The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Asia Cleaning Service Co.,Ltd, 2021-11-09 02:39:27

คู่มือ รปภ ศูนย์ฝึกสิทธิรัตน์

รวมคู่มือ รปภ

การตดิ ตอ สอ่ื สาร

ความสาํ คัญและความหมายของการติดตอ สื่อสาร

ในการดําเนนิ กิจกรรมตาง ๆ ขององคก รหรือหนวยงานใด ๆ กต็ ามจะตองอาศัยการตดิ ตอสื่อสาร
ระหวางกัน โดยมีจุดประสงคเพื่อแลกเปล่ียนขาวสาร ขอมูล ความรู ความคิด อันกอใหเกิดความเขาใจอันดี
ระหวางกัน ดังน้ันงานดานการติดตอสื่อสารจึงเปนหัวใจสําคัญบุคคลในองคกรหรอื หนวยงานที่จําเปนจะตอง
มีความสามารถในการสื่อสารกับผูอื่นไดอยางดี ไมวาจะเปนการพูด การฟง การเขียน การอาน ตลอดจนมี
ความสามารถในการใชเครือ่ งมือสือ่ สารชนดิ ตาง ๆ ไดอยางถกู ตอง

นอกจากนี้ การติดตอส่ือสาร (Communication) ยังชวยใหการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ของ
หนวยงานเปนไปอยางถูกตองตรงตามวัตถุประสงคที่วางไว กอใหเกิดผลสําเร็จในการปฏิบัติงาน ฉะน้ัน งาน
ดานการติดตอส่ือสารจึงเปนกระบวนการที่ใชสงเร่ืองราวขาวสาร ขอความ เร่ืองและภาพ ไปมาระหวางกันทั้ง
ภายในหนว ยงาน (Internal Communication) และภายนอกหนว ยงาน (External Communication)

สรปุ การตดิ ตอ สอื่ สาร (Communication) หมายถงึ การสง ขอมูลขา วสารจากบคุ คลหนึง่ ไปยัง
บุคคลหน่ึง หรือหลายคน เพื่อใหเขาใจความหมายของขอมูลขาวสารที่ผูสงสงไป และเกิดความเขาใจอันดี
ระหวา งกัน ซ่ึงการสงขา วสารอาจอยูในรูปของการส่อื สารดวยวาจา ลายลักษณอักษร การใชกริ ิยาทาทางอยาง
หนง่ึ อยางใดกไ็ ด โดยอาศยั ชองทางในการติดตอสื่อสาร

ประเภทของการติดตอส่อื สาร

1. การติดตอสื่อสารภายใน (Internal Communication) มีวัตถุประสงคใหบุคลากรภายใน
หนวยงานไดทราบขาวคราว ความเคล่ือนไหวตาง ๆ เพื่อชี้แจง กฎ ระเบียบตาง ๆ ท่ีกําหนดข้ึน ทําได 2 วิธี
คอื

1.1 การติดตอ ดวยวาจาหรือคําพูด มีความสะดวก รวดเร็ว ประหยัดเงนิ ใหความรูสกึ เปน กันเอง
สังเกตความจรงิ ใจได และไดขอมลู ยอนกลับทนั ที

1.2 การติดตอดวยลายลกั ษณอ กั ษร เปน ทางการและมีหลักฐานชัดเจน สามารถอานทวนความ
ไดท กุ เวลาหรอื สถานท่ี

การตดิ ตอส่อื สารภายใน สามารถแบง ได 3 ลกั ษณะ คือ
1) การติดตอส่ือสารในระดบั เดียวกัน ไมเปนพิธีการ งายแกก ารเขาใจ
2) การติดตอสือ่ สารจากเบื้องบนสูเบอื้ งลา ง เปน พิธกี าร และมกั เปน การสอ่ื สารทางเดียว
3) การติดตอส่ือสารจากเบ้อื งลางสูเบอ้ื งบน เปนพิธกี ารเชน เดียวกนั การสื่อสารจากบนสูล า ง
2. การติดตอส่อื สารภายนอก (External Communication) คือ การตดิ ตอสือ่ สารระหวาง
สํานักงานกับบุคคลภายนอกหรือหนวยงานภายนอกสํานักงาน ลักษณะของการติดตอ ส่ือสารภายนอกไดแ ก
2.1 การตอ นรับ
2.2 การนัดหมาย
2.3 จดหมายออก และจดหมายเขา
2.4 โทรศพั ท โทรสาร และจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส

-2-

2.5 การใชบ ริการจากบริษัท กสท. โทรคมนาคม จาํ กดั
2.6 การใชบรกิ ารบรษิ ัทไปรษณยี ไทย
2.7 การใชบรกิ ารส่ือมวลชนตา ง ๆ
2.8 สงิ่ ตีพมิ พของบริษทั
2.9 คาํ ปราศรัย
2.10 ขอ ความโฆษณา

รปู แบบของการติดตอสื่อสาร
หนว ยงานขนาดเล็กมักจะใชรูปแบบการติดตอส่อื สารทางเสียงหรือคําพดู สวนหนวยงานขนาดใหญมัก

ใชรปู แบบการตดิ ตอ สือ่ สารไดค รบทกุ ดาน ซ่ึงอาจแบง รูปแบบการตดิ ตอส่อื สารในหนว ยงานได 4 ชนดิ คอื
1. เสียงหรือคําพูด นิยมใชโทรศัพทในการติดตอส่ือสาร โดยเฉพาะระบบโทรศัพทตอบรับ จะชวย

ลดตนทุนพนกั งานในการรบั โทรศัพท และเกิดความรวดเร็วในการใหบรกิ าร นอกจากน้ียงั มีเคร่ืองบนั ทึกเทปท่ี
ใชบ นั ทึกคาํ พูดสั่งการของผบู ังคบั บญั ชาอีกดวย

2. คํา เปน รูปแบบการติดตอสอ่ื สารดว ยลายลกั ษณอ ักษรหรอื การเขยี นน่ันเอง
3. ภาพ เปนรูปแบบการติดตอสื่อสารที่ถายทอดในรูปแบบไรคํา ไรเสียง และไรตัวเลข แตเปนการ
ส่อื สารดว ยภาพ หรอื สญั ลกั ษณตาง ๆ
4. ขอมูล เปนรูปแบบการติดตอสื่อสารท่ีใชเครื่องคอมพิวเตอรเปนชองทางในการติดตอระหวาง
กัน ถาเปนการติดตอส่ือสารภายในหนวยงานเดียวกันเรียกวา ระบบอินทราเน็ต (Intranet) ถาเปนการ
ตดิ ตอสือ่ สารภายนอกหนวยงานไปยังเครือขา ยท่ัวโลก เรยี กวา ระบบอินเทอรเน็ต (Internet)
หลักเกณฑในการติดตอส่ือสารดวยคําหรือการเขียนเปนลายลักษณอักษรมีหลักในการเขียนที่เรียกวา
7 C's ดังนี้
1. มคี วามชัดเจน (Clarity)
2. มีความสมบรู ณ (Completeness)
3. มีความรดั กุมและเขาใจงาย (Conciseness)
4. ระลึกถึงผูอาน (Consideration)
5. มีความสภุ าพ (Courtesy)
6. มีความถูกตอ ง (Correct)
7. ขอ เท็จจรงิ (Concreteness)
หลกั เกณฑก ารตดิ ตอส่อื สารดวยเสียงหรือการพดู
หลักเกณฑก ารพดู ทดี่ ี
1. ผูพดู ควรสรา งบรรยากาศในการพูด โดยยกตวั อยา งประกอบการพดู เพื่อสรางความสนใจ
2. หลีกเล่ียงการถอมตวั จนมากเกินไป หรือตาํ หนผิ ูฟง สถานท่ี หรอื กลาวถงึ บุคคลอื่น
3. ไมควรแสดงอารมณโกรธ หรอื ไมพอใจผฟู ง โดยเดด็ ขาด
4. ใชภ าษางาย ๆ แตส ภุ าพ
5. ควรมีอารมณข ันขณะพูด

-3-

หลักเกณฑการฟงท่ดี ี
1. ขณะฟง ตองฟงอยา งต้ังใจ จับประเดน็ เนอื้ หาสาํ คญั ใหได
2. ตองรูจักสังเกตอากัปกริ ิยาทาทาง ความรสู ึกและอารมณของผูพดู
ดังน้ัน ในการติดตอส่ือสารดวยเสียงหรือคําพูดนั้น ทั้งผูพูดและผูฟงจะตองใหความรวมมือกัน
ทั้งสองฝา ย กลาวคอื จะตอ งเปนท้ังผูพดู และผูฟงท่ดี ี

การใชโ ทรศัพทในการตดิ ตอ สื่อสาร
เทคนิคและอัธยาศยั พ้นื ฐานในการใชโทรศัพท
1. การรบั โทรศัพท (Answering calls) ในการรบั โทรศัพทท กุ ครงั้ พึงปฏบิ ัติดงั น้ี

1.1 รีบรบั ทันที
1.2 กลาวคําทกั ทาย “สวัสดีคะ/ครบั
1.3 พดู ดวยเสยี งแสดงนาํ้ ใจ บอกช่อื สถานที่ หมายเลขโทรศัพท
1.4 เสนอความชวยเหลือทันที “จะใหดฉิ ัน / ผม ชว ยอะไรไดบ า งคะ/ครบั ”
1.5 เตรียมจดบันทึกดว ยทกุ ครั้ง
1.6 ถามตอบอยางสมเหตสุ มผล
1.7 ทวนเร่อื งราวท่เี ปนสาระสาํ คัญดว ยทุกครั้ง เชน หมายเลขโทรศพั ททีฝ่ าก
1.8 แสดงความขอบคณุ ดวยทกุ คร้ัง
1.9 กลา วคาํ อําลากอนวางหู “สวัสดคี ะ /ครบั ”
2. การเรียกโทรศัพท (Make calls) ในการเรยี กโทรศพั ททกุ ครั้งพงึ ปฏบิ ตั ดิ งั นี้
2.1 ใหแ นใ จวา มีหมายเลขที่ตอ งการเรยี กพรอมอยูแลว
2.2 มีกระดาษ ดนิ สอ หรือปากกา พรอ มทีจ่ ะบันทกึ
2.3 ยกหูโทรศัพทดวยมือขางที่ไมใ ชบนั ทกึ
2.4 กดหมายเลขทตี่ อ งการ
2.5 ทกั ทาย
2.6 แนะนาํ ตัวทาน
2.7 ขอทราบชอ่ื และสถานทขี่ องอกี ฝายหนงึ่
2.8 แจง เหตผุ ลในการเรียกมา
2.9 จดบนั ทึก
2.10 ขอบคุณ กลา วคําอําลา และวางหโู ทรศพั ท
ขอ ควรระวังในการใชโทรศพั ท
๑. อยาใชคําวา “Hello” เมื่อรับ หรือ เรียก เน่ืองจากคําวา “hello” มักจะทําใหผูรับสับสน
ไมส รา งความหมายใด ๆ ในการเริ่มตนทางโทรศัพท และบางครง้ั ทําใหเ สยี อารมณ และความรสู ึกไดดวย
๒. ใช “Hello” ไดในกรณีที่จะเรมิ่ สนทนาตอ หลงั จากตอ งหยดุ การสนทนาช่ัวคราว หรือในกรณี
ทอ่ี ยากทราบวาผูพ ดู อกี ฝายหนงึ่ ยงั ตดิ ตามการสนทนาอยูหรือไม
๓. ไมด ดั เสียงหรอื ใชศ พั ทแ สลง หรอื การพดู ลอ เลนกบั อกี ฝายหนงึ่ ในขณะพูดเรอื่ งงาน
๔. ไมควรใชคําวา จะ จา นะฮะ กบั บุคคลท่ีไมใชญ าติ หรอื เพ่ือนสนิท
๕. ไมพูดตอเนื่องอยูแตฝายเดียวโดยไมปลอยใหอีกฝายหน่ึงพูด หรือพูดขัดจังหวะในขณะที่
อกี ฝายหนง่ึ กําลังพดู อยู
๖. ไมห ยุดไปคุยกบั คนอื่นในขณะกําลังพูดโทรศพั ท

-4-

๗. ไมควรใชโทรศพั ทพ ดู เรอ่ื งสวนตวั เปน เวลานาน โดยเฉพาะอยางย่งิ ในเวลาทาํ งาน
๘. อยา รีบรอนในการพูดโทรศัพท
๙. อยา หายใจแรง ๆ เพราะเสียงหายใจจะเหมือนเสยี งถอนใจ ทาํ ใหผ ูฟ ง เขาใจผิดได

คุณสมบตั ิทด่ี ีในการพูดโทรศพั ทข องผใู หบรกิ าร ควรมีดังนี้
๑. ไมโกรธเมอ่ื มีผูโทรศพั ทมาผิด
๒. อดทนกับผทู ี่พูดจาวกวนไมร เู รื่อง หรอื พดู ตอความยาวสาวความยดื ควรใชวธิ ตี ัดบทให
นุม นวล ไมกระแทกเสยี งเมอ่ื พดู ไมเ ขา ใจกัน และไมกระแทกหโู ทรศพั ทห รือวางลงโดยแรงเม่ือไมพอใจ
๓. อยาอารมณเสียเม่อื มีงานลน มอื แลว ไประบายออกขณะพดู โทรศัพท
๔. ตง้ั ใจไวใ หม ัน่ คง จะไมตอวาหรอื โกรธผโู ทรศพั ทมารบกวนแมจ ะมีงานมากก็ตาม
๕. แมว าจะมีงานลน มือ หรือกําลังยุงในขณะรับโทรศพั ท ตองไมแ สดงใหผูท โี ทรศพั ทม ารวู าเรา
กําลังยงุ อยูไมมเี วลามากสําหรับเขา
๖. ยิม้ เสมอเวลาพดู โทรศพั ทจ ะทําใหน ํา้ เสียงเปนกนั เอง และนุมนวลไพเราะ
๗. หากอารมณห งุดหงดิ ตอ งพยายามขมสตคิ ิดแตส ิง่ ดี ๆ เสยี กอ นทจ่ี ะรบั โทรศัพท

ทกั ษะพืน้ ฐานนาํ ไปสคู วามประทบั ใจ การติดตอทางโทรศัพทจ ําเปนตอ งอาศยั ทกั ษะบางประการ
เพือ่ ชวยใหเกดิ บรรยากาศอนั ดี ไดแ ก
1. นาํ้ เสียง (tone of voice)
2. ความจริงใจ ความอุนใจ (sincerity, warmth)
3. ความชัดเจนในถอ ยคาํ (clarity of speech)
4. ความสมเหตุสมผล (logical presentation)

การส่อื สารทีด่ ี ที่ใชภ าษาดอกไมมี 7 ประการดังนี้
1. พูดใหช ัดเจน (clear)
2. พูดใหไ ดใ จความถกู ตอง (correct)
3. พูดใหส น้ั (concise)
4. พจิ ารณาวา ผูอ่ืนทาํ ตามไดหรือไม (consider)
5. สภุ าพ (courteous)
6. พยายามใหผอู ่ืนเขาใจเราใหได (concrete)
7. ขอ ความตอ งสมบรู ณ ครบถวน (complete)

การใชวิทยใุ นการติดตอส่อื สาร
หลกั การใชวิทยุส่อื สาร
1. กอนจะใชว ิทยุใหสาํ รวจวา วทิ ยุของทานอยูในสภาพที่พรอ มจะใชงานหรือไม
2. ควรใชวิทยุใหหางจากปากประมาณ 1 ฝามือ (บางคนใชวิทยุหางจนสุดชวงแขนทําใหเสียงที่
ออกไปเบามากท้ังที่สญั ญาณคล่ืนสงออกไปเตม็ และบางคนพูดวิทยุใกลปากมากเกินไป จนไดยินเสียงหายใจดัง
ออกอากาศ บางคนพูดกอนกดคียและปลอยคียกอนจบ ขอความจึงไมสมบูรณ บางคนปลอยคียชา ทําใหคู
สถานไี มส ามารถตอบไดท ันทีทําใหเ สยี เวลา)

-5-

3. การใชเครื่องรับสงวิทยุมือถือใหถูกตองและติดตอไดไกลนั้นจะตองดึงสายอากาศออกใหยาว
ที่สดุ และอยใู นแนวดงิ่

4. ควรใชวิทยุในท่ีโลงแจงใหหางจากอาคาร ตนไม และสิ่งกีดขางอื่น ๆ อยางนอย 5 เมตร
โดยเฉพาะอาคารและสิ่งกีดขวางน้ันมีโลหะและมีโครงเหล็กเปนการกอสรางควรอยูบนเนินหรือที่สูงที่สุดเทาท่ี
จะทาํ ไดอ ยใู นหุบเขาหรือซอกตกึ ไมอยูใตส ายไฟแรงสูง หรือสายโทรศัพทภ ายในรศั มี 10 เมตร

ความปลอดภยั ในการใชว ทิ ยุส่อื สาร
เพือ่ ใหทํางานไดอยา งมปี ระสิทธิภาพและปลอดภยั ในการใชเครื่องวิทยสุ อ่ื สาร คือ
1. ควรอานขอมูลจากคมู ือการใชงานกอ นจะเร่ิมใชวิทยสุ ่อื สาร
2. ในการสงสญั ญาณ ( พูด ) ตองการปมุ PTT ในการรบั สญั ญาณ ( ฟง ) ตองปลอยปมุ PTT
ออกมา
3. ในขณะท่ีใชวทิ ยุส่อื สาร ควรถือวทิ ยสุ ่ือสารในแนวตั้ง โดยใหไมโครโฟนอยูหางจากริมฝป าก
ประมาณ 1 – 2 น้วิ
4. ในการสงสญั ญาณ ใหกดปุม PTT คา งไวป ระมาณ 0.5 วนิ าที แลวคอยทาํ การสง สัญญาณ

ขอปฏิบัติและมารยาทในการใชว ทิ ยสุ อ่ื สาร
1. ใชขอความสั้น ๆ กะทัดรดั ไดใจความ ไมใชขอความเกินความจําเปน และไมควรเปลี่ยนแปลง
โคด ว. ไปลกั ษณะเชงิ พดู เลน
2. ตอ งใชภาษาราชการหรอื ภาษาไทยกลางเทาน้ัน ไมใชภ าษาทองถิ่นถงึ แมค ูสถานี (ผูทเ่ี รากําลัง
ติดตอทางวิทยุดวย) จะเปนคนทองถ่ินเดียวกัน เพราะผูฟงอ่ืนไมเขาใจไดทั้งหมดเปนการแบงพรรคแบงพวก
แบง เชือ้ ชาติ เปน ทางใหเกิดความแตกแยกสามคั คี
3. ตองใชเฉพาะความถี่ที่หนวยงานของตนไดรับอนุญาตเทาน้ัน เพราะการออกนอกความถ่ีอาจ
ไปรบกวนความถตี่ า งขายงาน ทาํ ใหเ กิดความเสยี หายแกหนว ยงานอืน่ ๆ ได
4. ตองขออนุญาตสถานีควบคุมขายกอนเม่ือจะติดตอสื่อสารกันโดยตรง การติดตอโดยตรง
ระหวางลูกขาย ตองแจงแมขายทราบ ไมสมควรเรียกเขาตางขายงานดวยตนเอง (ยกเวนกรณีฉุกเฉินรอไมได)
เพราะนามเรียกขานอาจซาํ้ กบั ลกู ขา ยน้นั
5. ตองไมใชชอ งส่ือสารในขณะท่ียังมีการรับ สงขาวสารกันอยู ไมควรเรียกแทรกเขาไปในขณะท่ี
การรับสงขาวสารในความถ่ีน้ัน ยังไมเสร็จส้ิน เพราะอาจทําใหเสียหายตอทางราชการ (ยกเวนการแจงเหตุซ่ึง
สามารถกระทําไดทันทีจะไดกลาวถึงในชวงตอไป) กอนที่จะติดตอทางวิทยุใหยกข้ึนมาแนบหูฟงดูกอนวาคล่ืน
ความถ่ีของคสู ถานีทเี่ ราตองตดิ ตอ นนั้ วางหรือไม
6. ตองไมสงเสียงเพลง เสียงดนตรี หรือรายการโฆษณา ประชาสัมพันธ หรือเสียงแปลก
ประหลาดออกอากาศ หรือชอบทําคียค างบอย ๆ เปนประจาํ คงเปนการจงใจใหคา งเปน แน ๆ การประชาพันธ
บนความถ่ที ําไดเฉพาะสถานคี วบคมุ ขาย และโดยพนักงานวทิ ยุที่ปฏิบตั ิหนา ทเ่ี ทาน้นั

-6-

ข้ันตอนการตดิ ตอ สื่อสาร
1. การติดตอ สื่อสารโดยท่วั ไปเรียกศนู ยฯ ทีส่ ังกดั

- การเรียกขาน / การตอบ
- ใชน ามเรยี กขานทกี่ ําหนด
2. แจงขอความ / วตั ถปุ ระสงค / ความตอ งการ
- ส้นั กะทดั รัดชัดเจน ไดใจความ
- ใชประมวลสัญญาณ ว. ทกี่ ําหนด
3. จบขอ ความลงทา ยคําวา เปล่ยี น

การรับ / แจงเหตุฉกุ เฉนิ
1. เมื่อพบเหตุหรือตองการความชวยเหลือใหแจงศูนยฯ ที่สังกัดหรือสัญญาณ ท่ีสามารถ
ตดิ ตอ สือ่ สารได
2. เตรยี มรายละเอียด (ใคร ทาํ อะไร ที่ไหน เม่ือไรอยางไร) ของเหตุเพ่ือจะไดแ จงไดท ันที
3. เม่ือแจงเหตุแลวควรเปดเคร่ืองรับ – สงวิทยุใหพรอมไวเพื่อจะไดฟงการติดตอประสานงาน
รายละเอียดเพม่ิ เตมิ
4. เมื่อแจงเหตแุ ลวควรรายงานผลคบื หนาในการประสานงานเปน ระยะ
5. เม่ือมีผแู จงเหตุแลว ไมค วรสอดแทรกเขาไป ควรฟง อยา งสงบเพ่ือมิใหเ กดิ การรบกวนและความ
สับสน
มารยาทและขอหามการใชวิทยุส่ือสาร
1. ไมต ิดตอ กับสถานที ่ีใชนามเรียกขานไมถ ูกตอง
2. ไมสง ขาวสารท่เี ก่ียวกับขา วทางธรุ กจิ การคา
3. ไมใชถ อ ยคําท่ไี มสภุ าพ หรือหยาบคายในการติดตอสื่อสาร
4. ไมแ สดงอารมณโ กรธในการตดิ ตอ ส่ือสาร
5. หามการรับสง ขา วสารอนั มีเนอื้ หาละเมดิ ตอ กฎหมายบานเมอื ง
6. ไมสง เสยี งดนตรรี ายการบันเทงิ และการโฆษณาทุกประเภท
7. ใหโ อกาสสถานที ีม่ ีขา วสําคัญ เรง ดว น ขา วฉกุ เฉนิ สงขา วกอ น
8. ยินยอมใหผอู นื่ ใช,เครื่องวิทยคุ มนาคม
9. หา มติดตอสื่อสารในขณะมึนเมาสรุ าหรอื ควบคุมสติไมไ ด
10. ในกรณีท่มี ีเรื่องเรงดวนตองการสงแทรกหรือขัดจังหวะการสง ขาวควรรอจงั หวะทค่ี ูสถานี
จบขอความทสี่ าํ คัญกอนแลวจึงสง
การใชและการบํารงุ รักษาเคร่ืองวิทยุคมนาคม
เครอื่ งรบั – สงวิทยุคมนาคม
1. การใชเคร่อื งวทิ ยุคมนาคมชนิดมือถือไมค วรอยูใตส ายไฟฟาแรงสูง ตน ไมใ หญสะพานเหลก็ หรือ
สิ่งกาํ บังอยางอ่ืนทเ่ี ปนอปุ สรรคในการใชความถว่ี ิทยุ

-7-

2. กอนใชเครื่องวิทยุคมนาคม ใหตรวจดูวาสายอากาศ หรือสายนําสัญญาณตอเขากับข้ัว
สายอากาศเรยี บรอยหรอื ไม

3. ขณะสงออกอากาศไมค วรเพ่มิ หรือลดกาํ ลงั สง (HI – LOW)
4. ในการสงขอความ หรือพูดแตละครั้งอยากดสวิทซ (PTT) ไมควรสงนานเกินไป (เกินกวา 30
วินาที)
แบตเตอรี่
1. แบตเตอรี่ใหมใหทําการประจุกระแสไฟฟาคร้ังแรกนานประมาณ 16 ช่ัวโมง กอนการนําไป
ใชงาน ใหน าํ แบตเตอรอ่ี อกจากเคร่ืองประจแุ บตเตอรจี่ นกวา แบตเตอรจี่ ะเย็น จึงจะนาํ แบตเตอรีไ่ ปใชง านได
2. แบตเตอรี่ (NICKEL CADMIUM) ตองใชง านใหห มดกระแสไฟฟา จึงจะนําไปประจกุ ระแสไฟฟา
ได
3. การประจุกระแสไฟฟาหลังจากกระแสไฟฟาตามขอ 2 หมดแลวใหนําไปทําการประจุ
กระแสไฟฟา ใหมตามระยะเวลาใชงานแบตเตอร่ี
4. ไมค วรชารจ แลวเก็บทงิ้ ไวโดยไมใชงานเปน เวลานานๆอาจทําให แบตเตอร่ชี ํารดุ ได
5. ถาแบตเตอรี่ใชงานไมหมดกระแสไฟฟา ไมควรทาํ การประจุกระแสไฟฟาเนอื่ งจากจะทําให
แบตเตอรี่เสื่อมสภาพเรว็ กวากาํ หนด (NICKEL CADMIUM)
6. ถาแบตเตอร่สี กปรกท้งั ที่ตวั เครื่องรบั – สง และขว้ั แบตเตอร่ใี หทาํ ความสะอาดโดยใชยางลบ
สาํ หรบั ลบหมึกทําความสะอาด
7. หากไมใชเครอื่ งวทิ ยุเปน เวลานานหลายวันควรถอดแบตเตอรีแ่ ยกจากตัวเคร่ืองเกบ็ ไวห างกนั
เพราะไอระเหยของสารเคมใี นแบตเตอร่ีจะเขาไปทาํ ลายแผงวงจรภายในเคร่อื งได
สายอากาศ
1. ความยาวของสายอากาศจะตอ งสัมพนั ธกบั ความถวี่ ิทยุท่ใี ชงาน
2. สายอากาศชนดิ ชกั ตอ งชักสายอากาศใหสดุ ในขณะใชง านและเก็บทลี ะทอน
3. อยาจับสายอากาศในขณะท่ีวิทยุสื่อสารอยูระหวางการใชงาน เพราะการจับสายอากาศ
มีผลกระทบตอคุณภาพของสายอากาศและอาจเปนสาเหตุใหวิทยุคมนาคมทํางานท่ีระดับพลังงานสูงกวา
ทจี่ าํ เปนได
การพกพาเคร่ืองวิทยุ
1. วิทยสุ ือ่ สารใหใ ชไ ดเฉพาะพื้นท่ีที่ไดร บั อนุญาต
2. การพกพาเครื่องวิทยุชนิดมือถือตองนําใบอนุญาตติดตัวไปดวย หรือถายสําเนาและมีการ
รบั รองสาํ เนาดว ย
3. การพกพาเครอื่ งวทิ ยเุ ขา ไปในสถานทีต่ างๆควรพจิ ารณาถึงสภาพของสถานท่ีดวยวา ควรปฏิบัติ
อยา งไรเชน ในหอ งประชุมในรา นอาหาร ถา จําเปนควรใชหูฟง
4. ขณะพกพาวิทยุควรแตง กายใหเ รยี บรอยและมิดชดิ โดยสุภาพ
5. ในกรณที ่ีมีเจา หนา ที่ขอตรวจสอบ ควรใหค วามรว มมือโดยสภุ าพ



หลักการใชก ําลัง

ความหมายของการใชก าํ ลัง
หมายถึง แนวทางในการริเร่ิมใชกําลังหรืออาวุธ โดยเจาหนาที่ในการปฏิบัติหนาที่ ใหมีความ

เหมาะสมกับสถานการณ กฎหมาย และผลสัมฤทธิใ์ นการควบคุมเหตุการณ

ความสําคัญของการใชก ําลัง
1. มคี วามจําเปนในการใชกําลัง หรอื อาวุธใหพ อสมควรแกเหตุ ภายใตก รอบของกฎหมาย
2. ในการใชกําลังหรืออาวุธ หากไมถูกตองตามหลักในการแกไขปญหา อาจทาํ ใหเกดิ เหตุการณ

รนุ แรงทําใหเจาหนาที่ เหยอ่ื หรือประชาชนเสยี ชีวติ บาดเจ็บโดยไมจําเปน
3. การเขา จดั การกับเหตุคบั ขันตาง ๆ น้ัน หากใชก าํ ลงั รนุ แรงทนั ที อาจทาํ ใหก ารแกปญหายากข้นึ
หมายเหตุ ตองใชก าํ ลังเทาท่จี ําเปน เทานน้ั และตองไมใชก ําลังเกนิ กวาเหตุโดยเด็ดขาด

การปองกนั ตัวตามกฎหมาย
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 68 บัญญัติวา "ผูใดตองกระทําการใดเพ่ือปองกันสิทธิของตนหรือ

ของผูอื่น ใหพนภยันตรายซ่ึงเกิดจากการประทุษรายอันละเมิดตอกฎหมาย และเปนภยันตรายที่ใกลจะถึง
ถาไดกระทําพอสมควรแกเหตุ การกระทําน้ันเปน การปองกนั ตัวโดยชอบดว ยกฎหมาย ผนู ้ันไมม ีความผดิ "

หลักเกณฑข องการ ปองกนั ตัวโดยชอบ ดว ยกฎหมาย
1. มีภยนั ตรายซ่ึงเกิดจากการประทษุ รายอันละเมิดตอกฎหมาย คือ

- ภยันตรายท่ีเกิดข้ึนนั้นผูกระทําไมมีอํานาจตามกฎหมายที่จะกระทําได หากผูกระทํามีอํานาจท่ี
จะกระทาํ ได ก็ไมมสี ิทธปิ อ งกัน

- ผูที่จะอางปองกันโดยชอบดวยกฎหมายน้ัน จะตองไมมีสวนผิดในการกอใหเกิดภยันตรายข้ึน
ดว ย แตถาผจู ะอา งปองกนั นน้ั มีสว นกอ ใหเ กิดภยันตรายนน้ั กไ็ มส ามรถอา งปอ งกันได

2. ภยันตรายซ่ึงเกิดจากการประทุษรายอันละเมิดตอกฎหมายน้ัน จะตองเปนภยันตรายท่ีใกลจะถึง
คือ ภยันตรายท่ีเกิดขึ้นนั้นกระช้ันชิดถึงขนาดท่ีหากไมปองกันตัวในขณะนั้น ก็อาจจะเกิดอันตรายแกตนเอง
หรอื ผอู นื่ ได

3. ผกู ระทาํ จาํ ตองกระทาํ การเพ่ือปองกนั สิทธิของตนหรอื ของผอู ื่น ใหพน จากภยันตรายนั้น
4. การกระทําปองกันตัวตามสมควรแกเหตุ คือ แมกฎหมายจะใหสิทธิแกประชาชนผูประสบ
อันตรายปองกันตนเองได แตก็ไมไดใหเสียจนหาขอบเขตไมได จนกลายเปนการปองกันผสมกับความโกรธ
แคน บันดาลโทสะ หรือสะใจ เชน เมื่อมีผูรายถือมีดจะทํารายทาน ทานไดตอบโตจนผูรายไมสามารถจะถือ
มีด หรือไมสามารถจะแทงทานไดอีกแลว ถือวาภยันตรายไดผานพนไปแลว ถาทานซํ้าเติมอีก จะถือวาเกิน
กวาเหตุ
ในกรณีท่ีใชเครื่องทุนแรงในการปองกันตัว เราจะสามารถใชไดขนาดไหน เพียงไรนั้น มีทฤษฎีที่
สําคญั 2 ทฤษฎี คือ

-2-

1. ทฤษฎีสวนสัด คือ ตองพิจารณาวาอันตรายที่จะพึงเกิดขึ้นหากจะไมปองกันจะไดสวนสัดกับ
อนั ตรายท่ีผูกระทําไดกระทํา เนื่องจากการปองกันนั้นหรือไม เชน มีคนมาตบหนาทาน ทานจะใชมดี แทงเขา
ตายไมได เพราะความเจ็บเนื่องจากถูกตบหนา เมื่อมาเทียบกับความตายแลว ไมมีสวนสัดกัน ดังนั้น การเอา
มดี แทงเขาตาย เปน การกระทาํ ท่เี กนิ สมควรแกเ หตุ ผกู ระทาํ ไมม อี ํานาจกระทาํ ได

2. ทฤษฎีวิถีทางนอยที่สุด ตามทฤษฎีน้ีถือวาถาผูกระทําไดใชวิธีทางนอยที่สุดท่ีจะทําใหเกิด
อนั ตราย ก็ถือวาผูกระทําไดกระทําไปพอสมควรแกเหตุแลว เชน ดําเปนงอยไปไหนไมได แดงจึงเขกศีรษะดํา
เลน โดยเห็นวา ดําไมมีทางกระทําตอบแทนไดเลย ดําหามปรามเทา ใด แดงกไ็ มเช่ือฟง ถาการท่ี ดําจะปอ งกัน
มใิ ห แดงเขกศีรษะมีวิธีเดียว คือใชมีดแทงแดง ตองถือวา การท่ีดําใชมีดแทงนี้เปนการกระทําไปพอสมควรแก
เหตุ เพราะเปน วถิ ีทางนอยทส่ี ุดท่จี ะปอ งกนั ได

ลกั ษณะบุคคลเปาหมาย 3 ประเภท
๑. ผูทใ่ี หความรว มมือ
๒. ผขู ดั ขนื
- แบบเงียบ
- แบบขึงขัง
3. ผูเขาทาํ ราย

ทางเลือกเก่ียวกับระดบั กาํ ลังทีใ่ ช
๑. การปรากฏตวั ของเจา หนาที่
๒. การใชว าจาหรือคําสง่ั
3. เทคนิคการควบคมุ ทางกายภาพ ไดแก การควบคมุ มือเปลา การกดจุด การใสเ ครื่องพันธนาการ
4. เทคนิคการตอบโตอ ยางรุนแรง ไดแก การเตะ การชก การทมุ การใชสารเคมีทท่ี าํ ใหเ กดิ การ

ระคายเคือง
5. การใชอาวธุ ท่ีไมเ ปนอันตรายถงึ ตาย ไดแ ก การใชกระบองตี การยิงดวยกระสนุ ยาง การยิงดวย

เครื่องชอตไฟฟา
7. การใชก ําลงั ข้ันเด็ดขาด ไดแ ก อาวธุ ปน

ขอ พจิ ารณาในการใชกาํ ลงั ข้ันถึงตาย
- เพือ่ ปองกันชีวติ ตนเองหรือผอู น่ื ซึ่งจะถึงอันตรายแกชีวติ ในขณะนนั้ โดยไมเ กินกวาเหตุ
- คาํ นงึ ถงึ ความเสย่ี งหรืออนั ตรายท่ีอาจเกิดขึ้นกับ
* เจาหนา ทผ่ี ูป ฏิบัติ
* ประชาชนรอบขา ง
- ตองเปนทยี่ อมรบั และสามารถตอบคําถามของ สงั คม สือ่ มวลชน และกระบวนการยตุ ธิ รรมได

สภาวะการทํางานภายใตค วามตรึงเครียด

-3-

คือ การทํางานในสภาวะท่ีมีความสับสนทางอารมณหรือทางจิตใจ ที่เกิดขึ้น โดยเปนการตอบสนอง
ตออิทธิพลภายนอกที่เปนปรปกษท่ีสามารถจะสงผลตอสุขภาพทางกาย ซึ่งปรกติแลว จะถูกแสดงออกในรูป
ของอัตราการเตนของหัวใจที่ถี่ข้ึน ความดันโลหิตที่สูงขึ้น ความตึงเครียดของกลามเนื้อ ความหงุดหงิด
ฉนุ เฉยี ว โกรธงา ย และความหดหู

สาเหตขุ องความตึงเครียด
1. เก่ยี วขอ งกบั งาน :

- ไมม ีเวลาพัก
- งานมากเกนิ ไป
- ถูกตาํ หนิ, คาํ รองเรยี น
2. ไมเ กยี่ วของกบั งาน:
- ปญ หาทางครอบครัว
- เศรษฐกจิ , การเงนิ
- ปญหาดานสขุ ภาพ
ปจ จัยตางๆ ทีเ่ พิ่มความตึงเครียด
1. เหตกุ ารณท่ีเผชิญอยูตองใชกาํ ลงั ข้ันเดด็ ขาด
2. ภยั คุกคามที่ประชิดตวั
3. เวลาซง่ึ จําเปนในการความคุมภัยคกุ คามนน้ั มอี ยจู ํากัด
4. เจาหนา ที่ไมม่ันใจในความสามารถในดานตาง ๆ ของตนเอง
5. เจาหนาท่ไี มเ คยประสบกับภยั คุกคามประเภทนี้มากอน
การเปลีย่ นแปลงของรา งกายภายใตภาวะความตรึงเครียด
1. การทํางานของตอมอดรนี าลนิ เพมิ่ ขึ้น
2. อตั ราการเตนของหวั ใจถีข่ ึน้
3. การหายใจเขา -ออกถี่ขนึ้
4. การไหลเวียนของหลอดเลือดถกู เปลย่ี นเสน ทาง
5. ลูกตาดาํ ขยาย
6. สญู เสยี การไดย ิน
ความเปล่ียนแปลงดา นการปฏิบัติ
การสญู เสีย :
- ทกั ษะการเคล่ือนไหวที่ประณีตละเอยี ดออนและซบั ซอน
- ทศั นวิสัยโดยรอบ
- การรับรูเกย่ี วกบั ความลกึ
- ทัศนวสิ ยั เกีย่ วกบั ความใกล/ไกล
- ตองใชเวลามากขนึ้ ในการที่จะโตต อบ

-4-

วธิ ีตา งๆ ในการลดผลท่ีเกิดจากความตึงเครียด
- เพมิ่ ความมน่ั ใจของเจาหนาท่ี ในทกั ษะตางๆ ของการรกั ษาตัวรอด
- ใหประสบการณในการเรยี นรูเกย่ี วกบั การรักษาตัวรอดแกเ จาหนา ท่ี
- นําการหายใจเชงิ ยุทธวธิ ไี ปปฏบิ ัติ (หายใจเขา ทางจมูก หายใจออกทางปาก)
- สรา งจติ สาํ นึกของความไววางใจซึ่งกันและกนั ขน้ึ ในกลมุ ของเจา หนา ท่ี



การปฐมพยาบาลเบ้อื งตน

๑. หลกั การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน และการปฐมพยาบาลบาดแผล

การปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาล หมายถึง การชวยเหลือผูปวยหรือผูบาดเจ็บเปนการฉุกเฉิน กอนท่ีจะไดรับการ

รักษาทางการแพทย การปฐมพยาบาลจงึ เปนการชว ยเหลือช่ัวคราวระหวา งรอคอยการรักษาจากแพทย ในราย
ทีบ่ าดเจ็บรุนแรง การปฐมพยาบาลอาจเปนส่ิงท่ชี ว ยใหผปู ว ยเจ็บรอดชีวิตได

จุดมงุ หมายของการปฐมพยาบาล
1. เพอื่ ชว ยชวี ิตยามฉกุ เฉิน
2. เพอ่ื ปอ งกันไมใหบาดเจบ็ หรอื ไดรบั อนั ตรายมากข้ึน
3. เพ่อื ปอ งกันไมใ หเกิดส่งิ แทรกซอ นภายหลงั

เหตุฉุกเฉนิ 4 ประการ ทจ่ี ะทําใหผปู ว ยเจ็บเสียชีวิตไดอ ยางรวดเรว็ หากไมไดรบั การปฐมพยาบาลทันที ไดแ ก
1. การหยุดหายใจ
ทําใหรางกายขาดออกซิเจน และจะเสียชีวิตภายในไมก่ีนาที ผูปฐมพยาบาลจึงตองรูวิธีการ

ผายปอด ซง่ึ วธิ ีท่งี ายและไดผ ลดีทส่ี ุด คือ การเปา ลมหายใจเขาปอดทางปากหรอื จมูก
2. หัวใจหยุดเตน
ทาํ ใหไ มมีการสูบฉีดเลือด สําหรับนําออกซิเจนไปเลีย้ งรางกายท่ัวไป ผูปฐมพยาบาล จําเปนจะตอง

รวู ิธสี ําหรับแกไขทาํ ใหมกี ระแสเลอื ดไหลเวยี นในรา งกาย คอื การนวดหวั ใจภายนอก
3. การเสียเลอื ดจากหลอดเลอื ดใหญข าด
ทําใหเลือดไหลออกจากรางกายอยางรวดเร็ว และจะทําใหเสียชีวิต ผูปฐมพยาบาลจึงตองรูวิธีการ

หา มเลือด
4. ภาวะชอ็ ก
เปนการตอบสนองของศูนยประสาทสวนกลางในสมองของรางกาย ที่ถูกกระตุนดวยความรูสึก

ท่ีสงมาจากตําแหนงที่บาดเจ็บ อาจมีความกลัวและความตกใจ รวมดวย ภาวะช็อกจะมีความรุนแรงมาก ถามี
การสูญเสียเลือดหรือน้ําเหลือง (ในรายมีแผลไหม) ช็อกอาจทําใหเสียชีวิตไดท้ังที่บาดเจ็บไมรุนแรงนัก ดังน้ันผู
ปฐมพยาบาลจงึ ตองรวู ิธกี ารปองกนั และรกั ษาช็อก

ขนั้ ตอนท่ตี อ งปฏิบตั ิเม่ือพบผปู ว ยเจ็บ
1. อยาต่ืนตกใจ ใหต้ังสติตนเองใหมั่นคง พยายามปฏิบัติใหดีที่สุด ดวยอุปกรณที่มีอยูหรือหาได

รูปอุปกรณปฐมพยาบาล

-2-
2. ใหผูปวยเจ็บนอนราบศีรษะอยูระดับเดียวกับตัว อยาเคลอื่ นไหวผูปวยเจ็บโดยไมจําเปน จัดใหนอน
ศีรษะตา่ํ เมอื่ หนาซดี หรือยกศีรษะขึน้ เลก็ นอ ยเม่อื หนา แดง ตรวจระดับความรูสกึ ตัวโดยการตีเรยี กทีไ่ หล

รปู การตรวจระดับความรูสึกตัวโดยการตเี รยี กที่ไหล
3. ขอความชวยเหลอื หรือโทรศัพทแ จง หนวยฉกุ เฉิน/กูช ีพ/กูภยั

สายดวนแจงเหตฉุ กุ เฉนิ /กูชพี /กภู ัย - สถาบันการแพทยฉ ุกเฉินแหงชาติ โทร. 1669
4. ตรวจดูการบาดเจ็บอยางรวดเร็ว ที่สําคัญท่ีสุดคือดูวามีการหยุดหายใจหรือเปลา หรือมีการ
ตกเลือดรุนแรงหรือไม เพราะจะทําใหเสียชีวิตในเวลาอันรวดเร็วได หลังจากนั้นจึงคอยตรวจดูการบาดเจ็บ
อยางอน่ื สําหรับการถอดเส้อื ผาใหท าํ เทา ที่จาํ เปน และรบกวนผูปว ยเจบ็ ใหนอยทสี่ ดุ

รูปการตรวจดกู ารหายใจ รปู การตรวจศีรษะและใบหนา

รปู การตรวจหนา อก-ทอ ง รูปการตรวจแขน
รูปการตรวจขา รปู การตรวจดานหลัง

-3-
5. ทาํ การปฐมพยาบาลสิ่งท่เี ปน อันตรายตอชีวิตกอ น ถามีการตกเลือดรนุ แรงกท็ ําการหามเลอื ดกอน
ถามีการไมหายใจหรอื หวั ใจหยุดเตน ตอ งแกไขกอน แลวจึงปอ งกนั และรกั ษาชอ็ ก กรณีที่ไมมสี ่ิงผดิ ปกติ
ดังกลา วใหรกั ษาความอบอุนของรา งกาย นอนนิ่ง ๆ และใหมีอากาศปลอดโปรง
6. ปลดคลายเส้อื ผา ที่คบั หรือรัดออก โดยเฉพาะอยางย่งิ ทีบ่ รเิ วณคอ อก ทอง และขา
7. ปอ งกันไมใหเกดิ การสาํ ลกั ถา มกี ารอาเจยี นใหพ ลิกหนาผูปวยเจ็บตะแคงไปดา นใดดานหนง่ึ เพือ่ ให
สงิ่ ท่ีอาเจยี นไหลออกจากปากไดสะดวก ถาหมดสติ อยาใหผูป ว ยเจ็บดมื่ น้าํ หรอื ยา

รปู การจัดทาผูปวยเจบ็ ตะแคง

การปฐมพยาบาลบาดแผล
บาดแผล หมายถึง การท่ีเนื้อเย่ือที่อยูใตผิวหนังถูกทําลายหรือมีการฉีกขาดเกิดขึ้นจากสาเหตุใด

ก็ตาม
๑. บาดแผลปด

เปนบาดแผลที่ไมมีรอยแยกของผิวหนังปรากฏใหเห็น เกิดจากแรงกระแทกของของแข็งท่ีไมมีคม
แตอาจมีการฉีกขาดของเน้ือเย่ือและเสนเลือดฝอยใตผิวหนัง ซ่ึงมองจากภายนอกจะเห็นเปนลักษณะฟกช้ํา
โดยอาจมีอาการปวดรวมดวย แผลประเภทนี้ที่พบเห็นไดบอยในชีวิตประจําวันคือรอยฟกชํ้าเปนจ้ําเลือด
ซ่ึงเกิดจากแรงกระแทกของวัตถุไมมีคม หรือส่ิงของตกหลนใสบริเวณรางกาย เชน ศีรษะ แขน ขา แตทําไห
หลอดเลือดฝอยใตผิวหนังฉีกขาด มีเลือดซึมอยูในเน้ือเยื่อ การฟกชํ้าที่รุนแรงอาจบอกถึงอาการบาดเจ็บ
ท่ีรนุ แรงได เชน กระดูกแตกหรือหัก

การปฐมพยาบาล
(๑) ยกและประคองสวนท่บี าดเจ็บใหอ ยู
ในทา สบาย
(๒) ประคบเย็นและรัดสว นท่ฟี กชํ้า
(๓) ถามีขอ เคลด็ หรือกระดกู แตกหรือหัก
ใหรีบสง แพทย

-4-

๒. บาดแผลเปด
เปน บาดแผลท่ที าํ ใหเกดิ รอยแยกของผวิ หนงั แบงออกเปน
๒.๑ แผลถลอก เปนแผลตื้น มีผิวหนังถลอกและมีเลือดออกเล็กนอย ไมมีอันตรายรุนแรง พบบอย

ในชวี ติ ประจําวนั เชน การหกลม การถูกขีดขวน

การปฐมพยาบาล
(๑) ใหร ีบทาํ การลา งแผลทนั ที เพือ่ ปอ งกนั
การติดเชื้อ และการอักเสบของแผล
(๒) ใสยาฆา เช้ือ

๒.๒ แผลฉีกขาด เปน แผลทเ่ี กดิ จากวัตถุท่ีไมมีคม แตมแี รงพระชากหรือกระแทกพอทจี่ ะทําใหผ ิวหนงั
และเนื้อเย่ือใตผิวหนงั ฉีกขาดได ขอบแผลมักจะขาดกระรุงกระริง่ หรือมีการชอกช้ําของแผลมาก ผบู าดเจบ็
จะเจ็บปวดมากเพราะถูกบริเวณปลายประสาท เชน บาดแผลจากการถูกรถชน บาดแผลจากเคร่ืองจักรกล
หรอื ถกู แรงระเบิด

การปฐมพยาบาล
(๑) ทาํ ความสะอาดแผลและรอบบาดแผล
ดว ยนาํ้ สะอาดและสบู
(๒) หา มเลือดดวยผา สะอาด ประมาณ ๓-๕ นาที
(๓) ทําความสะอาดบาดแผล ดว ยนา้ํ ยาฆาเชือ้
(๔) ปดแผลดวยพลาสเตอรหรือผาปดแผล
(๕) หากมีบาดแผลใหญห รอื เน้ือเยอ่ื ฉกี ขาดกระรงุ กระรง่ิ ใหนําสง โรงพยาบาล

๒.๓ แผลตัด เปนแผลท่ีเกิดจากอาวุธหรือเคร่ืองมือท่ีมีคมเรียบตัด เชน มีด ขวาน เศษแกว เศษกระจก
ปากแผลจะแคบ เรียบยาวและชิดกัน ถาบาดแผลลึกจะมีเลือดออกมาก แผลชนิดน้ีมักจะหายไดเร็วประมาณ
3-7 วัน เนอ่ื งจากขอบแผลอยูช ิดกนั

การปฐมพยาบาล
(๑) ทําการหา มเลอื ดและรบี นาํ สงโรงพยาบาล
(๒) ถา มีอวัยวะทถ่ี ูกตัดขาด ใหใ สถงุ พลาสติก
ที่สะอาด ปด ปากถุงใหแนนไมใ หน้ําเขา
(๓) แชในถังนํ้าแขง็ แลวนําสงโรงพยาบาลพรอ มผูป วย

-5-
๒.๔ แผลถูกแทง เปนแผลท่ีเกิดจากวัตถุท่ีมีปลายแหลมแทงเขาไป เชน มีดปลายแหลม ตะปู
เหล็กหลม เศษไม ปากแผล จะเล็กแตลึก ถาลึกมากมีโอกาสจะถูกอวัยวะที่สําคัญมักจะมีเลือดออกมาก ทําให
ตกเลือดภายในได
การปฐมพยาบาล

(๑) ทาํ การหา มเลือด และรบี นําสง
โรงพยาบาล

(๒) ถา มวี ตั ถุปก คาอยูห า มดึงออกใหใช
ผา สะอาดกดรอบแผลและใชผ า พนั ไว
แลว รีบนาํ ตวั สงโรงพยาบาลทันที

๒.๕ บาดแผลถูกยิง ทําใหเกิดการบาดเจ็บภายในท่ีรุนแรง โดย
ตาํ แหนงที่กระสุนเขา สรู า งกายบาดแผลจะเล็กและมีขอบชัดเจน แตตาํ แหนง
ที่กระสนุ ออก(อาจฝง ใน) บาดแผลจะใหญกวา และฉกี ขาดมาก

การปฐมพยาบาล
- ใหทําการหามเลือด และรีบนําสงโรงพยาบาลโดยทันที

เนอื่ งจากมกี ารเสยี เลือดคอนขางมาก
การหา มเลอื ด
วิธีการการหามเลอื ด

๑. การกดลงบนบาดแผลโดยตรง วิธีน้ีเปนวิธีหามเลือดที่ไดผลดีท่ีสุด อาจจะใชมือกดหรือใชผาวาง
บนแผลก็ได โดย

(๑) กดใหกดแนน ๆ นานประมาณ ๑๐ – ๓๐ นาที
(๒) เมอื่ เลือดหยุดไหล ใหทําแผลและใชผ าพนั
(๓) อยาคลายผาหรือเปล่ียนผาพันแผลเปนอันขาด เพราะอาจทําใหเลือดออกไดอีกและทําให
เพ่ิมความบาดเจ็บมากขน้ึ ถาเลอื ดโชกผา พัน ใหใ ชผ าพันทบั เขาไปอีกช้ันหน่งึ แทนท่จี ะเปลยี่ นผาใหม

- ควรสวมถุงมือเม่ือสมั ผัสตัวผปู ว ย เพ่ือปอ งกันการตดิ เช้ือ
- กรณีผา ปด แผลชุมเลือดไมควรเอาออกและควรนาํ ผา อีกช้ินมาปด ทับบนผาช้นิ แรก
- พนั ผา แลวผกู ไว และควรยกอวยั วะใหส ูงขึน้
- เมอ่ื ทาํ การปฐมพยาบาลแลวใหรีบสง ตวั เขาโรงพยาบาลทันที

-6-
๒. การกดบนเสนเลือดแดง กรณีที่มีเลือดออกรุนแรง ใหใชวิธีการกดบนเสนเลือดแดงตามจุดที่สําคัญๆ
๔ จุด คือ เสนเลือดแดงไปเล้ียงหนังศีรษะ เสนเลือดแดงไปเลี้ยงหนา เสนเลือดแดงไปเล้ียงแขน และเสนเลือดแดง
ไปเลยี้ งขา

ตาํ แหนง กดหา มเลือด

๓. การรัดขันชะเนาะหรอื ทูนเิ กต(Tourniquet) เปนการหา มเลือดโดยการใช ผา เชือก หรือสายยาง
รดั ไมใ หเ ลอื ดออกจากหลอดเลือดแดงที่มาเลย้ี งบริเวณบาดแผล ใชส าํ หรับบาดแผลบริเวณแขนขาเทา น้นั

ข้ันตอนการขันชะเนาะ

๑. ใชผ าพันรอบแขนหรอื ขาสองรอบแลวผกู เง่ือน ๑ ปม ๓. หมนุ ไมเปนวงกลมใหแนนจนเลอื ดหยุด

๒. ใชไมแ ขงวางบนปมเงอ่ื นแลวผกู เงอ่ื นอีก ๑ ปม ๔. พันปลายไมไวกันหมนุ กลบั

ระวัง
๑. อยา รดั ทูนเิ กตล งบนผวิ หนังโดยตรง ควรใชผ า หรอื สําลีหุมรอบแขนหรือขาเสียกอน

๒. ใชใ นรายท่ีแขนหรอื ขาไดรบั บาดเจบ็ รนุ แรง ที่ตองทาํ การตัดแขนหรือขาออกเทา นนั้
๓. หามใชเสน ลวด หรือเชอื กผกู รองเทาเปน สายรดั หามเลือด

๔. เมือ่ รัดสายรดั หา มเลือดแลว หา มคลายสายรัดออก

๕. การคลายสายรัดหามเลือดออกตองกระทําโดยบุคคลากรทางการแพทยที่มีความชํานาญ และอยูใน
สถานท่ีที่มีอุปกรณชว ยชวี ติ ท่ีพรอม

-7-

การเสยี เลือดภายใน
การหามเลือดภายในเปนไปไดยาก นอกจากการสังเกตอาการและปองกันภาวะช็อค แลวรอคอย

การชว ยเหลือจากแพทยหรอื นาํ ผูปวยสง โรงพยาบาลเรว็ ที่สดุ

การปฐมพยาบาลผเู สียเลือดภายใน
๑. ถา มีกระดูกหักใหใชเ ฝอกดามเสยี กอ น
๒. ใหผปู ว ยนอนในทา ที่ถกู ตอ งดังตอไปนี้
๒.๑ นอนศีรษะต่ําเทาสูง โดยใหผูปวยนอนศีรษะต่ํายกเทาสูงเหนือพ้ืนประมาณ ๑๒ – ๑๘ น้ิว หามใช

ทาน้ีถาผูปวยมีบาดเจ็บที่กระดูกสันหลัง กระดูกคอบาดเจบ็ สมองบาดเจ็บ ชองทองหรือทรวงอก (เพราะจะทํา
ใหอ วัยวะและเลือดในชอ งทอ งเพิ่มความดันใตก ระบงั ลม)

๒.๒ สาํ หรบั ผูป ว ยมกี ระดูกแขนขาหัก ใหน อนหงายราบ
๒.๓ สําหรบั ผูปว ยบาดเจบ็ ทีท่ รวงอกหรอื เปนโรคหวั ใจท่ยี งั สตดิ อี ยู ใหนอนศรี ษะสงู
๒.๔ ถา ผปู ว ยหมดสติ ใหนอนตะแคงเพ่ือปองกนั การสําลักอาเจยี น
๓. คลายเส้ือผา ใหห ลวม
๔. ผูบาดเจบ็ ท่ไี มร ูสึกตัวใหนอนในทาพกั ฟน
๕. หามด่ืมนาํ้ และหา มกินอาหาร (เพ่อื ปองกนั อาเจยี น และเตรยี มตวั สําหรับการผา ตดั )

แหงนศรี ษะไปดา นหลัง แขนดานลา ง
ต้งั ฉากกับลําตวั
ตรวจนับชพี จร

คลายเสื้อผาใหหลวมสูง มือหนนุ ใตแกม

งอเขา ใหล ําตัวมนั่ คง

ใหผบู าดเจบ็ นอนหงายศรี ษะต่ําเทา หาอุปกรณรองปลายเทา หมัน่ ตรวจการหายใจและชพี จร
หากผูบาดเจ็บหยุดหายใจหรือหัวใจ
หยุดเตน ตองทาํ การการกูช ีวิต

บาดแผลถูกความรอน เปนแผลที่เกิดจากความรอนแหง เชน ไฟไหม ความรอนเปยก เชน น้ํารอนลวก
การถกู กรด-ดา ง สารเคมที ี่มผี ลทาํ ใหเนือ้ เยอ่ื มีการบาดเจบ็ เปน อนั ตรายต้งั แตเลก็ นอยจนถึงแกชวี ติ

การปฐมพยาบาลทั่วไป
๑. ราดดว ยนํา้ เย็นหรือเปดน้ําใหไหลผา นบรเิ วณบาดแผล

- บาดแผลรนุ แรงรบี ขอความชวยเหลอื หรือโทร ๑๖๖๙

-8-
๒. รีบถอดหรือตัดเส้ือผา เครื่องประดับหรือเข็มขัด ออกจากบริเวณท่ี
ถูกความรอนออก

- ถาวตั ถุดังกลา วตดิ กับบาดแผลหามถอดออก
๓. บาดแผลไมรุนแรงทายาสาํ หรับแผลไฟไหม แลว ปด ดวยผา สะอาด

- หา มใชครมี ขผี้ ง้ึ ไขมนั หรือยาสฟี น ทาทบ่ี าดแผล

๔. ถาแผลกวางและลกึ หรอื ถูกอวยั วะสําคัญ ใหร บี นาํ สงโรงพยาบาล
- ใหผ บู าดเจ็บนอนลง ยกและพยงุ ขาใหสูง
- ตรวจและบันทึกการหายใจและชีพจรทุกๆ ๑๐ นาที ระหวา งรอ

ทีมชว ยเหลือหรอื รถพยาบาล

-9-

๒. การปฐมพยาบาลผูทกี่ ระดกู หักและการเคล่อื นยา ยผูบาดเจบ็ เบือ้ งตน

หลกั ท่ัวไปในการปฐมพยาบาลผทู ่ีกระดูกหัก
การปฐมพยาบาลที่ดีที่สุด คือ ใหผูปวยนอนอยูกับท่ีหามเคลื่อนยายโดยไมจําเปน เพราะหากทําผิดวิธี

อาจบาดเจ็บมากข้ึน ถาผูปวยมีเลือดออกใหหามเลือดไวกอน หากมีอาการช็อกใหรักษาช็อกไปกอน
ถาจําเปนตองเคลื่อนยายผูปวยใหเขาเฝอกชั่วคราว ณ ท่ีผูปวยนอนอยู ถาบาดแผลเปด ใหหามเลือดและ
ปดแผลไวช่ัวคราวกอนเขาเฝอก สิ่งท่ีควรระวังมากท่ีสุดคือกระดูกสันหลังหักหรือกระดูกตนคอหัก
ถาเคลื่อนยายผิดวธิ ี อาจทําใหผ ปู ว ยพกิ ารตลอดชีวิต หรอื ถงึ แกชวี ติ ไดท นั ทีขณะเคลือ่ นยา ย
การเขา เฝอกชวั่ คราว

การดามบริเวณท่ีหักดวยเฝอกช่ัวคราวใหถูกตองและรวดเร็ว จะชวยใหบริเวณที่หักอยูนิ่ง ลดความ
เจ็บปวด และไมกอใหเกิดการบาดเจ็บเพ่ิมขึ้น โดยใชวัสดุท่ีหาไดงาย เชน ไม หรือกระดาษหนังสือพิมพ
พับใหหนา หมอน รม ไมกดล้ิน กระดาน เสา ฯลฯ รวมท้ังผาและเชือกสําหรับพันรัดดวยไมควรเคลื่อนยาย
ผปู วยจนกวาจะเขาเฝอกช่ัวคราวใหเรียบรอยกอน ถาไมมีสิ่งเหลานี้เลย ใหใชแขนหรือขาขางที่ไมหักหรอื ลําตัว
เปนเฝอกชัว่ คราว โดยผูกยึดใหดกี อนที่จะเคล่ือนยา ยผูป ว ย

รูปการใชผา สามเหล่ยี มคลองแขน

รปู การดามแขน

รปู การดามขา

- 10 -

การเคลื่อนยายผูบาดเจบ็
เพื่อเคลื่อนยา ยออกจากสถานท่ีมีอนั ตรายไปสทู ่ีปลอดภยั หรอื โรงพยาบาล ควรเคล่ือนยา ยอยา งถูกวธิ ี

จะชว ยลดความพิการและอนั ตรายตา งๆ ที่จะเกดิ ข้นึ ได
การชวยเหลือผูปวยกระดกู สันหลังหกั ทคี่ อ

ใหผูปวยนอนรอบโดยมีศีรษะอยูนิ่งและจัดใหเปนแนวตรงกับลําตัวโดยใชหมอนหรือของแข็งๆ ขนาบ
ศีรษะขางหูท้ังสองดาน ถาผูปวยประสบเหตุขณะขับรถยนตอยู กอนเคล่ือนยายผูปวยท่ีกระดูกสันหลังสวนคอ
หักออกจากที่นั่งในรถ ผูชวยเหลือควรใหผูปวยน่ังพิงแผนไมกระดานท่ีมีระดับสูงจากสะโพกขึ้นไปจนเหนือ
ศีรษะ ใชเชือก หรือผามัดศีรษะและลําตัวของผูปวยใหติดแนนกับแผนไมไมใหขยับเขย้ือนเปนเปลาะๆ แลวจึง
เคล่ือนยา ยผปู ว ยออกมา

รูปการดามกระดกู คอ รปู การใหผ ูปว ยนั่งพิงแผนไมกระดาน

หากตองเคล่อื นยายผปู วย เชน นําสง โรงพยาบาลควรหาผูชว ยเหลืออยา งนอย ๔ คน ใหผชู วยเหลอื ยก
ผูปวยขึ้นจากพ้ืนพรอมๆ กัน ใหศีรษะและลําตัวเปนแนวตรง ไมใหคองอเปนอันขาด แลวจึงวางผูปวยลงบน
แผน กระดาน หรือเปลพยาบาลตอ ไป

รูปการเคล่อื นยายผปู วยกระดูกหักท่ีคอ

- 11 -
การชวยเหลอื ผูป วยกระดูกสันหลงั หกั ทห่ี ลัง

ใหผูปวยนอนราบอยูบนพ้ืน ไมใหเคล่ือนไหว หาผูชวยเหลือ ๓-๔ คน และแผนกระดานขนาดยาวเทา
ผูปวย เชน บานประตู หรือเปลพยาบาล คอยๆ เคล่ือนตัวผูปวยในทาแนวตรงท้ังศีรษะและลําตัว ไมใหหลังงอ
เปนอันขาด วางผูปวยลงบนไมกระดานหรือบนเปลพยาบาล ใชผารัดตัวผูปวยใหติดกับแผนกระดานเปน
เปลาะๆ ไมใ หเคลอื่ นไปมาแลว จงึ นําสงแพทย

รูปการเคลือ่ นยายผปู วยกระดูกสันหลงั หัก

- 12 -

๓. การปฐมพยาบาลผปู ว ยหมดสตเิ นอื่ งจากเปนลม, ชัก, ช็อก

ภาวะการหมดสติ นั้นเกิดมาจากหลายสาเหตุ ดังน้ันการชว ยเหลอื ผูปวยขั้นตนเปนสงิ่ สําคัญมาก เปน ตอ งอาศัย
ผูที่มคี วาม รูความสามารถที่จะชวยรักษาชีวิตผูปวยไวไ ด ซง่ึ มหี ลักควรปฏิบัตดิ งั น้ี

1. ตรวจดใู นปากวา มีสงิ่ อุดตันทางเดนิ หายใจหรือไม ถา มีตองรบี นําออกโดยเรว็
2. จดั ใหผ ปู ว ยอยใู นทาท่ีเหมาะสม โดยใหผูปวยนอนตะแคงควํ่าไปดานใดดา นหนึง่
3. คลายเคร่ืองนุงหมใหห ลวม และหามใหน ํา้ หรืออาหารทางปาก
4. ทําการหา มเลือดในกรณที ่ีมีเลือดออก ถา มีอาการไมดีขึ้นใหรีบนําสง โรงพยาบาลโดยดว น

การปฐมพยาบาลผูปว ยหมดสตเิ น่ืองจากเปน ลม
เปนลม คือ อาการหมดสติเพียงช่ัวคราว เนื่องจากการท่ีเลือดไปเล้ียงสมองไมพอ เกิดจากหลาย

สาเหตุ เชน เหนือ่ ยหรือรอ นจัด, หวิ หรือเครียด
การปฐมพยาบาล
1. นาํ เขา พักในท่รี ม มอี ากาศถายเทไดส ะดวก
2. ใหนอนราบ และคลายเสื้อผา ใหห ลวม
3. ใชผา ชุบนํ้าเยน็ เช็ดเหงื่อท่ีหนาผาก มอื และเทา
4. ใหผูปว ยดมแอมโมเนีย
ขอสังเกต ถาใบหนาผูทเ่ี ปนลมขาวซดี ใหนอนศรี ษะต่ํา ถาใบหนามสี แี ดงใหน อนศรี ษะสูง

การปฐมพยาบาลผูปว ยหมดสตเิ นื่องจากการชกั
โรคลมชัก เปนโรคที่เกิดจากความผิดปกติของเซลลสมองบริเวณผิวสมอง กลาวคือหากกระแสไฟฟา

ในสมองเกิดการลัดวงจรหรือเกิดความผิดปกติบางอยางขึ้น จะทําใหผูปวยมีอาการผิดปกติทางระบบประสาท
ตามมาจนไมสามารถควบคุมตัวเองได อยางเชน ถาเซลลสมองเกิดความผิดปกติบริเวณสวนของการควบคุม
กลา มเนื้อ ผูปวยจะมีอาการชักเกรง็ กระตุกเหมือนถูกไฟฟาชอต ชกั แบบเปน ๆ หาย ๆ หรือบางคนอาจมอี าการ
เกดิ ขึน้ เฉพาะสวนใดสวนหนึง่ ของรางกาย อาจหมดสติหรือไมห มดสตกิ ็ได แตบางคนก็อาจมีพฤตกิ รรมน่งิ เหมอ
ลอย

การปฐมพยาบาล
1. ถาหากผูท่ีชักกระตุกอยูในท่ีอันตราย เชน บนที่สูง บนขั้นบันได หรือท่ีอ่ืนใดอันอาจกอใหเกิด
อันตรายรายแรงได ตองพยายามใหพนจากจุดอนั ตรายและหากมีวัสดุรอบๆ ท่ีอาจกออันตรายไดใหเคล่ือนยาย
ออก
2. อยาพยายามไปล็อกตัวหรือผูกตัวคนท่ีกําลังชักกระตกุ ประคองผูปวยใหนอนหรอื นง่ั ลง สอดหมอน
หรอื วัสดุออ นนมุ ไวใตศ รี ษะตะแคงศรี ษะใหน้ําลายไหลออกทางมุมปาก
3. อยาใสสิ่งของเขาไปในปากหรืองัดปากผูปวย เพราะปกติผูปวยจะไมกัดล้ินตัวเอง อีกทั้งวัสดุ
ทใี่ สเ ขา ไปอาจจะหักหรอื ขาดหรือทาํ ใหฟน หกั หลุดไปอุดหลอดลมจนหยุดหายใจได
4. การชักกระตุกโดยปกติจะเปนเวลา 1-2 นาที ถาหากชักกระตุกนานๆ มากกวา 3 นาที หรือ
ชกั กระตุกติดตอกนั เรอื่ ยๆ ควรรบี นําสงโรงพยาบาลเพอื่ ใหแ พทยตรวจรักษา

- 13 -

การปฐมพยาบาลผูปว ยหมดสตเิ น่ืองจากการช็อก
อาการช็อก หมายถงึ สภาวะทีเ่ ลอื ดไมสามารถนาํ ออกซเิ จนไปเลย้ี งเนื้อเยื่อตางๆ ท่วั รา งกายให

เพียงพอได สว นใหญก ารเสียเลอื ดจะเปนสาเหตสุ าํ คัญ ทท่ี ําใหเ กดิ อาการช็อกได
อาการแสดงภาวะชอ็ ค
๑. หนาซดี เหงอ่ื ออก ตัวเยน็ ชนื้ เหงอื่ ออกเปนเม็ดๆ บนใบหนา
๒. ปลายมอื – ปลายเทา และผิวหนังเย็นชื้น
๓. อาจคลน่ื ไสอ าเจียน
๔. ชีพจรเบาแตเร็ว หายใจหอบถี่ ไมส ม่าํ เสมอ
๕. รูมานตาขยายโตขน้ึ ทง้ั สองขา ง
๖. หากไมรีบปฐมพยาบาลอาจเสยี ชีวิตได
การปฐมพยาบาล
1. นําเขา พักในทรี่ ม มีอากาศถา ยเทไดสะดวก คลายเสอื้ ผาใหหลวม ใหความอบอนุ
2. ใหนอนราบไมต องหนนุ ศรี ษะ และควรนอนยกปลายเทา สูง ในชวง 30 นาทแี รก
3. ในรายทไี่ มร สู ึกตวั ใหน อนตะแคงหนาไปขางใดขางหนึ่ง
4. ทําการหามเลือดในกรณีท่ีมบี าดแผลเลือดออก
5. หา มใหอาหารและนํา้ ทางปาก ควรสงั เกตการหายใจเปน ระยะๆ
6. รบี นาํ สงแพทยโ ดยดวน

- 14 -

๔. การชว ยฟน คืนชีพ (CPR)

การชว ยฟน คนื ชพี (Cardio Pulmonary Resuscitation: CPR )
หมายถึง ปฏิบตั ิการเพ่ือชว ยชวี ิตคนที่หยดุ หายใจและหัวใจหยดุ เตนกะทันหัน โดยไมต องใชเคร่ืองมือ

แพทย เพยี งแตใชมือกดท่หี นาอก และเปา ลมหายใจเขาปากผูปว ย

ขอ บงชีใ้ นการปฏิบัตกิ ารชว ยฟน คนื ชีพ
1. ผทู ีม่ ีภาวะหยุดหายใจ โดยท่หี วั ใจยังคงเตนอยูป ระมาณ 2-3 นาที ใหผ ายปอดทนั ที จะชวยปอ งกัน

ภาวะหัวใจหยดุ เตน ได และชวยปองกันการเกิดภาวะเนอื้ เยื่อสมองขาดออกซเิ จนอยางถาวร
2. ผูท่ีมีภาวะหยุดหายใจและหัวใจหยุดเตนพรอมกัน การชวยฟนคืนชีพทันทีจะชวยปองกันการเกิด

เนื้อเย่ือโดยเฉพาะเน้ือเยื่อสมองขาดออกซิเจน ซึ่งโดยทั่วไป มักจะเกิดภายใน 4 นาที ดังน้ันการปฏิบัติการ
ชวยฟน คนื ชพี จงึ ควรทําภายใน 4 นาที

ขนั้ ตอนการปฏิบตั กิ ารชวยฟนคืนชีพ
1. เรยี กดวู าหมดสตจิ รงิ หรอื ไม
กอนเขาชวยเหลือผูบาดเจ็บ ตองประเมินสถานการณความ

ปลอดภัย กอนเสมอ แลว จึงเขาไปยงั ขางตัวผูหมดสติ ทาํ การกระตุนโดย
การตบแรง ๆ ท่ีบริเวณไหลท้ังสองขางของผูหมดสติ พรอมกับตะโกน
ถามวา “คณุ ๆ......เปน อยา งไรบา ง”

2. เรียกหาความชวยเหลือ
หากพบวาหมดสติ หรือหายใจเฮือก ใหรองขอความ

ชวยเหลือจากบุคคลขางเคียง หรือโทรศัพทขอความชวยเหลือหมายเลข
1669 หากมีเครื่อง AED อยูใกลใหวิ่งไปหยิบมากอน หรือเรียกให
บคุ คลใกลเคยี งไปหยิบมา

3. จดั ทา ใหพรอ มสําหรบั การชวยชวี ิต
จัดทาใหผูหมดสติมาอยูในทานอนหงายบนพื้นราบแข็ง
แขนสองขางเหยียดอยขู างลําตวั

4. หาตําแหนง วางมือบนหนาอก
๔.๑ กรณีผูใหญ ถาผูหมดสติไมไอ ไมหายใจ

ไมขยับสวนใดๆ ของรางกายใหถือวา หัวใจหยุดเตน ไมมี
สัญญาณชีพ ตองชวยกดหนาอกทันที ใหหาตําแหนงการ
วางมือที่คร่ึงลางของกระดูกหนาอกเพ่ือกดหนาอก โดยใช
สน มอื ขา งหนง่ึ วางบนบริเวณครงึ่ ลางกระดูกหนาอก แลวเอามอื อีกขา งหนง่ึ วางทาบหรอื ประสานไปบนมือแรก

- 15 -

4.2 กรณีเด็ก (ยังไมเปนวัยรุน) วางสนมือของ
มือหน่ึงไวบนกระดูกอก ตรงกลางระหวางแนวหัวนมท้ังสอง
ขาง (ใชมือเดียวหรือใชสองมือ ขึ้นอยูกับรูปรางเด็ก ตัวเล็ก
หรือตัวโต) ถาใชสองมือใหเอาอีกมือหนึ่งไปวางทาบหรือ
ประสานกับมือแรก กะประมาณใหแรงกดลงตรงก่ึงกลาง
ระหวางแนวหัวนมท้ังสองขาง หรือใชอีกมือหนึ่งดันหนาผาก
เพือ่ เปดทางเดนิ ลมหายใจ

4.3 กรณี ทารก (อายุ 1 เดือน ถึง 1 ป )
กดหนาอกดวยน้ิวมือสองนิ้วท่ีก่ึงกลางหนาอกเด็ก โดยใชน้ิวชี้
และนวิ้ กลาง หรือใชน ้วิ กลางและนว้ิ นางกดหนาอก

5. กดหนาอก 30 ครั้ง
การกดหนาอกเปนการทําใหระบบไหลเวียนโลหิตคงอยูไดแมหัวใจจะหยุดเตน สามารถทําไดโดย

กดหนาอกแลวปลอย กดแลวปลอย ทําติดตอกันไป 30 คร้ัง ใหไดความถี่ของการกดอยางนอย 100 คร้ังตอ
นาที โดยนับ “หนึ่ง และสอง และสาม และสี่ และหา และหก และเจ็ด และแปด และเกา และสิบ สิบเอ็ด
สิบสอง สบิ สาม สิบสี่ ......สบิ เกา ย่ีสิบ ย่สี ิบเอ็ด ยีส่ บิ สอง ยีส่ ิบสาม....... ยีส่ ิบเกา สามสบิ ”

ใหฝกนับและจับเวลาจาก หน่ึงและสองและสาม... ไปจนถึงสามสิบ จะใชเวลาไมเกิน 18 วินาที
จงึ จะไดค วามเรว็ ในการกดอยางนอย 100 ครง้ั ตอ นาที

เทคนคิ ในการกดหนา อก
1) วางมอื ลงบนตําแหนงท่ีถูกตอ ง ระวงั อยา กดลงบนกระดูกซโี่ ครง เพราะจะเปนตน เหตุใหซ ่โี ครงหัก
2) แขนเหยียดตรงอยางอแขน โนมตัวใหหัวไหลอยูเหนือผูหมดสติ โดยทิศทางของแรงกดด่ิงลงสู
กระดกู หนา อก
3) กรณผี ูใหญ กดหนา อกใหย บุ ลงไปอยางนอ ย 2 นิ้วหรือ 5 ซม.
4) กรณีเด็ก กดหนาอกใหยุบลงอยางนอย 1/3 ของความหนาของทรวงอก หรือประมาณ 2 นิ้ว
(5 ซม.)

- 16 -

5) ในจังหวะปลอยตองคลายมือข้ึนมาใหสุด เพื่อใหหนาอกคืนตัวกลับมาสูตําแหนงปกติกอนแลว
จงึ ทําการกดคร้ังตอไป อยากดทิ้งนํ้าหนักไว เพราะจะทําใหหัวใจคลายตัวไดไมเต็มที่ หามคลายจนมือหลุดจาก
หนา อก เพราะจะทาํ ใหต าํ แหนง ของมอื เปลีย่ นไป

6) กรณีทารก กดหนาอกใหยุบลงอยางนอย 1/3 ของความหนาของทรวงอก หรือประมาณ 1.5 น้ิว
(4 ซม.)

6. เปดทางเดินหายใจใหโ ลง
ในคนท่ีหมดสติ กลามเนื้อจะคลายตัวทําใหลน้ิ ตกลงไปอุดทางเดินหายใจ การเปด ทางเดนิ หายใจทํา

โดยวิธีดันหนาผากและยกคาง (head tilt - chin lift) โดยการเอาฝามือขางหนึ่งดันหนาผากลง น้ิวช้ีและ
น้ิวกลางของมืออีกขางยกคางขึ้น ใชนิ้วมือดึงเฉพาะกระดูกขากรรไกรลางโดยไมกดเนื้อออนใตคาง ใหหนา
ผูปวยเงยขึ้น ในกรณีที่มีกระดูกสันหลังสวนคอหัก หรือในรายที่สงสัย ควรใชวิธียกขากรรไกร (jaw thrust
maneuver) โดยการดึงขากรรไกรทั้งสองขางขึ้นไปขา งบน ผูชวยเหลืออยเู หนือศรี ษะผปู วย

วิธดี นั หนา ผากและยกคาง (head tilt - chin lift) วธิ ียกขากรรไกร (jaw thrust maneuver)

7. ชวยหายใจ

เมื่อเห็นวาผูหมดสติไมหายใจหรือไมม่ันใจวาหายใจได ใหเปาลมเขาปอด 2 คร้ัง แตละครั้งใชเวลา

1 วินาที และตองเหน็ ผนังทรวงอกขยับขนึ้

วิธชี ว ยหายใจแบบปากตอ ปากพรอ มกับดนั หนาผากและยกคาง

ใหเล่ือนหัวแมมือและนิ้วช้ีของมือท่ีดนั หนาผากอยูมาบีบจมูก

ผูหมดสติ ตาชําเลืองมองหนาอกผูหมดสติพรอมกับเปาลมเขาไปจน

หนาอกของผูหมดสติขยับข้ึน เปานาน 1 วินาที แลวถอนปากออกให

ลมหายใจของผูหมดสติผา นกลับออกมาทางปาก

ถา เปาลมเขาปอดคร้ังแรกแลว ทรวงอกไมขยับขึ้น (ลมไมเขา

ปอด) ใหจัดทาโดยทําการดันหนาผาก ยกคางข้ึนใหม (พยายามเปด

ทางเดนิ หายใจใหโ ลงท่สี ดุ ) กอนจะทาํ การเปา ลมเขา ปอดครัง้ ตอไป

- 17 -

การชวยชีวิตทารก มีประเด็นสําคัญท่ีแตกตางจากการ
ชวยชีวิตในผูใหญบางประการ คือ ในกรณีท่ีปากเด็กเล็กมาก การเปา
ปากควรอา ปากใหค รอบทงั้ ปากและจมูกของทารก

หมายเหตุ
การเปาลมเขาปอด ถา ทําบอยเกินไป หรอื ใชเวลานานเกนิ ไป จะเปนผลเสียตอการไหลเวียนโลหิตและ

ทาํ ใหอ ตั ราการรอดชวี ิตลดลง
หลังการเปาลมเขาปอด 2 ครง้ั ใหเรมิ่ กดหนา อกตอเนือ่ ง 30 ครงั้ ทันที สลบั กับการเปาลมเขาปอด 2

ครงั้ (หยุดกดหนา อกเพ่ือชวยหายใจ 2 ครง้ั ตองไมเ กนิ 10 วินาที ) ใหท ําเชน นจี้ นกระทง่ั
1) ผูป ว ยมกี ารเคลือ่ นไหว หายใจ หรือไอ
2) มคี นนาํ เครือ่ งชอ็ กไฟฟาหวั ใจอัตโนมตั ิ (เออดี ี ) มาถึง
3) มีบุคลากรทางการแพทยมารบั ชว งตอ

8. กดหนาอก 30 คร้ังสลบั กบั การเปาลมเขาปอด 2 ครง้ั
เม่ือผานข้ันตอนการชวยเหลือมาต้ังแตขั้นที่ 1 ถึงข้ันที่ 8 แลว ผูหมดสติจะไดรับ การเปาลม

เขาปอด 2 คร้ัง สลับกับกดหนาอก 30 คร้ัง (นับเปน 1 รอบ ) ใหทําตอไปเร่ือยๆ จนกวาผูปวยมีการ
เคลอื่ นไหว ไอ หรือหายใจ หรอื เครอ่ื ง AED มาถงึ หรอื มีบุคลากรทางการแพทยม ารบั ชวงตอ ไป

ในกรณีที่มีผูปฏิบัติการชวยชีวิตมากกวา 1 คน สลับหนาที่ของผูท่ีกดหนาอกกับผูที่ชวยหายใจ
ทุก 2 นาที (5 รอบ)
หมายเหตุ

ถาผูป ฏบิ ตั กิ ารชว ยชวี ติ ไมตอ งการเปา ปากผหู มดสติ หรือทําไมได ใหทําการชวยชวี ิตดว ยการกด
หนาอกอยางเดยี ว

9. การจัดใหอ ยใู นทาพกั
ถา ผูหมดสติรตู ัว หรอื หายใจไดเ องแลว ควรจดั ใหผปู วยนอนในทาพักฟน โดยจัดใหนอนตะแคง เอา

มือของแขนดานบนมารองแกม ไมใหหนาคว่ํามากเกินไป เพื่อปองกันไมใหสําลักหรือลิ้นตกไปอุดก้ันทางเดิน
หายใจ

การจัดใหอ ยูในทา พกั
หมายเหตุ

ในกรณีทส่ี งสัยวา มีการบาดเจ็บของศรี ษะหรือคอ ไมควรขยับหรอื จดั ทาใดๆ

- 18 -

การใชเ ครื่องชอ็ กไฟฟา หัวใจอัตโนมตั ิ
(Automated external defibrillator : AED : เออีด)ี

การใชเครื่องช็อกไฟฟาหัวใจอัตโนมัติหรือเคร่ือง AED เปนอีกข้ันตอนท่ีมีความสําคัญมากในหวงโช
แหงการรอดชีวิต เครื่อง AED เปนอุปกรณที่สามารถ “วิเคราะห” คลื่นไฟฟาหัวใจของผูปวยไดอยางแมนยํา
ถาเคร่ืองตรวจพบวาคล่ืนไฟฟาหัวใจของผูปวยเปนชนิดที่ตองการการรักษาดวยการช็อกไฟฟาหัวใจ เครื่องจะ
บอกเราใหช็อกไฟฟาหัวใจแกผูปวย การช็อกไฟฟาหัวใจใหกับผูปวยเปนการรักษาท่ีมีประสิทธิภาพและประสบ
ความสําเร็จสูงมาก จะทําใหคลื่นไฟฟาหัวที่ผิดปกติน้ันกลับมาสูภาวะปกติได และหัวใจจะสามารถสูบฉีดโลหิต
ไปเลี้ยงรางกายไดตามปกติ แตถาเคร่ือง AED ตรวจพบวาคล่ืนไฟฟาหัวใจของผปู วยเปนชนดิ ท่ีไมตอ งรักษาดว ย
การชอ็ กไฟฟาหัวใจ เครือ่ งจะบอกวาไมตองช็อก และบอกใหประเมินผูปวย ซ่งึ เราจะตอ งประเมินและพิจารณา
ตอ เองวาจะตองทาํ การชวยฟน ชวี ติ ขนั้ พ้นื ฐานโดยการกดหนา อกใหแกผ ูปวยหรือไม

การใชงานเคร่ือง AED แมจะมีเคร่ือง AED หลายรุนจากหลายบริษัทแตหลักการใชงานจะมีอยู 4
ข้ันตอนเหมอื นกัน ดงั น้ี

1. เปดเคร่ือง ในเครื่อง AED บางรุนทานตองกดปุมเปดเคร่ือง
ในขณะท่ีเครื่องบางรุนจะทํางานทันทีที่เปดฝาครอบออก เมื่อเปดเครื่องแลวจะ
มีเสียงบอกใหรูว าทา นตอ งทําอยางไรตอ ไปอยา งเปนขน้ั ตอน

2. ติดแผนนําไฟฟา โดยติดแผนนําไฟฟาทั้ง 2 แผน เขากับหนาอกของผูปวยใหเรียบรอย (ในกรณี
จําเปนทานสามารถใชกรรไกรตัดเส้ือของผูปวยออกก็ได กรรไกรน้ี จะมีเตรียมไวใหในชุดชวยชีวิตอยูแลว
(กระเปา AED) ตองใหแนใ จวา หนาอกของผปู วยแหง สนิทดี ไมเปยกเหงือ่ หรอื เปย กนํ้า แผนนาํ ไฟฟาของเครื่อง
AED ตองติดแนบสนิทกับหนาอกจริงๆ ถาจําเปนทานสามารถใชผาขนหนู ซึ่งจะมีเตรียมไวใหในชุดชวยชีวิต
เช็ดหนาอกของผปู วยใหแหงเสียกอน การตดิ แผนนําไฟฟาของเครื่อง AED น้ัน เริ่มดวยการลอกแผนพลาสติก
ดา นหลังออก ตําแหนง ตดิ แผนนําไฟฟาดตู ามรูปท่ีแสดงไว ( เครอ่ื งบางรุนมีรปู แสดงทตี่ ัวแผนนําไฟฟา บางรนุ ก็
มรี ปู แสดงที่ตัวเครื่อง ) ตอ งตดิ ใหแ นบสนิทกับหนาอกของผูปวยดวยความรวดเร็ว แผนหนงึ่ ติดไวที่ใตกระดูกไห
ปลาราดานขวา และอีกแผนหนึ่งติดไวท่ีใตราวนมซายดานขางลําตัว ตรวจดูใหแนใจวาสายไฟฟา จากแผนนํา
ไฟฟาตอเขากับตัวเคร่ืองเรียบรอ ย

- 19 -

3. ใหเคร่ือง AED วิเคราะหคลื่นไฟฟาหัวใจ ระหวางนั้น
หา มสัมผัสถูกตัวผูปวยโดยเด็ดขาด ใหทานรองเตือนดงั ๆ วา “เครื่อง
กําลังวิเคราะหคล่ืนไฟฟาหัวใจ หามสัมผัสตัวผูปวย” เครื่อง AED
สวนใหญจะเรม่ิ วิเคราะหคลื่นไฟฟาหัวใจทนั ทีทตี่ ิดแผน นําไฟฟา เสร็จ
เครอ่ื งบางรุน ตองใหก ดปมุ “ANALYZE” กอน

4. หามสัมผัสตัวผูปวย ถาเคร่ือง AED พบวาคล่ืนไฟฟาของผูปวยเปนชนิดที่ตองการการรักษาดวย
การช็อกไฟฟาหัวใจเคร่ืองจะบอกใหเรากดปุม “SHOCK” และกอนที่เราจะกดปุม “SHOCK” ตองใหแนใจ
วาไมมีเคร่ืองสัมผสั ถูกตัวของผูปวย รอ งบอกดังๆ วา “ผมถอย คุณถอย และทุกคนถอย” ใหมองซ้ําอกี ครั้งเปน
การตรวจสอบคร้ังสดุ ทาย กอนกดปุม “SHOCK”

“ผมถอย คณุ ถอย
และทุกคนถอย”

หากเคร่ืองบอกวา “No shock is needed” หรือ “start CPR” ใหเ ริ่มทําการชวยชวี ิตข้ันพื้นฐานตอ
ทันที โดยไมตองปด เครอื่ ง AED

โดยทําการกดหนาอก 30 ครั้งสลับกับชวยหายใจ 2 ครั้ง จนกวาเคร่ือง AED จะส่ังวิเคราะห
คล่นื ไฟฟา หัวใจอีกคร้งั แลวกลบั ไปทําขอ 3, 4
สรุปขั้นตอนสาํ คัญ 4 ประการของการใชเ ครอ่ื ง AED

1. เปด เครื่อง
2. ตดิ แผนนาํ ไฟฟาทีห่ นา อกของผปู วย
3. หามสัมผัสตวั ผูปวยระหวา งเครือ่ ง AED กําลังวเิ คราะหคลน่ื ไฟฟา หัวใจ
4. หา มสมั ผสั ตัวผปู ว ย จากน้นั กดปมุ “SHOCK” ตามท่ีเครื่อง AED บอก
สําหรับข้ันตอนท่ี 1 และ 2 ไมควรใชเวลาเกิน 30 วินาที โดยระหวางข้ันตอนที่ 1 และ 2 ใหกดหนาอก
ตามปกตไิ ด
หลงั จากเครอื่ ง AED บอกวาปลอดภยั ที่จะสมั ผัสผูปว ยไดแลว ใหทาํ การกดหนา อกตอทันที หรอื หาก
เครอื่ ง AED มปี ญ หาในการทํางาน ใหทาํ การกดหนาอกตอไปกอนจนกวาเครื่องจะพรอมใชง าน

- 20 -

ตารางที่ 1 การชว ยชีวิตขั้นพ้นื ฐานในผใู หญ เด็ก และทารก

ผูใหญ คาํ แนะนาํ
เดก็ (1 ป – วัยรุน ) ทารก (1 เดอื น – 1 ป )
การประเมินเบอื้ งตน หมดสติ ไมม กี ารตอบสนอง ไมห ายใจ หรอื หายใจผดิ ปกติ (หายใจเฮอื ก)
ลําดบั การชว ยชีวิต เรม่ิ ดว ยการกดหนาอก เปดทางเดนิ หายใจ ชวยหายใจ (C-A-B)
อตั ราเร็วการกดหนาอก อยา งนอ ย 100 ครงั้ ตอนาที
ความลกึ ในการกดหนาอก อยา งนอย 2 นว้ิ อยางนอ ย 1/3 ของความ อยางนอ ย 1/3 ของความ
หรอื อยา งนอย 5 เซนตเิ มตร หนาหนาอกในแนวหนาหลัง หนาหนา อกในแนวหนาหลงั
ประมาณ 2 นิว้ หรือ ประมาณ 1.5 นิ้ว หรือ
ประมาณ 5 เซนติเมตร ประมาณ 4 เซนติเมตร
การขยายของทรวงอก ปลอยใหม ีขยายตวั กลบั ของทรวงอกระหวา งการกดหนาอกแตละคร้ัง
ควรเปลย่ี นคนกดหนาอกทุก 2 นาที
การรบกวนการกดหนาอก รบกวนการกดหนา อกใหนอยที่สดุ ไมค วรหยุดกดหนา อกนานเกิน 10 วินาที
เปดทางเดนิ หายใจ ดันหนาผากลง ยกคางข้นึ
สัดสวนการกดหนา อกตอ การ 30 : 2
ชว ยหายใจ (ครัง้ : ครง้ั )
การช็อกไฟฟา ติดแผน เออดี ที นั ทีที่เคร่อื งพรอม โดยรบกวนการกดหนาอกใหนอยทส่ี ดุ
เร่ิมทําการกดหนา อกทันทีเมื่อช็อกเสรจ็

การเอาสง่ิ แปลกปลอมทอ่ี ุดก้ันออกจากทางเดนิ หายใจ
จะชว ยเหลอื ในกรณีท่ีสง่ิ แปลกปลอมท่อี ดุ กั้นออกจากทางเดนิ หายใจชนดิ รนุ แรงเทานั้น โดยจะมี
อาการ ดงั น้ี

• หายใจไมได หายใจลาํ บาก

• ไอไมได

• พูดไมมีเสยี ง พูดไมได

• หนาเร่ิมซดี เขียว

• ใชม ือกุมลําคอตวั เอง
วิธีท่ี 1 การรัดกระตุกท่ีทอ งเหนอื สะดือใตล้ินป กรณผี ปู วยยังไมหมดสติ

ใหผูทําการชวยเหลือเขาไปขางยืนหลังผูปวยท่ีกําลังยืนอยู
มือขางท่ีถนัด กําหมัดไวตรงหนาทองระหวางสะดือกับล้ินป มืออีกขาง
โอบรอบกําปนหรือใชวิธีประสานมือสองขางเขาดวยกันโดยหันนิ้วโปง
เขาหาตัวผูปวย แลวรัดกระตุกเขาหาตัวผูทําการชวยเหลืออยางแรง
หลายๆ คร้ัง จนพูดออกมาไดหรือจนกระทั่งเห็นสิ่งแปลกปลอมหลุด
ออกมาจากปาก

- 21 -

วิธีที่ 2 การรัดกระตุกที่หนา อก
เปนเทคนิคเดยี วกับการตัดกระตกุ หรือกดกระแทกที่ทอง แตเล่ือนข้ึนมาทําที่หนาอก โดยวางหมัดไวที่

กงึ่ กลางกระดูกหนา อกแทน ใชใ นคนอว นมากๆ ท่ที องมีขนาดใหญโ อบไมร อบ หรอื ใชใ นคนตง้ั ครรภ

วิธที ่ี 3 การตบหลัง (back blow ) ในเด็กทารก
การเอาส่ิงแปลกปลอมออกจากทางเดินหายใจ

ในเด็กทารก ใหจับเด็กนอนคว่ําบนแขนผูชวยเหลือ
ใหศีรษะตํ่า และตบหลังจนส่ิงแปลกปลอมหลุดออก
จากปากหรือจนครบ 5 คร้ัง ถาไมสําเร็จใหพลิกเด็ก
หงายหนาข้ึน แลวใชสองน้ิวกดกระแทกบริเวณกึ่งกลางกระดูกหนาอก จนสําเร็จหรือจนครบ 5 คร้ัง
แลวตรวจดูส่งิ แปลกปลอมในปาก

ในทกุ กรณี ไมควรลว งปากหรือคอ หากมองไมเ หน็ สงิ่ แปลกปลอมและหากพบวา หมดสติแลว
ใหทาํ การชวยเหลอื ดวยการชวยชีวติ ขัน้ พน้ื ฐาน (Basic Life Support) โดยกดหนาอกและชว ยหายใจทันที



การจดั การและการควบคุมการจราจร

การจดั การจราจร
หมายถึง การดําเนินการใดๆ ท่ีทําใหการใชถนนที่มีอยูใหมีประสิทธิภาพสูงสุดดานการจราจร โดยอาจจะ
รวมถึงการปรับปรุงแกไขเล็กนอย เชน การทาสี ตีเสนแบงชองทาง การติดต้ังสัญญาณไฟ แตไมรวมถึงการกอสราง
ถนนใหมเพ่ิมเติม

การควบคุมการจราจร
หมายถงึ การปฏิบตั ิใดๆใหเ ปน ไปตามแผนการจดั การจราจรทไี่ ดก าํ หนดไวใ หด ที ีส่ ุด เหมาะสมทสี่ ุด

การจดั การและการควบคุมการจราจรเพื่อวัตถปุ ระสงคใ ด
1. เพอ่ื ความปลอดภยั ตอ ผใู ชถ นนรวมทงั้ คนเดินเทา
2. เพอ่ื ประสทิ ธิภาพสูงสดุ ในการเรงระบายการจราจร
3. เพอ่ื ควบคุมทิศทางการระบายรถและคน
4. เพื่อความเปนระเบยี บเรียบรอย

การเตรยี มตัวในการควบคุมการจราจร
1. การเตรียมแตงกาย

1.1 สภาพรางกายแข็งแรงปกติ พกั ผอนใหเพียงพอ
1.2 เครื่องแตงกายและอุปกรณตางๆ สะอาดและถูกตอ งตามระเบียบ
1.3 ตรงตอเวลา
2. การเตรียมสภาพจิตใจ
2.1 จติ ใจตอ งแจม ใส,ปลอดโปรง,พรอมปฏบิ ัตงิ าน
2.2 มคี วามตนื่ ตัวฉบั ไว พรอมปฏิบัติงาน
2.3 มีความรับผิดชอบตอ งานทไ่ี ดร ับมอบหมาย

กอนการปฏิบตั ิการควบคมุ การจราจร
1. สอบถามและทาํ ความเขา ใจในหนาที่ทีไ่ ดรบั มอบหมายใหด ีและถูกตอ ง
2. สังเกต และสรางความคุนเคยตอบริเวณที่จะปฏิบัติหนาที่ เชน ทิศทางเดินรถประจําทาง ท่ีสวนทาง,

จุดเลย้ี ว หรอื กลบั รถ, ปายจราจรตางๆ เปน ตน
3. สงั เกต จดจําเวลา, รอบจังหวะ และทศิ ทางของสญั ญาณไฟจราจรท่แี ยกน้ันใหดี

-2 -

การยนื อํานวยการจราจร
1. ยืนในจุดท่ีมองเหน็ ถนนไดทุกดานเพ่ือมองเหน็ ปริมาณรถ แตล ะดา นมากนอ ยเพียงใด
2. เปนจดุ ที่ปลอดภัย ไมก ีดขวางการจราจร
3. ไมมีสง่ิ บดบังตัวเจาหนาที่ผูป ฏิบัติ อาจทําใหผ ขู บั ขี่รถมองไมเ หน็ เชน ตโู ทรศพั ท หรือเสาไฟฟา
4. ใหผ ขู ับข่ีรถยนตม องเห็นไดเ ดน ชัด เมื่อใหสัญญาณมือในการอํานวยการจราจร
5. เปนจดุ ทม่ี องเห็นสญั ญาณไฟจราจรหรือผคู วบคุมสญั ญาณไฟจราจร
6. ยืนอยูในที่เหมาะสม สงาผาเผย
7. งดการสบู บุหร,่ี หมากฝร่งั หรอื แสดงกริ ยิ าที่ไมเหมาะสม เชน บิดขเี้ กยี จ หรือหาวเรอ เปน ตน

การควบคุมการจราจรดวยสัญญาณมอื
1. กอนใชส ัญญาณมือตอ งดูจังหวะสัญญาณไฟจราจรใหถกู ตอง เม่อื อํานวยการจราจรตามจังหวะสัญญาณ

ไฟจราจรที่มผี คู วบคมุ สัญญาณไฟจราจรอยู
2. กอนหามรถดวยสัญญาณมือใหดูความเร็วของรถคันแรกและคันหลังรวมทั้งระยะหางรถที่จะหาม

เหมาะสมเพยี งพอกบั ระยะท่จี ะใหหยดุ หรือไม
3. ใหส ัญญาณมือ หรอื สญั ญาณเสยี งดว ยนกหวีด ใหผูข ับขเี่ ห็น และไดย ินในลักษณะที่เดน และชัดเจน
4. สงั เกตผูข ับขีว่ า มองเห็น และเขา ใจสญั ญาณมอื หรือไม
5. ยนื ในจุดที่เหมาะสม สามารถใหส ัญญาณมือเรงระบายในดา นอน่ื ได

การควบคมุ การจราจรในเวลาเชามดื และเวลาค่ํา
1. การแตง กายทผี่ ขู บั ขีเ่ ห็นไดด ีและชดั เจน เชน สวมเสอ้ื สะทอนแสง
2. ใชไฟฉายชวยในการใชสญั ญาณมือ
3. ใชส ญั ญาณดว ยเสียงนกหวีดใหด งั และยาวกวา ปกติ
4. ระมดั ระวังการยนื บรเิ วณจดุ ท่ีไมม แี สงไฟฟา สองสวา ง
5. ระมัดระวงั รถทไ่ี มเปด สัญญาณไฟสองสวา งหนารถแลน มาในเวลากลางคืน
6. ระวังผขู ับข่ีที่เมาสรุ า หรือหลบั ในอาดเกดิ อุบัติเหตใุ นการใหส ัญญาณมอื ได

สิ่งทค่ี วรระมัดระวังอ่นื ๆ
1. ควบคุมอารมณเ ม่ือถูกผใู ชร ถใชถนนตําหนิการปฏิบตั ิ เม่ือเกดิ การจราจรติดขัดมาก
2. ถูกซักถามหรือพูดจาประชดประชนั
3. เม่อื ปด การจราจรหรือเตรียมเสนทางบุคคลสาํ คญั ตา งๆ
4. การจราจรติดขัดเปนวงแหวน ตองเรงระบายคล่ีคลาย การจราจรในวงแหวน อาจทําใหดานอ่ืน

ไมเ คลอื่ นตวั หรือแบงเรงระบายนอยกวา

-3 -

5. สญั ญาณไฟจราจรขัดขอ ง ตอ งออกมาอํานวยการจราจรดว ยสัญญาณมือแทน
6. ภูมอิ ากาศแปรปรวน เชน ฝนตกน้ําทว มขงั เปน ตน

การปฏบิ ัตเิ ม่ือเหตุรถยนตข ัดขอ งบนถนน
1. รีบไปยังจุดทรี่ ถยนตข ัดของโดยดว น
2. หากกีดขวางชองการจราจรใหนําชิดขอบทางดานซายหรือบริเวณที่ไมกีดขวางการจราจร เชน ในซอย

ใกลเคยี ง หรือทางเวาเกาะกลางถนน เปน ตน
3. สอบถามสาเหตุท่ีขดั ของและสิ่งที่ตอ งการความชว ยเหลอื ชวยแนะนําอูซ อมเคร่อื งยนตใ กลเคียง
4. หากแกไขไมไ ดห รอื กดี ขวางการจราจรใหรถยกรบี นาํ พน การกดี ขวาง
5. เรงระบายจดุ ทีต่ ดิ ขดั เพราะสาเหตุดงั กลา วจนการจราจรคลีค่ ลายเปนปกติ

การปฏบิ ัตกิ รณีรถทําสิง่ ของตกหลน
1. รีบไปยังจดุ ทส่ี ่ิงของตกหลน
2. แจงสภาพทเ่ี กดิ เหตุวามีส่ิงใดตกหลน ตอ งการความชวยเหลอื จากหนว ยงานใด อยา งไร
3. หากท่เี กิดเหตุมบี รเิ วณกวา งเกิดการติดขัดมากใหข อกําลังสนบั สนุนเพื่อเรง ระบายการจราจร
4. กระจายกาํ ลงั ประจาํ จุด เพ่ือเรงระบายรถในจุดทีเ่ หมาะสมไมร วมจับเปน กลุม
5. ออกหนงั สือคาํ สัง่ ดําเนนิ คดีกับผูข บั ขี่ในกรณที เ่ี ปน การกระทําประมาทเลินเลอ

การปองกนั และแกไขจราจรติดขัด
การปองกนั มิใหก ารจราจรติดขัดเปนความรับผิดชอบรวมกันในหนาท่ีของรัฐซง่ึ เก่ียวขอ งกบั การวางผังเมือง

การกอสรางทาง การติดต้ังเครื่องหมายจราจรและสัญญาณจราจรตลอดจนเครื่องมือ เคร่ืองใชที่เกี่ยวของตางๆจึง
จําเปนทจี่ ะตองพจิ ารณา ดงั ตอ ไปน้ี

1. ใหการศึกษา หมายถึง การเรียนรูเก่ียวกับกฎหมายจราจร และกฎหมายอ่ืนๆท่ีเกี่ยวกับรถนั้น ตลอดจน
กฎแหงความปลอดภัยอบุ ตั เิ หตุ และการปอ งกนั ของผใู ชรถใชถ นน ทั้งทางตรงและทางออม เชน

- สาเหตกุ ารขัดของการจราจรในเมือง
- ความรเู บ้ืองตน เกีย่ วกบั อบุ ัตเิ หตุจราจร
- สาเหตกุ ารเกดิ อุบัติเหตุ และการจําแนกสาเหตุ
2. การวิศวกรรม หมายถึง การแกไขงานทางดานชาง เกี่ยวกับจราจร เชนการออกแบบ การควบคุมการ
กอ สรางถนนหนทาง วงเวียน สะพาน การแบง ชองทางเดนิ รถผิวจราจร ตลอดจนการพิจารณาตดิ ตงั้ ปา ยเครอ่ื งหมาย
บังคับการจราจร ปายเตือน ปายแนะนํา และปายประกาศตางๆ การกําหนดความเร็วกับสภาพถนนในทางโคง มุม
อับสายตาใหเหมาะสม เปนตน

-4 -

3. การบังคับตามกฎหมาย หมายถึง การตรวจตราและการจัดการจราจร เพื่อใหผูใชรถใชถนนไดปฏิบัติไป
ตามกฎหมายจราจร และกฎหมายอ่ืนๆ เกี่ยวกับรถนั้นโดยเครงครัด รวมท้ังการกวดขันจับกุมผูกระทําผิดกฎหมาย
เพื่อใหก ารจราจรเปนไปดว ยความสะดวกรวดเรว็ ประหยัด และปลอดภยั ตามเปาหมายของการแกป ญ หาจราจร

การแกไขหรือเพ่ือท่ีลดอุบัติเหตุบนทองถนน โดยการออกกฎหมายบังคับและกวดขันมิใหผูกระทําผิดข้ึน
จะตองมีการอบรมใหเขาใจถึงขอเท็จจริง ทั้งคนขับรถ และคนเดินเทาทราบภยันตรายเปนดีพอ จะไดเห็นไดวาใน
การศึกษา การวิศวกรรม การบังคับใหเปนไปตามกฎหมายยอมมีความสัมพันธกันเสมอ และในการแกไขในดานการ
บังคับตามกฎหมายควรพจิ ารณาจาก

- กฎหมายจราจร
- การควบคมุ รถยนต
- การควบคบุ ใบอนญุ าตขบั รถ
- เจา หนาทตี่ าํ รวจ
สวนหลักอีก 3 ประการตอไปนี้ จดั ไดวาเปน หลักแกไ ขปญ หาใหบรรลเุ ปาหมายทางบริหารคือ
4. การปะเมินผล หมายถึง การประเมินผลงานความถูกตองท่ีไดปฏิบัติไปแลววาบรรลุเปาหมายที่วางไว
เพยี งใด การควบคมุ การประเมินผลงาน กเ็ พ่อื จะใหก ารวางแผนนโยบายขัน้ ตอไป ไดด ีเพราะรจู ุดบกพรอง
5. การรวมมือประสานงาน หมายถึง การประสานงานระหวางหนวยงานท่ีเก่ียวของในดานการแกปญหา
การจราจรติดขัด และการปองกันอุบัติเหตุในทองถนน เชน ทาง กทม. เทศบาล กรมโยธาธิการ กรมทางหลวง
กระทรวงมหาดไทย ซ่ึงมีหนาท่ีดําเนินการเก่ยี วกับวิศวกรรมจราจร และกองตํารวจจราจร กองตํารวจทางหลวง ซง่ึ มี
หนาทใ่ี นการกวดขนั การปฏิบัตติ ามกฎหมาย เปน ตน
6. ความพยายามกระทํารวมกัน หมายถึง ความพยายามแกไขสิ่งที่ยังไมเปนตามเปาหมายที่วางไว ซึ่งยัง
ขาดปจจยั บางอยางท่ีจะสนบั สนุนและตองใชเวลาเปล่ียนแปลง เชน วัฒนธรรมการใชรถใชถนนของคนไปกรุงเทพฯ
เปนตน โดยมี “สํานักงานคณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก” ข้ึนอยูกับสํานักนโยบายและแผนมหาดไทย
กระทรวงมหาดไทย เปนผวู างแผนการแกป ญ หาจราจร ทง้ั ปแผนระยะสนั้
ขอเสนอแนะเกีย่ วกับการแกไขปญ หาจราจร ที่ควรปรบั ปรุงแกไ ข โดยมหี ัวขอ เสนอแนะดงั น้ี

1.ปญ หาเก่ียวกบั คน
- เกีย่ วกบั การศึกษา
- เกีย่ วกับการบรหิ ารงานดานจราจร
- เก่ยี วกบั อบุ ัตเื หตแุ ละความปลอดภัย
2. ปญ หาเก่ยี วกับถนนและสภาพแวดลอ ม
- ในดานการสาธารณูปโภค
- การควบคมุ การจราจร
- เสนอใหมีการออกแบบถนนใหเหมาะสม

-5 -

- กอ สรางทางดวน
3.ปญหาเก่ียวกับยานพาหนะและการขนสง
- จดั ทาํ ชอ งทางสําหรบั รถโดยสารประจาํ ทาง
- รถไฟฟา
- รถใตดิน
4.ปญ หาเก่ยี วกบั ผงั เมืองและการขยายเมือง
- การกาํ หนดนโยบายและแผนการจราจร
- กาํ หนดแนวอาคารตามถนนและทางแยกตา งๆ
- ขยายเขตการบรหิ ารของกรงุ เทพมหานคร

การปอ งกันและแกไ ขจราจรเมื่อรถตดิ
การควบคุมระหวางทางแยก หนา ท่ีของผูควบคมุ การจราจรระหวางทางแยกตามธรรมดาคือการปองกนั การ

ขัดของในการจราจรระหวางทางแยก มีหนาท่ีปองกันตนเหตุท่ีจะทําใหการจราจรขัดของ เชน การจอดรถซอนกัน
จอดรถในทีห่ า มจอด หรือหยดุ รถขนของข้ึนลงในทีไ่ มสมควรหรือในลักษณะทกี่ ดี ขวางการจราจรของรถอนื่

การควบคุมเมื่อมีเหตุฉุกเฉิน การจัดการจราจรในขณะท่ีมียวดยานนอย หรือการจราจรกําลังเดินสะดวก
อยูน้ันไมเปนปญหา แตในบางขณะจํานวนยวดยานแลนมามากข้ึนทุกที นี่แหละเริ่มเกิดปญหาขึ้นแลว ตอไป
ยวดยานจะเริ่มแออดั กันจนกระทั่งมองเห็นชัดๆ วาถา มีรถเพ่ิมเขามาอีกสัก 2 คันเทานั้น ทางแยกน้ันจะใชไมไดแลว
รถจะติดกันหมด หนาท่ีของตํารวจจราจรจะหนักขึ้นทุกที ฉะนั้นตํารวจจราจรจะตองรูและรีบจัดการแกไขโดยดวน
ปองกนั อยา ใหเ กิดการขัดของโดยการท่ยี วดยานตอ งอัดกนั แนน ได

ฉะน้ัน จึงขอแนะนําหัวขอไวใหทราบบางเพ่ือเปนทางชวยเหลือในการปองกันเหตุยัดเยียดดังกลาวแลว
ขางตน

1.ระวังทางออกของทางแยกใหจงหนัก ถาเห็นวาท่ีวาง จะมีรถปดทางออกเสียดวยประการใดๆ ก็ดีตองรีบ
จัดการแกไขอยาใหมกี ารกีดขวางทางออกได มฉิ ะนน้ั การจราจรจะชะงกั หมด

2.คอยสงั เกตการจราจรทุกดาน ถาเห็นวา การจราจรทิศหนึ่งมีรถแลนตามกนั มายาวเกินไปไมเปดโอกาศให
รถในทางตดั ซ่ึงหยุดรออยูไดผานไปบาง กต็ องหามใหดานท่ีเดินหยุดเสียชั่วคราวใหรถท่ีหยุดรออยใู นทางแยกตรงกัน
ขา มไดเ คลอื่ นไป เพอ่ื ขยบั ขยายรถบา ง

3.ตํารวจจราจรตองไมเผลอ ตองต้ังใจคอยระวังหนาที่ของตนอยางเครงครัดเสมอ ตองคอยสังเกต ตอง
คาดคเนการในหนาท่ีอยูตลอดเวลา ถาเห็นวานาจะเกิดการขัดของข้ึนเมื่อใดตองรีบจัดการทันที อยาใหเกิดการ
ขัดของขึ้นกอนได เพราะการแกภายหลังยอมตองใชเวลาและเสียแรงมากกวาการปองกันไวกอน และบางคร้ังยาก
มากดวย

-6 -

ขอใหจาํ ไวว า
1.ในบริเวณทางแยก ตองควบคุม อยาใหม ีรถหยุดขวางอยเู ปนอันขาด จะเนือ่ งจากเหตุใดๆกต็ ามตองรักษา
บริเวณทางแยกใหวางอยเู สมอ เวนแตขณะท่ีรถกําลงั แลน ผานเทา น้นั
2.ทางออกของรถจากทางแยก ตองใหวางเชนเดียวกัน ขอสําคัญท่ีสุดอยายอมใหรถที่หยุดรอหยุดลํ้าแนว
เสนกลางถนน และระวังถามที างแยกตองใหวางเชนเดียวกัน และถาหากวามีทางแยกท่ีติดตอกัน รถท่รี อสญั ญาณหรื
อตกิ ารขดั ขอ งอยทู างแยกหน่ึง อาจมจี ํานวนมากและยาวเหยียดไปปดทางออกของอีกทางหน่ึงก็ได ตองรีบปอ งกันไว
ใหทันการเสมอ การเลี้ยวของรถในโอกาศน้ันก็เชนเดียวกัน ตองดูใหแนวารถนั้นจะเลี้ยวออกไดตลอดรวดเดียว ไม
ควรยอมใหรถเลี้ยวไปหยุดขวางถนนแลวถอยหลังกลับไปมา เพื่อต้ังตัวเขาชองทางท่ีจะไปอีกตอหนึ่ง การกระทํา
อยางน้ีจะกอใหเกิดการชะงักของรถที่ตามกันไปและจะเปนการเริ่มตนใหเกิดการยัดเยียดกันจนขยับตัวไมได ถา
ขบวนท่ีตามไปน้ันในระยะกระชั้นชิดและมีจํานวนมากดวยแลวย่ิงเปนการเรงใหเกิดการขัดของรวดเร็วและแนน
ยงิ่ ข้นึ
3.การกีดขวางหรือการขัดของ ตามบริเวณตอเนื่องกับทางแยกก็เปนเหตุสําคัญอีกเหตุหน่ึงท่ีจะทําให
การจราจรตรงทางแยกเกิดขัดของขึ้น เชน รถเสียดสีกัน หรือกระทบกัน คนขับรถหยุดรถขวางทางโตเถียงกัน เปน
ตน เร่ืองเชนนี้ผูควบคุมทางแยกจะตองคอยระวัง มิฉะน้ันรถท่ีออกจากทางแยกตามๆกันไป และแลนไปไมตลอดจะ
หยดุ กันจนปด ทางออกของทางแยกนนั้ ทั่วไปก็ได ฉะน้นั ผคู วบคุมทางแยกซ่งึ อยใู กลก ันเชน น้จี ึงตองทํางานสมั พันธก ัน
และใหสัญญาณอยา งเดยี วกันเสมอ

การปฏบิ ตั ิหนา ทีข่ องพนกั งานรักษาความปลอดภยั รับอนุญาตเม่ือเกดิ อุบตั เิ หตุ
อบุ ัตเิ หตุ หมายถงึ เหตทุ ่ีเกิดขึ้นโดยไมคาดคิด หรอื โดยความบังเอญิ ถึงแมเกิดขึ้นโดยการกระทําของบุคคล

โดยต้ังใจหรอื ไมตงั้ ใจก็ตาม

การปองกนั อบุ ตั เิ หตแุ ละวิธปี ฏบิ ตั ิเม่อื เกิดอุบัติเหตุ ดงั น้ี
1. ลักษณะของอุบัติเหตุ เกดิ ขน้ึ รวม 3 อยา ง ดงั นี้
1.1 เกิดจากการชนกันบนถนน อุบัติเหตุชนิดน้ีเกิดขึ้นมากท่ีสุดในการจราจรของประเทศไทยสวนใหญ

เปนการชนกนั ระหวางรถยนตกับรถยนต หรือรถยนตก ับรถจักรยานยนต หรือรถยนตกับคน เปนตน ผลกระทบของ
อุบัติเหตุบนถนนคือ การจราจรติดขัดในกรณีเกิดข้ึนในกรุงเทพฯ หรือตามจังหวัดตางๆท่ีมีรถยนตใชกันมาก เชน
หาดใหญ นครราชสีมา เชียงใหม เปน ตน

1.2 รถพุงออกนอกถนน กรณีนอ้ี าจเกดิ ขนึ้ จากความประมาทของผูขบั ขีเ่ อง หรืออาจเกดิ จากเคร่ืองยนต
ขัดของ และในปจจุบันเกิดจากการแขงรถโดยใชความเร็วสูงบนถนนของวัยรุน ทําใหเกิดอุบัติเหตุลักษณะเชนน้ีได
เชน กนั

1.3 รถคว่ําหรอื มีเหตุการณท่ีไมไดเกี่ยวกับการชนบนถนนกรณีรถควา่ํ เปนอบุ ัติเหตุลักษณะหน่ึงแตเปน
ลกั ษณะเฉพาะตัว สวนเหตกุ ารณท ่ีไมไ ดเกย่ี วกบั การชนบนถนน เชน ผูขับขเ่ี มาสรุ าในขณะขบั รถยนต

-7 -

2. ชนดิ ของอบุ ัตเิ หตุ แบง ออกเปนชนิดใหญๆได 2 ชนิด
2.1 รถยนตชนกับสิง่ ตา งๆ มี 9 ชนดิ ดังนี้
ก. คนเดินถนน คนเดินเทา สวนใหญเกิดจากการเรงรีบในการเดินทางหรือไมรูกฎหมายจราจร

หรอื สภาพรถยนตไมด เี พียงพอ และสง่ิ สาํ คญั อยทู ีผ่ ูขับขรี่ ถเปนสําคัญ
ข. ชนรถอ่ืนหรือรถชนรถ กรณีนี้เกิดจากความประมาทเสียสวนใหญ สภาพของรถยนตหรือขับรถ

ผิดกฎจราจร
ค. รถไฟ เกิดขึ้นนอยมากเพราะรถไฟมีเสนทางการเดินรถท่ีแนนอน ในทางปฏิบัติ เกิดจากผูขับรถ

ประมาทไมชะลอรถหรือรอใหรถไฟผานไปกอน กลับขับรถตัดผานทางรถไฟจึงเกิดอุบัติเหตุขึ้นดังกลาวหรือผูขับข่ี
หยอนความสามรถ เชน เมาสรุ า สิ่งเสพตดิ หรอื สง่ิ มนึ เมา หรือปว ยก็ได

ง. รถราง ปญหานี้คงไมมีเกิดข้นึ ในเมอื งไทยเพราะประเทศไทยเลิกใชรถรางแลว
จ. รถจักรยาน
ฉ. ลอ เลือ่ น ลากเขน็ ดว ยคนหรือสัตว อุบัตเิ หตชุ นดิ นี้เกิดขึ้นในบริเวณชนบทในตา งจงั หวัดเสียเปน
สวนใหญ ท้ังนี้เกิดจากความไมรูกฎจราจรของผูขับขี่ลอเล่ือน หรืออาจจะติดนิสัยที่นําลอเลื่อนทําการลากเข็นบน
ถนน หรือไมต ิดโคมไฟในเวลากลางคืนสว นใหญประชากรในชนบทไมร กู ฎจราจรแทบทัง้ ส้นิ
ช. สัตว เกดิ จากการปลอ ยปละละเลยของสตั วเอง หรืออาจเปน สัตวพ ลดั ถน่ิ
ซ. เสาหรือวัตถุคงท่ีตามถนน เชน หลักบอกเลขกิโล เสาไฟฟา สะพาน ปญหาน้ีเกิดจากความ
ประมาทของผขู บั ขีอ่ ยางแนนอน
ณ. วัตถุอนื่ ๆ เชน บาน รา นคา
2.2 รถยนตเ กดิ เหตุอื่นๆ ทีไ่ มไดเก่ียวกบั การชน
ก.รถยนตต กถนนอาจเกดิ จากความประมาท การขบั รถเกนิ ความเรว็ ท่กี ฎหมายจราจรกาํ หนดหรือ
ข. รถพลกิ ควํา่
ค. อื่นๆ ท่ีไมไ ดช น
3. สาเหตขุ องอุบัติเหตุ
3.1 สาเหตุโดยทัว่ ไป สวนใหญเขา ใจวาสาเหตุการเกิดอุบัติเหตเุ กิดจากอยางใดอยา งหนึ่งดังนี้
ก. เกิดจากความประมาทของผูขับ(คน) อาจเกิดจากความเรงรีบหรือเมาสุรา สิ่งเสพติดหรือ
ส่งิ มนึ เมาตลอดจนปญ หาเฉพาะตวั ของผูขับขเ่ี อง เชน วัยรนุ ตองขับรถเรว็ เกินกาํ หนดทพี่ .ร.บ. จราจรกาํ หนด
ข. เกิดจากอุปกรณของรถไมสมบูรณ(รถ) เปนหนาที่ของเจาของรถท่ีตองหมั่นดูแลรถของตน
แตใ นทางปฏิบตั เิ จาของรถจะสั่งใหผูชว ยทําการตรวจเสียมากกวา ทจ่ี ะมาตรวจดแู ลเอง
ค. เกิดจากถนนไมปลอดภัย (ส่ิงแวดลอม) เชน ถนนแคบ สัญญาณไฟเสีย สะพานชํารุด ไมมีทาง
ขา ม(มาลาย)
3.2 จาํ แนกสาเหตุได 3 อยางดงั น้ี

ของคนขับ -8 -

ก. สาเหตุโดยตรงมี 4 อยาง คือ ความเร็ว การเห็นลาชา การแกไขเหตุการณไมถูกตอง พฤตกิ รรม

ข. สาเหตุเชอื่ มโยงมี 3 อยา งคอื สภาพถนน สภาพรถ สภาพคนขบั
ค. สาเหตุเบอ้ื งตนมี 5 อยา ง คอื รัฐบาล โรงเรียน องคการครเู ทศบาล กรมทาง คนขบั

การปอ งกนั อุบัตเิ หตุ
สามารถกระทาํ โดยหลักใหญๆ 3 ประการ ดังนี้
1. การใหการศึกษา
โดยการใหความรูแกผ ูใชรถใชถนนทุกระดับเก่ียวกับกฎจราจร เคร่ืองหมาย สัญญาณจราจร การใชถนน

โดยปลอดภยั กระทาํ ได ดังน้ี

ก.โดยทางตรง เชน สอดแทรกความรเู กี่ยวกับการจราจร และการปองกนั ไวในบทเรียนช้ันประถมศึกษา

ไปจนถงึ ช้นั อุดมศึกษา พอแมผ ปู กครองเพื่อสงั่ สอนลูกหลานได

ข.โดยทางออม เชน วทิ ยุ โทรทศั น นทิ รรศการ หนังสอื วารสารตา งๆ เปนตน
2. การควบคมุ ผูใ ชรถใชถ นนปฏบิ ตั ติ ามกฏหมาย

โดยเขมงวดกวดขันใหผูใชรถใชถนนปฏิบัติตามกฎหมายตางๆ ท่ีเกี่ยวของในการจราจร การควบคุม

รถยนต การควบคุมใบอนุญาตขบั รถ และเจาหนาที่ตํารวจจราจร
3. การปรบั ปรุงทางดานวิศวกรรมการทาง
โดยปรับปรุงออกแบบสรางถนนหนทางวงเวียน สะพาน ฯลฯ ใหเหมาะสมและปลอดภัยอยูเสมอ

ตลอดจนปรับปรุงการติดตั้งเคร่ืองหมายและสัญญาณจราจรตางๆ ใหดูถูกตองชัดเจนเพื่อชวยใหการควบคุม

ยานพาหนะในถนนเปน ไปดวยความสะดวกและปลอดภัย
สาเหตุทที่ าํ ใหเ กิดอุบตั ิเหตุของผเู ดนิ เทา
1. ผูเดินขาดความรูหรือทักษะในการเดิน ขาดความระมัดระวังตางๆ รางกายไมสมประกอบ หรือสุขภาพ

เสื่อมโทรม อาจทาํ ใหเกดิ อุบตั เิ หตุไดง า ย

2. ผูขับขยี่ านพาหนะ ขับรถเรว็ เกินอัตราทีก่ ําหนดไวต ามกฎหมาย เครื่องยนตชํารดุ สภาพรถยนตภายนอก

ชํารดุ ขาดมารยาทที่ดี ประมาท

3. สภาพแวดลอม เชน ถนนแคบ ถนนชํารุด สัญญาณไฟเสีย สะพานชํารุด ไมมีฟุตบาท(ทางเทา) มีตนไม

กีดขวางทางเดิน ตลอดจนอาคารและสง่ิ กอสรา งตา งๆ

-9 -

การปอ งกัน
1. การเดินเทา ถาถนนมีทางเทาใหเดินบนทางเทาและใหเดินชิดซาย และไมยืนกลางทางเทาเพราะจะ
กดี ขวางการจราจรของผูอืน่ หรอื เลน กดี ขวางผูอื่น

ถา ถนนไมมีทางเทา ใหเดินทางขวาของถนนสวนทางกับรถ เดินใหชิดขางถนน ไมควรเดินเคียงคูกันและ
ถา มเี ดก็ ไปดวยตองใหเดินทางขวาชิดขอบทางดานในและตองจบั มือถือแขนไวใ หแนน อยา ปลอ ยใหเดินโดยอิสระ

2. การเดินถนนในขณะที่มีแสงสวางไมเพียงพอหรือเวลากลางคืน ควรใสเสื้อผาสีออนๆหรือสีขาว เพื่อให
ผขู ับรถเห็นไดแ ตไกล มไี ฟฉายเปด สอ งใหด วย และใหเดนิ ขา มถนนในทม่ี แี สง

3. การขามถนน ใหขามตรงชองทางขาม สะพานขามทางหรือมีเจาหนาที่ควบคุมอยู วิธีขามโดยยืนรออยู
บนทางเทา ดูรถทางขวาทางซายและทางขวาอีกคร้ัง เมื่อเห็นวาปลอดภัยแลวจึงเดินขาม ขณะท่ีเดินขามถนนควร
เดนิ ดวยความเรงรบี อยา ว่งิ หรือหยุดชะงัก หรอื เก็บสิง่ ของ หรอื ทักทาย

4. การขามทางที่มีสัญญาณไฟจราจร ใหยืนรอบนทางเทากดปุมที่มีตูสัญญาณแลวรอจนกวาสัญญาณจะ
เปลย่ี นสีเขยี ว และเมอ่ื รถหยุดสนทิ แลวจงึ ขาม

5. การขามถนนท่ีมีเกาะกลางถนน หรือเขตปลอดภัยใหยืนรอบนทางเทา ดูทางขวาเม่ือปลอดภัย จึงขาม
ดวยความเรงรีบ ไปยืนบนเกาะกลางถนน หรือเขตปลอดภัยแลว ดูรถทางดานซา ยเมือ่ เห็นวาปลอดภัยแลว จึงขา มดวย
ความเรงรบี

6. การขามทางสี่แยกท่ีมีสัญญาณไฟ ควบคุมการจราจร ใหขามถนนตรงเสนรอสัญญาณไฟท่ีทางแยก โดย
ยืนรอบนทางเทา รอจนกวาสัญญานจะเปล่ียนเปนสีแดงใหรถหยุดสนิทกอนแลวจึงขาม และระวังรถท่ีจะเล้ียวขวา
หรอื เล้ียวซา ยผา นตลอดมาจากอีกทางหนึ่ง

7. การขามถนนท่ีมีส่ิงกีดขวางหรือกําบังสายตา การขามทางในบริเวณที่มีรถจอดหรือ ตนไม เสาไฟ ฯลฯ
เปนสงิ่ กําบังสายตามองไมเห็นรถท่ีแลนมา โดยใหใชความระมัดระวังอยาว่ิงออกมาทันทีทันใด ตองดูใหแนใจแลวจึง
ขาม

หนาท่ีหน่ึงที่สาํ คญั ของตํารวจ ก็คอื การจัดการกับอุบตั ิเหตทุ ี่เกิดข้นึ บนทองถนน ซึ่งมักจะประสบดว ยตนเอง
อยูเปนประจํา ไมวาจะในระหวางปฏิบัติหนาที่หรือนอกหนาท่ี เชน อยูระหวางเดินทางไปกลับสถานที่ทํางานหรือ
ระหวางการไปปฏิบัติหนาท่ีอ่ืนท่ีมิใชทําหนาที่จราจรก็ตาม ดังนั้น ถึงแมไมใชขาราชการตํารวจที่ทําหนาที่จราจรก็
ตอ งมีความรูท่ีจะจัดการกับอบุ ัติเหตุท่ีเกดิ ข้ึนเฉพาะหนาได เน่ืองจากมีโอกาศที่จะประสบดวยตนเอง ซึ่งเมื่อพบแลว
จะน่ิงดูดายผานไปเฉยๆคงไมได ตองอยูชวยดําเนินการจนกวาผูมีหนาท่ีจะมาถึงที่เกิดเหตุ ย่ิงเปนตํารวจจราจรดวย
แลวตองมคี วามรแู ละเตรยี มความพรอ มทจี่ ะจัดการกับอบุ ัติเหตุ ทเี่ กดิ ขน้ึ บนทองถนน อยตู ลอดเวลา

ตํารวจจราจร ตองมีอุปกรณจัดการกับอุบัติเหตุท่ีสําคัญคือ ชอรกหรือวัสดุขีดเขียนพื้นถนนที่สามารถลบ
ออกไดงาย หรอื สีสเปรยส ีดาํ หรือสีเทา (เพอ่ื ใหดสู ะอาดเรยี บรอย) สําหรับทําเครือ่ งหมายบนพ้ืนถนน แสดงตําแหนง
ของรถ และรองรอยในท่ีเกิดเหตุ กระดาษและปากาสําหรับทําแผนท่ีเกิดเหตุโดยสังเขป และสมุดจดบันทึกสําหรับ
จดรายละเอียดตางๆ ที่ตอ งการ

- 10 -

การรับทราบเหตุน้ันอาจมาจาก 2 กรณี คือ หนึ่งประสบดวยตนเอง ซึ่งอาจจะอยูหรือไมอยูในพ้ืนที่
รับผิดชอบก็ได สองไดรับแจงเหตุจากส่ือตางๆ ไมวาจากผูมาแจงทางวิทยุสื่อสาร ทางสถานีวิทยุ ฯลฯ ซึ่งเม่ือได
รับทราบเหตุแลว ตํารวจจราจรมหี นา ท่จี ะตองปฏบิ ัติดงั น้ี

1. รีบไปจุดที่เกิดเหตุ พิจารณาความหนักเบาของสถานการณ ดําเนินการปองกันผลรายที่อาจเกิดเพ่ิม
มากขึ้น เชน การเกิดอุบัติเหตุซํ้า การเกิดเพลิงไหม การไดรับอันตรายจากสารพิษท่ีร่ัวออกมาจากยานพาหนะท่ีเกิด
อบุ ัติเหตุเปนตน และรีบแจงสถานีตํารวจทองท่ีหรือศูนยวทิ ยุเพื่อดําเนินการแจงผมู ีหนาที่เก่ียวของหรือแจงกําลังมา
ใหก ารชวยเหลือ กับทั้งใหพ จิ ารณาตดั สินใจวา สามารถจะเปดการจราจรตอไปไดหรือไม เปดไดกี่ชองทาง ในกรณีท่ีมี
การปดการจราจร ตองรีบประชาสัมพันธ ผูใชทางใหหลีกเล่ียง แนะนําเสนทางหลีกเลี่ยง และประสานงานพื้นที่
ใกลเ คยี ง เพ่ือเรง ระบายรถหรือเปลี่ยนเสน ทางผใู ชรถ

2. ตรวจหรือสอบถาม มีผไู ดร ับบาดเจบ็ หรอื เสียชวี ิตหรือไม หากมีใหรบี นําสง โรงพยาบาลทใี่ กลเคียงที่สุด
โดยระมัดระวังการเคลื่อนยายผูไดรับบาดเจ็บหรือเรียกรถพยาบาลนําสง กอนนําสงใหจดชื่อท่ีอยูผูบาดเจ็บ
(ถากระทําได) และชื่อโรงพยาบาลเก็บไวดวยเพ่ือแจงพนักงานสอบสวน หากผูเสียชีวิตหรือผูบาดเจ็บจนชวยตัวเอง
ไมไดมาเพียงผูเดียว ใหดูแลทรัพยสินใหดว ย ทั้งนี้ใหมพี ยานรูเห็นตามสมควร เพ่ือปองกันการกลาวหาภายหลงั และ
จัดทํารายการทรพั ยส นิ สงมอบตอพนักงานสอบสวน

3. เรียกขอใบอนุญาตผูขับขี่ของคูกรณีทั้งหมด เพื่อสงมอบใหพนักงานสอบสวนและเพ่ือปองกันการ
หลบหนี โดยตอ งตรวจดูใบอนุญาตขับข่ีวาถูกตองหรือไม เชน รูปเหมือนผูขับข่ีหรือไม ใบอนุญาตฯ หมดอายุหรอื ไม
หรือถกู ประเภทหรอื ไม เปน ตน

4. กําหนดจดุ โดยทําเครอื่ งหมายบนพ้ืนทาง เพอื่ แสดงรายละเอยี ดของการเกกิ อบุ ัติเหตุ
5. ทาํ แผนทเ่ี กิดเหตุโดยสงั เขป(ถากระทาํ ได)
6. แยกรถที่เกิดเหตุใหพนการกีดขวาง เชน ชิดขอบทางดานซาย หรือนําไปจอดไวยังที่ปลอดภัยและพน
การกีดขวางในท่ีเกิดเหตุ หรือนําสงสถานท่ีจัดเก็บรถของกลางของสถานีตํารวจทองที่เกิดเหตุนั้น รวมท้ังรวบรวม
วัตถพุ ยาน เพอื่ สงมอบตอพนกั งานสอบสวน
7. เก็บส่ิงตกหลน ท่ีกดี ขวางการจราจรใหเรียบรอย
8. จดั การจราจรที่เกิดเหตุ จนการจราจรคล่ีคลาย
9. หากเปนการชนที่รุนแรง หรือมีปญหาทางรูปคดี คูกรณีตกลงกันไมได ใหรอพนักงานสอบสวนมาดู
ท่เี กดิ เหตุ
10. มอบแผนที่สังเขปใหพนักงานสอบสวน หากมีผูไดรับบาดเจ็บ ใหแ จงช่ือ ที่อยู และโรงพยาบาลท่ีนําสง
ใหทราบดว ย
11. ไมควรพูดหรือใหความเห็น ระหวางรอพนักงานสอบสวนมาดูที่เกิดเหตุ วาฝายใดถูกหรือผิด ฝายใด
ไดเ ปรียบหรอื เสยี เปรยี บ ใหเ ปนหนา ที่พนกั งานสอบสวน

- 11 -

การกาํ หนดจุดโดยทําเครื่องหมายบนพืน้ ทาง
การกําหนดจุดควรกระทาํ ตอ ยวดยานท่ีเกิดเหตุท้งั หมด รวมทง้ั รองรอยวัตถพุ ยานที่ปรากฎในที่เกดิ เหตุ เชน
จุดชน, จุดที่พบเศษกระจก/เศษดนิ /ชิ้นสวนรถตกอยู, จุดที่ผูตายนอนอยู, จุดที่พบรอยเลือด, รอยหามลอ, รอยครูด
ฯลฯ การขีดกําหนดจดุ สาํ หรับรถยนตต องขดี ตาํ แหนงของลอทุกลอ (ตามลักษณะที่พบในที่เกิดเหตุ หรอื เอียงหรอื บิด
อยางไร ก็ขีดตามแนวนั้น) และแนวกันชนดานหนาและหลังใหครบทุกคัน ท้ังนี้ใหนึกไวในใจเสมอวา หากมีความ
จําเปนตองนํายวดยานที่เกิดเหตุมาไวในสถานท่ีเกิดเหตุอีกครั้ง จะตองสามารถวางไวในตําแหนงเดิมไดทุกประการ
นอกจากน้ีควรจะเขียนทะเบียนรถน้ันๆ ไวท่ีพ้ืนถนน เพ่ือปองกันการสับสนในกรณีที่มีรถเกิดเหตุหลายคัน การขีด
กําหนดจุดรถยนต อาจทําไดดังภาพท่ี 1 การขีดกําหนดจุดสําหรับรถจักรยานยนต, วัตถุพยานตางๆ รวมทั้งจุดท่ี
ผูตายนอนอยูในท่ีเกิดเหตุ สามรถขดี เปน แนวเสนตามรปู รางของรถจกั รยานยนต วัตถุพยาน, หรอื รปู รางของผูตายได

การทาํ แผนทีเ่ กิดเหตุโดยสงั เขป
ตามปกติ เปนหนาท่ีของพนักงานสอบสวนจะตองไปดูท่ีเกิดเหตุและเปนผูจัดทําแผนท่ีเกิดเหตุดวยตนเอง
แตเนื่องจากปจจุบัน สภาพการณเปล่ียนแปลงไป พนักงานสอบสวนไมสามารถไปดูที่เกิดเหตุไดทุกคดี หรือเดินทาง
ไปลาชา เจาหนาท่ีตํารวจท่ีพบเหตุอาจตองจัดทําแผนที่เกิดเหตุเบื้องตน เพื่อประโยชนในการแยกรถคูกรณีและเปด
การจราจรดวยความรวดเร็วแตท้ังน้ีหากสถานการณรุนแรงเชนกรณีมีผูเสียชีวิต หรือมีความเสียหายจํานวนมาก
ระหวางรอพนักงานสอบสวนก็จัดทําไป แตกอนแยกรถคูกรณีควรใหพนักงานสอบสวนมาถึงที่เกิดเหตุเสียกอนและ
มอบแผนท่ีท่ีจัดทําไว ใหพนักงานสอบสวนดําเนินการตอไป หลักในการจัดทําแผนท่ีเกิดเหตุเบื้องตนประกอบดวย
หัวขอดงั ตอ ไปนี้
1. กระดาษท่ีใชในการเขียนแผนท่ีควรเปนกระดาษขาว ไมมีเสนบรรทัด( หากเปนกระดาษตารางแบบ
กระดาษกราฟดีมาก เพราะจะยอมาตราสวนไดแนนอนใกลค ียงกับความเปนจริง) ขนาดพอสมควร ไมเล็กจนเกินไป
จนไมสามารถจะวาดแผนทแี่ ละกาํ หนดรายละเอยี ดไดครบถว น โดยท่วั ไปขนาดทเี่ หมาะสม คอื กระดาษขนาด A4
2. กอนเร่ิมวาดแผนท่ี ใหผูเขียนหันหนาไปทางทิศเหนือ เพื่อใหทิศเหนืออยูดานบนของหัวกระดาษเสมอ
(ในแผนทจ่ี ะปรากฎเครื่องหมายเหนือ หรือ น.)
3. การใชมาตราสวนในแผนท่ี ควรดูใหเหมาะสมกับกระดาษ และควรไดสัดสวนกับสภาพความเปนจริง
ไมเ ล็กหรือใหญจ นเกนิ ไป
4. เขียนแนวถนนบริเวณสถานท่ีเกิดเหตุลงในกระดาษแผนที่ โดยใหปรากฎเสนแบงชองทางเดินรถ
เสน ประ เสน ทึบ (สีขาว/สเี หลอื ง) โดยใหมจี ํานวนชองการจราจรที่มอี ยู รวมทิศทางการเดินรถวาไปในทศิ ทางใด เชน
เปน การเดินรถทางเดียว หรอื เปนการเดินรถสวนทางกัน และมชี องทางเดินรถประจําทางหรอื ไมใหมปี ายจราจรหรือ
เคร่อื งหมายจราจรบนพ้ืนทางในทเี่ กิดเหตุรวมทงั้ ทางคนเดิน(ทางมาลาย) และจุดสัญญาณไฟจราจร

- 12 -

5. วาดรูปรถคูกรณีที่เกิดเหตุ ใหเห็นวาลักษณะที่เกิดเหตุเปนอยางไร เชน ทิศทางรถหันไปในชองทางเดิน
รถใด ครอมชองทางเดินรถใด หรือครอมชองทาง หรือทับเสนแบงชองทางเดินรถหรือไม อยางใด ภาพสมมุติท่ีใช
แทนยวดยานและส่งิ ทีอ่ ยูในท่เี กดิ เหตทุ น่ี ิยมใช ตามภาพที่ 3 ตวั อยางทีใ่ ชใ นการเขยี นแผนท่ี

6. เขียนแนวรอยหามลอ(รอยเบรก), รอยครูด, รอยเลือด, จุดท่ีเศษวัสดุจากยวดยานชนกันตกอยู เชน
เศษกระจกแตก, ช้นิ สว นของรถ เปนตน จดุ หรอื ตําแหนงท่ีผูบ าดเจ็บหรือตายลมนอนอยูหลงั เกดิ เหตุ

7. กําหนดจุดชน (จุดท่ียวดยานกระทบกัน) ลงในแผนท่ี ซ่ึงอาจไดจาการนําชี้ของคูกรณี และ/หรือ จาก
วัตถุพยานในที่เกิดเหตุ เชน จุดท่ีพบเศษดินตก, เศษกระจกแตกตกอยู เปนตนหากคูกรณีนําชี้ไมตรงกัน และไมมี
วัตถุพยานที่บงช้ีได ก็ใหกําหนดจุดชนตามที่คูกรณีแตละฝายนําช้ีไวในแผนท่ี โดยหมายเหตุไวใหชัดเจนวา คูกรณี
ฝา ยใดชี้จุดใด

8. กําหนดแนวทิศทางการเดินรถของยวดยานแตละคันกอนเกิดเหตุ ตามคําบอกเลาของคูกรณี ซ่ึงสามารถ
เปนไปไดและสอดคลองกับสภาพสถานท่ีเกิดเหตุท่ีปรากฎ ( บางคร้ังคูกรณีพยายามใหการในลักษณะที่คาดเคล่ือน
ไปจากจากขอ เทจ็ จริง เพื่อใหไ ดเปรยี บทางคดี)

9. เขียนรายละเอียดของสิ่งท่ีกําหนดไวในแผนที่แลว รวมทั้งหมายเลขทะเบียนรถซ่ึงอาจทําไดโดยการ
อธิบายไปยังจุดน้ันๆ เลยในกรณีที่รายละเอียดมากนักหรืออาจกําหนดเปนตัวเลข สัญลักษณแทน แลวยกนํามา
อธิบายไวด า นขาง หรอื ดา นลา งของแผนท่ใี นกรณที ี่มีรายละเอียดมากๆก็ได

10. หากมีพยานบุคคลรูเห็นเหตุการณ ใหขอจดชื่อและท่ีอยูพรอมหมายเลขโทรศัพทไวเพื่อมอบให
พนกั งานสอบสวน

11. กําหนดสถานทใี่ กลเคียงกบั ท่ีเกดิ เหตุ เพื่อใหทราบวาเหตุน้นั เกดิ ขนึ้ ตรงจดุ ใด เชน หนาสถานที่ราชการ
, โรงพยาบาล, บริษัท, รานคา, ศูนยการคา เปนตน และหากมีทางรถไฟ, สะพาน, ทางโคง, ทางขาม, ท่ีคับขัน ฯลฯ
ก็ใหเขียนกําหนดไวในแผนทีด่ วย

12. จัดใหคูกรณีและพยานที่เห็นเหตุการณไดตรวจดูแผนที่สังเขปเบื้องตนที่ไดจัดทําขึ้นน้ี หากถูกตองตรง
กับความเปนจรงิ ก็ใหคกู รณแี ละพยานลงลายมือชอ่ื รับรองไวเปนหลักฐาน หากคูก รณีไมยอมลงลายมือชอื่ กใ็ หบ ันทึก
ไววาไดแสดงและอธิบายแผนที่สังเขปแลวไมขอลงชื่อ กับท้ังตองลงตําแหนงของเจาหนาท่ีจราจรท่ีจัดทําแผนท่ี
ตลอดจนวัน เดอื น ป และเวลาท่ที าํ แผนที่ฉบบั นนั้ ๆ

13. การจัดทําแผนท่ีสังเขปที่เกิดเหตุนั้น หากสามารถจัดทําไดในขณะที่ยังมิไดมีการเคล่ือนยายยวดยานท่ี
เกิดเหตุออก กจ็ ะทําใหสามารถกําหนดจุดตําแหนง และทศิ ทางไดตรงกับความเปนจรงิ ไดมาก แตหากพิจารณาแลว
เห็นวาการไมเคล่ือนยาย อาจสงผลตอสภาพปญหาการจราจรติดขัด และอาจเกิดอุบัติเหตุซํ้าซอน ก็ควรกําหนดจุด
ทําเครื่องหมายบนพน้ื ทาง เพ่ือแสดงรายละเอียดแลวจึงเคล่อื นยา ยยวดยานและวตั ถพุ ยานออก จากนั้นจงึ จดั ทาํ แผน
ท่เี กดิ เหตุ

- 13 -

14. นอกเหนือจากการทําแผนที่เกิดเหตุแลว อาจจะจัดใหมีการถายภาพดวยกลองถายรูปหรือบันทึกภาพ
ดวยเครื่องถายวิดีโอ ก็ยิ่งจะทําใหสามารถเก็บรายละเอียดไดมากยิ่งข้ึน ทั้งน้ี คงขึ้นอยูกับลักษณะ ความรุนแรง
ความซับซอ นของคดี และความพรอ มของเครื่องมือ อุปกรณ และความสามารถของเจาหนาทข่ี องผปู ฏิบตั ดิ ว ย

- 14 -
ปายจราจรประเภทปา ยบังคับ

แบง เปน 2 ประเภทคือ
1. ปายบังคบั ที่แสดงความหมายตามรูปแบบและลกั ษณะทก่ี ําหนด
2. ปา ยบังคับทแ่ี สดงดวยขอความ และ/หรอื สญั ลกั ษณ

1. "หยดุ "
ความหมาย รถทกุ ชนดิ ตอ งหยุด เม่อื เห็นวา ปลอดภัยแลว จึงใหเ คลื่อนรถตอไปไดด ว ยความระมัดระวัง

2. "ใหทาง"
ความหมาย รถทุกชนดิ ตองระมดั ระวังและใหทางแกรถและคนเดินเทา ในทางขวางหนาผานไปกอน เมื่อเห็นวา

ปลอดภัย และ ไมเ ปนการกดี ขวางการจราจรทบ่ี รเิ วณทางแยกนั้นแลว จงึ ใหเ คลื่อนรถตอ ไปไดดวยความระมัดระวัง

3. "ใหรถสวนทางมากอ น"
ความหมาย ใหผูขับรถทุกชนิดหยุดรถตรงปาย เพ่ือใหรถที่กําลังแลนสวนทางมากอน ถามีรถขางหนาหยุดรอ

อยูกอนก็ใหหยุดรถรอถัดตอกันมาตามลําดับ เมื่อรถท่ีสวนทางมาไดผานไปหมดแลว จึงใหรถท่ีหยุดรอตามปายนี้
เคลื่อนไปได

4. "หามแซง"
ความหมาย หา มมใิ หข ับรถแซงข้นึ หนา รถคนั อ่นื ในเขตทางที่ติดต้ังปา ย

5. "หามเขา"
ความหมาย หามมิใหร ถทุกชนดิ เขาไปในทางท่ีตดิ ต้ังปา ย

- 15 -

6. "หามกลับรถไปทางขวา"
ความหมาย หามมิใหก ลบั รถไปทางขวาไมวา ดว ยวธิ ใี ดๆ ในเขตทางทตี่ ดิ ตั้งปาย

7. "หามกลับรถไปทางซาย"
ความหมาย หามมใิ หก ลับรถไปทางซายไมว าดว ยวธิ ีใดๆ ในเขตทางทตี่ ิดตั้งปา ย

8. "หา มเล้ยี วซา ย"
ความหมาย หามมิใหเล้ยี วรถไปทางซาย

9. "หามเล้ยี วขวา"
ความหมาย หา มมิใหเล้ียวรถไปทางขวา

10. "หามรถยนต"
ความหมาย หา มรถยนตทกุ ชนิดผานเขา ไปในเขตทางที่ติดตั้งปา ย

11. "หามรถบรรทุก"
ความหมาย หามรถบรรทุกทกุ ชนิดผานเขาไปในเขตทางทตี่ ดิ ต้งั ปาย

12. "หา มรถจกั รยานยนต"
ความหมาย หา มรถจักรยานยนตผา นเขาไปในเขตทางท่ตี ดิ ต้ังปาย


Click to View FlipBook Version