The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Asia Cleaning Service Co.,Ltd, 2021-11-09 02:39:27

คู่มือ รปภ ศูนย์ฝึกสิทธิรัตน์

รวมคู่มือ รปภ

ความรูเบอื้ งตน เกีย่ วกับธรุ กิจรักษาความปลอดภยั

พ.ร.บ.ธรุ กิจรกั ษาความปลอดภยั พ.ศ.2558
บทนยิ าม

ธรุ กิจรักษาความปลอดภยั มีองคป ระกอบดังน้ี
1. ใหบ รกิ ารรกั ษาความปลอดภยั โดยพนักงานรักษาความปลอดภัยรบั อนุญาตทาํ หนาท่ี
2. คมุ ครองความปลอดภัยในชวี ติ รา งกาย หรอื ทรพั ยส ินของบคุ คล
3. ไดรบั เงินหรอื ประโยชนตอบแทน
4. ไมร วมบริการรักษาความปลอดภัยของรฐั ตามที่ นรม ประกาศ
บริษัทรักษาความปลอดภัย หมายความวา บริษทั ซึง่ ไดรับในอนุญาตประกอบธุรกจิ รกั ษาความปลอดภัย
บริษัท หมายความวา บริษัทวาดวยกฎหมายแพง หรือบริษัทมหาชน จํากัด ตามกฎหมายวาดวย
บริษัทมหาชนกํากดั
พนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต ( พปร. ) หมายความวา ผูซ่ึงไดรับอนุญาตจากนายทะเบียนให
เปนพนักงานรักษาความปลอดภยั รบั อนญุ าต
คณะกรรมการ หมายความวา คณะกรรมการกาํ กบั ธรุ กิจรกั ษาความปลอดภัย
นายทะเบียน หมายความวา นายทะเบียนกลางหรือนายทะเบียนประจําจังหวัดกรุงเทพ ฯ และนาย
ทะเบียนประจาํ จังหวัด
พนกั งานเจา หนา ท่ี หมายความวา ผูซ ึ่ง ผบ.ตร. แตงตงั้
ผูบัญชาการตํารวจนครบาล เปนนายทะเบียนกลางและเปนนายทะเบียนประจํากรุงเทพ ฯ มีอํานาจ
หนาทีจ่ ดั ทําบญั ชีรายชือ่ บริษัทรักษาความปลอดภัยและพนักงานรกั ษาความปลอดภยั รับอนุญาตทั่วราชอาณาจักร
ผูบังคับการตํารวจภูธรจังหวัด มีอํานาจหนาท่ีจัดทําบัญชีรายชื่อบริษัทรักษาความปลอดภัยและพนักงาน
รักษาความปลอดภัยรับอนญุ าต ในเขตจงั หวดั ของตน
นายยกรัฐมนตรี รักษาการตาม พ.ร.บ. น้ี มอี าํ นาจออกกฎกระทรวงและกาํ หนดคาธรรมเนียม
คณะกรรมการกํากบั ธุรกิจรกั ษาความปลอดภยั
มีจํานวน 16 คน ประกอบดวย
1. ผบ.ตร. เปนประธานกรรมการ
2. กรรมการโดยตําแหนง 6 คน มีอธิบดีกรมการปกครองอธิบดีสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เลขาธิการ
คณะกรรมการคุมครองผูบริโภค ผอ.สํานักกิจการยุติธรรม ผูบัญชาการศูนยรักษาความปลอดภัย ผูอํานวยการ
องคการทหารผานศึก
3. กรรมการผูทรงคุณวุฒิ ซึ่ง นรม. แตงตั้ง 2 คน และ 2 ใน 3 ตองเปนผูมีความรูเกี่ยวกับการรักษาความ
ปลอดภัย ผูบัญชาการตํารวจนครบาล เปนกรรมการและเลขานุการมีอาํ นาจแตงต้ังผูชวยเลขาธิการไดไมเกนิ 2 คน
เปน พันตํารวจตรี ขนึ้ ไป
กรรมการผทู รงคณุ วุฒิ ตองมคี ุณสมบัติและไมมลี กั ษณะตองหาม ดังนี้
คณุ สมบตั ิ
1. มสี ัญชาติไทย
2. มีความรปู ระสบการณในงานรกั ษาความปลอดภัย
ลกั ษณะตองหา ม
1. เปนบุคคลลมละลาย
2. เปนคนวิกลจริตหรือจติ ฟนเฟอนไมสมประกอบ คนไรความสามรถหรือเสมอื นไรความสามารถ

-2-
3. เคยไดร บั โทษจําคกุ โดยคาํ พิพากษาถงึ ทีส่ ดุ ใหจาํ คุก เวนแตประมาทหรือลหุโทษ
4. ไมเ ปน ผดู าํ รงตําแหนงทางการเมอื งใด ๆ
กรรมการผูทรงคุณวุฒิอยูในตําแหนงคราวละ 3 ป การประชุมตองมีเสียงขางมาก หากคะแนนเสียงเทากันให
ประธานกรรมการออกเสยี งไดอ ีก 1 เสียง กรรมการผทู รงคุณวฒุ ิวา งลงไมถึง 90 วนั จะไมแ ตง ต้งั กรรมการใหมก ไ็ ด
กรรมการพนจากวาระเม่อื
1. ตาย
2. ลาออก
3. นรม.ใหอ อก เพราะบกพรองตอหนาท่ี ความประพฤตเิ ส่ือมเสียหรอื หยอนความสามารถ
4. ขาดคุณสมบตั ิและลกั ษณะตองหาม
คณะกรรมการมีอาํ นาจหนาที่
1. กาํ หนดนโยบาย แผนงาน และมาตรการสง เรมิ เพ่ือใหน ายทะเบียนไปปฏบิ ตั ิ
2. เสนอความเหน็ ตอ นรม. ในการออกกฎกระทรวง
3. ออกระเบยี บกําหนดมาตรฐานการรักษาความปลอดภัยทีบ่ ริษัทตองปฏบิ ัติ
4. ออกระเบยี บกาํ หนดมาตรฐานการรักษาความปลอดภยั หลกั สูตรรักษาความปลอดภัย
5. ออกระเบียบกาํ หนดมาตรฐานสถานฝกอบรม
6. ออกประกาศกาํ หนดเครอื่ งหมายพนักงานรักษาความปลอดภยั รับอนุญาต
7. พจิ ารณาวินจิ ฉัยอุทธรณค าํ ส่งั นายทะเบียน
8. ออกระเบยี นกําหนดหลักเกณฑก ารเปรียบเทียบ
9. นรม. มอบหมาย
การประชมุ คณะกรรมการ
1. ตอ งมาประชมุ เกินกง่ึ หน่งึ
2. ประธานไมม าหรอื ปฏิบตั ิหนาที่ไมไ ดเลือกกรรมการหน่ึง คนเปน ประธาน
3. การวนิ จิ ฉยั ชีข้ าดเสียงเทากัน ใหป ระธานออกเสียงอีกเสียงเพื่อชีข้ าด
4. ประธานกรรมการหรอื กรรมการเปนผมู สี ว นไดเ สยี หา มเขาประชมุ
5. คณะกรรมการจัดต้ังคณะอนุกรรมการได
6. มอี าํ นาจเชญิ บุคคลมาใหถ อ ยคาํ หรือใหสงเอกสารหลกั ฐานประกอบการพจิ ารณาได
7. ใหสํานักงานตํารวจแหงชาติเปนสํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการ รับผิดชอบงานธุรการ งานวิชา
การและกจิ การอ่ืนท่ีเก่ียวของกับคณะกรรมการ
บรษิ ัทรักษาความปลอดภัย
1. จะตองไดรับอนุญาตจากนายทะเบียน
2. จะตอ งมคี ุณสมบตั ิ

2.1 มีจํานวนหนุ ที่ถือโดยบุคคลมสี ัญชาติไทย เกินก่ึงหนึง่
2.2 มีกรรมการเปนบคุ คลมสี ญั ชาตไิ ทยเกินกึ่งหนึง่
2.3 ไมเ คยถกู เพกิ ถอนใบอนุญาตมากอ น
3. การขออนญุ าตนายทะเบียนตองแจง ผขู อรบั ใบอนุญาตภายใน 60 วนั
4. ใบอนญุ าตมอี ายุ 4 ป
5. ตอ งมีคาํ นําหนาช่อื วา “บริษัทรกั ษาความปลอดภยั ” และคําลงทา ยวา “จํากัด” หรอื “จาํ กัด (มหาชน)”
ตอ ทาย

-3-
6.หามบคุ คลอน่ื ใชช ื่อ บริษทั รกั ษาความปลอดภยั
7. การขอตอใบอนุญาตตองยื่นกอนใบอนุญาตกอนหมดอายุและนายทะเบียนตองแจงภายใน 60 วัน นับ
แตวันไดร ับคาํ ขอ
8. บริษัทตอ งแสดงใบอนุญาตในทเ่ี ปดเผย
9. ใบอนญุ าตสญู หาย ถูกทําลาย ชาํ รดุ ตองแจง ภายใน 30 วัน
สัญญาจางระหวางบรษิ ัทกบั ผูร บั จางตองมีรายการ 8 ประการ
1. ช่ือและทอ่ี ยขู องบริษทั และผวู า จา ง
2. วนั ที่ทาํ สญั ญา
3. ขอบเขตงานและระยะเวลาบรกิ าร
4. คา จา งและการจา ยคา จาง
5. หนาทีแ่ ละความรับผิดชอบของบริษทั และผูวา จาง
6. คาปรบั
7. การกาํ หนดคาเสยี หาย
8. เลิกสัญญา
ตอ งทาํ เปน หนังสือมีรายการครบถว นไมค รบสญั ญาเปน โฆฆะ
บรษิ ัทตองปฏิบัตติ ามมาตรฐานการรักษาความปลอดภัย
1. กํากบั ตรวจสอบการทาํ งานของพนกั งานรกั ษาความปลอดภัยรบั อนญุ าต
2. มีระบบบันทกึ เหตกุ ารณประจําวัน
3. มศี นู ยป ระสานงาน
4. มีอปุ กรณส ื่อสารระหวา งศนู ยประสานงานกบั พปร.
5. ใหค วามรเู กยี่ วกบั การกั ษาความปลอดภัยและฝกทบทวนสมํา่ เสมอ
บรษิ ัทรักษาความปลอดภยั มีหนา ที่
1. ใหความรวมมือตํารวจ ร.ต.ต.ขึ้นไป ท่ีไดรับมอบหมายจาก หน.สถานีเพื่อตรวจดูขอมูลบันทึกเหตุการณ
ประจาํ วนั เพอ่ื นาํ ไปวางแผนรักษาความปลอดภัย
2. เม่ือไดรับแจงจาก พปร. ขอมูลอาชญากรรมเบาะแสคนรายใหแจงฝายปกครองหรือตํารวจทราบโดย
ทนั ที
3. บริษัทตองจัดทําบัญชีรายช่ือ พปร. เพื่อแจงตอนายทะเบียนภายใน 30 วัน หลังจากไดรับใบอนุญาต
หากมีการเปล่ยี นแปลงขอ มูลของ พปร. ตอ งแจงภายใน 15 วัน
4. บริษัทตอ งรายงานผลการดําเนินการในรอบปในเดอื น มกราคม ของปถ ัดไป
พนกั งานรักษาความปลอดภัยรบั อนญุ าต (พปร.)
1. ตองมใี บอนุญาตเปน พปร.
2. ตองมคี ณุ สมบตั ิและไมม ีลักษณะตองหา ม
คณุ สมบตั ิ

2.1 มสี ญั ชาติไทย
2.2 มอี ายไุ มต่ํากวา 18 ปบรบิ รู ณ
2.3 สาํ เรจ็ การศึกษาภาคบงั คับ
2.4 ไดรับหนงั สือรับรองผา นการฝก อบรม
ลักษณะตองหาม

-4-
2.5 ติดสุราติดยาเสพติดหรอื โรคติดตอ ที่คณะกรรมการกาํ หนด
2.6 เปนคนวิกลจรติ หรอื จิตฟน เฟอ นไมส มประกอบ คนไรความสามารถหรอื เสมอื นไรความสามารถ
2.7 ไมเคยตองโทษจําคุกความผิดตอชีวิตรางกาย ทรัพยสิน เพศ การพนัน ยาเสพติด เวนแตพันโทษ
มาแลวไมนอยกวา 3 ป และมิใชความผดิ เกย่ี วกบั เพศ
2.8 เคยถูกเพิกถอนใบอนญุ าตยังไมถึง 2 ป
3. ใบอนุญาตใชได 3 ป
4. การตอใบอนุญาตตองมีหนงั สือรับรองสมรรถภาพของบริษัทหรือหนังสือรับรองวาไดผานการฝกทบทวน
หลกั สตู รการรกั ษาความปลอดภยั
5. ใบอนุญาตหาย ถกู ทําลาย ชํารดุ ตอ งแจง ใน 30 วัน
6. ขณะปฏบิ ัติหนา ที่ตองสงบเครือ่ งแตงแบบตดิ เครื่องหมายและมบี ัตรประจาํ ตัวของบริษัทท่ีตนสงั กัด
7. หามแตงเคร่ืองแบบเหมือนหรือคลายตํารวจ ทหาร หรือเจาพนักงานรักษาความสงบเรียบรอยท่ี
นายทะเบียนกลางประกาศ
พนักงานรักษาความปลอดภยั รบั อนุญาต (พปร.) มหี นา ที่
1. ชว ยฝา ยปกครองหรอื ตาํ รวจจับตาม ป.วิ อาญา
2. รักษาความปลอดภัยในชีวิต รางกายทรัพยสินรวมทั้งระงับเหตุและรักษาความสงบเรียบรอยในบริเวณ
หรอื สถานท่ที ี่รับผิดชอบ
3. เมื่อมีการกระทําผิดอาชญาหรือมีเหตุรายเกิดข้ึนใหแจงฝายปกครองหรือตํารวจทองท่ีทันทีและปดก้ัน
และรักษาสถานทีเ่ กดิ เหตใุ หคงสภาพเดิม จนกวาฝา ยปกครองหรอื ตาํ รวจผมู ีอาํ นาจจะเดนิ ทางมาถงึ
การพกั ใชแ ละการเพกิ ถอนใบอนุญาตของบรษิ ทั รกั ษาความปลอดภยั
1. การพกั ใชใ บอนุญาต
1.1 ไมปฏบิ ัติตามมาตรฐานการรกั ษาความปลอดภัย (ม. 26)
1. 2. ไมจ ดั ทําบัญชีรายชือ่ พนกั งานรกั ษาความปลอดภยั รับอนญุ าตโดยไมแ กไขใน 30 วัน
2. สัญญาท่ที ํากอ นการพักใชใ หด ําเนนิ การตอไปขณะพักใช หามทาํ สัญญาจา ง
3. บริษัทขาดคุณสมบัตแิ ละไมแ กไข ภายใน 90 วัน
การเพกิ ถอนใบอนุญาต
1. เคยถูกพกั ใช 2 คร้ัง และมีเหตุถกู พกั ใชอีกไมวาเหตผุ ลใดใน 1 ป
2. ไมแกไ ขคณุ สมบัติของบรษิ ทั ภายใน 90 วัน
คาํ ส่งั พกั ใชห รือเพิกถอนใบอนุญาตตอ งดําเนินการ ดังน้ี
1. ตอ งทําเปนหนงั สือระบุวนั ทพ่ี กั ใชห รอื เพิกถอน
2. แจง บริษทั ทราบใน 7 วนั นบั แตนายทะเบียนมีคาํ ส่ัง
3. ปด ประกาศหนังสอื ในที่เปด เผย ณ บริษทั
4. โฆษณาเครือขายสารสนเทศ ของ ตร.
บริษัทตองดําเนินการตามสัญญาที่ทํากอนการเพิกถอนตอไป โดยตองปฏิบัติตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่นาย
ทะเบยี นกาํ หนด..
การเพกิ ถอนใบอนญุ าตพนักงานรกั ษาความปลอดภยั รบั อนุญาต (พปร.)
1. ขาดคุณสมบัติ
2. มีลกั ษณะตองหา ม
คาํ ส่ังเพิกถอนใหป ฏบิ ัตเิ หมอื นกับคาํ สัง่ เพิกถอนใบอนญุ าตของบรษิ ัทรักษาความปลอดภัย

-5-
การอุทธรณ
มสี ิทธิอทุ ธรณตอคณะกรรมการภายใน 30 วัน ในกรณดี งั ตอ ไปน้ี
1. คําส่งั ไมออกใบอนญุ าตหรอื ไมต อใบอนญุ าต
2. คําสง่ั ไมร ับรองสถานฝก อบรม
3. คาํ สั่งไมอ อกใบอนุญาตและไมตอใบอนญุ าต พปร.
4. คาํ สง่ั พักหรือเพกิ ถอนใบอนญุ าตของบริษัท
5. คาํ สัง่ เพกิ ถอนใบอนญุ าตเปน พปร.
อํานาจนายทะเบยี นและพนักงานเจา หนาที่
1. เขา ไปท่ที ําการของบริษัทในเวลาทาํ การ
2. มีหนังสือเรียกกรรมการ ผูจัดการหรือพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต มาใหถอยคําหรือชี้แจง
หรือสงเอกสาร หรอื หลกั ฐานประกอบการพจิ ารณา
3. เรียกใหผูแสดงตนวาเปนพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต ใหแสดงบัตรประจําตัว เม่ือมีเหตุ
สงสยั วา ทําผดิ ตามกฎหมายน้ี

31/08/59

ประมวลกฎหมายอาญา

กองบญั ชาการศึกษา

เฉพาะทเ่ี กย่ี วกบั การปฏิบตั งิ าน

กองบัญชาการศึกษา

1

31/08/59

ความรับผดิ ทางอาญา

• การกระทาโดยเจตนา (มาตรา ๕๙)
• การกระทาโดยประมาท (มาตรา ๕๙ วรรคส่ี)
• การกระทาโดยพลาด (มาตรา ๖๐)
• การกระทาโดยสาคญั ผดิ ในตวั บุคคล (มาตรา ๖๑ , ๖๒)

ความรับผดิ ทางอาญา (ต่อ)

• ความไม่รู้กฎหมาย ( มาตรา ๖๔ )
• ความมึนเมา (มาตรา ๖๖)
• การกระทาความผิดดว้ ยความจาเป็น (มาตรา ๖๗)
• การป้ องกนั โดยชอบดว้ ยกฎหมาย (มาตรา ๖๘)

2

31/08/59

ความรับผดิ ทางอาญา (ต่อ)

• ความเป็ นญาตแิ ละสามีภรรยา (มาตรา ๗๑)
• บนั ดาลโทสะ (มาตรา ๗๒)
• ผู้กระทาได้รับผลดเี นื่องจากเกณฑ์อายุ (มาตรา ๗๓

และ ๗๔)

ความผดิ ทรี่ าษฎรสามารถจบั กมุ ได้
ตาม ป.ว.ิ อาญา มาตรา ๗๙

กองบญั ชาการศึกษา

3

31/08/59

ความผดิ ท้าย ป.ว.ิ อาญา

ความผดิ ท้าย ป.ว.ิ อาญา (ต่อ)

• ความผดิ ต่อเจ้าพนักงาน (ม.๑๓๘/๑๔๒,๑๔๕)
• ความผดิ ฐานหลบหนีจากที่คุมขงั (ม.๑๙๐-๑๙๑)
• ความผดิ ต่อศาสนา (ม.๒๐๖-๒๐๗)
• การก่อการจลาจล (ม.๒๑๕-๒๑๖)

4

31/08/59

ความผดิ ท้าย ป.ว.ิ อาญา (ต่อ)

ความผดิ ท้าย ป.ว.ิ อาญา (ต่อ)

5

31/08/59

ความผดิ ท้าย ป.ว.ิ อาญา (ต่อ)

ประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญา

กองบญั ชาการศึกษา

6

31/08/59

เฉพาะมาตราท่เี กยี่ วกบั การปฏิบัตงิ าน

กองบญั ชาการศึกษา

ประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญา

7

31/08/59

ประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญา (ต่อ)

8



การรกั ษาความปลอดภัยขัน้ พืน้ ฐาน

มาตรการในการรกั ษาความปลอดภัยสถานที่
คําจาํ กัดความ
มาตรการทก่ี าํ หนดขึ้นเพอื่ พทิ ักษ รักษาใหความปลอดภยั แก ท่สี งวน อาคาร และสถานท่ีของสว น

ราชการหรือหนวยงาน ตลอดจนวัสดุ อุปกรณ เจาหนาที่และเอกสารในอาคารสถานที่ดังกลาวใหพนจาก
การโจรกรรม การจารกรรม และการกอวินาศกรรม หรือเหตุอ่ืนใด อันอาจทําใหเสียสมรรถภาพในการ
ปฏบิ ัตภิ ารกิจของสวนราชการได
ขอ พิจารณาในการวางมาตรการ รปภ.สถานท่ี

1. ปจจัยตาง ๆ ท่เี กีย่ วของ ที่จะตอ งนํามาพจิ ารณาในมาตราการ รปภ.
- ความสําคญั ของภารกจิ และส่งิ ท่ีจะตอง รปภ.
- สภาพของสถานท่ี พ้ืนท่ีท่จี ะตอง รปภ.
- ลกั ษณะทต่ี ั้งทางภมู ิศาสตร
- สถานการณท างเศรษฐกิจ
- อดุ มการณทางการเมืองของประชาชนในพน้ื ท่ี
- พฤตกิ ารณของฝา ยท่เี ปนศตั รู ขดี ความสามารถ วธิ ที ่ีศัตรูจะนํามาใช
- การสนบั สนนุ จากสว นราชการอน่ื
2. การวางมาตรการตองเหมาะสมกับแตละพ้ืนที่ เพราะปจจัยท่ีเกี่ยวของของพ้ืนที่แตละแหง
ไมเ หมอื นกนั
3. ในการออกแบบกอสรางสถานที่ที่สําคัญ หรือมีส่ิงที่เปนความลับที่จะตองพิทักษรักษา
ควรพจิ ารณาดา นการ รปภ.ตัง้ แตข ้นั การออกแบบ

ภยนั ตรายที่ควรพจิ ารณาเกี่ยวกับสถานท่ี
1. ภยันตรายทเ่ี กดิ จากปรากฎการณทางธรรมชาติ เชน น้าํ ทว ม ลมพายุ ฟาผา แผน ดินไหว
2. ภยันตรายทเี่ กิดจากการกระทําของมนษุ ย
- โดยไมเ จตนา หรือไมไ ดต ั้งใจ สวนมากเกดิ จากการประมาทเลนิ เล่ิอ รูเทา ไมถ ึงการณ ทําใหเกิด

อุบัติเหตุ
- โดยเจตนา หรือตั้งใจ ผูกระทํามักต้ังใจและปกปดการกระทําของตน เพราะมีความผิดทาง

อาญาเปนภัยที่คกุ คามองคก ารและหนว ยงานตาง ๆ

-2-

ขอพิจารณามาตรการในการรกั ษาความปลอดภยั สถานที่
1. เครื่องกีดขวาง
2. ระบบแสงสวาง
3. เจา หนา ที่รักษาความปลอดภยั ,เวร รปภ.ประจําวัน
4. การควบคมุ บุคคลและยานพาหนะ
5. การจัดพืน้ ทีท่ ่ีมีการรักษาความปลอดภยั
6. การปองกนั อัคคีภัย
7. มาตรการเสริมการ รปภ.
8. การตรวจสอบระบบ รปภ. และการรายงาน

1. เครือ่ งกดี ขวาง
เครือ่ งมอื ที่ใชปอ งกัน ขดั ขวาง หรอื หนวงเหนย่ี ว บุคคลหรือยานพาหนะ ท่ีไมมสี ทิ ธเิ ขาไปในพนื้ ที่
รักษาความปลอดภยั
ประเภทของเครื่องกดี ขวาง
- เครือ่ งกีดขวางทางธรรมชาติ
- เคร่อื งกีดขวางทป่ี ระดิษฐขึ้น
- ขอ พิจารณาเก่ยี วกับรว้ั
- ไมควรอยูใกลสง่ิ กอสราง ตนไม ทีอ่ าจปนขามร้ัวเขามาได
- ควรหา งจากตวั อาคารอยางนอย 90 ฟุต
- ควรสงู ประมาณ 8 ฟุต หรอื ไมตา่ํ กวา 6 ฟุต
- ตอนบนของรว้ั ควรมีกระบงั หรือเหลก็ ทยี่ ื่นออกมาทํามมุ กบั รั้วเปนมุม 45 องศา กวา งประมาณ
18-24 นิว้ ฟุต ขงึ ดว ยลวดหนามตามยาวประมาณ 4-6 เสน
2. ระบบแสงสวาง

วตั ถปุ ระสงค เพ่ือ :
- ใหม องเหน็ บริเวณรว้ั
- เขตหวงหามตาง ๆ
- ตัวอาคารสถานที่
ประเภทของการใหแ สงสวา ง
- ใชแ สงสวา งโดยตรง
- ใชแสงสวา งกระจายไปทว่ั
ขอพิจารณาการใหแสงสวา ง
- ตอ งมี จนท.รับผดิ ชอบดูแลรกั ษาและทดลอง
- อยา ใหแ สงสวางพรา ตา จนท.รปภ.

-3-

- มเี คร่อื งกําเนดิ ไฟฟา สาํ รอง
- อยา ใหมีพ้นื ท่ีอบั แสง
- กรณเี ปนรว้ั ทึบ ตอ งใหแ สงสวา งทง้ั ภายใน และภายนอก
- มไี ฟฉายสําหรบั จนท.รปภ.สําหรบั ตรวจตรา
3. เจาหนา ท่รี ักษาความปลอดภัย
ขอพิจารณาเกีย่ วกับ จนท.รปภ.

3.1 จาํ นวน
- จาํ นวนเสนทางเขา -ออก
- ลกั ษณะของงานและทรพั ยสนิ ทพ่ี ึงไดรับการพทิ ักษรกั ษา
- จาํ นวนผมู าติดตอ
- จาํ นวนบรเิ วณเขตหวงหา ม
- จํานวนยานพาหนะทผ่ี านเขา -ออก
- จํานวน จนท.ในสว นราชการนน้ั
- เวลาพักผอน จนท.

3.2 ทต่ี ั้ง สามารถปฏิบตั ิงานไดสะดวก
- มีทเ่ี กบ็ อาวุธ เครื่องมือเครื่องใช เคร่ืองมือสือ่ สาร
- ตองมี จนท.รปภ. ประจาํ อยเู สมออยางนอ ย 1 คน

3.3 การติดตอ สอื่ สาร
- มีเครือ่ งมือส่อื สาร
- วธิ กี ารติดตอสอื่ สาร

3.4 ระบบสัญญาณแจง ภยั
- การมเี ครือ่ งมอื ทางเทคนิคตรวจ

3.5 การฝก อบรม
- การปองกนั การจารกรรม, การกอวินาศกรรม
- บริเวณสถานที่/จุดสาํ คัญ ตูควบคุมระบบไฟฟา เคร่อื งมอื ดบั เพลงิ
- การตดิ ตอส่ือสาร
- วิธีการตอ สปู อ งกันตัว
- เขตหวงหามเดด็ ขาด

3.6 เครือ่ งแบบและอาวธุ

-4-

4. การควบคมุ บุคคลและยานพาหนะ
4.1 การควบคมุ บุคคล :
4.1.1 จัดใหม บี ัตรผา นสําหรบั บุคคลภายใน
- ปลอมแปลงยาก
- เปล่ียนรูปแบบตามระยะเวลาทีส่ มควร
- มรี ายละเอยี ดตา ง ๆ เชน รูปถา ย ช่อื ลายมือช่ือ สว นสงู นํ้าหนกั เปนตน
4.1.2 จดั ใหมปี ายแสดงตนสําหรับทง้ั บุคคลภายในและภายนอก
4.1.3 จดั ใหมีการบันทกึ หลกั ฐานสาํ หรบั บุคคลภายนอก
4.1.4 จัดใหม ที ี่พกั ผมู าติดตอเปนพเิ ศษตา งหาก
4.2 การควบคมุ ยานพาหนะ
4.2.1 มี จนท.ตรวจสอบยานพาหนะประจาํ อยู ณ ชองทางเขา – ออก ของสถานท่ี
4.2.2 ทําบนั ทึกหลกั ฐานยานพาหนะเขา - ออก
- วนั และเวลาท่ผี านเขา
- ช่ือคนขบั และคนโดยสาร
- เลขทะเบยี นยานพาหนะ
- ลักษณะและจํานวนส่ิงของทนี่ ําเขาและออก
- วัตถุประสงคและสถานทที่ ี่จะเขาไป
- วนั และเวลาที่ผา นออก
4.2.3 จัดท่จี อดรถใหหางจากตวั อาคารทีส่ าํ คัญหรอื ส่งิ ของท่ีตดิ เพลิงงาย ไมนอยกวา

6 เมตร
5. การจดั พน้ื ทที่ ่ีมกี ารรักษาความปลอดภัย
พ้ืนที่ที่มีการกําหนดขอบเขตโดยแนชัด ซึ่งมีขอจํากัดและการควบคุมการเขา – ออก

เปนพเิ ศษ ตอ งปฏบิ ตั ดิ งั ตอไปนี้
5.1 กําหนดใหพืน้ ที่ควบคุม
- กําหนดใหมีการควบคุมบุคคลและยานพาหนะ
5.2 กาํ หนดใหม พี ืน้ ทห่ี วงหา ม
- หวงหามเด็ดขาด
- หวงหา มเฉพาะ

6. การปองกนั อคั คีภยั
เจาหนาทร่ี ักษาความปลอดภยั ตองมคี วามรูเ ก่ยี วกบั เรื่อง :
6.1 ประเภทของไฟ
6.2 เครื่องมือเคร่ืองใชใ นการดับเพลงิ

-5-

6.3 การตดิ ตอ สื่อสาร แผนผังอาคาร
6.4 ท่ีต้ังและหมายเลขโทรศพั ทของหนวยดบั เพลิง
6.5 แผนการดบั เพลิง

ประสทิ ธิภาพในการรักษาความปลอดภยั

หนาท่ีของพนักงานรักษาความปลอดภัย
พนักงานรักษาความปลอดภัยมีหนาท่ีอํานวยความปลอดภัย แกบริเวณและสถานที่ รวมถึง
ทรัพยสินของนายจาง และอาจรวมถึงการจัดการจราจร ในพื้นท่ีซึ่งตนรับผิดชอบ โดยการไดรับมอบอํานาจ
จากนายจาง ผูเ ปนเจาของบริเวณและสถานทด่ี ังกลา ว
ดังน้ัน พนักงานรักษาความปลอดภัยจึงมีสิทธิเพียงเทาท่ีนายจางไดมอบอํานาจไว และไมเกิน
กวาทกี่ ฎหมายกําหนดใหผเู ปนเจา ของทรพั ยสินกระทาํ ไดเ พอื่ ปกปอ งสิทธขิ องตนเอง

การปองกนั เหตุ
- มีการออกตรวจบรเิ วณทรี่ บั ผิดชอบ
- สังเกตสภาพแวดลอ มตา งๆ และจําส่ิงที่ผิดสังเกต
- สังเกตบุคคลภายนอก ซง่ึ ผา นเขา - ออก
- มีการจดรายละเอยี ดของยานพาหนะท่ีผา นเขา – ออก

การออกตรวจพนื้ ที่
เปนการปองกันเหตุท่ีสําคัญ เนื่องจากเปนการลดชองวางในการกอเหตุของคนราย ซึ่งหาก
พนักงานรกั ษาความปลอดภัยมีการออกตรวจอยางสม่ําเสมอ ทําใหคนรายที่คิดจะกอเหตุ รูสกึ วาบรเิ วณท่ีจะ
เขามากอเหตุ มีพนักงานรักษาความปลอดภัยอยู โอกาสที่จะหนีรอดนอย คนรายอาจลมเลิกความคิดในการ
กระทาํ ผดิ

บรเิ วณทีค่ วรใหความสาํ คัญในการออกตรวจ
- บรเิ วณลานจอดรถ หรอื อาคารจอดรถ
- บริเวณตเู อทเี อ็ม
- บรเิ วณจดุ อับ หรือ ชองทางท่ีคนรา ยอาจเขา ลกั ทรัพยในอาคาร
- ตึก หรือ อาคารที่เก็บเอกสารหรอื ทรัพยสินมีคา

การสังเกตจดจาํ ตาํ หนริ ปู พรรณ
กอนที่คนรายจะลงมือกอเหตุ คนรายมักมีการสํารวจเสนทาง หรือเขามาดูสถานที่กอน ดังน้ัน
หากพนักงานรักษาความปลอดภัยสังเกต หรือพบวาบุคคลผูมีลักษณะและพฤติกรรมตองสงสัย ควรเขาไป
สอบถามจดช่ือ และทะเบียนรถไว เพื่อเปน การปอ งกนั เหตุ

การสังเกตจดจําตําหนิรูปพรรณของคนราย และยานพาหนะที่ถูกตองเปนการชวยเหลือตํารวจ
ในการสกัดจับ และติดตามคนราย

-6-

บุคคลที่มีพฤติกรรมนาสงสัย

- ในการกอเหตุเกี่ยวกับทรัพย ผูกอเหตุมักเปนวัยรุนชาย ลักษณะทาทางลุกล้ีลุกลน สวนมาก
มักจะมีผูรวมกระทําผิด กลาวคือ คนรายมักจะนั่งซอนทายรถจักรยานยนตมากัน 2 คน และ สวมใสหมวก
กันน็อคปด หนา มิดชิด

- สังเกตส่ิงท่ีผูเขามา หรือออกนอกบริเวณที่รับผิดชอบนําติดตัวมาดวย เชน อุปกรณเครื่องมือ
ชา งในการงดั แงะตา ง ๆ หรือ ส่ิงทน่ี ําติดตวั ออกไป

วิธีการสงั เกตจดจําลกั ษณะบุคคล

1. หลักการสังเกตจดจาํ ตาํ หนริ ปู พรรณ มีดงั น้ี
1.1 สงั เกตจดจําสงิ่ ทเ่ี หน็ งา ยไปสสู ิ่งท่เี ห็นยาก
1.2 สังเกตจดจาํ ลักษณะเดน ตําหนิ ไปสูลักษณะธรรมดา

1.3 พยายามอยาจดจําทกุ สง่ิ ทุกอยาง แตใ หจ ดจําบางอยา งที่จาํ ไดอยางแมน ยาํ
1.4 หากพบเหตุกับตนเอง อยาถามผูอ่ืนท่ีอยูในเหตุการณวาเห็นอะไร ใหรีบบันทึกส่ิงท่ี
ตนเองเห็นและจดจาํ ไดในกระดาษ และมอบขอ มูลนน้ั เจาหนาท่ตี าํ รวจตอไป

2. ส่งิ ท่ีสามารถจดจําไดง าย และควรจดจาํ กอน
2.1 เพศ - เปนชาย หญงิ หรอื กระเทย
2.2 วยั เดก็ - วัยรุน ผใู หญ แก ฯลฯ อายุประมาณเทาใด
2.3 รูปรา ง - สูง เตีย้ อว น ผอม สันทัด ฯลฯ

2.4 ผวิ เนือ้ - ขาว ขาวเหลือง ดํา แดง ซดี เหยี่ วยน ฯลฯ
2.5 เช้ือชาติดูจากใบหนา - วา เปนไทย จนี ลกู ครึ่ง แขก ฯลฯ
2.6 รปู หนา - รูปไข กลม ยาว เหลีย่ ม ฯลฯ
2.7 ผม - สั้น หงอก หนา หยิก ตดั ทรงแบบใด สอี ะไร ฯลฯ
2.8 ปาก - กวาง แคบ รมิ ฝป ากหนา บาง ฯลฯ
2.9 หู - กาง ใหญ เลก็ ต่ิงหูแหลม ฯลฯ
2.10 ตา - เล็ก โต พอง โปน ตาช้ันเดียว สองชน้ั ตาเข สวมแวน ตาแบบใด ฯลฯ

รางกาย 3. ส่ิงท่เี ปนจุดเดนผิดปกติ ตําหนิที่อาจจดจําไดง าย
3.1 ตําหนิ แผลเปนบนใบหนา ไฝ ปาน หูด เน้ือต่ิง มีลักษณะอยางไร อยูสวนใดของ

3.2 แผลเปน มีลกั ษณะอยางไร ขนาดเทา ใด อยสู ว นใดของรางกาย
3.3 ลายสัก สกั รปู อะไร สีอะไร อยูท่ีสว นใดของรา งกาย
3.4 ความพิการ ตาบอด หูหนวก ใบ แขนขาดว น ลีบ ปากเบย้ี ว ฯลฯ
3.5 ทาทางการเดนิ เดินตัวตรง ตวั เอียง ขากระเผลก ฯลฯ

-7-

3.6 สาํ เนยี งการพดู พูดชา พูดเร็ว ติดอาง สาํ เนยี งคนไทย จีน ฝรง่ั หรือสําเนียงภาคใด
3.7 การกระทําบอยๆ เชน สูบบหุ รีจ่ ดั เค้ยี วหมากฝรง่ั ชอบลวงกระเปา
3.8 การแตงกาย จดจําเส้อื กางเกง เชน เสือ้ แขนสน้ั -ยาว,กางเกงขาสัน้ -ยาว ฯลฯ แบบของ
เส้ือ-กางเกง เชน ยนี เสอื้ ยืด เส้ือเชต๊ิ เคร่อื งแบบนกั ศึกษา สอี ะไร ลายแบบไหน มีตวั เลขอะไรหรอื ไม
3.9 เครื่องประดับ มีเคร่ืองประดับอะไรบางท่ีเห็นไดชัด เชน แวนตา นาฬิกา แหวน สรอย
กระเปา ถอื ฯลฯ เทา ทจี่ ะทราบ

4. กรณที ค่ี นรา ยมีการพลางใบหนา
เชน สวมแวนตากันแดด สวมหมวกกันน็อค สวมหมวก หนากาก คลุมศีรษะดวยถุง ใหทาน

สังเกตสวนอ่ืนๆของรางกายที่มไิ ดพ รางและสามารถจดจาํ ไดงาย

การสังเกตจดจาํ พาหนะของคนราย หรอื ผูตองสงสยั

1. หลักการสังเกตจดจาํ ยานพาหนะ มีดงั น้ี
1.1 สงั เกตจดจําสง่ิ ทีใ่ หญ เห็นงายไปสูสิง่ ท่เี หน็ ยาก
1.2 สังเกตจดจําตาํ หนิ รอยชน สติ๊กเกอร จุดเดน ตา งๆ
1.3 อยาจดจําทกุ ส่งิ ทุกอยา ง แตใหจ ดจําบางสิง่ ท่ีทานจําไดอ ยางแมน ยํา
1.4 หากพบเหตุซ่ึงหนา เม่ือคนรายหลบหนีไปแลว อยาถามผูอ่ืนวาเปนอยางไร ใหรีบ

บันทกึ ลักษณะเอาไว และมอบใหต ํารวจ
2. สิง่ ที่สามารถจดจําไดงา ยและควรจดจํากอน
2.1 ประเภทของรถ เชน จักรยานยนต,รถยนตเ กง,กระบะ ฯลฯ
2.2 สีของรถ เปน รถสใี ด ลายใด
2.3 ความเกาใหม เปนรถคอนขางเกา หรือใหม
2.4 ยีห่ อ เปน รถย่หี อ อะไร รุนใด ป พ.ศ.ใด (เทาที่ทราบ)
2.5 หมายเลขทะเบียน ดูไดจากแผนปา ยทะเบยี น ใหจ ดจําท้งั หมวดตัวอักษร และหมายเลข

โดยถาเปนรถตางจงั หวัด ใหจดจําชื่อจงั หวัดดวย และหากเปนรถยนตแผนปายทะเบียนของรถประเภทตางๆ
จะแตกตางกัน เชน หากเปน รถเกงสวนบุคคล แผนปายทะเบียนจะมสี ีพ้ืนเปนสีขาว ตัวหนังสือเปนสีดํา หรือ
หากเปนรถของราชการ หากเปน รถแทก็ ซี่ปา ยทะเบยี นจะเปนสเี หลือง

อนึ่งในการสงั เกตแผนปายทะเบียน ควรสังเกตดวยวาแผนปายทะเบยี นน้ัน มกี ารติดต้ังไวอยาง
แนนหนา หรือ เปนลักษณะติดเพ่ืออําพราง และใหสังเกตวามีการอําพรางเลขทะเบียนหรือไม เชน นํา
สต๊ิกเกอรมาปดทับตวั หนังสือไว หรือการลบเลอื นของตัวหนงั สอื ซึ่งปจจบุ ันจากสถิติการจับกุมคนราย พบวา
คนรา ยทีก่ อ เหตุ มักไมติดแผนปายทะเบยี น หรอื ตดิ แผนปา ยทะเบียนปลอม

3. สิง่ ที่เปน ตําหนิ รอยชน จุดเดนทเี่ ห็นไดช ัด
3.1 ตาํ หนิ เชน กระจกแตก สลี อก มรี อยเจาะที่ตวั ถังของรถ ฯลฯ
3.2 รอยชน รอยยบุ รถมรี องรอยการถูกเฉ่ียวชนบริเวณใด มากนอยอยา งไร

-8-

3.3 จดุ เดน เชน เปนรถที่แตง เพ่อื ใชแขง มีเสาอากาศวทิ ยุ หรือติดอุปกรณพิเศษตา งๆ
3.4 ติดสติ๊กเกอรบ รเิ วณใด เปนรปู หรือเครื่องหมาย หรือขอความอยา งไร ติดฟลมกรองแสง
ทึบมาก-นอย อยา งไร
3.5 รายละเอยี ดอื่นๆ เทาท่สี ามารถจดสามารถจดจาํ ได เชน เสยี งทอไอเสีย เสยี งแตร ฯลฯ

การสงั เกตยานพาหนะรถยนต และรถจักรยานยนต

รถจกั รยานยนต
- จดจาํ เลขทะเบียน รถประเภทผชู าย ผหู ญิง สีรถ ยี่หอ รุน สตกิ เกอรทต่ี กแตง ฯลฯ

รถยนต
- จดจําหมายเลขทะเบียน ประเภทรถเกง กระบะ สีรถ ยหี่ อ รุน สตกิ เกอรตางๆ ลักษณะพเิ ศษ
เชน โหลดเตีย๊ ไฟทา ย ไฟหนา ฯลฯ

สรปุ หลักการสังเกตจดจาํ ตาํ หนิรูปพรรณของบุคคล และยานพาหนะ

ทั้งหมดที่ไดกลาวไปนั้นเปนเพียงแนวทางในการที่ทานจะใชในการสังเกตจดจําตําหนิรูปพรรณ
ของบุคคล ลกั ษณะของยานพาหนะท่ีตองสงสยั การท่ีทา นจะจดจําไดดนี ้ันขนึ้ อยูกับวาทานมีความสนใจ และ
มกี ารฝกฝนในการจดจําตามแนวทางนีม้ ากนอ ยเพียงใด วิธีการฝกจดจํานน้ั ไมใ ชข องยาก ทา นอาจฝกฝนจดจํา
บุคคลที่เดินผานไปมาหรือยานพาหนะท่ีผานไปมาแลวลองบันทึกสิ่งท่ีทานจดจําได แลวนําไปตรวจสอบกับ
บุคคล ยาพาหนะจริง อยา งไรกต็ ามขอ สําคัญของการสังเกตจดจําจะเปน ประโยชนตอ การสอบสวนของตาํ รวจ
ก็คือ ขอมูลที่แมนยํา ใกลเคียงกับความเปนจริงมากท่ีสุด ดังน้ันหากทานไมแนใจในขอมูลใดๆ ก็ไมควรใชวิธี
เดาหรือคิดเอาเอง เพราะถาใหขอมูลเหลานี้กับตํารวจแลวอาจทําใหเกิดการไขวเขว สับสนแกการปฏิบัติงาน
ของตาํ รวจอยางแนนอน

.............................................................



การเขียนรายงานสาํ หรบั พนักงานรักษาความปลอดภัย
การเขียนรายงาน มี ๒ ประเภท
ประเภทท่ี ๑ การเขียนรายงานประจําวนั ท่วั ไป
ประเภทท่ี ๒ การเขียนรายงานเหตุการณ
วตั ถปุ ระสงคของการเขยี นรายงาน
๑.เพ่อื ใหท ราบเหตุการณแ ละเรือ่ งราวท่เี กิดข้ึนเกยี่ วกับการปฏบิ ตั ิงาน
๒.เพอ่ื เปน หลักฐานในการสืบสวนสอบสวนของเจา พนักงานตํารวจ
-บางครั้งในการบันทึกเหตุการณประจําวันของพนักงานรักษาความปลอดภัย ขอมูลท่ีบันทึกอาจเปน
ประโยชนต อเจา พนกั งานตาํ รวจในการสืบสวนสอบสวนหาตัวผกู ระทําผิดได

ประเภทที่ ๑ การเขียนรายงานประจําวนั ทวั่ ไป
เปนการเขียนรายงานบันทึกเหตุการณที่เกิดขึ้นในแตละวันซ่ึงเก่ียวของกับงานในหนาที่รักษาความ

ปลอดภยั ตวั อยางเชน การเขาเวร การรับหนาท่เี วร เหตุการณท ่ีเกดิ ขึ้นในขณะปฏบิ ตั ิหนา ที่เวร เปน ตน
หลักการเขียนรายงานประจําวนั
๑.สมดุ ทใ่ี ชใ นการเขียน เปน สมุดทัว่ ไป ขนาดไมตํ่ากวา A ๔
๒.การเขียนรายงานใหใ ชปากกาหมกึ สีนํ้าเงนิ หรือดํา เทา นั้น
๓.หนา ปกรายงาน ใหร ะบวุ า เปนพนักงานรักษาความปลอดภยั ของบรษิ ัทใด ประจาํ จุดใด
๔.การเขียนรายงานประจําในแตละวันใหเร่ิมบันทึกเวลา ๐๐.๐๑ น.สิ้นสุดเม่ือเวลา ๒๔.๐๐ น. โดยให

เรียงลําดับเปนขอ ๆ ไป เวลา ๐๐.๐๑ เริ่มขอท่ี ๑. แลวเรียงลําดับเปนขอ ๆ จนถึงขอสุดทายเวลา ๒๔.๐๐ น.
เมอื่ เขียนเสร็จส้นิ แตล ะขอ ใหล งลายมือชือ่ กาํ กับไว

โดยเฉพาะขอท่ี ๑ ใหเขียนวา ขาฯ นาย..............................................ปฎิบัติหนา ทเ่ี วรประจาํ จดุ ................
ไดเปด ประจาํ วนั แตเ วลาน้ี

ในขอ สุดทา ย ใหเขยี นวา ขา ฯ นาย..............................................ปฏิบัตหิ นา ทีเ่ วรประจาํ จดุ ......................
ไดเ ขียนรายงานเบด็ เสร็จ จาํ นวน ............ขอ สรุปดังนี้

มเี หตกุ ารณเ กดิ ขน้ึ ...................ราย
จงึ ปด ประจําวนั แตเวลาน้ี
วิธใี นการเขียนรายงาน ใหเขยี นใหไดใจความวา ใคร อะไร เม่ือไร ที่ไหน ทาํ ไม อยางไร
เมือ่ เรมิ่ วนั ใหมใหข ึ้นขอ ๑ ใหม
๕.การบันทึกรายงานประจําวันถามีผิดที่ใดหามมิใหลบออก ใหเพียงแตขีดฆาคําผิด น้ัน โดยยังคงใหอาน
ขอความเดิมได แลวบันทึกใหมใหถูกตอง แลวใหผูเขียนลงนามยอรับรองกํากับไวที่ขางกระดาษ ตรงกับบรรทัด
ท่ีแกไข

-2-

๖.กรณีรายงานประจําวันแผนใดชํารุดเสียหายหรือใชการไมได หามฉีกท้ิง แตใหใชขีดฆาดวยปากกา
หมกึ สีแดงทแยงมมุ แลวบันทึกคาํ วา “ไมใช” บนเสนทแยงมุมบรเิ วณกลางหนา กระดาษของหนารายงานประจาํ วัน
แผนนน้ั และใหผ บู นั ทกึ ลงลายมือชื่อรบั รองกาํ กับไวท ่ีหนา กระดาษ

๗.แบบฟอรมของรายงาน

ลาํ ดบั วนั เดอื นป เวลา รายการ

-3-

๘. ตัวอยา งการเขียนรายงาน

ลําดบั วนั เดือนป เวลา รายการ
๒๒ เม.ย.๒๕๕๙ ขาฯ นาย........................................ปฏิบัติหนา ทเี่ วรรกั ษาความ
ปลอดภัย ประจํา ....................................... ไดเ ปด ประจาํ วันแตเวลานี้
๑ เวลา ๐๐.๐๑ น.
๒. เวลา ๐๒.๐๐ น. (ลงช่ือ)....................................ผูเขยี น
๓. เวลา ๐๔,๐๐ น. (..................................)

ขา ฯ ไดปฏบิ ตั เิ วรรกั ษาความปลอดภัย ไดตรวจตราในบริเวณเขต
รบั ผิดชอบ ระหวา งปฏิบัตหิ นาที่ เหตุการณทั่วไปปกติ

(ลงช่ือ).....................................ผเู ขียน
(..................................)

ขาฯ ไดป ฏบิ ัติเวรรักษาความปลอดภัย ไดตรวจตราในบรเิ วณเขต
รับผิดชอบ ระหวางปฏบิ ตั หิ นา ท่ี เหตกุ ารณทวั่ ไปปกติ

(ลงชื่อ).....................................ผูเขยี น
(..................................)

๔. เวลา ๐๖.๐๐ น. ขาฯ ไดปฏิบตั เิ วรรกั ษาความปลอดภัย ไดตรวจตราในบริเวณเขต
รับผดิ ชอบ ระหวา งปฏิบัติหนาท่ี เหตกุ ารณทัว่ ไปปกติ
(ลงชื่อ).....................................ผูเ ขียน
(..................................)
๕. เวลา ๐๙.๐๐ น. ขา ฯ นาย................................ไดออกเวรปฏิบตั หิ นาท่ี โดยมี
นาย................................มารบั ปฏิบัติหนา ทเี่ วรแทน แตเวลานี้
(ลงช่ือ).................................เวรออก/เขียน
(...............................)
(ลงชือ่ )................................เวรรับ
(..............................)

-4-

ลาํ ดบั วันเดอื นป เวลา รายการ
๒๒ เม.ย.๒๕๕๙ ขาฯ ไดป ฏบิ ตั เิ วรรกั ษาความปลอดภยั ไดต รวจตราในบริเวณเขต
รบั ผิดชอบ ระหวา งปฏิบตั ิหนา ที่ เหตกุ ารณท่ัวไปปกติ
๖ เวลา ๑๐.๐๐ น.
๗. เวลา ๑๒.๐๐ น. (ลงช่ือ).....................................ผูเ ขียน
๘. เวลา ๑๔.๐๐ น. (..................................)

๙. เวลา ๑๔.๓๐ น. ขา ฯ ไดปฏบิ ตั เิ วรรักษาความปลอดภัย ไดตรวจตราในบริเวณเขต
รับผิดชอบ ระหวางปฏิบัตหิ นา ที่ เหตกุ ารณทั่วไปปกติ
๑๐ เวลา ๑๖.๐๐ น.
(ลงชื่อ).....................................ผูเขยี น
(..................................)

ขาฯ ไดปฏบิ ตั หิ นา ทีเ่ วร ในขณะปฎิบตั ิหนาท่ี ไดมเี หตุพบวัตถุ
ตอ งสงสยั เปน กระเปาเปสีดํา วางอยูท ีใ่ ตมาน่ังสําหรับผูโ ดยสาร บริเวณสถานี
รถไฟสามเสน ในเบือ้ งตนประกาศหาเจา ของ ไมม ีผูใดรับเปนเจาของ จงึ ได
ปด กั้นพื้นทบี่ ริเวณโดยรอบ แลว แจงใหเ จาหนา ท่ตี ํารวจเขา มาดําเนนิ การ
จงึ บนั ทกึ ไว

(ลงชอื่ )..................................ผูเขียน
(...............................)

เจาหนาทต่ี าํ รวจ สน...............ไดเ ขามาตรวจสอบในทีเ่ กิดเหตุ แลว
พรอ มดวย เจา หนา ท่ี EOD ของสาํ นกั งานตํารวจแหงชาติ มาตรวจสอบวตั ถุ
ตองสงสยั ผลปรากฎวา เปน กระเปา เปบ รรจเุ สอ้ื ผา ซ่ึงสันนิษฐานวา
ผโู ดยสารคงจะลืมวางไว แลว ไดม อบใหทางนายสถานีรถไฟ เพ่ือสงคนื เจาของ
ตอไป

(ลงชอ่ื )......................................ผเู ขียน
(..................................)

ขาฯ ไดปฏบิ ตั เิ วรรักษาความปลอดภัย ไดต รวจตราในบรเิ วณเขต
รับผดิ ชอบ ระหวางปฏบิ ตั ิหนาท่ี เหตกุ ารณทวั่ ไปปกติ

(ลงช่ือ)......................................ผเู ขยี น
(..................................)

-5-

ลาํ ดับ วนั เดือนป เวลา รายการ
๒๒ เม.ย.๒๕๕๙ ขา ฯ ไดป ฏบิ ตั เิ วรรกั ษาความปลอดภัย ไดต รวจตราในบริเวณเขต
รับผดิ ชอบ ระหวา งปฏิบัติหนา ท่ี เหตุการณท่วั ไปปกติ
๑๑ เวลา ๑๘.๐๐ น.
๑๒. เวลา ๒๐.๐๐ น. (ลงช่ือ)......................................ผเู ขยี น
๑๓. เวลา ๒๑.๐๐ น. (..................................)

๑๔. เวลา ๒๒.๓๐ น. ขา ฯ ไดป ฏิบัติเวรรกั ษาความปลอดภยั ไดตรวจตราในบรเิ วณเขต
๑๕. เวลา ๒๔.๐๐ น. รับผิดชอบ ระหวา งปฏบิ ตั ิหนาที่ เหตุการณท่วั ไปปกติ

(ลงชื่อ)......................................ผเู ขยี น
(..................................)

ขาฯ ไดป ฏบิ ตั ิหนา ทเี่ วร ในขณะปฎิบตั ิหนา ที่ ไดมีเหตุชายคนหนงึ่
ลกั ษณะทาทางมีอาการเหมือนคนวิกลจริต เขามาในพื้นทส่ี ถานีรถไฟ แตง
กายสวมเสอื้ ยดื สขี าว กางเกงขาสนั้ สีนํ้าเงิน ไมสวมรองเทา อายปุ ระมาณ ๔๐
ป พดู จาวกไปวนมา จบั ตน ชนปลายไมไ ด เกรงวา จะไปรบกวนผอู ืน่ และ
อาจจะถูกรถไฟเฉ่ียวชนได จึงไดนําตวั ไวในสถานี แลวแจงใหเจา หนาทต่ี าํ รวจ
มาเพื่อรบั ตวั ไปดาํ เนนิ การตอไป

(ลงช่ือ)...................................ผเู ขยี น
(...............................)

เจา หนา ทีต่ าํ รวจ สน...............ไดเขามารบั ตวั ชายคนดังกลาวในท่ี
เกดิ เหตุ เพื่อไปดาํ เนินการในสวนท่เี กยี่ วขอ งตอไป

(ลงชอื่ ).....................................ผูเขียน
(..................................)

ขาฯ ..........................................ปฏิบตั ิหนา ทีเ่ วรประจาํ จดุ .................
ไดเ ขียนรายงานเบด็ เสรจ็ จํานวน ....๑๕...ขอ สรปุ ดังน้ี

มเี หตุการณเ กดิ ขนึ้ .....๒......ราย
จงึ ปดประจําวันแตเวลานี้

(ลงชื่อ).....................................ผเู ขยี น
(..................................)

-6-

ประเภทที่ ๒ การเขยี นรายงานเหตกุ ารณ
เปนการเขยี นรายงานเก่ยี วกับเหตุการณท่ีเกดิ ขึ้นเปนการเฉพาะเร่ือง เปน เหตุการณท่สี าํ คญั เกิดขึน้ ใน

ระหวางปฏบิ ตั หิ นา ท่ีของพนกั งานรกั ษาความปลอดภัย นอกจากทบ่ี ันทกึ ในรายงานประจําวนั แลว ตอ งทําเปน
รายงานแยกตา งหากจากรายงานประจําวัน เพื่อรายงานใหทางบริษทั รักษาความปลอดภัยทราบ และเก็บไวเ ปน
หลกั ฐาน

ลักษณะของการเขยี นรายงานท่ีดี
๑.ขอ ความสมบูรณโดยสงั เขป การรายงานน้นั ตองมใี จความและเน้ือหาสาระสาํ คญั รายละเอยี ดสมควร
เหตกุ ารณ หรอื ส่งิ ทีต่ อ งรายงานทกุ ขนั้ ตอนจะตอ งครบถวนตามทีเ่ กิดข้นึ ตัง้ แตต นจนจบ ซ่งึ ผูอานสามารถเขาใจ
เหตุการณหรือเร่ืองราวท่ีเกิดขึน้ ไดและเนือ้ ความของการรายงานจะตองประกอบดว ย

๑.๑ ใคร หมายถงึ ผทู ่เี กย่ี วของในเหตกุ ารณหรอื เร่ืองราวที่เกิดข้นึ ตองระบใุ หช ดั เจนในรายงาน เชน
คนทมี่ ากอ เหตลุ ักทรัพยในเขตรับผิดชอบน้ัน เปน ใคร ชอื่ อะไร ลักษณะการแตงกายเปนอยา งไร

๑.๒ อะไร หมายถึง เกดิ การเสียหายอะไรขึน้ เหตุเกิดจากอะไร มสี ่งิ ใดเสยี หายบาง เชน กรณีคนราย
เขามางัดประตูของสํานักงาน ตอ งตรวจดวู า ประตเู สยี หายเพยี งใด และมีทรัพยส ินสูญหายไปบา ง

๑.๓ เมอื่ ไร หมายถึง เวลาท่ีเกิดเหตุการณน ้นั ๆ วา เกิดขึ้นเมื่อวันเวลาใด
๑.๔ ท่ีไหน หมายถงึ สถานทเี่ กิดเหตุการณนั้น ๆ
๑.๕ ทําไม หมายถึง สาเหตุที่เกิดเหตุการณน ้นั ข้ึนเอง จะตองบอกถึงเหตกุ ารณห รือสาเหตุแหงการ
กระทาํ ผิดของคนรา ย หรือผูที่เกี่ยวขอ ง
๑.๖ อยางไร หมายถึง พฤติการณท เี่ กดิ เหตุข้ึน วามีพฤตกิ ารณอ ยา งไร เชน คนรายทําทมี าเดินเลือก
ซื้อสินคา ภายในรานแลว ฉวยโอกาสที่พนักงานในรา นเผลอแลว ลกั เอาทรพั ยไป เปนตน
๒.ขอ ความกะทัดรดั ขอ ความทเ่ี ขยี นในรายงานจะตองกะทดั รัดไมย าวหรอื สน้ั จนเกนิ ไป อา นแลวงายตอ
การทาํ ความเขา ใจ

-7-

แบบฟอรม ของรายงาน
สถานทีบ่ นั ทึก..................................

วนั ..........เดอื น...........................พ.ศ.๒๕๕๙
เรอื่ ง ................................
เรียน ผจู ัดการ บริษทั รักษาความปลอดภัย....................

เน้ือเรอื่ ง (กอ นเกิดเหตุ ) เริ่มตน โดย “ดวย ขาฯ นาย ...................................ปฏิบัติหนาท่ี
พนักงานรักษาความปลอดภัยประจํา..................................... ตั้งแตเวลา................น.ของวันท่ี.......เดือน
.........................พ.ศ............ถึงเวลา................น.ของวันที่..........เดือน ....................พ.ศ.............. ขอรายงาน
เหตุการณด งั น้ี

ขณะเกิดเหตุ ( เมอ่ื เวลา................วันที.่ .......เดือน.......................พ.ศ..............ไดเกดิ เหตอุ ะไร
ทําอะไรบาง โดยเขยี นใหไ ดใจความวา ใคร อะไร เม่ือไร ทไ่ี หน ทําไม อยางไร )

หลังเกิดเหตุ ( ดาํ เนนิ การอยางไร แจง ใหใครทราบบาง แลวผรู บั แจงดาํ เนนิ การอยา งไร )
(ลงชอื่ )..............................................
(......................................)
พนกั งานรกั ษาความปลอดภยั ประจํา...............

-8-

ตวั อยางการเขียนรายงานเหตุการณ
หางสรรพสินคา ..............

๒๒ เมษายน ๒๕๕๙
เร่ือง การจบั กมุ คนรา ยลักทรพั ยของหางสรรพสินคา
เรยี น ผูจดั การ บรษิ ัทรกั ษาความปลอดภัย..............................

(กอนเกิดเหตุ) ดวยขาฯ นาย........................................ ปฏิบัติหนา ท่ีพนกั งานรักษาความปลอดภัย
ประจาํ หา งสรรพสินคา ตงั้ แตเวลา ๑๒.๐๐ น.ของวันที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๙ ถึงเวลา ๐๘.๐๐ น.ของวันท่ี ๒๒
เมษายน ๒๕๕๙ ในระหวางปฏิบัตหิ นา ทขี่ อรายงานเหตุดังนี้

(ขณะเกิดเหตุ) เม่ือเวลาประมาณ ๒๑.๐๐ น.ของวันที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๙ ขณะที่ปฎิบัติหนาที่อยู
หนาหางสรรพสินคา ประจําอยูที่ชั้นลาง ซึ่งเปนที่สําหรับขายสินคาประเภทอาหาร ของใช และเครื่องด่ืม
ไดสังเกตเห็นชายคนหนึ่งแตงกายสวมเสื้อยืดสีขาว สวมแจ็กเก็ตสีดํา กางเกงยีนสสีนํ้าเงิน รองเทาแตะ เดินเขามา
เลือกซื้อสินคาในราน สังเกตมีอาการผิดปกติ ทาทางรุกล้ีรุกลน จึงเฝาสังเกตุพฤติกรรม เห็นวา ชายคนดังกลาว
นําเอาสินคาประเภท น้ําหอม ๒ ขวด ซุกซอนไวในเสื้อแจ็กเก็ต แลวเดินออกไป ขาฯ จึงไดเขาจับกุมชายคน
ดังกลาว กอนท่ีจะเดินออกนอกรานคาไป โดยท่ีไมไดจายเงินคาสินคา โดยจับกุมไดพรอมกับ นํ้าหอม ย่ีอหอ
................ จาํ นวน ๒ กลอง แลวควบคมุ ไว จากนัน้ จงึ ไดแจง ใหเจา หนาท่ตี ํารวจเขามารบั ตัวชายคนดังกลา วไป

(หลังเกิดเหตุ) เจาหนาที่ตํารวจสายตรวจ สน........................ ไดเขามายังบริเวณรานคาท่ีเกิดเหตุ
สอบถามชายคนดังกลาวเบ้ืองตน ไดทราบวา ชายคนดังกลาวช่ือ นาย..........................................อายุ......ป ท่ีอยู
................................... แลว รับตวั ชายคนดงั กลาว พรอ มดว ยน้าํ หอม ดังกลาว เพื่อไปดาํ เนนิ การตามกฎหมายตอ ไป

(ลงชอ่ื )..............................................
(.........................................)

พนกั งานรักษาความปลอดภยั ........................

-9-

หมายเหตุ
วธิ กี ารบรรยาย
๑.บรรยาย ๑ ชวั่ โมง ปฏบิ ัติ ๑ ชว่ั โมง
๒.การบรรยายใหท ราบถงึ วิธีการเขยี นรายงาน หลักการเขียนรายงาน
๓.การฝกปฏิบตั ิ
-แจกจา ยแบบฟอรม รายงานประจําวัน
-ใหทุกคนเขียนรายงาน เริ่มต้ังแตเ วลา ๐๐.๐๑ น.จนถงึ เสรจ็ ส้ินเวลา ๒๔.๐๐ น.โดยใหผสู อนเปน

ผูควบคุม



การเตรียมความพรอ มกรณีเหตุฉกุ เฉนิ

นิยาม
วิกฤตการณ หมายถึง เหตุการณซ่ึงมีความยากลําบาก ที่มีการเส่ียงภัยและอันตรายเปนภัยคุกคาม
อันมีผลกระทบตอสังคมโดยรวมและมีผลตอการทํางานของเจาหนาที่รัฐในการใหความคุมครอง ความสงบสุข
ของประชาชน (สํานักงานชวยเหลือการตอตานการกอการราย กระทรวงการตางประเทศสหรัฐอเมริกา, 2544 :
28) จากนิยามดังกลาว จะเห็นไดวา วิกฤตการณนั้นเปนภัยคุกคามที่มีแนวโนมอันจะกอใหเกิดภยันตราย
รายแรงตอเน่อื งและยากตอการควบคุม มีความเส่ียงภัยในการปฏิบัติงาน เปน ภยันตรายท่มี ีแนวโนมในอนั ท่ีจะ
ลว งละเมิดกฎหมายอยางรา ยแรง กระทบตอความม่ันคงและความสงบสขุ ของประชาชน และยังรวมถงึ ภัยพบิ ัติ
ขนาดใหญที่มีความรุนแรงอันทําใหการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีเปนไปดวยความยากลําบาก จะตองมีการ
ประสานงานกบั หนว ยงานหลายฝา ย
นอกจากความหมายทีก่ ลา วมาแลว ขา งตน ในกฎหมายของประเทศไทยยังไดกําหนดนยิ ามความหมาย
ของคําท่ีกลา วถงึ ภัยตางๆ ที่สงผลกระทบตอสาธารณชนไว ดงั น้ี
- พระราชกาํ หนดการบริหารราชการในสถานการณฉ ุกเฉนิ พ.ศ. 2548

“สถานการณฉุกเฉิน” หมายความวา สถานการณอันกระทบหรืออาจกระทบตอความสงบเรียบรอย
ของประชาชนหรือเปนภัยตอความม่ันคงของรัฐหรืออาจทําใหประเทศหรือสวนใดสวนหน่ึงของประเทศตกอยู
ในภาวะคับขันหรือมีการกระทําความผิดเก่ียวกับการกอการรายตามประมวลกฎหมายอาญา การรบหรือการ
สงคราม ซึ่งจําเปนตองมีมาตรการเรงดวนเพื่อรักษาไวซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริยทรงเปนประมุขตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย เอกราชและบูรณภาพแหงอาณาเขต
ผลประโยชนของชาติ การปฏิบัติตามกฎหมาย ความปลอดภัยของประชาชน การดํารงชีวิตโดยปกติสุขของ
ประชาชน การคุมครองสิทธิเสรีภาพ ความสงบเรียบรอยหรือประโยชนสวนรวมหรือการปองปดหรือแกไข
เยียวยาความเสยี หายจากภัยพิบัติสาธารณะอนั มมี าอยางฉกุ เฉนิ และรายแรง

- พระราชบญั ญตั ิปองกนั และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550
มาตรา 4 ซงึ่ นยิ ามของคาํ ท่เี กี่ยวของกบั ภัยตางๆ ดงั นี้
“สาธารณภัย” หมายความวา อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแลง โรคระบาดในมนุษย โรคระบาด

ในสัตว โรคระบาดสัตวน้ํา การระบาดของศัตรูพืช ตลอดจนภัยอื่นๆ อันมีผลกระทบตอสาธารณชน ไมวาเกิด
จากธรรมชาติ มีผูทําใหเกิดข้ึน อุบัติเหตุ หรือเหตุอ่ืนใด ซึ่งกอใหเกิดอันตรายแกชีวิต รางกายของประชาชน
หรือความเสียหายตอทรัพยสินของประชาชนหรือของรัฐ และใหหมายความรวมถึงภัยทางอากาศ และการกอ
วนิ าศกรรมดวย

“ภัยทางอากาศ” หมายความวา ภัยอนั เกดิ จากการโจมตที างอากาศ
“การกอวินาศกรรม” หมายความวา การกระทําใดๆ อันเปนการมุงทําลายทรัพยสินของประชาชน
หรือของรัฐ หรือสิ่งอันเปนสาธารณูปโภค หรือการรบกวน ขัดขวางหนวงเหนี่ยวระบบการปฏิบัติงานใดๆ
ตลอดจนการประทุษรายตอบคุ คลอันเปนการกอใหเ กิดความปน ปว นทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
โดยมงุ หมายทจี่ ะกอใหเกิดความเสยี หายตอความมั่นคงของรัฐ

-2-

สรุป
วิกฤตการณ หรือ เหตุการณวิกฤต คือ เหตุการณที่เกิดข้ึน แลวมีความรุนแรงหรือมีแนวโนมที่จะมี
ความรุนแรง ซ่ึงอาจเกิดอันตรายกับประชาชน หรือสงผลกระทบตอประชาชน ซึ่งลวนแตเปนบทบาทหนาที่
ความรับผิดชอบของตํารวจท่ีตองเขาไปรับผิดชอบแกไข โดยควบคุมเหตุการณใหอยูในวงจํากัด และพยายาม
คล่ีคลายสถานการณใหกลับสูภาวะปกติโดยเร็ว อยางมีประสิทธิภาพ ท่ีมุงเนนไมใชความรุนแรง พยายามให
เกิดความปลอดภยั กบั ผูเกย่ี วของท้ังหมด

ประเภทของวิกฤตการณ ( Crisis Typology )

1. เกดิ ขึ้นเองโดยธรรมชาติ
- แผนดนิ ไหวท่ีมแี รงส่นั สะเทือนสงู กอใหเกิดอาคารถลม เปน เหตใุ หเกิดความสูญเสยี อยา งมาก
- พายุหมุนขนาดใหญท่ีทําลายอาคารบริเวณกวาง กอใหเกิดความเสียหายตอท่ีอยูอาศัย

สาธารณูปโภคโดยรวม
- คล่ืนยกั ษสนึ ามิทท่ี ําลายชีวติ และทรัพยส ินของประชาชนจํานวนมาก
- นา้ํ ทว มทีม่ ีระยะเวลานานและมีอาณาบริเวณกวา ง ทําใหเกิดความเดือดรอนตอทอ่ี ยูอาศัย อาหาร

การกิน สาธารณปู โภค และปญ หาโรคระบาดท่ีมากบั น้าํ
- ไฟปาท่ีมีอาณาบริเวณกวางและเปนระยะเวลานาน กอใหเกิดมลพิษทางอากาศและทําลาย

บานเรอื นประชาชน
2. เกดิ จากการกระทําของมนุษยโดยเจตนา
- การจับตวั ประกนั , การจบั ยดึ สถานที,่ การจับยึดยานพาหนะ
- การกอวนิ าศกรรมดว ยวิธตี างๆ เชน ระเบิด, เผาทําลาย
- การใชอาวธุ ทม่ี กี ารทําลายลา งสงู เขา โจมตีคูตอ สู เชนอาวุธเคม,ี อาวุธนวิ เคลยี ร, อาวธุ ชวี ภาพ
- การใสสารพิษลงในแหลงนํ้าสาธารณะเพอ่ื ใหเกดิ อันตรายแกช วี ิตของผบู ริโภค
- การจลาจลท่ีใชอาวุธที่มีการทําลายลางสูง, วางเพลิงเผาทรัพย กอใหเกิดความเสียหายดาน

เศรษฐกิจเปน อยางมาก
- การกอ การรา ยตางๆ รวมถึงการกอการรา ยสากล

3. เกิดจากการกระทาํ ของมนษุ ยโดยไมเจตนาหรอื อุบัติเหตุ
- อบุ ัติเหตุจากยานพาหนะทมี่ คี วามสญู เสียจาํ นวนมาก เชน เคร่อื งบนิ ตก
- อุบตั ิเหตจุ ากระบบการทาํ งานของเคร่อื งจกั รกล เปน เหตใุ หโรงงานอุตสาหกรรมระเบิด, ไฟไหม
- อุบัตเิ หตจุ ากรถบรรทุกสารเคมีรายแรงพลิกคว่าํ เปน เหตุใหส ารเคมีรวั่ ไหลออกสูภายนอกและลง

สลู าํ นํ้าสาธารณะ
- การรัว่ ไหลของสารเคมอี นั ตรายจากโรงงานอุตสาหกรรม
- การรัว่ ไหลของกมั มนั ตภาพรังสี จากโรงงานนิวเคลียร

-3-

ข้นั ตอนของวกิ ฤตการณ
กอนท่ีจะเกิดวกิ ฤตการณน้ัน โดยปกติจะมีขอมูลบางประการที่จะบงชี้ใหเห็นวาจะเกิดวิกฤตการณข้ึน
ดังนั้น เจาหนาท่ีที่เกีย่ วของอาจนําประโยชนจากขอบงชี้ดังกลาวไปใชในการวางแผนปองกันมิใหเกิดเหตุวิกฤต
หรือบรรเทามใิ หเกิดความรนุ แรงได ในการที่จะเกิดวิกฤตการณนั้น จะมขี น้ั ตอนดงั ตอ ไปน้ี
1) สภาพแวดลอ มกอนเกดิ เหตุ จะเปนสาเหตุเรม่ิ ตนทกี่ อใหเกดิ ปญ หา
2) ชวงเตือนภัยจะเปนชว งที่บงบอกวาจะเกิดเหตกุ ารณว ิกฤต
3) ชวงเกิดเหตุวิกฤตการณเปนชวงที่วิกฤตเกิดแลว และดําเนินอยู ซ่ึงในระหวางน้ัน อาจจะมีเหตุการณ
ตอ เนอ่ื ง
4) ชวงเช่ือมตอเปนชวงท่ีวิกฤตการณแรกเร่ิมผอนคลายลง เจาหนาท่ีเขาควบคุมสถานการณไดแลว
แตเ กิดมีวกิ ฤตใหมตอ เน่อื งเขา มา
5) ชวงหลังวิกฤตการณเปนชวงท่ีเหตุการณวิกฤตนั้นผานพนไปแลว (สํานักงานชวยเหลือการตอตาน
การกอ การราย กระทรวงการตางประเทศสหรัฐอเมริกา, 2544 : 34)

ส่งิ ท่ผี ูประสบเหตคุ นแรก (FIRST RESPONDER) จะตองปฏิบัติ
- เมื่อถึงสถานการณท่ีเกิดเหตุจะตองตรวจสอบเหตุการณวาเกิดขึ้นจริง แลวแจงผูบังคับบัญชา โดย

ยนื ยนั สถานการณท่ีเกิดข้ึน และรายงานถงึ สภาพแวดลอ มในทีเ่ กดิ เหตุโดยทันที
- จํากัดสถานการณไมใหขยายออกไป พยายามจํากัดใหเหตุการณอยูในพื้นที่จุดใดจุดหน่ึงไมให

เคลือ่ นยายไปยังทีอ่ นื่ เพราะอาจกอใหเ กดิ อันตรายแกประชาชนและยากตอการปฏบิ ตั งิ านของเจาหนา ท่ี ดังน้ัน
เจาหนาที่ผูประสบเหตุคนแรก จึงควรจัดทําวงลอมสถานท่ีเกิดเหตุและกันคนออกจากสถานที่เกิดเหตุ โดย
แสดงเขตพืน้ ทว่ี งใน (Inner Perimeter) และพนื้ ทีว่ งนอก (Outer Perimeter)

- จัดการเคลื่อนยายหรืออพยพบุคคลออกจากพ้ืนท่ีวงในและพ้ืนที่วงนอก โดยคํานึงถึงความปลอดภัย
ของประชาชน พรอมท้ังแจงเตือนประชาชนท่ีอยูใกลเคียงใหทราบถึงอันตรายอันอาจจะเกิดขึ้นได ทั้งนี้ตอง
ระมัดระวงั มใิ หป ระชาชนเกดิ ความตืน่ ตระหนกตอ เหตุการณ

- ปดก้ันการจราจรบริเวณท่ีเกิดเหตุ เพื่อปองกันมิใหเกิดอันตรายแกผูสัญจรไปมาบรเิ วณท่ีเกิดเหตุ และ
ขณะเดียวกันจะตองประสานกับเจาหนาท่ีจราจร ใหจัดการจราจร โดยใหผูสัญจรเลี่ยงไปใชเสนทางอื่นๆ และ
เปด เสนทางสําหรบั ผปู ฏบิ ตั งิ านเขา ไปแกไขเหตุวกิ ฤต

- เก็บรวบรวมขอมูล จากพยานหลักฐานในสถานที่เกิดเหตุ และช่ือหัวหนาหนวยรักษาความปลอดภัย
แสวงหาขอมูลเบื้องตน จากพยานบคุ คลทอ่ี ยใู นสถานทเี่ กิดเหตุและบริเวณใกลเคียง เชน จาํ นวนคนราย อาวุธที่
คนรา ยใช จํานวนตัวประกนั จํานวนของผูชุมนมุ กลุมของผูชมุ นมุ ชื่อของแกนนําและผูช มุ นุม เปนตน

- แสวงหาพื้นท่ีซึ่งจะใชเปนพื้นที่ปฏิบัติงาน (Staging Area) สําหรับบุคลากรที่จะเขาปฏิบัติงาน
ในการแกไ ขปญ หาวกิ ฤตการณ

โดยสมมุตฐิ านของเหตุการณท่ีเกิดขึ้น มักจะมแี นวโนมสูความรุนแรง(WORSE CASE) จึงเปนส่ิงสําคัญ
ท่ีผูประสบเหตุคนแรกตองทําการประเมินสถานการณและเลือกตัดสินใจเขาดําเนินการในสิ่งที่มี “ความสําคัญ
และเรงดวนทส่ี ุด” เปนประการแรก เชน การเคล่ือนยา ยผูบาดเจ็บ, ผูเส่ียงภัยออกนอกบริเวณที่เกดิ เหตุกอนท่ี
จะปดก้ันการจราจร เปนตน จึงเปนการใชวิจารณญาณที่สําคัญอยางยิ่งของเจาหนาท่ีท่ีจะตองไดรับการฝกฝน
จนเกิดเปนทักษะและสามารถเขาปฏิบัติหนาที่อยางเปนอัตโนมัติ โดยอาจไมจําเปนจะตองรอคําสั่งจาก
ผูบงั คับบัญชา ท่ียังเดนิ ทางมาไมถึงที่เกดิ เหตุ

-4-

ขอ มูลทีผ่ ูประสบเหตคุ นแรกจะตองบรรยายสรุป
1) ขอ มูลเบ้อื งตน ทีไ่ ดสอบถามจากพยานบุคคลในบรเิ วณท่ีเกดิ เหตุและบริเวณใกลเ คยี ง เชน

- ช่ือคนรา ย, จํานวนคนราย, พฤตกิ รรมของคนรา ย, ตําหนริ ปู พรรณคนราย, อาวุธของคนรา ย,
ขอ เรยี กรองของคนรา ย, สาเหตกุ ารกระทาํ ความผดิ

- เสน ทางและยานพาหนะท่ีคนรายใชก ระทําผิดหรอื หลบหนี
- ชื่อผูเสยี หาย ความเสียหายท่ีเกิดข้นึ ขอมูลเบอื้ งตน และสาเหตทุ ่ีจะฆาตวั ตาย
- ตัวประกันเปนใคร เก่ียวของกับคนรายหรือไม, จํานวนเทาใด, สภาพของตัวประกัน
เปน อยา งไร, สภาพของสถานที,่ เสน ทางเขาออกของอาคารทีต่ ัวประกันถูกควบคมุ
- กลุมของผชู ุมนุมเปนกลมุ ใด, จํานวนผชู มุ นุม, ขอเรียกรอ งและแกนนํากลุม
- สภาพของภัยพิบัติที่เกิดข้ึน, ความเสียหายที่ประชาชนไดร ับ, จาํ นวนผูบาดเจ็บ, ผสู ูญหาย, ศพ
2) กจิ กรรมท่ไี ดด ําเนินการแลว เชน
- การปด กน้ั สถานที่เกดิ เหตุ การจดั ทาํ พ้นื ที่วงใน พื้นทวี่ งนอก
- การปด กัน้ การจราจร มใิ หม ผี สู ัญจรเขา – ออก บรเิ วณทเ่ี กิดเหตุ
- การประสานงานเบอื้ งตน กบั หนว ยงานท่ีเกีย่ วของ เชน ดบั เพลงิ สถานพยาบาล
- การอพยพผูบาดเจ็บและประชาชนไปยังท่ีปลอดภัย (ท่ีใด และใครเปนผูรับผิดชอบดําเนินการ
นําไป)
3) เสนอแนะสถานท่ีท่เี หน็ วา มีความเหมาะสมท่ีจะเปนพ้ืนที่ปฏิบัตกิ ารหรอื จดุ รวมพล
4) สงมอบรายชื่อของบุคคลท่ีไดเขาไปสอบถามรายละเอียดของเหตุการณ เพื่อฝายสืบสวนหรือ
พนักงานสอบสวนจะไดนําไปดําเนินการตอ ในกรณีท่ีมีวัตถุพยาน หรือภาพถายเกี่ยวกับเหตุที่เกิด
สภาพผบู าดเจบ็ หรือยานพาหนะ ภาพถายกลมุ ชุมนุม ใหส งมอบแกผ ูบญั ชาการเหตุการณ

การปองกนั และระงับอัคคภี ยั
ไฟเปนพลังงานชนิดหนึ่งซ่ึงกอใหเกิดประโยชนตอมนุษยอยางมหาศาล เพราะไฟเปนตนกําเนิดของ
พลังงานตา งๆ ท่ีมนษุ ยนาํ ไปใชใ นชีวิตประจําวัน แต “ไฟ” อาจกอใหเ กิดภัยอยา งมหนั ตได หากขาดความรูห รือ
ขาดความระมัดระวังในการใชและการควบคุม ดูแลแหลงกําเนดิ ไฟ ประชาชนท่ัวไปควรรูภยันตรายจากไฟไหม
เพ่ือจะไดมีแผนการควบคุมการใชไฟ การใชความรอนอยางมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย พรอมทั้งเรียนรูวิธีการ
ปอ งกันและระงบั อัคคีภยั เพือ่ ลดภยันตรายทีจ่ ะเกดิ ขน้ึ
การปองกันและระงับอคั คีภัยท่ีมีประสิทธิภาพ จะเปน การชวยลดอตั ราการเกิดอัคคีภัย หรือทําใหภัย
ที่เกิดข้ึนมีระดับความรุนแรงต่ําลง เพื่อลดความเสียหายท่ีจะเกิดขึ้นใหนอยท่ีสุด หรือไมมีความเสียหายเกิดข้ึน
เลย
1. ภยนั ตรายจากไฟไหม

1.1 ไฟไหมจะมีความมืดปกคลุม ไมสามารถมองเห็นอะไรได ความมืดน้นั อาจเนื่องจากอยูภายใน
อาคารแลวกระแสไฟฟา ถกู ตดั หมอกควันหนาแนน หรอื เปน เวลากลางคนื

-5-

วิธีแกไ ข
ตดิ ตงั้ อปุ กรณไฟสองสวางฉกุ เฉิน ( Emergency Light ) ซงึ่ ทาํ งานไดด ว ยแบตเตอรี่ทนั ที ที่
กระแสไฟฟาถกู ตัด ติดตัง้ เครือ่ งกําเนิดไฟฟาสํารอง เม่ือกระ แสไฟฟาถกู ตัด เตรียมไฟฉายทมี่ ีกําลังสองสวางสูง
ไวใหมีจํานวนเพียงพอในจุดท่ีสามารถนํามาใชไดสะดวก ฝกซอมหนีไฟเมื่อไมมีแสงสวาง ดวยตนเองทั้งท่ี
บาน ที่ทํางาน ในโรงแรม หรือแมแตใ นโรงพยาบาล โดยอาจใชวิธีหลบั ตาเดิน ( ครั้งแรกๆ ควรใหเพ่ือนจูงไป )
และควรจนิ ตนาการดวยวาขณะนกี้ ําลงั เกดิ เหตุเพลิง ไหม
1.2 ไฟไหมจะมีแกสพิษและควันไฟ ผูเสียชีวิตและบาดเจ็บในเหตุเพลิงไหมประมาณ รอยละ
90 เปน ผลจากควันไฟ ซง่ึ มีทง้ั กา ซพิษ และทําใหข าดออกซิเจน
วิธีแกไข
จัดเตรียม หนากากหนีไฟฉุกเฉิน (Emergency smoke mask) ใชถ งุ พลาสติกใส ขนาดใหญ
ตกั อากาศแลวคลุมศีรษะหนีฝาควัน (หามฝาไฟ) คืบ คลานตาํ่ อากาศท่ีพอหายใจไดยังมีอยูใกลพ้ืน สูงไมเ กิน 1
ฟตุ แตไมส ามารถทาํ ไดเ ม่อื อยใู นชนั้ ทสี่ งู กวาแหลงกําเนิดควัน
1.3 ไฟไหมจะมีความรอนสูงมาก หากหายใจเอาอากาศท่ีมีความรอน 150 องศาเซลเซียสเขา
ไป ทานจะเสียชีวิตทันที ในขณะท่ีเมื่อเกิดเพลิงไหมแลวประมาณ 4 นาที อุณหภูมิจะสูงข้ึนกวา 400 องศา
เซลเซียส
วธิ ีแกไ ข
ถาทราบตําแหนงตนเพลิงและสามารถระงับเพลิงได ควรระงับเหตุเพลิงไหม ดวยความ
รวดเร็ว ไมควรเกิน 4 นาทีหลังจากเกิดเปลวไฟควรหนีจากจุดเกิดเหตุใหเร็วทส่ี ุด ไปยังจุดรวมพล (Assembly
area)
1.4 ไฟไหมลุกลามรวดเร็วมากเมื่อเกิดเปลวไฟขึ้นมาแลว ทานจะมีเวลาเหลือในการเอาชีวิตรอด
นอ ยมาก ระยะการเกดิ ไฟไหม 3 ระยะ ดังนี้
1.4.1 ไฟไหมข้ันตน คือ ต้ังแตเห็นเปลวไฟ จนถึง 4 นาที สามารถดับได โดยใชเคร่ือง
ดับเพลิงเบ้ืองตน แตผูใชจะตองเคยฝกอบรมการใชเครื่องดับเพลิงมากอน จึงจะมีโอกาสระงับไดอยางมี
ประสิทธภิ าพ
1.4.2 ไฟไหมขั้นปานกลาง ถึงรุนแรง คือ ระยะเวลาไฟไหมไปแลว 4 นาที ถึง 8 นาที
อุณหภูมิจะสูงมากเกินกวา 400 องศาเซลเซียส หากจะใชเคร่ืองดับเพลิง เบ้ืองตน ตองมีความชํานาญ และ
ตองมีอุปกรณ จํานวนมากเพียงพอ จึงควรใชระบบดับเพลิงขั้นสูง จึงจะมีความปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ
มากกวา
1.4.3 ไฟไหมขั้นรุนแรง คือ ระยะเวลาไฟไหมตอเนื่องไปแลว เกิน 8 นาที และยังมี
เชื้อเพลิงอีกมากมายอุณหภูมิจะสูงมากกวา 600 องศาเซลเซียส ไฟจะลุกลามขยายตัวไปทุกทิศทางอยาง
รนุ แรงและรวดเรว็ การดบั เพลงิ จะตองใชผ ทู ่ไี ดร บั การฝก พรอ มอปุ กรณใ นการระงับเหตุข้ันรุนแรง
2. การปอ งกนั และระงบั อคั คีภยั
เม่ือรภู ยนั ตรายจากไฟไหมแลว การปองกันมิใหเ กิดจะเปนหนทางแรกทป่ี ระชาชนทุกคนควร
เลือกปฏบิ ตั ิ ซึง่ การปองกนั น้ันมีหลักอยวู า

-6-

2.1 กําจดั สาเหตุ สาเหตุแหง อคั คภี ัย
- ประมาท ในการใชเ ชื้อเพลิง การใชความรอน การใชไ ฟฟา
- อุบตั เิ หตุ ทงั้ โดยธรรมชาติ และเกดิ จากมนุษย
- ติดตอลุกลาม การนาํ ความรอ น การพาความรอน การแผร ังสีความรอ น
- ลกุ ไหมข ้ึนเอง การทาํ ปฏิกิรยิ าทางเคมี การหมักหมม อินทรียส ารวางเพลิง ทัง้ ทางตรง

และ ทางออ ม
2.2 คมุ เขตลุกลาม รีบระงับ ยบั ยัง้ ไฟ ดวยการทาํ ความเขา ใจในหลกั ดงั ตอ ไปนี้
2.2.1 องคป ระกอบของไฟ มี 3 อยา ง คอื
1) ออกซิเจน (Oxygen) ไมต าํ่ กวา 16 % (ในบรรยากาศ ปกตจิ ะมีออกซิเจนอยู

ประมาณ 21 %)
2) เชือ้ เพลงิ ( Fuel ) สว นท่เี ปนไอ (เชื้อเพลิงไมม ีไอ ไฟไมตดิ )
3) ความรอ น ( Heat ) เพียงพอทําใหเกิดการลุกไหม

ไฟจะตดิ เมื่อองคประกอบครบ 3 อยา ง ทําปฏกิ ิริยาทางเคมตี อ เนื่องเปน ลูกโซ
การปองกันไฟ คือ การกําจัดองคประกอบขอไฟ
การดับไฟ คอื การกําจัดองคป ระกอบของ ไฟ เชนกัน
วธิ กี ารดับไฟ จึงมอี ยา งนอย 3 วธิ ี คอื

1. ทําใหอ บั อากาศ ขาดออกซเิ จน
2. ตดั เช้ือเพลงิ กําจดั เชือ้ เพลิงใหหมดไป
3. ลดความรอน ทําใหเ ย็นตัวลง
2.2.2 ประเภทของไฟ
ไฟมี 4 ประเภท คือ A B C D ซง่ึ เปน ขอ กําหนดตามมาตรฐานสากล

1) ไฟประเภท A มีสัญลักษณรปู ตวั A อยูในสามเหลย่ี มสีเขียว เกดิ จากเชื้อเพลงิ ซึ่ง
ประกอบดว ย คารบ อน ไฮโดรเจน และออกซเิ จน เชน เส้อื ผา หญาแหง กระดาษ ไม และฟาง

วธิ ดี ับไฟ ประเภท A ทด่ี ีทส่ี ดุ คือ การลดความรอน (Cooling) โดยใชนาํ้
2) ไฟประเภท B สัญลักษณรปู ตัว B อยูในสีเ่ หลยี่ มสีแดง เกิดจากเช้ือเพลิงที่มีลักษณะ
เปนของเหลวและกา ซ เชน น้ํามันทุกชนิด แอลกอฮอล ทนิ เนอร ยางมะตอย จารบี และกาซตดิ ไฟทกุ ชนดิ

วธิ ดี ับไฟประเภท B ที่ดีทส่ี ุด คือ การทําใหอบั อากาศโดยใชผ งเคมีแหง หรือใชฟอง
โฟมคลุม เพ่ือเปนการกาํ จัดออกซิเจน

-7-

3) ไฟประเภท C มีสญั ลกั ษณร ูปตวั C อยูในวงกลมสีฟา เกิดจากเช้ือเพลิงทม่ี ลี ักษณะ
เปนของแขง็ ที่มกี ระแสไฟฟา ไหลอยู เชน อุปกรณไฟฟา ทุกชนดิ การอารค การสปารค

วิธีดับไฟ ประเภท C ทดี่ ีที่สุด คือ การตัดกระแสไฟฟาแลว จงึ ใชกา ซ
คารบ อนไดออกไซด หรือนํ้ายาเหลวระเหยที่ไมมี CFC ไลออกซิเจนออกไป

4) ไฟประเภท D มสี ัญลักษณเปนรปู ตัว D สีขาวหรือดํา อยูในดาว 5 แฉก สเี หลือง
เกิดจากเช้ือเพลงิ ที่มีลกั ษณะเปน โลหะและสารเคมีติดไฟ เชน วตั ถรุ ะเบิด, ผงแมกนีเซียม, ปยุ ยเู รีย
(แอมโมเนยี มไนเตรต) ฯลฯ

วิธีดับไฟประเภท D ท่ีดีท่ีสุด คือ การทําใหอบั อากาศหรือใชสารเคมีเฉพาะ (หามใช
นาํ้ เปนอนั ขาด) ซึง่ ตอ งศกึ ษาหาขอ มูลแตละชนิดของสารเคมหี รือโลหะน้ันๆ

2.2.3 เคร่ืองดับเพลิงแบบมอื
เครอ่ื งดบั เพลงิ แบบมือถือ (Portable Fire Extinguisher) หรอื อาจเรยี กวา แบบยก

หว้ิ มปี ระโยชนในการระงับไฟเบ้ืองตน ไมควรฉีดถาไมเห็นแสงไฟ เคร่อื งดับเพลิงมีมากกวา 20 ชนิด แตควรรู
เปน หลัก 6 ชนิด คือ

1) เครอ่ื งดบั เพลิงชนิดกรดโซดา (Soda Acid) หรอื กรดชนิดอื่น (นยิ มบรรจใุ นถงั
สแี ดงไมมสี าย ไมมีคนั บีบ ) เวลาใชต องทําใหหลอดบรรจกุ รดโซดาแตก (โดยการทุบปุมเหนือถงั ) เพื่อทํา
ปฏกิ ริ ยิ ากับนาํ้ เกิดแกสขบั ดัน ใหถือถังคว่ําลง แลวนา้ํ จะพงุ ผา นหวั ฉีดเขา ดับไฟ ซง่ึ ยงุ ยาซับซอ น ตรวจสอบ
ยาก ปจ จบุ นั ไมน ิยมใช ไมมจี ําหนายในเมืองไทยแลว แตในตา งประเทศยงั มีใชอยู

ใชดบั ไฟประเภท A อยา งเดียว
2) เครื่องดับเพลิงชนิดฟองโฟม ( Foam )หรือน้ําผสมสาร(Water Base) ( นิยม
บรรจุในถังอลูมเิ นียมสคี รีมหรือถังสแตนเลส มีหวั ฉีดเปนหัวฝก บัว (Water Base บรรจถุ ังสีเขียว ) ในถังมีนํ้ายา
โฟมผสมกับนํ้าแลวอัดแรงดันไว ( นิยมใชโฟม AFFF ) เวลาใชถอดสลักและบีบคันบีบ แรงดันจะดันน้ําผสม
กับโฟมผานหัวฉีดฝกบัว พนออกมาเปนฟองกระจายไปปกคลุมบริเวณท่ีเกิดไฟไหม ทําใหอับอากาศขาด
ออกซิเจน และลดความรอน ถาเปน"นํ้าผสมสาร"Water Base"จะบรรจุนํ้าผสมสารสังเคราะหจากสมุนไพร
บางชนิด มีคุณสมบัติในการควบคุมอุณหภูมิและไมเปนส่ือไฟฟา แตการนําไปใชกับอุปกรณไฟฟาอาจมีผลเสีย
จากนา้ํ ในระยะยาวได
ใชด ับไฟประเภท B และ A ( Water base ดับไฟ C ได )
3) เครื่องดับเพลิงชนิดน้ําสะสมแรงดัน ( Water Pressure ) ( นิยมบรรจุดวยถัง
แสตนเลส ตางประเทศบรรจุถังกันสนิมสีแดง) บรรจุนํ้าอยูในถัง แลวอัดแรงดันนํ้าเขาไว จึงเรียกวา นํ้าสะสม
แรงดันควรเปนเคร่ืองดับเพลิงหลัก เนื่องจากวัตถุเช้ือเพลิงประเภท A อาทิ ฟน ฟาง ยาง ไม ผา กระดาษ
พลาสติก หนังสต๊ิก หนังสัตว ปอ นุน ดาย มีอยูท่ัวไป และถาเปนสถานประกอบการท่ีมีพนักงานเปนจํานวน
มาก สามารถนํามาฝกสอนการดบั เพลงิ ไดเ อง เพียงเตมิ นํา้ แลวนําไปเติมลมตามปมนํ้ามนั ท่ัวไปไดส ะดวก
ใชดบั ไฟประเภท A

-8-

4) เครื่องดับเพลิงชนิดกาซคารบอนไดออกไซดหรือซีโอทู (Carbondioxide)
( นิยมบรรจุถังสีแดง ตางประเทศบรรจุถังสีดํา) บรรจุกาซคารบอนไดออกไซดไวในถังท่ีทนแรงดันสูง
ประมาณ 800 ถึง 1200 ปอนดตอตารางนิ้ว ที่ปลายสายฉีดจะมีลักษณะเปน กระบอกหรือกรวย เวลาฉีดจะ
มีเสียงดังเล็กนอย พรอมกับพนหมอกหิมะออกมาไลความรอนและออกซิเจนออกไป ควรใชภายในอาคารท่ี
ตองการความสะอาด โดยฉีดเขาใกลฐานของไฟใหมากท่ีสุด ประมาณ 1.5 – 2 เมตร เมื่อใชงานแลว จะไมม ีสิ่ง
สกปรกหลงเหลือ

ใชดบั ไฟประเภท C และ B
5) เครื่องดับเพลิงชนิดผงเคมีแหง ( Dry Chemical Powder ) ( นิยมบรรจุถัง
สีแดง ตางประเทศบรรจุถังสีฟา ) บรรจุผงเคมี ซ่ึง มีหลายชนิด หลายคุณภาพไวในถัง แลวอัดแรงดันเขาไป
เวลาใช ผงเคมจี ะถูกดนั ออกไปคลุมไฟทําใหอับอากาศ และทาํ ปฏิกิรยิ าทางเคมี ควรใชภายนอกอาคาร เพราะ
ผงเคมีเปนฝุนละอองฟุงกระจายทําใหเกิดความสกปรก และเปนอุปสรรคในการเขาผจญเพลิง อาจทําให
อุปกรณไฟฟาราคาแพง เสียหายได ในโรงพยาบาลบริเวณพื้นที่ปลอดเชื้อ หามใชเด็ดขาดเพราะผงเคมีท่ีมีอณู
ทเ่ี ล็กมาก เปนทแี่ ฝงตวั ของเชือ้ โรค
ใชดบั ไฟไดด ีคือ ไฟประเภท B ผงเคมีไมเปนสอื่ ไฟฟา สามารถดับไฟประเภท C ได
(แตอุปกรณไฟฟาอาจเสียหาย) การดบั ไฟประเภท A ตองมีความชํานาญและควรใชน้ําดับถา น
6) เคร่อื งดับเพลงิ ชนิดนาํ้ ยาเหลวระเหย ฮาโลตรอน ( Halotron ) ( นิยมบรรจุถงั สี
เขียว) แตเดิมบรรจุนํ้ายาเหลวระเหย ชนิด BCF Halon โบรโมคลอโร ไดฟลูออโร ซ่ึงเปนสาร CFC ไวใ นถังสี
เหลือง ใชดับไฟไดดีแตมีสารพิษ และในปจจุบันองคการสหประชาชาติ ประกาศใหเลิกผลิตพรอมท้ังใหทุก
ประเทศลดการใชจนหมดส้ิน เพราะเปนสารที่ทําลายสิ่งแวดลอมโลก บางประเทศเชน ออสเตเลีย ถือวาเปน
สิ่งผดิ กฎหมาย : ปจ จุบันนา้ํ ยาเหลวระเหยท่ีไมมีสาร CFC มีหลายย่หี อ และหลายชื่อ
ใชด บั ไฟประเภท C และ B สว นไฟประเภท A ตอ งมีความชํานาญ สามารถฉีดใชได
ไกลกวา กา ซคารบ อนไดออกไซดออกไซด คือระยะ 3-4 เมตร

2.2.4 การตรวจสอบถังดับเพลงิ
1) ดูท่ีเข็มในมาตรวัด (Pressure Gauge) ของถังดับเพลิง เคร่ืองดับเพลิงที่อยูใน

สภาพพรอมใชงานได เข็มจะช้ีที่ชองสีเขียว (สังเกตตามรูป) แตถาเข็มเอียงมาทางซายแสดงวาแรงดันไมมี ตอง
รีบนาํ ไปเติมแรงดนั ทันที ซึ่งควรตรวจสอบเปน ประจาํ ทกุ เดือน

หมายเหตุ : สวนมากจะเปน จําพวกถงั ดับเพลงิ ประเภทผงเคมแี หง และ ประเภทน้ําอดั แรงดนั

-9-
ในกรณีไมมีมาตรวัด จะเปนถังดับเพลิงประเภทซีโอทู ใหใชการตรวจสอบจากการช่ังนํ้าหนัก ถา
นํ้าหนกั ลดลงเกนิ 20 % ใหน ําไปอัดซีโอทูเพม่ิ

2) ตรวจ สายฉดี หัวฉีด อยา ใหม ีผงอดุ ตัน เปน ประจาํ ทุกเดือน
3) ถาไฟไหม หรือกระทบกระเทือนอยางรนุ แรง ใหส ง ไปตรวจสอบ และบรรจุใหม
4) สภาพบรรจขุ องถังดบั เพลิงตองไมบ ุบ หรือบวม และไมขน้ึ สนมิ
5) อายุการใชงาน ถงั ดับเพลงิ ชนดิ ผงเคมแี หง (ถังสแี ดง) มอี ายปุ ระมาณ 5 ป ชนิด
ฮาโลตรอนวนั (ถงั สเี ขยี ว) และชนดิ กา ซ CO2 มอี ายุประมาณ 10 ป
6) ถังดับเพลิงชนิดผงเคมแี หง (ถงั สแี ดง) หากมีการใชง านแลว ตองนําไปเตมิ สารเคมี
ใหมทกุ ครงั้
2.4.5 วธิ ีใชเ ครอื่ งดบั เพลิง
ขั้นตอนการใชถังดบั เพลิงมี 4 ข้นั ตอน ดังน้ี
- ดงึ : ทําการดึงสลกั ออกจากคันบีบโดยการหมนุ สลักจนตัวยึดขาด
- ปลด : ทําการปลดสายหวั ฉีดออกจากตวั ถังดบั เพลงิ และ จบั ปลายสาย ช้ไี ปทีฐ่ านของ
กองไฟ...อยา ไปฉดี ท่ีเปลวไฟ...เพราะไฟจะไมดับ
- กด : กดคันบบี (เพ่ือใหน า้ํ ยาดับเพลิงพุงออกมาจากหัวฉีด....)
- สาย : ทําการสา ยปลายสายไปท่ฐี านของเพลงิ ใหน้าํ ยาดับเพลงิ พนออกไปไดท วั่ ๆ

วธิ กี ารใชถ ังดบั เพลิง
1. เขาไปทางเหนอื ลมโดยหา งจากฐานของไฟประมาณ 2 - 3 เมตร
2. ดึงสลักหรอื ลวดท่ีร้ังวาลว ออก

- 10 -

3. ยกหวั ฉีดปากกรวยชไ้ี ปที่ฐานของไฟ ( ทาํ มุมประมาณ 45 องศา )
4. บีบไกเพือ่ เปดวาลวใหกา ซพุงออกมา
5. ใหฉ ีดไปตามทางยาว และกราดหัวฉีดไปชา ๆ
6. ดบั ใหส นทิ จนแนใ จแลว จงึ ฉดี ตอ ไปขางหนาในกรณีทีเ่ กดิ เพลงิ ไหมว างอยใู นระดบั ตางกนั ใหฉีด
จากขางลางไปหาขา งบน และถานํ้ามันรั่วไหลใหฉีดจากปลายทางทร่ี วั่ ไหลไปยังจุดท่ีรว่ั ไหล และเหตุเพลิงไหม
ท่ีเกดิ จากอปุ กรณไฟฟา ทม่ี ีกระแสไฟฟา ไหลอยู ตองรีบตดั กระแสไฟฟากอน เพ่ือปอ งกันมิใหเกดิ การลุกไหม
ข้ึนมาอีกได

2.4.6 การบาํ รงุ รักษาเครอ่ื งดบั เพลงิ
เคร่ืองดับเพลงิ เปนอุปกรณท่ีสําคญั ตอ ชวี ติ และทรพั ยสินเปน อยางยิง่ จงึ ควรไดรับการ

ดูแลเอาใจใสใ หส ามารถใชงานไดอยา งมปี ระสิทธภิ าพในระยะยาวนาน ข้ันตอนท่ีสําคัญในการบาํ รงุ รกั ษา คือ
1) อยา ตดิ ต้งั อุปกรณดับเพลิงไวใ นอุณหภูมิสูง มีความชืน้ หรือเกดิ ความสกปรกไดง าย

เชน ตากแดด ตากฝน ติดต้ังใกลจดุ กาํ เนิดความรอนตางๆ อาทิ หมอตม นา้ํ เคร่ืองจกั รท่ีมีความรอ นสงู เตาหุง
ตม หองอบตางๆ เปนตน

2) ทาํ ความสะอาดตัวถงั และอุปกรณประกอบ (สายฉดี ,หวั ฉีด)เปนประจํา สมํ่าเสมอ
(อยางนอยเดือนละ 1 คร้ัง) เพ่ือใหด ูดีมีระเบียบและพรอ มใชง าน

3) หากเปนเครื่องดับเพลิงชนิดผงเคมีแหง ควรเคล่ือนผงเคมีที่บรรจุอยูภายใน โดยยก
ถังพลกิ ควาํ่ -พลกิ หงาย 5-6 ครงั้ (จนแนใ จวา ผงเคมแี หง ไมจ บั ตัวเปน กอ น) อยางนอยเดือนละ 1 คร้ัง

4) ตรวจสอบสลากวิธีใช ปายบอก จุดติดตั้ง ปายแสดงกําหนดการบํารุงรักษา และ
ผูตรวจสอบ (Maintenance Tag) ใหสามารถอานออกไดชัดเจนตลอดเวลา หากทานไดตรวจสอบและ
บาํ รุงรักษาตามท่ีกลา วมานี้แลว อุปกรณของทา นจะมีอายยุ นื ยาว สามารถใชไ ดไ มตาํ่ กวา 5 ป

- 11 -

พบเหน็ สิ่งท่นี า สงสยั วาเปน วัตถรุ ะเบดิ

ขอสังเกตเก่ยี วกับพสั ดุไปรษณียระเบดิ หรือกลองพัสดไุ ปรษณียตอ งสงสัย
วิธีการทาํ งานของอุปกรณชนิดน้สี วนมากจะเกดิ ระเบิดเม่ือบคุ คลที่ตกเปน เปา หมายเปดกลอง หบี หอ

หรอื กระเปาเอกสารทบี่ รรจรุ ะเบิดแบบแสวงเคร่อื งไวภ ายใน
ขอสังเกตเก่ยี วกบั พสั ดุไปรษณียร ะเบดิ
1. มนี ้าํ หนักมากเกนิ ไป
2. ซองจดหมายมลี กั ษณะแข็ง
3. ซองจดหมายหรือหอพัสดุมลี กั ษณะโปง บวม หรือพองผดิ ปกติ
4. มกี ารหอแนน หนาเกนิ ควร
5. มสี ายไฟเสน เล็กๆย่ืนออกมา
6. มีคราบน้ํามัน หรอื สีซีดจากทก่ี ระดาษหอ
7. ไมม ชี อ่ื ผูสง
8. มกี ารเขียนขอความหรือติดภาพทีเ่ รียกรองความสนใจ เชน ภาพเปลอื ย
9. เปน จดหมายหรอื หอพัสดทุ ่ไี มคาดวา จะไดร บั เชน สงมาจากคนรจู กั ท่เี สียชวี ิตไปแลว
10.ติดแสตมปม ากเกินขนาด
11. มีการทําเคร่ืองหมายพิเศษตางๆบนซองจดหมายหรอื กลองพสั ดภุ ัณฑเ ชน เพาะสวนตัวหรือ

เฉพาะบุคคล
12. ลายมือเขียนหรือพิมพจาหนาซองไมเปน ระเบยี บ
13. มีชอื่ ผรู ับพสั ดแุ ตระบยุ ศและตําแหนง ไมถกู
14. สะกดผดิ ในคํางา ยๆ
15. ผูท ีม่ กี ารขดั แยงอยางรุนแรงกบั ผอู ื่นควรสงสัยและระมัดระวงั เปนพเิ ศษ

กรณีเกิดเหตุ “ขวู างระเบิด”
ส่ิงที่ควรปฏิบัตเิ มอ่ื ไดรับขาวถูกวางระเบดิ
การขูวางระเบิดสวนใหญจะใชโทรศัพทเปนสื่อในการติดตอ ทั้งน้ีเพราะตองการใหเกิดความต่ืนเตน
ตกใจในทันทีทันใด ในสวนของการวิเคราะหขาวในครั้งแรกใหตั้งสมมติฐานข้ันตนวา “เปนเรื่องจริง” สิ่งท่ีควร
ปฏบิ ัติเมอ่ื ไดรับขา วถกู วางระเบดิ คือ
1. ระงับอารมณอยาต่ืนเตน
2. ตง้ั ใจฟงและอยา ขัดจังหวะการพูด
3. จดจําคาํ พดู ใหห มด
4. ควรพดู อยา งสภุ าพขณะท่ไี ดรับแจง
5. ถว งเวลาพูดใหนานๆและพยายามอดั เทปไว
6. สังเกตเสียงท่ีแทรกเขาในระหวางพูดวามีเสียงอะไร เชน เสียงเคร่ืองจักร เสียงเครื่องยนต
เสียงเพลง หรอื เสียงอน่ื ๆ

- 12 -

7. สงั เกตสาํ เนยี งของผพู ดู หรือลกั ษณะเสยี งวา เปนอยางไร หญิงหรือชาย เสียงนุม หรอื เสียงกระดา ง
8. พยายามถามหาขา วพูดขอความเห็นใจใหก ลบั ใจ
9. รบี รายงานการรบั ขา วขวู างระเบดิ แกเจา หนาท่ตี ํารวจใหเร็วท่ีสดุ
10. อยาใหขาวแกผทู ี่ไมเ ก่ียวขอ ง
11 .พยายามถามรายละเอียดใหมากท่ีสุดเกี่ยวกับระเบิดและสถานท่ีคนรายอางวานําไปซุกซอนโดย
พยายามเนนวา ไมอ ยากใหม คี นบาดเจบ็ หรอื ตาย
12 .ในขณะท่ีรับโทรศัพทถูกขูวางระเบิดควรมีการนัดแนะกับผูรวมงานที่อยูใกลเคียงหรือทํางานในท่ี
เดียวกัน ตัวอยางเชน การหยิบปากกาสีแดงชูข้ึนแสดงวามีคนรายกําลังขูวางระเบิดทางโทรศัพทเพื่อใหเพ่ือน
รว มงานทราบและตรวจสอบส่งิ ของตอ งสงสยั ในบริเวณรอบหรือใตโตะทํางาน
13 .ในการอพยพคนออกจากท่ีทํางานควรเปนขั้นตอนสุดทาย เน่ืองจากสถานท่ีทํางาน หรือโตะ
ทํางานของพนักงานแตละคนจะทราบดีอยูแลววา สถานที่ของตนมีกระเปาหรือหีบหอ หรือกลองตองสงสัย
แปลกปลอมอยูหรือไม เม่ือพบของแปลกปลอมตอ งสงสยั จึงอพยพ
14. อยาผลีผลามเขา ไปแตะตอง รบกวน หรือเคลอื่ นยา ยดว ยตนเอง ระยะปลอดภัยตามหลักการก็คือ
การอยูใ หหางจากวตั ถรุ ะเบิดนน้ั อยางนอ ย ๓๐๐ เมตรขึน้ ไป โดยถือหลักการท่วี า ยง่ิ อยหู า งยิ่งปลอดภยั

หลักปฏบิ ัตใิ นการตรวจคนวัตถตุ อ งสงสัยอาคาร
๑. ใหต รวจจากดานลาง ต้งั แตร ะดบั เอวลงมา แลว จึงตรวจในระดับสูงขน้ั ไป
๒. ควรตรวจซํ้า ๆ หลายคร้งั
๓. การตรวจตอ งตรวจจากชัน้ ลา งกอน แลวจงึ ตรวจชนั้ บนตอ ๆ ไป
๔. อปุ กรณการตรวจที่ควรมี ไดแก ไฟฉาย กระจกเงามดี า มโคง เหล็กสัก เครื่องฟง
๕. การเปดหบี หออุปกรณ ตองทําดวยความระมัดระวัง และควบคุมระยะไกล เชน ลิน้ ชกั ประตหู อง
๖. หอ งทต่ี รวจคน แลวใหท ําเคร่ืองหมายและปดล็อคไว

ขอพึงปฏิบัติเม่ือตรวจพบสงิ่ ของตองสงสัยวา นาจะเปน ระเบิดแสวงเคร่ือง
1. อยา แตะตองหรอื ขยบั เขยื้อนเคล่ือนที่
2. ใหร บแจง เจาหนาทีท่ เี่ กย่ี วของ
3. ใหข า วสารและขอ มลู ตางๆ
4. หา มบุคคลภายนอก
5. ทําเครอ่ื งหมาย
6. วางส่ิงกดี ขวางกน้ั ไวรอบๆ สง่ิ ของตองสงสัยนนั้
7. เปดประตูหนา ตาง
8. อพยพบุคคลออกจากพนื้ ที่นนั้
9. จัดเจา หนา ที่ไวค อยใหขอมูลขาวสาร และความสะดวก
10. สาํ รวจทิศทางเขา ออก
11. เคลื่อนยา ยสิง่ ของและวัสดุที่ตดิ ไฟงา ย

- 13 -

การจัดเตรียมอปุ กรณสาํ หรับการปองกันวตั ถรุ ะเบดิ หรือวัตถตุ อ งสงสัย
1. ยางนอกรถยนตท่ีใชแ ลวทม่ี ีนํ้าหนกั พอสมควร 5-6 เสน สาํ หรบั ใชค รอบปองกันวตั ถุ

ระเบิดหรอื กลองตอ งสงสัย
2. กระสอบทรายกวาง 1 ฟตุ ยาว 1.5 ฟุต จํานวน 10-20 ลูก สําหรบั วางลอมรอบวัตถุ

ตองสงสัยหรือเพ่ือปอ งกนั สะเก็ดระเบดิ
3. เชือกสําหรับขึงปองกันหา มไมใหผไู มม ีหนาท่ีเกี่ยวของเขา ไปรบกวนกรณีพบวตั ถรุ ะเบิด

เลือกชนิดทม่ี สี ีเห็นไดช ดั หรอื ใชผ า สสี ม สแี ดงผกู ไวห ลายๆจดุ บนเชือก
4. ปา ยเตอื นอันตรายท่ีมขี นาดเห็นไดช ัดเขียนขอความอันตรายหามเขาติดไวกับเชอื กทงั้ 4

ดา นหรอื เขียนไวใ หเหน็ เดนชัดตามชอ งทางหรือเสนทางใกลเคยี งท่เี กิดเหตุ
5. นํ้ายาดบั เพลิงหรืออปุ กรณดับเพลงิ ควรมีไว ใหพอเพียงและฝก ฝนใหผ ูมหี นาที่เกี่ยวของ

อยางสม่ําเสมอ
6. ซกั ซอมใกลเคียงและเตรยี มการตดิ ตอ กับหนว ยงานทเ่ี กยี่ วขอ งโดยทางโทรศัพท เชน

หนว ยพยาบาล หนว ยไฟฟา สถานีตํารวจใกลเคียง
ในกรณีพบวตั ถรุ ะเบดิ แลว ควรทําอยา งไร
ผปู ระสบเหตตุ อ งปฏิบัติดังนี้
1. ตรวจสอบดูวามผี ูไดร บั บาดเจ็บหรอื ไม ถามตี องใหความชวยเหลอื ปฐมพยาบาลแลวนาํ สง

โรงพยาบาลทใ่ี กลเคยี งท่สี ดุ โดยดว น
2. แจงใหเจา หนาทตี่ ํารวจทราบโดยเร็วที่สดุ เทา ทีจ่ ะทาํ ได
3. อพยพผคู นออกไปจากพ้ืนท่ีท่ีปลอดภัย
4. หา มเคล่อื นยา ยส่ิงของตา งๆโดยพลการเพื่อปองกันการระเบดิ ซา้ํ สองและเพื่อไมใ หวตั ถุ

พยานหลักฐานตางๆที่คนรายไดกระทําข้ึนสูญหายไป ซึง่ สิ่งเหลาน้จี ะเปน ประโยชนใ นความปลอดภัยและเปน
ประโยชนในการตดิ ตามคนรา ยมาลงโทษตามกฎหมาย

5. ควรปองกันรกั ษาสถานทีเ่ กดิ เหตุดวยการลอมเชือกกัน้ บริเวณท่ีเกิดเหตุ
6. จัดเจา หนา ทเี่ ฝาสงั เกตการณใ นระยะหา งพอสมควรพอทจ่ี ะสังเกตการณไดตลอดเวลาเพ่ือ
ปอ งกนั มิใหผ ูไ มมีหนาทเ่ี กีย่ วขอ งเขา ไปรบกวน หรือทําลายรองรอยพยานหลกั ฐานในสถานท่เี กิดเหตจุ นกวา เจา
หนา ที่ตาํ รวจจะไปถึงและดาํ เนินการตอไป

…………………………………………………….


Click to View FlipBook Version