ มือทกุ คร้งั

4.ใส่ถงุ มือผ้าปิดปากหมวกคลมุ ผมและแผน่ กันหนา้ ในขณะทำงานทกุ ครัง้ โดยเฉพาะทม่ี กี ารฟุ้งกระจายกระเดน็ ของเลือด

น้ำลาย และเศษวสั ดุ

5.ล้างมือทุกครง้ั ท่ีสมั ผสั กับนำ้ ลายและเลือดของผปู้ ่วยก่อนจะไปสัมผสั กบั อุปกรณว์ สั ดเุ ครื่องมือเคร่ืองใชใ้ นคลนิ ิกเช่นสมดุ

ดินสอ คาบิเนตสวิตช์ตา่ งๆปากคบี (forceps) ชนดิ ต่างๆวสั ดทุ ันตกรรมตา่ งๆ

6.การใช้ปากคบี จับเคร่อื งมอื อปุ กรณ์ที่ปราศจากเชอ้ื ให้จับดว้ ยความระมดั ระวังระวังการปนเป้ือนอยา่ ใหส้ ว่ นปลายสัมผัสกบั
ส่งิ ที่ ไม่ปราศจากเชือ้ เชน่ สัมผสั ขอบโต๊ะขอบคาบิเนตหรอื ขอบนอกของdressing drum การจับถาดใส่เครอื่ งมอื ใหจ้ บั บรเิ วณ

ขอบไมว่ างนิว้ ลงในถาดท้ังทใ่ี สห่ รอื ไม่ใส่ถงุ มอื

7.การหยิบถ่ายวัสดุเครื่องมือที่ปราศจากเชื้อให้ทำด้วยความระมัดระวังและใช้เวลาสั้นที่สุดเท่าที่จะทำได้เพื่อ ป้องกันการ
ปนเปอื้ น ไมพ่ ดู คุยกนั ขณะเปดิ ภาชนะท่ีปราศจากเช้ือแล้วไม่เปิดท้ิงไว้นานเกินจำเป็นใชง้ านเสร็จแลว้ รีบปิดทนั ที

8. การหยบิ จับต้องวสั ดเุ คร่ืองมือตา่ งๆอย่าจบั บรเิ วณทีเ่ ปน็ จดุ ใช้งาน (working point) หรอื บรเิ วณท่จี ะตอ้ งสมั ผัส

กับเนื้อเยื่อโดยตรงควรจบั บรเิ วณขอบหรอื ส่วนท่ไี มไ่ ดใ้ ช้งานโดยตรงหรอื สัมผัสกบั เนื้อเยือ่ เช่น

-เข็มกรอฟนั (bur) ควรจับท่ีกา้ น

-กระบอกฉดี ยาชนดิ แกว้ (glass syringe) ตัวลูกสบู ควรจับท่สี ว่ นปลายไม่ควรจับทต่ี รงแกนกลาง

-การเปิดปดิ ไฟควรใชห้ ลงั มอื

-การเปิดฝากระปกุ สำลคี วรใช้นิว้ กอ้ ยเก่ียว

-การจบั ถาดบรเิ วณขอบตอ้ งไมล่ ำ้ เข้าไปจบั ในตวั ถาด -

การจับเครื่องมือตา่ งๆเม่ือล้างมอื สะอาดแล้วควรหลกี เล่ียงการจบั บรเิ วณท่ีต้องการการปราศจากเชื้อมากท่ีสุดเพ่อื เป็นการลด

การปนเปอื้ น

9.การทำความสะอาดโดยทวั่ ไปตอ้ งเช็ดถไู ปทางเดียวไมถ่ กู ลับไปกลบั มาเพราะจะทำใหเ้ กดิ การปนเปอื้ นของเชื้อโรคดงั นนั้ จึง

ควรเรม่ิ ทำความสะอาดโดยการเชด็ ออกจากสว่ นท่ตี อ้ งการใหส้ ะอาดที่สดุ ไปยงั ส่วนทต่ี ้องการใหส้ ะอาดนอ้ ยกวา่ เชน่ การเชด็
ด้ามกรอฟนั (Handpieces) และTripple syringeควรเชด็ จากปลายไปสโู่ คนสำหรับการเตรียมสำลชี ุบแอลกอฮอล์

ให้รนิ จากขวดไมจ่ มุ่ สำลลี งในขวดนำ้ ยา

28

10.ในบรเิ วณที่ปราศจากเชอื้ การหยบิ จับต้องมีการป้องกนั หรอื มีตัวกลางเสมอเช่นการหยบิ เครื่องมือปราศจากเชอ้ื ตอ้ งใช้

sterilizing forceps หรอื dressing forceps

11.บริเวณท่ีปราศจากเชื้อตอ้ งหยบิ จับตอ้ งเฉพาะจุดไมค่ วานไปทว่ั หรอื หยิบแบ่งมาใช้เฉพาะงานแยกทำเปน็ ส่วนๆไม่ปะปนกัน
เพ่ือปอ้ งกนั การปนเปอ้ื นทั้งหมดเช่นการคีบสำลผี า้ กอซหยบิ เฉพาะชิน้ ไม่ควรใหป้ ากคีบไปโดนส่วนอนื่ ๆ

12.นักศกึ ษาต้องวเิ คราะห์และตรวจสอบขั้นตอนการทำงานวา่ มีขน้ั ตอนการทำงานอยา่ งไรข้ันตอนไหนก่อนหลัง

ข้ันตอนใดท่ีต้องการความสะอาดปราศจากเช้อื ขั้นตอนใดไมต่ ้องการเพื่อจะได้ระมัดระวงั และควบคมุ การติดเชื้อ

ไดว้ ่าสง่ิ ใดจบั ตอ้ งได้ สิ่งใดต้องลา้ งมือให้สะอาดก่อนสิง่ ใดท่ปี นเปอื้ น

13.เม่อื สัมผสั สิ่งทปี่ นเปือ้ นเช่นนำ้ ลายเลือดของผู้ป่วยก่อนไปสมั ผสั สิง่ อื่นตอ้ งลา้ งมือทกุ ครง้ั

14.เม่อื ตอ้ งสมั ผสั สงิ่ ทไี่ ม่ได้ฆา่ เชื้อเช่นโตะ๊ เกา้ อสี้ มุดดนิ สอปากกาบตั รเอกสารเวชระเบียนอ่นื ๆควรสวมถงุ มือปรงุ อาหารทับถุง
มืออีกช้นั และถ้าจะตอ้ งกลบั ไปทำงานซึ่งต้องมีการสมั ผัสกบั เคร่ืองมอื ทปี่ ราศจากเชื้ออีกต้องถอดถุงมือปรุงอาหารทคี่ ลมุ ทับ
ออกก่อน จงึ จะหยิบเครอ่ื งมือที่ปราศจากเช้อื

การทำความสะอาด การฆ่าเชือ้ และการทำให้เครือ่ งมอื ปราศจากเชอื้

1. เครื่องมือทุกชนิด เชน่ ชดุ ตรวจฟัน อดุ ฟัน ขดู หนิ ปูน ถอนฟันแกว้ นำ้ ถว้ ยทง้ิ สำลี ยกเวน้ หัวกรอเรว็
หัวกรอช้า หัวขดู หนิ นำ้ ลายให้แชใ่ นน้ำผสมน้ำยาลา้ งจานลา้ งเครื่องมอื โดยสวมถุงมอื ชนดิ หนาทุกคร้งั เพอื่ ป้องกัน

อันตรายทอี่ าจเกดิ จากของมคี มทมิ่ แทงเนอ้ื เย่ือ

2.หลังล้างเครือ่ งมอื สะอาดแลว้ เชด็ ใหแ้ ห้งและจัดชุด หอ่ ผ้าใหแ้ นน่ หนา เขียนชอื่ นามสกลุ และรหสั ยนู ิตท่นี ัง่

ตดิ ด้วยเทปกาว นำใสห่ ่อผ้าท่เี ขยี นช่อื นามสกุ ลของผสู้ ง่ ใหเ้ รยี บร้อยให้นกั ศกึ ษาทีม่ หี นา้ ทน่ี ำเคร่ืองมือทง้ั หมด

ไปส่งอบฆ่าเช้อื หอ้ ง Supplyกอ่ น 12.30 น.ในวันทมี่ กี ารเรียนการสอน และไปรบั เครื่องมอื ท้ังหมดกลบั มากลบั มาจากห้อง

Supply กลาง ในวนั ศกุ ร์ (ตอ้ ง Scan ส่ง ทกุ ครั้ง) แลว้ นำมาสง่ ใหเ้ จ้าหน้าทห่ี ้องจา่ ยกลางเพื่อใชส้ ำหรับการเรยี นการสอน

สปั ดาห์ถดั ไป

3. เครือ่ งมือ อปุ กรณต์ า่ งๆ ทีเ่ บิกเพ่มิ จากห้องจา่ ยกลาง เชน่ ชดุ ฉีดยาชาเครอื่ งมอื ถอนฟันหลงั ทำการลดเช้ือ

และลา้ งสะอาดตามขัน้ ตอนดังที่กล่าวมาแลว้ ขา้ งต้น ให้ส่งคนื ห้องจ่ายภายในวันท่ปี ฏบิ ตั งิ านทนั ที

- ผา้ เช็ดมอื ให้เปล่ียนทุกคร้ังเมอื่ เปล่ยี นผู้ปว่ ยแตล่ ะรายหรือเมอ่ื ผา้ เปียก

- หูฟงั (stethoscope) ให้เช็ดสว่ นหฟู ังและด้านทใ่ี ชฟ้ ังเสียงด้วยสำลีชุบอลั กอฮอลล์

- เครื่องขดู หินน้ำลายไฟฟา้ เมอ่ื เลิกใช้งานแลว้ ใหท้ ำความสะอาดโดยเดนิ น้ำผ่านดา้ มและหัวขดู เป็นเวลา20 วนิ าที
แล้วถอดหัวขูดออกและฆา่ เช้อื บรเิ วณดา้ มจับเครือ่ งขดู หินนำ้ ลาย โดยใชผ้ ้ากอซ 2 ชน้ิ ชุบนำ้ ยา zeta-3 หมาดๆชิ้นท่ี1
เชด็ คราบสกปรกดา้ นนอกออก ช้ินที่ 2 เช็ดซำ้ อกี ครั้ง ทงิ้ ไว้ 3-5 นาทกี ่อนส่งคนื หอ้ งจ่ายกลางคลินกิ ภายในวันที่เบกิ

4เขม็ กรอฟันที่ใชง้ านแล้วหลงั จากล้างทำความสะอาดให้ซบั และนำไปผ่านน้ำยาโซเดยี มไนไตรดจ์ ากนนั้ ซบั แล้ว

29

เปา่ ลมให้แห้งอกี ครงั้ ก่อนนำใสจ่ านแก้ว(Glass plate)ทม่ี ีฝาปิด สง่ อบ hot air oven ท่หี อ้ ง Supply เข็มกรอฟันทไ่ี มไ่ ด้
ใชง้ านนานเกนิ 3 วนั ตอ้ งส่งอบใหม่

“เขม็ กรอฟันท่ลี ้างไมส่ ะอาด เชด็ ไม่แหง้ จะทำใหม้ ไี อนำ้ เกาะและทำให้เกดิ สนมิ ความคมของเข็มกรอฟันลดลง ”

5เครื่องมอื ทเี่ ปน็ ยาง แก้ว พลาสตกิ เช่น rubber cup , bristle brush ถาดหลุม พกู่ ันหลงั การใช้งานแลว้
ล้างให้สะอาดซบั ให้แหง้ นำไปแชใ่ นนำ้ ยา zeta-3 ประมาณ ในภาชนะทมี่ ีฝาปิด จากน้นั นำไปผา่ นนำ้ กล่นั
กอ่ นใช้งานเชด็ ให้แห้งดว้ ยสำลหี รอื ผ้ากอซแหง้ ท่ีปราศจากเช้ือ

6. กระปุกสำลตี อ้ งเทสำลีออกก่อน,Tray cylinder, sterilizing forceps, dressing forceps ตอ้ งส่งอบฆา่ เชอ้ื

ทุกวนั หลังจากรักษาผู้ปว่ ยเสรจ็

7. ดา้ มกรอความเร็วสงู (Airotor Handpiece) และดา้ มกรอฟนั ช้าชนิดหกั มุม (Contra angle handpiece)
เมอ่ื เชด็ สะอาดแลว้ ใหน้ ำไปฆ่าเชื้อและหล่อลื่น ตามข้นั ตอนดังท่กี ลา่ วไปแล้วขา้ งตน้

8. อ่างบว้ นปากและตะแกรงกรอง หลงั เลิกงานให้ลา้ งทำความสะอาดด้วยนำ้ สบ่ทู กุ วนั

9. ผ้าปราศจากเช้อื ทใี่ ช้วางเคร่ืองมอื ในคาบเิ นตใหส้ ง่ ซกั และอบ ทุกสัปดาห์ ๆ ละ 1 คร้ัง

10. ขยะ ขยะท่เี ป็นของมคี ม เช่น เข็มฉีดยา ใบมดี ใหท้ ิ้งในแกลลอนพลาสติกทม่ี ฝี าปดิ สว่ นขยะติดเช้อื อน่ื ๆ

ให้ท้ิงลงในถงุ ขยะติดเชอ้ื สีแดง

11. เครอื่ งฉายแสง

● กอ่ นใชง้ าน เชด็ ด้วยสำลแี ผน่ ชบุ นำ้ ยา zeta-3 หมาดๆ บรเิ วณ ท่อนำแสง ดา้ มจบั สวติ ซ์
แผน่ กนั แสง ทง้ิ ไว้ 1 นาที

● หลงั ใชง้ านเสร็จ เช็ดด้วยสำลแี ผ่นชุบน้ำยา zeta-3 หมาดๆ บริเวณ ทอ่ นำแสง ด้ามจับ
สวติ ซ์ แผน่ กันแสง เก็บสายไฟใหเ้ รยี บรอ้ ย ส่งคืนหอ้ งจา่ ยกลาง

12. เครอื่ งขูดหนิ นำ้ ลาย ก่อนใช้งาน

● เช็ดดว้ ยสำลแี ผน่ ชบุ นำ้ ยา zeta-3 หมาดๆ บรเิ วณดา้ มขดู หินนำ้ ลาย ปุม่ สวิตซแ์ ละสายตา่ ง ๆ
● เดินเคร่ืองพ่นนำ้ ทิ้ง ประมาณ 20 วินาที
● ตั้งดา้ มขูดหินนำ้ ลายข้ึนในแนวดง่ิ เดินเคร่ืองเพอื่ ให้นำ้ เต็มประบอก แลว้ จึงใสห่ ัวขูดP 10
ลงในดา้ มขดู หนิ นำ้ ลาย

● เดนิ เครื่องเพ่อื ทดสอบปรมิ าณนำ้ ให้พน่ ลงตรงปลายหัวขูด P 10หลงั จากการใชง้ าน
● ถอดหัวขูด P10 ออก เดนิ เคร่ืองพน่ น้ำทิง้ ประมาณ 20 วินาที
● เช็ดดว้ ยสำลแี ผ่นชบุ น้ำยา zeta-3 หมาดๆ บริเวณด้ามขดู หินนำ้ ลาย ปุ่ม สวติ ซแ์ ละสายต่าง ๆ
● เก็บสายไฟใหเ้ รยี บร้อย สง่ คนื หอ้ งจา่ ยกลาง
13. ภาชนะใสเ่ ครื่องมือ sterile Tray cylinder Dressing & Sterilizing forceps ต้องทำการ Re-sterile ทกุ สปั ดาห์

14. การกำจัดขยะ 30

วสั ดุ/อปุ กรณ์ การกำจัดขยะ
ทิ้งในถงุ ขยะติดเชือ้ สีแดง ท้งิ ในภาชนะทไี่ มส่ ามารถแทงทะลุ มฝี าปิด
ถงุ มือยางแบบใชแ้ ลว้ ท้งิ (disposable gloves)
หมวกกระดาษ /
แผน่ กระดาษอนามัยสำหรบั ปิดปาก (mask) /
ผา้ กอ๊ ซและสำลีมว้ นที่เปื้อนเลอื ดและนำ้ ลาย /
ที่ดดู น้ำลายความเรว็ ตำ่ (saliva suction) /
ไหมสดี ำสำหรบั เยบ็ แผล /
กระดาษคารบ์ อนสำหรบั เช็คจุดสบสงู /
ใบมดี ผ่าตัด (surgical blade) /
เข็มฉดี ยาชา (local anesthetic injection)
หลอดยาชาเฉพาะท่ี (local anesthetic drug) /
/
/

15. เครอ่ื งดดู ละอองฝอยนอกชอ่ งปากทางทนั ตกรรม (External Oral Suction) EOS

ภาพแสดง เคร่อื งEOS(External Oral Suction) ทม่ี าภาพ https://qrgo.page.link/Hre9m

ถกู นำมาใช้งานในคลินิกการเรยี นการสอน สำหรับกรณีทีต่ ้องทำงานทีม่ ีการฟุ้งกระจายมากๆ เช่น การขดั ฟนั กอ่ นฟลอู อไรด์
หรือการเคลือบหลมุ รอ่ งฟนั การอดุ ฟัน การขดั วัสดอุ ดุ ฟัน หรือการขดู หนิ น้ำลายโดยใชเ้ ครือ่ ง Ultrasonic Scaler
มขี ั้นตอนในการทำความสะอาด ดงั นี้ พื้นผวิ (Suction Hood ) ในคลินกิ สามารถถอดออกมาล้างดว้ ยนำ้ ยาล้างจาน เชด็ ด้วยผ้า

31

สะอาดให้แหง้ หรือจะใช้ Sterile wipe เชด็ ตามคำแนะนำของบริษทั กไ็ ด้ ปุ่ม แขนต่างๆ แนะนำให้ เช็ดดว้ ย Sterile wipe จาก

บนลงล่าง คลายล็อคท่ขี ้อต่อเล็กนอ้ ยกอ่ นพับอาร์มต่างๆเกบ็ เขา้ ที่แลว้ ขนั นอ็ ตคนื ตำแหน่งเดมิ และเขน็ ไปวางชิดผนงั เก็บปลั๊ก
พ่วงสายไฟไปคืนหอ้ งจา่ ยกลางให้เรียบร้อย

https://youtu.be/uZDFel03zd8

Clip แสดงการใช้งาน เครอ่ื งEOS
16.การส่งเครือ่ งมือฆา่ เชื้อ ใหน้ ักศึกษาแบ่งหนา้ ทห่ี มุนเวียนการนำเครื่องมอื ไปส่งอบฆา่ เช้ือและรบั กลบั มาจาก ทห่ี อ้ ง
Supply กลางเพอื่ สง่ คนื เจ้าหนา้ ทห่ี ้องจา่ ยกลาง เกบ็ ไว้ใชใ้ นสปั ดาหต์ ่อไป

หมายเหตุ

เวลา สำหรบั การสง่ อบเครื่องมอื เพ่ือฆ่าเชอื้ คอื หลงั เสรจ็ ปฏิบัตกิ าร ไมเ่ กนิ 12.30 น.
เวลารบั เคร่อื งมือท่ีฆา่ เชอ้ื แล้ว คือ 08.00 น.ของวนั ถดั มา

ใหน้ กั ศึกษาจดั เวรรบั ผดิ ชอบนำเครื่องมือไปส่งท่ีหอ้ ง Supplyกลาง
และรบั กลับมาส่งคนื ใหท้ ่ีห้องจา่ ยกลางกอ่ น 08.30น.ของวนั ศุกร์
โดยต้อง Scan QR Codeในการคืนเครือ่ งมอื และจัดเกบ็ เขา้ ช่องวางเคร่อื งมอื ให้เรียบรอ้ ย

Hero in white Gown (ท่มี าภาพ https://qrgo.page.link/25mSJ)

32

ปฏิบัติการท่ี 2
การซักประวตั ิ คดั กรอง การตรวจ การวินิจฉัยโรคและวางแผนการรกั ษา

แผนการสอน
วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรรู้ ายปฏิบตั กิ ารเมอ่ื เรยี นจบปฏิบตั กิ ารนแ้ี ลว้ นักศึกษาสามารถ

บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์รายวิชาตามรายขอ้ ดงั นี้
ข้อที่ 2. ตรวจและวินจิ ฉัยโรคโพรงประสาทฟนั และเนอ้ื เย่อื รอบปลายรากฟนั โรคเน้อื เย่ืออ่อนในชอ่ งปาก

ท่พี บบ่อยได้ถูกตอ้ งตามหลักวิชาการ (LO 3.1, 3.3)
ข้อท4่ี .วางแผนการรักษาทางทนั ตกรรมแนะนำหรอื สง่ ต่อผูป้ ว่ ยเพอ่ื ให้ไดร้ ับการรกั ษาตอ่ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องตาม

หลกั วชิ าการและมีความเหมาะสม(LO 2.3, 3.1 ,3.3,6.2,6.4)
ขอ้ ที่6.บันทกึ ผลการซักประวตั ิ การตรวจ วางแผนรักษาทางทันตกรรมและการรักษาลงในเวชระเบียน

ตามขอ้ เท็จจรงิ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง(LO 2.3, 3.1 ,3.3,6.2,6.4)
ขอ้ ท7ี่ .สามารถทำความสะอาดเครอ่ื งมือท่ีใช้ในงานทนั ตกรรมจดั เกบ็ และทำให้ปราศจากเช้อื ได้ถกู ตอ้ งตาม

หลักวิชาการ(LO 1.2,1.3 ,2.3, 3.1 ,3.3,6.2,6.4)
ขอ้ ท่8ี . มีพฤตกิ รรมทางด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรม การเคารพสิทธผิ ใู้ ชบ้ ริการ ความมีวินัย ซื่อสตั ย์ รบั ผดิ ชอบ

มเี จตคติ และเปน็ แบบอย่างทดี่ แี กผ่ อู้ ื่น (LO 1.1, 1.2, 1.3 ,4.2)

วตั ถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เพ่ือให้นักศกึ ษาสามารถ
1. สัมภาษณ์ประวัตผิ ูป้ ว่ ยทางการแพทยแ์ ละทางทนั ตกรรม คดั กรองผปู้ ว่ ยทางทนั ตกรรม ในสถานการณ์

การระบาดของ COVID -19ได้ถูกตอ้ งตามหลกั วิชาการและเหมาะสม
2. ตรวจสภาพชอ่ งปาก บรรยายและวนิ จิ ฉยั โรคในชอ่ งปากได้ถูกตอ้ งตามหลักวิชาการ
3. วางแผนการรกั ษาไดถ้ กู ตอ้ ง เหมาะสม
4. บนั ทึกผลการซักประวตั ิและการตรวจไดถ้ กู ตอ้ ง ครบถ้วน
5. ตระหนักถึงความสำคญั ของการวดั สัญญาณชพี ได้
6. อธบิ ายหลกั การและขน้ั ตอนการวดั สัญญาณชีพได้ถกู ตอ้ ง
7. บอกอุปกรณท์ ใี่ ช้ในการวัดสญั ญาณชพี ไดถ้ กู ตอ้ ง
8. สามารถวัดสญั ญานชีพได้อย่างถกู ต้อง

วัสดอุ ปุ กรณ์ท่ใี ช้ในการเรยี นการสอน
1. ชดุ ตรวจรา่ งกายได้แก่ Stethoscope, thermometer และ Sphygmomanometer
2. แบบฟอร์มการตรวจและวางแผนการรกั ษาทางทนั ตกรรมในค่มู อื บทท2่ี
3. Periodontal probe
4. ชุดตรวจ
5. ใบประวตั ิการรกั ษาผปู้ ่วย OPD Card
6. Saliva ejector

32

33

ข้ันตอนการปฏิบตั งิ าน
1. แบ่งนักศกึ ษาออกเปน็ กลุ่มๆ ละ10-12 คน
2. นกั ศึกษาจบั ค่กู นั เพ่ือสลับกันเป็นผู้ป่วยสมมติ (ครง้ั แรกใหต้ กลงกนั เองวา่ ใครจะเปน็ operatorใครจะเป็น

patient ส่วนครง้ั ทสี่ องให้สลับกนั
3. จดั เตรียมเครอื่ งมอื ตามรายการ “วัสดุอุปกรณท์ ่ใี ช้ในการเรยี นการสอน”
4. ปฏบิ ัตงิ านตาม “ขน้ั ตอนการทำงาน”
5. บนั ทึกการให้การรกั ษาลงในในใบประวตั กิ ารรักษาผูป้ ว่ ย OPD Card

กิจกรรมของอาจารย์
1. รบั ผิดชอบดูแลนักศกึ ษาในกลมุ่ ประจำวนั
2. อธบิ ายขั้นตอนการปฏบิ ตั ิงานในปฏิบตั ิการนี้
3. ใหค้ ำแนะนำ ช้ีแนะแนวทางเมือ่ มปี ญั หาและสังเกตพฤตกิ รรมการปฏิบตั ิงานนักศกึ ษาแตล่ ะคน
4. ให้คะแนนในใบประเมินปฏิบตั กิ ารและคะแนนพฤติกรรมนกั ศึกษาแตล่ ะคน

กจิ กรรมของนักศกึ ษา
1. ศึกษาค้นควา้ ทบทวนความรูภ้ าคทฤษฎี
2. ศกึ ษาขัน้ ตอนการปฏิบตั ิงานจากคมู่ อื ปฏบิ ตั กิ ารคลินิกทันตกรรมเบ้อื งต้น
3. เบกิ จากหอ้ งจา่ ยกลาง คือ ชดุ ตรวจ 1ชุด, Perio dontal Probe1ช้ิน ,แกว้ น้ำ2ใบและ
saliva ejector เครอ่ื งวัดความดนั Stethoscope, Thermometerและ Sphygmomanometer
4. ปฏบิ ัติตามขนั้ ตอนการทำงาน
5. เชิญอาจารยต์ รวจงาน
6. บนั ทกึ การรกั ษาลงในใบประวตั กิ ารรักษาผปู้ ่วย (OPD Card)
7. หลงั จากทำงานเสรจ็ ต้อง ล้างเครอ่ื งมือ เช็ดให้แห้ง ถา้ มีผา้ ห่อเคร่ืองมือมาดว้ ยตอ้ งหอ่ กลับ

ใหเ้ รียบรอ้ ย นำไปสง่ คนื ที่หอ้ งจ่ายกลาง

สื่อการเรียนการสอน
1. คมู่ อื ปฏบิ ตั ิการคลนิ ิกทนั ตกรรมเบอื้ งต้น
2. ตำราเอกสารวชิ าการทเ่ี กีย่ วขอ้ ง
3. Stethoscope Thermometer และ Sphygmomanometer
4. แบบฟอรม์ การตรวจและวางแผนการรกั ษาทางทันตกรรมในภาคผนวก 2 ค่มู อื ปฏิบัติการ

การประเมนิ ผล

1. คะแนนจากแบบประเมิน การคดั กรองผูป้ ่วย การวดั สญั ญาณชีพ (VITAL SIGNS) 20 คะแนน

2. คะแนนจากแบบประเมนิ ทักษะการตรวจและวางแผนการรกั ษา 20 คะแนน

3. คะแนนจากแบบประเมนิ พฤตกิ รรมประจำวัน 10 คะแนน

4. คะแนนจากแบบประเมนิ การดูแลรกั ษาเคร่อื งมือ 20 คะแนน

(ประเมินทกุ วนั ทม่ี ีปฏบิ ตั กิ าร)

33

34

เกณฑ์การประเมนิ ผล
1. ผู้เรียนตอ้ งเขา้ เรียนอยา่ งน้อย รอ้ ยละ80 ของเวลาเรยี น
2 . ผเู้ รียนตอ้ งไดค้ ะแนนในแบบประเมินทกั ษะแต่ละปฏบิ ตั กิ าร ตง้ั แต่60%ขึน้ ไปจึงจะมีสทิ ธิ์ขอประเมนิ ผลการเรียน
3. ผู้เรยี นต้องไดค้ ะแนนรวมพฤตกิ รรมประจำวันตง้ั แต่60%ข้นึ ไปจงึ จะมีสทิ ธิ์ขอประเมนิ ผลการเรยี น
4. ผู้เรยี นต้องได้คะแนนรวมในแบบประเมินการดูแลรกั ษาเครื่องมือ ตัง้ แต่60%ขึ้นไปจึงจะมสี ทิ ธิข์ อประเมินผลการเรยี น

ขนั้ ตอนการทำงาน
1. นักศึกษาทีม่ รี ายชอ่ื ค่กู นั สลบั กนั เป็นผูต้ รวจและผปู้ ่วยตามที่กำหนดในตารางการฝึกแลว้ บนั ทกึ ขอ้ มลู ที่ไดล้ งใน
แบบฟอร์ม Complete Chart .ในภาคผนวก 2 ของ คมู่ ือปฏิบตั กิ าร
2. ฝึกสัมภาษณป์ ระวตั ิผู้ป่วยสมมุติ ไดแ้ ก่ อาการสำคัญ สมั ภาษณป์ ระวตั ทิ างการแพทย์
ประวตั ิทางครอบครัว ประวตั สิ ่วนตัวและสังคม และประวตั ทิ างทนั ตกรรม คัดกรองผู้ป่วยทางทันตกรรม
ในสถานการณก์ ารระบาดของ COVID -19ได้ถูกตอ้ งตามหลกั วิชาการและเหมาะสม
3. สมั ภาษณ์ประวัตผิ ู้ป่วยทางการแพทย์และทางทนั ตกรรม
4. ฝกึ ตรวจวดั สญั ญาณชีพ (Vital sign) ในผปู้ ่วยสมมตุ ิ บันทึกลงในช่องอาการทีต่ รวจพบ

สาระสำคญั (Concept)
การคัดกรองผู้ป่วย
ในสถานการณท์ โ่ี รค COVID-19 กำลังระบาดและยงั ไมส่ ามารถควบคมุ โรคได้ การคดั กรองผู้ป่วยท่จี ะเข้ารับการ

รักษาทางทันตกรรมเป็นสงิ่ ทีจ่ ำเปน็ เนื่องจากโรคน้ีตดิ ตอ่ ได้งา่ ย ติดต่อได้ทางอากาศและสามารถแพรก่ ระจายไดท้ ้งั ก่อน
แสดง อาการ ขณะมีอาการและหลงั จากไมม่ อี าการแล้ว (ในกรณที ยี่ งั แพร่เชอ้ื ไดต้ อ่ หลังหมดอาการ) ทันตแพทยจ์ ึงต้องให้
ความสำคญั กบั การคดั กรองผูป้ ่วยซ่งึ จะช่วยลดความเสยี่ งในการตดิ เชอ้ื หรอื แพร่กระจายเชื้อต่อไปยงั ผู้ปว่ ยรายอื่น ๆ และ
ผเู้ กีย่ วขอ้ ง

การคดั กรองนอี้ าศยั ความรจู้ ากรายงานผ้ปู ว่ ยทงั้ ในดา้ นอุบตั ิการณป์ ระวตั ิ และอาการทส่ี ำคญั ของโรคน้ีนำมา
ทำเปน็ แบบสอบถามใหผ้ ปู้ ่วยตอบหรือใหเ้ จ้าหน้าทเี่ ปน็ ผ้ซู ักถาม แบบสอบถามนป้ี ระกอบด้วย

1. ประวัติไดแ้ ก่ ประวัติการเดินทางจากต่างประเทศในชว่ ง 2 สัปดาหก์ ่อนหรอื ประวตั ิการสมั ผสั หรืออยู่ใกล้ชดิ
กับผูป้ ว่ ยโรค COVID-19 หรอื ประวัติทเ่ี ก่ียวข้องหรือมาจากบริเวณทม่ี กี ารตดิ เชอ้ื เป็นกลมุ่ กอ้ น (Cluster)

2. อาการที่อาจเปน็ อาการของโรคไดแ้ ก่ มไี ข้ ไอแห้ง แมไ้ มม่ ีนำ้ มกู หรือเจบ็ คอ ซง่ึ เปน็ อาการของโรคตดิ เช้อื ทาง
เดิน หายใจ แมไ้ ม่มอี าการอน่ื ๆ กม็ ีความจำเป็นต้องปรกึ ษาแพทยเ์ พอื่ ใหก้ ารวินิจฉยั แยกโรค COVID19 จากโรคไขห้ วดั ใหญ่
ชนดิ อ่นื ๆ กอ่ น นอกจากนี้ ยงั มอี าการทีเ่ ป็นลกั ษณะเด่นของโรคนไ้ี ด้แก่การหายใจลำบากหอบ เหน่ือยหรอื มกี ารอกั เสบ
ตดิ เชื้อที่ปอดโดยไมท่ ราบสาเหตุ จมูกไมไ่ ดก้ ล่นิ หรอื ได้กลิ่นน้อยลงลน้ิ ไมร่ รู้ สหรอื รับรสไดล้ ดลง หากพบอาการ
อย่างหนึ่งอยา่ งใดเหลา่ นต้ี อ้ งปรกึ ษาแพทย์โดยเร็วเพือ่ ใหก้ ารวินจิ ฉยั ก่อน

3. การวดั อุณหภมู ริ ่างกายผู้ป่วยเปน็ สงิ่ ที่ควรทำ ซงึ่ ทำไดไ้ ม่ยากโดยใช้เคร่ือง Thermoscan หรือเครอื่ งวดั
อุณหภูมิแบบไมส่ ัมผสั รา่ งกายผู้ปว่ ย เช่น เครือ่ งวัดอณุ หภมู หิ น้าผาก หากพบผู้ปว่ ยมอี ุณหภมู เิ กิน37.5 องศาเซลเซียส
ควรสง่ พบแพทย์เพื่อให้ตรวจวินจิ ฉัยหาสาเหตขุ องไข้ก่อนทีจ่ ะตรวจรักษาทางทนั ตกรรมยกเว้นในรายท่มี กี ารติดเช้อื ใน
บริเวณช่องปากและใบหน้าซง่ึ อาจจะมไี ขร้ ่วมด้วยในรายเชน่ น้ี ถือเปน็ กรณเี ร่งดว่ นที่จำเป็นตอ้ งให้การรักษาก่อน

โดยสรปุ ผปู้ ว่ ยหรือผู้ท่ีมาน่งั รอทุกรายเมอ่ื เข้ามาในพ้นื ทขี่ องคลนิ ิกทันตกรรม ตอ้ งผ่านการตรวจวดั ไข้ เพือ่ ให้

34

35
ม่ันใจวา่ ไมม่ ีไขส้ ูงเกนิ กว่า 37.5 องศาเซลเซยี ส และตอ้ งทำการถมู ือให้ท่วั ทุกซอกด้วยแอลกอฮอล์ 70-80% สวมมาสก์
หรือหน้ากากอนามยั ตลอดเวลาทอี่ ยู่ในคลินกิ (ยกเว้นขณะรับการรกั ษา) และควรแนะนำผู้ป่วยไมส่ มั ผัสพน้ื ผิวใด ๆ
ในระหว่างนงั่ รอการคัดกรองผ้ปู ว่ ย ผู้ปว่ ยทุกรายต้องไดร้ ับการคดั กรองประเมินความเสยี่ งตามนิยามผ้สู งสยั ติดเชื้อไวรสั
SARS-CoV-2 ทกุ ครง้ั ก่อนรับการรักษาทางทนั ตกรรม หากพบว่าผปู้ ่วยมปี ระวตั ิหรืออาการอย่างใดอย่างหน่ึง
ตามแบบคดั กรอง หรอื มีอณุ หภูมริ า่ งกายสงู เกิน 37.5 องศาเซลเซียส ควรส่งปรึกษาแพทย์ก่อนและใหห้ ลีกเล่ยี งการ
ทำหตั ถการในชอ่ งปาก ยกเว้นในรายท่มี คี วามจำเปน็ ฉกุ เฉนิ หรือเร่งด่วนเทา่ นนั้ โดยพิจารณาตามศกั ยภาพของ
สถานพยาบาลและต้องใหก้ ารรกั ษาดว้ ยความระมดั ระวัง พรอ้ มทง้ั ปฏบิ ตั ิตามมาตรการปอ้ งกันการตดิ เชอ้ื อยา่ งเคร่งครดั
เอกสารบนั ทกึ การคัดกรองควรมลี ายมอื ชอื่ -นามสกลุ ผู้คัดกรองและผูถ้ กู คดั กรอง โดยจัดเกบ็ ไวใ้ นระบบเวชระเบียน
ของผูป้ ว่ ยแบบบนั ทึกการคัดกรองสามารถดาวนโ์ หลดได้จากเว็บไซต์ของทันตแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ

ในป2ี 564 ให้ซกั ประวตั เิ พ่มิ เตมิ เรอื่ งผื่นแดงท่ีผวิ หนงั มีจดุ เลอื ดออก มผี ื่นบวมแดงคลา้ ยโรคลมพษิ บางรายอาจมี
ลักษณะกลุ่มของต่มุ นำ้ คล้ายโรคอีสกุ อใี ส มีผน่ื ข้ึนท่ีเท้าหรือนิว้ เท้า (Covid toe) โดยมลี กั ษณะเฉพาะเป็นตุม่ หรือ ผื่นแดง ลกั ษณะ
คลา้ ยตาข่ายหรือเส้นใยเล็ก ๆ ขนึ้ ที่เทา้ หรือบริเวณผิวหนงั ส่วนอนื่ ๆ ของรา่ งกาย มักพบในกล่มุ ผปู้ ว่ ยทย่ี ังไม่แสดงอาการใด ๆ
หรือแสดงอาการน้อยมาก นอกจากนี้ บางรายอาจจะมอี าการตาแดง แต่พบได้น้อยเพยี ง 1-3% โดยมอี าการคือ เย่อื บตุ าอักเสบ
หรือบวม ตาแดง น้ำตาไหล ระคายเคอื งตา คัน มีขตี้ า ตาสูแ้ สงไม่ได้

วิธสี งั เกต 5 อาการ ผ่นื โควดิ สญั ญาณติดเช้อื ระลอกใหม่(ทมี่ าภาพ : https://qrgo.page.link/XFx1C)
อ้างอิง

1. https://www.thaidental.or.th/main/download/upload/upload-204211344051371.pdf
2. http://www.dent.chula.ac.th/upload/download/30/file_11_1041.pdf
3. https://www.mhesi.go.th/home/index.php/pr/news/1412-2020-04-20-08-48-14
4. https://www.royalthaident.org/source/announce/2563/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81

%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%81%E0%B8%A3%
E0%B8%A3%E0%B8%A1%20COVID-19.pdf

35

36
ตวั อย่างแบบคดั กรองจากทนั ตแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย

ภาพแบบคดั กรองจากทันตแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย(ท่มี าภาพ: https://qrgo.page.link/RHG4Z)
การคดั กรองผู้ป่วยก่อนเขา้ รับการรักษาทางทนั ตกรรมตอ้ งทำทุกครงั้ ท่ีมารับการรกั ษาแม้วา่ จะเป็นคนไขเ้ ดมิ ตามนดั

36

37

สญั ญาณชีพ (vital signs)

เป็นสญั ญาณทีบ่ ง่ บอกถงึ การมชี ีวิตของส่งิ มชี ีวติ ค่าของสญั ญาณชีพจะช่วยในการประเมนิ การเปลีย่ นแปลงภาวะสขุ ภาพของ

บคุ คลนน้ั ๆ การวดั สัญญาณชพี ตอ้ งปฏบิ ตั ดิ ว้ ยความรอบคอบเพื่อใหไ้ ด้ค่าทถ่ี กู ตอ้ ง เทีย่ งตรง

ชพี จรPulse เป็นการขยายตัวและหดตัวของหลอดโลหติ ดงส่วนปลายๆ เปน็ จงั หวะตามคลน่ื ความดนั ที่มาจาก
หลอดโลหติ แดงใหญ่ใกลห้ วั ใจ ตรวจไดท้ ี่ ขอ้ มือ ข้อศอก หลงั เท้า ขา้ งคอ ขาหนบี ปกติ 60-100 ครั้งต่อนาที

ปจั จัยทีมีอิทธพิ ลตอ่ ชีพจร
1) อายุ เมื่ออายุเพิม่ ข้ึนอัตราการเตน้ ของชีพจรจะลดลง ในผู้ใหญ่อตั ราการเต้นของชพี จร 60-100 เฉลี่ย 80 ครัง้ ตอ่ นาที
(bpm)
2) เพศ หลังวยั รุ่น ค่าเฉลยี่ ของอัตราการเต้นของชีพจรของผชู้ ายจะต่ำกวา่ หญิงเลก็ น้อย
3) การออกกำลงั กาย อัตราการเตน้ ของชีพจรจะเพมิ่ ขึ้นเมื่อออกกาลังกาย
4) ไข้ อตั ราการเต้นของชพี จรเพ่ิมขึน้ เพอ่ื ปรบั ตัวให้เข้ากับความดันเลอื ดท่ีต่ำลง ซ่ึงเปน็ ผลมาจากเสน้ เลอื ดสว่ นปลาย
ขยายตวั ทาํ ใหอ้ ณุ หภูมริ า่ งกายสงู ขนึ้ (เพิ่ม metabolic rate)
5) ยา ยาบางชนดิ ลดอตั ราการเตน้ ของชพี จร เช่น ยาโรคหวั ใจ เชน่ digitalis ลดอตั ราการเตน้ ของชีพจร (กระตุ้น
parasympathetic)
6) Hemorrhage การสญู เสยี เลือดจะมผี ลทาํ ใหเ้ พม่ิ การกระตุ้นระบบประสาทซมิ พาธติ คิ ทําใหอ้ ัตราการเตน้ ของชีพจร
สูงขึ้น
7) ความเครียด เมอ่ื เครยี ดจะกระตุน้ sympathetic nervous เพิ่ม การเตน้ ของชพี จรความกลวั , ความวิตกกงั วล
และอาการเจบ็ ปวด กระตนุ้ ระบบประสาทซมิ พาธติ ิค
8) ทา่ ทาง เม่ืออยู่ในทา่ ยืนหรอื นั่งชีพจรจะเตน้ เพ่ิมข้นึ (เร็วขนึ้ ) ท่านอนชพี จรจะลดลง

อตั ราการเต้นของชพี จรปกติ
ทารกแรกเกิด ถงึ 1 เดือน ประมาณ 120-160 ครง้ั ต่อนาที
1-12 เดอื น ประมาณ 80 – 140 ครัง้ ตอ่ นาที
12 เดือน-2 ปี ประมาณ 80 – 130 ครงั้ ต่อนาที
2 – 6 ปี ประมาณ 75 – 120 คร้ังต่อนาที
6 – 12 ปี ประมาณ 75 – 110 ครง้ั ตอ่ นาที
วัยรุ่น-วัยผู้ใหญ่ ประมาณ 60 – 100 คร้งั ตอ่ นาที
อัตราการหายใจ Respiratory Rateวดั จำนวนการหายใจตอ่ นาทปี กตปิ ระมาณ 16-20 คร้ังต่อนาที

ให้สังเกตชนดิ ของการหายใจ ซึง่ อาจเป็น thoracic , abdominal, thoracoabdominal obstructive,
restrictive หรอื ใชก้ ล้ามเน้อื ช่วยหายใจ
1) การนบั การหายใจเขา้ และออกนบั เปน็ 1ครงั้ สงั เกตใน 1 นาที
2) หน่วยวัดการหายใจ เป็นครัง้ ตอ่ นาที
3) วดั การหายใจขณะผ้ปู ่วยพกั และไมร่ ะวงั เกียวกับการหายใจ
4) ช่วงปกตขิ องอตั ราการหายใจ ตามอายุ
4.1) ทารกแรกเกิด (newborn) ประมาณ 35-40 ครง้ั ตอ่ นาที
4.2) ทารก (6 เดอื น) ประมาณ 30-50 ครง้ั ตอ่ นาที

37

38

4.3) อายุ 2 ปี ประมาณ 25-32 ครัง้ ตอ่ นาที

4.4) เดก็ ประมาณ 20-30 ครงั้ ตอ่ นาที

4.5) วัยรนุ่ ประมาณ 16-19 ครั้งต่อนาที

4.6) ผู้ใหญ่ ประมาณ 16-20 ครัง้ ต่อนาที

อุณหภูมริ า่ งกาย Body Temperature

อุณหภมู ิของร่างกายเป็นความสมดุลระหว่างความรอ้ นที0รา่ งกายผลิตข้ึนกับความรอ้ นท่สี ญู เสยี ไปจากร่างกาย

(การควบคมุ อุณหภูมิ - Thermoregulation) ชนดิ ของอณุ หภมู ริ า่ งกาย มี 2 ชนดิ

1 อุณหภูมิภายใน (Core body temperature)

1.1) เปน็ อณุ หภมู ิ deep tissues ของรา่ งกาย ได้แก่ ศรี ษะ (cranium) และ ทรวงอก (thoracic), abdominal

และ pelvic cavities

1.2) มีการเปลยี่ นแปลงเพียงเลก็ นอ้ ยในผู้ใหญ่ Critical range or set point = 36.7 ถึง 37 องศาเซลเซยี ส

2 อณุ หภมู ิบรเิ วณผวิ (Surface temperature)

2.1) เปน็ อุณหภูมทิ ี่ผิวหนงั และชั้นไขมัน

2.2) มีการเปลยี่ นแปลงอยตู่ ลอดเวลา ข้นึ อยูก่ บั การไหลเวียนเลือดท่ีผวิ หนัง และจาํ นวนของการสูญเสียความร้อน

ให้กบั สิง่ แวดล้อมภายนอก ในผ้ใู หญ่ทสี ขุ ภาพดสี ามารถเปล่ยี นแปลงไดก้ ว้าง อยูร่ ะหวา่ ง 20 ถึง 40 องศาเซลเซียส

นิยมใชว้ ัดทางปากแตจ่ ะวดั ทางรักแรห้ รือทวารหนักกไ็ ดส้ ำหรับคนทพ่ี กั ผ่อนในเตยี งตัง้ แตต่ ำสดุ 35.8 องศา

แตค่ นท่ีทำงานอาจมีค่าถึง 37.1 องศา อุณหภมู ทิ างทวารหนักจะสงู กว่าทางปาก0.3 องศา ถ้าวดั ทางรักแรจ้ ะต่ำกวา่

วัดทางปาก 0.5 องศา อณุ หภูมิของคนปกตแิ ตล่ ะบคุ คลจะเปลี่ยนแปลงได้

อณุ หภูมริ ่างกายปกติแตล่ ะวัย

1) เดก็ ทารก 36.1 –37.7 องศาเซลเซยี ส

2) เด็ก 37-37.6 องศาเซลเซียส

3) ผใู้ หญ่ 36.5-37.5 องศาเซลเซยี ส

4) ผู้สูงอายุ 36-36.9 องศาเซลเซยี ส

ความดันโลหิต Blood Pressure แรงดนั ของเลือดทก่ี ระทบกบั ผนังของหลอดเลอื ดแดง ความดันของเลอื ดท่ีวดั มี

2 อยา่ ง

1) Systolic pressure เป็นความดนั ทเ่ี กิดจากการหดรดั ตัวของหัวใจหอ้ งลา่ งด้านซ้ายเพือ่ ฉีดเลอื ดออก

จากหวั ใจ จึงเป็นความดันทส่ี ูงสุด

2) Diastolic pressure เป็นความดนั ท่วี ดั เมื่อหัวใจห้องล่างด้านซา้ ยพักจึงเป็นความดันทีต่ ำ่ สดุ

2.1) หน่วยวดั มิลลเิ มตรปรอท (mm.Hg)

2.2) เลขตวั บนของเลขเศษสว่ น (Systolic pressure)

2.3) เลขตัวล่างเลขเศษสว่ น (Diastolic pressure)

2.4) Pulse pressure ค่าความแตกตา่ งระหว่าง systolic และ diastolic pressure (คา่ ปกติประมาณ 30-50)

ความดันเมือ่ หวั ใจบบี ตัวปกตมิ ีค่า 90-139 mmHg และความดนั เม่อื หวั ใจคลายตวั ปกตมิ คี ่า 60-89 mmHg

ค่าความดัน sysytolic คา่ ความดันตัวล่าง diastolic

คา่ ความดนั ท่ีต้องการ <120 และ <80
optimal

คา่ ความดนั ปกติ 120-129 และหรอื 80-84
normal

38

39

ค่าความดนั sysytolic ค่าความดันตัวลา่ ง diastolic

ค่าความดันปกตแิ ตส่ ูง 130-149 และหรือ 85-89
high normal

ความดันสงู ระดับ1 150-169 และหรือ 90-99
grade1hypertension

ความดนั สงู ระดับ2 170-189 และหรอื 100-109
grade2hypertension

ความดนั สูงระดบั 3 >180 และหรือ >110
grade3hypertension

ความดันสงู ตวั บน >140 และ <90
isolated hypertension

การตรวจสัญญาณชพี ไดแ้ ก่

3.1 อัตราการเต้นของชีพจร

3.2 อตั ราการหายใจ

3.3 อณุ หภูมริ ่างกาย

3.4 ความดันโลหติ

ตัวอยา่ งการบนั ทึก สัญญานชีพที่วัดได้

Vital signs:

T = 37.1 0C Oralหมายถงึ อณุ ภมู ริ ่างกาย 37องศาเซลเซยี ส วดั ทางปาก

P = 70 / min regular (radial artery) หมายถงึ การเต้นของชีพจร 70คร้งั ตอ่ นาทวี ดั ทีเ่ สน้ เลือดแดง เรเดียล

RR = 18 / minหมายถึงอัตราการหายใจ 18 ครงั้ ต่อนาที

BP = 82 / 59 mmHg Right arm หมายถงึ ความดนั โลหติ ขณะที่ หัวใจบีบตัว 82

มลิ ลเิ มตรปรอทและความดนั ขณะทห่ี ัวใจคลายตวั 59 มิลลเิ มตรปรอท วดั จากแขนขา้ งขวา

การตรวจอวยั วะในช่องปาก
อ. ทพ.ธวนิ เรียวเรืองแสงกลุ

ไดแ้ ก่ ฟนั รมิ ฝปี าก เพดาน เหงอื ก ลิ้น พน้ื ชอ่ งปาก กระพุ้งแกม้ คอหอยหลงั ช่องปาก ว่ามพี ยาธสิ ภาพหรือ
ความผนั แปร (Variation) อะไรบา้ งและบนั ทกึ ลงในแบบฟอรม์ การตรวจและวางแผนการรกั ษาทางทนั ตกรรม
ลงชื่อนักศกึ ษาและให้อาจารย์ลงชอ่ื กำกบั
การตรวจฟนั (examination of teeth)

โดยท่วั ไปจะทำการตรวจฟนั ภายหลงั จากการตรวจเนอื้ เยือ่ อ่อนในชอ่ งปากแลว้ โดยแบง่ การตรวจออกเป็น
2 ขน้ั ตอนใหญๆ่ คอื การตรวจสภาพทว่ั ไปของฟนั ที่มใี นชอ่ งปากโดยใช้การดู (inspection) และการตรวจฟันแตล่ ะซี่
อยา่ งละเอยี ดโดยการดแู ละใช้เครอื่ งมอื เขีย่ (exploration) หรือวัดความลกึ ของร่องเหงอื ก (gingival sulcus)

การตรวจสภาพท่ัวไปของฟนั (dental orientation examination) เปน็ การตรวจโดยการดรู ่วมกับการใช้
กระจกส่องปาก ซง่ึ ประกอบด้วยการดูจำนวนฟันทีเ่ หลอื อยู่ สี ขนาด รปู รา่ ง โครงสรา้ งของฟนั ระดบั ของอนามยั
ช่องปาก ฟันผลุ ุกลาม (extensive decay) หินน้ำลาย (calculus) และการเรยี งตัวของฟัน

39

40

การตรวจจำนวนฟนั การตรวจจำนวนฟันท่ขี ้ึนมาในช่องปาก ซ่ึงอาจจะพบฟันบางซที่ หี่ ายไป (missing) หรอื
มฟี ันเกิน (supernumerary tooth) ในกรณีพบวา่ ฟนั หายไปควรซักประวตั ิเพอ่ื ใหท้ ราบสาเหตุของการไม่พบฟนั บางซี่
ในช่องปาก การถอนฟนั จำนวนหลายซ่ีในชอ่ งปากนอกจากจะทำใหท้ ราบว่าผูป้ ่วยเสยี่ งต่อการเกดิ โรคฟันผุ (dental caries)
หรอื ปริทนั ตอ์ กั เสบ (periodontitis) แลว้ ยงั ทำให้คาดว่าผ้ปู ว่ ยจะมารกั ษาฟันเม่ือมีปญั หาเท่าน้ัน ซง่ึ จะเป็นขอ้ มลู ประกอบ
ในการวางแผนการรกั ษาตอ่ ไป นอกจากน้กี ารหายไปของฟนั บางซี่ หรือทุกซี่ (partial or complete anodontia)
ในชอ่ งปากอาจเกิดจากการพฒั นาการของฟันทีผ่ ิดปกติบางซีท่ ำให้เกิดฟันหายตัง้ แตก่ ำเนดิ (congenital missing)
และยังสามารถพบได้ในกลมุ่ อาการทม่ี คี วามผดิ ปกติของพัฒนาการ (developmental syndrome) อย่างไรกต็ าม
ควรถ่ายภาพรงั สีประกอบเนื่องจากบางครง้ั อาจพบฟนั ยังไมข่ นึ้ (uneruption) หรอื ฟันชน (impaction) หรอื ฟันคดุ ฟันฝงั
(embedded) อยูใ่ นขากรรไกรได้

การตรวจสี ขนาด รูปรา่ ง และโครงสร้างของฟนั
สี : ควรสงั เกตสขี องฟนั ซึง่ อาจมีสาเหตแุ ตกตา่ งกนั ท่ที ำให้สฟี ันผดิ ปกติ โดยอาจเป็นฟันน้ำนมคงอยู่นาน
กว่าปกติ เปน็ การเปลย่ี นแปลงโครงสร้างฟันตามสรรี วทิ ยา หรอื เป็นความผดิ ปกตขิ องฟนั ซง่ึ อาจพบในบางตำแหน่งหรอื
โดยท่วั ไปการเปล่ียนสขี องฟนั อาจเป็นการเปล่ียนแปลงทางสรรี วทิ ยา (physiology) หรือพยาธวิ ิทยา (pathology)
ทำให้เกดิ ความผดิ ปกติ ซงึ่ อาจเกดิ ในฟัน (intrinsic) หรือ นอกฟัน (extrinsic) ก็ได้ การให้การวนิ ิจฉยั ขึน้ กับการซักประวตั ิ
การตรวจทางคลินกิ และการตรวจเพิม่ เตมิ อ่นื ๆ โดยการเปล่ยี นแปลงทางสรีรวิทยาจะพบว่าเม่อื อายมุ ากขึ้นฟนั จะมสี เี หลอื ง
หรอื เหลอื งอมเทามากข้นึ เน่ืองจากมีการสึกของเคลือบฟนั ทำใหม้ คี วามหนาลดลง และมีการสรา้ งเนื้อฟนั ทุติยภมู ิ (secondary
dentine) มากขน้ึ การเปล่ียนแปลงของสฟี นั ทเี่ กิดจากพยาธวิ ิทยาอาจพบในฟนั หลายซี่ หรือบางซี่
การพบฟันเปลีย่ นสีจำนวนหลายซใ่ี นช่องปากอาจเปน็ ผลจากมีการสะสมของเมด็ สใี นขณะท่ฟี นั กำลังสร้าง
หรอื สรา้ งสมบรู ณ์แล้ว เช่น เมด็ สที เ่ี ป็นผลจากเมด็ โลหติ แดงแตก (hemolysis) หรอื ดีซ่าน (Jaundice) ซึง่ อาจทำให้ฟันมีสีเขียว
น้ำตาลเหลือง หรอื เหลอื งสม้ และสีมักจะหายไปเมื่อไม่มโี รคแล้ว นอกจากนั้นอาจเกดิ จากความผดิ ปกติในการสร้างฟัน เชน่
การสร้างเคลอื บฟันไมส่ มบรู ณ์ (amelogenesis imperfecta) เนือ้ ฟันกำเนิดสรา้ งไมส่ มบรู ณ์ (dentinogenesis imperfecta)
การเจรญิ พรอ่ งของเคลอื บฟนั (enamel hypoplasia) หรือฟันตกกระ (dental fluorosis)
ขนาด : ของฟันมีความแตกตา่ งกนั ในแต่ละบคุ คล ฟนั บางซ่ีอาจมีความผดิ ปกติเชน่ สภาพฟันใหญ่ (macrodontia)
หรอื สภาพฟันเล็ก (microdontia) เปน็ ต้น โดยฟนั ทม่ี กั พบวา่ มีสภาพฟันเลก็ ได้แก่ฟนั ตดั ซี่ขา้ ง (lateral incisor) ฟันกรามนอ้ ย
และฟนั กรามซีท่ ่ีสาม (third molar) นอกจากน้ันอาจพบในฟนั ทเี่ ป็นฟนั เกนิ ได้
รูปร่างและโครงสรา้ ง : ของฟันทีผ่ ดิ ปกติอาจเกดิ ข้นึ ในขณะทมี่ ีการพฒั นาการ (development) ของฟนั
ซง่ึ อาจเป็นผลจากสง่ิ แวดล้อม (environment) หรอื ความผดิ ปกติทางพันธุกรรม (genetic) หรือเกิดขนึ้ จากปัจจยั
ภายนอกภายหลงั การขน้ึ ของฟนั แล้ว
ระดบั อนามยั ช่องปาก : อาจประเมินได้จากการสะสมของเศษอาหารในช่องปาก ปริมาณแผ่นคราบจลุ ินทรยี ์
สภาวะเหงอื กอักเสบและกลิน่ ปาก ผู้ทมี่ ีอนามยั ช่องปากทไ่ี มด่ ี มีโอกาสพบฟันผุ และโรคเหงือกอักเสบหรือปรทิ ันต์อกั เสบได้
อยา่ งไรกต็ าม อาจไม่มคี วามสมั พนั ธก์ นั เสมอไปควรตรวจในช่องปากอีกคร้ัง
ฟันผหุ รือวสั ดอุ ุดฟัน : การตรวจพบฟนั ผจุ ำนวนมากในช่องปากไม่วา่ จะมีระดับอนามยั ชอ่ งปากดหี รอื ไม่กต็ าม
ชี้ให้เหน็ วา่ อาจมปี ัจจัยอ่นื ท่ีเกย่ี วขอ้ ง เช่น พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร อตั ราการหลัง่ ของน้ำลายลดลง (hyposalivation)
ซึ่งอาจเป็นผลจากโรคของต่อมนำ้ ลาย โรคทางระบบบางอยา่ ง การไดร้ บั ยาบางชนดิ ท่มี ผี ลต่อการทำหน้าท่ขี องตอ่ มน้ำลาย
หรอื การฉายรังสรี ักษามะเรง็ บริเวณศีรษะและลำคอ ซ่ึงทำใหเ้ กดิ ฟนั ผุจากการฉายรงั สี (radiation caries) เป็นตน้
ซึ่งควรทำการประเมนิ เพื่อเปน็ ส่วนหนึ่งในการวางแผนการรักษาตอ่ ไป นอกจากน้ัน การตรวจพบฟันผหุ ลายๆซี่ ยงั สะท้อน
ให้เหน็ ถึงการไมไ่ ดร้ บั การรักษาทางทันตกรรมเปน็ ประจำในช่วงทีผ่ ่านมา ซ่ึงจะต้องเพมิ่ ความรอบคอบในการตรวจหาฟนั ผุ
ตามด้านตา่ งๆของฟันใหม้ ากข้ึน

40

41

การสังเกตเหน็ รอยแตกของตัวฟันที่เปน็ ผลจากการได้รบั ภยันตราย (trauma) ควรตรวจความผดิ ปกตอิ ่ืนทสี่ ังเกตเห็น
ได้ยากกวา่ เช่น ฟันตาย โรครอบปลายรากฟนั รากฟนั ตาย หรือฟันโยกท่อี าจพบดว้ ย นอกจากนั้นการตรวจพบฟนั แตกหลายๆซี่
อาจเป็นผลจากการใช้ฟนั ไมถ่ กู วธิ หี รือโรคลมชักกไ็ ด้

การเรยี งตัวของฟนั : อาจมผี ลตอ่ การเกิดโรคในช่องปาก เชน่ ฟนั ท่ีไมม่ ีคสู่ บท่ียืน่ ยาวออกมา (supereruption)
หรือฟนั ซ้อนเก เป็นปัจจัยหน่งึ ท่ีทำใหง้ ่ายต่อการเกดิ โรคฟนั ผุและปริทนั ต์อกั เสบ
ดังนนั้ อาจพิจารณาความจำเปน็ ในการจดั ฟนั ต่อไป

การตรวจฟันผุ
การตรวจฟนั แตล่ ะซีต่ ้องตรวจทกุ ด้านโดยการดูและการเขยี่ ด้วยเครอื่ งมือตรวจเพื่อหาฟันผุ โดยเฉพาะ
บริเวณหลมุ และร่อง (pit and fissure) บนดา้ นบดเคี้ยว (occlusal) ของฟนั ซง่ึ เป็นตำแหนง่ ที่เกดิ ฟนั ผไุ ดง้ า่ ย
โดยลกั ษณะของฟนั ผอุ าจมกี ารเปลี่ยนสชี องฟนั เป็นสีขาวขนุ่ (chalky white) หรอื คล้ำข้นึ (dark discoloration) หรอื
มีโพรง (cavitation) ซ่งึ ถ้าใช้เครื่องมือเข่ยี แล้วเคร่ืองมอื ตดิ เข้าไปในตำแหนง่ ท่ีมกี ารสญู เสียแรธ่ าตุ (decalcified site)
กจ็ ะเป็นการยืนยันวา่ มฟี ันผเุ กดิ ขน้ึ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน
การตรวจด้านแกม้ และด้านล้ินมกั มองด้วยตา ยกเวน้ บรเิ วณทมี่ ีเหงือกร่น หรอื หลมุ ด้านแก้มของฟัน (buccal pit)
ซ่งึ ไวต่อการเกดิ ฟนั ผุ ควรใชเ้ ครื่องมอื เขี่ยเช่นเดียวกับการตรวจด้านบดเคีย้ วของฟัน โดยทัว่ ไปลกั ษณะการเกดิ ฟนั ผุด้านแกม้
หรือด้านลน้ิ ในบริเวณที่เป็นพน้ื ผิวทเ่ี รยี บมักเหน็ เป็นสขี าวข่นุ เนื่องจากมีการสูญเสียแรธ่ าตุ ซึ่งจะเห็นไดช้ กั เม่ือเปา่ ผิวฟนั บรเิ วณ
น้ันใหแ้ ห้ง
การตรวจโดยการเข่ียผิวฟันด้านแก้มหรอื ด้านลน้ิ ควรควบคุมการใชเ้ ครอื่ งมือใหด้ แี ละมกี ารวางน้ิวให้มนั่ คงเพ่อื ปอ้ งกนั
การล่นื ไถลของเคร่อื งมือท่ีจะพลาดไปทำอันตรายต่อเนื้อเยื่อข้างเคยี งไดผ้ ู้ทีม่ ีฟันผบุ รเิ วณท่ีเป็นพืน้ ผวิ เรยี บดา้ นแกม้ หรอื ด้านล้นิ
อาจมคี วามสัมพนั ธ์กบั ภาวะปากแหง้ (xerostomia) เชน่ การได้รบั ยาบางชนิด การฉายรังสรี ักษามะเรง็ บริเวณศรี ษะ
และลำคอเปน็ ต้นหรือมีการด่มื เครอื่ งดืม่ ทม่ี กี รดคารบ์ อเนตเปน็ ประจำ
การตรวจฟนั ผุบรเิ วณพน้ื ผวิ ระหวา่ งซอกฟนั (interproximal surface) ควรมีการตรวจโดยการเขย่ี ร่วมด้วย
โดยใชเ้ ครือ่ งมอื ท่ีมปี ลายเลก็ แหลมเขย่ี ใตจ้ ุดสมั ผสั (contact point) ในทศิ ทางเข้าหาตวั ฟันและเฉยี งขึ้นด้านบน
หรือใชก้ ารเปา่ ลมเข้าบริเวณซอกฟนั เพื่อดกู ารตอบสนองของฟันด้วย ซง่ึ ถ้ามฟี นั ผทุ ีล่ ึกมกั มอี าการเสยี วเมือ่ เปา่ ลม
อยา่ งไรกต็ ามบางคร้ังอาจไม่สามารถสอดเคร่ืองมือเขา้ ไปได้จึงตอ้ งใช้การถา่ ยภาพรังสีรอบปลายรากฟนั
(periapical) หรอื แบบกัดปกี (bitewing) รว่ มดว้ ย ซึ่งอาจมขี อ้ จำกดั ในฟันทมี่ ีการเรยี งตวั ผดิ ปกติ หรอื มีวสั ดุอดุ เดิม
อยอู่ าจทำใหไ้ ม่เหน็ ฟันผุ การตรวจฟนั ผุบริเวณซอกฟันของฟนั หน้าอาจใชห้ ลกั การส่องผ่านแสง (transillumination)
โดยใช้เส้นใยนำแสง (fiber optic light) ในการทำใหแ้ สงสอ่ งผา่ นทางด้านแก้มของฟนั และใชก้ ระจกสอ่ งปาก
ดกู ารหักเหของแสงทางด้านเพดานหรอื ดา้ นลิ้น หรอื ใช้แสงไฟจากเกา้ อท้ี ำฟนั จะทำใหเ้ หน็ บริเวณที่แสงไมส่ ามารถ
ผ่านไดเ้ ป็นสดี ำ ซง่ึ บ่งบอกว่าเป็นฟนั ผุ อย่างไรก็ตามในบริเวณท่ีมีการสะสมของสภี ายนอกบรเิ วณผวิ ฟัน
จะทำใหก้ ารตรวจโดยวิธนี ม้ี องเหน็ ไดย้ ากขน้ึ
การตรวจฟันทไ่ี ดร้ บั การบรู ณะแลว้
ฟนั ท่ไี ดร้ บั การบูรณะแล้วควรมีการบนั ทกึ ลงในแบบบันทกึ
ลักษณะของการบรู ณะฟนั ในอดตี จะชีใ้ หเ้ หน็ ถึงความเอาใจใส่และประสบการณ์ของผูป้ ่วยในการดูแลสขุ ภาพชอ่ งปาก
ซึง่ มีความสำคญั ในการพิจารณาวางแผนการรักษาตอ่ ไป ผทู้ ี่มีวัสดุอดุ ฟนั ทไี่ ดร้ บั การขัดผวิ วสั ดุเปน็ อยา่ งดี มีการใส่ฟนั ปลอม
ท่ีถกู ต้องตามหลักวชิ าการ มักเปน็ ผทู้ ี่มีความใส่ใจในการดแู ลสุขภาพช่องปาก และมีทัศนคตทิ ่ดี ตี อ่ การรักษาทางทนั ตกรรม
การตรวจพบฟันผกุ ลบั ซำ้ (recurrent caries) มักพบได้นอ้ ย ในขณะทผ่ี ู้ที่มีวัสดบุ รู ณะทไี่ ม่ดี มรี อยแตกหรือมีการรวั่ ซึม
แสดงใหเ้ ห็นถึงความไม่ใสใ่ จในการดแู ลสขุ ภาพช่องปาก ดงั นน้ั ควรตรวจหาฟันผกุ ลบั ซำ้ ใต้ขอบวสั ดุหรือ การเกดิ ฟันผใุ หม่
ในฟันซอี่ ืน่ ๆ

41

42

การตรวจฟันท่ีบรู ณะด้วยโลหะเชน่ อะมลั กัม (amalgam) สามารถมองเห็นได้ชัดดว้ ยตา แตฟ่ นั ท่ีบรู ณะด้วย
พอรซ์ เลน (porcelain) หรือ คอมโพสติ (composite) มักมองเห็นไดย้ ากตอ้ งใชเ้ คร่ืองมอื เข่ยี หาขอบของวสั ดุ
หรือลากผา่ นผิววสั ดุเบาๆจะรสู้ ึกวา่ พน้ื ผิวของวัสดมุ คี วามหยาบ หรอื เป็นมนั การตรวจฟันทมี่ กี ารบรู ณะต้องดรู ปู รา่ ง
เค้ารูป (contour) ความแนบของขอบวัสดกุ ับฟัน และการสบฟันดว้ ย การเข่ยี บรเิ วณขอบวสั ดุจะช่วยในการตรวจ
หาการร่ัวซมึ ของวัสดุหรอื ฟันผกุ ลบั ซำ้

การใชเ้ ส้นใยขดั ฟนั (flossing) เสน้ บางๆทไี่ มม่ ขี ผ้ี ้ึงเคลอื บผา่ นบรเิ วณซอกฟัน
จะช่วยตรวจความแนน่ ทางด้านประชดิ ของฟนั ที่สมั ผสั กันและขอบวัสดุทางดา้ นใกลเ้ หงอื กดว้ ย
ซ่งึ ถ้าเส้นใยขดั ฟนั สามารถผ่านไดอ้ ยา่ งง่ายหรอื มลี กั ษณะเปน็ ขุย หรอื ขาดงา่ ย เนอื่ งจากเสียดสกี ับขอบดา้ นเหงอื กของ
วสั ดอุ ดุ เกนิ (overhanging) ควรทำการบูรณะใหม่ เนื่องจากจะทำให้มเี ศษอาหารติดซอกฟันและมเี หงือกอักเสบไดง้ ่าย

ข้อแนะนำ

❖ การตรวจฟนั แนะนำใหต้ รวจตาม quardrant เรมิ่ จากฟันซ่ี 18 ถึง 28 และ 38 ถงึ 48
ตามลำดับ ถา้ ตรวจพบฟนั ไมผ่ ุ ใหเ้ ขียนบรรยายว่า Sound tooth

❖ กรณจี ำเป็นต้องส่ง x-ray เพม่ิ เตมิ ให้เขียนคำวินิจฉยั เบือ้ งต้น ลงในแบบฟอร์มการตรวจ
ด้วยดินสอโดยใช้คำว่า Rule Out หรอื R/Oแปลวา่ สงสยั ว่าจะเป็น เชน่ R/O Impaction หมายถงึ สงสยั เปน็
ฟนั คดุ เม่ือถา่ ยภาพรงั สแี ล้ว ใหแ้ ปลผลภาพรงั สีใหเ้ รยี บรอ้ ย และเขยี นคำวินิจฉัยท่ไี ดด้ ้วยปากกาแทนดินสอ

❖ กรณตี รวจพบการสบฟันท่ผี ดิ ปกติ จำเปน็ ตอ้ งไดร้ บั การรักษาทางทันตกรรมจดั ฟัน ต้องช้แี จง
ผปู้ ่วยให้ทราบถงึ ปญั หาและแนะนำการรักษาท่ีเหมาะสมแกผ่ ูป้ ่วย เมื่อผปู้ ่วยรบั ทราบและเขา้ ใจดี ให้บันทึกใน
การวางแผนการรกั ษาคือ แนะนำจดั ฟัน

5. ตรวจและวินิจฉัยการสบฟนั ในผปู้ ว่ ยท่มี ีฟนั กรามแทซ้ ที่ ี่ 1 ขนึ้ แลว้ บันทกึ ลงในช่องอาการทตี่ รวจพบโดย
วินจิ ฉัยการสบฟันตามการจดั แบง่ ของ Angle’s classification

6. ใช้ Periodontal probe วัดรอ่ งเหงอื กของฟันหนา้ บนและล่าง ฟันกรามบนและลา่ งในแตล่ ะ sextant
อย่างละ 1 ซี่ (16, 11, 26, 31, 36 และ 46) และบนั ทึกลงในแบบฟอร์มการตรวจและวางแผนการรกั ษาทางทันตกรรม
ข้อแนะนำ

❖ กอ่ นทำการวดั รอ่ งลึกปริทันต์ควรตรวจดูชอ่ งสเกลวดั ของ periodontal probe วา่ แตล่ ะ
ช่องมขี นาดเทา่ ไร และในการวดั ควรใช้แรงในการสอดเครือ่ งมอื ท่ีพอเหมาะ ไม่ควรกดเคร่อื งมอื จนเกิดแรงดนั เขา้ ไปใน
เนอื่ เย่ือ

7. ให้การวนิ ิจฉัยโดยรวบรวมข้อมลู จากอาการสำคญั การซักประวตั ิ และอาการทต่ี รวจพบทั้งหมดบันทึกไวใ้ น
สมดุ บันทึก

8. วางแผนการรักษาแบบสมบรู ณ์บนั ทึกลงในแบบฟอรม์ การตรวจและวางแผนการรักษาทางทันตกรรม ลงช่ือนกั ศึกษา
และให้อาจารย์ลงช่ือกำกบั นักศกึ ษาควรวางแผนการรกั ษาร่วมกับผปู้ ว่ ยสมมตุ แิ ละบนั ทึกลงในบตั รใหเ้ สรจ็ กอ่ นเรมิ่ ทำงานอ่นื ต่อไป
ข้อแนะนำ

❖ นกั ศกึ ษาควรฝึกสงั เกตสิ่งผดิ ปกติ หรอื สง่ิ ที่แตกตา่ งจากการเรยี น โดยสามารถปรกึ ษา ขอคำแนะนำ
และเรยี นรู้ คำวนิ จิ ฉยั เพม่ิ เติมจากอาจารยไ์ ด้

❖ การสมั ภาษณป์ ระวตั ิ การตรวจและบรรยายรอยโรคที่ถูกตอ้ ง ครบถ้วนจะชว่ ยให้นักศึกษา
สามารถวินจิ ฉยั โรค ไดอ้ ย่างถูกต้องและวางแผนการรักษาได้เหมาะสม

9. บันทกึ การรกั ษาลงในแบบบันทกึ การรักษา (Treatment record) ทกุ ครง้ั ท่ีใหก้ ารรักษา เชน่

42

43

การสอนแปรงฟัน ใชไ้ หมขดั ฟัน การขดู หนิ ปนู รวมทง้ั การนดั ผู้ป่วยในคร้ังตอ่ ไป ลงชื่อนกั ศึกษาและใหอ้ าจารยล์ งช่ือกำกบั

ชนดิ ของการตรวจมี 3 แบบ ไดแ้ ก่
1. การตรวจแบบสมบรู ณ์(Complete examination) เป็นการซกั ถามประวัติของผ้ปู ว่ ยและตรวจทางคลนิ กิ ท้ังภายนอก

และในชอ่ งปากทง้ั หมดโดยละเอยี ด
2. การตรวจอย่างยอ่ (Screening examination) เป็นการตรวจในชอ่ งปากและอวยั วะท่เี กย่ี วข้องบางตำแหน่ง

โดยไม่ตอ้ งการความละเอียดมากนัก ทั้งน้ีขนึ้ อยู่กับดุลยพนิ ิจของผ้ตู รวจ เป็นการตรวจท่ใี ช้เมื่อเวลา เศรษฐกิจ
ตลอดจนความชำนาญของผตู้ รวจไม่เอื้ออำนวยใหท้ ำการตรวจอยา่ งสมบรู ณไ์ ด้

3. การตรวจแบบฉุกเฉินหรอื เรง่ ด่วน(Emergency examination) เปน็ การตรวจเฉพาะส่วนท่ีเกยี่ วข้องกับ
อาการสำคญั ของผู้ปว่ ย ใช้ตรวจในกรณีท่ีผปู้ ่วยมอี าการหรอื อยู่ในภาวะฉกุ เฉนิ และตอ้ งการการตรวจรกั ษาโดยรบี ด่วน
เพอื่ กำจดั สาเหตุและบรรเทาอาการท่ีเกิดขน้ึ ในขณะนั้น

การตรวจแบบสมบูรณ์
การซักประวัติผู้ปว่ ย

1. อาการสำคญั (Chief complaint) คอื อาการหรือความไมส่ บายตา่ งๆทชี่ ักนำผู้ป่วยมาพบผู้ให้การรกั ษา
เป็นคำอธิบายอาการผิดปกติที่เกิดขน้ึ ไมใ่ ช่การวนิ ิจฉยั โรคของผูป้ ว่ ยหรือความตอ้ งการของผ้ปู ว่ ย
อาการทพี่ บบ่อยในทางทันตกรรม เชน่ ความเจบ็ ปวด เป็นแผลของเยื่อเมือก ปวดแสบปวดร้อน มเี ลอื ดออก ฟันหายไป
ฟนั ถกู ถอนไป ปญั หาเกย่ี วกับการบดเค้ยี ว ฟนั ข้นึ ชา้ ปากแหง้ นำ้ ลายมากเกนิ ไป การรบั รสไมด่ ี
มีการบวมในช่องปากหรอื นอกช่องปาก เป็นต้น การเขยี นบันทกึ อาการสำคญั ควรมรี ายละเอยี ดเข้าใจงา่ ย
บอกตำแหนง่ และระยะเวลาทเี่ ป็น ใชภ้ าษาส้ันกระชับตรงไปตรงมา เช่น ปวดฟนั กรามนอ้ ยลา่ งซ้ายซี่ทสี่ องเวลามเี ศษอาหาร
ติดมา 3 วนั แล้ว
ขอ้ แนะนำ

❖ อาการสำคญั ไมใ่ ชค่ วามต้องการในการเข้ารบั การรักษาของผู้ป่วยนกั ศึกษาตอ้ งพยายามซักถามถงึ
สาเหตขุ องปัญหาทีท่ ำให้ผูป้ ว่ ยมาพบทนั ตบคุ ลากร

❖ ความตอ้ งการขูดหินปูน การขูดหนิ ปนู คือการรักษา ดังน้ันสาเหตทุ น่ี ำมารบั การรกั ษาอาจ
เปน็ เพราะ มีกล่ินปาก แปรงฟันมีเลอื ดออก รสู้ ึกฟันไมส่ ะอาด รสู้ กึ ไมม่ ั่นใจเวลายม้ิ พูดคยุ ฯลฯ

2. ประวตั ิทางการแพทย์(Medical history) ไดจ้ ากการซักถามผ้ปู ว่ ยถงึ ประวตั กิ ารเจบ็ ป่วยทผี่ า่ นมาและ
ในปัจจบุ นั เช่น สุขภาพโดยทว่ั ไปของผูป้ ว่ ย โรคที่ผู้ปว่ ยเคยเป็นและโรคทเ่ี ป็นอยใู่ นปัจจบุ นั และการรักษา ยาท่ีไดร้ ับ
ในปัจจบุ นั การแพ้ยา แพอ้ าหาร หากมีขอ้ มลู เพิม่ เตมิ ใหบ้ ันทกึ ลงในชอ่ ง (ระบ)ุ เช่น ระบุชื่อยาหรือชนดิ อาหารทีแ่ พ้
เคยไดร้ ับรังสีรักษาทบ่ี รเิ วณใบหนา้ เมือ่ 5 ปที แี่ ล้ว ในกรณที ่ผี ู้ปว่ ยเคยเป็นโรคหรือมีอาการโรคอยู่ในปจั จบุ นั
ควรซักถามรายละเอียดเกยี่ วกับโรคน้ัน ระยะเวลาทเี่ ป็นโรค ระยะเวลาทห่ี ายจากอาการของโรค ผ้ใู ห้การรกั ษา
ยาทไ่ี ดร้ บั ความถใ่ี นการพบแพทย์ เปน็ ตน้ บนั ทกึ ลงในชอ่ ง (ระบ)ุ ดว้ ย
ขอ้ แนะนำ

❖ การซกั ถามเกย่ี วกบั โรคทางระบบ หากผู้ป่วยบอกว่า “ ไมม่ ี ” ไมไ่ ด้หมายความว่าผปู้ ว่ ยไมไ่ ดเ้ ปน็
โรคใดโรคหนึง่ ผู้ปว่ ยอาจมหี รือไมม่ ีอาการนำอย่บู า้ งแตไ่ มเ่ คยได้รับการตรวจร่างกายมาก่อนหรือตั้งใจปกปดิ ข้อมูลทแ่ี ท้จรงิ
เพอ่ื ท่ีจะไดร้ ับการรกั ษา ดงั นั้นนกั ศึกษาควรบนั ทกึ วา่ ผู้ปว่ ยปฏิเสธโรคทางระบบ

❖ หากผ้ปู ่วยใหป้ ระวัติเกยี่ วกบั การแพย้ า อาหารหรือสารเคมีนักศึกษาควรซักถามถึงสาเหตทุ สี่ งสัย ชอ่ื

43

44

ยา อาหารหรือสารเคมี อาการแพย้ าทีเ่ กดิ ขึ้นด้วยวา่ เปน็ อย่างไร อะไรทีท่ ำใหอ้ าการดีขน้ึ หรือแยล่ ง “
3. ประวตั ิทางครอบครวั (Family history)

เปน็ ขอ้ มูลประวตั กิ ารเจบ็ ปว่ ยหรือความผิดปกติของคนในครอบครวั ของผปู้ ่วยรวมถงึ ผู้ทม่ี คี วามเก่ียวขอ้ งทางสายโลหติ
4. เดียวกันกบั ผ้ปู ว่ ยซงึ่ ไมไ่ ดอ้ ยูใ่ นครอบครัวเดียวกัน
5. ประวตั สิ ่วนตวั และประวตั ทิ างสงั คม(Personal and social history) เป็นขอ้ มูลเกี่ยวกับสภาพความเปน็

อยู่ สภาพจติ ใจ ฐานะทางการเงนิ นิสยั บางอย่าง เช่น นอนกดั ฟัน ชอบกดั เลบ็ กดั ปากกา
6. ประวัติทางทันตกรรม(Dental history) เปน็ ข้อมลู เก่ียวกับประวตั กิ ารรักษาทางทนั ต กรรมทผี่ ู้ปว่ ย

เคยได้รับการรกั ษามาในอดีต ชนดิ ของการรกั ษาทเ่ี คยไดร้ บั รวมถึงปัญหาท่ีเคยเกดิ ขนึ้ ระหวา่ งและหลังไดร้ บั การรกั ษา

รายงานการตรวจ
1. ซ่ีฟัน/ตำแหนง่ ให้ระบุซี่ฟนั หรอื ตำแหนง่ ที่ทำการตรวจ เช่น 11 หรอื area 24 - 27
2. การตรวจทางคลนิ ิกบันทึกลักษณะทางคลินิกทีต่ รวจพบในฟันหรอื ตำแหน่งทีร่ ะบไุ ว้

ให้เขียนบรรยายเป็นภาษาไทยโดยละเอยี ด การตรวจทางคลินกิ ที่ใชบ้ ่อย ไดแ้ ก่
2.1 การดดู ้วยตา เปน็ การประเมนิ สุขภาพของร่างกายด้วยสายตาของผตู้ รวจโดยการสังเกตดสู ว่ นต่างๆ เช่น

สขี องผวิ หนงั สีของเย่อื เมือกในชอ่ งปาก รูปร่างและสัดส่วนของอวัยวะตา่ งๆ ของรา่ งกาย
การเคลอ่ื นไหวขณะทำหนา้ ทีข่ องอวยั วะต่างๆ

2.2 การคลำ
อาศัยความรสู้ กึ สมั ผสั จากมือหรอื ปลายนว้ิ ของผตู้ รวจโดยอาศยั ความชำนาญเปรยี บเทยี บกับอวัยวะปกติ
วิธกี ารคลำมีหลายวิธขี น้ึ กับอวยั วะท่ตี ้องการตรวจ วิธีการต่างๆ ไดแ้ ก่

2.2.1 Bimanual palpationใชใ้ นการตรวจอวัยวะท่เี คล่ือนไหวได้ เช่น บรเิ วณพนื้ ของชอ่ งปาก
การตรวจหาน่ิวในตอ่ มนำ้ ลาย วิธกี ารตรวจให้ใช้นิว้ ของมอื ทัง้ สองข้างตรวจคลำและสัมผสั อวยั วะทตี่ ้องการตรวจ
ในลกั ษณะท่ีนิ้วมือขา้ งหน่ึงพยายามตรงึ อวยั วะนั้นใหอ้ ย่กู ับท่ีและนว้ิ มืออกี ขา้ งหนึง่ กดคลำและสมั ผสั
หรือกลิ้งอวยั วะนัน้ เพอ่ื ท่จี ะกำหนดตำแหนง่ บอกขนาด ความออ่ นแข็ง หรือความรู้สึกตอบสนองของอวัยวะนน้ั

2.2.2 Bidigital palpationใชน้ ้ิว 2 นิ้วของมือขา้ งเดยี วกันในการตรวจ โดยมากใชน้ ้วิ หัวแมม่ อื และ
นว้ิ ชี้ อวัยวะทต่ี รวจ เชน่ รมิ ฝีปาก กระพุ้งแก้ม กลา้ มเนอ้ื

2.2.3 Bilateral palpationใชม้ อื ทงั้ สองข้างตรวจอวยั วะชนิดเดียวกนั ท่ีมีทง้ั สองขา้ งของร่างกาย
เพอื่ เปรียบเทยี บอวัยวะข้างหนึ่งกบั อีกข้างหนง่ึ ซ่ึงเป็นปกติ การตรวจวธิ นี ี้ ผ้ตู รวจจะต้องมีความรทู้ างกายวิภาค
และสรรี วิทยาของอวยั วะนนั้ เป็นอย่างดี จงึ จะสามารถแยกได้วา่ เกดิ ความผดิ ปกติขึ้นหรอื ไม่ อวยั วะทตี่ รวจ เช่น ตอ่ มน้ำลาย
กล้ามเนือ้ กระดกู การทำงานของข้อต่อขากรรไกร

2.3 การเคาะ อาจใชน้ ว้ิ มอื ของผตู้ รวจหรือเครอื่ งมอื เคาะดว้ ยแรงพอสมควรตอ่ อวยั วะทต่ี ้องการตรวจ
เพอื่ ที่จะฟงั เสียงและการตอบสนองของผู้ปว่ ย มี 2 วธิ ี ได้แก่

2.3.1 การเคาะโดยตรง(direct percussion) ใช้น้วิ มอื หรือเครอ่ื งมือเคาะลงไปที่อวยั วะท่ีต้องการ
ตรวจ อวัยวะท่ตี รวจ เชน่ ฟนั กลา้ มเนอ้ื กระดูก

2.3.2 การเคาะโดยอ้อม(indirect percussion) กระทำโดยวางแนบน้ิวมอื ขา้ งหนงึ่ ไวบ้ นอวัยวะ
ทต่ี อ้ งการตรวจแลว้ ใช้นวิ้ มอื อกี ขา้ งหนึง่ เคาะลงบนน้ิวมอื นั้นเปน็ จงั หวะติดๆกัน 2 ครั้ง โดยเคาะขยบั ขอ้ มือ กระตุกนว้ิ กลบั
ทุกครัง้

44

45

2.4 การสอดเครอ่ื งมือ เช่น การใช้ explorer ในการตรวจหารอยผุ การใช้ periodontal probe
ในการตรวจวดั ร่องเหงอื กเพอ่ื ประเมินสภาพอวยั วะปรทิ ันต์

2.5 การตรวจดกู ารโยกของฟัน โดยการวางเครอ่ื งมือหนึง่ บนฟันด้านใกลแ้ ก้มและอีกวางอกี เครื่องมอื หนึง่
บนดา้ นใกลล้ นิ้ แลว้ ใช้แรงขนาดพอสมควรกดเครอ่ื งมือดันฟันในแนวใกล้แกม้ -ใกล้ลิ้น เพือ่ ตรวจดูการโยกของฟนั เครื่องมือ
ที่ใช้ เชน่ ด้าม explorer ดา้ ม periodontal probe

2.6 การตรวจทางคลนิ ิกอื่นๆ ไดแ้ ก่ การฟังใช้ในการฟังเสยี งทเ่ี กิดขน้ึ จากการทำงานของร่างกายหรือการ
เคลอ่ื นไหวของอวยั วะ เชน่ เสียงการทำงานของข้อต่อขากรรไกร เสยี งลมหายใจของผปู้ ว่ ย การดดู (aspiration)
เพ่ือตรวจดขู องเหลวท่อี ยูใ่ นอวัยวะท่ีตอ้ งการตรวจ การทดสอบอุณหภมู ิ การทดสอบด้วยกระแสไฟฟา้ การกระตนุ้ ด้วยลม
จาก triple syringe เพื่อประเมนิ ความมชี ีวติ ของฟัน การตรวจโดยวธิ ี diascopy เป็นการตรวจเนอ้ื เยื่อโดยใช้สไลด์แก้ว
กดบนรอยโรคสแี ดงหรือม่วงคลำ้ เพ่ือดูว่าเพื่อดูวา่ เปน็ รอยโรคของเสน้ เลือดหรือเกิดจากสาเหตุอนื่

3. การแปลผลทางภาพถ่ายรังสี บนั ทกึ ผลทางภาพถ่ายรังสี บรรยายลกั ษณะของฟนั หรือตำแหน่งท่ีตรวจ
รวมถึงลกั ษณะของอวยั วะหรือบรเิ วณทีเ่ ก่ียวข้องซง่ึ ปรากฏในภาพถา่ ยรังสี

4. การวนิ ิจฉัยโรค ระบคุ ำวินิจฉัยฟันหรือตำแหนง่ ทต่ี รวจ
5. ทางเลือกในการรักษา ใหเ้ ขยี นลงทางเลอื กในการรกั ษาทเี่ ป็นไปไดท้ งั้ หมดสำหรับฟันหรอื ตำแหน่งท่ี
ตรวจ
6. สภาพปรทิ ันต์ เขยี นบรรยายสภาพอวัยวะปริทันตท์ ่ตี รวจพบโดยละเอยี ด ลกั ษณะการบรรยาย ได้แก่
สีและลกั ษณะของเหงือกโดยทัว่ ไป ลักษณะของขอบเหงือก เหงือกสามเหลี่ยมระหวา่ งฟัน ซ่ีฟันทโ่ี ยก ตำแหนง่ เหงือกรน่
ตำแหนง่ และระดบั ปรมิ าณของหนิ นำ้ ลายและคราบจุลนิ ทรยี ท์ ่เี กาะฟนั
7. การวินจิ ฉยั สภาพปรทิ ันต์ ระบุคำวินจิ ฉยั สภาพปรทิ ันต์ของผู้ป่วย
8. ความสมั พันธ์ของการสบฟัน ใชร้ ะบบการจำแนกของแองเกลิ (Angle’s classification)
ซ่ึงจะใชต้ ำแหน่งของฟันกรามถาวรซ่ีที่ 1 เป็นหลกั ในการจำแนกประเภทการสบฟนั แบ่งไดเ้ ป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่

8.1 Class I ฟนั กรามถาวรซ่ีที่ 1 บนและลา่ งสบในตำแหนง่ ที่เหมาะสม คือ ปมุ่ ฟันด้านใกล้แก้มใกล้กลาง
(mesiobuccal cusp) ของฟันกรามบนซ่ที ี่ 1 สบอยใู่ นร่องดา้ นแก้ม (buccal groove) ของฟนั กรามล่างซแ่ี รก
ในกรณที มี่ ฟี ันซ่อี ืน่ ๆผิดปกติไป เชน่ มีฟันหมนุ ซอ้ นเก ลม้ เอียง ฟนั ห่าง จะทำให้เกดิ การสบฟันผดิ ปกติประเภทที่ 1 (Class I
malocclusion)

8.2 Class II เป็นการสบฟนั ผิดปกตโิ ดยร่องดา้ นแกม้ ของฟันกรามล่างซท่ี ่ี 1 สบอยู่ดา้ นหลงั ตอ่ ปุ่มฟนั
ด้านใกลแ้ ก้มใกลก้ ลางเท่ากบั หรอื มากกวา่ ความกว้างของ 1 ป่มุ ฟัน (cusp) แบง่ ได้อกี เป็น 3 ประเภท คอื

8.2.1 Class II division 1 เป็นการสบฟนั แบบ Class II รว่ มกับการมฟี นั ตดั หน้าบนยื่น
ออกมากกว่าปกติ

8.2.2 Class II division 2 เป็นการสบฟนั แบบ Class II ร่วมกับการมฟี ันตดั หน้าซ่กี ลาง
บนอยใู่ นตำแหนง่ เกอื บปกติหรือมตี วั ฟนั เอียงเขา้ ด้านเพดานเลก็ นอ้ ย ฟนั ตัดบนซีข่ ้างจะยื่นออก

8.2.3 Class II subdivision เปน็ การสบฟนั แบบ Class II ทพ่ี บเพยี งข้างเดียว
8.3 Class III เป็นการสบฟันผดิ ปกตโิ ดยร่องด้านแกม้ ของฟันกรามลา่ งซที่ ี่ 1 สบอย่ดู ้านหนา้ ต่อ
ปุ่มฟันด้านใกลแ้ กม้ ใกลก้ ลางเทา่ กบั หรอื มากกวา่ ความกวา้ งของ 1 ปุม่ ฟนั ถา้ ฟนั กรามซ่ีที่ 1 ขา้ งหนง่ึ สบเป็น Class III
ส่วนอกี ขา้ งเปน็ Class I จดั เป็น Class III subdivision
การวางแผนการรกั ษา
เมือ่ ทำการซักประวตั ิ ตรวจและวนิ จิ ฉยั เรยี บรอ้ ยแลว้ ใหว้ างแผนการรักษา
โดยมีข้นั ลำดับการวางแผนเพอ่ื ใหก้ ารรกั ษาผูป้ ว่ ย ประกอบดว้ ย

45

46

1. การรกั ษาโรคตามระบบตา่ งๆของร่างกาย (systemic treatment)
2. การรักษาข้นั เตรยี มการ (preparatory treatment)
3. การรักษาโดยการดดั แปลงแกไ้ ขใหถ้ กู ต้อง (corrective treatment)
4. การเรียกกลบั มาเพื่อตรวจและบำรุงรักษาเปน็ ระยะ (periodic recall examination and maintenance
treatment)
1.การรักษาโรคตามระบบต่างๆของรา่ งกาย

คอื การจัดการโรคทางระบบทีผ่ ู้ปว่ ยเปน็ อย่หู รือมปี ระวตั ิ ไมว่ า่ จะไดร้ บั การรักษาอย่หู รือไม่กต็ าม
ประเมนิ ความเสย่ี ง ภาวะแทรกซอ้ นท่อี าจเกดิ ขึ้นจากสภาวะโรคท่ผี ปู้ ว่ ยเป็นอยู่ หรอื อาจเกดิ จากการรกั ษาทางทนั ตกรรม
เช่น การใช้ยาชาเฉพาะท่ี ความเครยี ด วิตกกังวล เพือ่ ให้ผปู้ ว่ ยได้รบั การรกั ษาทางทันตกรรมอยา่ งปลอดภัย
หากผ้ปู ว่ ยมโี รคทางระบบหรอื สงสยั ว่าอาจจะมคี วรปรกึ ษาอาจารยท์ นั ตแพทย์ทนั ทเี พอื่ ส่งผ้ปู ว่ ยไปพบแพทย์กอ่ นการรักษา
ทางทนั ตกรรม
ขอ้ แนะนำ

❖ หตั ถการทท่ี ำให้เกดิ ความเครียด มีเลือดออกมาก ทำให้เกิด ความเจ็บปวด ต้องใชย้ าชา โรค
หรอื สภาวะทนี่ ักศึกษาควรใหค้ วามสำคญั ในการสมั ภาษณ์ประวัติ ได้แก่ โรคระบบหลอดเลอื ดและหัวใจ ระบบเลอื ด
การแพ้ยาหรือสารเคมี ประวตั ิการใช้ยา การรักษาและการผา่ ตดั ”

❖ การตรวจวดั สญั ญาณชีพ จำเป็นตอ้ งทำทกุ ครัง้ ในผ้ปู ว่ ยอายุ 35 ปีขึ้นไป หรือผู้ป่วยที่มีความเสย่ี งหรอื น่าสงสยั ”
การจดั การในขน้ั ตอนนี้ประกอบดว้ ย

1.1 การสง่ ตอ่ ผูป้ ว่ ยไปใหแ้ พทยเ์ พ่ือประเมินโรคในระบบต่างๆของร่างกายทป่ี รากฏจากประวตั ิ
ผู้ป่วยหรือการตรวจพบทางคลนิ ิกและเพอื่ รบั การรกั ษา

1.2 การประเมินการรกั ษาโรคตามระบบต่างๆของร่างกายทม่ี ผี ลกระทบกระเทอื นถึงการวาง
แผนการรกั ษาทางทันตกรรม

1.3 การใหย้ าปฏชิ วี นะหรือยาระงับปวดแก่ผปู้ ่วยกอ่ นการรักษาทางทนั ตกรรมโดยมีขอ้ บ่งช้จี าก
ประวตั ิ

1.4 การใหก้ ารรักษาโรคตดิ เชอ้ื ในชอ่ งปาก
2. การรักษาข้ันเตรยี มการ

เป็นการรักษาข้นั เตรยี มการเพือ่ การแก้ไขที่ถกู ต้อง
ถงึ แม้วา่ วิธีการรกั ษาต่างๆในข้ันตอนนจ้ี ะมลี ักษณะเปน็ การรักษาแบบแก้ไขก็ตาม
แต่กเ็ ปน็ การรักษาเพอ่ื เตรยี มชอ่ งปากใหพ้ ร้อมท่ีจะทำการดัดแปลงแก้ไขและบรู ณะทีถ่ กู ต้องเหมาะสมในขนั้ ต่อไป
การรักษาในขั้นนีไ้ ด้แก่

2.1 ศัลยกรรมในชอ่ งปาก (oral surgery) เช่น การถอนฟนั 18
2.2 การรกั ษาคลองรากฟนั (endodontic treatment) เชน่ แนะนำรกั ษาคลองรากฟนั 24
2.3 การรกั ษาโรคปริทันต์ (periodontal therapy) เช่น การขูดหนิ ปนู ทัง้ ปาก
2.4 การจัดฟัน (orthodontic treatment) เพื่อแกไ้ ขการสบฟนั ท่ีผดิ ปกติ ทันตบุคลากร
ควรมคี วามรูเ้ บอื้ งตน้ เพอ่ื ใหค้ ำแนะนำและสง่ ต่อผูป้ ว่ ยให้ไดร้ บั การรกั ษาท่เี หมาะสมได้
2.5 การแก้ไขการสบฟนั (occlusal adjustment) เพือ่ แกไ้ ขปญั หาขดั ขวางการสบฟนั
(occlusal interference) ใหผ้ ้ปู ่วยมรี ะนาบการสบฟนั ท่ีเหมาะสม ซง่ึ ก่อนทำการแกไ้ ขการสบฟันทันตบคุ ลากร
ควรมคี วามรู้เบ้ืองตน้ เพื่อให้คำแนะนำและสง่ ต่อผูป้ ว่ ยให้ไดร้ ับการรกั ษาท่ีเหมาะสมได้ เน่ืองจากผู้ทำการรักษาต้อง

46


Click to View FlipBook Version