The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปีการศึกษา2564 ใช้เป็น คู่มือการจัดการเรียนการสอน
วิชาการเตรียมความพร้อมทันตกรรมคลินิก
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ทันตสาธารณสุข) วิทยาลัยการสาธารณสุข สิรินธร จังหวัดขอนแก่น
สถาบันพระบรมราชชนกสำนักงานปลัดกระทรวง
กระทรวงสาธารณสุข

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ratchaneewan poomsa-ad, 2021-05-29 11:20:35

คู่มือการจัดการเรียนการสอนปีการศึกษา 2564 วิชาการเตรียมความพร้อมทันตกรรมคลินิก หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ทันตสาธารณสุข)

ปีการศึกษา2564 ใช้เป็น คู่มือการจัดการเรียนการสอน
วิชาการเตรียมความพร้อมทันตกรรมคลินิก
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ทันตสาธารณสุข) วิทยาลัยการสาธารณสุข สิรินธร จังหวัดขอนแก่น
สถาบันพระบรมราชชนกสำนักงานปลัดกระทรวง
กระทรวงสาธารณสุข

Keywords: วิชาการเตรียมความพร้อมทันตกรรมคลินิก ม,หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ทันตสาธารณสุข),วิทยาลัยการสาธารณสุข สิรินธร จังหวัดขอนแก่น,สถาบันพระบรมราชชนกสำนักงานปลัดกระทรวง

93

การตรวจสภาพเหงือก(Recheck) เพ่ือจำหน่ายผู้ป่วยออก (check out)

Beginning check
เชญิ อาจารย์เช็คเหงอื ก

เหงือกปกติ เหงือกอกั เสบ

มเี ฉพาะคราบจุลินทรีย์ มหี นิ น้ำลายตกคา้ ง
หรอื หินน้ำลายขน้ึ ใหม่
ย้อมคราบจลุ ินทรยี ์ เชญิ อาจารย์เชค็ คา่ PCR
(PCR นอ้ ยกว่า 25%) ขดู หนิ น้ำลายซำ้
ยอ้ มคราบจลุ นิ ทรยี ์ (Rescale)
(PCR มากกว่า 25% )

ยอ้ มคราบจลุ นิ ทรีย์
(PCR มากกวา่ 25% )

ผา่ น สอนความรูแ้ ละฝึกทกั ษะ
การ Check out เหงอื ก เพ่ิมเติมใหผ้ ู้ปว่ ย

ให้แปรงฟันและ นัด Recheck
ใชไ้ หมขัดฟัน อีก 1-2 สปั ดาห์ถัดไป

อาจารย์ประเมนิ ย้อมคราบจลุ ินทรยี ์
ความรู้และทักษะฯ (PCR น้อยกว่า 25% )

ผปู้ ่วยมีทักษะในการดูแลชอ่ งปาก
ไม่ตอ้ งให้คำแนะนำใดๆเพิม่

ถอื วา่ ผ่าน

94

ปฏิบตั กิ ารท่ี 7

การเคลอื บหลมุ รอ่ งฟนั

แผนการสอน
วัตถุประสงค์การเรยี นรรู้ ายปฏิบัตกิ ารเมื่อเรยี นจบปฏบิ ตั กิ ารน้ีแล้ว นกั ศึกษาสามารถ

บรรลวุ ัตถุประสงค์รายวชิ าตามรายขอ้ ดงั นี้
ขอ้ ที่ 5. ใหก้ ารรกั ษาทางทันตกรรม การเคลือบหลมุ รอ่ งฟัน ในผปู้ ว่ ยสมมุตภิ ายใตห้ ลักการปอ้ งกนั และควบคมุ

การแพรก่ ระจายการติดเชือ้ ได้ถกู ต้องและเหมาะสมตามหลกั วิชาการดว้ ยความรบั ผิดชอบ
(LO 2.3, 3.1 ,3.3,6.2,6.4)

ขอ้ ท่ี 6. บนั ทึกผลการซักประวตั ิ การตรวจ วางแผนรักษาทางทนั ตกรรมและการรกั ษาลงในเวชระเบียน
ตามข้อเท็จจริงได้อยา่ งถูกต้อง(LO 2.3, 3.1 ,3.3,6.2,6.4)

ข้อที่ 7. สามารถทำความสะอาดเครื่องมอื ทใี่ ช้ในงานทนั ตกรรม จัดเกบ็ และทำใหป้ ราศจากเช้ือไดถ้ ูกต้อง
ตามหลักวชิ าการ(LO 1.2,1.3 ,2.3, 3.1 ,3.3,6.2,6.4)

ข้อที่ 8. มีมพี ฤติกรรมทางดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม การเคารพสิทธผิ ู้ใช้บริการ ความมีวินัย ซอ่ื สตั ย์ รับผิดชอบ
มเี จตคติ และเปน็ แบบอย่างทด่ี แี กผ่ ู้อ่ืน (LO 1.1, 1.2, 1.3 ,4.2)

วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม เพ่อื ให้นกั ศกึ ษาสามารถ 1
1. เคลือบหลมุ ร่องฟนั ไดถ้ กู ตอ้ งอยา่ งนอ้ ย 1 ซี่ 1
1
วัสดุอุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการเรียนการสอน 1
1. ชดุ ตรวจ 1
2. ผงขัดฟัน 1
3. Rubber cup 1
4. Rubber brush 1
5. ด้ามกรอฟนั ช้าชนิดหกั มมุ (Contra angle handpiece) 2
6. ชดุ เคลอื บหลมุ รอ่ งฟัน 1
7. ไหมขดั ฟัน
8. เครอื่ งฉายแสง
9. แก้วน้ำ
10. Saliva Ejector

ข้นั ตอนการปฏิบตั ิ
1. แบ่งนกั ศึกษาเปน็ กลมุ่ ๆ ละ10-12คนนักศกึ ษาจบั คู่ สลบั กันเป็นผปู้ ่วยสมมตุ ิ
2.หลงั จากขดั ฟนั ให้นกั ศกึ ษาเลอื กซ่ีมหี ลมุ ร่องฟนั ลึกเพือ่ ทำเคลอื บหลุมร่องฟัน
3. นกั ศกึ ษาทีเ่ ป็นผู้ใหก้ ารรักษา จดั เตรยี มเครอ่ื งมือตามรายการ “วัสดุอปุ กรณท์ ีใ่ ชใ้ นการเรยี นการสอน”
4.ปฏบิ ตั งิ านตาม “ขน้ั ตอนการทำงาน”

95

กิจกรรมของอาจารย์
1. ดูแลนกั ศึกษาในกลมุ่ ทร่ี บั ผิดชอบ
2. อธบิ ายขั้นตอนการทำงานในปฏิบตั ิการนี้
3. ตรวจงาน ใหค้ ำแนะนำ และสังเกตพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานนกั ศึกษาแตล่ ะคน
4. ใหค้ ะแนนในใบประเมนิ ปฏิบตั ิการและคะแนนพฤติกรรมนกั ศกึ ษาแตล่ ะคน

กิจกรรมของนกั ศกึ ษา
1. ศึกษาขัน้ ตอนการปฏิบตั ิงานจากคมู่ ือปฏิบัตกิ ารคลินิกทันตกรรมเบ้อื งต้น
2. อ่านเอกสารประกอบการสอน ”การเคลอื บหลมุ รอ่ งฟนั ” กอ่ นฝึกปฏิบตั ิการ
3. จดั เตรยี มเครอื่ งมอื ตามรายการ “วัสดุอปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการเรยี นการสอน” เบิกชุดเครื่องมือ

จากห้องจา่ ยกลาง สำหรบั คนไข1้ คน ดงั น้ี ชดุ ตรวจ 1ชุด แกว้ นำ้ 2.ใบ ด้ามกรอฟนั ชา้ ชนดิ หกั มุม (Contra angle
handpiece)ชนิดหักมุม 1 ด้ามSaliva Ejector 1ช้ินหากมกี ารฝึกใหร้ บั คนไข้มากกว่า 1 คน ต้องเบิกใหม่ท้ังหมด
สำหรับคนไขอ้ กี 1คน

4. เชิญอาจารยต์ รวจ เพือ่ เรมิ่ งาน (Beginning check)
5. ปฏิบัตงิ านตาม “ข้ันตอนการทำงาน”
6. บนั ทึกบัตรผ้ปู ่วย OPD Card
7. เขียนใบสงั่ ยา
8. หลังจากทำงานเสรจ็ ต้อง ลา้ งเคร่อื งมือ เชด็ ให้แหง้ ถ้ามีผา้ หอ่ เครือ่ งมอื มาดว้ ยต้องหอ่ กลบั ให้เรยี บร้อย
นำไปสง่ คืนทีห่ ้องจา่ ยกลาง
ส่ือการเรยี นการสอน

1. คู่มือปฏิบัติการคลนิ ิกทันตกรรมเบอื้ งต้น
2. ตำราเอกสารวชิ าการทเี่ ก่ียวข้อง
3. หนงั สือเรียนทันตกรรมปอ้ งกนั
4. เอกสารประกอบการสอน “การขดู หนิ น้ำลาย”

การประเมินผล

1คะแนนจากแบบประเมนิ ทักษะการเคลือบหลมุ และรอยแยกฟนั (ทำ2ซี่ๆละ15คะแนน) 30 คะแนน

2 คะแนนจาก.แบบประเมนิ .ประเมนิ พฤติกรรมประจำวนั วนั ละ 10 คะแนน

3 คะแนนจาก.แบบประเมินแบบประเมนิ การดูแลรกั ษาเครือ่ งมอื 20 คะแนน

(ประเมนิ ทกุ วนั ของสปั ดาห์ทม่ี ีปฏบิ ัติการ)

เกณฑ์การประเมนิ ผล

1. ผเู้ รียนต้องเข้าเรียนอยา่ งน้อย รอ้ ยละ80 ของเวลาเรียน

2 . ผู้เรยี นตอ้ งไดค้ ะแนนในแบบประเมินทักษะแต่ละปฏิบตั ิการ ต้ังแต6่ 0%ขึน้ ไปจึงจะมีสิทธขิ์ อประเมนิ ผลการเรียน

3. ผูเ้ รียนต้องไดค้ ะแนนรวมพฤตกิ รรมประจำวนั ตัง้ แต6่ 0%ขนึ้ ไปจงึ จะมสี ิทธ์ขิ อประเมินผลการเรยี น

4. ผู้เรยี นตอ้ งได้คะแนนรวมในแบบประเมินการดแู ลรกั ษาเครือ่ งมอื ตง้ั แต่60%ข้ึนไปจึงจะมีสทิ ธขิ์ อประเมินผลการเรียน

ข้นั ตอนการทำงานงานเคลอื บหลมุ และรอยแยกฟนั (Sealant)

ขั้นตอนการทำงาน

1. การขัดฟันและการทำความสะอาดฟัน (Polishing and Cleaning)

96

1.1 ขัดฟนั โดยใช้ผงพัมมสิ (ไมต่ ้องผสมฟลูออไรด์) ร่วมกับหวั ขดั bristle brush จากน้นั ล้างนำ้
ให้สะอาด อยา่ ใหม้ ีเศษผงพัมมิสหลงเหลืออยู่

1.2 ใช้ที่ตรวจฟัน (explorer) เขี่ยตามรอ่ ง (groove) และรอยแยกฟัน (fissure) เพ่อื ตรวจดู
คราบ จลุ นิ ทรีย์หรือคราบผงขดั พัมมิส (pumice)

1.3 ฟันกรามบนใหต้ รวจดูหลุมและร่องฟนั ด้านบดเคีย้ ว (occlusal) ร่วมกบั ร่องดา้ นเพดาน
(Lingual pit) ของฟนั ใหท้ วั่ ถึง ส่วนฟันกรามล่างให้ตรวจดหู ลมุ และร่องฟันดา้ นบดเคย้ี ว(occlusal) รว่ มกับร่องดา้ นแกม้ (Buccal

pit) ของฟนั
1.4 ขณะเคลอื บหลมุ และรอยแยกฟัน ถา้ มที ดี่ ดู น้ำลายกำลังสงู แนะนำให้นกั ศึกษาใช้ทกุ ครั้ง
1.5 ฟนั กรามบนบรเิ วณร่องด้านเพดานไกลกลาง มกั จะมีปญั หาว่าสารเคลือบจะหลุดบอ่ ยครั้ง

เนอื่ งจากขณะทำล้นิ ของผปู้ ว่ ยมักจะยกข้ึนมาทำให้น้ำลายสมั ผสั ผิวฟนั เพราะฉะนน้ั ขณะที่ทำควรระมดั ระวัง
ให้ใช้กระจกกันลนิ้ ไม่ให้สัมผสั บริเวณดงั กลา่ ว

***หมายเหต*ุ ** เนอ่ื งจากยงั อยใู่ นสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ COVID19 และนกั ศกึ ษายังไม่ได้รบั วคั ซีน
ในขนั้ ตอนการขัดฟัน จงึ ใหเ้ ปล่ียนไปเปน็ การแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันแทน

2. การใชก้ รดกัด (Etching)

2.1 ใช้พกู่ นั จมุ่ กรด ทาบริเวณด้านบดเค้ียว ร่องเพดานหรอื ร่องใกล้แกม้
2.2 เวลาที่ใช้กรดกดั ประมาณ 15-20 วนิ าที หรือขึ้นอยู่กับคำแนะนำของบรษิ ัทผ้ผู ลติ
2.3 ไมใ่ ห้ใช้สำลซี บั บรเิ วณทใ่ี ชก้ รดกดั แลว้ เพราะเสน้ ใยสำลีจะรบกวนผวิ เคลือบฟนั ทถี่ ูกกรดกดั
2.4 หลงั ใชก้ รดกดั ตอ้ งใช้นำ้ ฉดี ลา้ งอยา่ งตอ่ เนอ่ื งเพอ่ื ล้างกรดใหห้ มด อยา่ งนอ้ ย 15-20วนิ าที และดดู นำ้ ลาย
ให้ทนั ควรใชท้ ดี่ ดู นำ้ ลายกำลงั สูง ควบค่กู ับท่ดี ดู น้ำลายกำลังตำ่ (salivary ejector) ชว่ ยดูดนำ้ ลายขณะปฏบิ ตั งิ าน
เปลี่ยนสำลี เปา่ ให้แห้ง ประมาณ 10 วินาที จนฟันมสี ีขาวข่นุ แลว้ ทาสารปดิ ร่องฟันให้ท่วั ฉายแสง 40 วินาที
(ขน้ั ตอนนีค้ วรกนั นำ้ ลายใหด้ ี)
3. การเคลอื บหลมุ และรอยแยกฟัน (Sealant)
3.1 หลงั จากสารเคลอื บแขง็ ตัวแล้ว บริเวณผวิ หน้าจะไมเ่ กดิ ปฏิกริ ิยาแขง็ ตัว (Oxygen inhibited layer)
มีลกั ษณะเป็นมนั เย้มิ มรี สขม ให้เช็ดออก กอ่ นท่ผี ปู้ ่วยจะบ้วนน้ำ โดยเฉพาะผปู้ ว่ ยเด็กจะไม่ชอบรสขมดังกลา่ ว
ทำให้เกิดความรสู้ กึ ท่ีไมด่ ีตอ่ การทำฟัน
3.2 ลองเขย่ี ดูว่าสารเคลือบหลุดหรอื ไม่ ถา้ มนี ้ำลายเข้ามารบกวนในขนั้ ตอนการเคลือบจะทำใหส้ าร
เคลือบหลดุ ไดง้ า่ ย
3.3 ดขู อบเขตของสารเคลือบ ว่าครอบคลมุ บริเวณทต่ี ้องการหรอื ไม่ ถ้าไม่ครอบคลมุ ใหใ้ ช้กรดกดั
และทาสารเคลือบเพ่ิมยงั บรเิ วณทไ่ี ม่ครอบคลุม หรอื เม่อื เขี่ยดตู อ้ งไมพ่ บการสะดดุ ของสารเคลือบ ถา้ สะดดุ
มักเกดิ จากการมฟี องอากาศแทรกอยใู่ นสารเคลือบให้ใช้กรดกัดและทาสารเคลอื บเพม่ิ ยงั บรเิ วณทีม่ ีฟองอากาศ
จากน้นั ตรวจเช็คอกี คร้ัง ถ้าทำแลว้ ลม้ เหลวใหค้ ้นหาสาเหตุ กอ่ นทจี่ ะทำใหม่ทกุ ครง้ั
3.4 ตรวจวสั ดสุ ว่ นเกนิ และสูง ถา้ มจี ดุ สงู ใหใ้ ช้เขม็ กรอชนิด round/flame white stone bur
กรอออกจนไมพ่ บจดุ สงู
3.5 ฟันกรามบนให้เคลือบหลมุ และร่องฟนั ใหค้ รอบคลมุ ทงั้ ดา้ นบดเค้ยี วและรอ่ งด้านเพดาน
สว่ นฟนั กรามลา่ งใหเ้ คลือบหลมุ และร่องฟันให้ครอบคลมุ ท้ังด้านบดเคย้ี วและร่องด้านใกล้แกม้

97

ขัน้ ตอนการเคลอื บหลุมและรอยแยกฟัน
***หมายเหต*ุ ** เนอ่ื งจากยังอยูใ่ นสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID19 และยังไมม่ ีวคั ซนี ท่ีในการรักษา

ขน้ั ตอนการขัดฟัน จึงใหเ้ ปลย่ี นไปเป็นการแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันแทน

Beginning check อาจารย์ตรวจ

ขัดฟัน และกั้นนำ้ ลาย อาจารยต์ รวจ

ใช้กรดกัด 15-20 วนิ าที อาจารยต์ รวจ
ล้างนำ้ 15วนิ าที เป่าแหง้ อาจารย์ตรวจ

เคลอื บสารบนฟนั
ฉายแสง และเช็คสูง

เขียนใบสงั่ ยา อาจารยต์ รวจ
และบตั รบันทึกการรกั ษาฯ

ตวั อยา่ งการเขียนบตั ร

วนั / เดอื น ตำแหน่งฟนั ผลการ x-rays การรักษา นักศึกษา อาจารย์
/ ปี การวนิ ิจฉัยโรค Polished,etched.sealed sealant LC. (เขียนช่อื ตัวบรรจง) อ.รัชนีวรรณ
Deep pit & Fissure
30 ก.ย. 64 36 ภาคนิ

98

ตวั อย่าง การเขียนใบสัง่ ยาคา่ เคลอื บหลมุ รอ่ งฟนั

กระทรวงสาธารณสขุ

ใบสัง่ ยา

วทิ ยาลัยการสาธารณสุขสิรินธรจงั หวัดขอนแกน่

ชอ่ื -นามสกลุ ...... นายศรลาม . เทพพิทัก….. อายุ ..........26...... ปี
ทอ่ี ย.ู่ .......................................................... วนั เดือน ปี 30 ก.ย. 64
การวนิ ิจฉัยโรค ..36...Deep pit & fissure....… เลขท่ีบัตร …………
สทิ ธกิ ารรับบรกิ าร
จำนวน ราคา
บตั รประกันสขุ ภาพถว้ นหนา้ (บตั รทองฯ รพ.ขอนแก่น)
เลขท่ีบตั รประชาชน ----
บัตรประกนั สงั คมเลขท่ี ----
ขา้ ราชการ/เจา้ หน้าทขี่ องรัฐ/พนักงานรฐั วิสาหกจิ
อืน่ ๆ

รายการ

- ค่าบรกิ ารผปู้ ่วยนอก ในเวลาราชการ/นอกเวลาราชการ

- คา่ เคลอื บหลมุ รอ่ งฟนั ซ่ี 1 ซี่ 250

นักศึกษาผทู้ ำการรกั ษา ภาคิน รวม 250 บ.
ผูส้ ั่งยา อ.รัชนวี รรณ ผจู้ า่ ยยา ผรู้ บั เงิน
ใบเสรจ็ รับเงนิ เลม่ ที่ เลขที่

99

ปฏบิ ตั ิการที8่
การเคลือบฟลูออไรด์

แผนการสอน
วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรรู้ ายปฏบิ ัตกิ ารเมื่อเรียนจบปฏบิ ตั ิการนแ้ี ล้ว นักศึกษาสามารถ

บรรลุวตั ถปุ ระสงค์รายวิชาตามรายข้อดังนี้

ข้อที่ 5.ใหก้ ารรักษาทางทันตกรรม เช่นการเคลอื บฟลูออไรด์ในผูป้ ว่ ยสมมตุ ภิ ายใต้หลกั การป้องกนั และควบคมุ
การแพรก่ ระจายการตดิ เชือ้ ได้ถูกตอ้ งและเหมาะสมตามหลกั วิชาการด้วยความรับผดิ ชอบ(LO 2.3, 3.1 ,3.3,6.2,6.4)

ขอ้ ท่ี 6. บันทกึ ผลการซกั ประวตั ิ การตรวจ วางแผนรกั ษาทางทันตกรรมและการรกั ษาลงในเวชระเบยี น
ตามขอ้ เท็จจริงได้อยา่ งถูกต้อง(LO 2.3, 3.1 ,3.3,6.2,6.4)

ข้อที่ 7. สามารถทำความสะอาดเครื่องมือทใี่ ช้ในงานทนั ตกรรม จัดเก็บและทำใหป้ ราศจากเชื้อไดถ้ ูกตอ้ งตาม
หลกั วชิ าการ(LO 1.2,1.3 ,2.3, 3.1 ,3.3,6.2,6.4)

ขอ้ ท่ี 8. มีมพี ฤตกิ รรมทางดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม การเคารพสิทธผิ ใู้ ชบ้ ริการ ความมีวนิ ัย ซื่อสตั ย์ รบั ผิดชอบ
มีเจตคติ และเปน็ แบบอย่างทด่ี ีแกผ่ ้อู ่นื (LO 1.1, 1.2, 1.3 ,4.2)

วัตถุประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม เพ่อื ให้นกั ศกึ ษาสามารถ 1
1. เคลือบฟลอู อไรดไ์ ด้ถกู ต้อง 1
1
วสั ดุอุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการเรยี นการสอน 1
1. ชดุ ตรวจ 1
2. ผงขดั ฟัน 1
3. Rubber cup
4. Rubber brush 1
5. ดา้ มกรอฟนั ช้าชนิดหกั มมุ (Contra angle handpiece) 2
6. ไหมขัดฟัน 1
7. ฟลอู อไรด์วานชิ
8. กรณีใช้ ฟลูออไรด์เจล ตอ้ งเบิก ถาดเคลอื บฟลอู อไรด์
9. แกว้ นำ้
10. Saliva Ejector

ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิ
1. แบง่ นักศึกษาเป็น กลุ่มๆ ละ10-12คน ใหน้ กั ศกึ ษาจับคู่ สลบั กนั เปน็ ผปู้ ว่ ยสมมตุ ิ
2.หลงั จากขดั ฟัน กันนำ้ ลาย ให้นกั ศึกษาเลือกวิธีการทาฟลอู อไรด์วานชิ เคลอื บฟลูออไรด์ ซงึ่ มีท้ังแบบใส่ถาด

(ขนึ้ อยู่กับวสั ดุท่มี ใี ชใ้ นปกี ารศกึ ษาน้นั ๆ)แล้วเรยี นเชญิ อาจารยป์ ระจำกลมุ่
3. นักศึกษาทเ่ี ปน็ ผู้ให้การรักษา จดั เตรียมเครอ่ื งมอื ตามรายการ “วัสดอุ ปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการเรียนการสอน”
4.ปฏบิ ัตงิ านตาม “ขัน้ ตอนการทำงาน”

100

กจิ กรรมของอาจารย์
1. ดแู ลนกั ศึกษาในกลมุ่ ทร่ี ับผดิ ชอบ
2. อธบิ ายข้นั ตอนการทำงานในปฏิบตั กิ ารน้ี
3. ตรวจงาน ให้คำแนะนำ และสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ิงานนักศึกษาแต่ละคน
4. ใหค้ ะแนนในใบประเมินปฏบิ ตั ิการและคะแนนพฤติกรรมนกั ศึกษาแตล่ ะคน

กจิ กรรมของนกั ศึกษา
1. ศกึ ษาขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ านจากคมู่ ือปฏิบัตกิ ารคลนิ ิกทันตกรรมเบอื้ งตน้
2. อา่ นเอกสารประกอบการสอน ”การทาฟลอู อไรวานชิ หรอื เคลือบฟลอู อไรดด์ ว้ ยtray techninque”
กอ่ นฝึกปฏิบตั ิการ
3. จัดเตรยี มเครอื่ งมือตามรายการ “วสั ดอุ ุปกรณท์ ่ีใชใ้ นการเรียนการสอน”
4. นักศึกษาเบกิ วสั ดจุ ากห้องจ่ายกลาง คือ ชุดตรวจ 1 ชดุ แกว้ นำ้ 2ใบ ด้ามกรอฟันช้าชนดิ หกั มุม
(Contra angle handpiece) แกว้ น้ำ 2 ใบ Saliva Ejectorและเตรียมพู่กนั 1อัน สำหรับใช้ทาฟลูออไรดว์ านิช
5. เชญิ อาจารยต์ รวจ เพ่อื เรม่ิ งาน (Beginning check)
6. ปฏบิ ัติงานตาม “ขน้ั ตอนการทำงาน”เมอื่ ขดั ฟนั เสรจ็ กนั น้ำลายเรยี บรอ้ ยแล้ว ใหเ้ บิกFluoride vanish
ทีโ่ ตะ๊ อาจารยป์ ระจำกลุ่ม
7. บันทึกบัตรผู้ป่วย OPD Card
8. เขียนใบสั่งยา
9. หลงั จากทำงานเสร็จ ต้อง ลา้ งเครื่องมือ เช็ดใหแ้ ห้ง ถา้ มีผ้าหอ่ เคร่อื งมือมาด้วยตอ้ งหอ่ กลับให้เรยี บรอ้ ย
นำไปสง่ คนื ท่หี อ้ งจ่ายกลาง

ส่ือการเรยี นการสอน
1. ค่มู ือปฏบิ ตั กิ ารคลินกิ ทันตกรรมเบอ้ื งต้น
2. ตำราเอกสารวชิ าการที่เก่ยี วข้อง
3. หนังสอื เรียนทนั ตกรรมป้องกนั
4. เอกสารประกอบการสอน “การขดู หินน้ำลาย”

การประเมินผล

1.คะแนนจากแบบประเมินแบบประเมินทกั ษะการเคลือบฟลอู อไรด์ 15 คะแนน

2.คะแนนจากแบบประเมินประเมนิ พฤตกิ รรมประจำวัน วันละ 10 คะแนน

3คะแนนจากแบบประเมนิ แบบประเมนิ ทักษะการดูแลรักษาเคร่อื งมอื 20 คะแนน

(ประเมินทุกวันของสัปดาหท์ ่มี ปี ฏบิ ตั กิ าร)

เกณฑ์การประเมนิ ผล

1. ผู้เรยี นต้องเข้าเรียนอยา่ งน้อย รอ้ ยละ80 ของเวลาเรยี น

2 . ผู้เรียนตอ้ งได้คะแนนในแบบประเมินทักษะแตล่ ะปฏบิ ตั กิ าร ต้งั แต6่ 0%ขึน้ ไปจงึ จะมสี ทิ ธ์ิขอประเมินผลการเรียน

3. ผ้เู รียนตอ้ งไดค้ ะแนนรวมพฤตกิ รรมประจำวันต้ังแต่60%ขน้ึ ไปจงึ จะมีสทิ ธ์ิขอประเมินผลการเรยี น

4. ผเู้ รยี นต้องได้คะแนนรวมในแบบประเมนิ การดแู ลรักษาเคร่ืองมือ ตัง้ แต่60%ขน้ึ ไปจงึ จะมสี ิทธ์ขิ อประเมนิ ผลการเรียน

101

เนอื้ หา
งานการเคลอื บฟลอู อไรด์ (Fluoride application)

ควรทำเม่ือ ตอ้ งการปอ้ งกนั ฟันผใุ หแ้ ก่ผู้ปว่ ยเด็กท่ฟี ันเพ่งิ ขนึ้ หรือเมอื่ ขูดหนิ น้ำลายเสรจ็ แลว้
หรือทำในกรณตี อ้ งการปรับพฤตกิ รรมเดก็ เพ่ือให้เด็กคุ้นเคยกบั การทำฟนั (ในกรณที ีม่ าคร้ังแรก ไมเ่ คยทำฟนั มาก่อน)
หรอื ในผู้ใหญท่ ี่พบว่าชอ่ งปาก มีการลุกลามอย่างมากของโรคฟนั ผุ

1. การขัดฟันเดว้ ยพัมมสิ ท่ีผสมฟลอู อไรด์ท้งั ปาก เพ่อื ทำความสะอาดบริเวณสัมผสั ทุกตำแหนง่
1.1 ขัดฟนั โดยใชผ้ งพัมมสิ ผสมฟลอู อไรดร์ ่วมกบั หัวขดั bristle brush หรือ หวั ขัดยาง Rubber cup

ตามความเหมาะสมกับสภาพของพน้ื ผวิ ฟัน จากนั้นลา้ งนำ้ ให้สะอาด อยา่ ใหม้ ีเศษผงพัมมสิ หลงเหลืออยู่
1.2 ใช้ explorer เขีย่ ดูคราบจลุ นิ ทรยี บ์ ริเวณต่าง ๆ โดยเฉพาะคอฟนั

บริเวณดา้ นใกลแ้ กม้ ของฟนั กรามบนและดา้ นใกลล้ นิ้ ของฟนั กรามลา่ งทหี่ วั ขัดจะเข้าถึงไดย้ าก ให้นักศกึ ษาใช้ explorer
เข่ียกำจัดคราบจลุ ินทรียร์ ่วมกบั การใชส้ ำลปี ้ันกอ้ นเล็กๆ ชุบน้ำเชด็ กำจดั คราบออก

1.3 หลังขัดฟนั ทงั้ ปากแลว้ ใหน้ ักศึกษาเชญิ อาจารย์ตรวจดูความสะอาดของช่องปากด้วยทุกคร้ัง
***หมายเหต*ุ ** เน่ืองจากยังอยู่ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ COVID19 และนักศกึ ษายงั ไม่ไดร้ ับวัคซนี

ข้ันตอนการขดั ฟัน จึงให้เปลี่ยนไปเปน็ การแปรงฟนั และใช้ไหมขดั ฟนั แทน

2. การเตรยี มถาดเคลอื บฟลอู อไรด์
2.1 เตรียมถาดเคลอื บฟลอู อไรด์ เลือกขนาดใหเ้ หมาะสมกับฟันแตล่ ะขากรรไกร (ถาดพลาสติก

ฟนั บนจะมตี วั อกั ษร U ฟันลา่ งจะมีตวั อักษร L ถา้ มขี นาดก้ำก่งึ ให้ใช้ถาดท่ีมีขนาดเลก็ กวา่ )
2.2 ใหล้ องถาดในช่องปากผปู้ ว่ ยก่อน เพ่อื เป็นการซกั ซอ้ มขน้ั ตอนการเคลือบ และปอ้ งกนั ไม่ให้

ผ้ปู ่วยอาเจียนหรอื กลวั โดยเฉพาะผูป้ ว่ ยเดก็ และได้รบั ความรว่ มมอื ดขี นึ้
2.3 บีบฟลอู อไรดเ์ จล ชนิด เอพีเอฟ ร้อยละ 1.23 (1.23%APF) ประมาณ1 ใน 3 ของความสูง

ของถาดเคลอื บฟลอู อไรด์ และเกลยี่ ฟลูออไรดเ์ จลใหท้ ว่ั ถาดเคลือบฟลอู อไรด์
▪ โดยทัว่ ไปถา้ ผู้ป่วยมีฟันซส่ี ดุ ท้ายเป็นฟันกรามนำ้ นมซี่ท่ี 2 ให้เลอื กใช้ ถาดเคลอื บฟลูออไรด์ size S
▪ โดยท่วั ไปถา้ ผปู้ ว่ ยมีฟันซสี่ ุดท้ายเปน็ ฟนั กรามแท้ซท่ี ี่ 1 ใหเ้ ลอื กใช้ ถาดเคลอื บฟลอู อไรด์ size M
▪ โดยท่วั ไปถา้ ผูป้ ว่ ยมฟี นั ซสี่ ุดทา้ ยเปน็ ฟันกรามแทซ้ ที่ ี่ 2 ใหเ้ ลือกใช้ ถาดเคลือบฟลอู อไรด์ size L
▪ โดยทัว่ ไปถา้ ผู้ป่วยมีฟันซสี่ ดุ ทา้ ยเป็นฟันกรามแทซ้ ี่ท่ี 3 ใหเ้ ลือกใช้ ถาดเคลอื บฟลูออไรด์ size XL

3. เมื่อพรอ้ มแล้ว ทำใหฟ้ ันแห้ง
ใช้สำลีกนั นำ้ ลาย เป่าฟนั ให้แห้ง พรอ้ มใชท้ ี่ดูดน้ำลายกำลังสงู

4. การเคลือบฟลูออไรด์ (Applied fluoride)
4.1 เม่ือฟันแห้งดี รบี นำสำลีออก แล้วใสถ่ าดเคลอื บฟลูออไรดเ์ ข้าในช่องปากด้วยความระมดั ระวัง

ในขณะที่ผปู้ ่วยอย่ใู นตำแหนง่ น่ังให้ผูป้ ว่ ยกัดฟนั และขยบั ไปมาเบาๆ เพ่อื ให้ฟันสมั ผสั กับฟลูออไรดอ์ ยา่ งท่ัวถงึ
และใชท้ ่ดี ูดนำ้ ลายกำลงั ต่ำ (salivary ejector) ร่วมดว้ ย

4.2 จากนนั้ ปรบั เกา้ อ้ใี หผ้ ปู้ ่วยนง่ั ตรง และรอจนครบ 4 นาที
4.3 ระหว่างรอให้ครบเวลา ใช้ท่ดี ดู น้ำลายกำลังสูง ร่วมด้วย เพ่อื ดูดนำ้ ลายใหผ้ ูป้ ว่ ยเปน็ ระยะๆ
4.4 เมือ่ ครบเวลา 4 นาที ใหน้ ำถาดฟลอู อไรดอ์ อก ห้ามผูป้ ว่ ยบ้วนปากด้วยนำ้
(ควรเก็บแกว้ น้ำที่ใชบ้ ว้ นปากกอ่ นท่ีจะนำถาดเคลือบฟลอู อไรดเ์ ข้าไปในช่องปาก) และให้บว้ นน้ำลายออกมาใหม้ ากทส่ี ดุ
แนะนำวิธปี ฏิบัตติ วั หลงั การเคลือบฟลอู อไรด์ คือ งดดืม่ นำ้ หรือรับประทานอาหารหลงั จากเคลอื บประมาณ 30 นาที

102

การบนั ทึกบตั รและแบบฟอรม์ การทำงาน
1. หลังการทำงานให้ลงรายการใน
1.1 บัตรผู้ป่วย OPD Card
1.2 คูม่ ือปฎิบัติงานคลนิ กิ ทันตกรรม ในสว่ นของใบปริมาณงานและใบบนั ทึกคะแนนพฤติกรรม

หมายเหตุ
บัตรทกุ ชนิดห้ามมรี อยลบจากยางลบหรอื น้ำยาลบคำผิด

มฉิ ะน้ันจะถอื ว่าทจุ รติ ถ้าเขียนผิดใหข้ ดี เสน้ ตรงทับขอ้ ความในแนวนอน 1 เส้น ให้อาจารยเ์ ซน็ กำกบั ทกุ ครัง้

ตวั อย่างการเขียน บัตรผ้ปู ่วย OPD Card งาน เคลือบฟลูออไรด์

( กรณีเขยี นยาวเกิน1บรรทัด ต้องลงชอื่ ในบรรทัดสุดทา้ ยท่เี ขยี นจบเสมอ)

วัน / เดอื น / ตำแหน่งฟนั ผลการ x-rays การรักษา นักศกึ ษา อาจารย์
ปี การวนิ จิ ฉัยโรค (เขยี นชือ่ ตวั บรรจง) อ.รัชนีวรรณ

9 ก.ย.64 F.M. Caries risk Brushed, flossed, polished. Applied 1.23%APF

with tray technique 4 mins, NPO 30 mins. ภาคิน

ตัวอย่าง การเขยี นใบสัง่ ยาคา่ เคลือบฟลอู อไรด์

กระทรวงสาธารณสุข

ใบส่ังยา

วิทยาลยั การสาธารณสุขสริ นิ ธรจังหวัดขอนแกน่

ช่ือ-นามสกลุ ...... นายศรลาม . เทพพทิ กั ….. อายุ ..........26...... ปี ราคา
ทีอ่ ยู่........................................................... วนั เดอื น ปี 9 ก.ย.64 250
การวินิจฉัยโรค Caries risk
สทิ ธกิ ารรับบรกิ าร เลขที่บัตร …………
บตั รประกันสุขภาพถว้ นหนา้ (บัตรทองฯ รพ.ขอนแกน่ )
เลขท่บี ตั รประชาชน ---- จำนวน
บัตรประกนั สังคมเลขท่ี ----
ขา้ ราชการ/เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั /พนกั งานรัฐวสิ าหกิจ

อืน่ ๆ

รายการ

- ค่าเคลือบฟลูออไรด์

นกั ศกึ ษาผทู้ ำการรกั ษา ดารกิ า รวม 250 บ.
ผสู้ ง่ั ยา อ.รชั นวี รรณ ผรู้ ับเงนิ
ใบเสร็จรับเงินเล่มที่ ผจู้ ่ายยา
เลขที่

103

ขน้ั ตอนการเคลอื บฟลอู อไรด์
***หมายเหต*ุ ** เน่ืองจากยังอยู่ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID19 และยังไม่มวี ัคซีนทีใ่ นการรกั ษา

ขน้ั ตอนการขัดฟนั จึงให้เปล่ยี นไปเปน็ การแปรงฟันและใชไ้ หมขัดฟนั แทน

Beginning check อาจารย์ตรวจ

แปรงฟนั ขดั ฟัน และใชไ้ หมขัดฟนั อาจารยต์ รวจความสะอาด

ลองถาดและซ้อมขน้ั ตอน อาจารย์ตรวจ
กัน้ นำ้ ลาย เป่าฟนั ให้แหง้
อ.ตรวจ (ระหวา่ งการเคลอื บตอ้ งดดู นำ้ ลายและปรบั เก้าอใ้ี หผ้ ูป้ ว่ ยนั่ง)

เคลือบฟลอู อไรด์ อาจารย์ตรวจ

ให้คำแนะนำผู้ปว่ ย

เขยี น

บัตรผูป้ ว่ ยOPD card

104

ปฏิบตั กิ ารที่ 9
การใสแ่ ผ่นยางกนั น้ำลายในแบบจำลองฟนั ภายใต้หลกั การป้องกนั

และควบคมุ การแพร่กระจายการติดเชอ้ื
แผนการสอน
วตั ถุประสงค์การเรยี นรรู้ ายปฏบิ ตั กิ ารเมือ่ เรียนจบปฏิบตั กิ ารน้แี ล้ว นกั ศกึ ษาสามารถ
บรรลุวตั ถุประสงคร์ ายวิชาตามรายขอ้ ดงั นี้

ข้อท่ี 5.ใหก้ ารรักษาทางทันตกรรม เชน่ การใส่แผน่ ยางกนั น้ำลายในแบบจำลองฟนั ภายใตห้ ลักการปอ้ งกนั
และควบคมุ การแพรก่ ระจายการตดิ เช้ือได้ถกู ตอ้ งและเหมาะสมตามหลกั วิชาการดว้ ยความรบั ผิดชอบ( LO 2.3, 3.1
,3.3,6.2,6.4)

ขอ้ ท่ี 6. บนั ทึกผลการซักประวตั ิ การตรวจ วางแผนรกั ษาทางทันตกรรมและการรักษาลงในเวชระเบียน
ตามข้อเทจ็ จรงิ ได้อย่างถูกตอ้ ง(LO 2.3, 3.1 ,3.3,6.2,6.4)

ขอ้ ท่ี 7. สามารถทำความสะอาดเคร่อื งมอื ทใี่ ช้ในงานทนั ตกรรม จดั เก็บและทำใหป้ ราศจากเชอื้ ได้ถกู ตอ้ ง
ตามหลักวชิ าการ(LO 1.2,1.3 ,2.3, 3.1 ,3.3,6.2,6.4)

ขอ้ ท่ี 8. มีมีพฤตกิ รรมทางดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม การเคารพสทิ ธผิ ู้ใช้บรกิ าร ความมวี นิ ยั ซอ่ื สตั ย์ รับผดิ ชอบ
มเี จตคติ และเปน็ แบบอย่างทด่ี แี กผ่ ู้อ่ืน (LO 1.1, 1.2, 1.3 ,4.2)

วตั ถุประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมเพ่ือให้นกั ศกึ ษา
1.สามารถใสแ่ ผ่นยางกนั นำ้ ลายในแบบจำลองฟันท้งั ฟนั หลังไดอ้ ย่างถูกต้องและเหมาะสม

วัสดอุ ปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นการเรียนการสอน
1. ใสแ่ ผน่ ยางกันน้ำลายในฟันหลังไดถ้ ูกต้องอยา่ งน้อย 1 ครงั้

วสั ดอุ ุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการเรยี นการสอน
1. แผน่ ยางกนั น้ำลาย (Rubber dam sheet) ขนาด 6x6 นวิ้ ดังรปู ท่ี 1

รูปที่ 1 แสดงแผ่นยางกนั นำ้ ลาย (ที่มาภาพ: https://qrgo.page.link/EqfYX )

105

2. กรอบขงึ แผน่ ยางกนั นำ้ ลาย (Rubber dam frame) ดงั รปู ที่ 2

รูปท่ี 2 แสดงกรอบขึงแผ่นยางกนั น้ำลาย (ทมี่ าภาพ https://qrgo.page.link/BJ9yo )
3. เครื่องหนบี แผ่นยางกนั น้ำลาย (Rubber dam clamp) แบบมปี กี (winged) ดังรปู ท่ี 3

รปู ท่ี 3 แสดงเคร่ืองหนบี แผ่นยางกนั นำ้ ลาย (ท่มี าภาพ: https://qrgo.page.link/6wSot )
แบบมีปีก (winged) และไมม่ ปี กี (wingless) และส่วนประกอบทสี่ ำคญั

4. คมี จับเคร่ืองหนบี แผน่ ยางกนั นำ้ ลาย (Rubber dam forceps) ดงั รูปท่ี 4

รูปท่ี 4 แสดงคีมจับเครื่องหนีบแผน่ ยางกนั นำ้ ลาย (ท่มี าภาพ: https://qrgo.page.link/Zw4Bq )

106

5. เครอ่ื งเจาะรแู ผ่นยางกันน้ำลาย (Rubber dam punch) ดงั รูปที่ 5

รปู ที่ 5 แสดงเครือ่ งเจาะรแู ผ่นยางกันนำ้ ลาย (ทม่ี าภาพ : https://qrgo.page.link/fCkDV )
6. ไหมขดั ฟัน (Dental floss)
7. สปูนเอกซค์ าเวเตอร์ (Spoon Excavator) ดงั รปู ที่ 6

รูปท่ี 6 แสดงสปูนเอกซ์คาเวเตอร์ (ทมี่ าภาพ: https://qrgo.page.link/4rsfZ)
ขัน้ ตอนการปฏบิ ัติ

1. แบ่งนกั ศึกษาเปน็ กลุ่ม กลมุ่ ละ 10-12 คน ในแตล่ ะกล่มุ ให้นักศกึ ษาจบั คู่เพ่อื สลบั กนั เปน็ ผปู้ ่วยสมมติ
2. นักศกึ ษาทเ่ี ปน็ ผใู้ หก้ ารรกั ษา จดั เตรียมเครือ่ งมือตามรายการ “วสั ดอุ ปุ กรณท์ ่ใี ชใ้ นการเรยี นการสอน”
3. ปฏบิ ตั งิ านตาม “ข้นั ตอนการทำงาน”
กจิ กรรมของอาจารย์
1. ดแู ลนักศึกษาในกลมุ่ ท่ตี นเองรับผดิ ชอบ
2. อธิบายขน้ั ตอนการทำงานในปฏบิ ตั ิการน้ี
3. ตรวจงาน ให้คำแนะนำ และสังเกตพฤติกรรมการปฏบิ ตั ิงานนกั ศกึ ษาแต่ละคน
4. ใหค้ ะแนนในใบประเมนิ ปฏิบัติการและคะแนนพฤติกรรมนักศึกษาแต่ละคน

107

กจิ กรรมของนกั ศกึ ษา

1. อ่านเอกสารประกอบการสอน “การใส่แผน่ ยางกันนำ้ ลาย” กอ่ นฝกึ ปฏิบตั ิการ
2. จดั เตรยี มเคร่ืองมอื ตามรายการ “วสั ดอุ ุปกรณท์ ่ใี ชใ้ นการเรียนการสอน” เบิกชดุ เครือ่ งมือจากห้องจา่ ยกลาง

สำหรบั ผปู้ ว่ ย 1 ราย ดังน้ี

2.1 ชุดตรวจ 1 ชุด
2.2 แกว้ นำ้ 1 ใบ
2.3 กรรไกรตัดไหม 1 เล่ม

หากมีการฝกึ ใหร้ ับผู้ป่วยมากกวา่ 1 ราย ตอ้ งเบิกใหม่ทั้งหมด สำหรบั ผู้ป่วยอีก 1 ราย

3. เชญิ อาจารยต์ รวจเพ่ือเร่ิมงาน (Beginning check) และพิจารณาเลอื กซ่ีฟันหลังทจี่ ะใส่แผน่ ยางกนั น้ำลายตาม
ความเหมาะสม

4. ปฏิบตั งิ านตาม “ขนั้ ตอนการทำงาน”
5. บันทกึ บตั รผู้ป่วย OPD Card
6. หลังจากทำงานเสร็จ ใหล้ า้ งเคร่ืองมือ เช็ดใหแ้ ห้ง หากมีผา้ ห่อเครอ่ื งมอื มาด้วยตอ้ งห่อกลบั ใหเ้ รยี บรอ้ ย แล้ว

นำไปส่งคนื ท่ีหอ้ งจ่ายกลาง

ส่อื การเรยี นการสอน

1. คู่มอื ปฏบิ ตั ิการคลินกิ ทันตกรรมเบอื้ งต้น
2. ตำราเอกสารวชิ าการท่ีเก่ียวขอ้ ง
3. เอกสารประกอบการสอน “การใสแ่ ผน่ ยางกันน้ำลาย”

การประเมินผล

1. คะแนนจากแบบประเมินทกั ษะการใส่แผ่นยางกันนำ้ ลาย 25 คะแนน
2. คะแนนจากแบบประเมนิ พฤติกรรมประจำวัน วันละ 10 คะแนน
3. คะแนนจากแบบประเมนิ การดูแลรักษาเคร่ืองมอื 20 คะแนน

การประเมินจะต้องประเมินทุกวนั ของสปั ดาห์ทม่ี ีปฏบิ ตั กิ าร

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล

1. ผู้เรยี นต้องเข้าเรียนอย่างน้อย รอ้ ยละ 80 ของเวลาเรยี น
2. ผเู้ รยี นตอ้ งไดค้ ะแนนในแบบประเมินทักษะแต่ละปฏิบตั กิ าร ตง้ั แตร่ อ้ ยละ 60 ข้ึนไปจงึ จะมสี ิทธ์ขิ อประเมนิ ผล

การเรยี น
3. ผ้เู รยี นตอ้ งไดค้ ะแนนรวมพฤตกิ รรมประจำวนั ตั้งแต่รอ้ ยละ 60 ขึน้ ไปจึงจะมสี ทิ ธ์ิขอประเมนิ ผลการเรยี น
4. ผูเ้ รยี นต้องไดค้ ะแนนรวมในแบบประเมนิ การดแู ลรักษาเครื่องมือ ต้งั แตร่ อ้ ยละ 60 ขึน้ ไปจงึ จะมสี ิทธิ์ขอ

ประเมินผลการเรียน

108

เน้ือหา
เนือ่ งจากยงั อย่ใู นสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID19 ทนั ตแพทยสภาไดแ้ นะนำแนวทางปฏบิ ตั กิ ารรักษา
ทางทันตกรรมในสถานการณก์ ารระบาดของ COVID19 ไดแ้ ก่ การบรู ณะฟนั โดยใชแ้ ผน่ ยางกนั นำ้ ลายการอุดฟันแบบ
Atraumatic Restorative Treatment: ART และ Silver Modified Atraumatic Restorative Technique (SMART)

ขนั้ ตอนการทำงานใสแ่ ผน่ ยางกนั น้ำลาย

ทพญ. ภัทราพร ยทุ ธชาวิทย์

การใสแ่ ผน่ ยางกนั น้ำลาย

1. พิจารณาเลอื กซีฟ่ ันหลังทจ่ี ะใชใ้ นการใส่แผน่ ยางกันนำ้ ลาย ควรเลือกบริเวณทม่ี ฟี ันหลังเรยี งตดิ กนั อยา่ งนอ้ ย 3
ซี่ การเรยี งตวั ของฟนั เป็นระเบยี บ เพื่อให้ใสแ่ ผน่ ยางกนั น้ำลายไดง้ ่าย

2. เจาะแผน่ ยางกนั น้ำลาย

2.1 กำหนดตำแหนง่ ของรูแผน่ ยางทใี่ ส่ ควรปิดชอ่ งปากของผู้ป่วยได้ทัง้ หมด แตข่ อบบนควรอยู่ในระดบั ต่ำ
กว่ารูจมกู (รปู ที่ 7) เพื่อใหผ้ ้ปู ว่ ยหายใจไดส้ ะดวก อาจใช้กระดาษแมแ่ บบ (Template) (รูปท่ี 8) เพือ่ เทยี บตำแหนง่
ท่คี วรจะเป็นของฟันซี่นน้ั ๆ สังเกตว่าใหแ้ ผน่ ยางด้านทด่ี า้ นขน้ึ มาดา้ นบน สว่ นดา้ นทีม่ นั ลงไปด้านล่าง

รูปท่ี 7 แสดงตำแหน่งของแผ่นยางกันนำ้ ลายท่ถี ูกต้อง ท่มี าภาพ : https://qrgo.page.link/kp4ST
คอื คลมุ ช่องปากของผู้ป่วยท้ังหมด แต่อยใู่ นระดบั ตำ่ กวา่ รจู มูก

รปู ที่ 8 แสดงแมแ่ บบในการเจาะรแู ผ่นยางกนั น้ำลาย Rubber Dam Template ทม่ี าภาพ: https://qrgo.page.link/e6Qox

109

2.2 เม่อื ไดต้ ำแหน่งท่ตี ้องการแล้ว ใช้ปากกาทำเครือ่ งหมาย (จดุ ) ไว้ โดยแตล่ ะจดุ แทนตำแหนง่ ของฟันแต่
ละซี่ แตล่ ะจดุ ควรหา่ งกันประมาณ 2 มลิ ลเิ มตร หากเจาะรหู า่ งกันมากเกนิ ไปจะทำให้ใส่แผ่นยางกนั นำ้ ลายได้
ยาก แต่หากเจาะรชู ิดกันมากเกินไปอาจทำให้แผน่ ยางขาดได้ง่ายหรอื มีน้ำลายร่ัวซมึ เข้ามาได้ ขนาดของรูที่จะเจาะ
สามารถพจิ ารณาไดจ้ ากรปู ที่ 9

รปู ท่ี 9 แสดงขนาดของรูแผน่ ยางกันนำ้ ลายทเ่ี หมาะสมสำหรับฟนั แตล่ ะซี่ (ทมี่ าภาพ : https://qrgo.page.link/b9D83)

3. เลอื กเครื่องหนีบแผน่ ยางกันนำ้ ลาย (Clamp) ใหถ้ กู ตอ้ ง โดยในปฏบิ ตั ิการนจ้ี ะใชเ้ ครอื่ งหนีบแผน่ ยางกนั นำ้ ลาย
เบอร์ 14 ซึ่งจะใชห้ นบี บริเวณฟนั กราม นักศกึ ษาสามารถศกึ ษาเบอร์ของเคร่อื งหนบี แผ่นยางกันน้ำลายเพมิ่ เตมิ ตามตารางท่ี 1

ตารางที่ 1 แสดงเครอ่ื งหนีบเบอรต์ า่ งๆที่ใช้สำหรบั ฟันแตล่ ะซี่

ขากรรไกร ฟัน Ivory Clamps
9, 212
ฟนั ตัดหนา้ และฟนั ตัดข้าง 2
บน ฟันเขี้ยวและฟันกรามนอ้ ย
14, 14A, 8
ฟันกราม 212
2
ฟันตดั หน้าและฟนั ตัดข้าง
ล่าง ฟันเข้ยี วและฟนั กรามนอ้ ย 14, 14A, 7

ฟันกราม

3.1 นักศกึ ษาควรลองเครอ่ื งหนบี แผ่นยางกนั น้ำลายกอ่ นทำการใสแ่ ผ่นยางกันนำ้ ลายจริง เพ่อื ใหแ้ น่ใจว่า
เครอื่ งหนีบชิ้นดังกลา่ วพอดกี บั ฟันและฝกึ สังเกตลกั ษณะการวางตัวของเคร่ืองหนบี แผ่นยางกนั นำ้ ลายบนฟนั กอ่ น
ปฏบิ ตั ิจรงิ

110

3.2 เพือ่ ความปลอดภัย นกั ศึกษาตอ้ งผกู ไหมขดั ฟันทีบ่ รเิ วณสว่ นโค้งของเครื่องหนบี แผน่ ยางกันน้ำลาย
(Clamp bow) ก่อนนำเขา้ ปากผปู้ ่วยทุกครั้งทง้ั ขณะลองเคร่ืองหนีบและขณะใส่แผ่นยางกันนำ้ ลาย โดยมวี ิธีการผกู
ดงั รูปที่ 10

รปู ที่ 10 วิธกี ารผกู ไหมขดั ฟันกบั สว่ นโค้งของเคร่ืองหนีบแผ่นยางกันนำ้ ลาย ที่มา https://qrgo.page.link/7FJn8
3.3 เมื่อผูกไหมขดั ฟนั เรยี บร้อยแลว้ ใชค้ มี จบั เคร่อื งหนีบแผ่นยางกันนำ้ ลาย (Rubber dam forceps) จับ

เครือ่ งหนบี โดยลักษณะการจับคมี คอื หงายมอื ขน้ึ ในการทำฟันบนและคว่ำมอื ลงในการทำฟันลา่ ง ตำแหน่งในการ
น่ังของนักศึกษาควรอยู่ที่ 12 นาฬิกาหากทำฟนั บน และ 9 นาฬกิ าหากทำฟันลา่ ง ลกั ษณะการวางตวั ทถ่ี ูกตอ้ งของ
เคร่ืองหนีบควรเปน็ ไปตามรูปท่ี 11 สังเกตวา่ เคร่ืองหนบี จะยดึ อยูก่ บั ฟันได้โดยอยูใ่ ตส้ ว่ นป่องของฟนั

รูปท่ี 11 แสดงลักษณะการวางตัวที่ถกู ตอ้ งของเครอื่ งหนบี แผ่นยางกนั น้ำลาย โดยบรเิ วณลูกศรสฟี า้ จะต้องอยูบ่ ริเวณแนว
บรรจบ (line angle) ทัง้ สี่ดา้ นของฟนั สว่ นโคง้ ของเครื่องหนีบ (bow) อย่ดู า้ นไกลกลางของฟนั (รปู : รศ.ทพญ.เข็มพร)

ท่ีมาภาพ https://qrgo.page.link/C8tTC
4. เม่อื ลองเคร่ืองหนบี แผน่ ยางกนั น้ำลายว่าพอดกี ับฟนั แล้ว จึงถอดออกมา จากน้นั เร่มิ ตน้ ใส่แผ่นยางกนั นำ้ ลาย
(Rubber dam sheet) โดยวธิ ีทจ่ี ะใช้ในปฏบิ ัติการน้ี คอื การใสแ่ ผน่ ยางกับเคร่ืองหนีบพรอ้ มกัน

4.1 ขึงแผ่นยางกนั นำ้ ลายบนกรอบขึงแผ่นยางกันน้ำลาย (Rubber dam frame) โดยให้ดา้ นทด่ี า้ นขนึ้ มา
ด้านบน สว่ นด้านท่ีมนั ลงไปดา้ นลา่ ง ให้ส่วนโค้งของกรอบขึงควำ่ ลงเพอื่ รบั กบั คางของผู้ปว่ ย และขอบบนของแผ่น
ยางกันน้ำลายอย่พู อดกี ับปลายของกรอบขึง

4.2 นำเคร่ืองหนบี แผน่ ยางกนั น้ำลายมาใส่รูท่จี ะเปน็ ตำแหน่งของฟนั ซีใ่ นสดุ โดยขงึ แผ่นยางไว้บนปีกของ
เครื่องหนีบแผน่ ยางกันน้ำลาย (Clamp wing) โดยใหห้ นั สว่ นโค้งของเคร่ืองหนีบไปด้านไกลกลาง (distal) ของ
ฟัน นำปลายไหมขดั ฟนั ทผ่ี กู อยู่กบั เคร่อื งหนบี มาพนั กับกรอบขึงแผน่ ยางกนั นำ้ ลายไว้ เพอ่ื ความสะดวกในการทำงาน

4.3 ใชค้ มี จับเครือ่ งหนบี แผ่นยางกนั น้ำลายจับเคร่ืองหนีบในลกั ษณะเดยี วกันกบั ตอนทลี่ องเครอ่ื งหนบี ดัง
ขอ้ 3.1-3.3 ค่อยๆใส่เขา้ ไปในปากของผู้ป่วยแลว้ หนบี กับตัวฟนั ท่ีต้องการ ดงั รปู ท่ี 12 ระวังไม่ให้เครอ่ื งหนีบกระเดง้
ออกจากฟนั หากพบว่าแผ่นยางกนั นำ้ ลายตึงรั้งจนไมส่ ามารถใสเ่ ครอื่ งหนีบเขา้ ไปลึกจนถงึ ฟนั ที่ต้องการได้ อาจ
พิจารณาปลดแผ่นยางกันน้ำลายมมุ ใดมมุ หน่งึ ออกจากกรอบขึงก่อนลองทำอกี ครั้ง

111

รปู ท่ี 12 แสดงการใชค้ มี จับเครอ่ื งหนีบหนีบลงทคี่ อฟัน (รปู : รศ.ทพญ.เขม็ พร)
4.4 ใช้สปนู เอกซค์ าเวเตอร์ (Spoon Excavator) ชอ้ นแผ่นยางกันน้ำลายท่ขี งึ อยบู่ นปกี ของเครื่องหนบี ขน้ึ
เบาๆแลว้ ดนั ใหล้ งไปอย่ใู ตป้ กี ของเครอ่ื งหนีบ (รูปท่ี 13) ควรใช้ความระมดั ระวังเพราะแผน่ ยางกนั น้ำลายอาจฉกี ขาด
ได้งา่ ยในขัน้ ตอนน้ี

ก. ข.

รปู ที่ 13 แสดงการใชส้ ปูนเอกซ์คาเวเตอร์ชอ้ นแผ่นยางกนั นำ้ ลาย (ก.)
ให้เข้าไปอยูด่ ้านใต้ของปีกเคร่ืองหนีบ (ข.) (ลกู ศรสีดำ) (รปู : รศ.ทพญ.เขม็ พร)
4.5 ใช้มือดงึ แผน่ ยางกนั น้ำลายใหฟ้ นั อีก 2 ซ่โี ผลข่ น้ึ มาในอกี 2 รทู ี่เหลอื (รปู ที่ 13 ก.) จากน้ันใชไ้ หมขดั
ฟนั ชว่ ยดันแผน่ ยางให้ผ่านแทรกเข้าไประหวา่ งฟนั (รูปที่ 13 ข.) โดยอย่ใู ตส้ ว่ นประชิดของฟนั (proximal
contact) หากไมส่ ามารถจบั แผ่นยางให้ฟันโผล่ขน้ึ มาไดก้ อ่ นใช้ไหมขัดฟันได้ อาจให้ผปู้ ว่ ยใช้น้วิ มือชว่ ยกดแผ่นยาง
กันนำ้ ลายแลว้ นกั ศกึ ษาจงึ ใช้ไหมขดั ฟนั ดนั แผ่นยาง หากพบว่าแผน่ ยางกนั นำ้ ลายไมส่ ามารถลงไปอยใู่ ต้ส่วนประชดิ
ได้ ใหล้ องกดและดึงไหมขดั ฟันไปมาในดา้ นแก้มและดา้ นล้ิน(bucco-lingual) ควรใช้ความระมัดระวังเพราะแผน่
ยางกนั น้ำลายอาจฉกี ขาดไดง้ า่ ยในขัน้ ตอนนี้

รปู ที่ 13
ก. แสดงการใช้มือดึงแผน่ ยางกนั น้ำลายให้ฟันโผล่พ้นข้ึนมาในรู
ข. แสดงการใชไ้ หมขดั ฟันดันแผ่นยางกันนำ้ ลายใหไ้ ปอย่ใู ตส้ ่วนประชิดของฟนั
https://www.youtube.com/watch?v=VFHE_0_LlkQ

112

4.6 ใช้ไหมขัดฟันผกู บรเิ วณคอฟนั ซ่ีทีอ่ ยู่ใกล้กลางมากทสี่ ดุ เพือ่ ยดึ แผ่นยางกนั น้ำลายไม่ใหห้ ลดุ
ออกมา โดยมีวิธีการผูกดังรูปท่ี 14 หากแผ่นยางกันนำ้ ลายแน่นดีอยูใ่ ต้ส่วนป่องของฟนั อาจขา้ มขนั้ ตอนนไี้ ปได้ แต่ใน
ปฏบิ ตั ิการนี้นักศกึ ษาควรฝกึ ฝนขน้ั ตอนนดี้ ้วย

รปู ที่ 14 แสดงวิธกี ารผกู ไหมขดั ฟนั เพ่ือใชย้ ดึ แผ่นยางกนั นำ้ ลาย (รปู : อ.ทพญ.ภัทราพร)
4.7 ใช้สปูนเอกซ์คาเวเตอรจ์ ดั ขอบแผน่ ยางบรเิ วณคอฟนั ใหม้ ว้ นเขา้ หาคอฟนั อย่างสวยงาม เพอ่ื ไม่ใหก้ นั
น้ำลายรวั่ ซึมเขา้ มาได้ดขี น้ึ เม่อื เสร็จสนิ้ ข้ันตอนนแ้ี ผน่ ยางกนั น้ำลายจะเปน็ ดงั รูปที่ 15

รูปท่ี 15 แสดงบรเิ วณที่จะเขา้ ทำงานเม่อื ใส่แผน่ ยางกนั น้ำลายเรยี บร้อยแลว้
https://www.youtube.com/watch?v=VFHE_0_LlkQ

5. พับแผน่ ยางกันน้ำลายให้เรียบรอ้ ยดงั รปู ที่ 16 โดยมวี ิธกี ารดงั รูปที่ 17

รูปที่ 16 แสดงแผ่นยางกันน้ำลายทีถ่ กู พับเรยี บร้อยแล้ว (รูป: รศ.ทพญ.เข็มพร)

113

รปู ท่ี 17 แสดงวิธกี ารพับแผ่นยางกันน้ำลาย (รูป: อ.ทพญ.ภทั ราพร)

https://youtu.be/9hUTMxGMy4w
Clip Rubber dam application : การใส่และถอดแผน่ ยางกนั นำ้ ลายในฟันหลงั โดย ทพญ.ภทั ราพร ยทุ ธชาวทิ ย์

การถอดแผ่นยางกนั นำ้ ลาย
1. ทำความสะอาดแผน่ ยางกันนำ้ ลายและนำไหมขดั ฟันซ่ึงใช้ยดึ แผน่ ยางออก
2. ดึงแผน่ ยางกนั นำ้ ลายทอ่ี ยรู่ ะหวา่ งซ่ฟี นั ออกมาจนตึงแลว้ ใช้กรรไกรตดั ไหมตดั ให้แผน่ ยางขาดดังรปู ที่ 17

รปู ท่ี 17 แสดงการใช้กรรไกรตดั แผน่ ยางกันนำ้ ลายเพ่อื ถอดออก (รปู : รศ.ทพญ.เขม็ พร)
4. ใช้คีมจับท่ีเคร่อื งหนีบแผ่นยางกันนำ้ ลายแลว้ ถอดออกจากชอ่ งปากผู้ปว่ ยพร้อมกับแผน่ ยางกันนำ้ ลายและกรอบ

ขึงแผ่นยาง

114

การบันทึกบัตรผู้ปว่ ย

ตวั อย่าง การบันทึกการรกั ษาในบตั ร รบ. 1 ต. 13

วัน/เดือน/ปี ตำแหนง่ ผลการ x-rays การรักษา นกั ศกึ ษา อาจารย์
26 ส.ค.256ภ ฟนั การวินจิ ฉัยโรค (เขียนช่อื ตวั บรรจง) กอ้ งภพ
44-46 Rubber dam application
- completed. อแมนดา้

เอกสารอา้ งอิง

รศ.ทพญ.เขม็ พร กิจสหวงศ์ หนังสือการบรู ณะฟันในเด็ก คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ตพี ิมพป์ ี
2551

ผศ.ดร.ทพญ.อังสนา ใจแน่น และคณะ คู่มอื คลนิ ิกทันตกรรมบรู ณะ 2 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ปี
การศกึ ษา 2561

อ.ทพญ.ป่นิ พนา ทวสี ิทธิ์ เอกสารประกอบการสอนรายวชิ า ทนั ตกรรมบรู ณะ 2 ปกี ารศกึ ษา 2559

115

Atraumatic Restoration Treatment (ART)
ทพ. ธรรศ แสวงเจริญ

Atraumatic Restoration Treatment (ART) เป็นการใช้ hand instrument ในการกำจัดเน้อื ฟันผุช้นั นอกออก
จากนั้นทำการอุดด้วย Adhesive restorative materials เชน่ glass ionomer ซ่ึงวิธีนเ้ี ป็นวิธีทเ่ี หมาะสมสำหรับพน้ื ที่ทีม่ ี
บุคลากรหรือเครอ่ื งมือจำกดั

ART เปน็ วิธีการรกั ษาเพือ่ ยับยง้ั การลุกลามของการผใุ นฟันที่ผลุ ึกถึงช้นั เน้อื ฟนั แต่ไม่ทะลชุ ้ันโพรงเนอื้ เยอ่ื ในฟนั และ
ต้องเปน็ ฟนั ทม่ี ชี ีวิต ฟันไม่เคยมีอาการของ pulpitis ไมเ่ คยมอี าการปวด บวมหรอื มตี ุ่มหนอง

ขั้นตอนของการทำ ART มีดังนี้
1.การเตรียมโพรงฟนั

1.1 แยกฟนั ซที่ จี่ ะรักษาโดยใชส้ ำลกี ้อน เพ่อื ใหส้ ามารถทำงานได้ง่ายขน้ึ
1.2 กำจดั คราบจลุ นิ ทรีย์โดยทำความสะอาดผิวฟนั ดว้ ยสำลีชุบนำ้ และเชด็ ให้แห้ง เนือ่ งจากผิวฟันทแ่ี ห้งและสะอาด
จะชว่ ยทำใหจ้ รวจรอยผแุ ละ unsupported enamel ได้ง่าย

ภาพท่ี 1 แสดง unsupported enamel ทีม่ าภาพ : https://qrgo.page.link/QZH9d

ภาพที่ 2 แสดง hatchet ทม่ี าภาพ : https://qrgo.page.link/XR5Ng
1.3 เปิดโพรงฟัน (ในกรณที ร่ี ูเปดิ โพรงฟนั มขี นาดเลก็ ) โดยใช้ hatchet หรืออาจใชห้ วั กรอกรอ unsupported
enamel ออกให้มีขนาดรเู ปดิ พอที่จะใช้ spoon excavator ได้

116

ภาพท่ี 3 แสดงการใช้ hatchet เปดิ โพรงฟัน
1.4 กำจดั รอยผุ โดยเลือกใช้ spoon excavator ใหม้ ขี นาดพอเหมาะกับโพรงฟัน ซึ่งอาจใช้ hand instrument
เพยี งอยา่ งเดยี ว หรอื อาจะใช้ carbide bur ร่วมกับ low speed handpiece กไ็ ด้ จนเน้อื ฟันแขง็ ซึ่งไม่ควรใช้แรงกดมาก
เกนิ ไปในการกำจดั เนื้อฟนั ผุ และควรใชค้ วามระมัดระวังในการกำจดั เนอื้ ฟนั ผใุ กลโ้ พรงเนื้อฟัน (pulp)

ภาพที่ 4 แสดง spoon excavator ท่มี าภาพ: https://qrgo.page.link/zTWKd

ภาพที่ 5 แสดงการใช้ spoon excavator กำจดั รอยผุ
1.5 ทำความสะอาดโพรงฟนั ดว้ ยสำลชี บุ น้ำอกี ครั้ง
1.6 ในกรณที ีภ่ ายหลงั กำจดั เนอ้ื ฟนั ผอุ อกแลว้ มีโพรงฟนั ลึก อาจทำการปอ้ งกนั โพรงเนอื้ ฟันโดยการปดิ บริเวณพืน้
ของโพรงฟันดว้ ย calcium hydroxide
1.7 ทำความสะอาดพ้นื ผวิ ด้านบดเคย้ี วเพ่อื ให้หลมุ รอ่ งฟันสะอาด เนอ่ื งจากหลมุ รอ่ งฟนั ทเ่ี หลอื จะถูกปดิ ทับด้วยวสั ดุ
ที่ใช้ในการอดุ ฟนั

117

2. การทำความสะอาดโพรงฟัน
โพรงฟนั ท่ีสะอาดจะชว่ ยเพม่ิ การยดึ ของวสั ดอุ ุดฟนั โดยแนะนำให้ใช้วัสดสุ ำหรบั ทำความสะอาดโพรงฟัน เช่น

dentin conditioner โดยใช้พู่กันจมุ่ dentin conditioner นำไปทาใน cavity ประมาณ 10-15 วินาที ลา้ งน้ำและเปา่ ลม ทำ
ข้ันตอนน้ีซ้ำสัก 2-3 ครง้ั

ภาพที่ 6 แสดง dentin conditioner

ภาพท่ี 7 แสดงการทา dentin conditioner ใน cavity
3.การอุดโพรงฟัน ดว้ ย glass ionomer

ทำการอดุ ปดิ เนื้อฟนั ผสุ ่วนท่เี หลอื (affected dentin) โดยใชว้ สั ดอุ ดุ ฟนั ทม่ี ฟี ลูออไรดเ์ ป็นสว่ นประกอบเพ่อื ส่งเสรมิ
ให้เกิดการคนื กลับแรธ่ าตุ (remineralization) ของเน้อื ฟัน ซง่ึ วสั ดทุ ่ีดที ี่สดุ คือ glass ionomer เน่อื งจากสามารถ bond กบั
enamel และ dentin ได้ ปลอ่ ยฟลูออไรดไ์ ดแ้ ละใชง้ า่ ย

3.1 ผสม glass ionomer สว่ นผงและสว่ นเหลว ประมาณ 25-30 วินาที

ภาพที่ 8 แสดงการผสม glass ionomer

118

3.2 นำ glass ionomer ไปใส่ใน cavity รวมถึงบรเิ วณ fissure

ภาพท่ี 9 แสดงการนำ glass ionomer ไปใส่ใน cavity
3.3 ใชเ้ ครอ่ื งมือหรอื นวิ้ มือท่ีทาวาสลีนแลว้ กดวัสดเุ พือ่ ใหว้ สั ดุแนบกบั โพรงฟัน เพอ่ื ป้องกนั วสั ดุ glass ionomer ตดิ
ถุงมอื เรยี กวิธีนว้ี ่า press-finger technique
3.4 กำจัดวัสดสุ ่วนเกินออกจากผวิ ฟัน และตรวจสอบการกดั สบฟัน
3.5 ทา coating agent ท่ฟี ัน จากนนั้ ฉายแสง 20 วนิ าที

ภาพที่ 10 แสดงการทา coating agent
https://youtu.be/i_BWJSeoU5w

Clip แสดงขั้นตอนการทำ Atraumatic Restoration Treatment (ART)

119

The SMART (silver modified atraumatic restorative treatment) technique.
The SMART (silver modified atraumatic restorative treatment) technique เป็นการรกั ษาโดยใช้ Silver
diamine fluoride (SDF) ทาไปบริเวณฟนั ทผ่ี กุ อ่ นเพ่อื ยับย้ังการลุกลามของเชื้อฟนั ผุ จากน้นั จะทำการบรู ณะฟันดว้ ย glass
ionomer อีกท้งั ยงั ชว่ ยปดิ รอยสดี ำที่เกิดจาก SDF อีกดว้ ย
ขน้ั ตอนของการทำ SMART มีดงั นี้
1.การเตรียมโพรงฟันและการใช้ SDF
1.1 แยกฟันซ่ที จ่ี ะรกั ษาโดยใช้สำลกี อ้ น เพอื่ ให้สามารถทำงานไดง้ ่ายขึน้
1.2 กำจัดคราบจลุ นิ ทรียโ์ ดยทำความสะอาดผวิ ฟนั ดว้ ยสำลชี ุบน้ำและเช็ดให้แห้ง เนือ่ งจากผิวฟนั ทแ่ี ห้งและสะอาด
จะชว่ ยทำให้จรวจรอยผแุ ละ unsupported enamel ไดง้ า่ ย

ภาพท่ี 11 แสดงฟันผทุ ่ดี ้านบดเคยี้ ว
2.การใช้ Silver diamine fluoride (SDF)

2.1 ใชพ้ กู่ ันหรือแปรงขนาดเลก็ จมุ่ SDF และปา้ ยไปที่ขอบของ dappen dish เพอ่ื กำจดั ของเหลวสว่ นเกิน

ภาพท่ี 12 แสดง silver diamine fluoride ท่ีมาภาพ : https://qrgo.page.link/TLiXM
2.2 ทา SDF ที่ฟันบรเิ วณท่ผี ุ ประมาณ 20-60 วินาทตี ่อซี่

ภาพท่ี แสดงการทา SDF

120

2.3 งดดมื่ น้ำและรบั ประทานอาหาร 30 นาที (NPO 30 min)

ภาพที่ 13 แสดงบริเวณทผี่ หุ ลังทา SDF พบว่ารอยผุกลายเปน็ สดี ำ
3. การทำความสะอาดโพรงฟัน

โพรงฟันท่ีสะอาดจะช่วยเพ่มิ การยดึ ของวัสดอุ ดุ ฟนั โดยแนะนำให้ใชว้ ัสดุสำหรับทำความสะอาดโพรงฟัน เชน่
dentin conditioner โดยใชพ้ ่กู นั จุม่ dentin conditioner นำไปทาใน cavity ประมาณ 10-15 วนิ าที ลา้ งนำ้ และเปา่ ลม ทำ
ขั้นตอนนี้ซ้ำสัก 2-3 คร้ัง
4.การอุดโพรงฟนั ดว้ ย glass ionomer

ทำการอุดปดิ เนื้อฟนั ผสุ ว่ นที่เหลือ (affected dentin) โดยใชว้ สั ดุอดุ ฟันท่ีมีฟลอู อไรดเ์ ปน็ สว่ นประกอบเพ่อื ส่งเสริม
ใหเ้ กิดการคืนกลับแรธ่ าตุ (remineralization) ของเนือ้ ฟนั ซ่งึ วัสดทุ ี่ดที ่สี ุดคือ glass ionomer เนื่องจากสามารถ bond กบั
enamel และ dentin ได้ ปลอ่ ยฟลอู อไรดไ์ ดแ้ ละใช้ง่าย

4.1 ผสม glass ionomer ส่วนผงและสว่ นเหลว ประมาณ 25-30 วินาที
4.2 นำ glass ionomer ไปใส่ใน cavity รวมถึงบรเิ วณ fissure
4.3 ใชเ้ คร่อื งมือหรือนิ้วมอื ท่ีทาวาสลีนแล้ว กดวัสดเุ พื่อให้วสั ดุแนบกับโพรงฟัน เพื่อปอ้ งกนั วสั ดุ glass ionomer ตดิ
ถุงมอื เรยี กวิธีนี้ว่า press-finger technique
4.4 กำจัดวสั ดสุ ว่ นเกนิ ออกจากผวิ ฟนั และตรวจสอบการกดั สบฟัน
4.5 ทา coating agent ทฟ่ี นั จากน้นั ฉายแสง 20 วนิ าที

ภาพที่ 14 แสดงฟนั หลังจากบรู ณะดว้ ย glass ionomer
https://youtu.be/grZ0PsyG7Ck

Clip แสดงการทำ The SMART (silver modified atraumatic restorative treatment) technique.

121

ปฏิบตั กิ ารท่ี 10
การถอนฟนั เย็บแผล ตดั ไหมและฝึกเขียนใบสัง่ ยาแกป้ วดและยาปฏิชีวนะ

แผนการสอน
วัตถุประสงคก์ ารเรยี นรรู้ ายปฏบิ ตั กิ ารเม่อื เรียนจบปฏบิ ัติการนแ้ี ล้ว นักศึกษาสามารถ

บรรลวุ ัตถุประสงคร์ ายวชิ าตามรายขอ้ ดังน้ี

ขอ้ ที่ 5.ใหก้ ารรกั ษาทางทนั ตกรรม เชน่ การถอนฟัน เย็บแผลตดั ไหมแบบจำลองฟันผู้ป่วยสมมตุ ิภายใต้
หลกั การปอ้ งกันและควบคุมการแพร่กระจายการตดิ เชื้อไดถ้ ูกตอ้ งและเหมาะสมตามหลักวชิ าการดว้ ยความรับผดิ ชอบ
(LO2.3, 3.1 ,3.3,6.2,6.4)

ข้อท่ี 6. บันทกึ ผลการซกั ประวตั ิ การตรวจ วางแผนรักษาทางทนั ตกรรมและการรักษาลงในเวชระเบียน
ตามขอ้ เทจ็ จรงิ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง(LO2.3, 3.1 ,3.3,6.2,6.4)

ขอ้ ท่ี 7. สามารถทำความสะอาดเครอื่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นงานทนั ตกรรม จดั เกบ็ และทำให้ปราศจากเชือ้
ไดถ้ ูกตอ้ งตามหลกั วิชาการ(LO1.2,1.3 ,2.3, 3.1 ,3.3,6.2,6.4)

ขอ้ ท่ี 8. มีมพี ฤติกรรมทางดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม การเคารพสิทธิผู้ใช้บรกิ าร ความมวี นิ ัย ซอ่ื สตั ย์ รบั ผดิ ชอบ
มเี จตคติ และเป็นแบบอยา่ งท่ดี แี กผ่ ู้อื่น (LO1.1, 1.2, 1.3 ,4.2)
วตั ถปุ ระสงค์เชงิ พฤติกรรม เพื่อให้นักศกึ ษาสามารถ

1. เตรียมเครื่องมอื ทใี่ ชใ้ นการถอนฟันไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง
2. เลอื กเครอื่ งมือทใี่ ชใ้ นการถอนฟันไดอ้ ย่างถูกต้อง
3. ถอนฟนั ภายใตก้ ารปฏบิ ัตงิ านตามขน้ั ตอนทีถ่ ูกต้องตามหลกั การปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายเชื้อ
4. เตรียมเครอื่ งมือในการเยบ็ แผลไดอ้ ย่างถูกต้อง
5. เย็บแผลได้ถูกตอ้ งตามหลกั วชิ าการอยา่ งนอ้ ย 1 วธิ ี
6. ตัดไหมเยบ็ ได้ถกู วธิ ีตามหลกั วิชาการ
7. สามารถให้คำแนะนำหลังการถอนฟนั และเขียนใบส่งั ยาแก้ปวดและยาปฏชิ ีวนะได้
วัสดุอปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการเรียนการสอน

1 ชุดตรวจ 1 ชุด
2 ผ้าก๊อซ 2 ชิน้
3 Straight elevator 1 ตวั
4 Angle elevator 2 ตวั (R+L)
5 Root straight elevator 1 ตัว
6 Root angle elevator 2 ตวั (R+L)
7 Dental forceps (150 และ 150S ) 2 ตัว
8 Dental forceps (151 และ 151S ) 2 ตัว
9 Curette 1 ตวั
10 เข็มเยบ็ แผลพร้อมไหม 1 อนั

122

11 Needle holder 1 อนั
12 กรรไกรตดั ไหมปลายโค้ง 1 อนั
13 ถงุ มือใชค้ รงั้ เดียวทิง้ คนละ 1 คู่
14 กลว้ ย (เปลอื กยังไม่ช้ำ) 1 ผล
15 แบบจำลองฟัน 1 อัน
16 ใบส่งั ยา 1 ใบ
17 บัตรผู้ปว่ ย OPD Card

ขนั้ ตอนการปฏิบตั ิ
1. ปฏิบตั กิ ารนีท้ ำพร้อมกับปฏิบตั ิการเย็บแผลใหถ้ อนฟนั กอ่ นเย็บแผล
2. แบง่ นกั ศึกษาออกเปน็ กล่มุ ๆ ละ 10-12 คน
3. แตล่ ะกลุม่ ได้รบั ขากรรไกรจำลอง
4. จัดเตรียมเครอื่ งมือตามรายการ “วัสดอุ ปุ กรณ์ทใี่ ช้ในการเรียนการสอน”
5. ปฏิบัตงิ านตาม “ขนั้ ตอนการทำงาน”

กิจกรรมของอาจารย์
1. ดแู ลนักศกึ ษาในกลมุ่ ท่ีรับผดิ ชอบ
2. อธบิ ายขนั้ ตอนการทำงานในปฏบิ ตั กิ ารน้ี
3. แนะนำเครือ่ งมอื ถอนฟนั และการใชเ้ ครื่องมือแตล่ ะประเภท
4. สาธติ การถอนฟันในแบบจำลองฟนั พรอ้ มตำแหน่งการเข้าทำงานการเยบ็ แผลในกลว้ ยและตดั ไหม
5. ใหค้ ำแนะนำ แนะแนวทาง และสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ัตงิ านนกั ศึกษาแต่ละคน
6. ใหค้ ะแนนในใบประเมนิ ปฏบิ ัตกิ ารและคะแนนพฤตกิ รรมนกั ศึกษาแต่ละคน

กจิ กรรมของนักศึกษา
1. ศึกษาค้นคว้า ทบทวนความร้ภู าคทฤษฎี
2. ศึกษาข้ันตอนการปฏิบตั งิ านจากคมู่ ือปฏิบตั ิการคลนิ กิ ทันตกรรมเบือ้ งต้น
3. อ่านหนังสอื เรยี น “ทนั ตศลั ยศาสตร์” มาก่อนลว่ งหนา้
4. จัดเตรยี มเคร่ืองมือตามรายการ “วัสดุอปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการเรยี นการสอน”ให้เบิกชุด ถอนฟันบนและลา่ ง
โมโดลถอนฟัน ชุดเยบ็ แผล กรรไกรตัดไหม จากหอ้ งจ่ายกลาง
5. เชิญอาจารยต์ รวจ เพ่ือเริม่ งาน (Beginning check)
6. ปฏบิ ัติงานตาม “ขนั้ ตอนการทำงาน”
7. บันทกึ ลงในบัตรผ้ปู ่วย OPD Card
8. หลงั จากทำงานเสรจ็ ตอ้ งใสฟ่ นั ทฝ่ี กึ ถอนเขา้ ในโมเดลถอนฟนั ลา้ งเครอื่ งมือ เชด็ ใหแ้ ห้ง
ถ้ามีผา้ หอ่ เคร่อื งมอื มาด้วยตอ้ งหอ่ กลบั ให้เรยี บร้อย นำไปส่งคืนท่หี อ้ งจ่ายกลาง

สอ่ื การเรียนการสอน
1. คมู่ ือปฏบิ ตั ิการคลินิกทนั ตกรรมเบอ้ื งตน้
2. ตำราเอกสารวิชาการท่ีเก่ียวข้อง
3. หนังสอื เรยี นทนั ตศลั ยศาสตร์
4. แบบจำลองการถอนฟัน

123

5. ชุดเย็บแผล กรรไกรตัดไหม
6. ชุดถอนฟนั บนและลา่ ง
7. กลว้ ยทเ่ี ปลือกยงั ไมช่ ำ้

การประเมินผล

1.คะแนนแบบประเมนิ ทักษะการถอนฟันและเขยี นใบสงั่ ยา 25 คะแนน

2.คะแนนแบบประเมินทกั ษะการเยบ็ แผลและตดั ไหม 20 คะแนน

3.คะแนนพฤตกิ รรมประจำวนั 10 คะแนน

4.คะแนนการฝกึ ปฏบิ ตั ิเย็บแผลและตดั ไหม 20 คะแนน

5. .คะแนนประเมนิ ทกั ษะการดูแลรกั ษาเครือ่ งมอื 20 คะแนน

(ประเมนิ ทกุ วนั ของสปั ดาหท์ มี่ ปี ฏบิ ัติการ)

เกณฑ์การประเมนิ ผล

1. ผู้เรียนตอ้ งเขา้ เรียนอยา่ งนอ้ ย รอ้ ยละ80 ของเวลาเรียน

2 . ผู้เรียนต้องได้คะแนนในแบบประเมนิ ทักษะแตล่ ะปฏบิ ตั กิ าร ตัง้ แต่60%ข้นึ ไปจงึ จะมีสิทธิ์ขอประเมินผลการเรียน

3. ผเู้ รยี นต้องไดค้ ะแนนรวมพฤตกิ รรมประจำวนั ต้งั แต่60%ข้ึนไปจงึ จะมสี ทิ ธข์ิ อประเมินผลการเรยี น

4. ผู้เรียนต้องไดค้ ะแนนรวมในแบบประเมินการดูแลรกั ษาเครอื่ งมอื ตง้ั แต่60%ข้นึ ไปจงึ จะมสี ทิ ธ์ิขอประเมนิ ผลการเรียน

ข้นั ตอนการทำงาน

1. อาจารยป์ ระจำกลมุ่ แนะนำเคร่ืองมอื ถอนฟนั และสาธติ การถอนฟนั ในแบบจำลองฟนั

2. นักศึกษาจับคกู่ ันฝกึ ทา่ ทางและฝึกถอนฟันในแบบจำลอง (ฟนั บน ฟันล่าง/ฟันนำ้ นม ฟนั แท้)

3. นกั ศกึ ษาแตล่ ะคนฝึกถอนฟนั ในขากรรไกรจำลองโดยฝกึ ใช้ทง้ั คมี ฟนั บนและฟนั ลา่ ง

4. นักศกึ ษาฝกึ เขียนใบส่ังยาแกป้ วดและยาปฏชิ ีวนะ โดยอาจารยเ์ ปน็ ผกู้ ำหนด น้ำหนกั ผ้ปู ว่ ยสมมตุ ิ

เนื้อหาการถอนฟนั ขน้ั ตอนการถอนฟัน

1. การแยกเหงือก เป็นการแยกหรอื เลาะเนอื้ เยอ่ื ท่ีบรเิ วณคอฟนั ออกจากฟนั โดยใชเ้ คร่อื งมือเชน่ Straight

elevator,Angle elevator เพอ่ื ให้ ปากของคีมถอนฟันสามารถลงไปใตเ้ หงอื กจบั ท่บี รเิ วณคอฟนั ในสว่ นท่ลี กึ ทสี่ ดุ

โดยไม่ทำอนั ตรายเหงอื กรอบๆ

2. การทำให้ฟนั หลวม โดยใช้ Straight elevator เป็นการทำให้ฟนั หลวมหรือขยับกอ่ นทจี่ ะใชค้ มี ถอนฟัน

โดยสอด elevator เขา้ บรเิ วณ Alveolar crest ส่วน blade วางระหว่าง รากฟันและกระดูกเบ้ารากฟัน จากนั้นคอ่ ยๆ

หมนุ elevator เพ่ือขยับฟัน การใช้ elevator ตอ้ งมีจุดพกั (rest) และการป้องกนั (guard) เสมอ

เน่อื งจากอาจทำอันตรายตอ่ ฟันข้างเคยี ง หรือปลายของเครอื่ งมอื อาจพลาดไปถกู เนื้อเยอื่ ฉกี ขาดหรือไปถูกเส้นเลอื ดใหญไ่ ด้

3. การใชค้ มี ถอนฟันในการโยกฟนั ควรเลือกคมี ถอนฟันใหเ้ หมาะสมกับฟันท่ีจะถอน

ปากของคมี ควรจบั รากฟันให้แนบสนิท กดคมี ลงไปจับรากฟนั ให้ลึกที่สุด โดยส่วนปลายคมี ถอนฟนั ขนานกับแนวแกนฟนั เสมอ

จบั ให้แน่น มัน่ คง แล้วออกแรงโยกฟนั ตามแนวตามทิศทางตา่ งๆ การโยกฟนั ต้องทำอยา่ งช้าๆ ค่อยๆส่งแรงเพ่อื ให้เกิด

การขยายของกระดูกเบา้ ฟัน แนวแรงทใ่ี ช้ในการโยกฟัน มดี ังนี้ คอื

3.1 แรงกดลงล่าง(Apical force) เปน็ แรงเรม่ิ ตน้ ในการถอนฟัน เมอื่ ปากคมี จบั ลงไปที่

รากลกึ ข้ึน จะมีผลดันฟันให้ลอยขน้ึ มาจากกระดูกเบา้ ฟันได้

3.2 แรงโยกดา้ นแกม้ และด้านล้นิ (Bucco-lingual pressure) เป็นการโยกฟันมาด้าน

แกม้ และด้านลนิ้ มผี ลให้กระดกู ดา้ นแกม้ และดา้ นลิน้ ขยายตัว

3.3 แรงหมนุ (Rotational pressure) เปน็ การโยกฟนั โดยการหมุนขอ้ มอื เหมาะในการ

124

โยกฟนั รากเดียวที่รากไม่โค้งงอ
3.4 แรงเสรมิ อ่ืน (Accessory pressure) เปน็ การโยกฟันในลักษณะเฉพาะทเ่ี หมาะสม

กบั ลกั ษณะเฉพาะของรากฟัน เช่น การโยกฟนั เป็นเลขแปด(Figure of eight) ใช้ในฟันกรามล่าง
3.5 แรงแยกฟัน (Traction force) เปน็ แรงทีใ่ ชส้ ดุ ท้าย หลังจากท่ีโยกฟันและขยาย

กระดูกอย่างเพียงพอแล้ว เปน็ การนำฟันออกจากกระดกู เบา้ รากฟนั ด้วยแรงนุ่มนวล ไม่ใชก่ ารกระตุกหรือดึงฟันออกมา
4. การยดึ และพยุงขากรรไกร ในขณะโยกฟนั ควรมีการยึดและพยุงขากรรไกร

โดยในฟันบนใหใ้ ช้นว้ิ ชี้และนว้ิ หัวแม่มือข้างทไี่ ม่ไดจ้ บั คมี ถอนฟนั ยึดด้านแก้มและดา้ นเพดานในฟันซที่ ่ีจะถอน
ส่วนฟนั ล่างใช้นวิ้ ชีแ้ ละนิ้วหัวแม่มอื กันกระพงุ้ แกม้ ส่วนสามนวิ้ ที่เหลอื ประคองบรเิ วณใตค้ าง เพ่ือยึดขากรรไกรให้น่ิง

5. ใหส้ มมตุ ิการตรวจ ดแู ลแผลถอนฟนั หลังถอนฟนั แต่งกระดกู ที่โป่ง ขรขุ ระ ใหเ้ รยี บ กำจัดเศษฟนั กระดกู
หรือเนื้อเยอื่ ที่ไม่ดใี นกระดกู เบา้ รากฟัน โดยใช้ Curette ขูดออกให้หมด ถ้ามีการฉีกขาดของเน้ือเย่อื รอบๆ
อาจพจิ ารณาเย็บให้เขา้ ท่ี บีบกระดกู Alveolar crest เขา้ หากันในแนว Bucco-lingual

6. การกดั ผา้ ก๊อซหลังการถอนฟัน วางผา้ กอ๊ ซบนบริเวณปากแผลถอนฟนั
บนแบบจำลองฟันและสบฟันเข้ามากดั ใหแ้ นน่

7. การแนะนำผปู้ ่วยหลังการถอนฟนั (นกั ศกึ ษาจบั คู่กบั เพอ่ื นฝึกใหค้ ำแนะนำหลังถอนฟนั )
7.1 กดั ผา้ กอ๊ ซใหแ้ น่นในตำแหนง่ ของฟันที่ถกู ถอน 1 ชัว่ โมง หรอื จนกว่าเลอื ดจะหยดุ ไหล
7.2 ห้ามดดู หรือเลยี แผล หา้ มใช้ไม้จิม้ ฟัน แปรงสฟี นั เขย่ี เข้าไปในแผล
7.3 หากมนี ้ำลายหรอื เลือดท่ีซมึ ออกมาให้กลืน ยงิ่ บ้วนนำ้ ลายยง่ิ เปน็ การกระตนุ้ ให้

น้ำลายออกมามากข้ึน
7.4 แปรงฟันไดต้ ามปกติ แตไ่ มค่ วรแปรงเข้าไปในแผล
7.5 ใหท้ านอาหารออ่ นๆ ไม่ทานรสจดั หรือรสเผด็ ร้อน
7.6 ประคบเยน็ (น้ำแข็ง) ใน 24 ชว่ั โมงหลังทำ จากนัน้ ประคบอนุ่ เพ่อื ป้องกนั อาการบวม
7.7 ถ้ามอี าการปวด กใ็ ห้รบั ประทานยาแกป้ วด ตามทที่ นั ตแพทยส์ ัง่
7.8 ในกรณฝี กึ เป็นผปู้ ว่ ยเด็กท่ีถอนฟัน โดยมกี ารฉดี ยาชาโดยเฉพาะในฟนั ลา่ ง ควรให้

คำแนะนำแก่เด็กและผ้ปู กครองเกย่ี วกับการชาวา่ ยาชาจะออกฤทธิน์ านเท่าไหร่ และระวังการกัดแกม้ กดั ล้นิ เล่น
เน่ืองจากยาชายงั ออกฤทธิ์ พอไปกัดโดนจะไมร่ ู้สึกเจ็บ แต่พอยาชาหมดฤทธิ์ก็พบว่ามแี ผลท่ีแก้มหรือล้ินเกดิ ขึน้ ได้

7.9 ถ้าเกิดความผิดปกติขนึ้ เชน่ เลือดจากแผลถอนฟันไม่หยดุ ไหล มอี าการชาไมห่ าย
หลายวัน ปวดมากขนึ้ ปวดรนุ แรง มีหนองไหลออกมาจากแผลถอนฟนั ควรกลบั มาพบทนั ตแพทย์ทนั ที

https://youtu.be/vVqKdJD2k0s

Clip แสดง การ ถอนฟนั กรามบน

125

ขัน้ ตอนการเยบ็ แผลและตัดไหม

ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิ
1. ปฏิบตั ิการนจ้ี ะทำตอ่ จากปฏิบัตกิ ารถอนฟัน
2. แบง่ นกั ศึกษาออกเป็น4 กลุม่ กลมุ่ ละ 12-14 คน
3. จัดเตรียมเครอ่ื งมอื ตามรายการ “วัสดอุ ปุ กรณ์ทใ่ี ชใ้ นการเรียนการสอน”
4. ปฏบิ ัตงิ านตาม “ขนั้ ตอนการทำงาน”

กจิ กรรมของอาจารย์
1. รบั ผดิ ชอบดแู ลนักศึกษาในกลมุ่ ประจำวัน
2. อธิบายขัน้ ตอนการทำงานในปฏิบตั ิการน้ี
3. สาธติ วธิ จี ับ Needle holder การร้อยไหมและการเยบ็ แผล
4. ตรวจสอบความถูกตอ้ งของการบนั ทกึ เอกสาร เช่น บัตรผปู้ ว่ ย ใบสง่ั ยา สมดุ บนั ทกึ กิจกรรมประจำวนั ฯลฯ
5. ตรวจและให้คำแนะนำ และสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบัตงิ านนักศึกษาแต่ละคน
6. ใหค้ ะแนนในใบประเมนิ ปฏบิ ตั กิ ารและคะแนนพฤตกิ รรมนกั ศกึ ษาแตล่ ะคน

กิจกรรมของนกั ศึกษา
1. ศกึ ษาคน้ ควา้ ทบทวนความรภู้ าคทฤษฎี
2. ศึกษาข้ันตอนการปฏิบตั งิ านจากคมู่ อื ปฏบิ ตั ิการคลินิกทันตกรรมเบ้ืองตน้
3. ปฏบิ ตั ติ ามข้ันตอนการทำงาน
4. โดยเบิกท่ีห้องจา่ ยกลางไดแ้ ก่ ชดุ เยบ็ ไหม กรรไกรตดั ไหม เข็มเย็บแผล needle Holder
5. บนั ทกึ บตั รผู้ป่วย OPD Card
6. หลงั จากทำงานเสรจ็ ตอ้ ง ลา้ งเคร่อื งมอื เชด็ ใหแ้ หง้ ถา้ มีผ้าหอ่ เครอื่ งมอื มาด้วยตอ้ งห่อกลับให้เรยี บรอ้ ย
นำไปสง่ คืนท่ีห้องจา่ ยกลาง

สอื่ การเรยี นการสอน
1. คมู่ ือปฏิบตั ิการคลนิ กิ ทนั ตกรรมเบอื้ งตน้
2. ตำราเอกสารวิชาการที่เกีย่ วข้อง
3. หนงั สือเรียนทนั ตศลั ยศาสตร์
4. กลว้ ยทผ่ี ิวยังไม่ชำ้

การประเมนิ ผล (จดั การเรียนการสอนในทักษะการถอนฟัน)

1. คะแนนการฝึกปฏิบัตเิ ย็บแผลและตัดไหม 20 คะแนน

ข้ันตอนการทำงาน

1. อาจารย์แนะนำอปุ กรณใ์ นการเย็บแผล

2. สวมถุงมือกอ่ นเริม่ ปฏบิ ัตงิ าน

3. อาจารยส์ าธิตวธิ ีการจบั Needle holder และการรอ้ ยไหม

4. อาจารยส์ าธติ วิธกี ารเย็บแผลดว้ ยวิธี Interrupted และ figure of eight ในหุน่ จำลอง

(กล้วยท่เี ปลอื กยงั ไม่ช้ำ)

5. นักศึกษาแต่ละคนในกลุ่มยอ่ ยฝกึ ปฏิบัตกิ ารเยบ็ แผลแบบ Interupted suture

6. เชญิ อาจารยต์ รวจงาน

126

เน้อื หา

วธิ เี ย็บแผลโดยใช้ไหมผกู เป็นปมแยกเป็นอนั ๆ (interupted sutures)
1. เตรียมเข็มและไหมเยบ็ ใช้ Needle holder จบั บรเิ วณ ½ -1/3 จากกน้ เขม็ เยบ็ สอดไหมที่ก้นเขม็
2. ปลายเขม็ เยบ็ ต้ังฉากกับเน้อื เย่อื ตักเขม็ หา่ งขอบแผลประมาณ 3-5 มิลลเิ มตร
3. ดันเขม็ ผา่ นตามความโค้งเขม็ โดยหมนุ ขอ้ มอื ในแนววงกลม
4. เม่ือปลายเขม็ แทงผ่านเน้ือเยื่อดา้ นผวิ ออกมาประมาณคร่งึ หนึง่ ให้คลายล็อค Needle holder

และไปจบั บรเิ วณกง่ึ กลางเขม็ เยบ็ ทโ่ี ผล่ออกมา ต่อมาให้ตกั เน้ือเยือ่ อกี ดา้ นเปน็ ครั้งท่ีสอง โดยทำเช่นเดียวกัน
เปน็ การตักเข็มเยบ็ จากด้านในสู่ดา้ นนอก

5. มือซา้ ยรวบเขม็ และไหมเยบ็ ไว้ ใหจ้ ับบริเวณก้นเข็ม ระวังเข็มทม่ิ มือ
6. ดึงไหมเยบ็ ใหด้ า้ นปลายเหลือยาวประมาณ 5 ซม.
7. ผกู ปม โดยพนั ไหมเยบ็ รอบ Needle holder 2 รอบ แล้วใช้ needle holder จบั ปลายไหม
เยบ็ ทเี่ หลอื พร้อมล็อคเครื่องมือเอาไว้ มือซ้ายดงึ ไหมเยบ็ ออกจาก needle holderมือขวาจับ needle holder เอาไวน้ ง่ิ ๆ
ดา้ ยจะถกู ผกู เปน็ ปม ทงั้ มอื ซา้ ยและขวาดงึ ปมไหมให้แนน่ พอประมาณ
8. พันไหมเยบ็ รอบ needle holder อกี 1 รอบ ในทศิ ทางตรงกันข้ามกบั การพนั ครั้งแรกดงึ ไหม
เย็บเพอื่ จะผกู ปมในลักษณะเดยี วกนั กบั ขอ้ 6
9. รวบปลายไหมเยบ็ ทั้ง 2 เสน้ ใช้กรรไกรตดั ไหมเย็บให้เหลือปลายไหมประมาณ 3 ม.ม.
ขอ้ แนะนำ

❖ การใช้เขม็ เย็บตักเน้ือเย่อื ครั้งแรกใหเ้ ร่ิมตักเนอื้ เย่อื ที่ขยบั ได้ ครงั้ ท่สี องให้ตักเนือ้ เยอื่ ตดิ แนน่

❖ การเยบ็ แผลท่ดี ี ฝีเยบ็ ควรห่างเทา่ ๆกันทง้ั ระยะจากขอบแผลและระยะห่างแตล่ ะเข็ม
ขอบแผลต้องแนบสนิท ไมเ่ กยหรอื ห่างกันสงั เกตจากเนือ้ เยือ่ เรยี บ ไมป่ ูดหรอื ซดี ”

วธิ กี ารตัดไหมเยบ็ หลงั จากแผลสมานแล้ว

1. ใชม้ อื ซ้ายจบั cotton pliersคีบปมไหมเยบ็ แผล ดึงข้ึนเลก็ น้อยเพอื่ ใหป้ ลายกรรไกรสอดเข้าได้
2. ใชส้ ว่ นปลายกรรไกร ตดั ใต้ปมไหมเยบ็ สว่ นท่ีอย่ชู ดิ กับเนือ้ เย่ือมากทีส่ ดุ
3. ดงึ ไหมเยบ็ แผลออกนอกช่องปากโดยดงึ ผา่ นไปทางไหมเย็บทส่ี มั ผัสกบั ดา้ นนอก เพ่อื ปอ้ งกันการตดิ เชอ้ื

https://youtu.be/z8oWv-nVO6g https://youtu.be/VJEoSpUfAvQ

Clip Simple interrupted Suture Clip Figure 8 Suture

https://youtu.be/jX5zp7r8xJE

Clip แสดงการตดั ไหม

127

ตวั อยา่ ง การเขียนบตั รผู้ปว่ ย OPD Card การถอนฟัน

ว/ด/ป ตำแหน่งฟัน ผล x-ray การรักษา นกั ศึกษา อาจารย์
30ก.ย.64 46 และวนิ จิ ฉยั โรค ณเดช อ. ธรรศ
Ext under L.A. 2% 1.2 ml., Lidocain
Chronic apical epinephrine 1:105 sutured 2 stitches,
med. Amoxycillin (500 mg) 1×3/20 tabs
abscess And Paracetamol (500 mg) 10 tabs.
นัดตดั ไหม 7ต.ค.64 เวลา 9.00 น

ตัวอยา่ ง การเขียนบตั รผ้ปู ว่ ย OPD Card การตดั ไหม

ว/ด/ป ตำแหนง่ ฟนั ผล x-ray การรกั ษา นกั ศึกษา อาจารย์
7ต.ค.64 46
และวนิ จิ ฉัยโรค ณเดช อ. ธรรศ
ณเดช อ. ธรรศ
CC: 7 Post-op days มาตดั ไหมตามนัด

PI: Ext เมื่อ 7 วนั ทีแ่ ล้ว เลอื ดหยดุ ไหลปกติ
มอี าการปวด และบวม 3 วนั หลังถอนฟนั อย่างยาก
ได้ร้ับยา2 ตัว คอื Amoxicillin และ Paracetamol
ทานยาหมด (ถา้ ไม่หมด ให้แจ้งว่าเหลือยากเี่ ม็ด)
O/E: Area of 48 is slightly red, no sign of
infection, no inflammation, no tenderness
(หรือ mild inflammation), (อาการอน่ื ๆเชน่
pus discharge, bony exposed)
stitch remained 2 stitches.
Dx: Area of 46 normal wound healing

(หรือ inflammatory wound
หรือdry socket หรอื /alveolar osteitis)
Tx: Stitch off 2 stitches
(and irrigate with normal saline)

ตัวอย่าง 128

การเขยี นใบสั่งยาสำหรับการถอนฟนั

ยน่ื ใบส่งั ยาท่หี อ้ งยา วสส.ขก.

กระทรวงสาธารณสขุ

ใบสง่ั ยา

วิทยาลัยการสาธารณสุขสริ ินธรจงั หวัดขอนแก่น

ช่อื -นามสกุล...... นายศรราม . เทพพทิ กั ษ์…..อายุ ..........26...... ปี

ท่อี ย.ู่ ..........................................................วนั เดือน ปี ..7ต.ค.64

การวินจิ ฉยั โรค ...46 chronic apical abscess…เลขท่บี ตั ร

สิทธิการรบั บรกิ าร

บตั รประกนั สขุ ภาพถว้ นหนา้ (บตั รทองฯร.พ.ขอนแก่น)

เลขท่บี ตั รประชาชน ----

บตั รประกนั สงั คมเลขท่ี ----

ขา้ ราชการ/เจา้ หนา้ ท่ขี องรฐั /พนกั งานรฐั วิสาหกจิ

อืน่ ๆ....................................................

รายการ จำนวน ราคา
-
- ค่าบริการผปู้ ว่ ยนอก ในเวลาราชการ/นอกเวลาราชการ - 250
10
- คา่ ถอนฟัน 1 ซี่
100
- Paracetamol (500 mg) 10 tabs

Sig: 1 tab ◉ p.r.n. for pain and 6 hrs 20 caps
- Amoxycillin (500 mg)
Sig : 1 cab ◉ t.i.d. p.c.

นกั ศกึ ษาผ้ทู ำการรกั ษา เกรยี งไกร รวม 360 บาท
ผสู้ ่ังยา อ.อนุพงศ์ ผ้จู ่ายยา ผู้รบั เงิน
ใบเสรจ็ รับเงินเล่มที่ เลขที่



ภาคผนวก ก

ใบรายการตรวจรับเคร่อื งมอื วิชาการเตรียมความพร้อมคลินิกทนั ตกรรม
ใบเปลี่ยนเคร่ืองมือ

ใบรายการเคร่อื งมือขาด
แบบตรวจคดั กรองคนไข้ก่อนการรักษาทางทันตกรรม
แบบชว่ ยบันทึกการตรวจ วินิจฉัยและวางแผนการรกั ษาทางทันตกรรม
แบบบันทึก การฝกึ ปฏิบัตกิ ารตรวจและวางแผนการรักษาในช่องปากสมบูรณ[์ Complete Chart]



ใบรายการตรวจรบั เคร่อื งมือวชิ าการเตรียมความพร้อมคลินกิ ทนั ตกรรม
ใหใ้ ชใ้ นปฏิบตั ิท่1ี การตรวจรบั เครอื่ งมอื

ช่ือ-สกลุ ..................................................................รหสั ประจำตัว..............ยูนติ ท่ี............
ชอ่ื -สกลุ ..................................................................รหสั ประจำตัว..............ยนู ติ ที.่ ...........

สว่ นท่ี 1 วัสดุอปุ กรณ์ท่ีนิสติ ได้รับแจก

รายการเครอื่ งมอื จำนวน Check in หมายเหตุ Check out หมายเหตุ ราคา/ชนิ้
วัสดุอ่นื ๆ
1 ขวดยาเลก็ ใส่สยี ้อมฟนั 1 50
2 dappen glass 2 18
3 Cotton wool container 1 288
4 พู่กนั etching - bonding 6 65
5ถาดหลมุ (บาง/หนา) 1 100
ลงชื่อ อาจารย์ Check in ........................วนั ที่....................
ลงชอ่ื อาจารย์ Check out...................... วันท่ี.................

สว่ นที่ 2 วสั ดอุ ุปกรณท์ ีน่ ิสติ ตอ้ งเตรยี มมาเอง

ที่ รายการ จำนวน Check in หมายเหตุ

1 เส้ือกาวนย์ าวสขี าว (ถา้ ใชแ้ บบสะทอ้ นนำ้ จะดีท่สี ุด) 2/คน

2 ผา้ ปิดปาก (Surgical mask หรือ 95 maskจะดีทีส่ ุด) 10/คน

3 Face shield (มแี ผน่ พลาสตกิ ปิดสนทิ ทดี่ า้ นหน้าผาก) 1/คน

4 หมวกคลมุ ผม 10/คน

5 รองเท้าแตะสวมในคลนิ กิ 1/คน

6 กระจกสอ่ งหนา้ แบบมแี ท่น 1/คน

7 แปรงสีฟันและไหมขดั ฟัน ใชส้ ำหรบั แปรงฟันแทนการขัดฟนั 1/คน

8 กระดาษเทปกาวทบึ 1/คน

9 ถุงพลาสติก ขนาด 5*7 นวิ้ (แบบถุงใสแ่ กงใชท้ ิ้งสำลกี ั้นนำ้ ลาย) 1โหล/คน

10 นำย้ าบว้ นปาก เบตาดนี การ์เก้ลิ หรอื ไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ 3 % 1ขวด/คน

11 สบู่เหลวลา้ งมอื บรรจุขวดปมั๊ 1/คน

12 น้ำยาลา้ งจาน 1/คน

13 แปรงล้างเครือ่ งมอื 1/คน

14 ฟองนำ้ + สก๊อตไบรท์ 1/คน

15 กาละมัง ลา้ งเครอ่ื งมือ 1/คน

16 ถงุ มอื อยา่ งหนาใช้ลา้ งเคร่ืองมือ 1/คน

17 กระดาษทชิ ชพู รอ้ มกลอ่ งทชิ ชู 1/คน

18 แปรงทำความสะอาดอ่างลา้ งมือ 1/คน

19 ถุงซปิ ลอ็ คขนาดใหญ่ 30*45 c.m. เพอ่ื ใสค่ ่มู ือ OPD 1/คน

20 ตะกร้าใส่อปุ กรณ(์ ใชต้ ะกร้าเรียนวชิ าDAเพื่อใชบ้ รรจุส่ิงของ 1/คน



เน่อื งจาก มีการใชย้ ูนิตทันตกรรมรว่ มกนั ระหวา่ งนสิ ิตปี3และป4ี
ทำใหน้ สิ ติ ปี 3 ไมม่ ี carbinetสว่ นตัว

หา้ มมิใหน้ สิ ติ ปี 3ไปใชเ้ ครือ่ งมือของ นสิ ิตป4ี เด็ดขาด
มเิ ชน่ น้นั ยูนิตใดหากมเี ครอ่ื งมอื สูญหาย จะตอ้ งรับผดิ ชอบรว่ มกนั
ให้นสิ ิต ปี 3 ใช้ตะกรา้ ท่ีสั่งให้เตรยี มมาบรรจุของใชส้ ว่ นตวั (ตะกรา้ ขนาดเรียนวชิ าDAเพือ่ ใช้บรรจุ กลอ่ งใส่ เขม็ กรอฟนั ,สีย้อม
ฟนั , dappen glass,พกู่ ัน etching - bondingถาดหลุม(บาง/หนา))

และถอื มาเรยี นในวิชาการเตรียมความพรอ้ มทุกคร้งั
หา้ มนำไปเก็บใน Carbinetของพปี่ ี 4



ใบเปล่ยี นเครอื่ งมือกรณี สภาพทแี่ จกไม่พร้อมใช้งาน หรือ ชำรดุ

ช่ือ – นามสกุล…………………………………………………………………….………รหัสพรีคลนิ ิก………………….. Unit ท…ี่ ………..

ลำดับท่ี รายการ จำนวน ระบุเหตขุ อเปลย่ี น

ลงชือ่ นิสิต ………………………………………………………………………. ……(ตวั บรรจง) รวม
ลงชื่ออาจารย์ ………………………..……………………………………….
….……….. / ……...…… / ….…………

รายการเครือ่ งมอื ขาด ( ในวัน Check in )

ชื่อ – นามสกุล…………………………………………………………………….………รหัสพรคี ลินิก………………….. Unit ท…่ี ………..

ลำดบั ท่ี รายการ จำนวน ราคา

ลงชอ่ื นิสติ ………………………………………………………………………. ……(ตวั บรรจง) รวม
ลงช่ืออาจารย์ ………………………..……………………………………….
….……….. / ……...…… / ….…………

รายการเคร่ืองมือขาด ( ในวัน Check out )

ชื่อ – นามสกลุ …………………………………………………………………….………รหสั พรีคลนิ ิก………………….. Unit ท…ี่ ………..

ลำดับที่ รายการ จำนวน ราคา

ลงชื่อ นิสิต ………………………………………………………………………. ……(ตัวบรรจง) รวม
ลงชอ่ื อาจารย์ ………………………..……………………………………….
….……….. / ……...…… / ….…………


แบบตรวจคดั กรองคนไขก้ ่อนการรักษาทางทนั ตกรรม



แบบช่วยบนั ทกึ การตรวจ วินจิ ฉัยและวางแผนการรกั ษาทางทันตกรรม

ชื่อ-นามสกลุ ผ้ปู ว่ ย.....................................................................เลขทบ่ี ัตร................................ว/ด/ป....................

การตรวจฟนั

ฟันซี่ Diagnosis Tx Seq. ฟนั ซ่ี Diagnosis Tx Seq.

18 38

17 37

16 36

15 55 35 75

14 54 34 74

13 53 33 73

12 52 32 72

11 51 31 71

21 61 41 81

22 62 42 82

23 63 43 83

24 64 44 84

25 65 45 85

26 46

27 47

28 48

บรรยายสภาพเหงือก...................................................................................................................................................................

…………...............................................................................................................................................................................

…………...............................................................................................................................................................................

การวนิ ิจฉยั เหงอื ก…………......................................................................................................................................................

การสบฟัน................................................................................................................................................................

การวางแผนการรกั ษาทางทันตกรรม

1. Systemic Treatment………………………………………………………………..................................................

2. Urgent Treatment ...................................................................................................................................................

3. Elective Treatment

ลำดับที่............. Tx………………………………………………………………………………………..

ลำดับท.่ี ........... Tx………………………………………………………………………………………..

ลำดบั ท่…ี …… Tx………………………………………………………………………………………..

4. Preventive Treatment

Sealant……………………………………...……………………………………….........................................

Fluoride therapy ……………………………………………...........................................................................

5. Refer .........................................................................................................................................................................

6. Recheck……………………………………………………………………………................................................



แบบบันทกึ การฝกึ ปฏบิ ัติการตรวจและวางแผนการรักษาในชอ่ งปากสมบรู ณ์[Complete Chart]

แบบฟอรม์ การตรวจ การวินิจฉัยโรค และการวางแผนการรกั ษาทางทนั ตกรรม
คลินิกทนั ตกรรมเพ่ือการศกึ ษา วิทยาลยั การสาธารณสุขสิรินธร จงั หวดั ขอนแก่น

ชื่อ-สกลุ ผูป้ ่วย................................................................อายุ...................ปี เพศ ชาย หญิง

ทอ่ี ยู่...............................................................................................เบอร์โทรศพั ท.์ ..............................

ภมู ลิ ำเนา.....จ.ขอนแก่น.....อาชพี .......นกั เรยี น.....สถานภาพการสมรส โสด สมรส หย่ารา้ ง

สิทธิประโยชน์ในการรักษา บัตรประกนั สขุ ภาพ ประกนั สงั คม เบกิ ได้ ไมม่ ี อ่ืนๆ (ระบุ)....

อาการสำคญั (Chief complaint) : .....................................................................................................

ประวตั ิทางการแพทย์(Medical history) :

1. ผปู้ ่วยมีสขุ ภาพแขง็ แรงดี ใช่ ไม่ใช่ (ระบุ)...............................

2. ผูป้ ่วยเคยพกั รักษาตวั ในโรงพยาบาล ใช่ ไมใ่ ช่ (ระบ)ุ ....................................

3. ผปู้ ว่ ยกำลังอยรู่ ะหวา่ งการรักษาโดยแพทย์ ใช่ ไม่ใช่ (ระบ)ุ ...................................

4. ผู้ป่วยเคยไดร้ ับอบุ ตั ิเหตบุ ริเวณใบหนา้ และขากรรไกร ใช่ ไม่ใช่ (ระบ)ุ ....................

5. ผู้ป่วยกำลงั รบั ประทานยาประจำอยู่ ใช่ ไมใ่ ช่ (ระบ)ุ .....................................

6. ผู้ป่วยเคยมปี ระวัติแพย้ า ใช่ ไมใ่ ช่ (ระบุ).......................................

7. ผู้ปว่ ยเคยมปี ระวัตแิ พ้อาหาร ใช่ ไมใ่ ช่ (ระบุ).......................................

8. ผปู้ ว่ ยกำลงั ตง้ั ครรภ์อยู่ ใช่ ไม่ใช่ (ระบุ)................................

9. ผู้ป่วยเคยได้รบั การฉายรังสรี ักษา ใช่ ไม่ใช่ (ระบุ)...............................

10. ผ้ปู ว่ ยมีประวตั ขิ องโรคหรือปญั หาตอ่ ไปน้ี ไม่มี

โรคหวั ใจ โรคเลอื ด โรคไขร้ หู ์มาตคิ โรคปอด โรคตบั

โรคไต เบาหวาน ความดันโลหติ สูง โรคผวิ หนงั โรคภมู ิแพ้

โรคไทรอยด์ มะเร็ง โรคทางเดนิ อาหาร โรคผิวหนัง ข้ออกั เสบ

โรคเอดส์ หอบหืด โรคทางเพศสมั พนั ธ์ ชกั โรคทางจิต

โรคเครยี ด ความผดิ ปกตทิ างสมองและ/หรอื สตปิ ญั ญา การฟงั การพูด

การมองเห็น อ่นื ๆ (ระบุ).แพ้อากาศเยน็ จะมอี าการหายใจลำบาก ระคายคอ น้ำมกู

ประวตั ิทางครอบครวั (Family history) : ......................................................................................

ประวตั สิ ว่ นตัวและสังคม(Personal and social history) : ................................................................

ประวัตทิ างทันตกรรม(Dental history) : .............................................................……………..

ลงลายมอื ช่ือผู้ป่ วย หรือ ผู้ปกครองหากผู้ป่ วยยังไม่บรรลนุ ิติภาวะ

ลงช่อื ...............................................................ผปู้ ่วย/ผปู้ กครอง วนั เดอื นปี.......................................



สญั ญาณชีพ(Vital signs) : ความดนั โลหิต (Blood pressure) : ..........มม.ปรอท อตั ราการเต
อตั ราการหายใจ (Respiratory rate) : .....................คร้ัง/นาที อณุ หภมู ริ ่างกาย (Bo

รายงานการตรวจ(Examination report)

ซ่ีฟัน/ กำรตรวจทำงคลินกิ
ตำแหน่ง

ตน้ ของชีพจร (Pulse rate) : ..................คร้ัง/นาที
ody temperature) : ........... องศาเซลเซียส

กำรแปลผลทำงภำพถ่ำยรังสี กำรวนิ ิจฉัยโรค ทำงเลือกในกำรรักษำ



ซี่ฟัน/ กำรตรวจทำงคลนิ กิ
ตำแหน่ง

กำรแปลผลทำงภำพถ่ำยรังสี กำรวินจิ ฉัยโรค ทำงเลือกในกำรรักษำ



ซี่ฟัน/ กำรตรวจทำงคลนิ กิ
ตำแหน่ง

กำรแปลผลทำงภำพถ่ำยรังสี กำรวินจิ ฉัยโรค ทำงเลือกในกำรรักษำ



ซี่ฟัน/ กำรตรวจทำงคลนิ กิ
ตำแหน่ง


Click to View FlipBook Version