The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Asia Cleaning Service Co.,Ltd, 2021-11-09 02:39:27

คู่มือ รปภ ศูนย์ฝึกสิทธิรัตน์

รวมคู่มือ รปภ

กำรจดั แถวตอนเรียงหนงึ่

กำรจดั แถวตอนเรียงสอง 42

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั

แบบฝึ กบุคคลท่ำมือเปล่ำ
สำนักงำนตำรวจแห่งชำติ พ.ศ. ๒๕๔๓

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 43

1. ท่ำตรง

คำอธิบำย : ท่าตรง เป็นการยนื ในลกั ษณะใหส้ ้นเทา้ ชิดกนั ปลายเทา้ แยกออกไปทางขา้ งๆ ละเท่าๆ
กนั ห่างกนั ประมาณ 1 คืบ เข่าเหยียดตึงและบีบเขา้ หากนั มือและแขนท้งั สองขา้ งเหยียดตรงอยขู่ า้ ง
ลาตวั ขอ้ มือไม่หัก พลิกขอ้ ศอกไปขา้ งหน้าเล็กน้อยจนไหล่ท้งั สองขา้ งตึงและเสมอกนั นิ้วมือท้งั
สองขา้ งเรียงชิดติดกนั นิ้วกลางแตะไวท้ ่ีตรงก่ึงกลางขาท่อนบนประมาณแนวตะเขบ็ กางเกง เปิ ดฝ่ า
มือดา้ นนิ้วกอ้ ยออกไปทางดา้ นขา้ งเล็กน้อย ลาคอต้งั ตรงไม่ยื่นคาง สายตามองตรงไปขา้ งหนา้ ใน
แนวระดบั น้าหนกั ตวั วางอยบู่ นเทา้ ท้งั สองเท่าๆ กนั และนิ่ง

ท่าตรง เป็นท่าเบ้ืองตน้ และเป็นพ้นื ฐานการปฏิบตั ิของการฝึกท่าอ่ืนๆ นอกจากน้ียงั สามารถ
ใชเ้ ป็นท่าสาหรับแสดงการเคารพไดท้ ่าหน่ึง

การฝึกหดั ท่าตรงโดยปกติจะปฏิบตั ิจากท่าพกั ตามปกติ

คำบอก : “แถว – ตรง” (คาบอกแบ่ง)

กำรปฏิบตั ิ : ท่าตรง มีจงั หวะเดียว

เม่ือไดย้ ินคาบอกวา่ “แถว” จะตอ้ งจดั ส่วนต่างๆ ของร่างกายให้ยืนอยใู่ นลกั ษณะของท่า
ตรง ยกเวน้ เข่าขวาหยอ่ นเลก็ นอ้ ย พร้อมกบั สูดลมหายใจเขา้ ปอดใหเ้ ตม็ ท่ี และยกอกใหผ้ ่งึ ผาย

เมื่อไดย้ นิ คาบอกวา่ “ตรง” ใหก้ ระตุกเข่าขวาเขา้ มาอยา่ งรวดเร็วและแขง็ แรงจนตึง บีบเข่า
เขา้ หากนั แลว้ นิ่ง

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 44

ท่ำตรง

ด้ำนหน้ำ ด้ำนข้ำง

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 45

2. ท่ำพกั

ท่าพกั แบ่งออกเป็ น 4 ประเภท คือ ท่าพกั ตามปกติ ท่าพกั ตามระเบียบ ท่าพกั ตามสบาย
และท่าพกั แถว

2.1 ท่ำพกั ตำมปกติ

คำอธิบำย : ท่าพกั ตามปกติ เป็นการยนื โดยส่วนส่วนต่างๆ ของร่างกายอยใู่ นลกั ษณะเช่นเดียวกบั ท่า
ตรง เวน้ แต่เข่าขา้ งใดขา้ งหน่ึงหยอ่ นอยเู่ ลก็ นอ้ ย

ท่าพกั ตามปกติ เป็ นท่าท่ีใชผ้ อ่ นคลายอิริยาบถ ผ่อนคลายความตรึงเครียดจากท่าตรง โดย
ตอ้ งเริ่มปฏิบตั ิจากท่าตรงเสมอ

คำบอก : “พกั ” (คาบอกคาเดียว)

กำรปฏิบตั ิ : ท่าพกั ตามปกติ มีจงั หวะเดียว แต่ใหป้ ฏิบตั ิไปตามลาดบั ข้นั ตอน ดงั น้ี

ข้นั ตอนแรก เม่ือไดย้ นิ คาบอกวา่ “พกั ” ใหห้ ยอ่ นเข่าขวาเลก็ นอ้ ย โดยพยายามไม่ใหส้ ่วน
อื่นๆ ของร่างกายมีการไหวติง

ข้นั ตอนที่สอง อนุญาตใหเ้ ปลี่ยนเข่าพกั ไดต้ ามสมควรและเท่าท่ีจาเป็น โดยเทา้ ท้งั สองขา้ ง
คงอยกู่ บั ท่ีและหา้ มพดู คุยกนั โดยเดด็ ขาด

กำรกลบั สู่ท่ำตรง

คำบอก : “แถว – ตรง” (คาบอกแบ่ง)

กำรปฏบิ ัติ : การกลบั สู่ท่าตรง มีจงั หวะเดียว

เมื่อไดย้ ินคาบอกว่า “แถว” จะตอ้ งจดั ส่วนต่างๆ ของร่างกายให้ยืนอยใู่ นลกั ษณะของท่า
ตรง ยกเวน้ เข่าขวาหยอ่ นเลก็ นอ้ ย พร้อมกบั สูดลมหายใจเขา้ ปอดใหเ้ ตม็ ที่ และยกอกใหผ้ ่งึ ผาย

เม่ือไดย้ นิ คาบอกวา่ “ตรง” ใหก้ ระตุกเข่าขวาเขา้ มาอยา่ งรวดเร็ว และแขง็ แรงจนตึงบีบเข่า
เขา้ หากนั แลว้ นิ่ง

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 46

ท่ำพกั ตำมปกติ

ด้ำนหน้ำ ด้ำนข้ำง

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 47

2.2 ท่ำพกั ตำมระเบยี บ

คำอธิบำย : ท่าพกั ตามระเบียบ เป็นการยนื โดยเทา้ ท้งั สองขา้ งแยกห่างจากกนั ประมาณคร่ึงกา้ วหรือ
ประมาณ 30 เซนติเมตร ปลายเทา้ อยใู่ นแนวเดียวกนั ขาท้งั สองขา้ งตึง น้าหนกั ตวั อยบู่ นเทา้ ท้งั สอง
ขา้ งเท่าๆ กนั มือไขวห้ ลงั โดยหลงั มือซ้ายแนบชิดติดลาตวั ในแนวเข็มขดั ประมาณก่ึงกลางลาตวั
หลงั มือขวาทบั มือซา้ ย นิ้วหวั แม่มือซา้ ยไขวท้ บั นิ้วหวั แม่มือขวา โดยนิ้วหวั แม่มือท้งั สองขา้ งเหยยี ด
ตึง หลงั มือขวาทบั มือซ้าย นิ้วหัวแม่มือซ้ายไขวท้ บั นิ้วหัวแม่มือขวา โดยนิ้วหัวแม่มือท้งั สองขา้ ง
เหยียดตึง นิ้วมือท้งั สี่ท่ีเหลือของแต่ละมือเหยียดตรง เรียงชิดติดกนั และเฉียงลงไปทางเบ้ืองล่าง
ขอ้ ศอกท้งั สองขา้ งดนั ไปขา้ งหนา้ เลก็ นอ้ ย อกยกข้ึนในลกั ษณะสง่าผา่ เผย ไหล่ท้งั สองขา้ งเสมอกนั
ลาคอต้งั ตรง สายตามองตรงไปขา้ งหนา้ ในแนวระดบั และนิ่ง

ท่าพกั ตามระเบียบ เป็นท่าที่ใชผ้ อ่ นคลายอิริยาบถ ผอ่ นคลายความตรึงเครียดตอ้ งเร่ิมปฏิบตั ิ
จากท่าตรงเสมอ ปกติเป็ นท่าที่ใชพ้ กั สาหรับแถวในงานพิธีการ และเป็ นท่าสาหรับปฏิบตั ิหนา้ ท่ีที่
ตอ้ งการแสดงออกถึงความองอาจ ผ่งึ ผา่ ย เช่น การปฏิบตั ิหนา้ ที่รักษาการณ์

คำบอก : “ตำมระเบียบ, พกั ” (คาบอกเป็นคาๆ )

กำรปฏบิ ัติ : ท่าพกั ตามระเบียบ มีจงั หวะเดียว

เมื่อสิ้นสุดคาบอกวา่ “ตามระเบียบ, พกั ” ใหส้ ะบดั แขนท้งั สองขา้ งเหยียดตรงอยขู่ า้ งลาตวั
แลว้ แยกเทา้ ซ้ายออกไปทางดา้ นซ้ายในลกั ษณะขาเหยียดตึง และตบฝ่ าเทา้ ลงกบั พ้ืนอยา่ งแขง็ แรง
ในขณะแยกเทา้ ใหน้ ามือท้งั สองขา้ งไปไขวห้ ลงั อยใู่ นลกั ษณะของท่าพกั ตามระเบียบ

กำรกลบั สู่ท่ำตรง

คำบอก : “แถว – ตรง” (คาบอกแบ่ง)

กำรปฏบิ ตั ิ : การกลบั สู่ท่าตรง มีจงั หวะเดียว

เม่ือสิ้นสุดคาบอกวา่ “แถว – ตรง” ใหน้ าเทา้ ซา้ ยกลบั มาชิดกบั เทา้ ขวา พร้อมกบั ลดมือท้งั
สองขา้ งลงมาอยใู่ นลกั ษณะของท่าตรงอยา่ งแขง็ แรงแลว้ น่ิง

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 48

ท่ำพกั ตำมระเบียบ

ด้ำนหน้ำ ด้ำนหลงั

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 49

2.3 ท่ำพกั ตำมสบำย

คำอธิบำย : ท่าพกั ตามสบาย เป็ นการยืนโดยเข่าขวาหย่อนลงเล็กน้อย เทา้ ขา้ งใดขา้ งหน่ึงอยู่กบั ที่
สามารถเคล่ือนไหวอิริยาบถไดต้ ามสบาย และนงั่ ไดเ้ ม่ือไดร้ ับอนุญาตแต่เทา้ ขา้ งใดขา้ งหน่ึงจะตอ้ ง
อยกู่ บั ท่ี ท่าน้ีหา้ มออกนอกแถว

คำบอก : “ตำมสบำย, พกั ” (คาบอกเป็นคาๆ )

กำรปฏิบัติ : ท่าพกั ตามสบาย มีจงั หวะเดียว แต่ใหป้ ฏิบตั ิไปตามลาดบั ดงั น้ี

ข้ันตอนแรก เมื่อสิ้นสุดคาบอกว่า “ตามสบาย, พกั ” ให้หย่อนเข่าขวาลงเล็กน้อยโดย
พยายามไม่ใหส้ ่วนต่างๆ ของร่างกายมีการไหวติง เช่นเดียวกบั การทาท่าพกั ตามปกติในข้นั แรก

ข้ันตอนที่สอง อนุญาตใหเ้ คล่ือนไหวอิริยาบถไดต้ ามสบาย แต่เทา้ ขา้ งใดขา้ งหน่ึงจะตอ้ ง
อยกู่ บั ที่

กำรกลบั สู่ท่ำตรง

คำบอก : “แถว – ตรง” (คาบอกแบ่ง)

กำรปฏิบัติ : การกลบั สู่ท่าตรง มีจงั หวะเดียว

เมื่อไดย้ ินคาบอกว่า “แถว” จะตอ้ งจดั ส่วนต่างๆ ของร่างกายให้ยืนอยใู่ นลกั ษณะของท่า
ตรง ยกเวน้ เข่าขวาหยอ่ นเลก็ นอ้ ย พร้อมกบั สูดลมหายใจเขา้ ปอดใหเ้ ตม็ ท่ี และยกอกใหผ้ ่งึ ผาย

เม่ือไดย้ นิ คาบอกวา่ “ตรง” ใหก้ ระตุกเข่าขวาเขา้ มาอยา่ งรวดเร็วและแขง็ แรงจนตึงบีบเข่า
เขา้ หากนั แลว้ นิ่ง

คำแนะนำสำหรับผู้ฝึ ก

ในการกลบั สู่ท่าตรง ใหผ้ ฝู้ ึกใชค้ าบอกวา่ “เลกิ ทำ” ก่อน เพ่ือใหผ้ รู้ ับการฝึ กกลบั มาอยใู่ น
ท่าพกั ตามปกติ จากน้นั จึงใชค้ าบอกวา่ “แถว – ตรง”

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 50

2.4 ท่ำพกั แถว

คำอธิบำย : ท่าพกั แถว เป็ นการแยกออกจากแถวไปพกั ในบริเวณใกลเ้ คียง สามารถนง่ั พกั ไดต้ าม
สะดวก
คำบอก : “พกั แถว” (คาบอกรวด)
กำรปฏบิ ัติ : ท่าพกั แถวมีจงั หวะเดียว

เม่ือสิ้นสุดคาบอกว่า “พกั แถว” ให้ทุกคนที่อยู่ในแถวก้าวเทา้ ซ้ายไปขา้ งหลงั หน่ึงกา้ ว
แลว้ นาเทา้ ขวาไปชิด จากน้นั ต่างคนต่างแยกออกไปจากแถวในทนั ที

กำรกลบั สู่ทำงตรง

คำบอก : “แถว” (คาบอกคาเดียว)
กำรปฏบิ ตั ิ : การกลบั สู่ท่าตรง มีจงั หวะเดียว

เมื่อไดย้ นิ คาบอกวา่ “แถว” ใหท้ ุกคนรีบกลบั มาเขา้ แถวท่ีเดิมโดยเร็ว และให้อยใู่ นท่าตรง
จนกวา่ จะไดร้ ับคาสงั่ ใหป้ ฏิบตั ิอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงต่อไป
คำแนะนำสำหรับผู้ฝึ ก

เม่ือผฝู้ ึ กเรียกแถวดว้ ยการใชค้ าบอกวา่ “แถว” แลว้ ผฝู้ ึ กจะใชค้ าบอกวา่ “แถว - ตรง” อีก
ไม่ได้ เนื่องจากผรู้ ับการฝึกไดก้ ลบั มาอยใู่ นแถวในท่าตรงอยแู่ ลว้

ถ้าผูฝ้ ึ กเห็นว่าแถวยงั ไม่เรียบร้อย จะต้องใช้คาบอกต่อไปว่า “จัดแถว” และ “น่ิง”
ตามลาดบั เท่าน้นั

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 51

3. ท่ำเคำรพ

ท่าเคารพ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ ท่าตรง ท่าวนั ทยหตั ถ์ และท่าแลขวาแลซา้ ย

3.1 ท่ำตรง

คำอธิบำย : ท่าตรง เป็นท่าแสดงการเคารพท่าหน่ึง สาหรับขา้ ราชการตารวจระดบั ต่ากวา่ ช้นั สญั ญา
บตั ร ขณะอยู่ตามลาพงั ไม่สวมหมวก หรือขณะอยูใ่ นแถวจะสวมหมวกหรือมิไดส้ วมหมวกก็ตาม
เมื่อผรู้ ับการเคารพอยใู่ นทิศทางตรงหนา้

การแสดงการเคารพดว้ ยท่าตรง แบ่งออกเป็ น 2 ลกั ษณะ คือ การแสดงการเคารพดว้ ยท่า
ตรงขณะอยตู่ ามลาพงั และการแสดงการเคารพดว้ ยท่าตรงขณะอยใู่ นแถว

3.1.1 กำรแสดงกำรเคำรพด้วยท่ำตรงขณะอยู่ตำมลำพงั

คำอธิบำย : การแสดงการเคารพดว้ ยท่าตรงขณะอยตู่ ามลาพงั เป็นการแสดงการเคารพขณะไม่สวม
หมวกและอยตู่ ามลาพงั

คำบอก : “ตรง” (คาบอกคาเดียว)

กำรปฏิบตั ิ : การแสดงการเคารพดว้ ยท่าตรงขณะอยตู่ ามลาพงั มีจงั หวะเดียว

เม่ือไดย้ นิ คาบอก “ตรง” ใหห้ นั ไปทางผรู้ ับการเคารพซ่ึงมียศสูงสุดในท่ีน้นั แลว้ ทาท่าตรง

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 52

ท่ำตรง

ด้ำนหน้ำ ด้ำนข้ำง

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 53

3.1.2 กำรแสดงกำรเคำรพด้วยท่ำตรงขณะอยู่ในแถว

คำอธิบำย : การแสดงการเคารพดว้ ยท่าตรงขณะอยใู่ นแถว เป็นการแสดงการเคารพเม่ือประจาอยใู่ น
แถวจะสวมหมวกหรือมิไดส้ วมหมวกกไ็ ด้

คำบอก : “แถว – ตรง” (คาบอกแบ่ง)

กำรปฏิบัติ : การแสดงการเคารพดว้ ยท่าตรงขณะอยใู่ นแถว มีจงั หวะเดียว

เม่ือไดย้ ินคาบอกว่า ”แถว” จะตอ้ งจดั ส่วนต่างๆ ของร่างกายให้ยืนอยใู่ นลกั ษณะของท่า
ตรง ยกเวน้ เข่าขวาผอ่ นเลก็ นอ้ ย พร้อมกบั สูดลมหายใจเขา้ ปอดใหเ้ ตม็ ที่ และยกออกใหผ้ ่งึ ผาย

เมื่อไดย้ ินคาบอกวา่ “ตรง” ให้กระตุกเข่าขวาเขา้ มาอยา่ งรวดเร็วและแขง็ แรงจนตึงบีบเข่า
เขา้ หากนั แลว้ นิ่ง

คำแนะนำสำหรับท่ำตรง

1. การแสดงการเคารพของนายตารวจช้นั สญั ญาบตั ร ขณะอยตู่ ามลาพงั หรืออยใู่ นแถวเมื่อ
มิไดส้ วมหมวก ใหท้ าท่าตรงแลว้ กม้ ศีรษะ

2. กรณีตารวจมิไดอ้ ยู่ในแถว แต่รวมกนั อยูใ่ นความควบคุม เช่นในห้องประชุม เป็ นตน้
การใช้คาบอกในการแสดลงการเคารพว่า “ตรง” อาจให้มีคาสร้อยก่อน เพื่อเป็ นการเตรียมให้ผู้
ปฏิบตั ิพร้อมเพรียง เม่ือสิ้นสุดคาบอก เช่น “ท้งั หมด , ตรง”

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 54

3.2 ท่ำวนั ทยหัตถ์

คำอธิบำย : ท่าวนั ทยหัตถ์ เป็ นการแสดงการเคารพในลกั ษณะแขนขวายกข้ึนท่อนล่างงอเขา้ หา
ศีรษะ ปลายนิ้วช้ีมือขวาแตะขอบดา้ นขวาของกระบงั หมวกเม่ือสวมหมวกหมอ้ ตาล หมวกเหล็ก
หมวกแก๊ปทรงดึง หมวกแก๊ปทรงอ่อน หมวกยอด หมวกกนั อนั ตราย หรือขอบดา้ นขวาปี กหมวก
ของหมวกปี กทรงแข็ง หรือสันปี กหมวกดา้ นขวาของหมวกทรงอ่อนสักหลาดในแนวหางคิ้วขวา
หรือหางคิว้ ขวา เม่ือสวมหมวกหนีบ มือเหยยี ดตรงตามแนวแขนท่อนล่าง นิ้วมือท้งั หา้ เรียงชิดติดกนั
ขอ้ มือไม่หกั เปิ ดฝ่ ามือข้ึนประมาณ 15 องศา แขนท่อนบนเหยียดย่ืนอกไปดา้ นขา้ ง ให้สูงประมาณ
แนวไหล่เฉียงไปขา้ งหนา้ เลก็ นอ้ ย หนา้ หนั ไปทางผรู้ ับการเคารพ ร่างกายส่วนอื่นอยใู่ นลกั ษณะของ
ท่าตรง

ท่าวนั ทยหัตถ์ แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ ท่าวนั ทยหัตถเ์ ม่ืออยู่กบั ที่ และท่าวนั ทยหัตถ์
ขณะเคลื่อนที่

3.2.1 ท่ำวนั ทยหัตถ์เม่ืออยู่กบั ที่

ท่าวนั ทยหตั ถเ์ ม่ืออยกู่ บั ท่ี แบ่งไดเ้ ป็น 3 ประเภท คือ ท่าวนั ทยหตั ถต์ รงหนา้ ท่าวนั ทยหตั ถ์
ทางขวา และท่าวนั ทยหตั ถท์ างซา้ ย

3.2.1.1 ท่ำวนั ทยหัตถ์ตรงหน้ำ

คำอธิบำย : ท่าวนั ทยหัตถต์ รงหน้า เป็ นการแสดงการเคารพเมื่อผูร้ ับการเคารพอยูใ่ นทิศทาง
ตรงหนา้

คำบอก : “ตรงหนา้ , วนั ทยหตั ถ”์ (คาบอกเป็นคาๆ )

กำรปฏบิ ตั ิ : ท่าวนั ทยหตั ถต์ รงหนา้ มีจงั หวะเดียว

เมื่อสิ้นสุดคาบอกว่า “ตรงหน้า , วนั ทยหัตถ์” ให้ยกมือขวาเฉียดลาตวั ข้ึนไปอยู่ในท่า
วนั ทยหตั ถอ์ ยา่ งรวดเร็วและแขง็ แรง

กำรกลบั สู่ท่ำตรง

คำบอก : “มือลง” (คาบอกรวด)

กำรปฏิบตั ิ : การกลบั สู่ท่าตรง มีจงั หวะเดียว

เม่ือสิ้นสุดคาบอกว่า “มือลง” ให้ลดมือขวาเฉียดลาตวั ลงมาอยใู่ นท่าตรงอยา่ งรวดเร็วและ
แขง็ แรง

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 55

ท่ำวนั ทยหัตถ์

ด้ำนหน้ำ ด้ำนข้ำง

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 56

3.2.1.2 ท่ำวนั ทยหัตถ์ทำงขวำ

คำอธิบำย : ท่าวนั ทยหตั ถท์ างขวา เป็ นการแสดงการเคารพเมื่อผูร้ ับการเคารพเคลื่อนที่มาทางดา้ น
ขวา
คำบอก : “ทางขวา , วนั ทยหตั ถ”์ (คาบอกเป็นคาๆ )
กำรปฏิบตั ิ : ท่าวนั ทยหตั ถท์ างขวา มีจงั หวะเดียว

เมื่อสิ้นสุดคาบอกว่า “ทางขวา , วนั ทยหัตถ์” ให้สะบดั หน้าไปก่ึงขวามองสบตาผูร้ ับการ
เคารพ พร้อมกบั ยกมือขวาเฉียดลาตวั ข้ึนทาท่าวนั ทยหตั ถ์

กำรกลบั สู่ท่ำตรง

คำบอก : “มือลง” (คาบอกรวด)
กำรปฏบิ ตั ิ : การกลบั สู่ท่าตรง มีจงั หวะเดียว

เม่ือสิ้นสุดคาบอกวา่ “มือลง” ใหส้ ะบดั หนา้ กลบั พร้อมกบั ลดมือขวาเฉียดลาตวั ลงมาอยใู่ น
ท่าตรงอยา่ งรวดเร็วและแขง็ แรง

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 57

ท่ำวนั ทยหัตถ์ทำงขวำ

ด้ำนหน้ำ ด้ำนข้ำง

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 58

3.2.1.3 ท่ำวนั ทยหัตถ์ทำงซ้ำย

คำอธิบำย : ท่าวนั ทยหตั ถท์ างซา้ ย เป็นการแสดงการเคารพเม่ือผรู้ ับการเคารพเคลื่อนที่มาทางดา้ น
ซา้ ย

คำบอก : “ทางซา้ ย , วนั ทยหตั ถ”์ (คาบอกเป็นคาๆ )

กำรปฏบิ ตั ิ : ท่าวนั ทยหตั ถท์ างซา้ ย มีจงั หวะเดียว

เมื่อสิ้นสุดคาบอกว่า “ทางซา้ ย , วนั ทยหัตถ์” ให้สะบดั หนา้ ไปก่ึงซา้ ย มองสบตาผรู้ ับการ
เคารพ พร้อมกบั ยกมือขวาเฉียดลาตวั ข้ึนทาท่าวนั ทยหตั ถ์

กำรกลบั สู่ท่ำตรง

คำบอก : “มือลง” (คาบอกรวด)

กำรปฏบิ ตั ิ : การกลบั สู่ท่าตรง มีจงั หวะเดียว

เม่ือสิ้นสุดคาบอกวา่ “มือลง” ใหส้ ะบดั หนา้ กลบั พร้อมกบั ลดมือขวาเฉียดลาตวั ลงมาอยใู่ น
ท่าตรงอยา่ งรวดเร็วและแขง็ แรง

คำแนะนำสำหรับผู้ฝึ ก

การฝึ กท่าวนั ทยหัตถ์ทางขวา และท่าวนั ทยหัตถ์ทางซ้าย ให้ทาการฝึ กในกรณีผูร้ ับการ
เคารพเคลื่อนที่ผ่านหน้าผู้แสดงการเคารพด้วย โดยเมื่อสิ้นสุดคาบอกว่า “ทางขวา(ซ้าย) ,
วนั ทยหตั ถ”์ ใหส้ ะบดั หนา้ ไปก่ึงขวา(ซา้ ย) มองสบตาผรู้ ับการเคารพทางดา้ นขวา(ซา้ ย) พร้อมกบั ยก
มือขวาเฉียดลาตวั ข้ึนทาท่าวนั ทยหัตถ์ และหันหน้ามองตามผูร้ ับการเคารพไปจนผูร้ ับการเคารพ
เคลื่อนท่ีผา่ นไปทางดา้ นซา้ ย(ขวา) แลว้ 2 กา้ ว จึงสะบดั หนา้ กลบั พร้อมกบั ลดมือขวาเฉียดลาตวั ลง
มาอยใู่ นท่าตรงอยา่ งรวดเร็วและแขง็ แรง โดยไม่ตอ้ งมีคาบอก

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 59

ท่ำวนั ทยหัตถ์ทำงซ้ำย

ด้ำนหน้ำ ด้ำนข้ำง

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 60

4. ท่ำหันอยู่กบั ที่

ท่าหนั อยกู่ บั ท่ี แบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ ท่าขวาหนั ท่าซา้ ยหนั ท่าก่ึงขวาหนั ท่าก่ึงซา้ ย
หนั และท่ากลบั หลงั หนั

4.1 ท่ำขวำหันอยู่กบั ท่ี

คำอธิบำย : ท่าขวาหนั อยกู่ บั ท่ี เป็นการเปล่ียนทิศทางการยืนในท่าตรง หรือเป็นการเปล่ียนรูปแถว
จากแถวตอนเป็นแถวหนา้ กระดาน หรือเปลี่ยนจากแถวหนา้ กระดานเป็นแถวตอน โดยการหมุนตัว
ไปทางขวา 90 องศา

คำบอก : “ขวา – หนั ” (คาบอกแบ่ง)

กำรปฏิบตั ิ : ท่าขวาหนั อยกู่ บั ท่ี มีสองจงั หวะ ดงั น้ี

จังหวะหนึ่ง เม่ือสิ้นสุดคาบอกว่า “ขวา – หัน” ให้เปิ ดปลายเทา้ ขวาให้สูงข้ึนจากพ้ืน
เลก็ นอ้ ย ใชส้ ้นั เทา้ ขวาเป็นจุดหมุนโดยกดตรึงอยกู่ บั ท่ี หมุนตวั ไปทางขวา 90 องศา ปลายเทา้ ซา้ ยกด
แน่นกบั พ้ืนเพ่ือช่วยใหก้ ารทรงตวั ดีในระหวา่ หมุนตวั ส้นเทา้ ซา้ ยเปิ ด ขาซา้ ยเหยียดตรึงขณะท่ีหมุน
ตัวไปน้ันจะต้องพยายามรักษาทรวดทรงของลาตัว มือท้ังสองข้างอยู่ในลักษณะของท่าตรง
ตลอดเวลา เม่ือหมุนตวั ไปไดท้ ่ีแลว้ น้าหนักตวั จะอยู่บนเทา้ ขวา ขาซ้ายเหยียดตึงไปทางขา้ งหลงั
ทางซา้ ย ส้นเทา้ เปิ ด

จงั หวะสอง นาเทา้ ซา้ ยไปชิดกบั เทา้ ขวาอยา่ แขง็ แรง กลบั มาอยใู่ นท่าตรง

คำแนะนำสำหรับผู้ฝึ ก

1. ถา้ ผฝู้ ึกประสงคจ์ ะฝึกท่าขวาหนั อยกู่ บั ที่ปิ ดจงั หวะ จะตอ้ งแจง้ ใหผ้ รู้ ับการฝึกทราบก่อน
วา่ จะทาการฝึกปิ ดจงั หวะ โดยใชค้ าบอก ดงั น้ี

จงั หวะหน่ึง ใหใ้ ชค้ าบอกวา่ “ขวา – หนั ”

จงั หวะสอง ใหใ้ ชค้ าบอกวา่ “ต่อไป”

2. ในกรณีฝึ กปิ ดจงั หวะ ถา้ ผูฝ้ ึ กส่ังให้นบั เมื่อผรู้ ับการฝึ กปฏิบตั ิสิ้นสุดจงั หวะท่ีหน่ึงแลว้
ใหน้ บั “หน่ึง” ในจงั หวะต่อไปใหน้ บั “สอง”

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 61

ท่ำขวำหันอยู่กบั ท่ี

จังหวะหนึ่ง จังหวะสอง

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 62

4.2 ท่ำซ้ำยหันอยู่กบั ที่

คำอธิบำย : ท่าซา้ ยหนั อยกู่ บั ท่ี เป็ นการเปลี่ยนทิศทางการยนื ในท่าตรง หรือเป็ นการเปลี่ยนรูปแถว
จากแถวตอนเป็นแถวหนา้ กระดาน หรือเปล่ียนจากแถวหนา้ กระดานเป็นแถวตอน โดยการหมุนตัว
ไปทางซา้ ย 90 องศา

คำบอก : “ซา้ ย – หนั ” (คาบอกแบ่ง)

กำรปฏิบตั ิ : ท่าซา้ ยหนั อยกู่ บั ที่ มีสองจงั หวะ ดงั น้ี

จังหวะหน่ึง เม่ือสิ้นสุดคาบอกว่า “ซ้าย – หัน” ให้เปิ ดปลายเทา้ ซ้ายให้สูงข้ึนจากพ้ืน
เลก็ นอ้ ย ใชส้ น้ เทา้ ซา้ ยเป็นจุดหมุนโดยกดตรึงอยกู่ บั ท่ี หมุนตวั ไปทางซา้ ยไป 90 องศา ปลายเทา้ ขวา
กดแน่นกบั พ้ืนเพื่อช่วยให้การทรงตวั ดีในระหว่างหมุนตวั ส้นเทา้ ขวาเปิ ด ขาขวาเหยียดตึงขณะที่
หมุนตวั ไปน้ันจะตอ้ งพยายามรักษาทรวดทรงของลาตวั มือท้งั สองขา้ งอยู่ในลกั ษณะของท่าตรง
ตลอดเวลา เมื่อหมุนตวั ไปไดท้ ่ีแลว้ น้าหนักตวั จะอยู่บนเทา้ ซ้าย ขาขวาเหยียดตึงไปทางดา้ นหลงั
ทางขวา ส้นเทา้ เปิ ด

จงั หวะสอง นาเทา้ ขวาไปชิดกบั เทา้ ซา้ ยอยา่ งแขง็ แรง กลบั มาอยใู่ นท่าตรง

คำแนะนำสำหรับผู้ฝึ ก

1. ถา้ ผฝู้ ึกประสงคจ์ ะฝึกท่าซา้ ยหนั อยกู่ บั ที่ปิ ดจงั หวะ จะตอ้ งแจง้ ใหผ้ รู้ ับการฝึกทราบก่อน
วา่ จะทาการฝึกปิ ดจงั หวะ โดยใชค้ าบอก ดงั น้ี

จงั หวะหนง่ึ ใหใ้ ชค้ าบอกวา่ “ซา้ ย – หนั ”

จงั หวะสอง ใหใ้ ชค้ าบอกวา่ “ต่อไป”

2. ในกรณีฝึ กปิ ดจงั หวะ ถา้ ผูฝ้ ึ กส่ังให้นบั เมื่อผรู้ ับการฝึ กปฏิบตั ิสิ้นสุดจงั หวะที่หน่ึงแลว้
ใหน้ บั “หน่ึง” ในจงั หวะต่อไปใหน้ บั “สอง”

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 63

ท่ำซ้ำยหันอยู่กบั ท่ี

จังหวะหนึ่ง จังหวะสอง

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 64

4.2 ท่ำกลบั หลงั หันอยู่กบั ท่ี

คำอธิบำย : ท่ากลบั หลงั หันอยู่กบั ท่ี เป็ นการเปลี่ยนทิศทางการยืนในท่าตรงโดยการหมุนตวั ไป
ทางขวา 180 องศา

คำบอก : “กลบั หลงั – หนั ” (คาบอกแบ่ง)

กำรปฏบิ ตั ิ : ท่ากลบั หลงั หนั อยกู่ บั ท่ี มีสองจงั หวะ ดงั น้ี

จังหวะหน่ึง เม่ือสิ้นสุดคาบอกวา่ “กลบั หลงั – หนั ” ใหเ้ ปิ ดปลายเทา้ ขวาให้สูงข้ึนจากพ้ืน
เล็กน้อย ใช้ส้นเทา้ ขวาเป็ นจุดหมุนโดยกดตรึงอยู่กบั ท่ี หมุนตวั ไปทางขวา 180 องศา พร้อมกบั
เหวยี่ งเทา้ ซา้ ยนาปลายเทา้ ไปแตะไวท้ ี่พ้นื เย้อื งดา้ นหลงั ขา้ งซา้ ยของลาตวั ในแนวเสมอกบั ส้นเทา้ ขวา
ส้นเทา้ ซา้ ยเปิ ด ขาซา้ ยเหยยี ดตึง โดยขณะท่ีหมุนตวั ไปน้นั จะตอ้ งพยายามรักษาทรวดทรงของลาตวั
มือท้งั สองขา้ งอยใู่ นลกั ษณะของท่าตรงตลอดเวลา เม่ือหมุนตวั ไปไดท้ ่ีแลว้ น้าหนกั ตวั จะอยบู่ นเทา้
ขวา ขาซา้ ยเหยยี ดตึงไปทางดา้ นซา้ ย สน้ เทา้ เปิ ด

จังหวะสอง นาเทา้ ซา้ ยไปชิดกบั เทา้ ขวาอยา่ งแขง็ แรง กลบั มาอยใู่ นท่าตรง

คำแนะนำสำหรับผู้ฝึ ก

1. ถา้ ผฝู้ ึกประสงคจ์ ะฝึกท่ากลบั หลงั หนั อยกู่ บั ที่ปิ ดจงั หวะ จะตอ้ งแจง้ ใหผ้ รู้ ับการฝึกทราบ
ก่อนวา่ จะทาการฝึกปิ ดจงั หวะ โดยใชค้ าบอก ดงั น้ี

จงั หวะหน่งึ ใหใ้ ชค้ าบอกวา่ “กลบั หลงั – หนั ”

จงั หวะสอง ใหใ้ ชค้ าบอกวา่ “ต่อไป”

2. ในกรณีฝึ กปิ ดจงั หวะ ถา้ ผูฝ้ ึ กสั่งให้นบั เม่ือผูร้ ับการฝึ กปฏิบตั ิสิ้นสุดจงั หวะท่ีหน่ึงแลว้
ใหน้ บั “หน่ึง” ในจงั หวะต่อไปใหน้ บั “สอง”

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 65

ท่ำกลบั หลงั หันอยู่กบั ท่ี

จงั หวะหน่ึง จังหวะสอง

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 66

5. ท่ำถอดหมวกและสวมหมวก

5.1 ท่ำถอดหมวก

คำอธิบำย : ท่าถอดหมวก เป็ นการนาหมวกท่ีสวมอยทู่ ี่ศีรษะมาถือไวด้ ว้ ยมือซ้าย แขนซ้ายอยู่ใน
ลกั ษณะงอขอ้ ศอก โดยแขนท่อนล่างต้งั ไดฉ้ ากกบั แขนท่อนบน ขอ้ ศอกแนบชิดลาตวั ร่างกายส่วน
อื่นอยใู่ นลกั ษณะของท่าตรง

คำบอก : “ถอดหมวก” (คาบอกรวด)

กำรปฏิบัติ : ท่าถอดหมวก แบ่งเป็นสามข้นั ตอนดงั น้ี

ข้ันตอนแรก เมื่อสิ้นสุดคาบอกวา่ “ถอดหมวก” ให้ยกแขนซา้ ยท่อนล่างต้งั ไดฉ้ ากกบั แขน
ท่อนบนกระชบั ขอ้ ศอกใหแ้ นบชิดลาตวั หงายฝ่ ามือข้ึนโดยใหน้ ิ้วหวั แม่มือยกช้ีต้งั ฉากกบั ฝ่ ามือ นิ้ว
ท้งั ส่ีท่ีเหลือเหยยี ดตรงและเรียงชิดติดกนั พร้อมกบั ยกมือขวาข้ึนไปจบั หมวก

ถา้ เป็นหมวกเหลก็ หมวกยอด และหมวกกนั อนั ตราย กรณีใชส้ ายรัดคางใหย้ กมือขวาปลด
สายรัดคางให้หลุดออกจากคางแลว้ นาสายรัดคางข้ึนไปจบั รวมกบั กะบงั หมวก โดยใชน้ ิ้วหวั แม่มือ
หนีบสายรัดคางอยทู่ างดา้ นล่าง ส่วนนิ้วท้งั ส่ีที่เหลือเหยยี ดตรงเรียงชิดติดกนั วางทาบอยทู่ างดา้ นบน
ตรงแนวหางคิ้วขวา เปิ ดขอ้ ศอกขวาอยรู่ ะดบั แนวไหล่

ถา้ เป็ นหมวกเหล็ก หมวกยอดและหมวกกนั อนั ตราย กรณีไม่ใชส้ ายรัดคาง หรือถา้ เป็ น
หมวกทรงหมอ้ ตาล หมวกแก๊ปทรงตึงและหมวกแก๊ปทรงอ่อนให้ยกมือขวาข้ึนไปจบั กะบงั หมวก
โดยใหน้ ิ้วหวั แม่มืออยทู่ างดา้ นล่าง ส่วนนิ้วท้งั สี่ท่ีเหลือเหยยี ดตรงเรียงชิดติดกนั วางทาบอยทู่ างดา้ น
บนตรงแนวหางคิ้วขวา เปิ ดขอ้ ศอกขวาอยรู่ ะดบั แนวไหล่ ถา้ เป็นหมวกหนีบให้ยกมือขวาข้ึนไปจบั
ทางดา้ นหนา้ ของหมวกโดยใชน้ ิ้วหวั แม่มือจบั อยทู่ างดา้ นขวาของหมวก ส่วนนิ้วท้งั ส่ีที่เหลือเหยยี ด
ตรงเรียงชิดติดกนั จบั อยทู่ างดา้ ยซา้ ยของหมวกบริเวณเคร่ืองหมายหนา้ หมวก ขอ้ ศอกขวาเฉียงไป
ดา้ นหนา้

ถา้ เป็ นหมวกปี กทรงแข็ง และหมวกทรงอ่อนสักหลาด ให้ยกมือขวาข้ึนไปจบั ปี กหมวก
โดยใหน้ ิ้วหวั แม่มืออยทู่ างดา้ นล่าง ส่วนนิ้วท้งั ส่ีท่ีเหลือเหยยี ดตรงเรียงชิดติดกนั วางทาบอยทู่ างดา้ น
บนตรงแนวหางคิว้ ขวา เปิ ดขอ้ ศอกขวาอยรู่ ะดบั แนวไหล่

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 67

ข้นั ตอนทสี่ อง ใชม้ ือขวายกหมวกถอดออกจากศีรษะ

ถา้ เป็ นหมวกเหล็ก หมวกยอด หมวกกนั อนั ตราย หมวกทรงหมอ้ ตาล หมวกแก๊ปทรงตึง
หมวกแก๊ปทรงอ่อน หมวกปี กทรงแข็ง และหมวกทรงอ่อนสักหลาด ให้นาหมวกมาวางครอบ
นิ้วหัวแม่มือซ้ายซ่ึงยกต้งั อยู่ โดยหันหน้าหมวกไปทางดา้ นขวาของลาตวั และให้ขอบหมวกดา้ น
นอกลาตวั วางอยบู่ นนิ้วท้งั ส่ีตรงขอ้ นิ้วมือที่หน่ึง มือขวายงั คงจบั อยทู่ ี่กระบงั หมวก หรือปี กหมวก

ถา้ เป็นหมวกเหลก็ หมวกยอด และหมวกกนั อนั ตราย เม่ือใชส้ ายรัดคาง จะมีส่วนหน่ึงของ
สายรัดคางหอ้ ยอยทู่ างดา้ นขวาของมือซา้ ยดว้ ยเลก็ นอ้ ย

ถา้ เป็นหมวกหนีบ ใหน้ าลงมาวางไวบ้ นฝ่ ามือซา้ ย โดยใหท้ างดา้ นสันของหมวกวางชิดอยู่
ในระหวา่ งง่ามนิ้วหวั แม่มือและนิ้วช้ี และใหด้ า้ นหนา้ ของหมวกหนั ไปทางดา้ นขวาของลาตวั

ข้ันตอนท่ีสำม ให้ลดมือขวาลงมาอยใู่ นท่าตรงอยา่ งแขง็ แรง พร้อมกบั ใชม้ ือซา้ ยจบั ขอบ
หมวกดา้ นนอกลาตวั ไวด้ ว้ ยนิ้วหวั แม่มือและนิ้วท้งั ส่ีให้มน่ั สาหรับหมวกเหล็ก หมวกยอด หมวก
กนั อนั ตราย หมวกทรงหมอ้ ตาล หมวกแก๊ปททรงตึง หมวกแก๊ปทรงอ่อน หมวกปี กทรงแขง็ และ
หมวกทรงอ่อนสกั หลาด ถา้ เป็นหมวกหนีบใหใ้ ชน้ ิ้วหวั แม่มือซา้ ยหนีบสนั หมวกไวใ้ หม้ น่ั

คำแนะนำสำหรับผู้ฝึ ก

1. ถา้ ผฝู้ ึ กประสงคจ์ ะฝึ กท่าถอดหมวกปิ ดข้นั ตอน จะตอ้ งแจง้ ใหผ้ รู้ ับการฝึ กทราบก่อนวา่
จะทาการปิ ดข้นั ตอน โดยใชค้ าบอก ดงั น้ี

ข้นั ตอนแรก ใหใ้ ชค้ าบอกวา่ “ถอดหมวก”

ข้นั ตอนท่สี องและสำม ใหใ้ ชค้ าบอกวา่ “ต่อไป”

2. ในกรณีฝึ กปิ ดข้นั ตอน ถา้ ผูฝ้ ึ กส่ังให้นบั เมื่อผรู้ ับการฝึ กปฏิบตั ิสิ้นสุดข้นั ตอนแรกแลว้
ใหน้ บั “หน่ึง” ในข้นั ตอนต่อไปใหน้ บั “สอง” , “สาม”

3. ก่อนที่จะทาการฝึ กหัดท่าถอดหมวก ผูฝ้ ึ กควรสอนให้ผูร้ ับการฝึ กเรียนรู้ท้งั ท่าถอด
หมวกและท่าสวมหมวกเสียก่อน แลว้ จึงฝึกหดั ท้งั ท่าถอดหมวกและท่าสวมหมวกควบคูก่ นั ไป

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 68

ท่ำถอดหมวก

ข้นั ตอนแรก ข้นั ตอนทสี่ อง ข้นั ตอนท่ีสำม

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 69

5.2 ท่ำสวมหมวก

คำอธิบำย : ท่าสวมหมวก เป็นการนาหมวกที่ถืออยใู่ นท่าถอดหมวกดว้ ยมือซา้ ย ข้ึนไปสวมท่ีศีรษะ

คำบอก : “สวมหมวก” (คาบอกรวด)

กำรปฏิบัติ : ท่าสวมหมวก แบ่งเป็นสามข้นั ตอน ดงั น้ี

ข้นั ตอนแรก เม่ือสิ้นสุดคาบอกวา่ “สวมหมวก”

ถา้ เป็ นหมวกเหลก็ หมวกยอด และหมวกกนั อนั ตราย กรณีใชส้ ายรัดยาง ใชม้ ือขวาจบั สาย
รัดคางข้ึนมารวมจบั ไวก้ บั กะบงั หมวก โดยให้นิ้วหัวแม่มือหนีบสายรัดคางอยทู่ างดา้ นล่างส่วนนิ้ว
ท้งั สี่ที่เหลือเหยยี ดตรงเรียงชิดติดกนั วางทาบอยทู่ างดา้ นบน

ถา้ เป็ นหมวกเหล็ก หมวกยอด และหมวกกนั อนั ตราย กรณีไม่ใชส้ ายรัดคาง หรือถา้ เป็ น
หมวกทรงหมอ้ ตาล หมวกแก๊ปทรงตึงและหมวกแก๊ปทรงอ่อน ให้ใชม้ ือขวาจบั ที่กะบงั หมวกโดย
ใหน้ ิ้วหวั แม่มืออยทู่ างดา้ นล่างและนิ้วท้งั สี่ท่ีเหลือเหยยี ดตรงเรียงชิดติดกนั วางทาบอยทู่ างดา้ นบน

ถา้ เป็ นหมวกหนีบ ใหย้ กมือขวาข้ึนไปจบั ทางดา้ นหนา้ ของหมวก บริเวณเคร่ืองหมายหนา้
หมวก โดยให้นิ้วหัวแม่มืออยู่ทางดา้ นล่าง ส่วนนิ้วท้งั ส่ีท่ีเหลือเหยียดตรงเรียงชิดติดกันอยู่ทาง
ดา้ นบน

ถา้ เป็นหมวกปี กทรงแขง็ และหมวกทรงอ่อนสกั หลาด ให้ใชม้ ือขวาจบั ที่ปี กหมวกดา้ นขวา
โดยใหน้ ิ้วหวั แม่มืออยทู่ างดา้ นล่าง ส่วนนิ้วท้งั สี่ที่เหลือเหยยี ดตรงเรียงชิดติดกนั อยทู่ างดา้ นบน

มือซ้ายท่ีถือหมวกอยู่ให้แบออก นิ้วหัวแม่มือยกช้ีต้งั ฉากกบั ฝ่ ามือ นิ้วที่เหลือเหยียดตรง
และเรียงชิดติดกนั แบช้ีออกขนานกบั พ้ืน

ข้นั ตอนท่ีสอง ใหใ้ ชม้ ือขวายกหมวกข้ึนไปสวมศีรษะ

ถา้ เป็ นหมวกเหล็ก หมวกยอด และหมวกกนั อนั ตราย กรณีใชส้ ายรัดคาง ให้ยกหมวกข้ึน
ไปสวมศีรษะ โดยใชม้ ือซา้ ยช่วยจดั หมวกและสายรัดคางให้เขา้ ท่ี จากน้นั ใชม้ ือท้งั สองขา้ งจบั สาย
รัดคางตรงใตค้ าง แบะขอ้ ศอกออกต้งั ฉากกบั ลาตวั

ถา้ เป็ นหมวกเหล็ก หมวกยอด และหมวกกนั อนั ตราย กรณีไม่ใชส้ ายรัดคาง หรือถา้ เป็ น

หมวกทรงหมอ้ ตาล หมวกแก๊ปทรงตึง และหมวกแก๊ปทรงออ่ น ใหย้ กหมวกข้ึนไปสวมศีรษะโดยใช้
มือซา้ ยช่วยจบั หมวกใหเ้ ขา้ ท่ี จากน้นั ใชม้ ือท้งั สองขา้ งจบั ไวท้ ่ีกะบงั หมวก ตรงแนวหางคิ้วของแต่ละ
ขา้ ง แบะขอ้ ศอกออกเลก็ นอ้ ย

ถา้ เป็ นหมวกหนีบ ให้ยกหมวกข้ึนแลว้ ใชม้ ือท้งั สองขา้ งช่วยกนั จบั ขอบล่างของหมวกให้
แยกออกจากกัน แล้วยกข้ึนไปสวมศีรษะให้เข้าท่ี จากน้ันใช้มือท้ังสองข้างจับหมวก โดยให้
นิ้วหวั แม่มือแตะอยทู่ ี่ขอบหมวกดา้ นล่าง ตรงแนวหางคิ้วของแต่ละขา้ ง ส่วนนิ้วท้งั สี่ที่เหลือเหยยี ด
ตรงเรียงชิดติดกนั ทาบไปตามแนวทรงหมวก โดยใหน้ ิ้วกลางแตะกนั บริเวณสันหมวก แบะขอ้ ศอก
ออกเลก็ นอ้ ย วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 70

ถา้ เป็นหมวกปี กทรงแขง็ ใหย้ กหมวกข้ึนไปสวมศีรษะ โดยใชม้ ือซา้ ยช่วยจดั หมวกใหเ้ ขา้ ท่ี
จากน้นั ใชม้ ือท้งั สองขา้ งจบั ที่ปี กหมวก ตรงแนวหางคิ้วของแต่ละขา้ ง แบะขอ้ ศอกออกเลก็ นอ้ ย

ถา้ เป็ นหมวกทรงอ่อนสักหลาด ให้ยกหมวกข้ึนไปสวมศีรษะ โดยใชม้ ือซา้ ยช่วยจดั หมวก
ให้เขา้ ท่ีจากน้ันใชม้ ือขวาจบั ปี กหมวกดา้ นขวาตรงแนวหางคิ้วขวา มือซ้ายจบั หมวกทางดา้ นซ้าย
โดยนิ้วหัวแม่มือแตะขอบดา้ นล่างตรงแนวหางคิ้วซ้าย นิ้วท้งั ส่ีท่ีเหลือเหยียดตรงเรียงชิดติดกัน
นิ้วกลางแตะเครื่องหมายหนา้ หมวก แบะขอ้ ศอกออกเลก็ นอ้ ย

ข้นั ตอนทีส่ ำม ใหล้ ดมือท้งั สองขา้ งลงมาอยใู่ นท่าตรงอยา่ งแขง็ แรง

คำแนะนำสำหรับผู้ฝึ ก

1. ถา้ ผฝู้ ึ กประสงคจ์ ะฝึ กท่าสวมหมวกปิ ดข้นั ตอน จะตอ้ งแจง้ ใหผ้ รู้ ับการฝึ กทราบก่อนวา่
จะทาการฝึกปิ ดข้นั ตอน โดยใชค้ าบอก ดงั น้ี

ข้นั ตอนแรก ใหใ้ ชค้ าบอกวา่ “สวมหมวก”

ข้นั ตอนทส่ี องและสำม ใหใ้ ชค้ าบอกวา่ “ต่อไป”

2. ในกรณีฝึ กปิ ดข้นั ตอน ถา้ ผูฝ้ ึ กสั่งให้นบั เมื่อผรู้ ับการฝึ กปฏิบตั ิสิ้นสุดข้นั ตอนแรกแลว้
ใหน้ บั “หน่ึง” ในข้นั ตอนต่อไปใหน้ บั “สอง” , “สาม”

3. ก่อนท่ีจะทาการฝึ กหัดท่าถอดหมวก ผูฝ้ ึ กควรสอนให้ผูร้ ับการฝึ กเรียนรู้ท้งั ท่าถอด
หมวกและท่าสวมหมวกเสียก่อน แลว้ จึงฝึกหดั ท้งั ท่าถอดหมวกและท่าสวมหมวกควบคูก่ นั ไป

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 71

ท่ำสวมหมวก

ข้นั ตอนแรก ข้นั ตอนทสี่ อง ข้นั ตอนทส่ี ำม

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 72


Click to View FlipBook Version