47
มีความรู้ ประสบการณ์ ความเชีย่ วชาญ เพือ่ ทจ่ี ะสามารถใหก้ ารรักษาไดอ้ ยา่ งถูกต้องตลอดถึงเตรียมชอ่ งปาก
ให้เหมาะสมต่อการบรู ณะหรอื ใสฟ่ ันปลอมในขน้ั ตอ่ ไป
2.6 การควบคมุ ฟนั ผุ (caries control) เช่น การเคลือบหลุมร่องฟนั การทำ preventive
resin restoration (PRR) การตรวจหาเช้อื ก่อโรคฟันผุในช่องปาก การแนะนำอาหารที่ป้องกันการผขุ องฟันได้เปน็ ตน้
2.7 การแนะนำการรักษาสขุ ภาพชอ่ งปาก (Home-care instruction) ไดแ้ ก่ การสอน
แปรงฟนั ใชไ้ หมขัดฟนั รวมถึงการรกั ษาสุขภาพช่องปากด้วยวิธกี ารอน่ื ๆ
3.การรักษาโดยการดดั แปลงแก้ไขใหถ้ ูกตอ้ ง
3.1 การรกั ษาทางทนั ตกรรมหตั ถการ (operative treatment) เชน่ การอุดฟัน 34(OD)
3.2 การรกั ษาทางทนั ตกรรมประดษิ ฐ์ (prosthetic treatment) เช่น แนะนำใสฟ่ นั ปลอม
ทดแทนฟันท่ีหายไป
4. การเรยี กกลบั มาเพอ่ื ตรวจและบำรงุ รักษาเป็นระยะ เช่น Recall ทุก 6 เดอื น
การสง่ ต่อผู้ป่วย
ในการให้การรกั ษาผปู้ ่วยน้ัน การรกั ษาบางอยา่ งผตู้ รวจอาจไมส่ ามารถใหก้ ารรักษาได้ อนั เนอื่ งจากมขี อ้ จำกดั
ต่างๆ เช่น อปุ กรณก์ ารรักษาไม่เหมาะสม ความสามารถในการใหก้ ารรกั ษาของผตู้ รวจ ผู้ตรวจควรส่งตอ่ ผปู้ ว่ ย
ให้ผทู้ ่ีสามารถใหก้ ารรักษาผู้ป่วยไดเ้ พ่อื ให้ผู้ปว่ ยได้รบั การรกั ษาเหมาะสมทสี่ ดุ ให้นกั ศึกษาระบุตำแหน่งฟนั
และประเภทการรกั ษาท่ีจะทำการส่งตอ่
ข้อแนะนำ
❖ บนั ทกึ วา่ แนะนำ (advised) การรักษา กรณีทนี่ ักศึกษาเหน็ วา่ ผูป้ ่วยควรไดร้ บั การรกั ษาอย่าง
อน่ื เพิม่ เตมิ เชน่ การใสฟ่ นั ปลอม การรักษารากฟนั การผา่ ฟันคดุ ซึ่งผ้ปู ่วยรับทราบคำอธิบายแต่อาจ
ยงั ไม่ตดั สนิ ใจรบั การรักษาในทนั ที หากผู้ป่วยตดั สนิ ใจรบั การรักษาใหบ้ ันทกึ ในช่องการส่งตอ่ ผู้ป่วย
❖ บนั ทึกวา่ สง่ ต่อ (refer) กรณีนกั ศกึ ษาได้อธิบายความจำเป็นทต่ี ้องไปพบแพทยห์ รอื ทันตแพทย์
เพื่อรับการรกั ษาต่อหรือเตรยี มผู้ปว่ ยก่อนมารับการรักษา ทง้ั นี้ผปู้ ว่ ยทราบขอ้ มูลทไี่ ด้รบั การอธิบาย
และตดั สินใจที่จะเขา้ รับการรักษาดังกล่าว
❖ การแนะนำการรักษา ผปู้ ่วยอาจจะเหน็ ดว้ ยหรอื ไม่ก็ได้ แตก่ ารสง่ ตอ่ นักศึกษาควรอธบิ าย
ผ้ปู ่วยใหเ้ ข้าใจความจำเปน็ หรอื วธิ กี ารรักษา ค่ารักษาครา่ วๆ บุคคลหรือสถานท่ีทผ่ี ู้ปว่ ยจะเข้ารบั การรกั ษา
ลำดับการรักษาในผู้ปว่ ย
ใหน้ กั ศกึ ษาวางแผนการรักษาผู้ป่วยในแตล่ ะครั้งท่ีผู้ปว่ ยมารับบริการ โดยระบุตำแหน่งฟนั และชนิดของการรกั ษา
เรียงตามลำดับก่อนหลัง
Plaque Control Record (PCR)
ในการวัดปรมิ าณคราบจลุ ินทรยี ์ทฟี่ ันในช่องปาก ใหน้ ักศึกษาบนั ทึกตำแหนง่ ทม่ี กี ารตดิ สแี ละไมต่ ดิ สยี อ้ มฟัน
คร้ังและวันท่ที ำการวดั และคำนวณค่า PCR เป็นเปอร์เซน็ ต์
บนั ทกึ การรกั ษา
47
48
ในการรกั ษาผู้ปว่ ยแตล่ ะครงั้ นกั ศกึ ษาตอ้ ง บนั ทึกวันที่ทำการรกั ษา ระบซุ ีฟ่ นั หรอื ตำแหนง่ ที่ทำการรักษาผู้ป่วย
ยาทจ่ี า่ ยใหก้ บั ผูป้ ่วย โดยบนั ทึกรายละเอยี ดในการรกั ษา ชนิด ขนาด จำนวน วิธกี ารใชย้ าทีไ่ ดจ้ า่ ยให้กบั ผูป้ ่วย
และหากมีปญั หาเกดิ ขึ้นขณะทำการรักษาซงึ่ เกยี่ วเนือ่ งจากการใหก้ ารรักษา ให้นกั ศึกษาบนั ทึกไวด้ ้วย ในชอ่ งนัดครง้ั ตอ่ ไปให้
นกั ศกึ ษาลงตำแหนง่ ฟันและชนดิ ของการรักษาทจี่ ะใหก้ ับผู้ป่วยพรอ้ มท้ังระบุวนั ที่ เวลาท่ีนัดผู้ป่วย
เมื่อบนั ทกึ ขอ้ มลู ต่างๆเรยี บร้อยแลว้ ใหล้ งช่ือนกั ศึกษา และใหอ้ าจารยผ์ ูค้ ุมคลนิ กิ ลงชอ่ื กำกับ
การตรวจอยา่ งยอ่
ใหน้ ักศึกษาบันทกึ ขอ้ มลู การซกั ประวตั ิ การตรวจทางคลนิ กิ การวินิจฉยั และการวางแผนการรกั ษาลงในแบบฟอร์ม
Screening Chart ซึง่ รายละเอยี ดจะน้อยกวา่ การตรวจแบบสมบรู ณ์ แต่ท้งั นี้ให้นักศกึ ษาพึงระลกึ วา่ ขอ้ มลู ทกุ อย่าง
ในการตรวจแบบสมบรู ณ์น้ันเป็นประโยชน์ต่อการรกั ษา ดงั นัน้ แม้ว่าการบันทกึ ในการตรวจอย่างยอ่ จะมีรายละเอียดนอ้ ยกว่า
แตใ่ นการซกั ประวัตแิ ละตรวจก็จำต้องใช้พื้นฐานจากการตรวจแบบสมบูรณ์ คือ
ซักถามและตรวจใหไ้ ดข้ อ้ มลู ครอบคลุมตอ่ การรกั ษาทจ่ี ะให้กบั ผู้ป่วย
สำหรับการวางแผนการรกั ษาในการตรวจประเภทนีใ้ ห้นักศกึ ษาวางแผนการรกั ษาเป็นลำดับโดยประกอบด้วย
1. การรักษาโรคตามระบบตา่ งๆของร่างกาย (Systemic treatment)
ข้ันตอนนก้ี ารจัดการเช่นเดยี วกบั ในการตรวจแบบสมบรู ณ์
2. การรักษาแบบเร่งด่วน (Emergency หรือ Urgent Treatment )
สำหรับการตรวจอย่างยอ่ อาจมีหรอื ไม่มีขนั้ ตอนนี้กไ็ ด้
ทัง้ นี้ขนึ้ อย่กู ับความเรง่ ด่วนของปญั หาทางทันตกรรมทพ่ี บในผู้ปว่ ย และอาจใช่หรอื ไมใ่ ชอ่ าการสำคัญทีน่ ำผู้ป่วยมารับการ
รักษากไ็ ด้
ขอ้ แนะนำ
❖ หากมีภาวะเร่งดว่ นท่คี วรไดร้ บั การรกั ษาก่อนอาการสำคัญท่ีทำใหผ้ ปู้ ่วยมารับการรักษาควร
อธิบายความสำคญั หรอื ความจำเปน็ ท่ีต้องได้รบั การแก้ไขกอ่ น หรือการเล่ือนการรกั ษาออกไปใหผ้ ปู้ ่วยเข้าใจ ”
3. การรักษาทางทันตกรรมดา้ นตา่ งๆ
ขน้ั ตอนนส้ี ามารถวางแผนการรกั ษาแบบเลอื กใหเ้ หมาะสมกบั ผู้ปว่ ยแตล่ ะรายได้ (Elective Treatment)
โดยวางแผนการรกั ษาตามเปน็ ประเภทของการรกั ษาตามลำดับก่อนหลัง
การตรวจแบบฉุกเฉินหรือเรง่ ดว่ น
เป็นการตรวจเมื่อผู้ปว่ ยมอี าการสำคญั ที่เปน็ ปญั หาทันตกรรมเร่งด่วนซ่ึงต้องไดร้ บั การแกไ้ ข เชน่
ฟันทีผ่ ุและปวดมากหรอื มกี ารตดิ เชอ้ื หากปลอ่ ยไวอ้ าจทำใหเ้ กิดการแพรก่ ระจายหรอื ลุกลามมากขึ้น
การวางแผนการรักษาให้บนั ทึกเปน็ ขัน้ ตอนเหมอื นการตรวจอย่างยอ่ แตใ่ นการตรวจแบบฉุกเฉินนีจ้ ะมีขั้นตอนการรักษา
แบบเร่งดว่ นเสมอและการรักษาในขนั้ ตอนนี้จะตอ้ งสามารถรกั ษาอาการสำคญั ใหก้ บั ผู้ปว่ ยได้
Recheckคือ การนดั ผปู้ ่วยกลบั มาเพือ่ ตดิ ตามผลการรกั ษาท่ีได้ทำเสรจ็ สนิ้ ไปแลว้ เช่น การบรู ณะฟันบรเิ วณ
คอฟนั ซ่ึงก่อนรักษาผปู้ ว่ ยมีอาการเสยี วฟันมากเมื่อดื่มนำ้ เยน็ หรือการแปรงฟัน เมอ่ื นกั ศึกษาบรู ณะไปเรยี บร้อยแล้ว
ควรจะนัดหมายเพ่อื ติดตามผลรกั ษาดังกล่าวในเวลาท่เี หมาะสม เชน่ 1 วัน 3 วัน หรือ 1 สปั ดาห์ เปน็ ต้น
Recall คือ การนดั ให้ผู้ปว่ ยกลบั มาตรวจและบำรงุ รักษาเป็นระยะๆ เพอ่ื คงสภาพท่ีดนี ้นั ไว้ เม่อื ผปู้ ่วย
ไดร้ ับการรักษาตามแผนการรกั ษาครบถว้ นแล้ว เช่น Recall ทกุ ๆ 6 เดือน ในกรณคี วามเสี่ยงสงู จะ Recall บ่อยขน้ึ ทุกๆ 3เดอื น
48
49
❖ เพ่อื ให้งา่ ยต่อการนัดหมายและการจดจำสำหรบั ผู้ให้การรกั ษาและผปู้ ว่ ย ควรระบุเดอื นท่ีนดั กลับมาตรวจ
ตามระยะเวลาด้วย เชน่ recall ทกุ 6 เดือน (ต.ค. 53) เมือ่ เวลาผา่ นไปเน่ินนาน หากมกี ารเปลย่ี นผู้ให้การรักษา
หรือเปน็ ผูใ้ หก้ ารรักษาคนเดิม กจ็ ะช่วยให้เราสามารถประเมินความร่วมมอื ในการรกั ษาของผู้ปว่ ยไดง้ า่ ยข้นึ
“Recheck all restorations and periodontal status, Recall every 6 months (oct’ 2010)”
ขอ้ พึงระลึกกอ่ นเชญิ อาจารย์ตรวจงาน
❖ ข้อมูลผู้ป่วยเบ้อื งตน้ คอื สิ่งจำเปน็ ทตี่ อ้ งรายงานใหอ้ าจารย์ทราบทกุ ครั้ง เชน่ ผ้ปู ่วยหญิงไทย
อายุ 20 ปี สถานภาพนักศกึ ษา ภมู ลิ ำเนา จ.ขอนแก่น มาพบด้วยอาการสำคญั คือ......................
❖ กรณเี ชญิ ตรวจงานขูดหินปูน นักศกึ ษาต้องก้ันน้ำลายก่อนเชิญอาจารยต์ รวจงาน
❖ การเชญิ อาจารย์ตรวจงานเก่าหรอื งานคา้ ง ให้นกั ศึกษารายงานขน้ั ตอนเดิมด้วยทกุ คร้ัง เชน่
o ครงั้ ท่ี 1 : เชิญอาจารย์ตรวจงาน beginning check งานขดู หินปนู ฟนั หนา้ ล่างค่ะ
o ครง้ั ที่ 2 : เชญิ อาจารยต์ รวจงานขดู หนิ ปนู ฟันหน้าล่างคะ่
▪ (อ.ตรวจและแนะนำใหข้ ูดบรเิ วณซ่ี 31/32 เพิ่ม)
o ครั้งที่ 3 : เชญิ อาจารย์ ตรวจงานแก้ไขขูดหนิ ปูนฟนั หนา้ ล่าง ซ่ี 31/32 คะ่
❖ ทกุ ครงั้ ทอี่ าจารย์พบวา่ เครอื่ งมือสกปรก อาจารยอ์ าจจะพจิ ารณาไมต่ รวจงานให้นกั ศกึ ษา
การวินิจฉยั สภาวะปริทันต์
นักศึกษาต้องทำการวนิ ิจฉยั ภาวะโรคปรทิ ันต์ของผู้ป่วยโดยดอู าการทางคลนิ ิกรว่ มกบั การใช้ Periodontal probe
วัดร่องลกึ ปรทิ ันต์ ดงั น้ี
✔ สภาพเหงอื กอกั เสบทส่ี ัมพันธก์ บั ปรมิ าณแผน่ คราบจลุ ินทรยี ์ ไมพ่ บรอ่ งลึกปริทันต์ ใหต้ รวจดู
สภาพเหงือกโดยรวมและวนิ จิ ฉัยเป็น Dental plaque induced gingival diseaseอวยั วะปรทิ นั ต์ทตี่ รวจพบมี
ร่องลกึ ปริทันต์ มีฟนั โยก มีการทำลายของกระดูกหมุ้ รากฟัน ให้การวนิ จิ ฉัยเปน็ Periodontitis
49
50
แบบช่วยบันทกึ การตรวจ วนิ จิ ฉยั และวางแผนการรักษาทางทันตกรรม
ช่ือ-นามสกุล ผ้ปู ่วย.....................................................................เลขทีบ่ ตั ร................................ว/ด/ป....................
การตรวจฟัน
ฟนั ซ่ี Diagnosis Tx Seq. ฟนั ซ่ี Diagnosis Tx Seq.
18 38
17 37
16 36
15 55 35 75
14 54 34 74
13 53 33 73
12 52 32 72
11 51 31 71
21 61 41 81
22 62 42 82
23 63 43 83
24 64 44 84
25 65 45 85
26 46
27 47
28 48
บรรยายสภาพเหงือก...................................................................................................................................................................
…………...............................................................................................................................................................................
…………...............................................................................................................................................................................
การวินจิ ฉัยเหงือก…………......................................................................................................................................................
การสบฟัน................................................................................................................................................................
การวางแผนการรกั ษาทางทันตกรรม
1. Systemic Treatment………………………………………………………………..................................................
2. Urgent Treatment ...................................................................................................................................................
3. Elective Treatment
ลำดับท.ี่ ............ Tx………………………………………………………………………………………..
ลำดับที่............ Tx………………………………………………………………………………………..
ลำดับท่…ี …… Tx………………………………………………………………………………………..
4. Preventive Treatment
Sealant……………………………………...……………………………………….........................................
Fluoride therapy ……………………………………………...........................................................................
5. Refer .........................................................................................................................................................................
6. Recheck……………………………………………………………………………................................................
50
51
[ตวั อย่าง Complete Chart]
แบบฟอรม์ การตรวจ การวินิจฉัยโรค และการวางแผนการรกั ษาทางทนั ตกรรม
คลินิกทนั ตกรรมเพือ่ การศกึ ษา วิทยาลยั การสาธารณสขุ สิรินธร จงั หวดั ขอนแก่น
ชื่อ-สกลุ ผู้ปว่ ย...............ด.ช.ใจกลา้ รักเรยี น....................อาย.ุ .........8.........ปี เพศ ชาย หญิง
ทีอ่ ยู่.........789 ถ.ประชาสโมสร อ.เมอื ง จ.ขอนแก่ 40000....เบอรโ์ ทรศัพท.์ ......043-237238.........
ภูมลิ ำเนา.....จ.ขอนแกน่ .....อาชพี .......นกั เรยี น.....สถานภาพการสมรส โสด สมรส หยา่ ร้าง
สิทธิประโยชน์ในการรักษา ☑ บัตรประกนั สุขภาพ ประกนั สงั คม เบกิ ได้ ไมม่ ี อ่นื ๆ (ระบุ)....
อาการสำคญั (Chief complaint) : ........ปวดฟันกรามแท้บนซา้ ยซที่ ี่ 1
เวลามเี ศษอาหารตดิ และเสียวฟันมากเวลาด่ืมนำ้ เยน็ มาประมาณ 3 วนั แล้ว
ประวตั ทิ างการแพทย(์ Medical history) :
1. ผปู้ ่วยมสี ุขภาพแขง็ แรงดี ☑ใช่ ไม่ใช่ (ระบุ)...............................
2. ผปู้ ว่ ยเคยพกั รกั ษาตัวในโรงพยาบาล ☑ใช่ ไม่ใช่ (ระบ)ุ .................อาหารเปน็ พษิ
3. ผปู้ ่วยกำลงั อยรู่ ะหว่างการรกั ษาโดยแพทย์ ใช่ ☑ไมใ่ ช่ (ระบ)ุ ...................................
4. ผู้ป่วยเคยได้รับอุบตั เิ หตุบริเวณใบหน้าและขากรรไกร ใช่ ☑ไม่ใช่ (ระบ)ุ ...............................
5. ผปู้ ว่ ยกำลังรับประทานยาประจำอยู่ ใช่ ☑ไมใ่ ช่ (ระบ)ุ .....................................
6. ผปู้ ว่ ยเคยมีประวตั แิ พย้ า ใช่ ☑ไม่ใช่ (ระบุ).......................................
7. ผปู้ ่วยเคยมีประวัตแิ พ้อาหาร ใช่ ☑ไม่ใช่ (ระบ)ุ .......................................
8. ผู้ปว่ ยกำลังตั้งครรภอ์ ยู่ ใช่ ☑ไม่ใช่ (ระบุ)................................
9. ผปู้ ่วยเคยได้รบั การฉายรงั สรี ักษา ใช่ ☑ไมใ่ ช่ (ระบุ)...............................
10. ผู้ป่วยมีประวตั ขิ องโรคหรอื ปญั หาต่อไปน้ี ไมม่ ี
โรคหัวใจ โรคเลือด โรคไขร้ ูห์มาติค โรคปอด โรคตับ
โรคไต เบาหวาน ความดันโลหติ สูง โรคผวิ หนงั ☑ โรคภมู ิแพ้
โรคไทรอยด์ มะเรง็ โรคทางเดินอาหาร โรคผวิ หนัง ขอ้ อักเสบ
โรคเอดส์ หอบหืด โรคทางเพศสมั พนั ธ์ ชกั โรคทางจิต
โรคเครียด ความผดิ ปกติทางสมองและ/หรือสตปิ ญั ญา การฟัง การพูด
การมองเหน็ อืน่ ๆ (ระบุ).แพ้อากาศเยน็ จะมีอาการหายใจลำบาก ระคายคอ นำ้ มกู
ประวัติทางครอบครัว(Family history) : ...บิดาเปน็ เบาหวาน ไดร้ ับการรกั ษาจากแพทยม์ าประมาณ 5 ปแี ล้ว
ควบคมุ น้ำตาลในเลอื ดได้ดี ปจั จบุ นั ยงั ไดร้ บั ยาอยู่ สุขภาพแขง็ แรงด.ี .
ประวตั สิ ่วนตวั และสงั คม(Personal and social history) : ...ชอบดดู นิ้ว กัดเลบ็ กัดปากกา ดม่ื นำ้ อดั ลม
ประวัตทิ างทันตกรรม(Dental history) : ...................เคยอดุ ฟนั ถอนฟัน……………..
ลงลายมือช่ือผู้ป่ วย หรือ ผ้ปู กครองหากผ้ปู ่ วยยังไม่บรรลนุ ิติภาวะ
ลงชอ่ื ...............................................................ผปู้ ว่ ย/ผปู้ กครอง วันเดือนปี......................................
51
52
สญั ญาณชพี (Vital signs) : ความดันโลหติ (Blood pressure) : 90/60 มม.ปรอท
อัตราการเต้นของชีพจร (Pulse rate) : ............90............ครงั้ /นาที
ซ่ฟี ัน/ การตรวจทางคลนิ ิก Radioluc
ตำแหน่ง involved
Deep dental caries nearly exposed pulp at occlusal surface, pulp hor
26O positive to exploration,negative to percussion, no tooth mobility. lamina d
History of sharp pain due to food impaction and hypersensitive
16OL dentine due to cold drink for 3 days. พบเงาโปร
(พบฟนั ผลุ กึ ใกล้โพรงประสาทฟนั บนด้านocclusal occlusal
มีอาการเสียวฟันเมือ่ ตรวจด้วย explorer เคาะไม่มีอาการใดๆ ฟันไม่โยก มม.PDL s
ผู้ป่วยให้ประวัติว่าปวดแหลมฟนั ซน่ี ้เี วลามเี ศษอาหารติด ไมพ่ บมกี า
เม่ือเอาเศษอาหารออกกห็ ายปวด และเสียวฟนั มากเวลาดม่ื นำ้ เยน็ Radioluc
มีอาการมาประมาณ 3 วนั แลว้ ) involved
Small dental caries at occluso-lingual surfaces without any PDL spac
symptoms. (พบฟันผุขนาดเล็กบนด้าน occluso-lingualไมม่ อี าการใดๆ) resorptio
พบเงาโปร
55 Retained root, no sinus tract opening without any symptoms occlusal
(ฟนั ผเุ หลอื แตร่ ากฟัน ไม่พบรูเปดิ หนอง ไม่มอี าการใดๆ ) Radioluc
mm2 , wi
52
2
อตั ราการหายใจ (Respiratory rate) : .........20............คร้งั /นาที
อณุ หภมู ริ า่ งกาย (Body temperature) : ...........37.4.........องศาเซลเซยี ส
การแปลผลทางภาพถา่ ยรงั สี การวนิ ิจฉยั โรค ทางเลอื กในการรักษา
cent area at occlusal surface 26 Reversible pulpitis with 26(O) Filling
d 1/3 inner dentine nearly mesial asymptomatic apical
rn. Normal PDL space, intact periodontitis
dura, no root resorption.
ร่งรังสีใกล้โพรงประสาทฟันบนดา้ น 16 Enamel caries 16(OL) Observe, OHI
ห่างจาก mesial pulp horn 0.5 55 Chronic apical abscess 55 Extraction
space ปกติ lamina dura ตอ่ เน่อื ง
ารละลายของรากฟนั
cent area at occlusal surface
d outer half of enamel. Normal
ce, intact lamina dura, no root
on.
ร่งรงั สลี กึ ถึงชัน้ enamel บนด้าน
รากฟนั ปกติ อวัยวะปรทิ นั ตป์ กติ
cent at periapical area size 3x3
idening PDL space, discontinuous
2
53
ซีฟ่ นั / การตรวจทางคลนิ กิ
ตำแหน่ง
lamina d
undernea
พบเงาโปร
ขนาดเสน้ ผ
กว้างขึน้ la
และพบมหี
54 Sound tooth without any symptoms.
53 (ฟันปกติ ไมพ่ บฟันผุ ไมม่ ีอาการใดๆ)
52-64 Dental caries exposed dentine at labial surface without any
area 65 symptoms. (พบฟนั ผลุ กึ ถึงชน้ั dentine บนดา้ น labial ไม่มอี าการใดๆ)
Sound tooth without any symptoms.
ฟนั ปกติ ไม่พบฟันผุ ไมม่ ีอาการใดๆ
Normal edentulous ridge without any symptoms, history of
extraction.สนั เหงอื กปกติ ไมม่ อี าการใดๆ
ผูป้ ่วยให้ประวตั วิ า่ เคยได้รับการถอนฟันซน่ี ี้มากอ่ น
36 Sound tooth with deep pits and fissures without any symptoms
ฟันปกติ มหี ลุมและร่องฟนั ลึก ไมม่ อี าการใดๆ
53
3
การแปลผลทางภาพถา่ ยรงั สี การวินิจฉยั โรค ทางเลือกในการรักษา
dura. Have tooth bud of 15 54 Sound tooth -
ath.
ร่งรังสรี อบปลายรากฟนั
ผ่าศนู ย์กลาง 3 มม.PDL space
amina dura ไมต่ อ่ เน่ือง
หน่อฟันแทห้ า่ งจากปลายรากฟัน 1 มม.
-
- 53 Dental caries 53(B)Filling
- 52-64 Sound teeth -
- Normal edentulous area 65 area 65 ม2ี ทางเลือกคอื
1.ใสเ่ ครื่องมอื เพือ่ กันช่อง
ว่างให้ฟันแท้
Space Maintainer (SM)
2.ตดิ ตามดูอาการ
(observe)
- 36 Sound tooth 36 Sealant
with deep pits and fissures
3
54
ซี่ฟัน/ การตรวจทางคลินกิ
ตำแหนง่
75 Partial dislodged amalgam filling at occluso-mesial surfaces,
irregular margin with secondary caries, positive to exploration,
positive to air stimulation, negative to percussion. (พบวัสดุอดุ ฟนั
อมัลกัมเกา่ บนดา้ น occluso-mesial แตกออกบางสว่ น ขอบไม่เรยี บมฟี นั ผใุ ต้วสั ดุเขย่ี
ตดิ เป่าเสยี ว เคาะไมเ่ จ็บ)
74,73 ฟนั ปกติ ไมพ่ บฟันผุ ไมม่ อี าการใดๆ
32 Enamel fracture at incisal surface exposed dentine without any
symptoms. History of car accident for 1 week ago
(พบฟันแตกบรเิ วณ incisal ลกึ ถงึ ชัน้ dentine ไม่มีอาการใดๆ จากอบุ ัตเิ หตทุ างรถยนต์
เม่ือสปั ดาหก์ ่อน)
31-83 Sound tooth without any symptoms.
ฟันปกติ ไมพ่ บฟนั ผุ ไม่มีอาการใดๆ
84OD Distal marginal ridge discoloration without any symptoms. Radioluce
(พบ enamel มกี ารเปลยี่ นสีบนสันรมิ ฟนั ด้าน occluso-distal ไม่มอี าการใดๆ) involved 1
space, inta
resorption
85OM Mesial marginal ridge discoloration without any symptoms พบเงาโ
(พบ enamel มกี ารเปลี่ยนสบี นสันรมิ ฟนั ด้าน occluso-mesialไม่มีอาการใดๆ)
Radioluce
surfaces i
54
4 การวินิจฉยั โรค ทางเลอื กในการรกั ษา
การแปลผลทางภาพถ่ายรงั สี 75 Improper restoration Re-filling
with secondary caries
-
- 74-73Sound teeth -
- 32 Uncomplicated Filling
crown fracture -
Filling
- 31-83 Sound teeth
84 Proximal caries Filling
ent area at occluso-distal surfaces
1/3 outer dentine. Normal PDL 85 Proximal caries
act lamina dura, no root
n.
โปรง่ รังสบี นดา้ น distal ลึกถงึ DEJ
ent area at occluso-mesial
involved 1/3 outer dentine. Normal
4
55
ซี่ฟนั / การตรวจทางคลนิ กิ
ตำแหนง่
PDL spac
resorption
พบเงาโป
46O Large and deep dental caries nearly exposed pulp at occlusal Radioluce
surface, positive to exploration, air stimulation, and percussion. superimpo
Not response to heat or cold test. Hx. of spontaneous dull pain space, not
at night for 10 days. lesion ,no
(พบฟนั ผุขนาดใหญ่ทะลุโพรงประสาทฟันบนดา้ น occlusal มีอาการเสยี วฟันเมือ่ ตรวจ
ด้วย explorer เป่าลมเสียว มีอาการเจ็บหรอื ตึงเมื่อคลำหรือเคาะ ผปู้ ่วยใหป้ ระวัติวา่ เคยมี ถึงชน้ั โพรงป
อาการปวดตื้อท่ีฟันตอนกอ่ นนอนเมอื่ ประมาณ 10 วนั ก่อน ปัจจบุ นั มอี าการปวดฟันมากขึ้น
space หน
เพราะมเี ศษอาหารเข้าไปตดิ เสมอ)
ต่อเน่ือง ไม
การละลายข
ลงชอื่ .................................................................นกั ศึกษา
วนั เดอื น ปี ..................................................
55
5
การแปลผลทางภาพถ่ายรงั สี การวนิ จิ ฉยั โรค ทางเลือกในการรกั ษา
ce, intact lamina dura, no root 46 Irreversible pulpitis with 1. RCT
n. symptomatic apical 2. Extraction
ปรง่ รงั สีบนด้าน mesial ลึกถงึ DEJ periodontitis
ent area at occlusal surface
osed with pulp, widening PDL
t intact lamina dura, no periapical
o root resorption. พบเงาโปร่งรงั สลี ึก
ประสาทฟันบนด้าน Occlusal PDL
นาตวั ขึ้นเล็กน้อย lamina dura ไม่
มพ่ บมีเงาโปรง่ รังสีบรเิ วณรากฟัน ไม่พบมี
ของรากฟนั
ลงช่ือ .......................................................................อาจารย์
วัน เดือน ปี ..................................................
5
56
สภาพปริทันต(์ Periodontal status):.......Gingiva is red, round margin, edematous IDP, soft consistency,
easily bleeding on probing, no pocket formation, no gingival recession, no tooth mobility.
Having moderate subgingival & supragingival dental plaque and dental calculus deposit,
especially lingual surfaces of anterior teeth.
คำแปล เหงือกมสี แี ดง ขอบเหงือกมนกลม เหงือกสามเหลี่ยมระหว่างฟันบวม กดนิ่ม มีเลอื ดออกงา่ ย
เมอ่ื ใชเ้ ครอ่ื งมือตรวจวดั รอ่ งลึกปรทิ ันต์ ไม่พบรอ่ งลกึ ปริทันต์ ไมพ่ บเหงือกรน่ ไมพ่ บฟนั โยก พบการสะสม
ของคราบจุลินทรยี ์และหนิ นำ้ ลายทง้ั เหนอื เหงือกและใตเ้ หงือกระดบั เล็กน้อยโดยทว่ั ไป.......
การวนิ จิ ฉยั สภาพปรทิ นั ต์(Diagnosis of periodontal status) :
........Dental plaque induced gingival disease..................................................
การวางแผนการรกั ษาโรคเหงือกอักเสบ (Gingivitis Treatment)
Scaling and OHI
ความสัมพนั ธข์ องการสบฟัน(Occlusal relationship) : ....Angle’s class I malocclusion................
การวางแผนการรักษา(Treatment plan) :
1. การรักษาโรคตามระบบตา่ งๆของรา่ งกาย (Systemic treatment) : .................-................
2. การรักษาขั้นเตรยี มการ (Preparatory treatment) :
☑ศลั ยกรรมช่องปาก (Oral surgery) : ......Extraction 55..........................................
☑การรกั ษาคลองรากฟนั (Endodontic treatment): ......แนะนำ RCT 46..................
☑ การรักษาปรทิ นั ต์ (Periodontal treatment) : ......Scaling FM...............................
☑ การควบคมุ ฟนั ผุ (Caries control) : ......PRR 16, Sealant 36...............................
☑ การแนะนำรกั ษาสุขภาพชอ่ งปาก (Home-care instruction) : ......การแปรงฟัน.........
⬜อื่นๆ :...........................................................................................
3. การรกั ษาโดยการดดั แปลงแกไ้ ขให้ถูกตอ้ ง (Corrective treatment) :
☑การรักษาทางทนั ตกรรมหตั ถการ (Operative treatment) : ...
....................26 (O), 53 (La), 75 (OM), 32 (I), 84 (OD), 85 (OM)....................
⬜การรักษาทางทันตกรรมประดิษฐ์ (Prosthetic treatment)
:................................................................................................................................................
4. การเรยี กกลบั มาเพอื่ ตรวจและบำรุงรักษาเปน็ ระยะ (Periodic recall examination and maintenance treatment) :
.......................Recall ทุก 6 เดอื น…….Recall every 6 months (หรอื จะเขยี นวา่ 6 months recall)
5. การส่งต่อผูป้ ว่ ย (Refer): ...........RCT 46. ............................................................................
ลงชือ่ .......................................................นกั ศึกษา ลงชอื่ .........................................................อาจารย์
วัน เดือน ปี ......................................... วนั เดอื น ปี ..................................................
56
57
นิปฏิบัติการที่ 3
การถา่ ยภาพรงั สีและการแปลผลภาพรงั สี
3.1 การถา่ ยภาพรงั สี
แผนการสอนการถ่ายภาพรงั สี
วตั ถุประสงคก์ ารเรียนรรู้ ายปฏบิ ัตกิ ารเม่อื เรยี นจบปฏบิ ตั ิการนี้แล้ว นกั ศึกษาสามารถ
บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์รายวิชาตามรายขอ้ ดงั น้ี
ขอ้ ท่1ี .อธิบายส่วนประกอบของฟลิ ม์ และการเลอื กใช้ถา่ ยภาพรังสีในช่องปากโดยใชเ้ ทคนิคทถี่ ูกตอ้ งล้างฟิลม์ และ
แปลผลภาพรงั สี ไดถ้ ูกต้องตามหลกั วิชาการ (LO 2.3, 3.1 ,3.3)
ขอ้ ท่ี 2. ตรวจและวนิ จิ ฉัยโรคโพรงประสาทฟันและเนอื้ เยอื่ รอบปลายรากฟนั โรคเนอื้ เย่ืออ่อนในชอ่ งปาก
ท่พี บบ่อยได้ถูกตอ้ งตามหลกั วิชาการ (LO3.1, 3.3)
ข้อที7่ .สามารถทำความสะอาดเคร่ืองมอื ทใ่ี ชใ้ นงานทันตกรรม จัดเกบ็ และทำให้ปราศจากเชอ้ื ไดถ้ ูกตอ้ ง
ตามหลักวชิ าการ(LO1.2,1.3 ,2.3, 3.1 ,3.3,6.2,6.4)
ขอ้ ที่ 8.มีพฤติกรรมทางดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม การเคารพสิทธผิ ใู้ ชบ้ ริการ ความมีวนิ ยั ซ่อื สตั ย์ รบั ผิดชอบ
มเี จตคติ และเปน็ แบบอย่างทีด่ ีแกผ่ อู้ ื่น (LO1.1, 1.2, 1.3 ,4.2)
วัตถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม เพ่ือให้นักศึกษาสามารถ
1. ถา่ ยภาพรงั สีในช่องปากโดยใช้เทคนิคท่ถี กู ตอ้ งได้
2. ล้างฟลิ ม์ เอกซเรยไ์ ด้ถูกต้องตามขน้ั ตอนและมคี ุณภาพ
3. เรยี งฟิล์มและจดั เกบ็ ฟลิ ม์ เอกซเรยท์ ถี่ า่ ยแล้วได้อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม
4. เขยี นใบสั่งยาถา่ ยภาพรังสไี ด้อย่างถูกตอ้ ง 1 ใบ
วัสดุอุปกรณท์ ่ใี ชใ้ นการเรยี นการสอน
1. ถาดเคร่ืองมอื (Shallow tray)
2. Needle holder 1 ตวั
3. Cotton pliers 1 ตวั
4. ท่ีหนีบฟลิ ม์ (Film hanger) 1 ตวั
5. ฟิล์มเอกซเรย์ เบอร์ 2 3 ฟลิ ์ม
6. กระดาษกดั สำหรับถ่ายภาพรงั สีแบบไบตว์ งิ 1 ตวั
7. ถงุ พลาสติกใสขนาดพอดีกับ Film (นกั ศึกษาเตรยี มมาเอง) 10 ถุง
8. ถงุ มอื แบบใชค้ รั้งเดยี วท้ิง 1 คู่
9. ใบสัง่ ยา 1 ใบ
10. ใบประวตั กิ ารรกั ษาผปู้ ว่ ย OPD Card
58
ข้นั ตอนการปฏิบตั ิ
1. จดั กลมุ่ นกั ศกึ ษาฝึกปฏบิ ตั ิการถา่ ยภาพรังสี 1 กลมุ่ จำนวน 10-12 คนตามกลมุ่ พรีคลินิกซ่งึ จัดคไู่ ว้แลว้ และแบง่
หนา้ ทกี่ นั เป็น operatorผถู้ า่ ยภาพรังสแี ละคนไขส้ มมตุ ิ และสลับกนั ในคร้งั ต่อไป
2. อาจารย์ 1 คน ดูแลการถา่ ยภาพรงั สีของน.ศ.
3. นักศึกษาแตล่ ะคน จดั เตรียมเครื่องมอื ตามรายการ “วสั ดุอุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการเรียนการสอน”
4. ปฏบิ ัตงิ านตาม “ข้นั ตอนการทำงาน”
กจิ กรรมของอาจารยป์ ระจำกลมุ่ ปฏบิ ตั ิการ
1. ดแู ลนกั ศกึ ษาในกลมุ่ ทร่ี บั ผดิ ชอบ
2. อธิบายขั้นตอนการทำงานในปฏบิ ตั ิการนี้
3. แนะนำเครอื่ งมือและอุปกรณใ์ นการถ่ายภาพรังสีช่องปาก
4. สาธติ การจดั ตำแหน่งผูป้ ่วย และการป้องกนั อันตรายจากรงั สี
5. สาธิตตำแหนง่ การวางกระบอกรงั สแี ละการวางฟิล์มในปากคนไข้
6. สาธิตการถา่ ยภาพรังสแี บบ Periapical film และ แบบ Bitewing technique
7. สาธติ การลา้ งฟิลม์
8. ใหค้ ำแนะนำ แนะแนวทาง และสงั เกตพฤติกรรมการปฏบิ ัติงานนกั ศกึ ษาแต่ละคน
9. ใหค้ ะแนนในใบประเมนิ ปฏิบัตกิ ารและคะแนนพฤตกิ รรมนกั ศึกษาแต่ละคน
กจิ กรรมของนักศกึ ษา
1. ศึกษาขั้นตอนการปฏิบตั ิงานจากคมู่ อื ปฏบิ ัตกิ ารคลนิ กิ ทันตกรรมเบอ้ื งต้น
2. อ่านการถา่ ยภาพรังสีในช่องปาก จากหนังสือ “ทันตรังสี” กอ่ นฝึกปฏิบัติการ
3. จดั เตรียมเคร่อื งมือตามรายการ “วัสดุอุปกรณท์ ีใ่ ชใ้ นการเรยี นการสอน” ไปท่หี อ้ งจ่ายกลางเพ่อื เบิก
ชดุ ถา่ ยภาพรังสี (ชุดเอกซเรย์ และฟิล์ม เอกซเรย์ เบอร์ 2 คนละ 3 ฟลิ ม์ หากถ่ายเสยี ต้องถา่ ยซอ่ ม ใหเ้ บิกเพ่มิ ได้
อีกไมเ่ กนิ คนละ 3ฟลิ ม์ หากยงั ถา่ ยไมไ่ ด้ ครบตามตำแหนง่ ทตี่ ้องการตอ้ งชำระค่าซือ้ ฟลิ ์มคนละ 50บาท
4. เชญิ อาจารยต์ รวจ เพอื่ เรม่ิ งาน (Beginning check)
5. ปฏิบตั งิ านตาม “ข้ันตอนการทำงาน”
6. ฝกึ เขียนใบสงั่ ยาคา่ เอกซเรย์
7. บนั ทกึ กจิ กรรมประจำวัน และบัตรOPD
8. ลา้ งชุดเครืองมอื เช็ดใหส้ ะอาด นำสง่ คนื ทห่ี อ้ งจา่ ยกลาง
สือ่ การเรียนการสอน
1. คู่มอื ปฏิบตั ิการคลนิ กิ ทนั ตกรรมเบอื้ งตน้
2. ตำราเอกสารวชิ าการท่ีเก่ียวขอ้ ง
3. ฟลิ ม์ เอกซเรย์
การประเมนิ ผล 80 คะแนน
1. คะแนนจากแบบประเมินทกั ษะการฝึกปฏิบตั ิถ่ายภาพรงั ส(ี 3ภาพถ่ายเองและตามโจทย์1ภาพ) 10 คะแนน
2. คะแนนจากแบบประเมินพฤติกรรมประจำวนั 20 คะแนน
3. คะแนนจากแบบประเมนิ การดแู ลรักษาเคร่ืองมือ
(ประเมินทกุ วันของสัปดาหท์ ่ีมปี ฏบิ ตั กิ าร)
59
เกณฑก์ ารประเมินผล
1. ผ้เู รยี นตอ้ งเขา้ เรียนอยา่ งน้อย รอ้ ยละ80 ของเวลาเรยี น
2 . ผเู้ รยี นต้องได้คะแนนในแบบประเมินทกั ษะแตล่ ะปฏิบตั ิการ ตงั้ แต6่ 0%ขนึ้ ไปจึงจะมสี ิทธ์ิขอประเมนิ ผลการเรยี น
3. ผู้เรยี นตอ้ งไดค้ ะแนนรวมพฤตกิ รรมประจำวันตั้งแต6่ 0%ข้นึ ไปจงึ จะมีสิทธข์ิ อประเมนิ ผลการเรยี น
4. ผู้เรยี นต้องไดค้ ะแนนรวมในแบบประเมินการดูแลรกั ษาเครอ่ื งมือ ตัง้ แต่60%ข้ึนไปจึงจะมสี ิทธ์ิขอประเมนิ ผลการเรยี น
ขัน้ ตอนการทำงาน
1.นกั ศึกษาจับคู่กันvisit 1เพื่อถ่ายภาพรังสีในชอ่ งปาก คนละ 3 ฟิลม์
▪ ถา่ ยภาพรงั สรี อบปลายราก เทคนคิ การแบ่งคร่ึงมุม (Periapical film with bisecting technique)
บรเิ วณ ฟนั กรามแท้บนซท่ี ่ี 1 จำนวน 1 ฟิลม์
▪ ถา่ ยภาพรงั สรี อบปลายราก เทคนคิ การแบ่งครง่ึ มมุ (Periapical film with bisecting technique)
บริเวณฟนั หนา้ ล่างซแี่ รก จำนวน 1 ฟิล์ม
▪ ถ่ายภาพรงั สดี ้านประชิดฟนั (bitewing technique) บริเวณฟนั กรามกับฟันกรามนอ้ ยล่าง จำนวน 1
ฟิล์ม
2.หยิบกระดาษกัดสำหรับถ่ายภาพรงั สีเทคนคิ ไบต์วิง 1 ชิน้ (โดยใช้ transfer forceps)
ข้นั ตอนการถ่ายภาพรังสี
1. เปดิ main switch ปรบั Exposure time ให้เหมาะสมตามขนาดรา่ งกายของผปู้ ่วยและตำแหนง่ ฟนั
2. ทำความสะอาดเครือ่ งถ่ายภาพรงั สีโดยใชส้ ำลีชบุ นำ้ ยาฆา่ เชื้อ ZETA 3 และห่อห้มุ พื้นผิวทำงาน กระบอกรังสี
ปุ่มปรับปรมิ าณรังสี แทน่ กดรังสี ด้วยพลาสตกิ หอ่ อาหาร
3. ปรับตำแหน่งผปู้ ่วยให้ถูกตอ้ งและสวมเสอ้ื ตะกว่ั ใหก้ ับผู้ปว่ ย
4. ปรบั กระบอกรงั สีครา่ วๆ เชิญอาจารย์ตรวจการปรบั กระบอกรังสีและตำแหนง่ ผู้ป่วย
5. ลา้ งมือดว้ ยน้ำสบฆู่ า่ เชอื้ และเชด็ มอื ให้แห้ง
6. วางฟลิ ม์ ในปากผปู้ ่วยโดยใช้ Needle holder และให้ Identification dot อยูท่ างด้านบดเค้ยี วเสมอ
ยกเว้นการถ่ายรงั สเี ทคนคิ ไบต์วิงให้ dot ของฟิล์มหันขึ้นด้านบนเสมอ
7. ปรับกระบอกรังสวี ัดมมุ แนวระนาบและมมุ แนวด่ิงใหถ้ ูกต้องจัดกระบอกรงั สีให้คลมุ ฟลิ ์ม
เชิญอาจารยต์ รวจงาน
8. กดสวติ ช์ถ่ายภาพรงั สี จากนั้นนำฟิล์มออกจากช่องปาก
9. ถอดเสอ้ื ตะก่วั ให้ผู้ปว่ ย แลว้ นำไปเกบ็
10. นำฟิล์มทถ่ี า่ ยไปแชใ่ นน้ำยา Sodium hypochloride 5.25% เจือจาง 1:10เป็นเวลา 1 นาที จากนน้ั
ถา่ ยน้ำยาลงในแก้วเปล่าอีกใบกอ่ นจะนำฟิลม์ ไปลา้ งนำ้ สะอาด และเช็ดแหง้ เพอ่ื นำไปลา้ งฟลิ ม์ ในข้นั ตอนตอ่ ไป
11. ขณะรอฟลิ ม์ แช่น้ำยาSodium hypochloride ให้แกะพลาสตกิ หุ้มอาหารออกจากบริเวณทำงานทงั้ หมด
และเปลย่ี นพลาสติกหมุ้ ใหม่ เพอ่ื ใช้ในการถา่ ยผปู้ ่วยคนต่อไป
12. ปิด main switch เกบ็ กระบอกรังสี
13. ลา้ งมือและฟลิ ์มดว้ ยน้ำสบู่และล้างน้ำให้สะอาด แล้วจงึ ซบั ให้แหง้
14. ฆา่ เช้ือบรเิ วณกระบอกรังสีโดยใชส้ ำลีชุบ น้ำยาฆา่ เชื้อ ZETA 3
15. เชด็ เบาะน่ังผปู้ ว่ ยเช็ดดว้ ยผงซักฟอก และตามด้วยผา้ ชุบนำ้ และเช็ดแห้ง
60
ขน้ั ตอนการล้างฟลิ ม์
1. เปล่ียนถุงมือคู่ใหม่ก่อนจะทำการลา้ งฟลิ ์ม
2. เตรียมฟิล์มเอกซเรยท์ ถ่ี า่ ยแลว้ และทีห่ นบี ฟลิ ม์ (Film hanger) ไปยงั หอ้ งมืดเพอื่ ล้างฟิลม์
3. แกะทห่ี อ่ ฟลิ ม์ และใช้ทหี่ นีบฟลิ ม์ หนบี ที่ Identification dot จุ่มฟลิ ์มในนำ้ ยาสรา้ งภาพ (Developer)
ประมาณ 15-20วินาที ล้างน้ำ 10-15 วินาที จ่มุ นำ้ ยาคงสภาพ (Fixer) ประมาณ 2 นาที ลา้ งนำ้ 10-15 วินาที
แล้วนำมาใหอ้ าจารย์ตรวจงานล้างฟลิ ์ม
(เวลาในการจมุ่ นำ้ ยาอาจเปลยี่ นแปลงตามอายุการใชง้ านควรตรวจดขู ณะล้างฟิล์มในห้องมดื ว่าใช้ไดห้ รอื ไม่)
4. เปา่ ฟิลม์ ใหแ้ หง้ โดยใช้ลมจากคอมเพรสเซอร์หนา้ หอ้ งเอกซเรย์ ให้แห้งหมาดๆจากนน้ั ผ่งึ ฟิลม์ เอกซเรย์
ไวก้ ับขอบถาดและล้างฟลิ ม์ เอกซเรยท์ ่ีเหลือต่อไปเสร็จแลว้ ควรนำฟลิ ม์ ให้อาจารยป์ ระเมินทันที
ขอ้ แนะนำ
❖ ควรถ่ายภาพรังสใี ห้ครบทงั้ 5 ฟลิ ์ม แลว้ จึงเร่มิ ข้ันตอนการลา้ งฟลิ ม์
❖ ทดลองล้างครัง้ แรก 1 ฟิลม์ ก่อน
หมายเหตุ หากนกั ศกึ ษาถ่ายภาพรงั สีเป็นฟิลม์ ที่ 3 ในตำแหน่งเดิม ตอ้ งชำระเงนิ ค่าฟลิ ม์ ๆละ50
บาทและถกู หักคะแนนคณุ ภาพงานถ่ายภาพรังสี
การจัดเก็บฟลิ ม์ เอกเรย์
1. เรยี งและจดั เก็บฟลิ ม์ เอกซเรยบ์ นแผ่นพลาสติกใส โดยนำมาเรยี งตามตำแหนง่ ของฟนั ในช่องปาก2.
2.ติดกระดาษกาวยน่ ที่มมุ ล่างของแผ่นพลาสติก พรอ้ มเขยี นช่อื ผถู้ ่ายและผปู้ ว่ ย
3.ฟลิ ม์ จดั เรียงเสร็จแล้ว สง่ อาจารยป์ ระจำกลมุ่ 1 ชดุ และนกั ศกึ ษาเก็บไว้กบั บตั รผ้ปู ่วย 1 ชุดเพอื่ ฝกึ แปลผลภาพรงั สี
และการวินจิ ฉัยโรค
4.หลงั จากอาจารยใ์ หค้ ะแนนแล้ว ให้นกั ศึกษานำไปเก็บไว้เพ่อื ใช้สำหรับปฏบิ ตั ิการอ่านฟิลม์ ตอ่ ไป
ตวั อย่าง การเขยี นบัตร รบ.1 ต.13 เพื่อส่งตอ่ ผ้ปู ว่ ยมารับบรกิ ารถ่ายภาพรังสี
วัน / เดือน / ปี ตำแหนง่ ฟัน ผลการ x-rays การรักษา นักศกึ ษา อาจารย์
การวินจิ ฉัยโรค วีระยทุ ธ อ.รัชนวี รรณ
วรี ะยุทธ อ.รชั นีวรรณ
15 ก.ค.64 16,41 Reversible pulpitis Refered to x-ray for periapical techniques2 film.
44,45 R/O Initial Refered to x-ray for bitewing technique 1 film.
proximal caries
16,41 x-rayed Periapical film with bisecting technique
2 film. วรี ะยุทธ อ.รชั นวี รรณ
44,45 x-rayed with bitewing technique 1 film.
วรี ะยุทธ อ.รชั นวี รรณ
61
ตัวอย่าง การเขียนใบสัง่ ยาสำหรบั การถา่ ยภาพรังสี .ใหย้ ื่นใบส่งั ยาท่ีหอ้ งยา วสส.ขก.
กระทรวงสาธารณสุข
ใบสง่ั ยา
วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธรจงั หวัดขอนแกน่
ช่อื -นามสกลุ ...... นายศรลาม . เทพพทิ ัก….. อายุ ..........26...... ปี
ท่ีอย.ู่ .......................................................... วัน เดอื น ปี 15 ก.ค.64
การวนิ ิจฉัยโรค 44,45 R/O Iinitial proximal caries เลขทีบ่ ัตร …………
16,41 Reversible pulpitis จำนวน ราคา
สทิ ธกิ ารรับบริการ
บตั รประกนั สุขภาพถว้ นหน้า (บัตรทองฯ รพ.ขอนแกน่ )
เลขทีบ่ ตั รประชาชน ----
บตั รประกันสงั คมเลขที่ ----
ข้าราชการ/เจ้าหนา้ ทขี่ องรัฐ/พนักงานรฐั วสิ าหกจิ
อ่นื ๆ
รายการ
- ค่าบริการผปู้ ่วยนอก ในเวลาราชการ/นอกเวลาราชการ
- คา่ ถา่ ย x-ray 3ฟิล์ม 150บ.
นกั ศกึ ษาผู้ทำการรักษา หมาก ปรญิ ญ์ รวม 150 บ.
ผสู้ ง่ั ยา อ.รชั นวี รรณ ผจู้ ่ายยา ผู้รับเงิน
ใบเสร็จรบั เงินเลม่ ท่ี เลขที่
62
ปฏิบตั ิการท่ี 3 (ต่อ)
3.2การแปลผลภาพรงั สีและวินจิ ฉัยโรค
แผนการสอนการแปลผลภาพรังสแี ละวินจิ ฉัยโรค
วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรรู้ ายปฏิบตั กิ ารเม่ือเรยี นจบปฏิบตั ิการน้ีแลว้ นักศกึ ษาสามารถ
บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคร์ ายวิชาตามรายขอ้ ดังนี้
ขอ้ ท่1ี .อธบิ ายส่วนประกอบของฟลิ ม์ และการเลอื กใช้ ถา่ ยภาพรังสใี นช่องปากโดยใชเ้ ทคนคิ ท่ถี กู ตอ้ ง
ลา้ งฟลิ ม์ และแปลผลภาพรงั สี ได้ถูกต้องตามหลักวชิ าการ ( LO 2.3, 3.1 ,3.3)
ขอ้ ที่ 2. ตรวจและวินิจฉยั โรคโพรงประสาทฟันและเนือ้ เย่อื รอบปลายรากฟัน โรคเนือ้ เยอื่ อ่อนในชอ่ งปาก
ท่ีพบบ่อยไดถ้ ูกตอ้ งตามหลักวชิ าการ (LO 3.1, 3.3)
ขอ้ ที่7.สามารถทำความสะอาดเครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นงานทนั ตกรรม จดั เกบ็ และทำให้ปราศจากเชื้อไดถ้ ูกต้องตาม
หลกั วชิ าการ(LO 1.2,1.3 ,2.3, 3.1 ,3.3,6.2,6.4)
ข้อท่ี 8. มีพฤติกรรมทางดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม การเคารพสิทธิผู้ใชบ้ รกิ าร ความมวี นิ ยั ซอ่ื สตั ย์ รบั ผดิ ชอบ
มีเจตคติ และเปน็ แบบอย่างท่ดี ีแกผ่ ูอ้ ื่น (LO 1.1, 1.2, 1.3 ,4.2)
วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม เพอ่ื ให้นักศึกษาสามารถ
1. อา่ นผลภาพถา่ ยรังสไี ดต้ รงกบั ตำแหน่งฟนั จริง
2. อ่านลักษณะกายวิภาคปกติทีพ่ บบนภาพถ่ายรงั สีในชอ่ งปากได้ถูกต้อง
3. อ่านลักษณะผดิ ปกตแิ ละพยาธิสภาพทีพ่ บบอ่ ยบนภาพถ่ายรังสใี นชอ่ งปากไดถ้ กู ตอ้ ง
4. เขยี นบรรยายภาพรงั สีและวนิ จิ ฉยั โรคไดถ้ กู ตอ้ ง
วัสดอุ ุปกรณท์ ี่ใช้ในการเรียนการสอน
1. กลอ่ งดฟู ิลม์ (View Box) 1 กล่อง/กลุ่ม
2. ฟลิ ม์ ที่ไดจ้ ากการถา่ ยภาพรงั สี 3 ฟิล์ม/คน
3. ฟลิ ์มตวั อย่างลักษณะทผี่ ิดปกติ
4. ฟิล์มตวั อย่าง เพอ่ื ฝึกเขียนการแปลผลภาพถา่ ยรงั สี 1 ฟลิ ์ม/คน
5. แบบประเมินการถ่ายภาพรังสแี ละแปลผล จำนวน 4 ฟิลม์ 1 ชดุ /คน
ทีถ่ า่ ยภาพรงั สคี ตู่ นเอง
ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิ
1. แบ่งนกั ศึกษา เปน็ กล่มุ ๆ ละ 10-12คน
2. visitท่ี 1หลังจากถา่ ยภาพรงั สเี สรจ็ แล้วอ่านและแปลผลภาพรงั สโี ดยเตรยี ม ภาพรังสที ่ตี นเอง
ถา่ ยไวใ้ นปฏบิ ตั ิการท3่ี .1จำนวน 3filmนำมาใช้อา่ นและแปลผล รวมทงั้ film ตวั อยา่ งทอ่ี าจารย์ประจำกลุม่
สอนการอ่านและแปลผลฟลิ ม์
3.จัดเตรียมคมู่ ือการเตรยี มความพรอ้ ม โดยใชแ้ บบประเมินการถา่ ยภาพรังสแี ละแปลผล
มาใชอ้ ่านและแปลผลภาพรงั สี
4. นกั ศกึ ษาแต่ละคนฝกึ ดูและอ่านฟลิ ม์ ตวั อยา่ งตามการสาธิตของอาจารย์
63
5.นกั ศึกษาเชญิ อาจารย์ ตรวจการอา่ นฟลิ ม์ ของตนเอง จากกล่องดูฟลิ ์ม (ประกอบดว้ ยการอ่านลกั ษณะกายวิภาค
ปกติและลกั ษณะทีผ่ ิดปกติ)
6.นกั ศึกษา อ่านฟลิ ์มภาพรงั สตี ัวอย่าง พรอ้ มเขียนบรรยายภาพรงั สี และวินจิ ฉัยโรคโดยใช้แบบประเมนิ การถ่ายภาพ
รงั สแี ละแปลผลทตี่ นเองไดถ้ ่ายภาพรงั สีของคูต่ นทุกฟิลม์ แล้ว ส่งอาจารย์ประจำกลุ่ม
กิจกรรมของอาจารย์
1. ดแู ลนักศกึ ษาในกลมุ่ ทรี่ ับผดิ ชอบ
2. อธิบายขั้นตอนการทำงานในปฏบิ ตั ิการน้ี
3. สาธติ การอา่ นฟิล์มซฟ่ี นั ลกั ษณะกายวิภาคปกติ และลักษณะผิดปกติที่พบบ่อย ในฟิลม์ ตวั อยา่ ง
4. ให้คำแนะนำ และสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏิบตั งิ านนักศึกษาแตล่ ะคน
5. ใหค้ ะแนนในใบประเมินปฏิบตั ิการแบบประเมินการถา่ ยภาพรังสี ของนักศกึ ษาคนละ 3film และFilm ทมี่ ี
พยาธสิ ภาพท่อี าจารย์ประจำกลุ่มใหเ้ พิ่มเตมิ และแปลผลและคะแนนพฤติกรรมนกั ศกึ ษาแต่ละคน
กิจกรรมของนักศึกษา
1. ศกึ ษาขั้นตอนการปฏิบตั ิงานจากคมู่ อื ปฏิบตั ิการคลนิ กิ ทันตกรรมเบอื้ งตน้
2. อ่านการแปลผลภาพถา่ ยรังสีจากหนังสอื “ทันตรังส”ี ก่อนฝึกปฏิบตั กิ าร
3. จดั เตรียมเครอื่ งมือตามรายการ “วัสดอุ ุปกรณ์ทีใ่ ชใ้ นการเรียนการสอน”
4. ปฏิบตั ิงานตาม “ขั้นตอนการทำงาน”
สอื่ การเรยี นการสอน
1. คูม่ ือปฏบิ ัตกิ ารคลินิกทันตกรรมเบอ้ื งต้น
2. หนงั สอื เรยี นทันตรังสวี ิทยาสำหรบั ทนั ตาภิบาล
3. ฟลิ ์มตวั อย่าง
4. กลอ่ งดฟู ลิ ์ม
การประเมนิ ผล 20 คะแนน
1. คะแนนจากแบบประเมินทกั ษะอ่านฟิล์มและวินจิ ฉัยโรค 10 คะแนน
2. คะแนนจากแบบประเมินพฤติกรรมประจำวนั 20 คะแนน
3. คะแนนจากแบบประเมินการดูแลรักษาเครือ่ งมือ
(ประเมนิ ทุกวันของสัปดาหท์ ี่มีปฏบิ ัตกิ าร)
เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
1. ผู้เรียนต้องเขา้ เรยี นอยา่ งนอ้ ย รอ้ ยละ80 ของเวลาเรียน
2 . ผูเ้ รียนต้องได้คะแนนในแบบประเมนิ ทักษะแตล่ ะปฏบิ ตั กิ าร ต้งั แต่60%ขน้ึ ไปจึงจะมสี ทิ ธข์ิ อประเมินผลการเรียน
3. ผู้เรยี นตอ้ งไดค้ ะแนนรวมพฤตกิ รรมประจำวันต้งั แต่60%ขึ้นไปจงึ จะมีสทิ ธ์ขิ อประเมนิ ผลการเรยี น
4. ผู้เรยี นตอ้ งได้คะแนนรวมในแบบประเมินการดูแลรักษาเครื่องมอื ต้ังแต่60%ขึ้นไปจึงจะมสี ิทธิ์ขอประเมินฯ
64
ตัวอย่างแบบประเมินการถา่ ยภาพรงั สีและแปลผล
อ.ท.พ.พรี ะ รุ่งวิทยาธร
ภาพรงั สใี นช่องปาก
การมารับการรักษาทางทนั ตกรรมแม้วา่ จะเปน็ การมาตรวจฟนั คร้งั แรกหรอื มาพบตามนัดนน้ั แตล่ ะครง้ั ไม่จำเปน็
ตอ้ งเอกซเรย์ฟนั ทกุ ครั้งข้นึ อย่กู บั ความจำเปน็ การพจิ ารณาวา่ ส่งต้องสง่ เอกเรยฟ์ นั หรือไม่ ทำโดยพจิ ารณาจากการตรวจ
ในช่องปาก การซักประวัติ ภาพรังสีทเ่ี คยมี และการประเมนิ สภาวะสุขภาพชอ่ งปากและรา่ งกาย โดยนาํ มาประกอบกนั
เพือ่ พิจารณาความเหมาะสมหรือความจำเปน็
อาการสำคญั (Chief complaint) หมายถงึ อาการท่ีเปน็ สาเหตนุ ำผปู้ ่วยมาโรงพยาบาล โดยระบุอาการหลัก
เพียงอาการเดยี วและระยะเวลาทเ่ี จ็บปว่ ย เชน่ “ปวดฟนั มา 1 สัปดาห”์ ควรใชค้ ำพดู เดิมของผปู้ ่วย ไม่ควรแปลความหมาย
หรอื ระบวุ า่ เป็นชอื่ โรค
Chief complain ที่เกยี่ วกบั การสง่ ถา่ ยภาพรงั สี
1. ปวดฟัน อาการปวดฟนั เกดิ ขึน้ ไดห้ ลายลกั ษณะ ต้งั แต่ระดับไม่รุนแรงไปจนถงึ รุนแรง เปน็ อาการท่ีสามารถ
เป็นได้จากหลายสาเหตุ เช่น
1.1 ฟันผุในระยะแรกของฟันผนุ ัน้ ผู้ปว่ ยจะไมม่ ีอาการใดๆ แต่ถา้ สว่ นท่ีผุนน้ั ลึกมากขนึ้ ผปู้ ่วยจะเรมิ่ มี
อาการเสยี วฟนั เวลาดื่มน้ำร้อน, นำ้ เยน็ บางครั้งผปู้ ่วยอาจจะรสู้ ึกปวดฟันข้นึ มาในขณะเค้ียวอาหาร เนอื่ งจากมี
เศษอาหารไปตดิ อยู่ในรทู ่ีผุนัน้ หากตรวจดใู นชอ่ งปากแล้วไม่พบตำแหน่งทีเ่ ปน็ สาเหตุของอาการปวด หรอื ตำแหนง่ นั้น
อยทู่ ดี่ า้ นประชิดซ่ึงไมม่ าสามารถมองเห็นจากในชอ่ งปากได้ ควรพิจารณาถ่ายภาพรังสบี รเิ วณนัน้ ๆ
1.2 การอกั เสบของเนอ้ื เย่อื ในโพรงประสาทฟนั สว่ นใหญม่ กั จะเป็นผลจากฟันทผ่ี ลุ กึ มาก จนกระทง่ั ทะลุ
โพรงประสาทฟัน ซง่ึ จะอยู่ในสว่ นของรากฟนั และอาจพบไดใ้ นฟันสกึ , ฟนั รา้ วหรือแตกลึกถึงโพรงประสาทฟนั ซึง่ จะทำให้
เกดิ อาการอักเสบและตดิ เช้ือของเน้ือเยื่อในโรงประสาทฟนั ทำใหเ้ กดิ อาการปวดฟันขึ้นมาได้ โดยผปู้ ว่ ยมักจะมีอาการ
ปวดฟนั ขน้ึ มาเองโดยไมต่ อ้ งมีสิ่งกระตุ้น โดยเฉพาะเวลากลางคืน ผปู้ ่วยจะมอี าการปวดฟันมากและปวดอยู่นาน บางครั้งตอ้ ง
กินยาแก้ปวดเพื่อบรรเทาอากรปวดแต่ถา้ ยาแกป้ วดหมดฤทธผิ์ ู้ปว่ ยกม็ กั จะมีอาการปวดกลับมาใหมอ่ ีกครง้ั ในกรณีนคี้ วรถา่ ย
ภาพรังสีเพ่อื ใช้ในการประเมนิ แนวทางในการรกั ษาต่อไป
1.3 ปลายรากอกั เสบเป็นหนอง ถา้ การอกั เสบของเนื้อเยือ้ ในโพรงประสาทฟันฟนั เปน็ อย่นู าน โรคอาจจะลุกลาม
ไปท่ีปลายรากฟนั ทำใหเ้ กิดการตดิ เชอ้ื และเป็นหนองบริเวณปลายรากฟัน ผ้ปู ว่ ยอาจมีอาการปวดฟันขณะเคยี้ วหรือไม่มี
กไ็ ด้ในกรณีน้คี วรถา่ ยภาพรงั สีเพ่อื ใชใ้ นการประเมินแนวทางในการรกั ษาต่อไป
1.4 โรคเหงอื กอกั เสบและปริทันตอ์ ักเสบ มกั มสี าเหตุมาจากคราบหนิ นำ้ ลายหรือหินปนู จะทำใหเ้ หงือกอักเสบ
ปวดและปวดฟันได้ ผ้ปู ่วยมักมีอาการปวดหนบึ ๆ หรอื ปวดรำคาญ รว่ มกับแปรงฟนั มีเลือดออก ถ้าเปน็ มากๆ ฟนั จะโยก
หากไม่พบวา่ มฟี ันโยกหรอื ร่องลึกปรทิ นั ตห์ รอื มหี นองจากเหงอื กไมม่ ีความจำเปน็ ทตี่ อ้ งถา่ ยภาพรังสี หากพบอาจพิจารณา
ถา่ ยภาพรังสเี พอื่ ประเมนิ ความรุนแรงโรคและพจิ ารณาการทางเลือกการรกั ษา
2. เหงือกบวม มีหนอง
2.1 เหงือกเปน็ หนองจากโรคเหงือกอักเสบและปริทนั ต์อกั เสบ (ดู 1.4 )
65
2.2 มีตมุ่ หนองบรเิ วณเหงอื ก เกดิ จากปลายรากอกั เสบเป็นหนองลุกลามไปทป่ี ลายรากฟนั ทำให้เกิดการ
ตดิ เช้อื และเปน็ หนองสะสมบรเิ วณปลายรากฟันทำใหเ้ กดิ แรงดันจนเกดิ เปน็ ตมุ่ หนองบรเิ วณเหงือก ในกรณีนค้ี วร
ถ่ายภาพรังสเี พ่ือใช้ในการประเมินแนวทางในการรกั ษาตอ่ ไป
3. มาถอนฟันหรือผ่าฟนั คดุ
ในงานถอนฟนั และผา่ ฟันคดุ น้นั ภาพเอกซเรยม์ ปี ระโยชน์มากตงั้ แตก่ ารวินจิ ฉยั โรคก่อนถอนฟัน การศกึ ษา
รายละเอียดของฟันเช่นความโค้งงอของรากฟนั ขนาดของรอยผุซึง่ จะส่งผลใหฟ้ นั แตกไดง้ า่ ยขณะถอนฟัน ลักษณะและ
ตาํ แหน่งของฟนั คดุ ว่าอยู่ใกลก้ บั กายวภิ าคที่สาํ คัญหรือไม่ เชน่ อยูใ่ กลก้ บั โพรงอากาศแก้ม เสน้ ประสาทขากรรไกรลา่ ง เปน็ ตน้
และภาพรงั สยี ังใช้ในการติดตามผลการถอนฟนั ในกรณีทเี่ กดิ ปัญหาหรือภาวะแทรกซ้อนหลงั ถอนฟนั เช่น รากฟันหกั
แผลถอนฟันไม่หาย
ตวั อย่างการอ่านภาพรงั สี
Radiograph finding : Radiolucent area at distal surface of
tooth 35
จากรูป พบเงาดำจากฟันผุท่ฟี นั ซ่ี 35 ดา้ น Distal
การอา่ นภาพรงั สี 35D Dental caries
Radiograph finding :Radiolucent area at distal surface of
tooth 46
จากรปู พบเงาดำจากฟนั ผุท่ีฟันซ่ี 46 ดา้ น Distal
การอ่านภาพรงั สี 46D Dental caries
Radiograph finding :Radiolucent area at occlusal surface of
tooth 47
จากรปู พบเงาดำจากฟันผุท่ฟี นั ซ่ี 47 ดา้ น Occlusal
การอ่านภาพรงั สี 47O Dental caries
66
Radiograph finding :: Radiolucent area size 3x3 mm. at
apical of tooth 25
จากรปู พบเงาดำขนาด 3x3 มิลลเิ มตร ทป่ี ลายรากฟนั ซ่ี 25
การอา่ นภาพรังสี 25 Radiolucent area at apical size 3x3 mm.
Radiograph finding : Amalgam filling at teeth 36, 37
จากรูป พบวสั ดุอดุ อะมลั กัมที่ฟนั ซี่ 36 ดา้ น Occluso-distal และ 37
ด้านOccluso-mesial
การอา่ นภาพรงั สี 36OD, 37OM Amalgam Filling
การอา่ นภาพรงั สี 35OD Composite filling
Radiograph finding : Composite filling at tooth 35
จากรูป พบวสั ดอุ ดุ คอมโพสติ ที่ฟนั ซี่ 35 ดา้ น Occluso-distal
Radiograph finding : Radiolucent area under teeth 25 filling
จากรปู พบเงาดำใต้วสั ดุอุดทฟ่ี นั ซี่ 25 ด้านDistal
การอ่านภาพรังสี 25D Secondary caries
Radiograph finding: Radiopaque area at cervical of lower anterior teeth
จากรูป พบเงาขาวบรเิ วณคอฟันหนา้ ล่าง
การอ่านภาพรงั สี Calculus deposited at lower anterior teeth
67
Radiograph finding: Tooth 16 restoration with crown
จากรปู พบครอบฟันท่ีฟันซ่ี 16
การอ่านภาพรังสี 16 Crown
Radiograph finding: Tooth 36 have previously
endodontic treatment
จากรูป พบการรกั ษารากฟนั ทีฟ่ นั ซี่ 36
การอ่านภาพรังสี 36 Previously treated tooth
Radiograph finding: Dental implant at 25 area
จากรูป พบการรกั ษาดว้ ยรากเทียมทต่ี ำแหน่งฟันซี่ 25
การอ่านภาพรังสี 25 Implant
68
Intraoral radiograph การเขียนแปลผลและอธบิ ายภาพถา่ ยรังสี
อ. ทพญ.พชิ ญา จารุรัชตพนั ธ์ุ
Radiographic interpretation
Periapical radiograph shows 45 having radiopaque restorative
material in pulp chamber and root canal with radiolucency of
gap at cervical area, having radiopaque of overfilled of root
canal treatment material associated with ill-defined, ovoid,
periapical radiolucent lesion (approximately 0.5x0.8 cm in size)
which is continuous with PDL space at distal aspect of root,
widening PDL space at mesial aspect of root, intact lamina
dura.
Periapical radiograph demonstrating area of upper left anterior
teeth, having homogeneous radiopaque material at the crown
and root canal of upper left lateral incisor (22) associated with
a round, well-defined, non-corticated, unilocularperiapical
radiolucent lesion, which is approximately 5 mm in size,
discontinuous lamina dura, normal PDL space. At upper left
central incisor (21), having radiopaque of restorative material at
mesial involve 2/3 dentin and radiolucent lesion at distal
involve 2/3 dentin, discontinuous lamina dura, normal PDL
space.
Periapical radiograph shows 45 having radiopaque of
restorative material at occluso-distal surface, single conical
root, completed root formation, intact lamina dura, normal
PDL space, no periapical lesion. 46 having radiopaque of
restorative material at mesio-occluso-distal surface with
overhang margin at mesial aspect, 2 divergent roots,
completed root formation, widening PDL space, intact lamina
dura , except mesial aspect of roots are accentuation, no
periapical lesion. 47 having radiopaque of restorative material
at mesio-occlusal surface, 2 convergent roots, completed root
formation, loss of lamina dura and PDL space, having ill-
defined, ovoid periapical radiolucent lesion at mesial root,
horizontal bone loss between 14-15 and vertical bone loss at
distal of 47.
69
Periapicalradiograph demonstrating tooth buds of 13 and 23
covered with dental sac, located at apical area of 22,21,11,12
without root resorption.
Bitewing radiograph demonstrating no proximal caries at upper
and lower right posterior teeth, normal crestal bone.
Bitewing radiograph demonstrating upper and lower right
posterior teethhaving radiopaque of metal-like restorative
material atocclusal surface of 17,16,45,46,47 and radiopaque
ofrestorative material atbuccal or lingual surface of46,no
proximal caries, normal crestal bone.
Bitewing film demonstrating proximal caries at distal surface of
24 involved outer third of dentin, mesial and distal of 25
nearly exposed pulp and involved middle third of dentin
respectively, distal of 34 involved outer half of enamel, distal
of 35 involved inner half of enamel. 26 having radiopaque
material (metal-like) at occluso-mesial surface throughout the
pulp chamber and radiopaque material at occluso-distal
surface together with carious like lesion at gingival margin.37
having radiopaque material (metal-like) at occlusal surface and
proximal caries at mesial surface involved DEJ. 36 having
radiopaque material (metal-like) at occlusal surface ,proximal
caries at mesial and distal surface nearly exposed pulp and
involved middle third of dentin respectively.
70 involve DEJ (dentino-enamel junction) exposed pulp
enamelจะแบ่งเป็ น dentinจะแบง่ เป็น outer(1/3),
outer, inner half middle(2/3), inner third
https://pocketdentistry.com/12-diagnosis-and-management-of-
dental-caries/
Periapical film shows 25 having radiolucent lesion at mesial
and distal surface involve inner third of dentin, single conical
root, completed root formation, superimposed with floor of
maxillary sinus, discontinuous lamina dura, normal PDL space.
36 having metal-like radiopaque material at occlusal surface, 2
convergent roots, completed root formation, superimposed
with floor of maxillary sinus, discontinuous lamina dura,
normal PDL space.
Periapical radiograph demonstrating 46 having full coverage,
metal-like, radiopaque restorative material at crown, regular
margin and non-homogenous radiopaque of root canalmaterial
in mesial and distal roots especially at apical and middle third
of mesial root together with radiopaque of overfilled of mesial
root canal treatment material(approximately 2 mm length)
associated with well define, corticated, ovoid, periapical
radiolucent lesion (approximately 2.5 mm in size) which is
continuous with PDL space.
Periapical radiograph demonstrating right mandibular third
molar which is uneruped tooth, mesio-angulation, class 2 dept
C, associated with an ovoid, well-defined, non-corticated,
unilocularpericoronal radiolucent lesion, which is
approximately 1.5 cm in greatest dimension, located at
posterior region of right mandible, superimposed with inferior
alveolar canal, widening PDL space of mesial root of right
mandibular second molar.
71
https://www.researchgate.net/figure/Winters-
classification_fig1_284440170
https://www.slideshare.net/DentalLibrary/impaction-72241867
72
Periapical radiograph demonstrating right maxillary third molar
full eruption, vertical angulation, having 3 convergent root,
completed root formation, sinus approximation (SA).
https://www.mycenters.com/oral-
surgeon/impacted-canines/
http://www.exodontia.info/Wisdom_Tooth_Impaction_Classific
ation.html
Periapical radiograph demonstrating 31 having 75% horizontal
bone loss at mesial and75% vertical bone loss at distal,
discontinuous lamina dura, widening PDL space.
32 having vertical bone loss about 70% at mesial and vertical
total bone loss at distal, discontinuous lamina dura, normal
PDL space.
33 having vertical bone loss about 90% at mesial and
horizontal bone loss about 65% at distal, discontinuous lamina
dura, widening PDL space.
73
Periapical radiograph demonstrating 16 radiolucency at mesio-
occlusal surface exposed pulp, margin of lesion extending
throughout alveolar crest, having 3 divergent roots, complete
root formation, superimposed with floor of maxillary sinus,
intact lamina dura, normal PDL space, no periapical lesion.
Periapical radiograph demonstrating
37 large radiolucent lesion at
occluso-mesial surface exposed
pulp, margin of lesion extending
throughout alveolar crest, having 2
convergent roots, complete root
formation, intact lamina dura,
widening PDL space at apical third
of root
74
75
76
ปฏิบัตกิ ารท่ี 4
การลา้ งมือและใสถ่ งุ มือผ่าตดั ด้วยวธิ ีปราศจากเชือ้
แผนการสอน
วัตถุประสงคก์ ารเรยี นรรู้ ายปฏบิ ตั กิ ารเมื่อเรยี นจบปฏบิ ัตกิ ารน้ีแล้ว นักศกึ ษาสามารถ
บรรลุวัตถปุ ระสงค์รายวชิ าตามรายขอ้ ดังนี้
ขอ้ ที7่ .สามารถทำความสะอาดเครอื่ งมอื ที่ใช้ในงานทนั ตกรรม จัดเกบ็ และทำให้ปราศจากเชอ้ื ไดถ้ ูกตอ้ ง
ตามหลกั วชิ าการ(LO1.2,1.3 ,2.3, 3.1 ,3.3,6.2,6.4)
ขอ้ ที่ 8.มพี ฤตกิ รรมทางด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรม การเคารพสิทธผิ ู้ใช้บรกิ าร ความมวี ินัย ซ่ือสตั ย์ รับผิดชอบ
มเี จตคติ และเปน็ แบบอย่างทด่ี ีแกผ่ อู้ นื่ (LO1.1, 1.2, 1.3 ,4.2)
วตั ถุประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม เพ่อื ให้นักศึกษาสามารถ
1. ล้างมอื และเช็ดมือดว้ ยเทคนิคปลอดเชอ้ื ได้อย่างถกู ต้อง
2. ใส่ถงุ มอื ผา่ ตดั ตามหลกั วชิ าการที่ถกู ตอ้ ง
3. ตรวจสอบความชำรดุ ของถงุ มือไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
วสั ดแุ ละเครือ่ งมือ
1. ถงุ มอื sterile และถุงมอื ใช้คร้งั เดยี วทิ้ง ตามขนาดมือของนักศกึ ษา
2. สบลู่ ้างมอื ฆ่าเชอ้ื (Hibiscrub®) หรือน้ำยาล้างมอื ที่จัดเตรียมไว้
3. ผ้าเชด็ มอื สะอาดทีท่ ำให้ปราศจากเชอ้ื แล้ว
ข้ันตอนการปฏบิ ตั ิ
1. ปฏิบัติการนีใ้ ช้รว่ มกบั ปฏิบตั กิ ารฉดี ยาชา
2. นกั ศึกษาที่เป็น Operator ในวันน้ัน เชญิ อาจารยต์ รวจเพอื่ เรม่ิ งาน (Beginning check)
3. ล้างมอื อยา่ งถูกวธิ ี 7 ขนั้ ตอน
4. สวมถุงมือ Sterile
5. เตรยี มอุปกรณก์ ารฉดี ยาชา (รายละเอียดในปฏบิ ตั ิการฉดี ยาชา)
กจิ กรรมของอาจารย์
1. อาจารยป์ ระจำกลุ่มรับผดิ ชอบดูแลนกั ศึกษาแตล่ ะกลมุ่ ท่รี ับผดิ ชอบ
2. อธบิ ายขนั้ ตอนการทำงานในปฏิบตั ิการน้ี
3. สาธิตการลา้ งมือและการใส่ถงุ มอื Sterile
4. ให้คำแนะนำ แนะแนวทาง และสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบัตงิ านนกั ศึกษาแตล่ ะคน
5. ให้คะแนนในใบประเมินปฏบิ ัตกิ ารและคะแนนพฤตกิ รรมนกั ศึกษาแต่ละคน
กิจกรรมของนกั ศึกษา
1. ศึกษาค้นควา้ ทบทวนความรู้ภาคทฤษฎี
2. ศกึ ษาขัน้ ตอนการปฏบิ ตั งิ านจากคมู่ อื ปฏิบตั ิการคลนิ ิกทันตกรรมเบ้ืองตน้
77
3. ทำตามขั้นตอนการปฏิบตั ิงานโดยเบกิ จากหอ้ งจ่ายกลาง คือถงุ มือผ่าตดั ขนาดท่ีนกั ศกึ ษาใช้ saliva Ejector
4. เชญิ อาจารยต์ รวจงาน
5. ปฏิบตั ติ ามขนั้ ตอนการฉดี ยาชา
6. หลังจากเสร็จปฏิบัตกิ ารตอ้ งล้างเครือ่ งมอื เช็ดให้แหง้ ห่อให้เรียบรอ้ ยและสง่ คนื หอ้ งจ่ายกลาง
สอ่ื การเรียนการสอน
1. คู่มอื ปฏบิ ัตกิ ารคลินิกทนั ตกรรมเบอ้ื งต้น
2. ตำราเอกสารวชิ าการท่ีเก่ยี วข้อง
3. ถุงมือ sterile และถงุ มอื ใชค้ ร้งั เดยี วแล้วทิ้ง
การประเมินผล(ประเมินร่วมกบั ปฏบิ ัติการฉดี ยาชาเฉพาะท)่ี 20 คะแนน
1. คะแนนจากแบบประเมนิ ผลการฝกึ ปฏบิ ตั ลิ า้ งมือและสวมถงุ มือ Sterile
2. คะแนนจากแบบประเมนิ พฤตกิ รรมประจำวัน 10 คะแนน
3. คะแนนจากแบบแบบประเมินการดูแลรกั ษาเครอ่ื งมอื 20 คะแนน
(ประเมินทุกวนั สดุ ท้ายของสปั ดาห์ทม่ี ีปฏิบตั ิการ)
เกณฑ์การประเมินผล
1. ผู้เรียนต้องเขา้ เรยี นอยา่ งน้อย ร้อยละ80 ของเวลาเรียน
2 . ผ้เู รียนต้องได้คะแนนในแบบประเมินทกั ษะแต่ละปฏิบตั ิการ ตัง้ แต6่ 0%ข้นึ ไปจึงจะมีสทิ ธข์ิ อประเมินผลการเรยี น
3. ผเู้ รยี นตอ้ งไดค้ ะแนนรวมพฤตกิ รรมประจำวนั ต้ังแต่60%ข้นึ ไปจงึ จะมสี ทิ ธ์ิขอประเมินผลการเรยี น
4. ผเู้ รียนตอ้ งไดค้ ะแนนรวมในแบบประเมนิ การดแู ลรักษาเครือ่ งมอื ตั้งแต่60%ข้นึ ไปจงึ จะมีสทิ ธข์ิ อประเมนิ ผลการเรียน
ข้นั ตอนการทำงาน
1.นกั ศกึ ษาเตรียมถุงมือ sterile, สบูล่ า้ งมอื ฆ่าเช้ือ (Hibiscrub®)
หรือนำ้ ยาลา้ งมือและผา้ เช็ดมอื สะอาดท่ีทำให้ปราศจากเชอื้ ให้เรยี บรอ้ ย
2.อาจารยส์ าธิตวธิ กี ารล้างมือ เช็ดมือ ใส่ถุงมือผา่ ตดั วิธกี ารถอดถุงมือ
และวธิ ีการตรวจสอบถุงมอื ว่ามกี ารชำรดุ หรอื ไม่
3.นักศึกษาฝกึ ปฏิบตั ิ
o การล้างมือและเช็ดมอื
o การใส่และถอดถงุ มอื
o การล้างทำความสะอาดถุงมือ
o การตรวจสอบถงุ มอื
ลา้ งมืออย่างถกู วธิ ี 7 ขนั้ ตอนและการสวมถงุ มือ Sterile
การลา้ งมือและการสวมถุงมือท่ถี ูกวิธีจะทำให้ปอ้ งกนั การสัมผสั กับเลอื ด และสารคดั หลัง่ ลดการแพรก่ ระจายเช้ือ
จากมอื บุคลากรไปสู่ผูป้ ว่ ย และยังสามารถ ลดการสมั ผสั กับเช้อื จุลชพี จากตวั ผู้ปว่ ยได้อีกดว้ ย แต่ การสวมถงุ มอื ไมส่ ามารถ
ทดแทนการล้างมอื ได้ เนอ่ื งจากวา่ ถุงมืออาจมรี รู ัว่ มีรอยฉีกขาดเลก็ ๆ ท่มี องไมเ่ ห็น ดังนนั้ กอ่ นและหลงั สวมถงุ มอื
ตอ้ งล้างมืออยา่ งถกู วิธที ุกคร้งั
ลา้ งมอื 7 ข้นั ตอน 78
- ฝ่ามือถกู นั
- ฝา่ มือถูหลังมือและนวิ้ ถูซอกนิว้ การล้างมือ 7 ขั้นตอน
- ฝา่ มือถูฝา่ มือและน้วิ ถซู อกน้วิ
- หลงั น้ิวมอื ถฝู า่ มอื https://multimedia.anamai.moph.go.th/infographics/wash-hands-7-steps/
- ถนู ิ้วหวั แม่มอื โดยรอบดว้ ยฝา่ มอื
- ปลายนวิ้ มอื ถูขวางฝ่ามือ
- ถูรอบขัอมอื
Clip การล้างมอื 7 ข้นั ตอน
https://youtu.be/mFKoeai0y8s
79
ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิ การสวมถงุ มอื sterile วธิ ี Opened Method
1. ลา้ งมอื ใหส้ ะอาด7 ข้ันตอน
2. วางซองถงุ มอื ทแี่ ห้งสะอาดและอยสู่ งู กวา่ เอว ถา้ เกดิ วางต่ำกว่านี้ถือวา่ ถงุ มือปนเปื้อน
3. คลีซ่ องถุงมือออกอย่างระมดั ระวัง ไม่ให้ซองถงุ มอื ออกมาภายนอกเผยอดา้ นนอกของซองถงุ มอื ดูใหร้ อยพบั ของ
ซองถุงมืออยดู่ ้านในใสถ่ งุ มือขา้ งท่ถี นัดกอ่ นใช้มือขา้ งท่ีจะสวมถุงมือหยิบด้านบนของปลอกถุงมอื
4. ควำ่ มืออกี ข้างหนง่ึ หยบิ ถงุ มือตรงรอยพับตลบขอบถงุ มือ โดยให้หวั นวิ้ มอื อยู่ด้านใน นิว้ ทเี่ หลือวางอยูบ่ นขอบ
พบั ตลบของถุงมอื
5. หยบิ ถุงมือขน้ึ มา หงายมือที่จะสวมแลว้ สอดลงไปในถงุ มือ แยกนิ้วเขา้ ไปในน้ิวของถงุ มอื แลว้ ดงึ ถุงมอื ออก
6. สวมถงุ มอื อกี ข้างหนึ่ง โดยใชม้ อื ข้างท่จี ะสวมถงุ มอื เปดิ ปลอกถุงมือข้ึน
7. ใช้มอื ทส่ี วมถงุ มือแล้วหยบิ ถงุ มือโดยสอดนิ้วท้ัง 4 เขา้ ไปในระหว่างรอยพบั ตลบของถงุ มอื หงายมอื สอดลง
ไปในถุงมือแยกนว้ิ ลงไปในนว้ิ ของถุงมอื แลว้ ดงึ ถงุ มอื ขึน้ ให้ขอบของ ถงุ มือคลมุ ขอ้ มือเสื้อ
8. สอดนว้ิ ทั้ง 4 เขา้ ไประหวา่ งรอยพลับตลบของถุงมอื ข้างท่ใี สค่ ร้งั แรก ตลบขอบถงุ มือให้ คลมุ ข้อมอื เสอ้ื
การสวมถุงมือ sterile วธิ ี Opened Method และการถอดถงุ มอื ทีใ่ ช้แล้ว
https://youtu.be/AnltNwFMhSA
ที่มาภาพ : https://images.app.goo.gl/cqRBHtrydYMTPF1G6
80
การถอดถงุ มอื ทใี่ ช้แลว้
1. จับขอบถุงมอื ดา้ นนอกตลบลงมาคอ่ ยๆ ดึงถุงมอื ด้านนอกตรงขอ้ มอื ให้ด้านในของถงุ มอื ตลบกลับออกมาอยู่ด้านนอก
2. ใชม้ อื ข้างทีย่ ังสวมถุงมือ ถอื ถงุ มือขา้ งที่ถอดแลว้
3. ใช้น้ิวมือข้างท่ถี อดถงุ มอื แล้วสอดเข้าด้านในของถุงมอื แล้วดึงออกดว้ ยนิ้วมือ
4. ท้งิ ถุงมอื ในภาวะรองรบั
5. ลา้ งมือให้สะอาดแล้วเช็ดให้แห้ง
ขัน้ ตอนการถอดถงุ มือที่ใชแ้ ลว้
ทมี่ าภาพ : https://images.app.goo.gl/FtM1z4aN9yRrD6xUA
Clip แสดงการถอดถุงมือทใี่ ช้แลว้
https://youtu.be/ATU383lIfT8
>>>Wash Your Hands Please<<<
81
ปฏบิ ัติการท่ี 5
การฉีดยาชาเฉพาะที่ (Local infiltration technique)
แผนการสอน
วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรรู้ ายปฏบิ ตั กิ ารเมอื่ เรยี นจบปฏบิ ัติการน้ีแล้ว นักศึกษาสามารถ
บรรลุวัตถปุ ระสงค์รายวชิ าตามรายขอ้ ดังนี้
1. เลือกชนดิ ยาชาเฉพาะที่ ปริมาณยาชาท่จี ะใชแ้ ละใชเ้ ทคนคิ ฉดี ยาชาในผู้ป่วยสมมตุ ไิ ดถ้ ูกตอ้ งตามหลักวชิ าการ
และมคี วามเหมาะสม โดยตระหนกั ถงึ อันตรายจากการใช้ยาชาดว้ ยความรับผิดชอบ (LO ขอ้ 1.1,1.2,1.3,2.3,3.1,3.4,5.3,6.4)
5. ใหก้ ารรกั ษาทางทันตกรรม ได้แก่ การบรู ณะฟัน การขูดหินปนู เคลอื บหลุมร่องฟัน เคลือบฟลอู อไรด์
และให้ทันตสขุ ศกึ ษาเฉพาะราย รวมถงึ การถอนฟนั และเยบ็ แผลในผู้ป่วยสมมตุ ภิ ายใต้หลักการป้องกันและควบคมุ การแพร่
กระจายการตดิ เชื้อได้ถูกตอ้ งและเหมาะสมตามหลกั วิชาการด้วยความรบั ผิดชอบ (LO ขอ้ 1.1,1.2,1.3,2.3,3.1,3.4,5.3
,6.4)
6. บนั ทกึ ผลการซักประวตั ิ การตรวจ วางแผนรกั ษาทางทันตกรรมและการรักษาลงในเวชระเบยี น ตามขอ้ เท็จจรงิ
ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง (LO ขอ้ 1.1,1.2,1.3,2.3,3.1,3.4,5.3,6.4)
7. สามารถทำความสะอาดเครื่องมอื ทใี่ ชใ้ นงานทันตกรรม จัดเกบ็ และทำใหป้ ราศจากเชอื้ ได้ถกู ตอ้ งตามหลัก
วิชาการ(LO ข้อ 1.1,1.2,1.3,1.5 ,2.3, 6.4)
8. มพี ฤติกรรมทางด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรม การเคารพสิทธิผู้ใช้บริการ ความมวี นิ ยั ซ่อื สตั ย์ รบั ผิดชอบ มเี จตคติ
และเปน็ แบบอย่างท่ีดีแก่ผู้อน่ื (LO ข้อ 1.1,1.2,1.3,1.5, 6.4)
วตั ถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เพอ่ื ให้นักศกึ ษาสามารถ
1. เตรยี มเครือ่ งมอื ในการฉีดยาชาไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
2. ใช้ยาชาแบบทาเฉพาะทีไ่ ด้อยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม
3. ฉีดยาชาแบบ Supraperiosteal injection และ Local infiltration technique ไดถ้ ูกวิธแี ละทำใหเ้ กิดอาการ
การชาเพยี งพอสำหรบั ถอนฟัน
4. ทดสอบและประเมินการชา รวมทงั้ สามารถแกไ้ ขกรณีไมเ่ กดิ อาการชาที่เหมาะสมได้
วัสดอุ ปุ กรณท์ ่ใี ชใ้ นการเรยี นการสอน
1. ชดุ ตรวจ 1 ชดุ
2. สำลปี ั้นเปน็ ก้อนเลก็ (ใช้สำหรับป้ายยาชาเฉพาะที่) 4 ก้อน
3. สำลสี ำหรับกันนำ้ ลาย 2 ก้อน
4. ยาชา (2% Mepivacaine with 1:100000 epinephrine) 2 หลอด
5. กระบอกยาชา (Syringe) 1 อนั
6. เขม็ ขนาด Gauge 27 ยาว 21 mm 1 อนั
7. ถุงมอื ปลอดเชื้อ (Sterile glove) 1 คู่
8. topical anesthesia ชนิดพน่ (sprays)/เจล(gel)
9. บัตรผ้ปู ว่ ย OPD CARD
82
10. ภาชนะใส่ เขม็ ฉดี ยา หลอดยาชาและขยะตดิ เชื้อ
11. saliva Ejector 1ชิน้
12. แกว้ นำ้ 2ใบ
ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิ
1. แบง่ นกั ศึกษาออกเป็นกลุม่ ๆ ละ 10-12 คน
2.นกั ศึกษาจบั ค่กู ัน เพือ่ สลบั กนั เปน็ ผู้ปว่ ยสมมุติ
3.จดั เตรียมเครอ่ื งมือตามรายการ “วสั ดุอปุ กรณท์ ่ใี ชใ้ นการเรยี นการสอน”
4. ปฏิบัติงานตาม “ข้ันตอนการทำงาน”
กิจกรรมของอาจารย์
1. อาจารยป์ ระจำกลุม่ รบั ผิดชอบดแู ลนักศึกษาแตล่ ะกลมุ่ ทร่ี ับผิดชอบ
2. อธบิ ายขน้ั ตอนการทำงานในปฏิบตั กิ ารนี้
3. สาธติ การล้างมือและการใสถ่ ุงมอื Sterile
4. สาธติ การฉีดยาชาในฟันกรามบน/ฟนั หน้าล่าง
5. ให้คำแนะนำ แนะแนวทาง และสงั เกตพฤติกรรมการปฏบิ ตั งิ านนักศกึ ษาแต่ละคน
6. ใหค้ ะแนนในใบประเมินปฏิบัติการและคะแนนพฤติกรรมนักศึกษาแตล่ ะคน
กิจกรรมของนกั ศกึ ษา
1.ศกึ ษาค้นคว้าทบทวนความรู้ภาคทฤษฎีเช่นกายวภิ าคศาสตรท์ ่ีเกี่ยวขอ้ งกับการฉดี ยาชาบริเวณใบหนา้ และขากรรไกร
เภสัชวิทยาของยาชาเฉพาะที่ เทคนิคการฉีดยาชาเฉพาะที่ทางทนั ตกรรม
2. ศกึ ษาข้ันตอนการปฏิบตั ิงานจากคมู่ อื ปฏิบัติการคลนิ ิกทนั ตกรรมเบอื้ งตน้
3. ปฏิบตั ิตามข้ันตอนการทำงาน โดยเบิกจากหอ้ งจ่ายกลาง คือชุดฉดี ยาชา เขม็ ส้ัน ยาชา ถงุ มอื ผา่ ตัด
Saliva Ejector **หมายเหตุ ถ้ามกี ารสลับกันฉดี ยาชา นักศกึ ษาต้องเบกิ มา 2ชดุ หา้ มใชร้ ่วมกนั เดด็ ขาด***
4. เชญิ อาจารยต์ รวจงาน
5. บนั ทกึ ผลการปฏบิ ัตงิ าน
6. บนั ทกึ เวชระเบียน
7. หลังจากทำงานเสรจ็ ตอ้ ง ลา้ งเครอื่ งมือ เช็ดใหแ้ หง้ ถ้ามผี ้าหอ่ เครอ่ื งมือมาดว้ ยต้องห่อกลบั ใหเ้ รียบร้อย
นำไปส่งคนื ทห่ี ้องจา่ ยกลาง
สื่อการเรียนการสอน 30 คะแนน
1. คู่มอื ปฏบิ ตั ิการคลนิ กิ ทันตกรรมเบอ้ื งตน้ 20 คะแนน
2. ตำราเอกสารวชิ าการท่ีเก่ยี วขอ้ ง
3. หนังสือเรียนทันตศลั ยศาสตร์
การประเมนิ ผล (คะแนนพฤติกรรมประเมนิ รว่ มกบั ปฏบิ ัติท่ี 4 การลา้ งมือฯ)
1.คะแนนจากแบบแบบประเมนิ ทกั ษะการฉีดยาชา
2.คะแนนจากแบบแบบประเมนิ การดูแลรกั ษาเครื่องมือ
(ประเมินทกุ วนั สุดทา้ ยของสปั ดาหท์ ม่ี ีปฏิบตั กิ าร)
83
เกณฑ์การประเมนิ ผล
1. ผู้เรยี นต้องเขา้ เรียนอย่างนอ้ ย ร้อยละ80 ของเวลาเรียน
2 . ผเู้ รยี นตอ้ งไดค้ ะแนนในแบบประเมินทกั ษะแต่ละปฏบิ ตั ิการ ตง้ั แต่60%ขึ้นไปจงึ จะมีสทิ ธขิ์ อประเมนิ ผลการเรียน
3. ผู้เรียนตอ้ งไดค้ ะแนนรวมพฤตกิ รรมประจำวนั ต้งั แต่60%ขึ้นไปจงึ จะมสี ิทธข์ิ อประเมินผลการเรยี น
4. ผู้เรียนตอ้ งได้คะแนนรวมในแบบประเมนิ การดแู ลรกั ษาเครือ่ งมอื ตัง้ แต6่ 0%ขน้ึ ไปจึงจะมีสิทธขิ์ อประเมนิ ผลการเรยี น
ข้ันตอนการทำงาน
1. นกั ศึกษาจับคกู่ นั เพอ่ื ฉดี ยาชาโดยสมมตุ ิว่าต้องการถอนฟันกรามบนซท่ี ี่ 1 (กำหนดให้เลือกฟนั ซ่ี 16หรอื ซี่ 26 )
และฟนั หนา้ ลา่ ง(ฟนั ซี่ 31 หรือ 41) กรณที ี่ไม่พบฟันซี่ดังกล่าวพิจารณาใชฟ้ นั ซถ่ี ัดไปไดต้ ามความเหมาะสม
2. นกั ศกึ ษาเตรียมวสั ดเุ ครอื่ งมอื ตามหัวขอ้ “วสั ดุอุปกรณ์ทใี่ ช้ในการเรยี นการสอน” ยกเว้น สำลปี ั้นเป็นก้อนเล็ก
3. ลา้ งมอื ด้วยเทคนคิ การปราศเชอ้ื และใส่ถงุ มอื ปราศจากเช้ือ (Surgical glove) เตรยี มสำลปี ั้นเป็นก้อนเลก็ 4 ก้อน
4. อาจารยส์ าธติ การใชย้ าชาเฉพาะทแ่ี บบทาพน้ื ผิว( topical anesthesia) สำหรบั การฉดี ยาชาแบบ
Supraperiosteal injection และ Local infiltration technique โดยเช็ดบรเิ วณเนอ้ื เยอื่ ทตี่ ้องการฉีดยาชาเฉพาะที่
ดว้ ยสำลแี ห้ง จากนัน้ ใชส้ ำลีกอ้ นเลก็ ท่เี ตรยี มไวป้ า้ ยยาชาเฉพาะที่ (ขอจากหอ้ งจ่ายกลาง) และนำมาทาบรเิ วณเนือ้ เยอ่ื ท่แี หง้
ทิ้งไว้ประมาณ 1-2 นาที หรอื ตามคำแนะนำของบรษิ ทั ผผู้ ลิตยาชาแบบทาพ้นื ผิวน้นั จากนน้ั สงั เกตลกั ษณะพนื้ ผวิ ทท่ี า
เมื่อครบเวลา ซึง่ จะพบวา่ เนอื้ เยือ่ บริเวณนัน้ จะมลี กั ษณะซีดลงและแหง้
5. อาจารยส์ าธติ การฉดี ยาชาในฟันกรามบนซี่บนและฟันหน้าล่าง
6. นักศึกษาฝึกฉดี ยาชาในฟันกรามบนและฟันหนา้ ล่าง โดยอาจารยค์ วบคมุ อย่างใกลช้ ิด
7. นกั ศึกษาลงบันทึกการรักษาในบัตร OPD Card ตามตัวอย่าง
8. หลงั จากเสร็จปฏบิ ตั กิ ารตอ้ งล้างเคร่ืองมือ เช็ดใหแ้ ห้ง ห่อใหเ้ รียบรอ้ ยและส่งคนื ห้องจ่ายกลาง
เน้ือหา
วธิ กี ารฉีดยาชา
ด้านแกม้ (Buccal) ฉดี ยาชาดว้ ยเทคนิค Supraperiosteal injection technique โดยดงึ รมิ ฝีปากบริเวณฟนั
ที่จะฉดี ยาชาให้เรยี บตึง หัน bevel ของเข็มให้ทศิ ทางเลยี บเขา้ หากระดกู แทงเขม็ ลงไปที่ mucobuccal fold ของฟันซ่ี
ท่ีตอ้ งการใหช้ าโดยท่แี นวกระบอกยาชาขนานหรือ เอียง 45 องศากับแนวแกนฟัน ความลึกของการแทงเขม็ ประมาณ
2-3 ม.ม. เดนิ ยาชาประมาณ 0.6-1.0 ม.ล.(ประมาณ 1/3 ถงึ 1/2 ของหลอดยาชา)ด้วยอัตราเร็ว 1-2 มล./นาที
วิธกี ารและภาพแสดงทศิ ทางและตำแหน่งในการฉีดยาชาด้วยเทคนคิ Supraperiosteal injection technique
https://youtu.be/Cv-NcXYMs1Y https://qrgo.page.link/5dmvG
84
ด้านเพดาน (Palatal) ฉดี ยาชาเทคนิค Local Infiltration technique โดยใหผ้ ู้ปว่ ยอ้าปากกวา้ งและเงยหนา้
หัน bevel ของเข็มให้ทิศทางเลยี บเข้าหากระดูก แทงเข็มไปยังเหงือกยึดของฟันซ่ีต้องการใหช้ า โดยหา่ งจากขอบเหงอื ก
ประมาณ 0.5-1 ซม.กระบอกยาชาเอียงทำมมุ 45 องศากบั เพดานปาก แทงเขม็ ใหส้ มั ผสั กระดูกลึกประมาณ 2-3 ม.ม.
เดินยาชาประมาณ 0.2-0.3 มล.ดว้ ยอตั ราเร็ว 1-2 มล./นาที หรอื จนเหงอื กซดี ทดสอบการชา
Clip การฉดี ยาชาด้วยเทคนิค Local Infiltration technique รปู แสดงทิศทางและตำแหน่งในการฉีดยาชา
ด้วยเทคนิค Local Infiltration technique
https://youtu.be/Wto7Xth2S-8
https://qrgo.page.link/RvHke
การทดสอบอาการมี 2 ขน้ั ตอน คอื
1.สอบถามอาการชาจากผูป้ ว่ ย ดว้ ยวาจา แลว้ จึง
2.ทดสอบ โดยใชป้ ลาย explorer กดเข้าไปในรอ่ งเหงือกของฟนั ซนี่ นั้ แลว้ ผ้ปู ่วยไมร่ ้สู ึกเจ็บ กรณีทผี่ ปู้ ว่ ยไม่ชา พิจารณา
ฉีดยาชาเพิ่มด้วยเทคนิคเดมิ หรอื ฉดี เทคนิคอืน่ เพิ่มเตมิ (Periodontal ligament injection หรือ Intrapulpal injection)
ซ่งึ ตอ้ งได้รับอนญุ าตจากอาจารยป์ ระจำกลุ่มก่อน**
ข้อแนะนำ
❖ การฉดี ยาชาท่ดี ี กอ่ นฉีดยาชา ควรทดสอบการเดินยาในปลอก ประมาณ 1-2 หยด และควรมกี าร rest บนฟัน
หรอื คางของผปู้ ่วยเพือ่ ให้กระบอกฉดี ยาชาและเข็มฉดี อยู่น่งิ ในตำแหนง่ ทีเ่ ราต้องการ
❖ สิง่ สำคญั คือ ความรู้ ท่าทางและบุคลิกภาพของผใู้ หก้ ารรกั ษา จะชว่ ยให้ผูป้ ่วยลดความวติ กกงั วลในการฉีดยาชา
ตวั อย่าง การบันทกึ การรักษาในบตั รผปู้ ว่ ย OPD CARD
วัน / เดอื น / ปี ตำแหนง่ ฟัน ผลการ x-rays การรกั ษา นกั ศกึ ษา อาจารย์
(เขยี นชือ่ ตวั บรรจง) ก้องภพ
การวินจิ ฉยั โรค น้ำหน่งึ
พธุ ท่ี25 ส.ค.64 16,41 L.A. 2% Mepivacaine with 1:105
epinephrine 1.8 ml.
หมายเหตุ (ชื่อของยาชาอาจเปลีย่ นไปให้สังเกตขุ า้ งหลอดแล้วจึงเขียนชอื่ )
85
ปฏบิ ัตกิ ารท่ี 6
การให้ทันตสขุ ศึกษาข้างเก้าอี้ และการขดู หินน้ำลาย
แผนการสอน
วัตถปุ ระสงค์การเรียนรรู้ ายปฏบิ ตั กิ ารเม่ือเรียนจบปฏบิ ัติการน้แี ล้ว นกั ศึกษาสามารถ
บรรลุวัตถุประสงคร์ ายวชิ าตามรายขอ้ ดงั นี้
ข้อท่ี 5. ให้การรักษาทางทนั ตกรรม การขดู หนิ ปูน และให้ทันตสุขศึกษาเฉพาะราย ในผู้ปว่ ยสมมุตภิ ายใต้หลักการ
ปอ้ งกันและควบคมุ การแพรก่ ระจายการตดิ เช้อื ไดถ้ ูกตอ้ งและเหมาะสมตามหลักวชิ าการด้วยความรบั ผิดชอบ(2.3, 3.1 ,3.3
,6.2,6.4)
ขอ้ ท่ี 6. บันทกึ ผลการซกั ประวตั ิ การตรวจ วางแผนรักษาทางทันตกรรมและการรักษาลงในเวชระเบียน ตาม
ขอ้ เท็จจริงได้อยา่ งถกู ต้อง(2.3, 3.1 ,3.3,6.2,6.4)
ข้อท่ี 7. สามารถทำความสะอาดเครื่องมือที่ใชใ้ นงานทันตกรรม จดั เกบ็ และทำให้ปราศจากเช้อื ได้ถกู ตอ้ งตาม
หลักวชิ าการ(1.2,1.3 ,2.3, 3.1 ,3.3,6.2,6.4)
ขอ้ ที่ 8. มพี ฤตกิ รรมทางดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม การเคารพสทิ ธิผู้ใชบ้ ริการ ความมวี นิ ัย ซือ่ สตั ย์ รับผดิ ชอบ
มีเจตคติ และเป็นแบบอยา่ งทด่ี ีแกผ่ ู้อน่ื (1.1, 1.2, 1.3 ,4.2)
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เพอ่ื ให้นกั ศกึ ษาสามารถ
1.ตรวจ ประเมินสภาวะปริทนั ต์ และวางแผนการรักษาใหเ้ หมาะสมแก่ผปู้ ่วยได้
2. ติดต้งั เคร่ืองขดู หนิ นำ้ ลายแบบ ultrasonic ได้อย่างถูกตอ้ ง
3. ใช้เคร่อื งขูดหนิ น้ำลายแบบ ultrasonic ในช่องปากผูป้ ่วยสมมตไิ ด้ อยา่ งนอ้ ย 1 Sextant
4. ใช้เคร่อื งมือ hand scaler ขูดหนิ นำ้ ลาย ในชอ่ งปากผู้ป่วยสมมติ ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
5. ใหค้ วามร้แู ละแนะนำการดแู ลสขุ ภาพชอ่ งปากดว้ ยวิธตี ่างๆตามหลักวชิ าการ เพอ่ื ควบคมุ แผ่นคราบ
จลุ นิ ทรียใ์ นชอ่ งปากไดอ้ ยา่ งถูกต้อง เหมาะสม
6. ประเมินพฤติกรรมการดแู ลสขุ ภาพชอ่ งปากของผู้ป่วยได้
วสั ดุอปุ กรณ์ทใ่ี ช้ในการเรียนการสอน 1
1. ชดุ ตรวจ 1
2. ชุดขดู หนิ ปนู 1
3. เครอ่ื งขูดหินปูน (ultrasonic scaler) 1
4. แปรงสฟี ันส่วนบคุ คล 2
5. กระจกสอ่ งหนา้ 1
6. แบบจำลองฟันและแปรงสฟี ัน 1
7. สยี อ้ มฟัน 1
8. ไหมขดั ฟนั 1
9. ผงขดั ฟนั 1
10. ภาพพลิกความรู้เก่ียวกบั ทนั ตสขุ ภาพ 1
11. Rubber cup
86
12. ด้ามกรอฟนั ชา้ ชนดิ หกั มมุ (Contra angle handpiece) 1
13. Saliva Ejector 1
14. แกว้ น้ำ 2
ขนั้ ตอนการปฏิบตั ิ
1. แบง่ นักศึกษาเป็น กลุ่มๆ ละ 10-12คนนกั ศึกษาจบั คู่ สลบั กนั เปน็ ผ้ปู ว่ ยสมมุติ
2.หลงั จากขดู หินนำ้ ลายเสรจ็ ทัง้ ปาก ให้นกั ศกึ ษาขัดฟันด้วยผงขัดฟนั
3. นักศึกษาที่เป็นผู้ให้การรักษา จดั เตรียมเครื่องมือตามรายการ “วสั ดุอปุ กรณ์ท่ใี ช้ในการเรียน
การสอน”
4.ปฏิบตั งิ านตาม “ขัน้ ตอนการทำงาน”
กจิ กรรมของอาจารย์
1. ดูแลนกั ศกึ ษาในกลมุ่ ทีร่ ับผิดชอบ
2. อธิบายข้ันตอนการทำงานในปฏบิ ตั ิการนี้
3. สาธิตการใชเ้ ครื่องมือขูดหนิ นำ้ ลาย (Hand scale)
4. สาธิตตดิ ตัง้ เครอื่ งขูดหินน้ำลายแบบ ultrasonic
5. ตรวจงาน ให้คำแนะนำ และสงั เกตพฤติกรรมการปฏบิ ัตงิ านนักศกึ ษาแต่ละคน
6. ใหค้ ะแนนในใบประเมนิ ปฏิบัตกิ ารและคะแนนพฤตกิ รรมนกั ศึกษาแตล่ ะคน
กิจกรรมของนักศกึ ษา
1. ศกึ ษาขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ านจากคมู่ อื ปฏิบัตกิ ารคลินกิ ทนั ตกรรมเบื้องตน้
2. อ่านเอกสารประกอบการสอน ”การขูดหินนำ้ ลาย” ก่อนฝึกปฏบิ ตั กิ าร
3. จัดเตรียมเคร่อื งมือตามรายการ “วัสดุอุปกรณท์ ใ่ี ช้ในการเรียนการสอน”โดยเบิกจากห้องจา่ ยกลาง คอื
ชุดตรวจ 1 ชดุ ชดุ ขดู หินปูน 1 ชุด แก้วน้ำ2ใบ และด้ามกรอฟันชา้ ชนิดหกั มุม (Contra angle handpiece) 1อนั
หากในvisit ทฝ่ี ึกให้นกั ศึกษามีการเปลยี่ นคนไข้ คอื ให้ สลับกันเองเปน็ operatorและ คนไข้ หลงั จากSterile พื้นผิว
ยนู ิต บรเิ วณการทำงาน จะต้องเบกิ ชุดตรวจ 1 ชดุ ชดุ ขดู หนิ ปูน 1 ชุด แกว้ นำ้ 2ใบ และด้ามกรอฟนั ชา้ ชนดิ หกั มมุ
(Contra angle handpiece) 1อัน ใหม่อีก1ชดุ หลังจากทำงานเสรจ็ ตอ้ งลา้ งเครื่องมือ เช็ดให้แหง้ หอ่ เคร่ืองมอื กลับ
ไปส่งคนื ทห่ี อ้ งจา่ ยกลาง
**ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของ COVID19 จึงใหใ้ ช้การแปรงฟันและไหมขัดฟนั แทนการขดั ดว้ ยRubber Cup
4. เชญิ อาจารยต์ รวจ เพ่ือเริ่มงาน (Beginning check)
5. ปฏิบตั ิงานตาม “ขั้นตอนการทำงาน”
6. บันทึกบตั รผู้ป่วย OPD CARD
7. เขยี นใบสง่ั ยา
8. หลังจากทำงานเสร็จ ต้อง ลา้ งเคร่อื งมอื เชด็ ให้แหง้ ถา้ มผี ้าหอ่ เคร่อื งมือมาดว้ ยต้องหอ่ กลับให้เรยี บร้อย
นำไปส่งคนื ทห่ี ้องจ่ายกลาง
สือ่ การเรียนการสอน
1. คมู่ อื ปฏบิ ัตกิ ารคลนิ ิกทันตกรรมเบอ้ื งตน้
2. ตำราเอกสารวชิ าการที่เกี่ยวข้อง
3. หนงั สอื เรยี นทนั ตกรรมปอ้ งกัน
4. เอกสารประกอบการสอน “การขดู หินนำ้ ลาย”
87
การประเมินผล
1.คะแนนจากแบบแบบประเมนิ ทกั ษะการขูดหินนำ้ ลายและให้ทันตสขุ ศกึ ษา 25 คะแนน
2.คะแนนจากแบบแบบประเมนิ ทกั ษะการขดู หินน้ำลายและใหท้ นั ตสขุ ศกึ ษา 30 คะแนน
3คะแนนจากแบบประเมินพฤติกรรมประจำวนั วนั ละ 10 คะแนน
4คะแนนจากแบบแบบประเมินการดูแลรักษาเครื่องมอื 20 คะแนน
เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
1. ผูเ้ รยี นต้องเขา้ เรียนอยา่ งนอ้ ย รอ้ ยละ80 ของเวลาเรยี น
2 . ผ้เู รยี นต้องไดค้ ะแนนในแบบประเมินทักษะแต่ละปฏบิ ตั ิการ ตั้งแต6่ 0%ขึ้นไปจงึ จะมสี ทิ ธิ์ขอประเมินผลการเรยี น
3. ผู้เรยี นต้องได้คะแนนรวมพฤตกิ รรมประจำวันตัง้ แต6่ 0%ขึ้นไปจงึ จะมสี ทิ ธ์ิขอประเมนิ ผลการเรยี น
4. ผเู้ รยี นต้องได้คะแนนรวมในแบบประเมนิ การดูแลรักษาเครอ่ื งมือ ตัง้ แต่60%ข้นึ ไปจงึ จะมีสิทธ์ิขอประเมนิ ผลการเรยี น
ขั้นตอนการทำงาน
1. งานรกั ษาโรคเหงอื กอักเสบ
1. การเรม่ิ ตน้ ทำงาน (Beginning check) มีขน้ั ตอนดังน้ี
1.1 กรอกข้อมลู ของผู้ปว่ ยในใบปรมิ าณงานให้ครบทุกชอ่ ง
1.2 ปรบั ตำแหน่งผปู้ ่วยนอนราบคลุมผา้ คลมุ คนไขเ้ ตรยี มชุดตรวจและจดั ให้เปน็ ระเบยี บ
1.3 ใหน้ ักศกึ ษาทำการตรวจสภาวะปรทิ นั ต์อกี ครงั้ (เน่อื งจาก
นกั ศกึ ษา.ไดต้ รวจสภาพช่องปากและวางแผนการรักษามากอ่ นแลว้ อาจทำการตรวจสภาวะปริทันต์คร่าวๆอีกครง้ั )
จากน้นั บันทึกคำวนิ ิจฉัยสภาวะปรทิ นั ต์ลงในช่อง Diagnosis ในใบปริมาณงานใหถ้ ูกตอ้ ง
1.4 เชิญอาจารยต์ รวจงานข้ันตอน beginning check เพ่ือประเมนิ สภาพเหงือกผู้ป่วย โดยนักศกึ ษา
รายงานสภาวะปริทนั ต์และวินจิ ฉยั สภาวะปริทันตใ์ หแ้ ก่อาจารย์ฟัง
1.5 จากน้ันอาจารยจ์ ะเป็นผเู้ ปน็ ผู้ลงชนดิ ของงานว่าเปน็ Gingivitis หรอื Oral prophylaxis ถ้าเปน็
Gingivitis ใหล้ งปริมาณ R ด้วย (Gingivitis มหี น่วย 0.5-1 R / Oral Prophylaxisไมม่ หี น่วย) อาจารยเ์ ซน็ ช่ือกำกบั ในชอ่ ง
Beginning check
2. การให้ทันตสขุ ศกึ ษาข้างเก้าอ้ี
2.1 เร่มิ ตน้ ดว้ ยการพูดคุยปญั หาในช่องปากของผปู้ ว่ ย (นกั ศึกษาควรให้ผ้ปู ว่ ยสอ่ งกระจกเพอ่ื ตรวจดสู ภาพ
ช่องปากของตนเองดว้ ย วา่ มีโรคในช่องปากอะไรอยู่บา้ ง โดยช้จี ดุ ที่เปน็ โรคใหผ้ ปู้ ่วยไดเ้ หน็ ) จากนั้นอธบิ าย สาเหตุ อาการ
ผลเสียการเกิดโรคทผ่ี ูป้ ่วยเป็นอยู่ โดยใช้สื่อทนั ตสุขศกึ ษาประกอบการให้ความรู้
2.2 จากน้ันสอบถามถงึ พฤติกรรมในการดแู ลสขุ ภาพชอ่ งปากของผปู้ ว่ ย เช่น การแปรงฟนั
การใช้ไหมขัดฟนั ของผูป้ ว่ ยว่าเคยใชห้ รือไม่ และทำอย่างไร เพอ่ื ประเมินทักษะในการดแู ลสุขภาพช่องปากของผูป้ ่วย
จากนน้ั สอนการแปรงฟันและใชไ้ หมขัดฟนั ให้ผปู้ ว่ ยด้วยวิธีทีเ่ หมาะสมให้แก่ผปู้ ่วย โดยฝกึ ปฏบิ ตั ิในแบบจำลองฟันก่อน(ใน
model )
2.3 ทำการยอ้ มสีแผ่นคราบจลุ นิ ทรีย์ โดยใช้สำลกี ้อนๆ เล็กชบุ สยี ้อมฟนั หมาดๆ ทาลงบนฟันเนน้ ทา
บริเวณรอบคอฟันสว่ นทตี่ ดิ กับเหงอื ก นบั การตดิ สีเฉพาะบริเวณคอฟัน(1/3 Cervical) โดยแบ่งฟันแต่ละซี่ เป็น 4 ด้าน
คือด้านใกลก้ ลาง ไกลกลาง ชิดแกม้ และชิดล้นิ บนั ทกึ จดุ ตดิ สยี อ้ มฟนั ลงในใบแบบบนั ทกึ คา่ PCR เรม่ิ จาก เซคแตนท์ ที่ 1
ถึง 6 ตามลำดับ คำนวณคา่ คราบจลุ นิ ทรยี ์ (PCR) แลว้ เชญิ อาจารยต์ รวจ
2.4 จากนั้นปรบั ผูป้ ว่ ยลกุ น่ัง ชีใ้ ห้ผปู้ ่วยทราบถงึ จดุ ที่ติดสียอ้ มฟัน ฝึกทกั ษะการแปรงฟนั และ
88
การใช้ไหมขัดฟนั ในช่องปากจริง
2.5 เมือ่ ผปู้ ่วยไดฝ้ ึกการแปรงฟันและใชไ้ หมขัดฟันจนสามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ ในระดบั ทนี่ ่าพอใจแลว้ ให้
นักศกึ ษาเชิญอาจารยป์ ระเมินการแปรงฟนั และใชไ้ หมขดั ฟนั ของผูป้ ว่ ย
ตวั อย่างการบันทกึ จดุ ติดสยี ้อมฟันใบแบบบันทกึ คา่ PCR
87 65 43 BUCCAL 4 56 7 8
21 1 2 3
Lingual
87 65 4 3 21 1 2 3 4 56 7 8
BUCCAL
การคำนวณค่า คา่ PCR มหี น่วยเป็น % หาไดจ้ าก = จำนวนดา้ นทต่ี ิดสที ัง้ หมด x 100
4 x จำนวนซ่ฟี ันท่ตี รวจ
จากตัวอย่าง พบวา่ ฟันที่ตรวจมี 28 ซี่ มจี ุดทตี่ ิดสที ัง้ หมด 86 จดุ แสดงวา่
การสงั เกต ขณะฝึกทกั ษะการแปรงฟันและการใชไ้ หมขัดฟนั ของผปู้ ่วย
▪ สงั เกตการจบั แปรงสีฟัน การวางแปรง มมุ ท่แี ปรง การขยบั ขนแปรง โดยเฉพาะการแปรงด้านแกม้
ในฟนั หลังบนและการแปรงด้านลน้ิ ในฟันหลังล่าง
▪ ใหผ้ ูป้ ่วยฝกึ ใชไ้ หมขัดฟัน นกั ศกึ ษาควรสงั เกตผปู้ ว่ ยตั้งแตก่ ารนำเสน้ ไหมเขา้ ซอกฟนั การโอบรอบฟนั
ทิศทางการเคลอื่ นท่ขี ณะทำความสะอาดฟัน และทกั ษะในการใชไ้ หมขดั ฟนั โดยเฉพาะบรเิ วณฟนั หลงั
▪ นักศกึ ษาดูการควบคมุ ทศิ ทางการเคลือ่ นท่ขี องไหมขัดฟันจากการใชน้ ้ิวมือท้ังสองขา้ ง
▪ ถา้ ผูป้ ่วยมีฟันซ้อนเก ใหเ้ นน้ การใช้ไหมขัดฟนั บรเิ วณฟนั ซ้อนเกเปน็ พิเศษ
▪ พิจารณาการเลอื กซือ้ เคร่อื งมอื ทำความสะอาดบรเิ วณซอกฟันให้เหมาะสมกบั ผู้ป่วยแตล่ ะราย
เชน่ ผปู้ ่วยมชี อ่ งฟนั หา่ ง อาจแนะนำใหใ้ ช้แปรงซอกฟัน เปน็ ตน้
ข้อแนะนำ
● ขณะท่ีผู้ปว่ ยฝกึ แปรงฟันและใชไ้ หมขัดฟนั นกั ศึกษาต้องสังเกตอย่างใกล้ชิด
ถา้ พบว่าใช้ไมถ่ กู ต้องควรช้ีแจงและ
แนะนำสิ่งทีถ่ กู ต้องทันที ไม่ควรปลอ่ ยให้ผูป้ ่วยทำผิดพลาดไปเร่อื ย
● เชญิ อาจารย์ฟงั การใหท้ ันตสุขศกึ ษากบั ผปู้ ว่ ยตามหลักการใหท้ นั ตสขุ ศกึ ษาขา้ งเก้าอ้ี (ทส.) ทุกข้ันตอน
ในระหว่างการให้ความรู้
● นกั ศกึ ษา
ควรกระตุ้นใหผ้ ้ปู ่วยตระหนักถึงผลดีของการดแู ลช่องปากท่ีถูกตอ้ งและผลเสยี ที่เกดิ ขน้ึ เมื่อเราปลอ่ ยปละ
ละเลยไมด่ ูแลสขุ ภาพชอ่ งปาก
3. การขูดหนิ น้ำลาย
89
3.1 เร่มิ ฝกึ การขูดหนิ นำ้ ลาย โดยขูดทีละเซกแตนท์ (ให้นักศึกษา
ทบทวนเกย่ี วกับเครือ่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการขดู ในแตล่ ะบรเิ วณ การวางมมุ ของเคร่อื งมือ การ rest ในและนอกช่องปาก)
หลังขูดเสรจ็ ตอ้ งไมม่ ีหนิ นำ้ ลายทงั้ เหนอื เหงือกและใตเ้ หงอื กตกคา้ งอยแู่ ละไมท่ ำใหเ้ กดิ ความชอกช้ำแกเ่ หงอื ก
ใชส้ ำลีสะอาดก้นั น้ำลายระหว่างทำงานทกุ คร้งั ควรเตรยี มสำลีชบุ แอลกอฮอล์วางในถาดเพ่อื เชด็ กระจกส่องปาก
และเครือ่ งมือให้สะอาดอยู่เสมอ
3.2 การตรวจความสะอาดของการขดู หนิ น้ำลาย
ก่อนตรวจความสะอาดหลังขูด ควรลา้ งและเป่าฟนั และเหงอื กใหแ้ หง้ ก้นั สำลี เพอื่ ให้สามารถตรวจ
หนิ นำ้ ลายไดง้ ่ายขึ้น
หินน้ำลายเหนือเหงอื ก ใชเ้ ครื่องมอื ตรวจหาหนิ นำ้ ลายคอื explorer ร่วมกบั ใช้กระจกสอ่ งปากดดู ้วย
ลากผ่านรอ่ งเหงือกเบาๆ เมอ่ื พบเศษหนิ น้ำลายจะรสู้ กึ สะดดุ ทม่ี ือ เม่ือเปรียบเทียบกบั ผวิ ฟนั ท่ีสะอาด
หนิ นำ้ ลายใตเ้ หงือก จะไมส่ ามารถมองดว้ ยตาเปลา่ เหน็ การตรวจจงึ ต้องอาศยั ทกั ษะของการสัมผสั
โดยตอ้ งตรวจโดยใช้ Explorer เขย่ี หาจากรอ่ งเหงอื กขน้ึ มาที่คอฟนั ทศิ ทางการตรวจควรเข่ยี หลายๆทิศทาง เช่นในแนวดิง่
แนวนอน แนวเฉียง โดยใหป้ ลาย explorer ตง้ั ฉากกับผวิ ฟันเสมอ
3.3 การใช้เคร่อื งขูดหินน้ำลายอัลตราโซนิก (Ultrasonic scaler ) ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ
COVID19 ทนั ตแพทยสภายงั แนะนำใหง้ ดการขดู ดว้ ยเครอื่ งฯเพ่อื ลดการฟงุ้ กระจาย
ถ้าในสถานการณ์ปกตไิ มม่ ีการแพรร่ ะบาด หรอื มเี ครอ่ื งExternal Oral Suction ระบบอากาสไหลเวียนท่ีได้
มาตราฐานแนะนำใหใ้ ช้ในผู้ป่วยทมี่ ีหนิ นำ้ ลายเหนือเหงอื กปานกลางค่อนข้างมากกอ่ นการใชก้ ารขูดด้วยมือ (hand scaler)
เพอ่ื ลดปรมิ าณหนิ น้ำลายลงและทำให้การขดู ดว้ ยมอื ทำไดง้ ่ายขึ้น โดยนกั ศึกษา
ตอ้ งไดร้ ับการอนญุ าตจากอาจารยท์ ีค่ วบคุมกอ่ น
3.4 เมอ่ื จะเชิญอาจารยต์ รวจงาน ควรลา้ งหรอื เช็ดคราบเลอื ดทต่ี วั ฟนั เหงอื ก(ด้านทีข่ ูด) และเคร่ืองมือ
ให้สะอาด เปล่ยี นสำลกี ัน้ นำ้ ลายกอ้ นใหม่ หากมหี นิ น้ำลายหลงเหลอื อยู่ นกั ศกึ ษาต้องแก้ไขให้เรยี บรอ้ ยจนกวา่ อาจารยจ์ ะ
ตรวจงานผา่ น นักศกึ ษาจงึ จะสามารถเร่ิมขูดหนิ ปนู ในเซกแตนทต์ อ่ ไป
3.5 เมื่อใกล้หมดเวลาปฏิบัติงาน นักศกึ ษาตอ้ งขัดฟันด้วยผงพิวมิสในบรเิ วณที่ขูดหนิ ปนู ให้เรยี บร้อยพรอ้ มเชิญ
อาจารยต์ รวจงาน โดย
⮚ การขัด ต้องสามารถกำจัดคราบจลุ นิ ทรยี แ์ ละคราบสีออกไดห้ มด โดยเฉพาะบริเวณ
distolingual และ distobuccal นักศึกษาต้องใช้กระจกสอ่ งตรวจเสมอ
⮚ ควรขดั ฟันด้วยผงขดั ผสมฟลอู อไรด์ (ใชผ้ ง pumice ผสมกบั ยาสฟี ันทม่ี ีสว่ นผสมของฟลูออไรด)์
ทุกคร้งั หลังขดู หนิ นำ้ ลายเสรจ็ ในแตล่ ะวัน เพอ่ื กำจัดรอยขีดข่วนบนผวิ ฟนั และตรวจเศษหินนำ้ ลายทหี่ ลงเหลอื อยไู่ ด้ง่าย
ถ้าพบว่ามีหินน้ำลายหลงเหลอื อยใู่ ห้กำจดั ออกให้สะอาดเชญิ อาจารยต์ รวจความสะอาดอกี คร้งั
⮚ ***หมายเหต*ุ ** เน่อื งจากยงั อยใู่ นสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ COVID19 และยังไม่มวี ัคซีนที่ในการรักษา
⮚ ขัน้ ตอนการขดั ฟัน จึงให้เปลี่ยนไปเปน็ การแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟนั แทน
⮚ เขยี นบตั รบนั ทกึ การรกั ษาผูป้ ว่ ยให้เรยี บร้อยตามตัวอย่างด้านทา้ ยนำใบปริมาณงานพร้อมลงวนั
ที่ในทุกขั้นตอนทป่ี ฏิบัตงิ าน ใหอ้ าจารยต์ รวจและเซน็ ชื่อกำกับใหเ้ รยี บรอ้ ย
ขอ้ แนะนำ
● Explorer ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพในการตรวจ ควรมีลกั ษณะที่บาง ไมห่ นา
จะทำให้สามารถถา่ ยทอดความรสู้ กึ ของหนิ น้ำลายทหี่ ลงเหลอื อยู่ มาท่นี ิว้ มือไดด้ ยี งิ่ ข้ึน
90
● เครื่องขูดหนิ นำ้ ลายสามารถใชไ้ ดก้ ับผปู้ ว่ ยทกุ คน ยกเว้น ผ้ปู ว่ ยโรคหวั ใจทีใ่ ส่เคร่ืองควบคุมจังหวะการเต้นของ หวั ใจ
(Cardiac peace-maker )
● ผู้ปว่ ยโรคติดเชอ้ื หรือมคี วามเสย่ี ง ทส่ี ามารถแพร่กระจายเช้ือหรอื รบั เชอื้ ผ่านนำ้ ลายและเลอื ด เชน่ Hepatitis B
,AIDS นกั ศกึ ษาต้องใช้เครอ่ื งดดู นำ้ ลายความเรว็ สงู โดยปฏิบัติงานตามหลกั การ universal precaution
อย่างเขม้ งวด
4. การตรวจประเมินสภาพเหงือกซำ้ หลังขูดหินน้ำลาย (Recheck)
หลงั จากขดู หนิ ปูนทั้งปากเสร็จเรยี บรอ้ ยแล้ว ประมาณ 1-2 สัปดาหต์ อ่ มา ให้นกั ศึกษานัดผูป้ ่วยมาประเมนิ
ผลการรกั ษา โดย
ตรวจสภาพเหงือก ใหน้ กั ศกึ ษาเชิญอาจารยต์ รวจประเมนิ สภาพเหงอื กของผูป้ ว่ ย
ซง่ึ เหงอื กตอ้ งมีลักษณะปกติ ไมม่ กี ารอกั เสบของเหงอื กไมม่ ีหนิ นำ้ ลายทงั้ บนตวั ฟันและใต้เหงอื กหลงเหลอื อยู่
⮚ เม่ืออาจารยต์ รวจแล้ว ทำการย้อมคราบจลุ ินทรยี ์ โดย ค่า PCR ตอ้ งมคี า่ ไม่เกนิ ร้อยละ 25
จึงจะผ่านการประเมิน
⮚ ในกรณที ่ี วัดค่า PCR ไดม้ ากกวา่ รอ้ ยละ 25 แต่จากการตรวจช่องปากไมพ่ บว่ามหี นิ นำ้ ลายข้นึ ใหม่
และไมพ่ บการอกั เสบของเหงอื กหรือมีการอักเสบของเหงอื กแค่เพียงเลก็ น้อย ใหผ้ ปู้ ว่ ยได้แปรงฟนั และใช้ไหมขัดฟนั
เพอื่ เปน็ การประเมนิ ทักษะทางทนั ตสขุ ภาพหลังจากทไ่ี ดใ้ ห้ความรู้รว่ มกบั การขดู หินนำ้ ลายให้แล้ว ผูป้ ว่ ยควรแปรงฟนั
และใช้ไหมไดด้ ว้ ยตนเองไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และมคี วามชำนาญจนถึงระดบั ท่ีไมต่ อ้ งมกี ารแนะนำทกั ษะใดๆเพ่ิมเตมิ อีกจึงจะถือว่า
ผ่านขัน้ ตอนTooth brushing and flossing satisfiedและผ่านการ Recheck
⮚ กรณีท่ตี รวจประเมินช่องปากแลว้ พบวา่ ยงั มหี ินนำ้ ลายหลงเหลอื อยู่ หรือมหี ินน้ำลายข้ึนมาใหม่
ใหท้ ำการขูดหินน้ำลายซำ้ อกี ครงั้ ตามขั้นตอนที1่ -3 แลว้ จึงนัดผู้ปว่ ยมาประเมินสภาพเหงอื กอีก 1-2 สัปดาหต์ อ่ ไป
(ดแู ผนผังการ Recheck)
ขอ้ แนะนำ***หา้ มนักศกึ ษา
ย้อมคราบจลุ นิ ทรียก์ อ่ นเชญิ อาจารย์ตรวจสภาพเหงือกเน่อื งจากการย้อมสฟี ันจะทำใหไ้ ม่สามารถตรวจสภาพของเหงือกไดว้ า่ มี
การอกั เสบหรอื ไม*่ **
ตวั อย่างการบันทึกการรกั ษา
ขูดหินน้ำลาย ครงั้ แรก กรณขี ดู 3 เซกแตนท์บน
วนั / เดือน / ปี ตำแหน่งฟนั ผลการ x-rays การรกั ษา นกั ศกึ ษา อาจารย์
29ก.ค64 การวนิ จิ ฉยั โรค
FM. PCR =56.8 % Educated and motivated, tooth-brushed & flossed. (เขยี นชือ่ ตวั บรรจง) อ.รัชนีวรรณ
s1,s2,s3 อ.รชั นวี รรณ
Scaled and polished completely. ดาริกา
ดาริกา
ขดู หินนำ้ ลาย การรักษาครงั้ ท่ี 2 กรณขี ดู เซกแตนทล์ า่ งตอ่ และขดู เสรจ็ ทงั้ ปาก
วัน / เดือน / ปี ตำแหนง่ ฟัน ผลการ x-rays การรกั ษา นกั ศึกษา อาจารย์
26ส.ค64 การวินิจฉยั โรค
FM PCR = 35.8 % Educated and motivated, tooth-brushed & flossed. (เขียนชอ่ื ตวั บรรจง) อ.รชั นีวรรณ
s4,s5,s6 อ.รชั นวี รรณ
FM. Scaled completely. ดารกิ า อ.รัชนีวรรณ
Scaled and polished completely. ดารกิ า
ดาริกา
91
การรักษาคร้งั ท่ีทำการ recheck ผา่ น
วัน / เดอื น / ปี ตำแหน่งฟนั ผลการ x-rays การรักษา นักศกึ ษา อาจารย์
อ.รชั นวี รรณ
การวนิ ิจฉัยโรค Brushing & flossing satisfied checked out completely. (เขียนชอ่ื ตัวบรรจง)
30 ก.ย.64 FM PCR = 24.9 % ดารกิ า
ตัวอย่าง การเขยี นใบส่ังยาคา่ รักษาโรคเหงือกอกั เสบ
(กรณีเป็นคนไข้ของนักศกึ ษาในคลนิ ิกเพื่อการศกึ ษาไม่มีค่าใช้จ่าย)
กระทรวงสาธารณสุข
ใบส่ังยา
วิทยาลัยการสาธารณสขุ สริ นิ ธรจงั หวัดขอนแกน่
ช่ือ-นามสกลุ ...... นายศรลาม . เทพพทิ กั ….. อายุ ..........26...... ปี
ทีอ่ ย.ู่ .......................................................... วัน เดือน ปี .. 29ก.ค64
การวนิ จิ ฉยั โรค dental plaque induced gingival diseases เลขที่บตั ร …………
สิทธกิ ารรับบรกิ าร
บตั รประกนั สขุ ภาพถว้ นหน้า (บัตรทองฯ รพ.ขอนแก่น)
เลขทีบ่ ตั รประชาชน ----
บัตรประกันสังคมเลขที่ ----
ขา้ ราชการ/เจา้ หนา้ ทข่ี องรัฐ/พนักงานรฐั วิสาหกิจ
อืน่ ๆ
รายการ จำนวน ราคา
- คา่ บริการผปู้ ว่ ยนอก ในเวลาราชการ/นอกเวลาราชการ
- คา่ รักษาโรคเหงือกอักเสบ 600
นกั ศกึ ษาผู้ทำการรกั ษา ดารกิ า รวม 600 บ.
ผ้สู ่งั ยา อ.รชั นีวรรณ ผจู้ า่ ยยา ผรู้ บั เงิน
ใบเสรจ็ รบั เงนิ เล่มที่ เลขท่ี
92
ข้ันตอนการขูดหินน้ำลาย
⮚ ***หมายเหต*ุ ** เนอ่ื งจากยังอย่ใู นสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ COVID19 และยังไม่มีวัคซีนท่ใี นการรกั ษา
⮚ ขนั้ ตอนการขดั ฟัน จึงให้เปลี่ยนไปเป็นการแปรงฟันและใช้ไหมขดั ฟันแทน
1. Beginning check เขียนใบสัง่ ยาและสมดุ บนั ทกึ ปริมาณงาน เชิญอาจารยต์ รวจ
2. Chair side Instruction
การรกั ษาคร้งั แรก ใหเ้ ชญิ อาจารย์ประเมนิ สภาพเหงอื ก
3. ขูดหนิ น้ำลาย เชิญอาจารยฟ์ ังและประเมินการใหท้ ันตสุขศึกษาแกผ่ ปู้ ่วย
นักศกึ ษาคำนวณคา่ PCR ทง้ั ปาก เชิญอาจารยต์ รวจ
การรักษาครัง้ ตอ่ มา ยอ้ มคราบจลุ ินทรยี ท์ ้งั ปาก คำนวณ PCR
เชญิ อาจารย์ตรวจใหท้ ันตสขุ ศกึ ษาเพมิ่ เติมในส่วนทีผ่ ู้ปว่ ยยังปฏิบัตไิ มไ่ ด้
ขดู หินน้ำลายทีละเซกแตนท์ กนั้ นำ้ ลาย เชญิ อาจารย์ตรวจ
เมื่อขูดเสรจ็ ทุกเซกแตนท์ (ท้ังปาก) เชญิ อาจารย์ตรวจ
4. ขัดฟนั ท้ังปาก ขัดฟันด้วย ผงขดั ผสมฟลอู อไรด์ เชิญอาจารย์ตรวจ
***หมายเหต*ุ ** เนอ่ื งจากยงั อยใู่ นสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID19 ข้นั ตอนการขัดฟนั จงึ ใหเ้ ปลย่ี นไปเปน็
การแปรงฟันและใช้ไหมขดั ฟนั แทนหากจำเปน็ ต้องใช้เครอ่ื ง EOS เพอื่ ลดการเกดิ ฝอยละอองทกุ คร้ัง
⮚
https://youtu.be/cXWDg01Nyjk
การใช้ Area specific Hand Scaler