The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Asia Cleaning Service Co.,Ltd, 2021-11-09 02:39:27

คู่มือ รปภ ศูนย์ฝึกสิทธิรัตน์

รวมคู่มือ รปภ

- 16 -

13. "หา มรถยนตส ามลอ "
ความหมาย หามรถยนตสามลอผา นเขาไปในเขตทางทีต่ ดิ ตัง้ ปาย

14. "หา มรถสามลอ "
ความหมาย หามรถสามลอผา นเขา ไปในเขตทางท่ีตดิ ตงั้ ปาย

15. "หามรถจกั รยาน"
ความหมาย หามรถจักรยานผา นเขา ไปในเขตทางท่ีตดิ ต้งั ปาย

16. "หามลอ เล่ือนลากเข็น"
ความหมาย หามลอเลื่อนลากเขน็ ผานเขาไปในเขตทางที่ตดิ ต้งั ปาย

17. "หามรถยนตที่ใชในการเกษตร"
ความหมาย หา มรถยนตที่ใชใ นการเกษตรทุกชนิดผา นเขา ไปในเขตทางทีต่ ดิ ตั้งปา ย

18. "หา มรถจกั รยานยนตและรถยนต"
ความหมาย หา มรถจกั รยานยนตและรถยนตทุกชนดิ ผานเขาไปในเขตทางท่ตี ิดตั้งปาย

19. "หา มรถจักรยาน รถสามลอ รถจักรยานยนต"
ความหมาย หามรถจักรยาน รถสามลอ รถจักรยานยนต ผา นเขา ไปในเขตทางทตี่ ิดตงั้ ปา ย

- 17 -

20. "หา มใชเ สยี ง"
ความหมาย หามมใิ หใ ชเสยี งสัญญาณหรือทําใหเกิดเสยี งที่กอ การรบกวนดว ยประการใดๆในเขตท่ีติดตง้ั ปา ย

21. "หา มคน"
ความหมาย หามคนผานเขาไปในเขตทางท่ีตดิ ตัง้ ปา ย

22. "หามจอดรถ"
ความหมาย หา มมใิ หจอดรถทุกชนิดระหวา งแนวน้ัน เวน แตการรบั สง คน หรือสง่ิ ของชว่ั ขณะซึง่ ตองกระทํา

โดยมิชักชา

23. "หามหยดุ รถ"
ความหมาย หามมใิ หหยุดรถหรอื จอดรถทุกชนิดตรงแนวนัน้ เปนอันขาด

24. "หยดุ ตรวจ"
ความหมาย ใหผ ูขบั รถหยดุ รถทีป่ า ยนี้ เพอ่ื ใหเ จา หนาท่ตี รวจและเคล่ือนรถตอไปไดเมือ่ ไดร ับอนุญาตจาก

เจาหนา ทผ่ี ตู รวจแลว เทา นั้น

25. "จาํ กัดความเรว็ "
ความหมาย หา มมใิ หผูขบั รถทุกชนดิ ใชความเร็วเกนิ กวา ทก่ี าํ หนดเปน กโิ ลเมตรตอช่วั ดมง ตามจํานวนตัวเลข

ในแผนปา ยนนั้ ๆ ในเขตทางท่ีติดตง้ั ปาย จนกวาจะพน ทส่ี ุดระยะทจ่ี ํากดั ความเรว็ น้นั

- 18 -

26. "หา มรถหนักเกินกําหนด"
ความหมาย หา มมิใหรถทกุ ชนิดที่มีนํา้ หนักเกินกวา ท่ีกาํ หนดหรือเม่ือรวมนา้ํ หนักรถกับน้ําหนกั บรรทุก เกนิ

กวาท่กี าํ หนดไวเปน "ตนั " ตามจาํ นวนเลขในเครื่องหมายน้ันๆ เขาไปในเขตทางที่ตดิ ต้งั ปาย

27. "หามรถกวา งเกนิ กําหนด"
ความหมาย หา มมิใหร ถทกุ ชนดิ ที่มขี นาดกวางเกินกําหนดเปน "เมตร" ตามจํานวนเลขในเครื่องหมายนัน้ เขา

ไปในเขตทางที่ติดตง้ั ปาย

28. "หา มรถสูงเกนิ กําหนด"
ความหมาย หา มมิใหรถทุกชนิดที่มคี วามสูงของรถรวมทัง้ ของทีบ่ รรทุกเกินกวา กาํ หนดเปน "เมตร" ตาม

จํานวนเลข ในเครอื่ งหมายเขาไปในเขตทางหรืออุโมงคท่ีติดตั้งปา ย

29. "ใหเ ดนิ รถทางเดยี วไปขา งหนา"
ความหมาย ใหขับรถตรงไปตามทิศทางทปี่ ายกําหนด

30. "ทางเดนิ รถทางเดียวไปทางซาย"
ความหมาย ใหขบั รถไปทางซายแตทางเดยี ว

31. "ทางเดนิ รถทางเดียวไปทางขวา"
ความหมาย ใหข ับรถไปทางขวาแตทางเดียว

- 19 -

32. "ใหช ดิ ซา ย"
ความหมาย ใหข ับรถผานไปทางซายของปาย

33. "ใหชิดขวา"
ความหมาย ใหขบั รถผานไปทางขวาของปาย

34. "ใหเลี้ยวซา ย"
ความหมาย ใหขับรถเล้ียวไปทางซา ยแตทางเดยี ว

35. "ใหเล้ียวขวา"
ความหมาย ใหข ับรถเล้ียวไปทางขวาแตทางเดียว

36. "ใหเ ลี้ยวซายหรือเลย้ี วขวา"
ความหมาย ใหข บั รถไปทางซาย หรือไปทางขวา

37. "ใหไปทางซา ยหรือทางขวา"
ความหมาย ใหขับรถผานไปทางดานซา ยหรือทางดานขวาของปาย

38. "วงเวยี น"
ความหมาย ใหรถทุกชนดิ เดนิ วนทางซา ยของวงเวียนและรถทเ่ี รม่ิ จะเขาสทู างรวมบริเวณวงเวียนตอ งหยดุ ให

สิทธแิ กร ถทีเ่ ลน อยใู นทางรอบวงเวียนไปกอ น หามขับรถแทรกหรือตัดหนารถที่อยใู นทางรอบบริเวณวงเวียน

- 20 -
ปา ยจราจรประเภทปายเตือน
แบง เปน 3 ประเภทคือ
1. ปา ยเตอื นตามรปู แบบและลักษณะท่ีกาํ หนด
2. ปา ยเตือนท่ีแสดงดว ยขอความ และ/หรือสญั ลักษณ
3. ปา ยเตือนในงานกอสรา งตาง ๆ

1. "ทางโคงซาย"
ความหมาย ทางขา งหนา โคง ไปทางซา ย ใหขับรถใหชาลงพอสมควรและเดนิ รถชดิ ดา นซา ยดวยความระมดั ระวัง

2. "ทางโคง ขวา"
ความหมาย ทางขา งหนา โคงไปทางขวา ใหขับรถใหชา ลงพอสมควรและเดินรถชิดดา นซา ยดวยความระมดั ระวงั

3. "ทางโคงรศั มแี คบเล้ยี วซาย"
ความหมาย ทางขา งหนาโคงรัศมีแคบไปทางซาย ใหข ับรถใหชา ลงพอสมควรและเดนิ รถชิดดา นซายดว ยความ

ระมดั ระวัง

4. "ทางโคง รัศมีแคบเล้ยี วขวา"
ความหมาย ทางขางหนา โคงรศั มีแคบไปทางขวา ใหข ับรถใหชา ลงพอสมควรและเดินรถชดิ ดานซายดว ยความ

ระมัดระวัง

5. "ทางโคงรศั มีแคบเริม่ ซาย"
ความหมาย ทางขางหนาโคง รศั มีแคบไปทางซายแลว กลับ ใหข บั รถใหช าลงพอสมควรและเดินรถชดิ ดานซา ยดว ย

ความระมัดระวัง

- 21 -

6. "ทางโคงรศั มแี คบเริ่มขวา"
ความหมาย ทางขางหนา โคง รศั มีแคบไปทางขวาแลวกลับ ใหข ับรถใหชา ลงพอสมควรและเดนิ รถชิดดานซา ยดว ย

ความระมัดระวัง

7. "ทางคดเคีย้ วเรม่ิ ซาย"
ความหมาย ทางขา งหนา เปน ทางคดเค้ยี วโดยเริม่ ไปทางซาย ใหขบั รถใหชาลงพอสมควรและเดินรถชิดดา นซาย

ดว ยความระมดั ระวัง

8. "ทางคดเค้ยี วเริ่มขวา"
ความหมาย ทางขา งหนาเปน ทางคดเคี้ยวโดยเริม่ ไปทางขวา ใหขับรถใหช าลงพอสมควรและเดินรถชิดดานซาย

ดวยความระมัดระวัง

9. "ทางโทตดั ทางเอก"
ความหมาย ทางขางหนามีทางโทตัด ใหขับรถดว ยความระมัดระวัง

10. "ทางโทแยกทางเอกทางซายรูปตัววาย"
ความหมาย ทางขา งหนา มที างโทแยกจากทางเอกไปทางซา ยเปนรปู ตวั วาย ใหขับรถดว ยความระมัดระวัง

11. "ทางโทแยกทางเอกทางซา ย"
ความหมาย ทางขา งหนามที างแยกไปทางซายใหขบั รถดวยความระมัดระวัง

- 22 -

12. "ทางโทแยกทางเอกทางขวา"
ความหมาย ทางขางหนา มีทางแยกไปทางขวาใหข ับรถดวยความระมดั ระวัง

13. "ทางโทแยกทางเอกเยอ้ื งกันเร่ิมซา ย"
ความหมาย ทางขา งหนามที างโทแยกไปทางซา ยและหลงั จากนน้ั มีทางโทแยกไปทางขวา ใหข บั รถดว ยความ

ระมดั ระวัง

14. "ทางโทแยกทางเอกเยื้องกันเร่มิ ขวา"
ความหมาย ทางขางหนามีทางโทแยกไปทางขวาและหลงั จากนนั้ มีทางโทแยกไปทางซา ย ใหขับรถดวยความ

ระมัดระวัง

15. "ทางโทเช่อื มทางเอกจากซาย"
ความหมาย ทางขางหนา มที างโทเขามาเชอ่ื มดา นซาย ใหข บั รถดวยความระมดั ระวงั

16. "ทางโทเชอ่ื มทางเอกจากขวา"
ความหมาย ทางขา งหนา มที างโทเขามาเชือ่ มดา นขวา ใหข บั รถดวยความระมัดระวัง

17. "วงเวยี นขา งหนา "
ความหมาย ทางขา งหนาจะเปน ทางแยกมีวงเวยี น ใหขบั รถใหชาลง และเดนิ รถดว ยความระมัดระวงั

- 23 -

18. "ทางแคบลงทั้งสองดาน"
ความหมาย ทางขางหนาแคบลงกวาทางทก่ี าํ ลังผา นท้งั สองดาน ผูขบั รถจะตองขบั รถใหช าลงและเพิ่มความ

ระมดั ระวงั ยิง่ ข้นึ ขณะท่ีรถผา นทางแคบผูขับรถจะตองระมัดระวังมใิ หร ถชนหรือเสียดสีกัน

19. "ทางแคบดานซา ย"
ความหมาย ทางขา งหนาดา นซายแคบลงกวาทางทีก่ ําลังผา น ผูขบั รถตองขบั รถใหช า ลง และเพิ่มความ

ระมัดระวังยง่ิ ขึน้

20. "ทางแคบดานขวา"
ความหมาย ทางขางหนา ดานขวาแคบลงกวาทางทีก่ าํ ลังผาน ผูขับรถตอ งขับรถใหช า ลง และเพม่ิ ความ

ระมัดระวังยง่ิ ข้ึน

- 24 -

ภาคปฏิบัติ
1. ฝกทา สญั ญาณจราจร

ตามพระราชบัญญัติจราจรทางบกพ.ศ.2522(มาตรา 24) ไดกําหนดทาสัญญาณจราจร เพ่ือเปนการปฏิบัติ
ใหเปนแบบอยางเดียวกัน และเปนหลักการที่ฝกปฏิบัติของเจาพนักงานจราจร และพนักงานเจาหนาที่ ใหเปน
แบบอยางเดยี วกันและถูกตอ งตามกฎหมายจราจรทางบกและไดก าํ หนดไวดังนี้

สัญญาณจราจร หมายความวา สัญญาณใดๆ ไมวาจะแสดงดวยธง ไฟ ไฟฟา มือ แขน เสียงนกหวีดหรือดวย
วิธอี ื่นใด สาํ หรับใหผขู ับขี่ คนเดินเทา หรอื คนจงู ข่ี หรือไลต อนสตั ว ปฎิบตั ติ ามสญั ญาณนน้ั
ทา สัญญาณจราจรมี 2 ทาใหญๆคือ

1.1 ทา หามรถหรอื ใหร ถหยดุ
1.2 ทาปลอยรถ หรอื ใหร ถไป
2. ผูขับข่ีตองปฏิบัติตามสัญญาณจราจรที่พนักงานเจาหนาที่ไดแสดงดวยเสียงสัญญาณนกหวีด ในกรณี
ตอ ไปน้ี (ดูมาตรา 25)
2.1 เมือ่ พนักงานเจา หนา ที่ใชสญั ญาณเสยี งนกหวดี ยาวหนงึ่ คร้ัง ใหผ ูข บั ขหี่ ยุดรถทันที
2.2 เมอ่ื พนักงานเจาหนาทใี่ ชสญั ญาณนกหวดี ส้นั สองคร้งั ติดตอกนั ใหผูข บั ขีข่ บั รถผานไปได
3. ฝกผปู ฏบิ ัตริ วมสัญญาณจราจรทเ่ี จาหนา ทแี่ สดงตามมาตรา 24 กับเสยี งสญั ญาณนกหวดี ตามมาตรา 25
4. ฝกการจําลองสถานการณสมมุติมีรถเกิดอุบัติเหตุชนกัน ใหผูเขารับการอบรม ทําแผนท่ีเกิดเหตุ จัดการ
จราจร

แบบฝึ กแถวชิด
สำนักงำนตำรวจแห่งชำติ พ.ศ. ๒๕๔๓

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 1

คำแนะนำในกำรใช้คำบอก

เพ่ือให้การสั่งปฏิบตั ิเป็ นไปดว้ ยความถูกตอ้ ง ไม่สับสน และเป็ นแนวทางเดียวกนั จึงได้
กาหนดประเภทของคาบอกไว้ 5 ประเภท คือ

1. คาบอกคาเดียว
2. คาบอกแบ่ง
3. คาบอกเป็นคาๆ
4. คาบอกรวด
5. คาบอกผสม
การใช้คาบอก ลกั ษณะที่ต่างกนั ของคาบอกประเภทต่างๆ จะเป็ นเครื่องบ่งให้ทราบถึง
ลกั ษณะการปฏิบตั ิของท่าน้นั ๆ แนวทางการใชน้ าเสียงเพื่อสั่ง โดยจะเขียนไวใ้ ห้เห็นความแตกต่าง
กนั โดยการแสดงเคร่ืองหมายไว้

1. คำบอกคำเดยี ว เป็นคาบอกที่มีพยางคเ์ ดียว การใชเ้ สียงจะตอ้ งเนน้ เสียงให้หนักและส้ัน
ตวั อยา่ งเช่น “น่ิง” “พกั ” “แถว” เป็นตน้

นิ่ง

รูปที่ 1 แสดงกำรบอกคำบอกคำเดยี ว

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 2

2. คำบออกแบ่ง เป็นคาบอกที่ใชเ้ พอ่ื ออกคาสง่ั สาหรับท่าฝึกท่ีส่วนใหญ่แลว้ มกั จะกาหนด
ไวใ้ ห้ปฏิบตั ิไดเ้ ป็ นจงั หวะเดียว หรือแบ่งเป็ นจงั หวะๆ ได้ คาบอกแบ่งน้ีผูใ้ ห้คาบอกจะตอ้ งเปล่ง
เสียงบอกในคำแรกด้วยกำรลำกเสียงค่อนข้ำงยำว แล้วเว้นจงั หวะไว้เลก็ น้อยก่อนทจ่ี ะเปล่งเสียงบอก
ในคำหลงั ด้วยกำรเน้นเสียงหนักและส้ัน

การเขียนคาบอกชนิดน้ีจะแสดงไวใ้ หเ้ ห็นดว้ ยการใชเ้ ครื่องหมาย - คนั่ กลางไวร้ ะหวา่ งคา
บอกคาหนา้ และคาหลงั ตวั อยา่ งเช่น “แถว – ตรง” “ขวำ – หัน” “ซ้ำย – หัน” “กลบั หลงั – หัน”
เป็ นตน้

ตรง
แถว

รูปที่ 2 แสดงกำรบอกคำบอกแบ่ง

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 3

3. คำบอกเป็ นคำๆ เป็ นคาบอกท่ีใชเ้ พ่ือออกคาสั่งสาหรับท่าฝึ กที่ส่วนใหญ่แลว้ มกั จะไม่
กาหนดให้ปฏิบตั ิแบ่งเป็ นจงั หวะๆ ไว้ (แต่สามารถแบ่งการฝึ กออกเป็ นตอนๆ ได)้ และจาเป็ นตอ้ ง
ใชค้ าบอกยืดยาวซ่ึงอาจจะมีหลายพยางคก์ ็ได้ จึงจาเป็ นตอ้ งเวน้ จงั หวะการบอกไวเ้ ป็ นตอนๆ หรือ
คาๆ คาบอกเป็นคาๆ น้ี ผใู้ หค้ าบอกจะตอ้ งเปล่งเสียงบอกท้งั คำแรกและคำหลงั ด้วยกำรวำงนำ้ หนัก
เสียงไว้เท่ำๆ กนั โดยเวน้ จงั หวะระหวา่ งคาไวเ้ ลก็ นอ้ ย ไม่ตอ้ งลากเสียงยาวในคาแรก และเนน้ ในคา
หลงั เหมือนคาบอกแบ่ง

การเขียนคาบอกชนิดน้ีจะแสดงไวใ้ หเ้ ห็นโดยการใชเ้ คร่ืองหมาย , คน่ั กลางไวร้ ะหวา่ งคา
บอกคาหน้าและคาหลงั ตวั อย่างเช่น “นับตลอด , นับ” “ตรงหน้ำ, วันทยหัตถ์” “ตำมระเบียบ,
พกั ” “ตำมสบำย, พกั ” เป็ นต้น

นับตลอด นับ

รูปที่ 3 แสดงกำรบอกคำบอกเป็ นคำๆ

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 4

4. คำบอกรวด เป็ นคาบอกท่ีใช้เพื่อออกคาสั่งสาหรับท่าฝึ กท่ีส่วนใหญ่แลว้ มกั จะไม่
กาหนดให้ปฏิบตั ิแบ่งเป็นจงั หวะๆ ไว้ (แต่สามารถแบ่งการฝึ กออกเป็ นตอนๆ ได)้ และเป็ นคาส่ังที่
ไม่ยืดยาวหรือมีหลายพยางค์ จึงไม่มีความจาเป็ นตอ้ งแบ่งจงั หวะการสั่งไวเ้ ป็ นตอนๆ หรือคาๆ คา
บอกรวดน้ีไม่ว่าจะมีก่ีพยางคก์ ็ตาม ผูใ้ ห้คาบอกจะตอ้ งบอกรวดเดียวจบโดยวำงน้ำหนักเสียงเป็ น
ระดบั เดยี ว

การเขียนคาบอกชนิดน้ีจะแสดงไวใ้ ห้เห็นโดยเขียนเป็ นคาติดต่อกันท้ังหมด ไม่ใช้
เครื่องหมายใดๆ ท้งั สิ้น ตวั อยา่ งเช่น “จัดแถว” “ถอดหมวก” “มือลง” “พกั แถว” “มำหำข้ำพเจ้ำ”
“ต่อไป” เป็นตน้

จดั แถว

รูปที่ 4 แสดงกำรบอกคำบอกรวด

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 5

5. คำบอกผสม เป็ นคาบอกท่ีมีลกั ษณะคลา้ ยคาบอกเป็ นคาๆ จะผิดกบั คาบอกเป็นคาๆ ก็
ตรงที่คาบอกในคาหลงั จะเป็ นคาบอกแบ่ง เพราะฉะน้ันคาบอกประเภทน้ีจึงเป็ นคาบอกท่ีใชเ้ พ่ือ
ออกคาสั่งสาหรับท่าฝึ ก ที่ส่วนใหญ่มกั จะกาหนดใหป้ ฏิบตั ิแบ่งเป็นจงั หวะๆ ไดต้ ามลกั ษณะของคา
บอกแบ่งที่ผสมอยใู่ นคาหลงั ของคาบอกผสมน้ีเป็นหลกั คาบอกผสมน้ีผใู้ หค้ าบอกจะตอ้ งเปล่งเสียง
บอกในคำห้วงแรกเช่นเดียวกับคำบอกเป็ นคำๆ คือ วำงน้ำหนักเสียงไว้เท่ำๆ กัน ส่วนกำรเปล่งเสียง
ในคำบอกห้วงหลงั กค็ งเปล่งเสียงในลกั ษณะเดยี วกนั กบั คำบอกแบ่ง คือ เปล่งเสียงบอกในคำแรกด้วย
กำรลำกเสียงค่อนข้ำงยำว แล้วเว้นจังหวะไว้เลก็ น้อยก่อนทจ่ี ะเปล่งเสียงบอกในคำหลัง ด้วยกำรเน้น
เสียงให้หนกั และสั่น

การเขียนคาบอกชนิดน้ีจะแสดงไวใ้ หเ้ ห็นโดยใชเ้ ครื่องหมาย , คนั่ กลางไวร้ ะหวา่ งคาบอก
ห้วงแรกและห้วงหลงั ส่วนคาบอกในห้วงหลงั คงใชเ้ คร่ืองหมาย - คน่ั กลางไวร้ ะหว่างคาบอกคา
หนา้ และคาหลงั ตวั อยา่ งเช่น “หนา้ กระดานแถวเด่ียว, ปิ ดระยะ – มาหาขา้ พเจา้ ” เป็นตน้

มาหาขา้ พเจา้

หนา้ กระดานแถวเดียว ปิ ดระยะ

รูปท่ี 5 แสดงกำรบอกคำบอกผสม

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 6

1. แถวหน้ำกระดำน

คำอธิบำย : แถวหนา้ กระดานเป็นแถวท่ีมีลกั ษณะ ใหค้ นท่ีสูงที่สุดเป็นคนหลกั หรือเป็นคนหวั แถว
ส่วนคนอ่ืนๆ จะยืนเรียงตามลาดบั ไหล่กนั ลงไปทางดา้ นซ้ายของคนหลกั ไปจนถึงคนสุดทา้ ยของ
แถว

แถวหนา้ กระดานแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ แถวหนา้ กระดานแถวเด่ียว และแถวหน้า
กระดานต้งั แต่ 2 แถว ข้ึนไป

1.1 แถวหน้ำกระดำนแถวเดย่ี ว

คำอธิบำย : แถวหนา้ กระดานแถวเดี่ยว เป็นแถวหนา้ กระดานท่ีมีแถวเดี่ยว

แถวหน้ากระดานแถวเด่ียว แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ แถวหน้ากระดานแถวเด่ียวปิ ด
ระยะ และ แถวหนา้ กระดานแถวเด่ียวเปิ ดระยะ

1.1.1 แถวหนา้ กระดานแถวเด่ียวปิ ดระยะ

คำอธิบำย : แถวหนา้ กระดานแถวเด่ียวปิ ดระยะ เป็นแถวท่ีมีลกั ษณะแถวหนา้ กระดานแถวเด่ียวโดย
มีระยะเคียงระหวา่ งบุคคลห่างกนั ประมาณ 1 ศอก โดยการเอามือซา้ ยทา้ วสะเอว

คำบออก : “หนา้ กระดานแถวเดี่ยว, ปิ ดระยะ, มาหาขา้ พเจา้ ”

กำรปฏิบัติ : เม่ือสิ้นสุดคาบอกวา่ “หนา้ กระดานแถวเด่ียว, ปิ ดระยะ, มาหาขา้ พเจา้ ” ใหว้ ่ิงมาเขา้ แถว
ตามลาดบั ไหล่ตรงหนา้ ผเู้ รียกแถวโดยเร็ว คนสูงที่สุดของแถวเป็นคนหลกั หรือเป็นคนหวั แถว โดย
ยนื อยตู่ รงหนา้ ผเู้ รียกแถวและห่างจากผเู้ รียกแถวประมาณ 6 กา้ ว ใหแ้ นวไหล่ขนานกบั แนวไหล่ของ
ผเู้ รียกแถว ต่อจากน้นั ใหค้ นอื่นๆ เขา้ แถวเรียงตามลาดบั ไหล่ต่อๆ กนั ไปทางซา้ ยของคนหลกั ทุกคน
ยกมือซา้ ยข้ึนทา้ วสะเอว (ยกเวน้ คนทา้ ยสุดของแถวไม่ตอ้ งยกมือซ้ายข้ึนทา้ วสะเอว) ให้ฝ่ ามือวาง
ทาบอยู่บนสะเอวซ้ายประมาณแนวเขม็ ขดั นิ้วท้งั ห้าเรียงชิดติดกนั และให้ปลายนิ้วท้งั ห้าช้ีลงเบ้ือง
ลา้ ง นิ้วกลางอยตู่ รงประมาณแนวตะเขบ็ กางเกง ศอกกางออกเสมอแนวลาตวั

การจดั แถว ให้คนท่ีอยถู่ ดั ลงไปทางซ้ายจากหัวแถว นาแขนขวาของตนไปแตะจรดไวก้ บั
ปลายศอกซ้ายของคนที่อยู่ถดั ไปทางหัวแถวหรือคนทางขวา ให้ทุกคนสะบดั หน้าไปทางหัวแถว
ยกเวน้ เฉพาะคนหลกั หรือคนหัวแถวให้มองตรงไปขา้ งหน้า การจดั แถวจะตอ้ งดูแนวปลายเทา้ ให้
เสมอกนั กบั คนอื่นๆ แลว้ มองใหเ้ ห็นหนา้ อกคนที่สามประมาณแนวกระดุมเส้ือเมด็ ที่สองนบั จากบน
ลงล่าง

เมื่อไดย้ นิ คาบอกวา่ “น่ิง” ใหท้ ุกคนลดมือซา้ ยท่ีทา้ วสะเอวลง พร้อมกบั สะบดั หนา้ กลบั ไป
อยใู่ นท่าตรงอยา่ งแข็งแรงแลว้ น่ิง ยกเวน้ เฉพาะคนสุดทา้ ยของแถวให้สะบดั หน้ากลบั มาอย่ใู นท่า
ตรงแลว้ น่ิงเท่าน้นั

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 7

คำแนะนำสำหรับผู้ฝึ ก

1. ในการเรียกแถวน้นั ผเู้ รียกแถวจะตอ้ งยนื อยใู่ นท่าตรงหนั หนา้ เขา้ หาแถวในทิศทางตรง
ขา้ มกบั ทิศทางท่ีตอ้ งการให้แถวหันหน้าไปในทิศทางน้นั แลว้ จึงใชค้ าบอกว่า “หน้ากระดานแถว
เดี่ยว, ปิ ดระยะ, มาหาขา้ พเจา้ ”

2. เม่ือผเู้ รียกแถวเห็นว่าแถวเรียบร้อยแลว้ ให้ผูเ้ รียกแถวใชค้ าบอกว่า “นิ่ง” และหลงั จาก
ผเู้ รียกแถวสั่งน่ิงแลว้ หากเห็นวา่ แถวยงั ไม่เรียบร้อย ผเู้ รียกแถวมีความประสงคจ์ ะใหผ้ รู้ ับการฝึกจดั
แถวใหม่ ให้ผูเ้ รียกแถวใชค้ าบอกเพ่ือสั่งจดั แถวใหม่ว่า “จดั แถว” เม่ือสิ้นสุดคาบอกว่าจดั แถว ให้
ผรู้ ับการฝึกทาท่าจดั แถวใหม่เมื่อเห็นวา่ เรียบร้อยแลว้ ใหผ้ เู้ รียกแถวใชค้ าบอกต่อไปวา่ “นิ่ง”

3. การส่ังจักแถวใหม่ ผูเ้ รียกแถวจะสั่งก่ีคร้ังก็ได้โดยไม่จากัด จนกว่าจะเห็นว่าแถว
เรียบร้อย แต่จะตอ้ งกระทาหลงั จากท่ีไดใ้ ชค้ าบอกวา่ “นิ่ง” ไปแลว้ ทุกคร้ัง

4. ในกรณีที่ผูเ้ รียกแถวเห็นว่า คนหลกั จดั ระยะต่อระหว่างผูเ้ รียกแถวกบั แนวแถวไม่ได้
ตามเกณฑท์ ี่กาหนด เช่น มากกวา่ หรือนอ้ ยกวา่ 6 กา้ ว เป็ นตน้ ผเู้ รียกแถวจะตอ้ งใชว้ ิธีเรียกแถวใหม่
เท่าน้นั โดยตอ้ งสงั่ “น่ิง” ก่อน

5. เพ่ือให้เกิดความแขง็ แรง ในขณะที่ยกมือซ้ายข้ึนทา้ วสะเอว ผูฝ้ ึ กควรให้ผรู้ ับการฝึ กยก
มือซา้ ยข้ึนตบอดั ลงไปท่ีสะโพกใหเ้ กิดเสียงดงั

6. เพ่ือให้เกิดความพร้อมเพียงแขง็ แรง ผูฝ้ ึ กอาจกาหนดให้ผูร้ ับการฝึ กออกเสียงตอบรับ
เมื่อสิ้นสุดคาบอกเพ่ือเรียกแถวตามแบบฝึกน้ีไดเ้ ช่น “เร็ว”

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 8

ระยะเคยี งยกข้อศอกซ้ำย

6 ก้ำว

แผนผงั แถวหน้ำกระดำนแถวเดยี่ วปิ ดระยะ

แถวหน้ำกระดำนแถวเดยี่ วปิ ดระยะ 9

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั

1.1.2 แถวหน้ำกระดำนแถวเดี่ยวเปิ ดระยะ

คำอธิบำย : แถวหน้ากระดานแถวเดี่ยวเปิ ดระยะ เป็ นแถวท่ีมีลกั ษณะแถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว
โดยมีระยะเคียงระหวา่ งบุคคลห่างกนั ประมาณ 1 ช่วงแขน โดยการเอาแขนซา้ ยยกแตะหัวไหล่คน
ขา้ งเคียง

คำบออก : “หนา้ กระดานแถวเดี่ยว, เปิ ดระยะ, มาหาขา้ พเจา้ ” และ “น่ิง”

กำรปฏิบัติ : เม่ือสิ้นสุดคาบอกว่า “หน้ากระดานแถวเดี่ยว, เปิ ดระยะ, มาหาขา้ พเจา้ ” ให้วิ่งมาเขา้
แถวตามลาดบั ไหล่ตรงหนา้ ผเู้ รียกแถวโดยเร็ว คนสูงท่ีสุดของแถวเป็นคนหลกั หรือเป็นคนหวั แถว
โดยยนื อยตู่ รงหนา้ ผเู้ รียกแถวและห่างจากผเู้ รียกแถวประมาณ 6 กา้ ว และใหแ้ นวไหล่ขนานกบั แนว
ไหล่ของผเู้ รียกแถว ต่อจากน้นั ให้คนอ่ืนๆ เขา้ แถวเรียงตามลาดบั ไหล่ต่อๆ กนั ไปทางซา้ ยของคน
หลกั ทุกคนยกแขนซ้ายเหยียดออกไปทางขา้ ง ในระดบั สูงเสมอแนวไหล่ (ยกเวน้ คนทา้ ยสุดของ
แถวไม่ตอ้ งยกมือซ้ายเหยียดออกไปทางซ้าย) คว่าฝ่ ามือลง นิ้วมือท้งั หน้าเหยียดตึง และเรียงชิด
ติดกนั

การจดั แถว ให้คนท่ีอยถู่ ดั ลงไปทางซา้ ยจากหวั แถว นาไหล่ขวาของตนไปแตะจรดไวก้ บั
ปลายนิ้วมือซ้ายของคนที่อยู่ถดั ไปทางหัวแถวหรือทางขวา ให้ทุกคนสะบดั หน้าไปทางหัวแถว
ยกเวน้ เฉพาะคนหลกั หรือคนหัวแถวให้มองตรงไปขา้ งหนา้ การจดั แถวจะตอ้ งดูแนวปลายเทา้ ให้
เสมอกนั กบั คนอื่นๆ แลว้ มองใหเ้ ห็นหนา้ อกคนที่สามประมาณแนวกระดุมเส้ือเมด็ ท่ีสองนบั จากบน
ลงล่าง

เม่ือไดย้ นิ คาบอกว่า “น่ิง” ให้ทุกคนลดมือซา้ ยที่เหยียดออกไปทางขา้ งลง พร้อมกบั สะบดั
หน้ากลบั ไปอยู่ในท่าตรงอย่างแข็งแรงแลว้ นิ่ง ยกเวน้ เฉพาะคนสุดท้ายของแถวให้สะบดั หน้า
กลบั มาอยใู่ นท่าตรงแลว้ น่ิงเท่าน้นั

คำแนะนำสำหรับผู้ฝึ ก

การปฏิบตั ิในการฝึกแถวหนา้ กระดานแถวเดี่ยวเปิ ดระยะ คงยดึ ถือหลกั เกณฑใ์ นการปฏิบตั ิ
และการใชค้ าบอกเช่นเดียวกนั กบั การฝึกแถวหนา้ กระดานแถวเดี่ยวปิ ดระยะทุกประการ

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 10

ระยะเคยี งเหยยี ดแขนซ้ำย

6 ก้ำว

แผนผงั แถวหน้ำกระดำนแถวเดยี่ วเปิ ดระยะ

แถวหน้ำกระดำนแถวเดย่ี วเปิ ดระยะ 11

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั

1.2 แถวหน้ำกระดำนต้งั แต่สองแถวขนึ้ ไป

คำอธิบำย : แถวหนา้ กระดานต้งั แต่สองแถวข้ึนไป ก็คือ แถวหนา้ กระดานแถวเดี่ยวหลายๆ แถว ที่
เขา้ แถวซอ้ นกนั ลงไปในทางลึกที่มีจานวนแถวต้งั แต่สองแถวข้ึนไป การเรียกชื่อแถวจะตอ้ งเรียกชื่อ
แถวตามจานวนแถวที่มี เช่น แถวหน้ากระดานสองแถว แถวหน้ากระดานสามแถว แถวหน้า
กระดานสี่แถว เป็นตน้

แถวหนา้ กระดานต้งั แต่สองแถวข้ึนไป ไม่ว่าจะเป็ นแถวหน้ากระดานจานวนเท่าใดก็ตาม
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ แถวหนา้ กระดาน...แถวปิ ดระยะ และ แถวหนา้ กระดาน...แถวเปิ ดระยะ

คำบอก : “หนา้ กระดาน...แถว, ปิ ดระยะ (เปิ ดระยะ), มาหาขา้ พเจา้ ”

กำรปฏิบัติ : เมื่อสิ้นสุดคาบอกวา่ “หนา้ กระดาน...แถว, ปิ ดระยะ(เปิ ดระยะ), มาหาขา้ พเจา้ ” ให้รีบ
วง่ิ มาเขา้ แถวเช่นเดียวกบั การเขา้ แถวและจดั แถวหนา้ กระดานแถวเดี่ยวปิ ด(เปิ ด)ระยะ แต่จะมีผิดกนั
ตรงที่จะตอ้ งจดั แถวซ้อนกนั ลงมาตามทางลึกให้มีจานวนแถวตามที่ผูเ้ รียกแถวส่ังโดยยึดแถวหนา้
เป็นหลกั คนท่ีอยแู่ ถวหลงั ยนื ใหต้ รงคอกบั คนท่ีอยแู่ ถวหนา้ ระยะต่อระหวา่ งแถวประมาณหน่ึงช่วง
แขน โดยแต่ละคนเหยยี ดมือและแขนขวาตรงออกไปขา้ งหนา้ เสมอแนวไหล่ คว่าฝ่ ามือลง นิ้วมือท้งั
ห้าเหยียดตรง และเรียงชิดติดกนั จนกวา่ ปลายนิ้วมือจะไปแตะไหล่ขวาคนท่ีอยขู่ า้ งหนา้ แลว้ ลดมือ
ลง และจะตอ้ งมีการจดั แถวในลกั ษณะเช่นเดียวกบั แถวหนา้ ทุกประการดว้ ย

เมื่อไดย้ ินคาบอกว่า “นิ่ง” ให้ทุกคนปฏิบตั ิเช่นเดียวกนั กบั เมื่อเขา้ แถวหน้ากระดานแถว
เด่ียวปิ ด(เปิ ด)ระยะ ทุกประการ

คำแนะนำสำหรับผู้ฝึ ก

1. การปฏิบตั ิในการฝึ กแถวหนา้ กระดาน...แถวปิ ด(เปิ ด)ระยะ คงยึดถือหลกั เกณฑใ์ นการ
ปฏิบตั ิ และการใช้คาบอกเช่นเดียวกนั กับการฝึ กแถวหน้ากระดานแถวเด่ียวปิ ด(เปิ ด)ระยะ ทุก
ประการ

2. ในการฝึกแถวหนา้ กระดานต้งั แต่สองแถวข้ึนไป ไม่วา่ จะเป็นแถวปิ ดระยะหรือแถวเปิ ด
ระยะกต็ าม ผฝู้ ึ กควรเนน้ ใหผ้ รู้ ับการฝึ กเขา้ ใจดว้ ยวา่ คนหลกั ของรูปแถวคือคนท่ีอยหู่ วั แถวของแถว
หน้า ส่วนคนท่ีอยู่หัวแถวของแถวหลงั ๆ น้นั ไม่ถือว่าเป็ นคนหลกั ของรูปแถว แต่จะเป็ นคนหลกั
ของแถวหลงั แต่ละแถวน้นั ๆ

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 12

3. ในการยืนเป็ นหลกั ของคนหัวแถวของแถวหลกั แต่ละแถวน้นั จะตอ้ งยึดถือเอาคนหัว
แถวของแถวหนา้ เป็นหลกั โดยจะตอ้ งยนื ใหต้ รงคอคนขา้ งหนา้ ระยะต่อประมาณหน่ึงช่วงแขน (ให้
เหยยี ดแขนขวาวดั ดูแลว้ เอามือลง) เพอื่ เป็นหลกั ใหค้ นอื่นๆ ในแถวของตนจดั แถวต่อไป

4. การจดั ระยะเคียงและการจดั แถว ของแถวหลงั คงปฏิบตั ิเหมือนกันกบั แถวหน้าทุก
ประการ กล่าวคือ ตอ้ งยกมือซา้ ยทา้ วสะเอวเมื่อจดั แถวปิ ดระยะ หรือเหยยี ดแขนซา้ ยออกไปทางขา้ ง
เสมอแนวไหล่เม่ือจดั แถวเปิ ดระยะ และสะบดั หนา้ ไปทางขวาเพื่อจดั แถวดว้ ย สิ่งสาคญั ทุกคนใน
แถวหลงั จะตอ้ งยืนให้ตรงคอคนหน้าไวเ้ ป็ นหลกั ก่อน ถึงแมน้ ว่าแขนขวาของตนจะไม่สัมผสั กบั
ปลายขอ้ ศอกของคนที่อยทู่ างขวาเม่ือจดั แถวปิ ดระยะ หรือไหล่ขวาจะไม่สัมผสั กบั ปลายนิ้วมือของ
คนที่อยทู่ างขวาเมื่อจดั แถวเปิ ดระยะกต็ าม กใ็ หถ้ ือวา่ ไม่ใชเ้ ป็นส่ิงสาคญั

5. การแยกคู่ขาด เม่ือผรู้ ับการฝึ กเขา้ แถวหนา้ กระดานต้งั แต่สองแถวข้ึนไปเม่ือจดั แถวแลว้
ผูร้ ับการฝึ กมีจานวนไม่ลงตวั กล่าวคือ แถวหน้ากับแถวหลงั มีจานวนผูร้ ับการฝึ กไม่เท่ากันไม่
สามารถจะจดั แถวใหเ้ ตม็ เท่าๆ กนั ไดใ้ นตอนทา้ ยของแถว ในการเขา้ แถวใหถ้ ือเอาแถวหนา้ เป็นแถว
หลกั โดยจะตอ้ งเขา้ แถวให้เต็มไม่มีจานวนขาด ส่วนจานวนท่ีขาดไปน้ันให้แยกคู่ขาดไวใ้ น ทาง
ตอนทา้ ยของแถวหลงั ๆ โดยยดึ ถือเป็ นหลกั วา่ ใหจ้ ดั แถวหนา้ และตบั สุดทา้ ยของแถวให้เตม็ ไวก้ ่อน
แลว้ ใหแ้ ยกคู่ขาดไวท้ ี่แถวหลงั หรือแถวที่อยตู่ รงกลางๆ ถา้ หากสามารถกระทาไดใ้ หพ้ ยายามปิ ดแถว
หลงั ไวใ้ หเ้ ตม็

6. ในการฝึกอาจกาหนดใหผ้ อู้ ยหู่ วั แถว (คนหลกั ของแต่ละแถว) และผปู้ ิ ดทา้ ยแถวนบั ตาม
จานวนแถวพร้อมกบั จดั แถวดว้ ย

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 13

ระยะเคียงยกขอ้ ศอกซา้ ย

ระยะต่อหน่ึงช่วงแขน

6 ก้ำว

แผนผงั แถวหน้ำกระดำนสองแถวปิ ดระยะ

แถวหน้ำกระดำนสองแถวปิ ดระยะ 14

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั

ระยะเคียงเหยยี ดแขนซา้ ย

ระยะต่อหน่ึงช่วงแขน

6 ก้ำว

แผนผงั แถวหน้ำกระดำนสองแถวเปิ ดระยะ

แถวหน้ำกระดำนสองแถวเปิ ดระยะ 15

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั

1.3 กำรนับ(แถวหน้ำกระดำน)

คำอธิบำย : การนบั เป็นการนบั จานวนในแถวเรียงตามลาดบั หมายเลข ของผอู้ ยใู่ นแถวเร่ิมต้งั แต่คน
หวั แถวไปทา้ ยแถว

การนับ แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท คือ การนบั ตามปกติ การนบั ตามจานวนท่ีกาหนด และ
การนบั ท้งั แถว

1.3.1 กำรนับตำมปกติ

คำอธิบำย : การนบั ตามปกติ คือ การนบั จานวนเรียงตามลาดบั หมายเลขต้งั แต่คนหวั แถวไปจนถึง
คนทา้ ยแถว

คำบอก : “นับ” (คาบอกคาเดียว)

กำรปฏิบัติ : เมื่อไดย้ นิ คาบอกวา่ “นับ” ให้คนหวั แถวของแถวหนา้ กระดานแถวเด่ียว หรือคนหวั
แถวของแถวหนา้ กระดานหลายแถว เริ่มนบั “หนึ่ง” ดว้ ยการออกเสียงดงั ๆ พร้อมกบั สะบดั หนา้ ไป
ทางคนถดั ไปซ่ึงอยทู่ างซา้ ย เมื่อสิ้นเสียงนบั แลว้ ใหส้ ะบดั หนา้ กลบั มาอยใู่ นท่าตรงตามเดิมทนั ที คน
อื่นๆ ท่ีอยู่ถดั ไปให้นับต่อจากคนท่ีหน่ึงเรียงตามลาดบั หมายเลขติดต่อกนั ไปจนกว่าจะถึงคนทา้ ย
แถว เช่น “สอง” , “สำม” , “สี่” , “ห้ำ” , “หก” , “เจ็ด” , ฯลฯ เป็นตน้ โดยใชว้ ธิ ีสะบดั หนา้ ไป และ
เม่ือนบั แลว้ ให้สะบดั หน้ากลบั มาเช่นเดียวกบั คนหัวแถว เวน้ คนสุดทา้ ยของแถวเม่ือนบั ให้สะบดั
หน้ากลบั ไปยงั ผูท้ ี่นับก่อนทางขวามือ เม่ือสิ้นเสียงนับแล้วให้สะบดั หน้ากลบั มาอยู่ในท่าตรง
ตามเดิมทนั ที

ในกรณีที่เป็ นแถวหน้ากระดานต้ังแต่งสองแถวข้ึนไป ซ่ึงมีการแยกคู่ขาดไว้ในทาง
ตอนทา้ ยของแถว เมื่อคนสุดทา้ ยของแถวหนา้ สุดนบั สิ้นเสียงแลว้ ใหค้ นสุดทา้ ยของแถวหลงั สุดเป็น
ผขู้ านจานวนท่ีขาดดงั ข้ึนดงั ๆ โดยไม่ตอ้ งสะบดั หนา้ โดยใชค้ าวา่ “ขำด...(ระบุจำนวนที่ขำด)” เช่น
ขานวา่ “ขำดหนึ่ง” , “ขำดสอง” , “ขำดสำม” , ฯลฯ เป็นตน้ แต่ถา้ ไม่มีขาดใหข้ านวา่ “ครบ”

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 16

คนท้ำยแถวสุด ขำนว่ำ “ขำดหนง่ึ ”

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

แผนผงั แถวหน้ำกระดำนแถวเดย่ี วปิ ดระยะ
คนท้ำยแถวสุด ขำนว่ำ “ครบ”

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 17

1.3.2 กำรนับตำมจำนวนทีก่ ำหนด

คำอธิบำย : การนบั ตามจานวนที่กาหนด คือ การนบั เรียงตามลาดบั หมายเลขไปจนครบตามจานวน
ที่ผเู้ รียกแถวกาหนดแลว้ เร่ิมนบั หน่ึงใหม่ เช่น ผเู้ รียกแถวกาหนดให้นบั สอง ผรู้ ับการฝึ กจะตอ้ งนบั
“หน่ึง-สอง” “หนึ่ง-สอง” หรือผูเ้ รียกแถวกาหนดให้นับสามผูร้ ับการฝึ กจะตอ้ งนับ “หน่ึง-สอง-
สำม” “หนึง่ -สอง-สำม” ฯลฯ เป็นตน้

คำบอก : “นับ...(ระบุจำนวน) , นับ” (คาบอกเป็นคาๆ)

กำรปฏิบตั ิ : เมื่อสิ้นสุดคาบอก “นับ...(ระบุจำนวน) , นับ” ใหน้ บั ตามจานวนท่ีผูเ้ รียกแถวบอก โดย
ให้เริ่มนับจากคนหัวแถวก่อนในลักษณะเช่นเดียวกับการนับตามปกติ ให้นับเรียงตามลาดับ
หมายเลขไปตามจานวนท่ีผูเ้ รียกแถวบอก เมื่อนบั ครบตามจานวนท่ีผูเ้ รียกแถวบอกแล้วคนต่อไป
จะตอ้ งเริ่มนับ “หนึ่ง” ใหม่ เช่น ผูเ้ รียกแถวบอกให้ “นับสอง” คนจากหัวแถวจะตอ้ งนับ “หนึ่ง-
สอง” , “หนงึ่ -สอง” , “หนึ่ง-สอง” ไปจนกวา่ จะถึงคนทา้ ยแถว เป็นตน้

สาหรับการนบั ตามจานวนที่กาหนดน้ี ถา้ เป็ นแถวหน้ากระดานต้งั แต่สองแถวข้ึนไปท่ีมี
การแยกคู่ขาดไวใ้ นทางตอ้ นทา้ ยแถว การนบั ในกรณีน้ีไม่ตอ้ งขานคู่ขาด

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 18

คนท้ำยแถวสุด ไม่ต้องขำนคู่ขำด (ตวั อย่ำง “นับสำม, นับ” )

1 23 1 2 3 1 2 31

แผนผงั กำรนับระบุจำนวน

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 19

1.3.2 กำรนับท้งั แถว

คำอธิบำย : การนบั ท้งั แถว คือ การเร่ิมตน้ นบั จากคนหลกั ของรูปแถว โดยนบั เรียงตามลาดบั
หมายเลขกนั ต่อๆ ไปทุกคน จนกวา่ จะครบคนที่อยใู่ นแถว

การนบั ท้งั แถวน้ีจะนาไปใชเ้ ฉพาะกบั แถวหนา้ กระดานท่ีมีจานวนแถวต้งั แต่สองแถวข้ึน
ไปเท่าน้นั

คำบอก : “นับตลอด , นับ” (คาบอกเป็นคาๆ)

กำรปฏิบัติ : เมื่อสิ้นสุดคาบอก “นับตลอด, นับ” ใหค้ นหลกั ของรูปแถวเร่ิมนบั “หนึ่ง” ในลกั ษณะ
เช่นเดียวกบั การนบั ตามปกติคนต่อๆ ไป ของแถวหนา้ สุดคงนบั เรียงตามลาดบั หมายเลขติดต่อกนั
ไปโดยตลอด โดยการนับพร้อมกบั สะบดั หน้าไปทางซ้าย ซ่ึงรวมท้งั คนทา้ ยแถวดว้ ย เม่ือคนทา้ ย
ของแถวหนา้ นบั แลว้ ให้คนทา้ ยแถวของแถวท่ีสองเป็ นผเู้ ร่ิมนบั ต่อ โดยนบั ตามลาดบั หมายเลขต่อ
กนั ไปจากคนทา้ ยแถวของแถวหนา้ ไปจนกวา่ จะถึงหวั แถวที่สอง โดยให้สะบดั หนา้ ไปทางขวาทุก
คนถา้ มีการแยกคู่ขาดไวก้ ็ให้นบั ขา้ มคู่ขาดไป เมื่อคนหัวแถวของแถวท่ีสองนบั แลว้ ให้คนหัวแถว
ของแถวที่สามเป็ นผูเ้ ร่ิมตน้ นับตามจานวนหมายเลขที่ติดต่อกนั กบั คนหัวแถวของแถวที่สอง ใน
ลกั ษณะการปฏิบตั ิเช่นเดียวกนั กบั คนหัวแถวของแถวที่หน่ึง กระทาเช่นน้ีสลบั กนั ไป จนกว่าจะ
หมดจานวนคนของทุกแถวที่มีอยู่ คนนบั คนสุดทา้ ยไม่ตอ้ งสะบดั หนา้

คำแนะนำสำหรับผู้ฝึ ก

1. ในการฝึ กผฝู้ ึ กควรจะไดเ้ นน้ ให้ผรู้ ับการฝึ กทราบดว้ ยวา่ ในกรณีที่เป็ นการนบั ของแถว
หนา้ กระดานต้งั แต่สองแถวข้ึนไป ตามปกติแลว้ ในการนบั น้นั ไม่วา่ จะเป็นการนบั ตามปกติหรือการ
นบั ตามจานวนท่ีกาหนดก็ตาม เม่ือสิ้นสุดคาบอก ให้ผูร้ ับการฝึ กเฉพาะที่อยู่แถวหนา้ เท่าน้นั เป็ นผู้
นบั ส่วนผรู้ ับการฝึ กในแถวอื่นไม่ตอ้ งนบั นอกจากขานคู่ขาด เมื่อมีการแยกคู่ขาดไว้ โดยผูร้ ับการ
ฝึกคนสุดทา้ ยของแถวหลงั ใหป้ ฏิบตั ิตามระเบียบของการขานคู่ขาดตามท่ีกาหนดไวเ้ ท่าน้นั

2. การนบั ควรเน้นให้ผูร้ ับการฝึ กออกเสียงดงั ๆ และอย่างชดั เจน โดยพยายามจดั จงั หวะ
ช่วงของการนบั แต่ละคนใหเ้ ท่าๆ กนั ท้งั แถว เพราะฉะน้นั ในขณะท่ีไดย้ นิ คาบอกใหน้ บั ผรู้ ับการฝึก
ทุกคนที่อยใู่ นแถวซ่ึงมีหนา้ ที่จะตอ้ งนบั จะตอ้ งคอยฟังการนบั ของคนท่ีอยถู่ ดั ตนไปทางหวั แถววา่
เขานบั จานวนเท่าใดอยา่ งต้งั ใจ เพื่อให้ตนสามารถนบั ต่อไปได้ โดยไม่ชกั ชา้ ในจงั หวะท่ีพอดี ไม่วา่
จะเป็นการนบั ตามปกติ หรือการนบั ตามจานวนท่ีกาหนดกต็ าม

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 20

3. เม่ือผฝู้ ึ กเห็นวา่ การนบั ในแถวอาจผิดพลาดไป ตนเองฟังไม่ถนดั หรือจงั หวะการนบั มี
จงั หวะจาดตอนไป และประสงคจ์ ะใหน้ บั ใหม่กใ็ หใ้ ชค้ าบอกวา่ “นับใหม่” ถึงแมว้ า่ การนบั น้นั จะยงั
ไม่เสร็จสิ้นถึงปลายแถวกต็ าม เมื่อสิ้นสุดคาบอกวา่ “นับใหม่” ใหผ้ รู้ ับการฝึกท่ีกาลงั นบั หยดุ การนบั
แลว้ ใหค้ นหลกั ของรูปแถวที่อยหู่ วั แถวเริ่มนบั “หนึ่ง” ในทนั ที คนต่อๆ ไปใหน้ บั ต่อไปตามคาบอก

4. ในกรณีที่เป็ นแถวหน้ากระดานต้งั แต่งสองแถวข้ึนไป และผูฝ้ ึ กประสงคจ์ ะให้แถวท่ี
สอง สาม สี่ ฯลฯ นบั ดว้ ย กใ็ หส้ ง่ั ใหน้ บั โดยใชค้ าบอกวา่ “แถวสอง , นับ” “แถวสำม , นับ” “แถวที่
สี่ , นับ” ฯลฯ เมื่อผรู้ ับการฝึ กในแถวน้นั ๆ ไดย้ นิ คาบอก ใหค้ นหวั แถวของแถวน้นั ๆ เร่ิมนบั ตามคา
บอกเช่นเดียวกบั การนบั ของแถวหนา้ ยกเวน้ เฉพาะในกรณีท่ีในแถวน้นั มีคู่ขาดแยกอยู่ ก็ใหน้ บั ขา้ ม
คูข่ าดไปโดยใหค้ นถดั ไปจากคูข่ าดนบั จานวนต่อไปตามลาดบั จากคนที่อยเู่ หนือคู่ขาด

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 21

38 37 36 35 34 33 32 31 30 29

20 21 22 23 24 25 26 27 28

19 18 17 16 15 14 13 12 11

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

แผนผงั กำรนับท้งั แถว

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 22

1.4 กำรจดั แถว(แถวหน้ำกระดำน)

คำอธิบำย : การจดั แถว เป็นการสัง่ ใหผ้ อู้ ยใู่ นแถวจดั แถวใหเ้ รียบร้อยอีกคร้ัง โดยเม่ือผฝู้ ึกเรียกแถว
ตรวจแถว และสง่ั แถวนิ่งแลว้ แต่เห็นวา่ แถวยงั ไม่เรียบร้อย ผฝู้ ึกจะสง่ั จดั แถวใหม่

คำบอก : “จดั แถว” (คาบอกรวด)

กำรปฏิบัติ : เม่ือสิ้นสุดคาบอก “จดั แถว” ใหท้ ุกคนทาการจดั แถวใหม่ ณ ท่ีเดิม โดยใหท้ ุกคนสะบดั
หน้าไปทางหัวแถวพร้อมกบั ยกมือซ้ายทา้ วสะเอว กรณีที่เขา้ แถวปิ ดระยะ หรือเหยียดแขนซ้าย
ออกไปทางขา้ งเสมอแนวไหล่กรณีท่ีเขา้ แถวเปิ ดระยะ แลว้ ทาการจดั แถวใหม่ดว้ ยวิธีเช่นเดียวกบั
การจดั แถวในคร้ังแรก เม่ือผฝู้ ึกเห็นวา่ แถวเรียบร้อยแลว้ ใหผ้ ฝู้ ึกสงั่ “น่ิง” เม่ือทุกคนไดย้ นิ คาบอกวา่
“นิ่ง” ให้ลดมือท่ีทา้ วสะเอวหรือที่เหยียดออกไปทางขา้ งแลว้ แต่กรณีลง และสะบดั หนา้ กลบั ไปอยู่
ในท่าตรงตามเดิมแลว้ นิ่ง

คำแนะนำสำหรับผู้ฝึ ก

ในการจัดแถวใหม่แต่ละคร้ังน้ัน หลังจากที่ผูฝ้ ึ กบอก “นิ่ง” แล้วแต่เห็นว่าแถวยงั ไม่
เรียบร้อยควรจะจดั แถวใหม่ การสั่งจดั แถวใหม่ในกรณีเช่นน้ีอาจจะส่ัง “พัก” ก่อนหรือไม่ก็ไดใ้ น
กรณีท่ีไดม้ ีการสงั่ “พกั ” ก่อน ถา้ จะสงั่ จดั แถวใหม่ จะตอ้ งสง่ั “แถว – ตรง” ก่อนเสมอ

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 23

กำรจดั แถวหน้ำกระดำนแถวเดยี่ วปิ ดระยะ

กำรจดั แถวหน้ำกระดำนแถวเดย่ี วเปิ ดระยะ 24

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั

กำรจดั แถวหน้ำกระดำนสองแถวปิ ดระยะ

กำรจดั แถวหน้ำกระดำนสองแถวเปิ ดระยะ 25

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั

1.5 กำรเปิ ดระยะ(แถวหน้ำกระดำน)

คำอธิบำย : การเปิ ดระยะ เป็ นการขยายแถวหนา้ กระดาน ซ่ึงเป็ นแถวปิ ดระยะอยใู่ หข้ ยายออกไป
โดยตลอด หรือเปล่ียนเป็นแถวเปิ ดระยะ ณ ท่ีเดิมน้นั โดยจะมีจานวนแถวเท่าใดก็ตามให้มีระยะต่อ
ระหวา่ งบุคคลประมาณ 1 ช่วงแขน และระยะเคียงระหวา่ งบุคคลประมาณ 1 ช่วงแขน

คำบอก : เม่ือประสงคจ์ ะใหข้ ยายแถวต้งั แต่หวั แถวออกไปทางทา้ ยแถวโดยตลอด ใหใ้ ชค้ าบอกวา่
“หัวแถวเป็ นหลกั , เปิ ดระยะ , จดั แถว”

เม่ือประสงคจ์ ะใหข้ ยายแถวต้งั แต่ทา้ ยแถวออกไปทางหวั แถวโดยตลอด ใหใ้ ชค้ าบอกวา่
“ท้ำยแถวเป็ นหลกั , เปิ ดระยะ , จดั แถว”

เม่ือประสงคจ์ ะใหข้ ยายแถวต้งั แต่ผรู้ ับการฝึกคนใดคนหน่ึงท่ีอยู่ ณ ตาแหน่งใดตาแหน่ง
หน่ึงใหข้ ยายออกไปทางหวั แถวและทา้ ยแถวโดยตลอด ใชค้ าบอกวา่ “คนนีเ้ ป็ นหลกั , เปิ ดระยะ ,
จัดแถว”

กำรปฏิบัติ : การเปิ ดระยะจากหวั แถว เมื่อสิ้นสุดคาบอกวา่ “หัวแถวเป็ นหลกั , เปิ ดระยะ , จัดแถว”
ให้ทุกคนในแถวขยายแถวจากคนหัวแถวซ่ึงเป็ นหลกั ออกไปทางทา้ ยแถวโดยเร็ว ดว้ ยการเหยียด
แขนซ้ายออกไปทางขา้ งเสมอแนวไหล่ ยกเวน้ คนทา้ ยแถวไม่ตอ้ งเหยียดแขน และสะบดั หน้าไป
ทางขวา เพ่ือทาการจดั แถวในลกั ษณะเช่นเดียวกนั กบั การจดั แถวเปิ ดระยะ เม่ือผูฝ้ ึ กเห็นว่าแถว
เรียบร้อยแลว้ ใหใ้ ชค้ าบอกวา่ “นิ่ง” เม่ือสิ้นคาบอกวา่ “น่ิง” ให้ลดมือที่เหยียดไปทางซา้ ยลง พร้อม
กบั สะบดั หนา้ กลบั ไปอยใู่ นท่าตรงอยา่ งแขง็ แรงแลว้ นิ่ง

การเปิ ดระยะจากทา้ ยแถว เมื่อสิ้นสุดคาบอกว่า “ท้ำยแถวเป็ นหลัก , เปิ ดระยะ , จัดแถว”
ใหท้ ุกคนในแถวขยายแถวจากคนทา้ ยแถวซ่ึงเป็นหลกั ออกไปทางหวั แถวโดยเร็ว ดว้ ยการใหค้ นทา้ ย
แถวยืนอยใู่ นท่าตรง ณ ที่เดิม และต้งั แต่คนท่ีอยตู่ ิดกบั คนทา้ ยแถวข้ึนไปจนถึงคนหวั แถว ใหเ้ หยยี ด
แขนซ้ายออกไปทางขา้ งเสมอแนวไหล่และสะบดั หน้าไปทางซ้าย เพื่อทาการจดั แถวในลกั ษณะ
เช่นเดียวกนั กบั การจดั แถวเปิ ดระยะ จะมีผดิ กนั ก็ตรงท่ีสะบดั หนา้ ไปทางซา้ ยเท่าน้นั เม่ือผฝู้ ึกเห็นวา่
แถวเรียบร้อยแลว้ ให้ใช้คาบอกว่า “นิ่ง” เม่ือสิ้นสุดคาบอกว่า “น่ิง” ให้ลดมือท่ีเหยียดออกไป
ทางซา้ ยลงพร้อมกบั สะบดั หนา้ กลบั ไปอยใู่ นท่าตรงอยา่ งแขง็ แรงแลว้ นิ่ง

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 26

การเปิ ดระยะจากกลางแถว เม่ือสิ้นสุดคาบอกวา่ “คนนีเ้ ป็ นหลกั , เปิ ดระยะ , จัดแถว” ให้
ทุกคนขยายแถวจากคนที่ผูฝ้ ึ กช้ีให้เป็ นคนหลกั ออกไปทางหัวแถวและทา้ ยแถวโดยเร็วดว้ ยการ
เหยยี ดแขนซา้ ยออกไปทางขา้ งเสมอแนวไหล่ ยกเวน้ คนทา้ ยแถวไม่ตอ้ งเหยยี ดแขน คนที่อยถู่ ดั จาก
คนท่ีกาหนดให้เป็ นหลกั ลงไปทางทา้ ยแถวสะบดั หน้าไปทางขวา คนที่อยู่ถดั จากคนท่ีกาหนดให้
เป็นหลกั ข้ึนไปทางหวั แถวสะบดั หนา้ ไปทางซา้ ย คนหลกั มองตรงไปขา้ งหนา้ ท้งั ผทู้ ่ีสะบดั หนา้ ไป
ทางขวาและทางซ้ายต่างก็จดั แถวในลกั ษณะเช่นเดียวกนั กบั การจดั แถวเปิ ดระยะ ผิดกนั ตรงท่ีจะมี
ท้งั สะบดั หนา้ ไปทางขวาและทางซา้ ยเท่าน้นั เมื่อผฝู้ ึกเห็นวา่ แถวเรียบร้อยแลว้ ใหใ้ ชค้ าบอกวา่ “น่ิง”
เม่ือสิ้นสุดคาบอกวา่ “นิ่ง” ใหล้ ดมือท่ีเหยยี ดไปทางซา้ ยลงพร้อมกบั สะบดั หนา้ กลบั ไปอยใู่ นท่าตรง
อยา่ งแขง็ แรงแลว้ นิ่ง

คำแนะนำสำหรับผู้ฝึ ก

1. การเปิ ดระยะจากกลางแถว ให้ผฝู้ ึ กเคล่ือนที่ไปยืนอยตู่ รงหนา้ ของผูร้ ับการฝึ กผนู้ ้นั ใน
ระยะห่างประมาณ 6 กา้ ว แลว้ ใชม้ ือขวาช้ีไปยงั ผนู้ ้นั

2. เพ่ือใหเ้ กิดความพร้อมเพรียงและแขง็ แรง ในการเปิ ดระยะ

- ถา้ หวั แถวเป็นหลกั ใหท้ าซา้ ยหนั แลว้ ตบเทา้ วงิ่ ออกไปทางทา้ ยแถว

- ถา้ ทา้ ยแถวเป็นหลกั ใหท้ าขวาหนั แลว้ ตบเทา้ วงิ่ ออกไปทางหวั แถว

- ถา้ กลางแถวเป็ นหลกั ให้ทาขวา(ซ้าย)หัน แลว้ ตบเทา้ ว่ิงออกไปทางหัวแถวและทา้ ย
แถว

3. ถา้ ตอ้ งการเปิ ดแถวมากกว่าท่ีแบบฝึ กน้ีกาหนดไว้ ให้ผูฝ้ ึ กกาหนดระยะต่อระยะเคียง
ตามความเหมาะสมแลว้ ใชค้ าบอก เช่น “เปิ ดแถวสาหรับการฝึก , ระยะต่อ......กา้ ว , ระยะเคียง...... ,
เปิ ดระยะ จดั แถว”

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 27

1.6 กำรปิ ดระยะ(แถวหน้ำกระดำน)

คำอธิบำย : การปิ ดระยะ เป็ นการปิ ดระยะแถว ซ่ึงเป็ นแถวเปิ ดระยะอยเู่ ขา้ มาโดยตลอดหรือ
เปล่ียนเป็นแถวปิ ดระยะ ณ ท่ีเดิมน้นั โดยจะมีจานวนแถวเท่าใดกต็ าม ใหม้ ีระยะเคียงระหวา่ งบุคคล
ประมาณ 1 ศอก และระยะต่อระหวา่ งบุคคลประมาณ 1 ช่วงแขน

คำบอก : เมื่อประสงคจ์ ะใหป้ ิ ดระยะจากทา้ ยแถวข้ึนมาทางหวั แถวโดยตลอด ใหใ้ ชค้ าบอกวา่ “หัว
แถวเป็ นหลกั , ปิ ดระยะ , จดั แถว”

เม่ือประสงคจ์ ะใหป้ ิ ดระยะจากทางหวั แถวลงไปทางทา้ ยแถวโดยตลอด ใหใ้ ชค้ าบอกวา่
“ท้ำยแถวเป็ นหลกั , ปิ ดระยะ , จดั แถว”

เมื่อประสงคจ์ ะใหป้ ิ ดระยะจากท้งั ทางหวั แถวและทางทา้ ยแถวเขา้ มายงั คนใดคนหน่ึงที่อยู่
ตรงกลางแถว ใชค้ าบอกวา่ “คนนีเ้ ป็ นหลกั , ปิ ดระยะ , จดั แถว”

กำรปฏิบัติ : การปิ ดระยะเขา้ มาทางหวั แถว เมื่อสิ้นสุดคาบอกวา่ “หัวแถวเป็ นหลกั , ปิ ดระยะ , จัด
แถว” ให้ทุกคนปิ ดระยะเขา้ มาทางหวั แถวโดยเร็ว ดว้ ยการยกมือซา้ ยข้ึนทา้ วสะเอวและสะบดั หนา้
ไปทางขวา เพื่อทาการจดั แถวในลกั ษณะเช่นเดียวกนั กบั การจดั แถวปิ ดระยะ เม่ือผูฝ้ ึ กเห็นว่าแถว
เรียบร้อยแลว้ ให้ใชค้ าบอกวา่ “น่ิง” เมื่อสิ้นสุดคาบอกวา่ “น่ิง” ให้ลดมือที่ทา้ วสะเอวลงพร้อมกบั
สะบดั หนา้ กลบั ไปอยใู่ นท่าตรงอยา่ งแขง็ แรงแลว้ น่ิง

การปิ ดระยะเขา้ มาทา้ ยแถว เม่ือสิ้นสุดคาบอกวา่ “ท้ำยแถวเป็ นหลัก , ปิ ดระยะ , จัดแถว”
ให้ทุกคนปิ ดระยะเขา้ มาทางทา้ ยแถวโดยเร็ว ดว้ ยการให้คนทา้ ยแถวยืนอยใู่ นท่าตรง ณ ท่ีเดิม และ
ต้งั แต่คนท่ีติดอยกู่ บั คนทา้ ยแถวข้ึนไป จนถึงคนหวั แถวให้ยกมือซา้ ยข้ึนทา้ วสะเอว และสะบดั หนา้
ไปทางซา้ ยเท่าน้นั เมื่อผฝู้ ึ กเห็นวา่ แถวเรียบร้อยแลว้ ใหใ้ ชค้ าบอกวา่ “นิ่ง” ใหล้ ดมือท่ีทา้ วสะเอวลง
พร้อมกบั สะบดั หนา้ กลบั ไปอยใู่ นท่าตรงอยา่ งแขง็ แรงแลว้ น่ิง

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 28

การปิ ดระยะเขา้ มาทางกลางแถว เม่ือสิ้นสุดคาบอกวา่ “คนนีเ้ ป็ นหลกั , ปิ ดระยะ , จัดแถว”
ให้ทุกคนที่อยู่ท้งั ทางหัวแถวและทางทา้ ยแถวปิ ดระยะแถวเขา้ มาหาคนที่ผูฝ้ ึ กช้ีให้เป็ นคนหลกั
โดยเร็ว ดว้ ยการยกมือซา้ ยข้ึนทา้ วสะเอว ยกเวน้ คนทา้ ยแถว คนท่ีอยถู่ ดั จากคนที่กาหนดใหเ้ ป็นหลกั
ลงไปทางทา้ ยแถว สะบดั หนา้ ไปทางขวา คนท่ีอยถู่ ดั จากคนที่กาหนดใหเ้ ป็ นคนหลกั ข้ึนไปทางหวั
แถว สะบดั หน้าไปทางซ้าย คนหลกั มองตรงไปขา้ งหน้าท้งั ผูท้ ่ีสะบดั หนา้ ไปทางขวาและทางซ้าย
ต่างก็จดั แถวในลกั ษณะเช่นเดียวกนั กบั การจดั แถวเปิ ดระยะ ผิดกันตรงที่จะมีท้งั สะบดั หน้าไป
ทางขวาและทางซ้ายเท่าน้นั เม่ือผูฝ้ ึ กเห็นว่าแถวเรียบร้อยแลว้ ให้ใชค้ าบอกว่า “นิ่ง” เม่ือไดย้ ินคา
บอกว่า “นิ่ง” ให้ลดมือท่ีทา้ วสะเอวลง พร้อมกบั สะบดั หนา้ กลบั ไปอยใู่ นท่าตรงอยา่ งแขง็ แรงแลว้
นิ่ง

คำแนะนำสำหรับผู้ฝึ ก

1. การปิ ดระยะจากกลางแถว ให้ผฝู้ ึ กเคล่ือนท่ีไปยืนอยตู่ รงหนา้ ของผรู้ ับการฝึ กผูน้ ้นั ใน
ระยะห่างประมาณ 6 กา้ ว แลว้ ใชม้ ือขวาช้ีไปยงั ผนู้ ้นั

2. เพ่ือใหเ้ กิดความพร้อมเพรียงและแขง็ แรงในการปิ ดระยะ

- ถา้ หวั แถวเป็นหลกั ใหท้ าขวาหนั แลว้ ตบเทา้ วงิ่ ออกไปทางหวั แถว

- ถา้ ทา้ ยแถวเป็นหลกั ใหท้ าซา้ ยหนั แลว้ ตบเทา้ วงิ่ ออกไปทางทา้ ยแถว

- ถา้ กลางแถวเป็ นหลกั ให้ทาขวา(ซ้าย)หัน แลว้ ตบเทา้ วิ่งออกไปทางหัวแถวและทา้ ย
แถว

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 29

2. แถวตอน

คำอธิบำย : แถวตอนเป็นแถวท่ีคนสูงที่สุดของแถวเป็นคนหลกั คนอ่ืนๆ ยืนเรียงตามลาดบั ไหล่
ซอ้ นกนั ลงไปทางขา้ งหลงั (ทางลึก) จากคนสูงลงไปหาต่าจนถึงทา้ ยแถวอยใู่ นแนวเดียวกนั และตรง
คอคนขา้ งหนา้

แถวตอน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ แถวตอนเรียงหน่ึง และ แถวตอนต้งั แต่เรียงสองแถว
ข้ึนไป

2.1 แถวตอนเรียงหน่ึง

คำอธิบำย : แถวตอนเรียงหน่ึงเป็นแถวตอนท่ีมีแถวเดียว

คำบอก : “ตอนเรียงหนึ่ง , มำหำข้ำพเจ้ำ”

กำรปฏิบัติ : เม่ือสิ้นสุดคาบอกว่า “ตอนเรียงหน่ึง , มำหำข้ำพเจ้ำ” ให้วิ่งไปหาผเู้ รียกแถวโดยเร็ว
คนสูงท่ีสุดของแถวเป็ นหลกั ตอ้ งยืนอยตู่ รงหนา้ และห่างจากผเู้ รียกแถวประมาณ 6 กา้ ว โดยยืนให้
ตรงคอและให้แนวไหล่ขนานกับแนวไหล่ของผูเ้ รียกแถว ต่อจากน้ันให้คนอ่ืนๆ เขา้ แถวเรียง
ตามลาดบั ไหล่ซ้อนกันลงไปขา้ งหลงั (ทางลึก) จากคนสูงลงไปหาต่าจนถึงท้ายแถว เป็ นแนว
เดียวกนั และคอตรงกนั เวน้ ระยะต่อระหว่างบุคคลหน่ึงช่วงแขนโดยยกแขนท่อนขวาข้ึนสูงเสมอ
แนวไหล่ นิ้วท้งั ห้าเรียงชิดติดกนั และคว่าฝ่ ามือลง ให้ปลายนิ้วแตะไหล่ขวาของคนที่อยู่ขา้ งหน้า
ยกเวน้ เฉพาะคนท่ีอยหู่ ัวแถว (คนหลกั ) เท่าน้นั ท่ีไม่ตอ้ งยกแขนเหยียดไปขา้ งหนา้ คงยืนอยใู่ นท่า
ตรงเฉยๆ การจดั แถวให้คนที่อยู่ถดั ลงไปทางขา้ งหลงั เป็ นผูจ้ ดั แถวโดยยืนให้ตรงคอ และให้แนว
ไหล่ขนานไหล่ของคนที่อยขู่ า้ งหนา้ แลว้ ใชส้ ายตาเลง็ ผา่ นไปยงั คนที่อยขู่ า้ งหนา้ โดยไม่ใหม้ องเห็น
คนท่ีสามและคนที่อยทู่ างหวั แถวท้งั หมด

เมื่อไดย้ ินคาว่า “นิ่ง” ให้ทุกคนลดแขนขวาท่ีเหยียดไปขา้ งหน้าลงมาอยู่ในท่าตรงอย่าง
แขง็ แรงแลว้ นิ่ง

คำแนะนำสำหรับผู้ฝึ ก

ในการเรียกแถวน้นั ผเู้ รียกแถวจะตอ้ งยืนอยใู่ นท่าตรง หนั หนา้ ไปในทิศทางที่ตอ้ งการให้
แถวต้งั อยู่ แลว้ จึงใหใ้ ชค้ าบอกวา่ “ตอนเรียงหนงึ่ , มำหำข้ำพเจ้ำ”

เมื่อเรียกแถวแลว้ ให้ผเู้ รียกแถวตรวจการจดั แถวดว้ ยการใชส้ ายตาและคาพูดประกอบ เมื่อ
ผเู้ รียกแถวเห็นวา่ แถวเรียบร้อยแลว้ ใหผ้ เู้ รียกแถวใชค้ าบอกต่อไปวา่ “นิ่ง”

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 30

หลงั จากท่ีผูเ้ รียกแถวได้ส่ัง “นิ่ง” แล้วถา้ เห็นว่าแถวยงั ไม่เรียบร้อยผูเ้ รียกแถวมีความ
ประสงคจ์ ะให้ผูร้ ับการฝึ กจกั แถวใหม่ให้ใชค้ าว่า “จัดแถว” เม่ือผูร้ ับการฝึ กได้ยินคาบอกว่า “จัด
แถว” ใหผ้ รู้ ับการฝึกจดั แถวใหม่ เม่ือเห็นวา่ เรียบร้อยแลว้ ใหผ้ เู้ รียกแถวใชค้ าบอกวา่ “น่ิง”

การสั่งจดั แถวใหม่ ผูเ้ รียกแถวจะสั่งจดั หลายคร้ังก็ไดโ้ ดยไม่จากดั จนกว่าจะเห็นว่าแถว
เรียบร้อย แต่จะตอ้ งกระทาหลงั จากท่ีไดใ้ ชค้ าบอกวา่ “น่ิง” ไปแลว้ ทุกคร้ัง

ในกรณีที่ผเู้ รียกแถวเห็นวา่ คนหลกั จดั ระยะต่อระหวา่ ผเู้ รียกแถวกบั หวั หนา้ แถวไม่ไดต้ าม
เกณฑ์ท่ีกาหนด เช่นมากกว่าหรือน้อยกว่า 6 ก้าว เป็ นตน้ ผูเ้ รียกแถวจะตอ้ งใช้วิธีเรียกแถวใหม่
เท่าน้นั โดยจะตอ้ งสง่ั “นิ่ง” เสียก่อน

ในกรณีฝึกท่าประกอบอาวธุ ใหเ้ หยยี ดแขนซา้ ยแทนแขนขวาที่ถืออาวธุ ปื น

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 31

หน่ึงช่วงแขน
6 ก้ำว

แผนผงั แถวตอนเรียงหนึ่ง

แถวตอนเรียงหนึ่ง 32

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั

2.2 แถวตอนเรียงสองขนึ้ ไป

คำอธิบำย : แถวตอนเรียงสองข้ึนไปเป็นแถวตอนเรียงหน่ึงหลายๆ แถวท่ีเขา้

คำบอก : “ตอนเรียง..... , มำหำข้ำพเจ้ำ”

กำรปฏบิ ัติ : เมื่อสิ้นสุดคาบอกวา่ “ตอนเรียง..... , มำหำข้ำพเจ้ำ” ใหว้ ่ิงไปเขา้ แถวตอนเรียงหน่ึงเคียงกนั 3 แถว
เป็ นตน้ โดยให้ยดึ ถือเอาแถวท่ีอยทู่ างขวาสุดเป็ นแถวหลกั เพราะฉะน้นั จึงถือว่าคนหัวแถวของแถวขวาสุดเป็น
คนหลกั ของรูปแถวคนท่ีมีความสูงมากท่ีสุดจะตอ้ งทาหนา้ ที่เป็นคนหลกั ของรูปแถว โดยจะตอ้ งรีบวิ่งไปยนื อยู่
ตรงหนา้ และห่างจากผเู้ รียกแถวประมาณ 6 กา้ ว โดยยนื ใหต้ รงคอและใหแ้ นวไหล่ขนานกบั แนวไหล่ของผเู้ รียก
แถว พร้อมกบั ยกมือซา้ ยข้ึนทา้ วสะเอวไวส้ ายตามองตรงไปขา้ งหนา้ คนที่มีความสูงรองลงไปให้ทาหนา้ ที่เป็ น
แถวหลกั ของแถวท่ีสอง , สาม , ไปตามลาดบั ตามจานวนแถวที่จะตอ้ งจดั โดยใหค้ นหลกั (คนหัวแถว) ของแต่
ละแถวไปยืนเขา้ แถวต่อไปทางซา้ ยของคนหลกั ของรูปแถว และจดั แถว เช่นเดียวกบั การจดั แถวหนา้ กระดาน
แถวเด่ียวปิ ดระยะดว้ ยการสะบดั หนา้ ไปทางขวา เพ่ือดูระดบั เทา้ ให้ตรงกบั แนวปลายเทา้ ของผทู้ ี่อยแู่ ถวขวามือ
สุด แลว้ สะบดั หน้ากลบั มายกมือทา้ สะเอวคา้ งไว้ (ยกเวน้ คนที่อยู่ซ้ายมือสุด) คนอื่นๆ ให้ว่ิงไปทางขา้ งหลงั
ตามลาดบั ไหล่จากสูงไปหาต่าจนถึงทา้ ยแถว เช่นเดียวกบั การจดั แถวตอนเรียงหน่ึงโดยยกแขนขวา (ถา้ ถือปื น
เลก็ ยาวให้ใชแ้ ขนซา้ ย) จดั ระยะต่อโดยเหยียดแขนใชป้ ลายนิ้วมือแตะไหล่คนขา้ งหนา้ และนาลงสะบดั หนา้ ไป
ทางขวา ให้แนวปลายเทา้ ตรงกบั คนขวามือสุด แลว้ สะบดั หนา้ กลบั ให้ตรงคอคนหนา้ (ยกเวน้ คนแถวซา้ ยสุด)
เม่ือไดย้ นิ คาบอก “นิ่ง” ใหท้ ุกคนลดมือซา้ ยท่ีเทา้ สะเอวลง

คำแนะนำสำหรับผู้ฝึ ก

1. การปฏิบตั ิในการฝึ กแถวตอน....ปิ ด(เปิ ด)ระยะ คงยึดถือเกณฑ์ในการปฏิบตั ิ และการใชค้ าบอก
เช่นเดียวกนั กบั การฝึกแถวตอนเรียงหน่ึงปิ ด(เปิ ด)ระยะทุกประการ

2. ในการหัดแถวตอนต้งั แต่เรียงสองข้ึนไป ไม่ว่าจะเป็ นแถวปิ ดระยะ หรือแถวเปิ ดระยะก็ตามผฝู้ ึ ก
ควรเนน้ ให้ผรู้ ับการฝึ กเขา้ ใจดว้ ยวา่ คนหลกั ของรูปแถวคือคนท่ีอยหู่ ัวแถวของแถวทางขวาสุด ส่วนคนที่อยหู่ ัว
แถวทางซา้ ยต่อๆ ไปน้นั ไม่ถือวา่ เป็นหลกั ของรูปแถว แต่จะเป็นหลกั ของแต่ละแถวน้นั

3. ในการจดั แถวของตบั หลงั ๆ น้นั จะตอ้ งยดึ ถือเป็นหลกั สาคญั กค็ ือ
- วดั ระยะต่อหน่ึงช่วงแขน และ ยนื ใหต้ รงคอคนหนา้
- ทุกตบั จะตอ้ งจดั แนวตบั ดว้ ยการยืนให้ปลายเทา้ เสมอกนั แลว้ จดั แถวดว้ ยการสะบดั หน้าไป

ทางขวา(ยกเวน้ คนท่ีทางขวาสุดของแต่ละดบั ) สาหรับระยะเคียงระหวา่ บุคคลภายในแต่ละตบั น้นั ไม่จาเป็นตอ้ ง
คานึงว่าแขนขวาของคนทางซา้ ยจะตอ้ งจรดกบั ปลายศอกซา้ ย หรือปลายนิ้ว(ปิ ด – เปิ ด ระยะ) ของคนทางขวา
หรือไม่ คงยดึ ถือเอาการยนื ตรงคอคนหนา้ เป็นหลกั

4. การแยกคู่ขาด เม่ือผูร้ ับการฝึ กเขา้ แถวต้งั แต่ตอนเรียงสองข้ึนไป เม่ือจดั แถวแลว้ ผูร้ ับการฝึ กขาด
จานวนไม่ลงตวั กล่าวกค็ ือ แถวตอนแต่ละแถวมีจานวนผรู้ ับการฝึ กไม่เท่ากนั ไม่สามารถจะจดั แถวใหเ้ ตม็ ตบั ได้
ในทางตอนทา้ ยของแถว ในการเขา้ แถวให้ถือเอาแถวทางขวาเป็ นแถวหลกั โดยจะตอ้ งเขา้ แถวให้เต็มไม่มี
จานวนขาด ส่วนจานวนท่ีขาดไปน้นั ใหแ้ ยกคู่ขาดไวท้ ี่ทา้ ยแถวของแถวตอนท่ีอยทู่ างซา้ ย หรือแถวตอนที่อยตู่ รง
กลางๆ ถา้ หากสามารถกระทาไดใ้ หพ้ ยายามปิ ดแถวตอนทางซา้ ยสุดและตบั สุดทา้ ยของแถวไวใ้ หเ้ ตม็ ดว้ ย

5. ในการฝึกอาจกาหนดใหค้ นหวั แถวและผทู้ ่ีปิ ดทา้ ยแถวนบั ตามจานวนแถวพร้อมกบั จดั แถวดว้ ย

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 33

คนทำงขวำยกแขนซ้ำยท้ำวสะเอว

หนึ่งช่วงแขน

6 ก้ำว

แผนผงั แถวตอนเรียงสอง

แถวตอนเรียงสอง 34

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั

2.3 กำรนับ(แถวตอน)

คำอธิบำย : การนบั มี 3 ลกั ษณะ คือ การนบั ตามปกติ , การนบั ตามจานวนที่กาหนด และการนบั ท้งั
แถว

2.3.1 กำรนับตำมปกติ

คำบอก : “นับ” (คาบอกคาเดียว)

กำรปฏิบัติ : เมื่อคนในแถวไดย้ ินคาบอกวา่ “นับ” ให้คนท่ีอยหู่ วั แถว (แถวตอนเรียงหน่ึง) หรือคน
ท่ีอยหู่ วั แถวของแถวทางขวา (แถวตอนต้งั แต่เรียงสองข้ึนไป) เริ่มนบั “หน่ึง” ดว้ ยการออกเสียงดงั ๆ
พร้อมกบั สะบดั หนา้ ไปทางขวา เม่ือสิ้นเสียงนบั แลว้ ใหส้ ะบดั หนา้ กลบั มาอยใู่ นท่าตรงตามเดิมทนั ที
คนอื่นๆ ที่อยถู่ ดั จากคนหัวแถวต่อลงไปทางขา้ งหลงั นบั ต่อจากคนหวั แถวเรียงตามลาดบั หมายเลข
กนั ไปจนกวา่ จะถึงคนทา้ ยสุด เช่น “สอง” , “สำม” , “สี่” , “ห้ำ” , “หก” , “เจ็ด” ฯลฯ เป็นตน้ โดย
ใชว้ ิธีสะบดั หนา้ ไปนบั แลว้ สะบดั หน้ากลบั เช่นเดียวกบั คนหัวแถวเวน้ คนสุดทา้ ยของแถวไม่ตอ้ ง
สะบดั หนา้

ในกรณีท่ีเป็ นแถวตอนต้งั แต่เรียงสองข้ึนไปซ่ึงมีการแยกคู่ขาดไวใ้ นทางตอนทา้ ยของแถว
เมื่อคนสุดทา้ ยของแถวทางขวาสุดนับสิ้นเสียงแลว้ ให้คนสุดทา้ ยของแถวทางซ้ายสุดเป็ นผูข้ าน
จานวนท่ีขาดข้ึนดงั ๆ โดยไม่ตอ้ งสะบดั หนา้ เช่น ขานวา่ “ขำดหนงึ่ ” , “ขำดสอง” , “ขำดสำม” ฯลฯ
เป็นตน้ ถา้ ไม่มีผขู้ าดกใ็ หข้ านวา่ “ครบ”

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 35

7
6
5
4
3
2
1

แผนผงั กำรนับตำมปกติ (แถวตอน)

วิชา แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 36

2.3.2 กำรนับตำมจำนวนที่กำหนด

คำบอก : “นับ...(ระบุจำนวน) , นับ”

กำรปฏิบัติ : เมื่อคนในแถวไดย้ ินคาบอกวา่ “นับ...(ระบุจำนวน) , นับ” ให้นบั ตามจานวนท่ีผเู้ รียก
แถวบอก โดยให้เริ่มนับจากคนหัวแถวก่อนในลกั ษณะเช่นเดียวกันกบั การนับตามปกติท่ีกล่าว
มาแลว้ ขา้ งตน้ โดยนบั เรียงตามลาดบั หมายเลขไปตามจานวนท่ีอยู่เรียกแถวบอกเม่ือนับครบตาม
จานวนที่ผเู้ รียกแถวบอกแลว้ คนต่อไปจะตอ้ งเริ่มนบั “หน่ึง” ใหม่ ตวั อยา่ งเช่น ผเู้ รียกแถวบอกให้
“นับสอง” คนจากหวั แถวจะตอ้ งนบั “หนึ่ง – สอง” “หนึ่ง – สอง” “หน่ึง – สอง” ไปจนกวา่ จะถึง
คนทา้ ยแถวเป็นตน้

สาหรับการนบั ตามจานวนที่กาหนดน้ี ถา้ เป็ นแถวตอนต้งั แต่เรียงสองข้ึนไปท่ีมีการแยกคู่
ขาดไวใ้ นทางตอนทา้ ยแถว การนบั ในกรณีน้ีไม่ตอ้ งขานคู่ขาด

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 37

( ตวั อย่ำง “นับสอง, นับ” )

2
1
2
1
2
1

แผนผงั กำรนับตำมจำนวนทีก่ ำหนด (แถวตอน)

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 38

2.3.3 กำรนับท้งั แถว

คำบอก : “นับตลอด , นับ” (คาบอกเป็นคาๆ )

กำรปฏิบัติ : เม่ือสิ้นสุดคาบอกวา่ “นับตลอด , นับ” ใหค้ นหลกั ของแถวเร่ิมนบั “หน่ึง” ในลกั ษณะ
เช่นเดียวกบั การนบั ตามปกติ คนต่อๆ ไปของแถวขวาสุดคงนบั เรียงตามลาดบั หมายเลขกนั ไปโดย
ตลอด ด้วยการนับพร้อมกับสะบดั หน้าไปทางขวา ยกเวน้ เฉพาะคนท้ายแถวให้สะบดั หน้าไป
ทางซา้ ย เมื่อคนทา้ ยแถวของแถวทางขวาสุดนบั แลว้ ใหค้ นทา้ ยแถวของแถวท่ีสองเป็นผู้เร่ิมตน้ นบั
ต่อ โดยนับตามลาดบั หมายเลขต่อกนั ไปจากคนทา้ ยแถวของแถวขวาสุด ไปจนกว่าจะถึงหัวแถว
โดยไม่ตอ้ งสะบดั หนา้ ทุกคน ยกเวน้ เฉพาะคนท่ีอยหู่ วั แถวของแถวที่สองใหส้ ะบดั หนา้ ไปทางซา้ ย
(ถา้ มีการแยกคู่ขาดไวก้ ใ็ หน้ บั ขา้ มคูข่ าดไป) เมื่อคนหวั แถวของแถวท่ีสองนบั แลว้ ใหค้ นหวั แถวของ
แถวท่ีสามเป็นผเู้ ริ่มตน้ นบั ตามจานวนหมายเลขที่ติดต่อกนั กบั คนหวั แถวของแถวท่ีสองในลกั ษณะ
เช่นเดียวกบั คนหวั แถวของแถวที่หน่ึงกระทาเช่นน้ีสลบั กนั ไปจนกวา่ จะหมดจานวนคนของทุกแถว
ท่ีมีอยู่ คนนบั คนสุดทา้ ยไม่ตอ้ งสะบดั หนา้

คำแนะนำสำหรับผู้ฝึ ก

ในการหัดผูฝ้ ึ กควรจะไดเ้ น้นให้ผูร้ ับการฝึ กทราบดว้ ยว่า ในกรณีท่ีเป็ นการนับของแถว
ตอนต้งั แต่เรียงสองข้ึนไป ตามปกติแลว้ ในการนบั น้นั ไม่วา่ จะเป็นการนบั ตามปกติหรือการนบั ตาม
จานวนท่ีกาหนดก็ตาม เมื่อไดย้ นิ คาบอก ให้ผรู้ ับการฝึ กเฉพาะท่ีอยแู่ ถวทางขวาสุดเท่าน้นั เป็ นผนู้ บั
ส่วนผูร้ ับการฝึ กในแถวอื่นไม่ตอ้ งนบั นอกจากขานคู่ขาด (เมื่อมีการแยกคู่ขาด) ไวโ้ ดยผูร้ ับการฝึ ก
คนสุดทา้ ยของแถวทางซา้ ยสุดเป็นผขู้ านคูข่ าด

สำหรับข้อแนะนำในเร่ืองอื่นๆ ให้ยดึ ถือปฏิบตั เิ ช่นเดยี วกบั ทไ่ี ด้กล่ำวไว้ในคำแนะนำสำหรับ
ผู้ฝึ กข้ำงต้น

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 39

8 9 24 25 39

7 10 23 38

6 11 22 26 37

5 12 21 27 36

4 13 20 28 35

3 14 19 29 34

2 15 18 30 33

1 16 17 31 32

แผนผงั กำรนับท้งั แถว (แถวตอน)

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 40

2.4 กำรจัดแถว (แถวตอน)

คำอธิบำย : การจดั แถว เป็นการสงั่ ใหผ้ อู้ ยใู่ นแถวจดั แถวใหเ้ รียบร้อยอีกคร้ัง โดยเมื่อผฝู้ ึกเรียกแถว
ตรวจแถว และสง่ั แถวนิ่งแลว้ แต่เห็นวา่ แถวยงั ไม่เรียบร้อยผฝู้ ึกจะสง่ั จดั แถวใหม่
คำบอก : “จดั แถว” (คาบอกรวด)
กำรปฏิบัติ : เมื่อสิ้นสุดคาบอกวา่ “จดั แถว” ใหท้ ุกคนทาการจดั แถวใหม่ ณ ท่ีเดิม โดยใหท้ ุกคนยก
มือซา้ ยข้ึนทา้ วสะเอว แลว้ ทาการจดั แถวใหม่ดว้ ยวธิ ีการเช่นเดียวกบั การเขา้ แถวตอนในคร้ังแรก เม่ือ
ผฝู้ ึ กเห็นวา่ แถวเรียบร้อยแลว้ ใหผ้ ฝู้ ึ กสง่ั “น่ิง” เม่ือไดย้ นิ คาบอกวา่ “น่ิง” ให้ลดมือซา้ ยท่ีทา้ วสะเอว
ลงไปอยใู่ นท่าตรงตามเดิมอยา่ งแขง็ แรงแลว้ นิ่ง
คำแนะนำสำหรับผู้ฝึ ก

ในการสั่งจดั แถวใหม่แต่ละคร้ังน้นั หลงั จากที่ผูฝ้ ึ กบอก “นิ่ง” แลว้ แต่เห็นว่าแถวยงั ไม่
เรียบร้อยควรจะจดั แถวใหม่การสง่ั จดั แถวใหม่ในกรณีเช่นน้ีอาจจะส่งั “พกั ” ก่อน ไม่ก็ไดใ้ นกรณีท่ี
ไดม้ ีการสงั่ “พกั ” ก่อน ถา้ จะสง่ั “จดั แถว” ใหม่จะตอ้ งสง่ั “แถว – ตรง” ก่อนเสมอ

วชิ า แบบฝึกพนกั งานรักษาความปลอดภยั 41


Click to View FlipBook Version