The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

003.ประวัติวัดเจดีย์หลวง จ.เชียงใหม่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

003.ประวัติวัดเจดีย์หลวง จ.เชียงใหม่

003.ประวัติวัดเจดีย์หลวง จ.เชียงใหม่

พระเจดีย์หลวง เมอื งเชยี งใหม่ : รปู แบบศิลปกรรมและรูปทรงสันนษิ ฐานภาพ 3 มติ ิ

สำนกั หอสมุดกลาง

โดย
นางสาวศิวพร วงษแ์ ดง

การค้นควา้ อิสระนเ้ี ป็นสว่ นหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ
สาขาวชิ าประวตั ิศาสตร์ศิลปะ
ภาควชิ าประวตั ศิ าสตร์ศิลปะ

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
ปีการศกึ ษา 2556

ลขิ สทิ ธข์ิ องบณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศลิ ปากร

พระเจดยี ์หลวง เมืองเชียงใหม่ : รปู แบบศลิ ปกรรมและรูปทรงสันนษิ ฐานภาพ 3 มติ ิ

สำนกั หอสมุดกลาง

โดย
นางสาวศิวพร วงษ์แดง

การค้นควา้ อสิ ระน้เี ปน็ ส่วนหนง่ึ ของการศกึ ษาตามหลักสูตรปรญิ ญาศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ
สาขาวชิ าประวัติศาสตร์ศิลปะ
ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ

บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปีการศกึ ษา 2556

ลขิ สิทธ์ิของบณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

PHRA CHEDI LUANG IN CHIANG MAI : STYLE AND 3D PICTORAL ASSUMPTION

สำนกั หอสมBุดyกลาง
Miss Siwaporn Wongdaeng

An Independent Study Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree
Master of Arts Program in Art History
Department of Art History
Graduate School, Silpakorn University
Academic Year 2013

Copyright of Graduate School, Silpakorn University

บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยศิลปากร อนุมตั ิให้การคน้ คว้าอสิ ระเรื่อง “ พระเจดีย์หลวง
เมอื งเชียงใหม่ : รปู แบบศิลปกรรมและรูปทรงสนั นษิ ฐานภาพ 3 มิติ ” เสนอโดย นางสาวศิวพร วงษ์แดง
เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าประวัติศาสตรศ์ ิลปะ

……...........................................................
(รองศาสตราจารย์ ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ์)

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

สำนกั หอสมุดกลางวนั ท่ี..........เดือน.................... พ.ศ...........

อาจารย์ทปี่ รึกษาการคน้ ควา้ อิสระ
ศาสตราจารย์ ดร.ศกั ดชิ์ ยั สายสงิ ห์

คณะกรรมการตรวจสอบการค้นควา้ อิสระ

.................................................... ประธานกรรมการ
(ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เชษฐ์ ติงสัญชลี)
............/......................../..............

.................................................... กรรมการ
(ศาสตราจารย์ ดร.ศกั ดิช์ ัย สายสิงห์)
............/......................../..............

54107313 : สาขาวิชาประวัตศิ าสตร์ศิลปะ
คาสาคัญ : พระเจดยี ห์ ลวง จ.เชียงใหม/่ เจดยี ์ทรงปราสาทยอดเดยี ว

ศิวพร วงษ์แดง : พระเจดีย์หลวง เมืองเชียงใหม่ : รูปแบบศิลปกรรมและรูปทรง
สันนษิ ฐานภาพ 3 มิต.ิ อาจารยท์ ีป่ รกึ ษาการคน้ คว้าอิสระ : ศ.ดร.ศกั ด์ชิ ัย สายสงิ ห์. 110 หนา้ .

ปัจจุบันมักมีโครงการเสนอให้มีการต่อยอดหรือบูรณะพระเจดีย์หลวงให้สมบูรณ์เต็มองค์
แต่ยังมีประเด็นปัญหาว่าส่วนยอดของพระเจดีย์หลวงท่ีพังทลายไปควรเป็นรูปแบบใด การศึกษา
ค้นคว้าครั้งน้ีจึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษารูปแบบพระเจดีย์หลวง วัดเจดีย์หลวง จังหวัดเชียงใหม่ โดย

สำนกั หอสมุดกลางการตรวจสอบหลักฐานทางเอกสาร รูปแบบศิลปกรรม รวมถึงลวดลายปูนปั้นประดับตกแต่ง

เปรียบเทียบกับเจดีย์องค์อื่นที่สร้างร่วมสมัยกัน เพื่อนาข้อมูลท่ีได้มาจัดทาเป็นรูปทรงสันนิษฐานด้วย
การสร้างภาพ 3 มิติ ซึ่งเป็นการนาเสนอให้เห็นถึงรูปแบบศิลปกรรมขององค์พระเจดีย์หลวงแบบ
สมบรู ณ์ โดยไมจ่ าเปน็ ต้องต่อยอดจรงิ ผลจากการศึกษาอาจสรปุ ไดว้ า่

1. รปู แบบสถาปัตยกรรมของพระเจดีย์หลวงสว่ นใหญน่ า่ จะเป็นงานสร้างในสมัยพระเจ้าติ
โลกราช เน่ืองจากเมื่อตรวจสอบรูปแบบและลวดลายที่ปรากฏกาหนดอายุได้ในช่วงปลายพุทธ
ศตวรรษท่ี 20-ต้นพุทธศตวรรษท่ี 21 ซึ่งตรงกับสมัยของพระองค์ สอดคล้องกับหลักฐานทางด้าน
เอกสารที่ระบถุ ึงการเปล่ยี นแปลงสว่ นยอดของพระเจดยี ์หลวงมาเปน็ ทรงกระพุ่มยอดเดยี วในสมยั นี้

2. สว่ นยอดของพระเจดยี ห์ ลวงทพี่ งั ทลายไป ยังคงปรากฏร่องรอยชุดฐานบัวถลา 3 ช้ันใน
ผงั แปดเหล่ียม รองรับองค์ระฆัง ซ่ึงสันนิษฐานว่าชุดฐานบัวถลาในผังแปดเหล่ียมน้ีควรเป็นงานบูรณะ
ในสมยั พระเมอื งแก้ว หรอื กลางพุทธศตวรรษที่ 21 มาแลว้ เพราะพบหลักฐานที่กล่าวถึงการสร้างหรือ
บูรณะเจดีย์หลายองค์ในรัชกาลน้ีท่ีมีฐานบัวในผังแปดเหล่ียม ซ่ึงพบท้ังเจดีย์ทรงระฆังและเจดีย์ทรง
ปราสาทยอด และควรเป็นงานบูรณะก่อนเจดีย์วัดหนองจริน เน่ืองจากสัดส่วนของเจดีย์ยังไม่
เปลี่ยนแปลงใหย้ ดื สูงมากนัก

3. สว่ นท่ีมีการเปรียบเทียบส่วนยอดของพระเจดีย์หลวงกับส่วนยอดเจดีย์วัดเชียงม่ันว่ามี
ความใกล้เคียงกันมากที่สุดน้ัน อาจเป็นไปได้ว่าการก่อกวมเจดีย์วัดเชียงม่ันครั้งหลังโดยพญาแสน
หลวง ในปี พ.ศ. 2114 ได้มกี ารจาลองรูปแบบมาจากพระเจดยี ์หลวงซึง่ เป็นเจดียท์ ่ีมคี วามสาคัญและมี
ขนาดใหญ่ที่สุดในล้านนามาเป็นต้นแบบให้วัดเชียงมั่น จึงทาให้ลักษณะส่วนยอดตั้งแต่ชั้นหลังคาลาด
ข้ึนไปของพระเจดียห์ ลวงและเจดยี ์วดั เชยี งมนั่ มลี ักษณะทใี่ กลเ้ คยี งกัน

ภาควิชาประวตั ศิ าสตร์ศิลปะ บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยศิลปากร

ลายมือชอ่ื นักศึกษา.......................................................................... ปีการศกึ ษา 2556

ลายมือชอื่ อาจารย์ท่ีปรึกษาการคน้ คว้าอสิ ระ ......................................................................................



54107313 : MAJOR : (ART HISTORY)
KEY WORD : PHRA CHEDI LUANG/ ONE SPIRE-TOPPED PASAT-TYPE CHEDI

SIWAPORN WONGDAENG : PHRA CHEDI LUANG IN CHIANG MAI : STYLE AND 3D
PICTORIAL ASSUMPTION. INDEPENDENT STUDY ADVISOR : PROF. DR. SAKCHAI SAISINGHA.
110 pp.

Todays, there are some projects have been proposed to reconstruct and

restore the upper section of Phra Chedi Laung, however, the main issue arises since

สำนกั หอสมุดกลางnobody knows the completed structure originally. The purpose of this research is to

study the style of Phra Chedi Luang at Chiang Mai by gathering documentary
evidence, artistic evidence, including stucco motif and comparing with others chedi.

The collecting data is used to create 3D pictorial assumption that presented the style

of Phra Chedi Luang completely. The result of study concludes as follow.

1. The architectural style of the Phra Chedi Luang is most probably built in

the reign of King Tilokaraj due to the examining style and motifs that appear in the

late of 20th century to early 21st century, is conformed with the evidence of

documents mentioned the upper section changed to one spire-topped in this reign.

2. The top of the Phra Chedi Luang that is destroyed still remained a three-

tiered sloping mould is placed in octagon plan to support bell-shaped form of chedi.

This assumes that the three-tiered sloping mould in octagon shape should be

restored in the reign of King Muang Kaew or in the middle of 21st century ago

because there was found both of bell-shaped chedi and one-spire-topped prasat-

type chedi that changed from a round shape to octagonal shape in this period. As

the proportion of Phra Chedi Luang should be restored before Wat Nong Chalin

chedi which was stretched the scales higher in the same period.

3. The comparison of the upper section of the Phra Chedi Luang to Chedi

Chiang Man that is the most similar. It is possible that the reconstructed of Chedi

Chiang Man by Phaya Sean Luang, is an exact replica of Phra Chedi Luang reflected

by the top of both chedi are similar to each other.

Department of Art History Graduate School, Silpakorn University

Student's signature .................................................................... Academic Year 2013

Independent Study Advisor's signature ...........................................................................

กติ ติกรรมประกาศ

การค้นคว้าอิสระฉบับนี้สาเร็จไปได้ด้วยดีได้ เพราะได้รับความอนุเคราะห์และความกรุณาจาก
อาจารย์และผู้เกย่ี วขอ้ งหลายฝา่ ย จึงไดก้ ราบขอบพระคุณมา ณ ทีน่ ้ี คอื

ศาสตราจารย์ ดร.ศักด์ิชัย สายสิงห์ อาจารย์ที่ปรึกษาในการค้นคว้าอิสระ คอยตรวจทาน
ปรับแก้ ให้ความช่วยเหลือ คาแนะนาที่เป็นประโยชน์ต่อผู้วิจัยอย่างย่ิง และยังช้ีแนะแนวทางในการศึกษา

สำนกั หอสมุดกลางมาปรับใช้กับเทคนิคทางด้านกราฟฟิค เพื่อนาเสนอรูปแบบสันนิษฐานให้น่าสนใจย่ิงขึ้น รวมท้ัง ผู้ช่วย

ศาสตราจารย์ ดร.เชษฐ์ ตงิ สญั ชลี ประธานกรรมการสอบการค้นคว้าอิสระที่ให้คาปรึกษา และคาแนะนาใน
ประเดน็ ใหมๆ่ ทนี่ ่าสนใจ สง่ ผลใหก้ ารค้นคว้าอิสระฉบับนี้ถูกต้องสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณ
อาจารย์ท้ังสองทา่ นเป็นอยา่ งสงู

ขอกราบขอบพระคุณศาสตราจารย์ ดร. สันติ เล็กสุขุม ผู้จุดประกายการนาเทคนิคทางด้าน 3d
กราฟฟิคมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการนาเสนอประวัตศิ ลิ ปะรปู แบบใหม่

ขอกราบขอบพระคุณคณาจารย์ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะทุกท่านท่ีได้ให้ความรู้ คาแนะนา
และประสบการณ์อันมีค่าแก่ผู้วิจัย ขอบพระคุณเจ้าของหนังสือ วารสาร เอกสาร และวิทยานิพนธ์ทุกเล่ม
และผใู้ หข้ ้อมลู ทกุ ท่านทีช่ ว่ ยใหก้ ารค้นควา้ อสิ ระมีความสมบูรณ์

ขอขอบคณุ คณุ ไกรสนิ อุน่ ใจจิตต์ หัวหน้ากลุ่มโบราณคดี และเจา้ หนา้ ท่ปี ระจาสานักโบราณคดีท่ี
8 จังหวัดเชียงใหม่ทุกท่าน ที่ให้คาแนะนาแนวทางการทางาน และอนุเคราะห์ข้อมูลเอกสารเพื่อใช้ใน
การศึกษาในครงั้ น้ี

ขอขอบคุณ พ่ีหลิน นางสาวสโรชิน บุตรน้าเพ็ชร ท่ีช่วยในการตรวจสอบและแปลภาษาอังกฤษ
ทาใหส้ มบรู ณ์มากยง่ิ ขึ้น

และท่ีสาคัญขอขอบคุณสมาชิกในครอบครัวทุกคน คุณพ่อ คุณแม่ น้องเบียร์ พ่ีบา ญาติๆ และ
เพ่ือนๆ ผอู้ ยเู่ บือ้ งหลังความสาเร็จทกุ อย่าง ให้การสนับสนุนและให้กาลังใจดว้ ยดีมาตลอดการศกึ ษา

ประโยชน์อันเกิดจากการค้นคว้าอิสระฉบับน้ี ผู้วิจัยขอน้อมบูชาแด่พระคุณบิดา มารดา ครู
อาจารย์ ทอี่ บรมสั่งสอน แนะนาแนวคิด และเปน็ แรงผลักดนั ใหอ้ ดทนและผ่านพ้นอุปสรรคต่างๆ จนสาเร็จ
การศึกษาในครงั้ นี้



สารบัญ

หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย................................................................................................................................ ง
บทคัดย่อภาษาองั กฤษ........................................................................................................................... จ
กิตตกิ รรมประกาศ................................................................................................................................. ฉ

สำนกั หอสมุดกลางสารบัญภาพ .......................................................................................................................................... ญ

บทท่ี
1 บทนา ......................................................................................................................................... 1

ความเปน็ มาและความสาคญั ของปญั หา............................................................................ 1
ความมุ่งหมายและวตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษา .................................................................. 2
สมมตฐิ านของการศึกษา ................................................................................................... 3
ขอบเขตการศกึ ษา............................................................................................................. 3
ข้ันตอนการศึกษา.............................................................................................................. 3
ผลทคี่ าดวา่ จะได้รบั ........................................................................................................... 4
2 ข้อมลู เบื้องตน้ ของพระเจดยี ห์ ลวง: หลกั ฐานทางโบราณคดี งานศิลปกรรมท่ีเกีย่ วข้อง
และการศึกษาทผ่ี ่านมาเกีย่ วกับพระเจดยี ์หลวง .......................................................................... 5
ท่ตี ั้ง .................................................................................................................................. 5
ประวัตคิ วามเป็นมาและปัญหาเก่ียวกับการสรา้ งพระเจดีย์หลวงจากหลกั ฐานเอกสาร
ด้านตานานและจารึก ........................................................................................................ 6

สรุปประวัตพิ ระเจดยี ห์ ลวงที่ปรากฏในเอกสาร ....................................................... 14
งานศิลปกรรมท่สี าคัญ โบราณสถานและส่งิ ก่อสร้างภายในวดั เจดยี ห์ ลวง.......................... 15

แผนผังของวัดเจดีย์หลวง ........................................................................................ 15
เจดยี ร์ าย................................................................................................................. 16
วิหารหลวง.............................................................................................................. 16
พระพทุ ธรปู สาคญั .................................................................................................. 17
ข้อมลู ทางโบราณคดีจากการขุดค้น-ขดุ แต่ง วัดเจดยี ห์ ลวง ................................................ 18
ข้อมลู จากการขดุ ค้น-ขุดแตง่ ................................................................................... 18

สว่ นฐาน ....................................................................................................... 18



บทท่ี หน้า
บันได............................................................................................................ 18
อุโมงคท์ างเข้า............................................................................................... 19
เรอื นธาตุ ...................................................................................................... 19
แท่นบูชา ...................................................................................................... 19

โบราณวตั ถุทไี่ ด้จากการขดุ ค้น- ขุดแต่ง วัดเจดีย์หลวง ............................................ 20

สำนกั หอสมุดกลางโบราณวตั ถุท่เี ปน็ สว่ นประกอบทางสถาปัตยกรรม ........................................ 20
อิฐ...................................................................................................... 20
ประตมิ ากรรมปนู ป้ัน .......................................................................... 21
เศษภาชนะดนิ เผา และโบราณวัตถทุ ่ีทาจากดินเผา....................................... 21
โบราณวัตถอุ ืน่ ๆ ที่ทาจากดินเผา .................................................................. 21
โบราณวัตถอุ นื่ ๆ............................................................................................ 21
การศึกษาท่ีผ่านมาและรปู แบบสนั นษิ ฐานของพระเจดยี ห์ ลวง จ.เชยี งใหม่........................ 22
การศึกษาทผ่ี ่านมาเกย่ี วกบั พระเจดยี ์หลวง ............................................................. 22
เอกสารประกอบการขุดคน้ ขุดแต่งและบูรณะโดยกรมศลิ ปากร ................... 22
เอกสารและบทความของนกั วิชาการท่านอนื่ ๆ ท่ีได้ศึกษาเก่ียวกับ
พระเจดีย์หลวง............................................................................................. 23
ศึกษารปู แบบสันนษิ ฐานทง้ั ภาพลายเสน้ ท่ีมผี ู้ศึกษาไวแ้ ลว้ ...................................... 29
สรุปแนวคิดทไี่ ดจ้ ากการศกึ ษาและวิเคราะห์รปู ทรงสันนิษฐานพระเจดยี ห์ ลวง........ 33
ส่วนฐาน บนั ไดนาค และอโุ มงคใ์ ตเ้ จดยี ์........................................................ 33
สว่ นเรือนธาตุและซมุ้ จระนา ......................................................................... 33
สว่ นยอดของพระเจดีย์หลวง......................................................................... 33
3 วิเคราะห์รูปแบบพระเจดยี ห์ ลวง และงานปนู ปนั้ ประดบั ตกแต่ง.................................................. 35
ศิลปกรรมที่มอี ิทธพิ ลและเป็นแรงบนั ดาลใจในศิลปะลา้ นนา............................................. 35
ศิลปะพุกาม ............................................................................................................ 35
ศลิ ปะสโุ ขทยั ........................................................................................................... 40
ศิลปะอยธุ ยา........................................................................................................... 41
วิเคราะหร์ ปู แบบของพระเจดีย์หลวง จังหวัดเชยี งใหม่ และงานปูนป้นั ประดบั ตกแต่ง ....... 42
ส่วนฐาน.................................................................................................................. 42



บทท่ี หน้า
ฐานเขียง ช้ันเขยี ง และชุดฐานบวั ควา่ -บวั หงาย ............................................ 42
ช้ันประทกั ษิณ และบันไดนาค ...................................................................... 46
อโุ มงค์ใต้ฐานเจดยี ์........................................................................................ 53

ส่วนเรอื นธาตุ.......................................................................................................... 60
เรอื นธาตุ ...................................................................................................... 60

สำนกั หอสมุดกลางซมุ้ จระนา..................................................................................................... 63

สว่ นยอด................................................................................................................. 67
ลวดลายปูนป้นั และงานประดับตกแตง่ .................................................................... 85

ตาแหน่งท่ีตกแต่งงานปูนป้นั ......................................................................... 87
เทคนคิ วิธีการทาปูนปั้นล้านนา ..................................................................... 87
วเิ คราะห์ลวดลายปนู ปน้ั ประดบั พระเจดยี ์หลวง............................................ 88
4 บทสรุปและรปู แบบสันนิษฐานภาพ 3 มิติ พระเจดยี ห์ ลวง.......................................................... 93
สว่ นฐาน............................................................................................................................ 93
เรือนธาตุ........................................................................................................................... 98
สว่ นยอด ........................................................................................................................... 99
ลายเสน้ และรปู แบบสันนิษฐานภาพ 3 มติ ิ ........................................................................ 101
รายการอา้ งองิ ....................................................................................................................................... 106
ประวตั ิผู้วจิ ยั .......................................................................................................................................... 110



สารบัญภาพ
ภาพที่ หนา้

1 รปู ถา่ ยเกา่ พระวิหารหลวง พระเจดีย์หลวง และเจดียร์ าย 2 องค์ วัดเจดยี ์หลวง จ.เชียงใหม่ . 14
2 แผนผังวัดเจดยี ห์ ลวง............................................................................................................. 15
3 เจดียร์ าย ............................................................................................................................... 16
4 พระวิหารหลวง ..................................................................................................................... 17

สำนกั หอสมุดกลาง5 พระอัฏฐารส และพระพุทธรูปปางตา่ งๆ ภายในพระวิหารหลวง วดั เจดยี ์หลวง ..................... 17

6 แผน่ ทองจงั โกสาหรับหุ้มองค์พระเจดยี ์หลวง ......................................................................... 21
7 ตะปูสารดิ สาหรบั ยึดทองจังโกกับองคเ์ จดีย์............................................................................ 21
8 แบบสันนิษฐานภาพลายเส้นพระเจดยี ์หลวงเปรยี บเทียบกับลายเส้นเจดีย์วดั เชียงมัน่ ............ 30
9 แบบสนั นษิ ฐานภาพลายเส้นพระเจดียห์ ลวง.......................................................................... 31
10 แบบสันนษิ ฐานภาพลายเสน้ และภาพ 3 มติ ิ พระเจดีย์หลวง จ.เชียงใหม่............................... 32
11 ส่วนฐานเจติยวิหารในศลิ ปะพุกามตอนปลาย ........................................................................ 36
12 ลายเสน้ แสดงเจติยวิหารแบบแกนกลาง-ครรภคฤหะ 4 ทิศ ตวั อย่างจากอนันทเจดยี ์............. 36
13 การเรยี งอิฐแบบแนวต้งั (True Arch) เจตยิ วหิ ารในศลิ ปะพมา่ ............................................. 37
14 ช้ันหลงั คาเป็นชุดฐานบัวซ้อนกัน 3 ชน้ั ศิลปะพุกามตอนปลาย............................................... 38
15 ชุดหลงั คาลาดซ้อนกนั 3 ชั้น ศลิ ปะพุกามตอนต้น.................................................................. 38
16 เจดยี ว์ ัดป่าสัก อ.เชียงแสน จ.เชยี งราย .................................................................................. 38
17 เจดียเ์ ชียงยนั วดั พระธาตุหริภญุ ชยั จ.ลาพูน ......................................................................... 38
18 เจดยี ก์ าธาปาถปู าจี เจดีย์กลุ่มอิทธิพลลงั กา สมยั พุกามตอนปลาย......................................... 39
19 เจดียว์ ัดอโุ มงคเ์ ถรจันทร์ จงั หวัดเชียงใหม่ ............................................................................. 40
20 เจดยี ว์ ัดชา้ งล้อม อ.ศรสี ัชนาลยั จ.สุโขทัย.............................................................................. 41
21 เจดีย์วัดแค(รา้ ง) จ.อยธุ ยา..................................................................................................... 41
22 ฐานเขียง ช้นั เขยี ง และชุดฐานบวั ควา่ -บวั หงาย..................................................................... 42
23 ทางเขา้ อโุ มงค์ข้างบันไดดา้ นทิศเหนือ.................................................................................... 42
24 ชอ่ งทอ้ งไม้ท่หี นา้ กระดานแนวก่ออฐิ รอบฐานพระเจดยี ์หลวง(ดา้ นทิศใต้)............................... 43
25 เจาะชอ่ งทอ้ งไมป้ ระดบั ฐานเจดีย์ วัดปา่ สัก อ.เชียงแสน จ.เชียงราย ...................................... 43
26 แนวกอ่ อิฐรอบฐานพระเจดีย์หลวง(ดา้ นทศิ เหนือ).................................................................. 44



ภาพท่ี หน้า
27 ร่องรอยปูนป้ันแนวกอ่ อฐิ รอบฐานพระเจดยี ์หลวง(ดา้ นทศิ ใต้)................................................ 45
28 รอ่ งรอยปูนป้นั ประดบั ส่วนฐานรองรบั บนั ไดนาคพระเจดียห์ ลวง(ด้านทศิ เหนือ)..................... 45
29 ชัน้ ประทกั ษิณพระเจดยี ห์ ลวงมีร่องรอยประดับชา้ งปนู ป้นั .................................................... 46
30 เจดียว์ ัดป่าแดงหลวง(รา้ ง) จ.เชยี งใหม่................................................................................... 47
31 ภาพลายเส้นเจดีย์วัดป่าแดงหลวง(ร้าง) จ.เชยี งใหม่............................................................... 47

สำนกั หอสมุดกลาง32 เจดียว์ ดั เชยี งมน่ั จ.เชยี งใหม่.................................................................................................. 48

33 ภาพลายเส้นเจดยี ว์ ดั เชียงม่ัน จ.เชยี งใหม่.............................................................................. 48
34 เจดยี ์วดั หวั หนอง(รา้ ง) เวยี งกุมกาม ....................................................................................... 48
35 ช้างปูนป้นั ครง่ึ ตวั ออกมาจากผนงั ประดบั รอบชนั้ ประทกั ษิณ วัดเจดีย์หลวง ......................... 49
36 ช่องกระจกทีห่ นา้ กระดานระเบยี งช้นั ประทักษิณ วัดเจดยี ์หลวง จ.เชียงใหม่.......................... 50
37 พระพุทธรูปปางมารวชิ ัยและลายเสน้ วัดเจดียห์ ลวง จ.เชยี งใหม่ ........................................... 50
38 ช่องทอ้ งไม้ท่หี น้ากระดานฐานบัวรองรับบันไดมกรคายนาค (ทิศตะวันออก).......................... 50
39 บันไดมกรคายนาคทิศตะวนั ออก พระเจดยี ห์ ลวง .................................................................. 51
40 พระเจดียห์ ลวง ด้านทิศเหนอื ปพี .ศ.2517 ............................................................................ 52
41 พระเจดียห์ ลวง ด้านทิศเหนอื (ปัจจบุ ัน) ................................................................................ 52
42 อโุ มงค์ใตฐ้ านพระเจดยี ์หลวง ................................................................................................. 53
43 แผนผังแสดงช่องทางเดินภายในอุโมงค์พระเจดยี ห์ ลวง.......................................................... 54
44 แผนผังแสดงชอ่ งทางเดนิ ภายในอุโมงค์พระเจดีย์หลวง ทางด้านทิศเหนือ.............................. 54
45 อนันทเจดยี ์(Nanpaya) เจติยวหิ ารสมยั พุกามมที างเดนิ ประทักษิณภายใน............................ 55
46 ทางเดนิ ภายในอโุ มงค์พระเจดีย์หลวง .................................................................................... 58
47 ทางเดินภายในอโุ มงค์พระเจดีย์หลวง .................................................................................... 58
48 ทางเดนิ ภายในอโุ มงค์วัดอโุ มงค์(สวนพุทธธรรม) จ.เชยี งใหม่.................................................. 59
49 ทางเดนิ ภายในอุโมงคม์ ณฑปวดั ศรีชมุ จ.สุโขทยั .................................................................... 60
50 มมุ บนมณฑปวดั ศรีชมุ จ.สุโขทัย............................................................................................ 60
51 เรือนธาตพุ ระเจดยี ์หลวง มซี ุม้ จระนาประดิษฐานพระพุทธรปู ทัง้ 4 ทศิ ................................. 61
52 เรอื นธาตุผังสี่เหลยี่ มเพิ่มมมุ มมุ ขนาดใหญท่ ้ังมมุ ประธานและมมุ ท่เี พิม่ เจดยี ว์ ดั สม้ จ.อยุธยา 61
53 เรือนธาตุผังสีเ่ หลี่ยมยกเก็จ เจดยี ์วัดปา่ สกั อ.เชยี งแสน จ.เชียงราย....................................... 61
54 ลายเสน้ แสดงผังเจดีย์แบบสี่เหล่ียมเพิม่ มุมและเจดยี ์ผงั สี่เหลี่ยมยกเก็จ.................................. 61



ภาพที่ หน้า
55 เรอื นธาตเุ จดยี ว์ ัดป่าตาล จ.เชียงใหม่..................................................................................... 62
56 เรือนธาตกุ ู่พระเจา้ ตโิ ลกราช วดั เจด็ ยอด จ.เชยี งใหม่............................................................. 62
57 แนวอิฐกอ่ ปิดทับบัวควา่ ฐานเจดียเ์ ดมิ บริเวณเพ่ิมมุม ซุ้มด้านทิศใต้ระเบียงชน้ั ประทักษิณ.... 62
58 ร่องรอยการก่ออฐิ เสริมบริเวณเรอื นธาตุด้านทศิ ตะวันตกและทิศใต้....................................... 63
59 ซมุ้ จระนาดา้ นทิศเหนือ พระเจดียห์ ลวง จ.เชียงใหม่.............................................................. 64

สำนกั หอสมุดกลาง60 ซมุ้ จระนาเจดีย์วดั ปา่ แดงหลวง(รา้ ง) จ.เชยี งใหม่ ................................................................... 64

61 ซ้มุ จระนาดา้ นตะวันออก พระเจดยี ์หลวง จ.เชยี งใหม่ กอ่ นการบูรณะ................................... 65
62 ซุ้มจระนาดา้ นทศิ ใต้ พระเจดีย์หลวง จ.เชยี งใหม่ ก่อนการบูรณะ.......................................... 65
63 ภายในซมุ้ จระนาด้านทิศตะวันตกภายหลังการขุดคน้ ............................................................ 66
64 ภายในซุม้ จระนาด้านทิศใตป้ รากฏร่องรอยการก่ออิฐผนงั เพอ่ื พยายามบรู ณะใหม่ ................. 66
65 ภายในซ้มุ จระนาด้านทศิ ใต้ภายหลงั การขดุ คน้ เรยี บรอ้ ยแลว้ ................................................. 66
66 ส่วนยอดพระเจดยี ์หลวง........................................................................................................ 68
67 ส่วนยอดเจติยะวหิ ารศลิ ปะพุกามตอนตน้ ประดบั สถปู ิกะและองคป์ ระกอบสามเหล่ียม ........ 69
68 หางวันและองค์ประกอบสามเหล่ียมบรเิ วณมุมของหลงั คาลาด พระเจดียห์ ลวง..................... 69
69 เจดียว์ ัดพระยืน จ.ลาพนู ....................................................................................................... 70
70 ส่วนยอดของเจดีย์วัดพระยนื จ.ลาพูน................................................................................... 70
71 สว่ นยอดพระเจดยี ์หลวง จ.เชยี งใหม่ ..................................................................................... 70
72 ส่วนยอดเจดยี ์วัดเชียงม่ัน จ.เชยี งใหม่.................................................................................... 70
73 เจดีย์มนิ กนุ (Mingun) ประเทศพมา่ ..................................................................................... 73
74 เจดีย์โป่งดอ่ พะยา เช่ือวา่ เปน็ แบบจาลองเจดยี ์มนิ กนุ ประเทศพมา่ ....................................... 73
75 เจดยี ์กุโถ่ด่อ (Kuthodaw) ประเทศพม่า ............................................................................... 73
76 เจดียช์ เวซิกอง (Shwezigon) ประเทศพม่า........................................................................... 73
77 เจดีย์วดั รม่ โพธิ์(ร้าง) จ.เชยี งใหม่............................................................................................ 75
78 ลายเสน้ เจดยี ์วดั ร่มโพธ์ิ(รา้ ง) จ.เชยี งใหม่ ............................................................................... 75
79 วดั พระธาตุหริภุญชัย จ.ลาพูน ............................................................................................... 75
80 เจดีย์วดั พระบวช อ.เชยี งแสน จ.เชยี งราย.............................................................................. 76
81 เจดีย์วดั กติ ติ(ร้าง) จ.เชียงใหม่ ............................................................................................... 76
82 เจดยี ว์ ัดปงสนุก อ.เชียงแสน จ.เชยี งราย................................................................................ 76



ภาพท่ี หนา้
83 เจดีย์วัดป่าแดงหลวง(รา้ ง) จ.เชียงใหม่................................................................................... 77
84 เจดียท์ รงระฆังสมัยสโุ ขทัย จ.สุโขทัย ..................................................................................... 77
85 อนิมสิ เจดีย์ วดั เจ็ดยอด จ.เชยี งใหม่....................................................................................... 77
86 กพู่ ระเจ้าตโิ ลกราช วัดเจ็ดยอด จ.เชยี งใหม่ ........................................................................... 78
87 ลายเสน้ กูพ่ ระเจ้าติโลกราช วัดเจ็ดยอด จ.เชียงใหม่............................................................... 78

สำนกั หอสมุดกลาง88 เจดีย์วดั อาทติ น้ แกว้ อ.เชยี งแสน จ.เชียงราย......................................................................... 79

89 เจดยี ์วัดเจดยี ห์ ลวง อ.เชยี งแสน จ.เชียงราย........................................................................... 80
90 เจดีย์วัดพระแก้ว สรรคบุรี จ.ชัยนาท..................................................................................... 81
91 เจดยี ว์ ดั จงกลม จ.อยธุ ยา....................................................................................................... 81
92 เจดยี ์มมุ ปรางค์ประธานวัดราชบูรณะ จ.อยธุ ยา..................................................................... 81
93 เจดียว์ ดั ดวงดี จ.เชียงใหม่...................................................................................................... 82
94 เจดีย์วดั พันแหวน จ.เชียงใหม่................................................................................................ 82
95 เจดีย์วัดเชษฐา(รา้ ง) จ.เชยี งใหม่ ............................................................................................ 82
96 เจดียว์ ดั หนองจลิน(วัดเจ็ดลิน) จ.เชียงใหม่............................................................................. 83
97 ส่วนยอดเจดีย์วัดหนองจลิน(วัดเจ็ดลนิ ) จ.เชียงใหม่............................................................... 83
98 เจดียว์ ัดป่เู ป้ีย จ.เชียงใหม่...................................................................................................... 84
99 สว่ นยอดเจดียว์ ดั ป่เู ปยี้ จ.เชียงใหม่........................................................................................ 84
100 ลวดลายปนู ปน้ั ประดบั เสารบั ซ้มุ ลด พระเจดยี ์หลวงด้านทิศเหนอื ......................................... 90
101 ลายดอกโบต๋ันตกแตง่ วหิ ารเจ็ดยอด....................................................................................... 90
102 ซุ้มจระนาด้านทิศเหนือ วัดเจดยี ห์ ลวง................................................................................... 91
103 ซมุ้ จระนารอบเจดีย์วดั ปา่ แดงหลวง....................................................................................... 91
104 กระบงั หนา้ เหนือเศยี รนาค ราวบันไดมกรคายนาค วัดเจดยี ์หลวง ......................................... 92
105 กระบงั หน้าเหนือเศียรนาคทซี่ ุ้มจระนา วดั ป่าสัก อ.เชียงแสน จ.เชยี งราย.............................. 92
106 ลายเส้นส่วนฐาน รูปแบบสันนิษฐานพระเจดยี ห์ ลวง.............................................................. 93
107 รปู แบบสนั นิษฐานพระเจดีย์หลวง สว่ นบันไดนาคและอโุ มงคท์ างเข้าภายในเจดยี ์ ................. 94
108 ภาพจาลองแผนผงั อุโมงค์ทางเดนิ ภายในพระเจดยี ์หลวง ....................................................... 95
109 ภาพจาลองแผนผังอุโมงค์ทางเดนิ ภายในพระเจดยี ห์ ลวง ....................................................... 96
110 รปู แบบสันนิษฐานส่วนเรือนธาตุ พระเจดยี ห์ ลวง................................................................... 97



ภาพที่ หนา้
111 รูปแบบสนั นษิ ฐานสว่ นเรอื นธาตุ พระเจดยี ์หลวง................................................................... 97
112 รปู แบบสนั นษิ ฐานส่วนยอด พระเจดยี ห์ ลวง.......................................................................... 98
113 ลายเส้นรูปแบบสันนษิ ฐานพระเจดยี ห์ ลวงแบบสมบูรณ์......................................................... 101
114 รูปแบบสันนษิ ฐานภาพ 3 มติ ิ พระเจดียห์ ลวง (ดา้ นขา้ ง)....................................................... 102
115 รูปแบบสันนษิ ฐานภาพ 3 มิติ พระเจดียห์ ลวง (ดา้ นบน)........................................................ 103

สำนกั หอสมุดกลาง116 รปู แบบสันนษิ ฐานภาพ 3 มติ ิ พระเจดีย์หลวง ....................................................................... 104

117 รูปแบบสนั นษิ ฐานภาพ 3 มติ ิ พระเจดียห์ ลวง ....................................................................... 105
118 รปู แบบสนั นิษฐานภาพ 3 มติ ิ พระเจดยี ์หลวง ....................................................................... 105



บทที่ 1
บทนำ

1. ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญของปญั หำ
วัดเจดีย์หลวงเดิมชื่อ วัดโชติอารามวิหาร จากหลักฐานเอกสารต่างๆ มีการกล่าวถึงการ

สร้างพระเจดีย์หลวงค่อนข้างสมบูรณ์ โดยกล่าวสอดคล้องกันว่า เริ่มต้นสร้างในรัชสมัยพระเจ้าแสน

สำนกั หอสมุดกลางเมอื งมา เพ่ือถวายเป็นพระราชกุศลอุทิศแด่พระราชบิดาของพระองค์ คือ พระเจ้ากือนา แต่การสร้าง

ไม่แล้วเสร็จในรัชกาลของพระองค์ พระนางเจ้าติโลกจุฑาราชเทวีพระมเหสีของพระเจ้าแสนเมืองมา
เปน็ ผู้สร้างต่อมาจนแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 1954 แรกสร้างเป็นพระเจดีย์องค์เล็กๆ มีจระนาประดิษฐาน
พระพุทธรูปทั้งสี่ด้าน ประดับประติมากรรมรูปราชสีห์ที่มุมเรือนธาตุ มีบันไดทางข้ึนสี่ด้าน ราวบันได
รปู พญานาค 5 เศยี ร1

ราวปี พ.ศ. 2021 พระเจ้าติโลกราชโปรดให้หมื่นด้ามพร้าคตขุดทารากฐานเจดีย์ใหม่ให้
มั่นคงกว่าเดิมพร้อมท้ังเปลี่ยนยอดให้มีกระพุ่มเป็นยอดเดียว รวมท้ังประดิษฐานพระแก้วมรกตท่ี
อัญเชญิ มาจากลาปางไว้ท่ีจระนาด้านทิศตะวันออกด้วย2 ต่อมาในรัชกาลพระเจ้ายอดเชียงราย ได้ปิด
ทองจระนาท้ังส่ี และในพ.ศ. 2054 สมัยพระเมืองแก้วได้หุ้มองค์เจดีย์ด้วยทองจังโก3 จากนั้นไม่มี
หลักฐานท่ีกล่าวถึงการบูรณะองค์เจดีย์หลวงอีก จนราว พ.ศ. 2088 ในรัชกาลพระนางจิรประภาเกิด
แผ่นดินไหวคร้ังใหญท่ าใหย้ อดเจดียห์ ลวงหักพังลง4

เจดีย์หลวงมีร่องรอยของการก่อสร้างทับซ้อนกันหลายสมัย ลักษณะโดยท่ัวไปทางด้าน
สถาปัตยกรรมในปัจจุบัน สันนิษฐานว่าส่วนใหญ่เป็นรูปแบบท่ีก่อสร้างใหม่ในสมัยพระเจ้าติโลกราช
สว่ นลา่ งเป็นฐานส่ีเหล่ียมจัตุรัสซ้อนกันสองช้ัน ถัดมาเป็นฐานบัวคว่า-บัวหงาย และฐานหน้ากระดาน
ค่อนข้างสูง ที่มุมย่อเก็จเป็นฐานรองรับเรือนธาตุมีลานประทักษิณรอบเรือนธาตุ ที่หน้ากระดาน
โดยรอบฐานชั้นนป้ี ระดับรูปชา้ งโผล่ออกมาคร่งึ ตัว ปจั จบุ นั ตวั ช้างหกั พงั ลงเกอื บหมดแลว้ ร่องรอยการ

1 สงวน โชติสุขรัตน,์ “ตานานวดั เจดียห์ ลวงเมอื งนพบรุ ีนครเชยี งใหม”่ ประชุมตำนำนล้ำนนำไทย
เล่ม 2, (กรงุ เทพ : โอเดยี นสโตร,์ 2515), 143-146.

2 พระรัตนเถระปญั ญา, รตท. แสง มนวทิ รู (แปล), ชนิ กำลมำลีปกรณ,์ พิมพค์ รงั้ ท่ี 3 (กรงุ เทพฯ :
กรมศลิ ปากร, 2515), 123-124.

3 สมหมาย เปรมจิตต์(บรรณาธกิ าร), ตำนำนเชยี งใหม่ปำงเดิม, (เชยี งใหม่ : สถาบันวิจัยสังคม
มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่, 2537), 30-33.

4 สงวน โชตสิ ขุ รัตน,์ ประชุมตำนำนล้ำนนำไทยเลม่ 2, (กรุงเทพ : โอเดยี นสโตร,์ 2515), 155-165.

1

2

ประดับช้างรอบฐานนับได้ 28 ตัว ส่วนเรือนธาตุสี่เหลี่ยมย่อเก็จ ท่ีตรงกลางทั้งสี่ด้านทาเป็นมุขย่ืน มี
ลวดลายปูนปั้นประดับที่ส่วนมุขและซุ้มจระนา เหนือเรือนธาตุข้ึนไปทาเป็นชั้นบัวคว่าหรือบัวถลา
ลดหลั่น 3 ช้ัน และยกเก็จตามลักษณะเรือนธาตุ เหนือช้ันบัวถลาเป็นฐานแปดเหลี่ยมซ้อนลดหล่ัน 3
ชั้น ซึ่งนา่ จะเปน็ ชน้ั รองรบั องคร์ ะฆงั ซง่ึ พงั ทลายไปหมดแล้ว

เจดีย์หลวงได้มีการขุดแต่งและบูรณะโดยกรมศิลปากรแล้วเสร็จเม่ือ พ.ศ. 2536 ซ่ึงถูก
วิพากษ์วิจารณ์กันอย่างกว้างขวางถึงความเหมาะสม ว่ามีความถูกต้องมากน้อยเพียงใด และผลจาก
การบรู ณะทาใหไ้ มส่ ามารถคน้ หาหลักฐานทีส่ ญู หายไปพรอ้ มกับการบูรณะได้อีก โดยเฉพาะส่วนยอดท่ี
พังทลายซ่ึงยังคงเป็นปัญหาและต้องตรวจสอบกันต่อไป โดยจากรูปแบบเจดีย์ที่เหลืออยู่ทาให้มีการ

สำนกั หอสมุดกลางสันนิษฐานว่าสว่ นยอดของเจดีย์น่าจะเป็นแบบเดียวกับวัดเชียงม่ัน5 ซึ่งมีแบบแผนรูปทรงเจดีย์รวมทั้ง

ประวัติการสร้างระยะเวลาท่ีใกล้เคียงกัน แต่ก็มีนักวิชาการบางท่านเสนอว่า เค้าโครงของส่วนยอด
เจดียห์ ลวงทเ่ี ปลี่ยนแปลงในสมัยพระเจ้าติโลกราชนั้น น่าจะเทียบได้กับเจดีย์บรรจุอัฐิของพระองค์ใน
วดั เจ็ดยอดท่ีพระเจ้ายอดเชียงรายสร้างข้ึนมากกว่า ซึ่งน่าจะเป็นแนวทางการวิวัฒนาการที่สอดคล้อง
กับเจดียท์ รงปราสาทราวต้นพทุ ธศตวรรษที่ 216

ในปัจจุบันมักมีโครงการเสนอให้มีการต่อยอดหรือบูรณะพระเจดีย์หลวงให้สมบูรณ์เต็ม
องค์ จึงมีคาถามเสมอว่า แท้จริงแล้วรูปแบบพระเจดีย์หลวงควรเป็นแบบใด แม้มีการศึกษาและทา
รูปแบบสันนิษฐานส่วนยอดท่ีพังทลายมาบ้างแล้ว แต่ก็ยังมีความสับสนในด้านข้อมูล หลักฐานที่มีอยู่
ซ่ึงบางส่วนมีความขัดแย้งกัน จึงเป็นประเด็นสาคัญของการศึกษาในครั้งนี้ ที่ต้องการจะตรวจสอบ
หลักฐานทางเอกสาร รูปแบบศิลปกรรม ลวดลายปูนป้ัน งานประดับตกแต่ง รวมถึงเทคนิค-วัสดุที่ใช้
ในการสร้างพระเจดีย์หลวง โดยศึกษาเปรียบเทียบกับเจดีย์ทรงปราสาทยอดท่ีสร้างร่วมสมัยกัน และ
นาข้อมูลท่ีได้มาจัดทาเป็นรูปทรงสันนิษฐานด้วยเทคนิคการสร้างภาพ 3 มิติ ซ่ึงเป็นการนาเสนออีก
แนวทางหน่ึง เพื่อให้เห็นถึงรูปแบบศิลปกรรมขององค์พระเจดีย์หลวงแบบสมบูรณ์ ซ่ึงอาจไม่
จาเปน็ ต้องตอ่ ยอดจรงิ

2. ควำมมุ่งหมำยและวัตถปุ ระสงค์ของกำรศกึ ษำ
1. ศึกษาที่มา รูปแบบศิลปกรรม องค์ประกอบต่างๆของเจดีย์หลวง และแนวคิดเชิงช่าง

ที่ปรากฏ

5 สรุ พล ดารหิ ์กลุ , “ความรทู้ ไี่ ด้จากการขดุ คน้ ศกึ ษาพระเจดยี ์หลวง เชียงใหมเ่ มือง” ศิลปำกร ปีท่ี
32 ฉบบั ท่ี 1 (มี.ค.- เม.ย. 2531), 49.

6 จริ ศักดิ์ เดชวงศ์ญา, พระเจดยี เ์ มืองเชียงใหม่, (เชยี งใหม่ : สานกั พมิ พว์ รรณรักษ,์ 2541), 105.

3

2. ศกึ ษาพัฒนาการของเจดีย์ทรงปราสาทยอดกระพุ่มเดียวของวัดเจดีย์หลวง และเจดีย์
ในพม่า ล้านนา ท่ีสร้างร่วมสมัยกนั ได้แก่ วดั เชียงม่ัน วัดโลกโมฬี กู่พระเจ้าติโลกราชวัดเจ็ดยอด เป็น
ตน้

3. ศึกษาและตรวจสอบข้อมูลเอกสาร รวมถึงรูปทรงสันนิษฐานท่ีมีผู้ศึกษาไว้แล้ว เพื่อ
นามาวิเคราะห์และจัดทาเป็นรปู ทรงสนั นษิ ฐาน 3 มติ ิ

3. สมมตฐิ ำนของกำรศึกษำ
1. เจดยี ท์ รงปราสาทยอดกระพมุ่ เดยี ว คงปรากฏข้ึนคร้ังแรกที่วัดเจดีย์หลวง จ.เชียงใหม่

สำนกั หอสมุดกลางโดยอาจพัฒนามาจากการนาเอาเจดีย์ทรงระฆังมาผสมผสานกับเจดีย์ทรงปราสาทห้ายอดที่มีมาก่อน

หน้า จนเกิดเป็นรูปแบบใหม่ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของเจดีย์ล้านนา ซ่ึงได้รับความนิยมเรื่อยมา
จนกระทั่งหมดยุคของอาณาจักรลา้ นนา

2. ส่วนยอดของพระเจดีย์หลวง น่าจะมีรูปแบบเดียวกันกับเจดีย์วัดเชียงม่ัน จ.เชียงใหม่
เน่อื งจากมอี งคป์ ระกอบส่วนต่างๆ ของเจดีย์ท่ีใกล้เคียงกัน แต่จากหลักฐานทางศิลปกรรม มีบางส่วน
ที่แตกตา่ งกนั ด้วย โดยวัดเจดีย์หลวงน่าจะเป็นต้นแบบ ส่วนวัดเชียงมั่นอาจจะสร้างตามแบบท่ีเกิดข้ึน
ในชว่ งหลัง คือ กลางหรือปลายพุทธศตวรรษที่ 21 ซง่ึ มีการลดทอนองค์ประกอบลงมาแลว้

4. ขอบเขตกำรศึกษำ
1. ศกึ ษารูปแบบศิลปะของพระเจดีย์หลวง เน้นวิเคราะห์องค์ประกอบเจดีย์ ลวดลายปูน

ปั้น และคติการสร้าง โดยตรวจสอบเปรียบเทียบกับเจดีย์ทรงปราสาทยอดเดียวท่ีสร้างร่วมสมัยกัน
รวมถงึ หลักฐานทางเอกสาร พงศาวดารและอ่ืนๆ

2. วิเคราะห์ข้อมูลและรูปแบบสันนิษฐานพระเจดีย์หลวงของนักวิชาการท่ีได้ศึกษา
มาแล้ว แลว้ นามาประกอบกับหลักฐานในการศึกษาของผู้ศึกษา

3. นาข้อมูลที่ได้มาจัดทารูปแบบสันนิษฐานเป็นภาพลายเส้น และภาพ 3 มิติ ของพระ
เจดีย์หลวง เพื่อเป็นการนาเสนอรูปแบบศิลปกรรมขององค์พระเจดีย์หลวงแบบสมบูรณ์ ซึ่งอาจไม่
จาเป็นตอ้ งต่อยอดจริง

5. ขน้ั ตอนของกำรศกึ ษำ
1. รวบรวมข้อมูลภาคเอกสาร ได้แก่ ข้อมูลทางด้านประวัติศาสตร์ โบราณคดี จาก

หนงั สือ บนั ทึก จารกึ พงศาวดาร จดหมายเหตุ ภาพถา่ ยเกา่ และเอกสารทีม่ ีผูศ้ ึกษาไวแ้ ล้ว
2. รวบรวมข้อมลู ภาคสนาม โดยการศกึ ษาเก็บข้อมลู จากสถานท่ีจริง

4

3. ศกึ ษาและวิเคราะห์เปรยี บเทียบขอ้ มูลทั้งหมดจากข้อมลู เอกสาร ข้อมูลภาคสนามและ
หลกั ฐานทางโบราณคดี

4. นาข้อมลู ทไ่ี ดจ้ ากการศึกษาวิจัยมาจดั ทารปู เล่มและรปู แบบสนั นิษฐาน 3 มิติ

6. ผลท่ีคำดว่ำจะไดร้ ับ
1. ทาให้ทราบถึงองค์ประกอบ รูปแบบศิลปะของเจดีย์หลวงซ่ึงมีการสร้างทับ และ

ปรับเปลี่ยน ต่อเติมรูปแบบในแต่ละสมัยต่างกันออกไป โดยเฉพาะการสร้างใหม่ในสมัยพระเจ้าติโลก
ราชน้ัน ทาให้เจดยี ห์ ลวงมีรปู แบบเปน็ เจดยี ท์ รงปราสาทยอดเดยี ว ซึ่งนบั เปน็ ตน้ แบบของเจดีย์รูปแบบ

สำนกั หอสมุดกลางนีแ้ ละไดร้ ับความนยิ มเรือ่ ยมา
2. การใช้ข้อมูลและหลักฐาน ตลอดจนแนวความคิดและข้อเสนอแนะจากงานวิจัยนี้ มา
นาเสนอเป็นรูปแบบสันนิษฐานภาพ 3 มิติ ซ่ึงเป็นการนาเสนอรูปแบบศิลปกรรมแนวทางใหม่ ให้ผู้ที่
สนใจสามารถมองเห็นภาพของพระเจดีย์หลวงในรูปแบบท่ีสมบูรณ์ได้ง่ายยิ่งขึ้น ซ่ึงอาจไม่จาเป็นต้อง
ตอ่ ยอดจรงิ

บทที่ 2
ขอ้ มูลเบือ้ งต้นของพระเจดยี ์หลวง : หลกั ฐานทางโบราณคดี
งานศิลปกรรมท่เี ก่ียวข้อง และการศกึ ษาที่ผา่ นมาเกีย่ วกับพระเจดยี ์หลวง

1. ทีต่ งั้
พระเจดีย์หลวงต้ังอยู่ภายในวัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ตาบลพระสิงห์ อาเภอเมือง จังหวัด

สำนกั หอสมุดกลางเชียงใหม่ นับเป็นพระอารามหลวงท่ีมีความสาคัญและมีขนาดใหญ่ท่ีสุดในภาคเหนือ โดยมีเน้ือท่ี

ท้ังหมด 32 ไร่ 1 งาน 27 ตารางวา1 วัดอยู่ในเขตเมอื งโบราณตาแหน่งกลางเชยี งใหม่
จากการศึกษาข้อมูลเอกสารพบว่า ในระยะเริ่มแรกเมืองเชียงใหม่คงมีความสาคัญและ

เป็นศูนย์กลางของอาณาจักรอยู่เพียงช่วงรัชสมัยพญามังรายเท่าน้ัน หลังจากพระองค์สวรรคตแล้ว
พญาไชยสงคราม พระราชโอรสได้ทรงย้ายราชธานีกลบั ไปยังเมืองเชียงราย และสถาปนาพระเจ้าแสน
ภูพระราชโอรสปกครองเมืองเชียงใหม่แทน ภายหลังได้ข้ึนครองเมืองเชียงใหม่พระเจ้าแสนภูได้ไป
สร้างเมืองข้ึนใหม่ท่ีเมืองในเชียงแสนในปี .ศ. 1871 และทรงมองราชสมบัติให้พระราชโอรส คือ พระ
เจา้ คาฟูครองเมืองเชยี งใหม่ แสดงให้เหน็ วา่ เมอื งเชียงแสนกลายเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนา
ในช่วงระยะเวลาน้ี2 ดังนั้นเมืองเชียงใหม่ในระยะแรกคงเป็นเมืองเล็กๆ ท่ีมีประชากรไม่มากนัก ทั้งนี้
เพราะศนู ย์กลางทางการเมือง เศรษฐกิจและศาสนาของอาณาจักร จะไปอยู่ที่เมืองเชียงแสนเป็นส่วน
ใหญ่ ขณะเดียวกันในเขตลุ่มน้าปิง เมืองหริภุญชัยก็ยังคงมีความสาคัญและเป็นศูนย์กลางของ
พระพทุ ธศาสนาอยูเ่ ชน่ เดมิ 3

นบั ตั้งแต่สมัยพระเจ้าผายูเป็นต้นมา เมืองเชียงใหม่ได้มีความสาคัญข้ึนอีกครั้ง เนื่องจาก
กษัตริย์ล้านนาได้เสด็จกลับมาประทับท่ีเมืองเชียงใหม่ และต้ังแต่นี้เป็นต้นไปเมืองเชียงใหม่ก็ได้เป็น
ราชธานีของอาณาจักรล้านนาอย่างแท้จริง โดยในช่วงต้นพุทธศตวรรษท่ี 20 ซึ่งตรงกับสมัยพระ
เจ้ากือนาได้มีเหตุการณ์สาคัญ คือ การเข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์โดยพระสุมนเถระ
จากเมอื งสุโขทัย ทาให้เมอื งเชียงใหม่มคี วามสาคัญในฐานะที่เป็นศนู ย์กลางของพระพุทธศาสนา

1 สมโภช 600 ปี พระธาตุเจดียห์ ลวง, (เชยี งใหม่ : ประชาสมั พนั ธ์ จงั หวัดเชยี งใหม่, 2538), 16.
2 ศกั ดิช์ ยั สายสิงห์, ศิลปะลา้ นนา, (กรงุ เทพฯ : มตชิ น, 2556), 11.
3 สุรพล ดาริห์กุล, เจดีย์ช้างล้อมกับประวัติศาสตร์บ้านเมืองและพระพุทธศาสนาลังกาวงศ์ใน
ประเทศไทย, (กรงุ เทพฯ : สานกั พมิ พ์แห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , 2554), 190.

5

6

ต่อมามีการเข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาอีกครั้งในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 20 ถึงต้น
พุทธศตวรรษท่ี 21 โดยเป็นพระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์แบบใหม่ คือ นิกายวัดป่าแดง และมีความ
เจริญสูงสุดในสมัยพระเจ้าติโลกราชจนถึงสมัยพระเจ้าเมืองแก้ว ซ่ึงนับเป็นยุคทองของอาณาจักร
ล้านนา โดยวัดวาอารามเนอื่ งในพระพทุ ธศาสนารวมถงึ รอ่ งรอยโบราณวัตถุและโบราณสถานที่ปรากฏ
อยู่ในเมืองเชียงใหม่ในปัจจุบันล้วนเกิดข้ึนในช่วงเวลานี้เป็นส่วนมาก4 รวมถึงการบูรณะพระเจดีย์
หลวงครั้งสาคญั ก็เกิดขนึ้ ในช่วงน้ีเชน่ กัน

2. ประวัติความเป็นมาและปัญหาเกี่ยวกับการสร้างพระเจดีย์หลวงจากหลักฐานเอกสารด้าน

สำนกั หอสมุดกลางตานานและจารึก
พระเจดียห์ ลวง ปรากฏชื่อเรียกในสมยั แรกวา่ “กู่หลวง” มีประวัติความเป็นมาปรากฏใน
เอกสารต่างๆ ค่อนข้างมาก สามารถศึกษาได้จากตานานของวัดและตานานเมืองเชียงใหม่ ทั้งในส่วน
เอกสารที่เป็นใบลานหรือพับสา โดยกล่าวสอดคล้องกันว่า พระเจดีย์หลวงเร่ิมต้นสร้างข้ึนในรัชสมัย
ของพระเจ้าแสนเมืองมา กษัตริย์องค์ท่ี 7 แห่งราชวงศ์มังราย (พ.ศ. 1928-1944)5 ตามตานานกล่าว
ว่า เมอื่ พระเจา้ กือนาสวรรคตแลว้ ได้ไปจุติเป็นรุกขเทวดาอยู่ยังไม้นิโครธต้นหน่ึงริมทางไปเมืองพุกาม
มีพ่อค้าเมืองเชียงใหม่หมู่หนึ่งไปค้าขายเมืองพุกามและกลับมาพักแรมอยู่ใต้ต้นนิโครธนั้น พระ
เจ้ากือนาซ่ึงเป็นรุกขเทวดาได้สาแดงตนให้ปรากฏ แล้วบอกกล่าวแก่พ่อค้าเหล่าน้ันให้มาบอกแก่พระ
เจ้าแสนเมืองมาผู้เป็นราชโอรสว่า ให้สร้างเจดีย์ไว้ท่ามกลางเวียงให้สูงใหญ่พอคนท่ีอยู่ไกล 2000 วา
สามารถมองเห็นได้แล้วอุทิศบุญกุศลเหล่าน้ีให้แก่พระเจ้ากือนา แล้วพระเจ้ากือนาจึงจะไปบังเกิดใน
เทวโลกได้ เมื่อพระเจ้าแสนเมืองมาทรงทราบจึงโปรดให้ก่อสร้างเจดีย์ไว้ท่ามกลางเวียง6 โดยสร้าง
ครอบทบั เจดีย์องคเ์ ล็กทมี่ ีอยมู่ าแต่เดิมชือ่ ว่า โชติอาราม7 การกอ่ สร้างยงั ไม่แลว้ เสรจ็ พระเจ้าแสนเมือง
มาเสดจ็ สวรรคต ดังขอ้ ความพรรณนาการกอ่ สร้างครง้ั แรกในตานานพนื้ เมืองเชียงใหม่วา่

“เจ้าแสนเมืองมาจ่ิงห้ือเผี้ยวท่ามกลางเวียง ภายใต้คุ้มแล้ว หื้อขุดรากเรือนหินธาร จึง
แปลงมหาโพธิ์ต้นหนึ่ง มีลาแล้วด้วยเงิน มีใบและยอดแล้วคา สูงค่าคิง(สูงเท่าองค์) เจ้าแสนเมืองมา
แล้วห้อื หลอ่ พระรปู พระเจา้ องค์หนง่ึ แล้วด้วยคา ตนหนึ่งแลว้ ด้วยเงิน ก็ไปไว้ในรากเจดีย์นั้น ก็เอาพุทธ
รูปสององค์หื้อน่งั เคา้ ไม้มหาโพธิน์ ั้นแลว้ กแ็ ตง่ เคร่ืองบูชาต้ังไว้ส่องหน้ามหาโพธ์ิกับพระพุทธรูปเจ้านั้น

4 เรือ่ งเดียวกนั , 191-192.
5 สงวน โชติสุขรัตน์, ตานานพ้ืนเมืองเชียงใหม่, (พระนคร : คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทาง
ประวัตศิ าสตร์ สานักนายกรัฐมนตร,ี 2514), 44.
6 เรอื่ งเดียวกนั , 44.
7 สงวน โชติสขุ รตั น์, ประชุมตานานลา้ นนาไทย,พิมพ์คร้งั ท่ี 2 (นนทบุรี : ศรีปญั ญา, 2556), 462.

7

แล ท้าวก็ห้ือก่อเจดีย์กวม บ่ทันแล้ว คอมพอเพียงชายคา แต่แรกก่อเจดีย์ได้ 10 ปี เจ้าเสวยเมืองได้
25 ปี อายุได้ 39 ปี สุรคต...”8

ส่วนเอกสาร ชินกาลมาลีปกรณ์ มีข้อความตอนหนึ่งกล่าวถึงการสร้างพระเจดีย์หลวงใน
สมยั พระเจา้ แสนเมืองมาเพยี งเลก็ น้อย ดังนี้

“พระเจ้าแสนเมืองมา พระชนมายุได้ 39 ปี ครองราชสมบัติในเมืองเชียงใหม่ได้ 16 ปี
พระองค์ทรงเร่ิมสร้างเจดีย์หลวงกลางเมืองเชียงใหม่ เม่ือเจดีย์หลวงยังไม่เสร็จ พระองค์ก็สวรรคต
พระราชนิ ผี เู้ ป็นอัครมเหสีของพระองค์ไดโ้ ปรดใหท้ ายอดพระธาตุเจดยี ์หลวงจนเสรจ็ ฯ”9

หลงั จากพระเจา้ แสนเมืองมาสวรรคต พระนางเจ้าติโลกจุฑาราชเทวี ผู้เป็นมเหสีของพระเจ้า

สำนกั หอสมุดกลางแสนเมืองมาและเป็นพระราชชนนีของพระเจ้าสามฝั่งแกน ได้สืบต่อเจตนารมณ์ของพระราชสวามี

โดยรับช่วงงานสร้างพระเจดีย์หลวงที่พระราชสวามีทรงทาค้างอยู่ ทรงรับเป็นแม่กองบัญชาการ
กอ่ สร้างด้วยพระองค์เอง ใช้เวลาในการก่อสร้างถึง 5 ปีจึงแล้วเสร็จ ต่อมาถึงเดือนสิบ วันเพ็ญข้ึน 15
ค่า พ.ศ. 1954 พระนางเจ้าติโลกจุฑาราชเทวีได้ทรงกระทาพิธีปกยอดเจดีย์ด้วยทองคาหนัก 8,902
เสีย้ วคา กับดวงแก้วรัตนมณีสามดวงประดับไวบ้ นยอดพระเจดยี ์นัน้ 10

ลักษณะของพระเจดียห์ ลวงในตอนที่พระนางเจ้าติโลกจุฑาราชเทวีก่อสร้างเสร็จน้ัน จาก
ฐานถึงยอดสูง 39 วา ประดับด้วยโขงประตทู ั้งสด่ี า้ น มพี ระพุทธรูปปนู ปนั้ ประทับน่ังโขงทั้งสี่ด้าน มีรูป
นาคปั้นเต็มตัวและหัวรวม 5 หัว รูปป้ันราชสีห์ 4 ตัว ต้ังอยู่ตรงส่ีแจ่ง (มุม) ท้ัง 4 มหาเจดีย์หลวงนั้น
ปรากฏแก่ตาคนทั้งหลายอันอยู่ท้ัง 4 ทิศ 8 ทิศ ที่ไกลและใกล้ 5 พันวา 6 พันวา ก็มองเห็นอย่าง
ชัดเจน11

ต่อมาในรัชกาลพระเจ้าติโลกราช (พ.ศ. 1985-2030) พระเจดีย์หลวงคงจะมีสภาพทรุด
โทรมพระองค์จึงโปรดให้หม่ืนด้ามพร้าคต(บางตานานเรียกว่า สิงหโคต) เป็นนายช่างใหญ่อานวยการ
กอ่ สรา้ งและปฏิสังขรณ์ โดยมีพระมหาสวามสี ทั ธัมกติ ิ เจ้าอาวาสองค์ท่ี 7 ของวัดโชติอาราม (วัดเจดีย์
หลวงในปัจจุบัน) เป็นกาลังสาคัญในการช่วยควบคุมดูแลและประสานงานก่อสร้าง โดยได้สร้างขยาย

8 สงวน โชติสุขรัตน์, ตานานพ้ืนเมืองเชียงใหม่, หน้า 44. ในหนังสือประชุมตานานลานนาไทยก็มี
เน้ือกล่าวถึงการก่อสร้างในสมัยพระเจ้าแสนเมืองมาท่ีสอดคล้องกัน อ่านเพิ่มเติมใน สงวน โชติสุขรัตน์, ประชุม
ตานานลา้ นนาไทย, พิมพค์ รั้งที่ 2, 462-463.

9 พระรัตนปัญญาเถระ (ร.ต.ท. แสง มนวิทูร แปล), ชินกาลมาลีปกรณ์, กรมศิลปากรจัดพิมพ์คร้ัง
แรก (พระนคร : หา้ งหนุ้ ส่วนจากัด ศวิ พร, 2501), 106.

10 สงวน โชติสขุ รตั น,์ ประชุมตานานล้านนาไทย, 463.
11 เรื่องเดียวกัน, 463.

8

เจดีย์ให้ใหญ่ขึ้นกว่าเดิม ใช้เวลาในการก่อสร้าง 3 ปี จึงแล้วเสร็จ ดังมีข้อความปรากฏอยู่ในเอกสาร
ตานานหลายฉบบั ทกี่ ลา่ วถึงการกอ่ สรา้ งพระเจดียห์ ลวงในรัชสมัยของพระเจ้าติโลกราชไว้ ดังน้ี

ตานานวัดเจดีย์หลวง ในหนังสือประชุมตานานลานนาไทย มีข้อความบรรยายรายละเอียด
เกีย่ วกับพระเจดีย์หลวงไว้วา่

“...จุลศักราชได้ 840 ตัว ในปีเปิกเสต เดือนเจียง แรม 8 ค่า เม็งวัน 5 ไทยเก่าเป้า ได้
นักขัตฤกษ์กฎตัวถ้วน 12 ช่ือว่า อุตตระผละ คุณณาทิ ยามแถลจักใกล้เที่ยง คาเป็นมหุตตะดีนักแล
พระเจ้าติโลกราชตนนั้นได้ค้าชูเลิกยกยอศาสนาห้ืออามาตย์ผู้ชื่อว่า สิงหโคต ก็แรกก่อในวันดียามวัน
น้ันแล... พระยาก็ห้ือก่อขึ้นไปเถิงยอดอันนานประมาณ 3 ปีก็มีแล พระยาก็ห้ือแก้ว 3 ลูก สุบกันเป็น

สำนกั หอสมุดกลางยอดเจติยะก็หื้อทาสะตายแล้วห้ืออาบปูน แลดินก่ีแข็งหื้อแล้วชุอัน ถัดน้ัน พระยาก็หื้อเอาคาแท่งตน

ออกมากกว่าหม่ืน ตีจงั โกคาพอกมหาเจตยิ ะแตย่ อดลงได้ 27 วา ชุด้านแลตีนธรณีข้ึนเถิงยอดสูงได้ 50
วา ด้วยอุเพถะแลมหาเจติยะนั้นสูง รุ่งเรืองงามนักก็ปรากฏแก่คนทั้งหลาย อันอยู่ท่ีไกลประมาณ 6
พันวา 7 พันวา เป็นท่ีจาหงายหมายเมืองพิงเชียงใหม่ปรากฏแก่ตาคนท้ังหลายอันอยู่แต่ทิศานุทิศะ
ทัง้ หลายชแุ ห่งก็ตงั้ อยดู่ งู ามมากนกั แล แตธ่ รณีขน้ึ เถงิ ตนี เสาขอมเปน็ รูปอันใหญ่ แต่ช้างค้ามี 28 ตัวนั้น
เปน็ รปู อนั ใหม่แควนกว้างกวา่ เกา่ ข้ันบันไดลง 4 ด้าน มีรูปนาค 8 ตัว มหี ัวแล 5 ก็ตัง้ อยดู่ ้วยรูปเป็นด่ัง
เมือ่ กอ่ นนัน้ แล แต่ตีนเสาขอมขึ้นเถิงหลังชายมุงนั้น เป็นรูปเค้า แต่หลังชายมุงข้ึนเถิงยอดหากเป็นรูป
อนั ใหม่ตามด่ังเทวดาหากเอารูปเจติยะปรากฏหอื้ พระยาดว้ ยนมิ ิตฝนั แล...”12

ในชินกาลมาลีปกรณ์ ปรากฏข้อความกล่าวพรรณนาการก่อสร้างและลักษณะของพระ
เจดีย์หลวงคร้ังน้นั ว่า

“ในปจี อ จลุ ศกั ราช 840 พระเจา้ พลิ กราชาธิราช โปรดใหส้ ีหโคตเสนาบดกี อ่ เสริมราชกูฎ
องค์เกา่ ครั้งพระเจ้าแสนเมืองมาทรงสรา้ งไว้ ราชกูฎท่ีกอ่ เสริมใหม่นน้ั ทั้งใหญ่ท้ังสูงกว่าองค์เก่า จริงอยู่
ราชกฎู ใหมน่ ้ันฐานกวา้ งดา้ นละ 35 วา สงู 45 วา มีระเบยี บกระพมุ่ ยอดเป็นอันเดยี ว น่าเล่ือมใสยิ่งนัก
เปน็ จดุ เด่นแหง่ ราชธานีเชียงใหม่งามเพียงดังพระธาตุจุฬามณีเจดีย์ในสวรรค์อันเป็นอยู่ของท้าววาสพ
พระบรมสารีริกธาตุที่มหาธัมมคัมภีรเถร นามาจากลังกาทวีปเพ่ือนมัสการกราบไหว้นั้น เวลานั้นสีห
โคตเสนาบดไี ดบ้ ชู าสบื ตอ่ กันมา สหี โคตเสนาบดจี ึงบรรจพุ ระบรมสารีริกธาตุน้ันไว้ในราชกูฎนั้น ต้ังแต่
เร่ิมกอ่ เสริมราชกูฎจนกระทั่งเสรจ็ เกดิ อศั จรรย์หลายอย่างหลายประการด้วยเดชานุภาพแห่งพระบรม
สารรี กิ ธาตพุ นื้ แผ่นดินใหญไ่ หวอยบู่ ่อยๆ เม่ือราชกูฎสร้างเสร็จแล้ว พระเจ้าพิลกราชาธิราชได้อัญเชิญ

12 ในตานานกล่าวถึงรูปเจติยะท่ีปรากฏในนิมิตของพระเจ้าติโลกราชว่า คืนหนึ่งพระเจ้าติโลกราช
นมิ ิตถงึ เทวดาองคห์ น่ึง (เชอ่ื ว่า คอื พระเจา้ กอื นา) นาเอารูปเจดยี ์องคห์ นง่ึ มาใหด้ ู แลว้ กล่าวว่า “มหาราชเจ้าจุ่งเล็งดู
เทอะ รูปเจติยะหลังนี้ตรองถี่แท้เทอะ เจติยะอันมหาราชเจ้าจักห้ือก่อใหม่นั้น จุ่งหื้อเหมือนดังรูปเจติยะอันนี้...”
จากน้นั พระเจ้าติโลกราชจึงวาดเจดีย์ท่ีท่านทรงเห็นในนิมิต ให้หม่ืนด้ามพร้าคตดูเพ่ือนาไปเป็นแบบในการก่อสร้าง
พระเจดีย์หลวง อา่ นเพม่ิ เติมใน สงวน โชตสิ ุขรตั น์, ประชุมตานานล้านนาไทย,พมิ พ์ครั้งที่ 2, 468-469.

9

พระรัตนปฏมิ า ซงึ่ มีฤทธเิ ดชหาประมาณมไิ ดม้ าแต่นครเขลางค์ประดิษฐานไวท้ รี่ าชกฎู ในนครเชียงใหม่
เมอื่ ปีฉลู จลุ ศกั ราช 843”13

พงศาวดารโยนก มีข้อความทค่ี อ่ นขา้ งจะใกลเ้ คยี งกบั ทปี่ รากฏในชนิ กาลมาลีปกรณ์ คือ
“ถัดนั้นพระมหาราชเจ้าตรัสใช้ให้หมื่นด้ามพร้าคต ออกไปถ่ายอย่างโลหะปราสาทและ
รัตนมาลีเจดีย์ ณ เมืองลักกาทวีปโพ้นมา แล้วให้หม่ืนด้ามพร้าคต เป็นผู้อานวยการปฏิสังขรณ์กุฏิ
มหาธาตหุ รือเจดีย์ลักษณะบุราคม คือ เจดีย์หลวงในกลางเวียงเมืองเชียงใหม่ ซ่ึงพระเจ้าแสนเมืองมา
ไดส้ รา้ งไวต้ ามคาสง่ั ของทา้ วกือนาเมื่อเป็นเทพารักษ์น้ัน การปฏิสังขรณ์น้ีได้เริ่มกระทาในปีจอ เอกศก
จุลศักราช 841 ก่อเสริมฐานกว้างเป็น 35 วา สูง 45 วา ครั้งเสร็จแล้วบรรจุพระบรมธาตุซึ่งพระมหา

สำนกั หอสมุดกลางคัมภีรเถร นามาจากลังกาทวปี ไว้ในมหาสถูปน้ี”14
ส่วนตานานเชียงใหม่ปางเดิม มีใจความตอนหนึ่งบรรยายลักษณะของพระเจดีย์หลวงไว้
อย่างละเอียด มเี นื้อหาดงั น้ี

“...พญาตโิ ลกราชเจ้าก็หอื้ หม่ืนดา้ พร้าคตแปงปราสาทหลัง 1 ไว้ทัดท่ามกลางมหาเจติยะ
หลวงนั้นแล้ว ก็ก่อแปงข้ันไดไปแล้ว หมื่นด้าพร้าคตก็มาแต่งแปงก่อพระยาช้างทั้ง 8 ตัวไว้ตุ้มตีน
ปราสาทหลังนั้นแล้ว ก็สวาดธิยายมนต์ท้ังหลายใส่แล้ว ก็ใส่ยันต์ศาสตร์เพทท้ังหลายในหัวช้างทั้ง 8
ตัวนั้น ใส่เบื้องวันออกชุตัวแล แล้วก็มาแต่งแปงยังหุ่นขี่ช้างน้ันแล ตัวช้างไหน 3 คน หื้อหุ่นนุ่งเคร่ือง
เสิกชุคน แต่งห้ือพร้อมแล้วก็ประดับพระยาช้างท้ัง 8 ตัวน้ีมีช่ือปรากฏดังน้ี ตัวเค้าช่ือว่าเมฆบังวันแล
ตวั ถ้วน 2 ชอ่ื ว่าข่มพลแสน ตวั ถ้วน 3 ชือ่ ว่าดาบแสนด้า ตวั ถว้ น 4 ช่อื วา่ หอกแสนคัน ตวั ถว้ น 5 ชื่อว่า
ก้องแสนแหล้ง ตัวถ้วน 6 ช่ือว่าหน้าไม้แสนเปียง ตัวถ้วน 7 ช่ือว่าแสนเข่ือนค้าน ตัวถ้วน 8 ชื่อว่าไฟ
แสนเตาแล หมน่ื ดา้ พร้าคตก็ก่อสร้างแปงปราสาทขึ้นตราบเถิงยอดแล ...หม่ืนด้ามพร้าคตก็ก่อขึ้นเป็น
อโุ มงค์ กวมปราสาทนนั้ ไว้แลว้ ก็แปงประตูโขงท้ัง 4 ด้าน ก็แปงบันไดทั้ง 4 ด้าน แล้วก็แปงรูถ้าเข้าไป
แลว้ กก็ ่อข้นึ ไปตราบเถิงยอดแล มหาเจตยิ ะหลวงหลังน้ีประดับไปด้วยโขงประตูหับไขทั้ง 4 ด้าน และ
มีพุทธรูปพระเจ้าทั้งสี่องค์ อันแล้วด้วยสะตายน่ังอยู่ในโขงประตูท้ัง 4 ด้านนั้นแล มหาเจติยะหลวงนี้
ประกอบไปด้วยบันไดขึ้นท้ัง 4 ด้านนั้นแล ด้านไหนมีรูปนาค 2 ตัวและตัวไหนมี 5 หัว แล้วก็แต่งแปง
ยังรูปท้ังหลายคือว่า รูปเทวดาถือดอกบัวไหว้ ทั้งรูปราชสีห์ สิงห์ มอม มังกรและลวงแอ่นฟ้า หอระ
มาน (หนุมาน) ขึ้นตุ้มตีนชาย (คา) หลังมุงแล ถ้วยคว่าถ้วยหงายหลังชายชุแห่งน้ันแล ริสนาด้วยลาย
ดอกสนิด มีเครือสอดดั้น รูปนกแอมซอนตลอดขึ้นเถิงยอดชะและมหาเจติยะหลวงเจ้าหลังนี้ ปรากฏ
แกค่ นท้ังหลายอันอย่ทู ่ีใกล้และท่ไี กลประมาณ 6000 วา ก็เลง็ เหน็ อยู่น้ัน ก็ตั้งอยู่ท่ามกลางเมืองนพบุรี

13 พระรตั นปัญญาเถระ (ร.ต.ท. แสง มนวทิ ูร แปล), ชนิ กาลมาลีปกรณ์, 114.
14 กรมศิลปากร, พงศาวดารโยนก, สานักพิมพ์ศิลปาบรรณาคาร (พระนคร : โรงพิมพ์รุ่งเรืองรัตน์,
2504), 370-371.

10

มหานครราชธานีล้านนาเชียงใหม่ที่น้ันดูงามองอาจย่ิงนักแลนา ในรูถ้าน้ันเข้าไปไกลประมาณ 70 วา
มีหนั้ 2 รู และรหู นึ่งแลไปหาพระยาชา้ ง 8 ตวั ตุ้มปราสาทนัน้ แล รูหนง่ึ ขึ้นไปหาหลังชายมุงภายบนพุ้น
แล ในรูถ้านั้นเข้าไปไกลประมาณ 70 วา มีรูถ้าไคว่พันห้ันแล พระยาอินทาธิราชเจ้าฟ้าใส่ยนตร์ผัด
และยนตรฟ์ ันไวน้ นั้ แลอย่าเข้าไปใกลเ้ นอ...”15

ตอ่ มาในรชั กาลของพระเจ้ายอดเชียงราย ซงึ่ ครองราชยอ์ ย่ใู นนครเชียงใหม่ได้ 9 ปี ได้ปิด
ทองภายในซุ้มจระนาของพระเจดีย์หลวงท้ัง 4 ด้าน มีรายละเอียดกล่าวในประชุมตานานล้านนาไทย
ดังน้ี

“ภายลุนแต่น้ัน ท้าวยอดเชียงรายได้เป็นพระยาแล้วก็พอกคาในโขงเจติยะทั้ง 4 ด้าน ก็

สำนกั หอสมุดกลางแต่งคน 15 คนไว้หื้อออกส่วยน้ามันประมาณ 3 หม่ืนน้ามากู่ปี เพ่ือตามประทีสปูชาพระมหาเจติยะ

เจา้ แล พระยาองค์น้นั เสวยเมอื งได้ 9 ปีแล้วกเ็ วนเมอื งหื้อแกล่ ูกแหง่ ตนชื่อว่า ทา้ วแกว้ ตาหลวง...”16
ต่อมาในรัชสมัยของพระเจ้าเมืองแก้วได้บูรณะปิดทองจังโกองค์พระเจดีย์หลวง สร้าง

ปราสาทสาหรับประดิษฐานพระแก้วมรกต และสร้างมหาวิหารหลวง ดังรายละเอียดในตานานวัด
เจดียห์ ลวง ดงั น้ี

“...เสวยเมืองได้ 8 ปี ท้าวก็หื้อปราสาทอันประจิตรริสนาด้วยเครือดอกเครือวัลย์ แล้วก็
พอกคาคือว่าติดคาปลิวตามคาคนเราบัดนี้แล แลจ่ายเงินประมาณว่าได้ห้าแสนเงิน แล้วก็นิมนต์พระ
เจ้าแก้วบัวระกตแต่โขงมหาเจติยะมาสถิตสาราญยังปราสาทคาท่ามกลางวิหารหลวงในปีเต่าเสต
ศักราชได้ 865 ตวั (พ.ศ. 2046)... พระยาก็หื้อลาดผ้ามหาเจติยะเจ้าตั้งแต่ยอดเถิงตีนธรณี ด้วยผ้าจัน
ผา้ ใตเ้ ทศลาดปไู ว้ 3 วัน แลว้ เลกิ ลงดายๆ แลทีได้เงิน 2800 เงนิ ก็หื้อเป็นค่าทองจังโกพอกมหาเจติยะ
เล่าแล ภายหน้าแต่นั้นพระยาก็เอาเงินออกประมาณแสนเงินหน่ึง คือหื้อแก่อามาตย์ผู้ชื่อทสะทะถะ
หอ้ื สรา้ งมหาวิหารแควนใหญ่กวา่ มหาวหิ ารหลังเกา่ แล ถัดน้ันพระยาก็ห้ือเอาคาออก 4500 ห้ือแก่ช่าง
คาตีหื้อเป็นแผ่นแล้วริสนาเป็นผ้าจีวรแลผ้าสังฆาฏิแก่พระแก้วบัวระกต แล้วก็เอาคาออก 3800 ห้ือตี
พอกปราสาทพระแกว้ บัวระกต แล้วหอื้ พอกจังโกมหาเจติยะแล...”17

ในชินกาลมาลีปกรณ์ ปรากฏข้อความตอนหนึ่งกล่าวถึงพระเจดีย์หลวงในสมัยพระเมือง
แกว้ ตา่ งออกไป ว่า

15 อา่ นคาแปลและรายละเอยี ดเพ่มิ เติมได้ใน ลมูล จนั ทนห์ อม (บรรณาธิการ), ตานานเชียงใหม่ปาง
เดิม, ผลงานปริวรรตของนักศึกษาที่เรียนอักษรล้านนา รุ่นที่ 2 พ.ศ. 2546, (เชียงใหม่ : สานักศิลปวัฒนธรรม
สถาบันราชภัฏเชียงใหม่, 2547), 38.

16 สงวน โชติสขุ รตั น,์ ประชมุ ตานานลา้ นนาไทย, พิมพ์คร้ังท่ี 2, 471.
17 เรอ่ื งเดียวกนั , 471-472.

11

“ณ วันศุกร์ ข้ึน 10 ค่า เดือน 4 จุลศักราช 883 (พ.ศ. 2064) พระราชาสั่งตรัสให้ขุด
รากฐานเจดยี ห์ ลวง ในวดั พระเจา้ แสนเมอื งมา คร้นั แลว้ โปรดกอ่ ตั้งแต่ฐานขึ้นไป เมื่อวันอาทิตย์ข้ึน 10
ค่า เดอื น 5 องคเ์ จดีย์น้นั กวา้ งด้านละ 8 วา 2 ศอก สงู 14 วา 2 ศอก...”18

จากการศึกษาข้อมูลประวัติความเป็นมา และตานานพระเจดีย์หลวงข้างต้น พบว่าแม้
พระเจดีย์หลวงจะมีหลักฐานบันทึกเก่ียวกับประวัติการสร้างและการบูรณะปรากฏในเอกสาร
ค่อนข้างมาก แต่เอกสารบางฉบับก็มีรายละเอียดที่ไม่ตรงกัน โดยสุรพล ดาริห์กุล19 ได้ทาการศึกษา
และตรวจสอบเอกสารเก่ียวกับประวัติความเป็นมาของพระเจดีย์หลวง เมืองเชียงใหม่ ได้วิเคราะห์ถึง
ประเด็นนี้ว่า ปัญหาท่ีเกิดขึ้นอาจเกิดจากการแปลความจากภาษาบาลีเป็นภาษาไทย แล้วตีความ

สำนกั หอสมุดกลางผิดพลาดของผู้แปล จึงทาให้มีเรื่องราวท่ีเกี่ยวข้องกับพระเจดีย์หลวงปรากฏอยู่หลายตอน แต่มี

รายละเอียดท่ขี ัดแยง้ กันเอง โดยไดย้ กตวั อยา่ งขอ้ ความบางตอนมาตรวจสอบ ดังน้ี
“...ถึงปเี ถาะ มหาสามีเมธังกร ได้รับการอุปถัมภ์บารุงจากพระเจ้าศิริธรรมจักรพรรดิ ให้

ขุดรอบๆ พระธาตุเจดีย์องค์เก่า กว้างประมาณ 10 ศอก ลึกแค่ศีรษะคนเพื่อทารากฐานเจดีย์ก่อให้
เปน็ วตั ถุม่นั คงยงิ่ ขึน้ แล้วใหเ้ อาแผ่นหินศิลาอันเป็นมงคลปิดทองคาเปลวด้วยตนเอง แล้ววางเป็นศิลา
ฤกษ์ในสถานที่ซ่ึงทาพลีกรรมเป็นมงคลในทิศบูรพา... เริ่มก่อตั้งแต่เดือน 3 เสร็จเรียบร้อยในเดือน 6
เวลาก่อได้เกิดเหตุอัศจรรย์เป็นอันมาก พระธาตุเจดีย์หลวงเมื่อสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้วมีระเบียบ
กระพุ่มยอดเป็นอันเดียว ฐานกว้างยาวด้านละ 52 ศอก สูง 92 ศอก ครั้นแล้วจึงทาแท่นวางดอกไม้
แต่ละด้านยาวประมาณ 57 ศอก สูง 2 ศอกกว่าๆ แล้วให้ก่อกาแพงศิลาแลงท้ัง 4 ด้าน เพื่อจะรักษา
องค์พระธาตุไว้ ยาว 228 ศอก กว้าง 150 ศอก... ต่อจากน้ันโปรดให้หุ้มองค์พระเจดีย์หลวงด้วยแผ่น
ทองแดงอนั อาบด้วยน้าตะโกทองตั้งแต่ยอดถงึ ตนี ฐานธรณี แลว้ ให้ปดิ ทองคาเปลวอกี ชัน้ หนงึ่ ”20

สุรพล ได้วิเคราะห์ว่า ข้อความข้างต้นที่กล่าวถึงพระเจดีย์หลวงนั้นขัดแย้งกับข้อความท่ี
อยู่ตอนถัดไปในหนังสือเล่มเดียวกัน ท่ีกล่าวถึงการสร้างพระเจดีย์หลวงที่จะเรียกว่า ราชกูฏ ซ่ึงพระ
เจ้าติโลกราชโปรดให้สีหโคตเสนาบดีก่อเสริมราชกูฏให้ท้ังใหญ่ท้ังสูงกว่าองค์เก่า จะเห็นว่าแม้จะมี
เร่อื งราวท่รี ะบุถึงการสรา้ งพระเจดียห์ ลวงแหง่ เดยี วกัน ในช่วงรัชกาลของพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน
แต่กลับมคี วามแตกต่างในรายละเอียดของผ้เู กย่ี วข้องในการสร้าง เวลา และขนาดของเจดีย์ ซ่ึงเมื่อได้
ตรวจสอบข้อความน้ีกับเอกสารฉบับอ่ืนๆ แล้ว พบว่ารายละเอียดของพระเจดีย์หลวงในส่วนหลังที่
พระเจ้าติโลกราชโปรดให้สีหโคตเสนาบดีก่อเสริมราชกูฏ จะตรงกับท่ีปรากฏในตานานวัดเจดีย์หลวง

18 พระรตั นปญั ญาเถระ (ร.ต.ท. แสง มนวิทรู แปล), ชนิ กาลมาลีปกรณ์, 143.
19 สุรพล ดาริห์กุล, “ปัญหาและความรู้ใหม่ที่เก่ียวกับโบราณสถานพระเจดีย์หลวงเมืองเชียงใหม่”
สมโภช 600 ปี พระธาตเุ จดยี ห์ ลวง, (เชยี งใหม่ : ประชาสมั พันธ์ จงั หวัดเชียงใหม่, 2538), 165-168.
20 พระรัตนปัญญาเถระ (ร.ต.ท. แสง มนวทิ รู แปล), ชนิ กาลมาลปี กรณ์, 111.

12

และพงศาวดารโยนก แต่ขณะทขี่ อ้ ความทีก่ ล่าวถงึ พระมหาสามีเมธังกร ได้รับการอุปถัมภ์จากพระเจ้า
ติโลกราชใหส้ รา้ งพระเจดยี ์หลวงน้นั จะมีรายละเอียดของเวลาและขนาดของเจดีย์ตรงกับท่ีปรากฏใน
พงศาวดารโยนก ดงั น้ี

“จุลศักราช 809 (พ.ศ. 1990) ปีเถาะนพศก เจ้าสามฝ่ังแกนพระชนกนาถพิราลัย พระ
เจ้าติโลกราชจดั การปลงพระศพ ณ ปา่ แดงหลวง แล้วสถาปนาพระสถูปบรรจุอัฐิธาตุไว้ ณ สถานที่นั้น
สถูปสูง 92 ศอก กว้างยาว 52 ศอก บุด้วยแผ่นทองแดงปิดทองทั้งองค์ สาเร็จในปีเถาะนพศกน้ัน”21

จากตัวอย่างข้างต้น สุรพล เช่ือว่าเรื่องราวที่ปรากฏในชินกาลมาลีปกรณ์ที่กล่าวถึง พระ
มหาสามีเมธังกรได้รับการอุปถัมภ์บารุงจากพระเจ้าสิริธรรมจักรพรรดิ ให้ก่อสร้างพระเจดีย์หลวงจน

สำนกั หอสมุดกลางเสร็จสิ้น ควรจะหมายถึงพระมหาเจดีย์วัดป่าแดงหลวง ซ่ึงเรื่องราวเหล่าน้ีดูจะสอดคล้องกับประวัติ

ของพระมหาสามีเมธังกรท่ีนาพระพุทธศาสนาลังกาวงศ์สายใหม่ หรือสายสิงหลเข้ามาเผยแพร่ใน
เชียงใหม่ และได้รับการอุปถัมภ์บารุงจากพระเจ้าติโลกราชเป็นอย่างมาก และพานักท่ีวัดป่าแดงมหา
วิหาร22

นอกจากน้ียังมีข้อความอีกตอนหนึ่งในชินกาลมาลีปกรณ์ ซึ่งตรงกับรัชกาลพระเจ้าเมือง
แกว้ ที่มีขอ้ ความท่ีสับสนเกย่ี วกบั พระเจดีย์หลวง ดงั น้ี

“ในวันเพ็ญ เดือนย่ีปีเดียวกันนั้น (พ.ศ. 2055) พระราชาพร้อมด้วยราษฎรชาวเมือง
ทั้งหลาย เอาเงินมาทากาแพงล้อมพระธาตุเจดีย์หลวง ก็และกาแพงนั้นมีถึงสามช้ัน ได้เงินหนัก
ประมาณสองแสนสองหมื่น และเอาเงินจานวนนั้นแลกเปลี่ยนเป็นมูลค่าทองคา ซ้ือทองคาด้วยเงิน
จานวนนั้น ได้ทองคาจานวนสองหม่ืนห้าพัน แล้วแผ่เป็นแผ่นทึบหุ้มองค์พระธาตุเจดีย์หลวง ได้ยินว่า
จานวนทองคาท่ีหุ้มองค์พระธาตุเจดีย์หลวงมีอยู่เดิมก่อนวันเพ็ญเดือนยี่ รวมกับจานวนใหม่ท้ังหมด
ด้วยกัน มีหนึ่งล้านเก้าแสนแปดหมืน่ ห้าพนั ส่รี ้อยกับเศษอีกสิบสลงึ ...”23

สุรพล กล่าวว่าเม่ือได้ตรวจสอบข้อความน้ีกับตานานวัดเจดีย์หลวงแล้ว ไม่ปรากฏ
เหตุการณ์ดังกล่าว แต่เม่ือตรวจสอบกับพงศาวดารโยนกแล้ว พบว่าเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวกับการ
ปฏิสังขรณ์พระธาตุเจดีย์หลวงหริภุญชัย ซึ่งมีรายละเอียดของเวลาเดือนปีตรงกัน ดังข้อความต่อไปน้ี

“ต่อมาในเดือนยี่ปีมะแมตรีศก จุลศักราช 873 (พ.ศ. 2054) นั้น ให้เริ่มการปฏิสังขรณ์
พระมหาธาตุเจดีย์หลวงเมืองหริภุญชัย ป่าวร้องโฆษณาบุญเร่ียไรได้เงิน 220,000 บาท จ่ายซื้อทองบุ

21 กรมศลิ ปากร, พงศาวดารโยนก, 355.
22 พระรัตนปัญญาเถระ (ร.ต.ท. แสง มนวิทรู แปล), ชนิ กาลมาลีปกรณ์, 108.
23 เร่ืองเดียวกัน, 123-124.

13

องคพ์ ระมหาเจดยี ์เปน็ ทองแดงหนักสบิ เก้าแสนแปดหมื่นห้าพันส่ีร้อยบาทสองสลึง การบุทองแดงและ
ลงรักปิดทองคาเปลว แล้วเสร็จในวันอาทิตย์เดือนแปดขนึ้ เจด็ คา่ ปีวอก จัตวาศก จลุ ศกั ราช 874”24

ยิ่งไปกว่านั้นในปลายรัชกาลของพระเจ้าเมืองแก้วได้ป รากฏข้อความในชินกาลมาลี
ปกรณ์อกี ตอนหน่งึ วา่

“ณ วันศุกร์ ขึ้น 10 ค่า เดือน 4 จุลศักราช 883 (พ.ศ. 2064) พระราชาสั่งตรัสให้ขุด
รากฐานเจดยี ์หลวง ในวัดพระเจา้ แสนเมอื งมา ครนั้ แลว้ โปรดกอ่ ตงั้ แต่ฐานข้ึนไป เมื่อวันอาทิตย์ข้ึน 10
คา่ เดือน 5 องค์เจดียน์ นั้ กวา้ งด้านละ 8 วา 2 ศอก สูง 14 วา 2 ศอก...”25

ข้อความดังกล่าวนี้ ทาให้เกิดความสับสนว่าพระเจ้าเมืองแก้วได้โปรดให้มีการ

สำนกั หอสมุดกลางบรู ณปฏสิ ังขรณ์พระเจดียห์ ลวงครงั้ ใหญ่ แต่มรี ายละเอียดท่ีขัดแย้งในตัวเอง คือ เจดีย์ดังกล่าวมีขนาด

เล็กกว่าพระเจดีย์หลวงท่ีสร้างข้ึนก่อนหน้านั้น เม่ือตรวจสอบในพงศาวดารโยนกแล้วปรากฏว่า
ขอ้ ความตรงกนั แต่ก็ไมอ่ าจช้ีชัดได้ว่า วัดพระเจ้าแสนเมืองมาหรือวัดลักขปุราคมารามน้ันหมายถึงวัด
ใด อย่างไรกด็ มี ขี ้อความอยใู่ นผลงานของ สงวน โชตสิ ุขรตั น์ ที่กล่าวถึงประวตั ิวัดหัวข่วงเมืองเชียงใหม่
มีรายละเอยี ดท่ีตรงกันกับขอ้ ความขา้ งต้น ดังน้ี

“ในจุลศักราช 882 (พ.ศ. 2063) ปีมะโรง ไทยว่าปีกดสี เดือน 6 ออก 10 ค่าวันศุกร์
พระเมืองแก้วให้ขุดรากมหาเจดีย์วัดลักษณปุราคมาราม คือ วัดหัวข่วง ตราบถึงเดือน 7 ออก 10 ค่า
วันอาทิตย์ จึงได้ลงมือก่อพระมหาเจดีย์ ฐานกว้าง 8 วา 2 ศอก สูง 14 วา 2 ศอก ถึงจุลศักราช 883
(พ.ศ. 2064) ปีมะเส็ง ไทยว่าปีร้วงไส้ เดือน 11 ออก 13 ค่า วันพุธ บุพสาธฤกษ์ดาวสัปคับช้าง พระ
เมืองแกว้ กบั พระราชมารดาพรอ้ มกับพระสงฆ์ 3 คณะ มีพระราชครเู ป็นประธานบรรจุพระบรมธาตุใน
มหาเจดยี ์วัดลักษณะปุราคมาราม คือ วดั หัวข่วง บัดนีฯ้ ”26

ดังนน้ั ขอ้ ความในส่วนท่กี ลา่ วถึงการกอ่ สร้างพระเจดยี ห์ ลวงในวดั พระเจา้ แสนเมืองมา ท้ัง
ในชินกาลมาลปี กรณ์และพงศาวดารโยนกนัน้ นา่ จะไมเ่ ก่ยี วขอ้ งกับพระเจดีย์หลวง แต่ควรจะหมายถึง
วัดหัวข่วง เมืองเชียงใหม่ เพราะเมื่อตรวจสอบช่ือของวัดดังกล่าวในตานานพื้นเมืองเชียงใหม่และ
พงศาวดารโยนกจะปรากฏชื่อวัดนี้ว่า วัดแสนเมืองมาหลวงหัวข่วง หรือวัดหัวข่วงแสนเมืองมาหลวง
ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 24 หรือฟ้ืนฟูเมืองเชียงใหม่เป็นต้นมา และในปัจจุบันก็ยังมีชื่อของวัดนี้ว่า วัด
หวั ขว่ งแสนเมืองมาหลวงดว้ ย ซง่ึ ภายในวัดจะมีพระเจดีย์ทีม่ ขี นาดใกลเ้ คยี งกับทป่ี รากฏในเอกสาร27

24 กรมศลิ ปากร, พงศาวดารโยนก, 391-391.
25 พระรตั นปญั ญาเถระ (ร.ต.ท. แสง มนวิทูร แปล), ชนิ กาลมาลีปกรณ์, 143.
26 สงวน โชติสุขรตั น,์ ตานานเมืองเหนอื เลม่ 2, (นครเชยี งใหม่ : สานกั พมิ พ์รตั นากร, 2498), 14-17.
27 สุรพล ดาริหก์ ลุ , “ปญั หาและความรู้ใหม่ท่เี กีย่ วกับโบราณสถานพระเจดยี ห์ ลวงเมอื งเชยี งใหม่”
สมโภช 600 ปี พระธาตเุ จดยี ์หลวง, 167.

14

สรุปประวตั พิ ระเจดยี ห์ ลวงทีป่ รากฏในเอกสาร
จากการศึกษาประวัติพระเจดีย์หลวงจากภาคเอกสาร ดังข้อมูลข้างต้นนั้น อาจสรุป
ประวัตคิ วามเปน็ มาของพระเจดีย์หลวง วัดเจดยี ์หลวง เมอื งเชยี งใหม่ ได้ดงั นี้
1. พระเจดีย์หลวงสร้างขึ้นคร้ังแรกในรัชกาลของพระเจ้าแสนเมืองมา (พ.ศ. 1928-
1944) เพ่ืออทุ ศิ ส่วนกศุ ลให้พระราชบิดา คอื พระเจ้ากอื นา แตส่ รา้ งไม่เสรจ็ เสด็จสวรรคตเสยี ก่อน
2. พระนางเจ้าติโลกจุฑาราชเทวี พระมเหสีของพระเจ้าแสนเมืองมา เป็นผู้ก่อสร้างพระ
เจดยี ห์ ลวงตอ่ จนแลว้ เสร็จในรชั กาลพระเจา้ สามฝ่ังแกน เรียกกันว่า “กหู่ ลวง”
3. พระเจ้าติโลกราช โปรดให้หม่ืนด้ามพร้าคตเป็นช่างใหญ่ดาเนินการปฏิสังขรณ์พระ
เจดยี ห์ ลวงตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2021 โดยก่อเสริมฐานกว้างออกมาถึง 35 วา สูงกว่าเดิมเป็นอันมาก
มีส่วนยอดเจดีย์เป็นแบบกระพุ่มยอดเดียว ภายในพระเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้ และได้
อัญเชิญพระแก้วมรกต (องค์ท่ีอยู่กรุงเทพฯ ปัจจุบัน) มาประดิษฐานท่ีซุ้มพระเจดีย์หลวงด้านทิศ
ตะวันออก
4. พระเจา้ ยอดเชียงรายไดป้ ดิ ทองภายในซุ้มจระนาของพระเจดยี ์หลวงทงั้ 4 ดา้ น
5. ในรชั สมยั พระเมอื งแกว้ เม่อื พ.ศ. 2046 ไดโ้ ปรดใหส้ ร้างหอพระแก้วและอัญเชิญพระ
แก้วมรกตลงมาประดษิ ฐาน สร้างมหาวิหาร สว่ นการบรู ณะพระเจดียห์ ลวงได้ดาเนินการเพียงเล็กน้อย
ซึ่งส่วนใหญเ่ ป็นการซ่อมทองจังโกและปิดทององคพ์ ระเจดีย์
6. ในรชั สมยั พระนางเจา้ มหาเทวจี ริ ประภา ปีพ.ศ. 2088 เกิดแผ่นดินไหวคร้ังใหญ่ ทาให้
ยอดพระเจดีย์หลวงพังทลายลงมา เหลือให้เห็นดังสภาพปัจจุบัน (ก่อนการบูรณะของกรมศิลปากร)
ภายหลังจากนนั้ มา เอกสารไมไ่ ดก้ ล่าวถงึ การบรู ณปฏิสังขรณพ์ ระเจดียห์ ลวงอกี เลย

พระวิหารหลวง

พระเจดีย์หลวง

เจดียร์ ายองค์ทศิ ใต้

เจดียร์ ายองค์ทศิ เหนือ

รปู ท1ี่ : รูปถา่ ยเกา่ พระวิหารหลวง พระเจดีย์หลวง และเจดียร์ าย 2 องค์ วัดเจดยี ห์ ลวง จ.เชียงใหม่
ทีม่ า: http://lib.payap.ac.th/webin/ntic/the%20past/place/postcard/DSC_0036.jpg

15

3. งานศิลปกรรมท่สี าคญั โบราณสถานและสิ่งก่อสรา้ งภายในวดั เจดียห์ ลวง (รูปที1่ )
3.1 แผนผังของวัดเจดยี ห์ ลวง (รปู ท2่ี )
วัดเจดีย์หลวงต้ังหันหน้าไปทางทิศตะวันออก มีพระวิหารหลวงและพระอุโบสถ(หลัง

เดียวกัน) ตั้งอยู่ตรงกลางด้านหน้าวัด ด้านซ้ายมือมีเสาอินทขีลหรือเสาหลักเมือง ประดิษฐานอยู่ใน
วิหารจตุรมุข และเจดีย์ราย ซึ่งเป็นเจดีย์ขนาดเล็ก 2 องค์ ขนาบอยู่ด้านข้างพระวิหารหลวงทั้งสอง
ด้าน ด้านหลังพระวิหารหลวงไปทางทิศตะวันตกเป็นท่ีต้ังของพระเจดีย์หลวง ซึ่งเป็นเจดีย์ที่มีขนาด
ใหญ่ที่สุดในภาคเหนือ พื้นท่ีบริเวณรอบๆ วัดเป็นหมู่กุฏิสงฆ์ และอาคารหลังอื่นๆสาหรับปฏิบัติ
ศาสนกจิ ตา่ งๆ

พระวหิ ารหลวง เจดียร์ ายองค์ทศิ เหนือ

เจดยี ร์ ายองค์ทศิ ใต้

พระเจดยี ์หลวง

วิหารจตรุ มุข

รปู ท2่ี : แผนผังวัดเจดียห์ ลวง
ท่มี า: https://www.google.co.th/maps/@18.786857,98.987303,18z

16

รูปท่ี3:เจดียร์ าย 2 องค์ ด้านทิศเหนือ 1 องค์ (รูปซา้ ย)
ดา้ นทศิ ใต้ 1 องค์ (รปู ขวา)
ท่มี า: สารวจวันท่ี 21 ธันวาคม พ.ศ. 2556

3.2 เจดยี ์ราย (รูปที่ 3)
เป็นเจดีย์ขนาดเล็ก มีอยู่ 2 องค์ ตั้งขนาบพระวิหารหลวงอยู่ทั้งด้านทิศเหนือและทิศใต้
เยื้องไปทางด้านหน้าพระวิหาร มีลักษณะทางสถาปัตยกรรมท่ีต่างกัน โดยองค์ด้านทิศเหนือ
ประกอบด้วย ส่วนฐานเป็นฐานส่ีเหลี่ยมยกเก็จ 3 ฐาน ถัดข้ึนมาเป็นฐานบัวคว่า-บัวหงายยกเก็จซ้อน
กัน 2 ช้ัน ชุดฐานรองรังองค์ระฆังเป็นชุดบัวฐานบัวคว่า-บัวหงายในผังแปดเหล่ียม 3 ชั้น ซ้อนกัน
รองรบั องคร์ ะฆงั และบัลลังก์ผังแปดเหล่ียม ต่อด้วยปลียอดและฉัตร ส่วนองค์ด้านทิศใต้มีรูปแบบส่วน
ฐานท่ีเหมือนกัน แต่ส่วนรองรับองค์ระฆังมีลักษณะแตกต่างออกไป โดยมีชุดฐานคล้ายฐานบัวถลา
แปดเหลี่ยมซ้อนกนั 3 ชัน้ รองรับองคร์ ะฆังและบัลลงั ก์ในผังแปดเหล่ียม ต่อด้วยปลียอดและฉัตร โดย
ตั้งแต่องค์ระฆังจนถึงส่วนยอดปิดทองจังโกและทองคาเปลว ซ่ึงเจดีย์รายท้ังสององค์มีรูปแบบเป็น
เจดีย์ทรงระฆังแบบล้านนาแต่ลักษณะชุดฐานบัวรองรับองค์ระฆังไม่ตรงกับแบบแผนมากนัก จึง
สันนษิ ฐานว่าเจดยี ์องคป์ ัจจุบนั นา่ จะเปน็ งานบูรณะในภายหลงั
3.3 วหิ ารหลวง (รูปที่ 4)
เป็นวิหารแบบล้านนา ต้ังอยู่ด้านทิศตะวันออกของเจดีย์หลวง ห่างประมาณ 20 เมตร
วิหารหลังเดิมคาดว่าน่าจะมีอายุการก่อสร้างใกล้เคียงหรือสมัยเดียวกับพระเจดีย์หลวง หรือการหล่อ
พระอัฏฐารส ซ่ึงคงจะพังไปนานแล้ว มีการร้ือหลังเก่าแล้วสร้างใหม่หลายคร้ัง โดยอาศัยฐานเดิมของ
วิหารหลงั เก่า วิหารหลังท่ีเห็นในปัจจุบันสร้างข้ึนใหม่เม่ือ ปี พ.ศ. 2471 โดยสร้างทับบนรากฐานของ
วิหารหลังเก่า เป็นวิหารขนาดใหญ่ กว้าง 19.70 เมตร ยาว 50.80 เมตร ก่อด้วยอิฐถือปูน ปูพ้ืนด้วย
กระเบ้ืองสีแดง หลังคามุงด้วยกระเบื้องเคลือบ หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ปัจจุบันน้ีวิหารหลวงใช้
เป็นพระอโุ บสถพรอ้ มกัน

17

รูปท4่ี : พระวิหารหลวง ต้ังอยู่ดา้ นทิศตะวันออกของเจดยี ห์ ลวง
ที่มา: สารวจวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2555

3.4 พระพทุ ธรปู สาคัญ
พระอฏั ฐารส (รูปที่5) เปน็ พระพุทธรูปปนู ปั้นขนาดใหญ่ ปางห้ามญาติ สูง 18 ศอก หล่อ
ด้วยสาริด เป็นพระประธานประดิษฐานในวิหารหลวง มีพระอัครสาวก โมคคัลลานะ สารีบุตร และ
พระพุทธรูปปางต่างๆ หลายขนาดอีกจานวนมากประดิษฐานอยู่รายล้อม ตามประวัติพระอัฏฐารส
สร้างโดยพระนางเจ้าติโลกจุฑาราชเทวี พระมเหสีของพระเจ้าแสนเมืองมา ขณะที่พระองค์เป็น
ผ้สู าเร็จราชการแทนพระองค์ยวุ กษัตริย์สามฝ่งั แกน ผเู้ ปน็ โอรสเม่ือปี พ.ศ. 1954

รูปท5ี่ : พระอัฏฐารส และพระพทุ ธรูปปางตา่ งๆ จานวนมากภายในพระวหิ ารหลวง วดั เจดีย์หลวง
ทม่ี า: สารวจเม่อื วนั ที่ 22 มีนาคม 2555

18

4. ขอ้ มูลทางโบราณคดีจากการขดุ ค้น-ขดุ แต่ง วัดเจดยี ์หลวง
4.1 ข้อมลู จากการขดุ ค้น-ขุดแต่ง
สภาพของพระเจดีย์หลวง เมอื งเชียงใหม่ กอ่ นการดาเนินการขุดค้นศึกษาเพ่ือเตรียมการ

บูรณะเม่ือปี พ.ศ.2529 โดยกรมศิลปากรนั้น พบว่าพระเจดีย์หลวงอยู่ในสภาพที่พังทลาย ส่วนยอด
คงเหลือให้เห็นเพียงส่วนฐานข้ึนไปจรดองค์ระฆังในด้านเหนือ ส่วนด้านใต้พังทลายต้ังแต่ส่วนยอดลง
มาจรดเรือนธาตุ จากลักษณะดังกล่าวทาให้พระเจดีย์หลวงตั้งแต่เรือนธาตุขึ้นไปถึงองค์ระฆังเหลือ
หลักฐานเพียงซีกเดียว คือ ด้านทิศเหนือ ซึ่งในการดาเนินงานคร้ังนี้ทาให้พบหลักฐานที่น่าสนใจเป็น
อันมาก ดงั น้ี

ส่วนฐาน พบร่องรอยของการก่ออิฐเสริมฐานพระเจดีย์หลวงช้ันแรกถึง 3 ครั้งด้วยกัน
โดยสองครั้งแรกนั้นมีลักษณะสูงไม่เท่ากับฐานช้ันแรก จึงน่าจะมีลักษณะเป็นช้ันลดลงมาจากฐานชั้น
แรก ต่อมาครั้งท่ีสามจึงได้ทาให้สูงข้ึนเท่ากับฐานช้ันแรก จากลักษณะดังกล่าวน่าจะแสดงให้เห็นว่า
การสร้างเสริมฐานชั้นแรกนั้นมิได้มีจุดประสงค์เพื่อเป็นการเสริมความม่ันคงฐานเดิม เน่ืองจากสภาพ
ของฐานยังดีอยู่ และการสร้างดังกล่าวมิได้มีความแข็งแรงพอท่ีจะรับน้าหนักองค์เจดีย์ที่ใหญ่โตขนาด
นั้นได้ จุดประสงค์ของการสร้างน้ันน่าจะเป็นเพื่อปรับปรุงพื้นท่ีรอบบริเวณองค์เจดีย์ให้มีความ
เหมาะสม โดยการเก็บเศษปูนเศษอิฐที่กองทับถมอยู่มากหลังจากเจดีย์พังลงมาเร่ือยๆ มาปรับทาเป็น
ฐานเจดยี ์ดงั กลา่ ว28

บันได ทาเป็นมกรคายนาคท่ีชูต้ังขึ้นสูง ต้ังอยู่บนฐานบัวคว่า-บัวหงาย อยู่บนพ้ืนระดับ
เดียวกับฐานชั้นแรก บันไดน้ีทอดยาวตั้งแต่พ้ืนขึ้นไปสู่ระเบียงหน้าซุ้มเรือนธาตุทั้ง 4 ด้าน เป็นท่ีน่า
สงั เกตว่า บันไดทกุ ดา้ นกอ่ อฐิ ฉาบปนู เรยี บ ไม่มีขั้นบันได แสดงให้เห็นว่าเจาะจงมิให้ใช้ประโยชน์เป็น
บันไดทางขึ้น จะมีร่องรอยของขั้นบันไดทางขึ้นไปสู่ระเบียงช้ันบนได้เพียงด้านเดียว คือ ด้านทิศ
ตะวันออกเท่านน้ั ราวบนั ไดทาดว้ ยศลิ าแลงพอกปนู ภายนอก ระหว่างบันไดกับตัวนาค ทาเป็นช่องพื้น
ฉาบปูนลาดเอียงขนานลงมากับบันได น่าจะทาไว้สาหรับเป็นทางระบายน้าจากพ้ืนระเบียงด้านบน
และเพ่ือป้องกันรักษาลายปูนปั้นที่ทาเป็นมกรคายนาค หลักฐานที่สาคัญอีกอย่างที่พบบริเวณบันได
ดา้ นทิศตะวนั ออก คอื มีการก่อเรียงอิฐซ้อนกันยาวตลอดทับแนวข้ันบันได และส่วนของบัวคว่าที่ฐาน
บัวคว่า-บัวหงาย ความสูงได้ปิดทับช้ันบันไดไว้เกือบ 2 ข้ัน หลังจากขุดแนวอิฐที่ไม่เป็นระเบียบออก
พบวา่ แนวอิฐตัง้ อยพู่ น้ื เดียวกบั บนั ได จากลักษณะดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า มีการก่อสร้างซ้อนกันไม่ต่า

28 วเิ ศษ เพชรประดับ, รายงานการขดุ คน้ ศึกษาเพ่อื เตรยี มการบูรณะพระเจดีย์หลวง อ.เมือง จ.
เชียงใหม,่ หนว่ ยศลิ ปากรท่ี 4 กองโบราณคดี กรมศลิ ปากร, ปงี บประมาณ 2529, 14.

19

กวา่ 1 ครั้ง จงึ ได้ทาการขุดลอกแนวอิฐน้อี อกครึ่งหนึง่ ของบันได และเหลือไว้ครึ่งหนึ่งเพ่ือแสดงให้เห็น
ลกั ษณะของการสรา้ งซอ้ นภายหลัง29

อุโมงค์ทางเข้า จากหลักฐานพบว่ามีอุโมงค์ หรือช่องทางเข้าไปใต้ฐานเจดีย์บริเวณ
ดา้ นข้างบันไดทุกด้าน แตม่ ลี ักษณะถูกก่ออิฐปิดตันเกอื บทุกดา้ น เหลือใหเ้ ห็นเป็นชอ่ งเพียง 2 ด้าน คือ
ด้านทิศเหนือ พบอยู่ข้างบันไดด้านซ้าย และด้านตะวันออกพบอยู่ข้างบันไดด้านขวา การขุดอุโมงค์
คร้ังน้ีได้ทาการขุดเฉพาะด้านทิศเหนือ ภายในอุโมงค์มีดินผสมอิฐถมอยู่ สลับกับมีอิฐก่อเรียบเป็นชั้น
ส่วนใหญ่ท่ีพบจะมีอิฐก่อเรียงอยู่ภายใต้โดยถมดินด้านบน หนาประมาณกึ่งหน่ึงของส่วนสูงของช่อง
อุโมงค์ และบางช่วงจะก่ออิฐปิดตันติดกับเพดานอุโมงค์ โดยเฉพาะช่วงที่เพดานมีรอยแตกร้าว จาก
ลักษณะดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า ดินและอิฐที่ขุดออกมาน้ันเป็นความพยายามท่ีจะปิดอุโมงค์ไว้
ภายหลงั จากเห็นวา่ ใช้ประโยชนต์ ่อไปไมไ่ ด้แลว้ หรอื เกรงวา่ จะเปน็ อันตรายท่จี ะใชอ้ ุโมงคต์ ่อไป

ลักษณะของอุโมงค์มีขนาดกว้าง 0.85-0.90 เมตร สูงประมาณ 1.65-2.00 เมตร ใช้อิฐ
ขนาดเดียวกับส่วนอื่นของเจดีย์ ผนังก่อเรียบทั้งสองด้าน ไม่มีร่องรอยฉาบปูน เพดานก่อเป็นแบบ
แนวต้ัง ความยาวของอุโมงค์ทอดยาวไปตามฐานของเจดีย์ จากการขุดสารวจพบว่าทางเดินภายใน
อโุ มงคส์ ิน้ สดุ ทบี่ ริเวณใต้ฐานเรือนธาตุ ตรงบริเวณมุมเรือนธาตุด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ภายหลัง
ไดท้ าการขดุ เจาะทะลุผ่านทีร่ ะเบยี งตรงบริเวณดังกลา่ ว เพื่อถา่ ยเทอากาศและเพ่ือหาหลักฐานว่า เหตุ
ใดอุโมงค์จึงตันเพียงเท่าน้ี หรือมีการก่อปิดทางออกในสมัยท่ีมีการบูรณะภายหลังไว้หรือไม่ อย่างไรก็
ตาม จากผลการขุดเจาะ พบว่ามิได้มีหลักฐานการก่อปิดอุโมงค์ไว้ตามข้อสมมุติฐานแต่ประการใด
อุโมงคค์ งจะทาไว้แต่เพียงนแ้ี ต่แรก ลกั ษณะของอุโมงค์สันนิษฐานว่าน่าจะมีลักษณะเหมือนกันทุกด้าน
ทีเ่ หลือ หรอื อย่างน้อยกม็ ลี กั ษณะท่ีใกลเ้ คยี งกบั ท่ีขุดพบดงั กล่าว30

เรือนธาตุ ส่วนบริเวณเรือนธาตุนั้นมีโครงสร้างท่ีไม่สมดุลกับฐานหน้ากระดานท่ีรองรับ
คือ ฐานหน้ากระดานท่มี ีช้างประดับน้ันมีลักษณะเป็นรูปส่ีเหลี่ยมจัตุรัส ซ่ึงลักษณะน้ีก็รับกับส่วนอื่นๆ
ได้ แต่เรือนธาตทุ ี่ทาเป็นยอ่ เกจ็ น้นั ไม่อย่ใู นกรอบของฐานสเ่ี หลี่ยมจัตุรัส คือ ขยายยาวออกมาทางด้าน
ทิศใต้ จึงดูเหมือนเป็นรูปผังสี่เหล่ียมผืนผ้า นอกจากน้ีท่ีมุมด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือมีร่องรอยของ
การกอ่ อฐิ ขยายจากเรือนธาตุ และมกี ่ออฐิ ฉาบปนู คลา้ ยเปน็ ฐานเจดียแ์ ปดเหลย่ี มดว้ ย31

แท่นบูชา ที่พบมีอยู่ 2 ด้าน โดยแท่นบูชาด้านทิศใต้ อยู่ห่างจากฐานบัวคว่า-บัวหงาย
ด้านหน้าบันได 1.50 เมตร ตั้งอยู่ตรงกลางบันได มีลักษณะเป็นฐานบัวคว่า-บัวหงายยาว 1.60 เมตร
แทน่ บูชาด้านทิศเหนือ พบว่ามีอยู่ 2 แท่น ต้ังอยู่ด้านข้างเยื้องกับฐานบัวคว่า-บัวหงายข้างละ 1 แท่น

29 เร่อื งเดียวกัน, 15.
30 เรื่องเดยี วกัน, 16-18.
31 เรื่องเดยี วกัน, 9.

20

ระหว่างแทน่ บชู าท้งั สองกบั แนวอฐิ เรยี งเสรมิ ฐานชน้ั แรก มีอิฐฉาบปูนทาเป็นฐานบัวคว่า-บัวหงายทรง
กลม มเี สน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 0.50 เมตร ตรงกลางมรี ู คาดว่าน่าจะเป็นฐานสาหรับปักฉัตร หรือเสาอย่าง
ใดอยา่ งหน่งึ 32

วัสดุท่ีใช้ก่อสร้างพระเจดีย์หลวง พบว่าส่วนใหญ่ใช้อิฐเป็นวัสดุก่อสร้างหลัก มีศิลาแลง
ผสมสลับเป็นบางส่วน ส่วนใหญ่จะพบศิลาแลงในด้านทิศเหนือตั้งแต่เชิงเสาซุ้มเรือนธาตุลงมาจนถึง
ฐานชน้ั ลา่ งสุด สว่ นด้านอนื่ ใชศ้ ิลาแลงเฉพาะส่วนฐานหนา้ กระดาน 2 ชน้ั แรกเท่านั้น33

4.2 โบราณวัตถุทไี่ ดจ้ ากการขดุ คน้ -ขุดแตง่ วดั เจดยี ์หลวง
โบราณวัตถุที่ได้จากการขุดค้นศึกษาพระเจดีย์หลวงได้แยกเป็น 3 ประเภท คือ
โบราณวัตถุท่ีเป็นส่วนประกอบสถาปัตยกรรม เศษภาชนะและโบราณวัตถุที่ทาจากดินเผา และ
โบราณวัตถุอื่นๆ มรี ายละเอียด ดงั น้ี

4.2.1 โบราณวัตถุท่ีเป็นสว่ นประกอบทางสถาปัตยกรรม แบ่งเป็น
อิฐ เป็นวัสดุหลักท่ีใช้ในการก่อสร้างเจดีย์องค์น้ี อิฐที่พบมีหลายชนิดและมี
ความแตกต่างกัน โดยอิฐส่วนใหญ่ที่ใช้สาหรับก่อสร้างพระเจดีย์หลวง เป็นอิฐมีขนาดแตกต่างกัน
ตั้งแต่ 24 x 15 ถึง 32 x 16 เซนติเมตร และใช้ในตาแหน่งที่ต่างกัน นอกจากนี้ยังพบอิฐขนาดใหญ่
อิฐคร่ึงวงกลม และท่ีสาคัญ คือ ได้พบอิฐจารึกอักษรและอิฐปิดทอง ทั้งบริเวณรอบๆ พระเจดีย์หลวง
และภายในอุโมงค์อกี ด้วย แต่พบในจานวนไม่มากนัก34
นอกจากนยี้ ังพบเครอ่ื งมอื ชา่ งและโลหะทใ่ี ช้ในการประดับเจดีย์ ได้แก่ แผ่น
ทองจังโก35 (รูปท่ี6) สาหรับปิดองค์เจดีย์ก่อน แล้วจึงปิดทับด้วยแผ่นทองคาเปลวภายนอก พบเป็น
จานวนมากทงั้ 4 ด้าน มีหลายขนาด ตะปู (รูปที่7) ทาด้วยโลหะ สาหรับตอกยึดแผ่นทองจังโกกับองค์
เจดีย์ และเหล็ก มีลักษณะคล้ายไม้กางเขน เข้าใจว่าเป็นเหล็กท่ีใช้ยึดตัวกระจัง เนื่องจากพบเหล็ก
ลักษณะเดยี วกันยังตดิ อยู่บริเวณมมุ ของมาลยั เถาที่เปน็ สว่ นท่ตี ดิ ตวั กระจังด้านทิศตะวนั ตก36

32 เรือ่ งเดยี วกัน, 16.
33 เรือ่ งเดยี วกนั , 10.
34 เรื่องเดยี วกัน, 21-23.
35 แผน่ ทองจังโก คอื แผน่ สาริดใช้หุ้มองค์เจดีย์ โดยยึดด้วยตะปูสาริด (เรียกว่าตะปูสังขวานร) แล้ว
ปดิ ทองคาเปลวทับ นิยมใชก้ นั ในการสร้างพระเจดยี ์ทางภาคเหนือ
36 วิเศษ เพชรประดับ, รายงานการขดุ ค้นศกึ ษาเพือ่ เตรยี มการบรู ณะพระเจดยี ์หลวง อ.เมอื ง จ.
เชยี งใหม,่ 23.

21

รูปท6ี่ : แผน่ ทองจงั โกสาหรับหุม้ องค์พระเจดยี ์หลวง รูปท7่ี : ตะปูสาริดสาหรับยดึ ทองจงั โกกับองคเ์ จดยี ์

ท่ีมา: พิพธิ ภัณฑ์วัดเจดยี ห์ ลวง สารวจเม่ือวนั ท่ี 8 พ.ค. 2556 ทีม่ า: พพิ ธิ ภัณฑ์วดั เจดียห์ ลวง สารวจเม่ือวันที่ 8 พ.ค. 2556

ประติมากรรมปูนปั้น พบจานวนมากทั้ง 4 ด้าน พบมากท่ีสุดด้านทิศ
ตะวันออก ลักษณะของลายปูนป้ันที่พบส่วนใหญ่ชารุด และเป็นชิ้นส่วนของปูนปั้นที่ประดับอยู่ที่ซุ้ม
เรือนธาตุ และบันไดนาค ซ่ึงจะเป็นรูปดอกไม้ ลวดลายเครือเถา และส่วนของตัวมกรคายนาค
นอกจากนี้ พบปูนปั้นเป็นรูปกลีบบัว ด้านทิศตะวันตก และทิศตะวันออกด้านละ 1 ชิ้น ท้ังสองชิ้นมี
ขนาดเท่ากัน เข้าใจว่าเปน็ ส่วนกลีบบัวท่ีประดับส่วนบัวหงายใต้องค์ระฆัง และพบปูนปั้นรูปใบโพธิ์อีก
1 ใบ ด้านทศิ ตะวนั ออก น่าจะเปน็ ชิน้ ส่วนทตี่ ิดอยู่ในซุ้มเหนอื พระพทุ ธรูปในซุม้ จระนา37

4.2.2 เศษภาชนะดนิ เผา และโบราณวตั ถทุ ท่ี าจากดนิ เผา
มีทัง้ เศษภาชนะดินเผาประเภทเคลือบและไม่เคลือบ ซ่ึงอยู่ในสภาพไม่ค่อย
สมบูรณ์ โดยเศษภาชนะดินเผาประเภทไม่เคลือบ มีทั้งแบบเน้ือเคร่ืองดินและเน้ือเคร่ืองหิน ส่วนเศษ
ภาชนะดินเผาประเภทเคลือบ พบวา่ มีน้อยมาก ภาชนะเครอื่ งเคลือบภายในประเทศพบเพียง 2 แหล่ง
คอื แหล่งเตาสนั กาแพงและแหลง่ เตาเวยี งกาหลง ซงึ่ มีทั้งแบบเคลอื บสเี ดยี วและเขยี นสดี าใต้เคลอื บ
นอกจากนย้ี งั พบเศษภาชนะเคร่ืองเคลือบต่างประเทศด้วย โดยท้ังหมดเป็น
ภาชนะแบบจีน เนื้อดินเป็นสีขาว แกร่งมาก เน้ือเคร่ืองหินคุณภาพดี เคร่ืองปั้นดินเผาประเภทเนื้อ
เครอ่ื งถ้วยพบค่อนข้างมาก แตจ่ ากการศกึ ษาพบวา่ ส่วนใหญน่ า่ จะเป็นเศษภาชนะทใ่ี ช้ในปัจจบุ ัน
4.2.3 โบราณวัตถุอ่ืนๆ ท่ีทาจากดินเผา ได้แก่ ตะกรันดินเผา พบจานวน
มากท้ัง 4 ด้าน สากดินเผา พบด้านทิศตะวันตกและตะวันออก จานวน 3 ช้ิน และกล้องยาสูบ พบ
ดา้ นทิศตะวนั ตกและทศิ เหนือ ด้านละ 1 ชิ้นทาเป็นลวดลายที่สว่ นหัว
4.2.4 โบราณวัตถุอ่ืนๆ ท่ีไม่ได้เป็นส่วนประกอบสถาปัตยกรรม เศษ
ภาชนะดินเผา หรือโบราณวัตถุท่ีทาจากดินเผา ได้แก่ พระพุทธรูป พระพิมพ์ดินเผา และช้ินส่วน

37 เรื่องเดียวกนั , 24.

22

พระพุทธรูปชารุด มีท้ังทาด้วยตะก่ัว สาริด และดินเผา พระธาตุและพระพุทธรูปชินเงิน บรรจุอยู่ใน
ผอบโลหะลักษณะคล้ายเจดีย์ทรงกลมขนาดเล็ก นอกจากน้ียังพบกระสุนทาด้วยตะกั่วเข้าใจว่าเป็น
กระสนุ ปนื โบราณ เปน็ ต้น38

5. การศกึ ษาทผ่ี ่านมาและรปู แบบสันนษิ ฐานของพระเจดียห์ ลวง จ.เชียงใหม่
5.1 การศกึ ษาทผ่ี า่ นมาเก่ียวกบั พระเจดียห์ ลวง
ในช่วงท่ีผ่านมามีนักวิชาการหลายท่านได้ให้ความสนใจศึกษาเก่ียวกับประวัติความมา

คติการสรา้ ง รวมถึงวเิ คราะหร์ ูปแบบทางศิลปกรรมของพระเจดยี ห์ ลวง เมืองเชียงใหม่เป็นจานวนมาก
ซง่ึ มที งั้ ผทู้ ่เี หน็ ดว้ ยกับรูปแบบท่ีทางกรมศิลปากรได้ศึกษาบูรณะ และผู้ที่มีความเห็นต่างออกไป โดยมี
รายละเอียดเกี่ยวกบั การศึกษาทผี่ ่านมา ดงั น้ี

เอกสารประกอบการขุดคน้ ขดุ แตง่ และบูรณะโดยกรมศลิ ปากร
ในเอกสาร “โครงการบูรณะพระเจดีย์หลวง” และรายงานเบื้องต้น “พระเจดีย์หลวง”
โดย หน่วยศิลปากรที่ 4 กองโบราณคดี กรมศิลปากร (ไม่ระบุปีท่ีพิมพ์) ซ่ึงมีเนื้อหาในรายงาน
ใกล้เคียงกัน ได้กล่าวถึงการเร่ิมดาเนินการบูรณปฏิสังขรณ์พระเจดีย์หลวงครั้งแรกในปี พ.ศ. 251539
โดยกรมศิลปากร เพือ่ เสริมความม่นั คงของกาแพงลานประทักษิณช้ันบนด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ และ
การก่ออิฐค้ายันบางส่วนของซุ้มเรือนธาตุด้านทิศตะวันออก และรอบฐานชั้นล่าง ต่อมาในปี พ.ศ.
2529 จึงมีการขดุ ศกึ ษารากฐานขององค์พระเจดีย์ รวมทั้งได้ทาการรัดองค์พระเจดีย์ด้วยลวดสลิงตรง
รอยแยกบนซมุ้ เรอื นธาตุ เพ่ือเสรมิ ความมนั่ คงป้องกันการพังทลายในขั้นต้น จากหลักฐานที่ได้จากการ
ขุดคน้ พบวา่ การกอ่ สร้างพระเจดียห์ ลวงสอดคล้องกบั ท่ปี รากฏในเอกสาร กลา่ วคือ มีร่องรอยของการ
บูรณะทับซ้อนกันอยู่ 3 คร้ังใหญ่ โดยเช่ือว่าพระเจดีย์หลวง คงจะก่อสร้างทับซ้อนพระเจดีย์หรือกู่
หลวง ที่สร้างครั้งรัชสมัยพระเจ้าแสนเมืองมา รูปทรงส่วนใหญ่เกือบท้ังหมดที่เห็นในปัจจุบันเป็น
สิ่งก่อสร้างคร้ังรัชสมัยพระเจ้าติโลกราช คือ เป็นเจดีย์ส่ีเหลี่ยมท่ีฐานมีช้างล้อมโดยรอบ ที่เรือนธาตุมี

38 เรอ่ื งเดยี วกนั , 24-32.
39 “โครงการบูรณะพระเจดีย์หลวง”, หน่วยศิลปากรที่ 4 กองโบราณคดี กรมศิลปากร, 6. และ
“รายงานเบ้ืองต้นพระเจดีย์หลวง”, หน่วยศิลปากรที่ 4 กรมศิลปากร, 9. แต่ในเอกสารรายงานเบื้องต้นพระเจดีย์
หลวง กลา่ วแตเ่ พียงว่า พ.ศ. 2515 กรมศิลปากรได้ดาเนินการบูรณะก่อเสริมกาแพงระเบียงชั้นบนไว้ช่วงหน่ึง และ
มิไดม้ กี ารดาเนินการใดๆ เลย เน่อื งจากตอ้ งใช้งบประมาณจานวนมาก และในขณะนน้ั กข็ าดงบประมาณในด้านนี้

23

ซุ้มประดิษฐานพระพุทธรูปท้ัง 4 ทิศ เหนือเรือนธาตุเป็นมาลัยเถา และองค์ระฆังซึ่งเข้าใจว่าจะมี
สัดส่วนที่ไม่ใหญ่นักและใกลเ้ คียงกับแบบแผนของเจดยี ล์ ้านนาทวั่ ไป40

โดยแบบแผนของพระเจดีย์หลวงท่ีสร้างรัชสมัยพระเจ้าติโลกราชมีลักษณะพิเศษที่
นา่ สนใจหลายประการ เชน่ การก่อสรา้ งคร้ังแรกสุดพบวา่ บนั ไดนาคท้งั สีด่ ้านมีลักษณะการก่ออิฐฉาบ
ปูนเรียบเป็นเพียงส่วนประดับ ไม่มีหน้าที่ประโยชน์ใช้สอยเพื่อให้เป็นทางข้ึนไปสู่ระเบียงชั้นบนได้
ส่วนการขึ้นไปสู่ระเบียงชั้นบนน้ัน คาดว่าจะขึ้นได้ทางอุโมงค์จากเชิงบันไดท่ีชิดฐานเจดีย์ทั้ง 4 ด้าน
ภายในอุโมงค์เป็นทางเดินสลับซับซ้อน เดิมคงมีทางเดินทะลุออกถึงชั้นบนระเบียงโดยรอบพระเจดีย์
ได้ ซ่งึ คติการก่อสร้างอุโมงค์เพ่ือทาหน้าท่ีเช่นน้ีพบมากในสถาปัตยกรรมท่ีได้รับอิทธิพลจากพุกาม ซ่ึง
ในประเทศไทยพบการก่อสร้างลักษณะน้ีหลายแห่ง ได้แก่ วัดศรีชุม จ.สุโขทัย วัดอุโมงค์เถรจันทร์ จ.
เชียงใหม่ เป็นต้น41

นอกจากน้ีในรายงานยังกล่าวถึง การปฏิสังขรณ์ในสมัยพระเจ้าเมืองแก้ว ซ่ึงได้อ้างถึง
เอกสารชว่ งหนง่ึ (ไม่ไดร้ ะบุวา่ เปน็ เอกสารฉบบั ไหน) กล่าวว่า มีการก่อเสริมฐานและต่อยอดพระเจดีย์
ให้สูงขึ้น หลักฐานท่ีได้จากการขุดค้นทางโบราณคดีท่ีพบว่า สอดคล้องกับหลักฐานทางเอกสาร
ดังกล่าว คือ ฐานชั้นล่างสุดมีการก่อขยายฐานปิดทับฐานของพระเจดีย์เดิม มีการก่อปิดอุโมงค์เป็น
บางช่วง เพ่ือเสริมยันไม่ให้อุโมงค์ทรุดลงมา รวมทั้งปิดปากอุโมงค์ทางขึ้นเกือบทั้งหมด โดยการก่ออิฐ
ฉาบปูนยกเว้นด้านทิศเหนือ ดังนั้นพระเจดีย์หลวงในครั้งรัชกาลพระเจ้าเมืองแก้วคงไม่สามารถใช้
อุโมงค์เป็นทางขึ้นได้เหมือนเดิม จึงได้ก่อเสริมอิฐเป็นขั้นบันไดเพ่ือขึ้นไปสู่ระเบียงชั้นบนทางด้านทิศ
ตะวันออก ส่วนบันไดด้านอ่ืนๆ คงก่อเรียบมิให้ข้ึนได้เช่นเดิม หลักฐานดังกล่าวปรากฏให้เห็นชัดเจน
จากการขดุ คน้ ทางโบราณคดี42

เอกสารและบทความของนกั วิชาการท่านอน่ื ๆ ที่ไดศ้ ึกษาเกี่ยวกับพระเจดีย์หลวง
นอกเหนือจากเอกสารการศึกษาของกรมศิลปากรแล้ว ยังมีนักวิชาการท่านอื่นให้ความ
สนใจเก่ียวกับการขุดค้นศึกษาพระเจดีย์หลวงอีกหลายท่าน ได้แก่ สุรพล ดาริห์กุล ซึ่งเป็นหนึ่งใน
คณะทางานขุดค้นศึกษาพระเจดีย์หลวงเมื่อปี พ.ศ. 2529 ได้นาเสนอข้อมูลเพิ่มเติมจากรายงาน 2
ฉบับข้างต้น โดยได้เขียนเป็นบทความเร่ือง “ความรู้ท่ีได้จากการขุดค้นศึกษาพระเจดีย์หลวงเมือง
เชียงใหม่” ในบทความกล่าวถงึ อุโมงคท์ ฐ่ี านพระเจดียห์ ลวงสอดคล้องกับรายงานของหน่วยศิลปากรท่ี

40 ในบทสรุปของ “รายงานการขุดค้นศึกษาเพ่ือเตรียมการบูรณะพระเจดีย์หลวง อ.เมือง จ.
เชียงใหม่” โดย นายวิเศษ เพชรประดับ, 37. ได้กล่าวถึงการขุดค้นในปี 2529 เช่นกัน ซึ่งในเนื้อหามีรายละเอียด
เหมอื นกบั รายงาน 2 ฉบับขา้ งต้น

41 เรือ่ งเดยี วกัน, 37.
42 เรอื่ งเดียวกัน, 38.

24

4 ข้างต้นว่าแต่เดิมอุโมงค์คงใช้เป็นทางเดินข้ึนไปสู่ลานทักษิณบนระเบียงชั้นบนขององค์พระเจดีย์
หลวง ดังนั้นบันไดทั้งสี่ด้านของพระเจดีย์จึงถูกก่ออิฐฉาบปูนเรียบไม่มีข้ันบันได ยกเว้นด้านทิศ
ตะวันออกซึ่งมีร่องรอยได้รับการแก้ไขทาเป็นขั้นบันไดให้ข้ึนไปสู่ระเบียงชั้นบนได้ในภายหลัง โดยเชื่อ
ว่าอโุ มงคท์ ีฐ่ านเจดียน์ ี้เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมในครั้งรัชกาลพระเจ้าติโลกราช ได้รับอิทธิพลมาจาก
สถาปัตยกรรมพกุ าม ในส่วนของรปู ทรงสถาปตั ยกรรมส่วนใหญ่ของพระเจดีย์หลวงท่ีสร้างในสมัยพระ
เจ้าติโลกราชนน้ั โดยเฉพาะสว่ นฐานจะมีลักษณะใกล้เคียงกับพระเจดีย์หลวงท่ีเหลือให้เห็นในปัจจุบัน
กล่าวคือ ฐานกว้างใหญ่ยกพื้นสูง มีช้างปูนป้ันอยู่โดยรอบ ที่ด้านข้างบันไดท้ัง 4 ทิศ มีอุโมงค์ทางเข้า
ไปสู่ภายในองค์เจดีย์ ซ่ึงเป็นช่องทางเดินไปสู่ระเบียงโดยรอบลานทักษิณของพระเจดีย์ได้ องค์พระ
เจดียต์ ั้งอยบู่ นฐานขนาดใหญ่ ซงึ่ ไมน่ า่ จะใช่องคท์ ่เี ห็นเหลอื อยู่ในปจั จุบัน43

ในบทความนี้ยังกล่าวถึงการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ในสมัยพระเจ้าเมืองแก้ว โดย
อธิบายว่าพระเจดีย์หลวงที่สร้างคร้ังพระเจ้าติโลกราชน้ันคงมีสภาพชารุดเสียหาย เนื่องจากอุโมงค์
ภายใต้พระเจดีย์ทรุด จึงได้แก้ปัญหาด้วยการปิดอุโมงค์และก่อเสริมฐาน ซ่ึงจะเห็นลักษณะของฐาน
ช้ันล่างบางแห่งก่อเหล่ือมเข้ามาปิดปากอุโมงค์ นอกจากน้ียังได้บูรณะก่อพระเจดีย์ด้านบนฐานเดิม
ดังกล่าวใหม่และปิดแผ่นหุ้มทองพระเจดีย์ท้ังองค์ รวมถึงทาบันไดทางขึ้นด้านทิศตะวันออกของเจดีย์
อีกด้วย จากหลักฐานท่ีพบจากการขุดค้นและสอดคล้องกับเอกสารดังกล่าว จึงทาให้เห็นว่าพระเจดีย์
หลวงในสภาพท่เี หลือในปัจจุบัน ส่วนใหญ่จะเป็นส่ิงท่ีเหลือจากการปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ในรัชกาลพระ
เจา้ เมืองแกว้ ซงึ่ ในช่วงระยะเวลาดังกล่าวถือได้ว่าเป็นยุครุ่งเรือง หรอื ยุคทองของลา้ นนาอย่างแทจ้ รงิ 44

ต่อมาในปี พ.ศ. 2538 สุรพล ดาริห์กุล ได้เขียนบทความเรื่อง “ปัญหาและความรู้ใหม่ท่ี
เก่ียวกบั โบราณสถานพระเจดีย์หลวง เมืองเชียงใหม่”45 เน้ือหาส่วนหน่ึงกล่าวถึงปัญหาของพระเจดีย์
หลวงที่ปรากฏในชินกาลมาลีปกรณ์และเอกสารบางฉบับไม่ตรงกัน โดยได้วิเคราะห์ว่าเนื่องจาก
เอกสารชินกาลมาลีปกรณ์ฉบับแปลเป็นภาษาไทย โดย ร.ต.ท. แสง มนวิทูร ซึ่งเป็นเอกสารท่ี
นักวชิ าการศกึ ษาทางประวตั ิศาสตรแ์ ละโบราณคดีใช้เปน็ เอกสารอา้ งอิงท่ีแพร่หลายท่ีสุดนั้นมีข้อความ
บางแหง่ ที่ก่อให้เกิดความสบั สน ปัญหาดังกล่าวอาจเกดิ จากการแปลหรือตีความท่ีผิดพลาด จึงทาให้มี
เร่ืองราวทเี่ ก่ียวขอ้ งกับพระเจดีย์หลวงปรากฏอยหู่ ลายแห่ง ซึ่งบางครั้งข้อความเหล่านั้นมีรายละเอียด

43 สุรพล ดาริห์กุล, “ความรู้ที่ได้จากการขุดค้นศึกษาพระเจดีย์หลวงเมืองเชียงใหม่” ศิลปากร ปีท่ี
32 ฉบบั ที่ 1 (มี.ค.-เม.ย. 2531), 43-54.

44 เรอื่ งเดยี วกัน, 52-53.
45 สุรพล ดาริห์กุล, “ปัญหาและความรู้ใหม่ที่เก่ียวกับโบราณสถานพระเจดีย์หลวง เมืองเชียงใหม่”
สมโภช 600 ปี พระธาตเุ จดยี ์หลวง, (เชยี งใหม่ : ประชาสัมพนั ธ์ จังหวดั เชยี งใหม่, 2538).

25

ที่ขัดแย้งกันเอง46 พร้อมกันนี้ได้กล่าวถึงข้อเสนอเดิมท่ีเคยวิเคราะห์ว่า พระเจดีย์หลวงได้มีการบูรณะ
ครง้ั ใหญอ่ กี คร้งั ในรชั กาลพระเจ้าเมืองแก้วน้ันน่าจะไม่ถูกต้อง โดยเช่ือว่าแบบแผนทางศิลปกรรมและ
สถาปัตยกรรมขององค์พระเจดีย์หลวงท่ีปรากฏในปัจจุบัน ส่วนใหญ่ควรจะเป็นผลงานที่สร้างข้ึน
ในช่วงรัชกาลพระเจ้าติโลกราชมากกว่า ส่วนในสมัยพระเจ้าเมืองแก้วนั้นก็ได้มีการบูรณะซ่อมแผ่น
ทองจงั โก และปดิ ทองเพิ่มเติมเท่านั้น แต่ก็ไม่ได้เปลี่ยนแปลงแบบแผนของเจดีย์แต่ประการใด47 ทั้งน้ี
ปัญหาดงั กลา่ วก็เนอื่ งมาจากความสับสนของข้อความท่ีปรากฏในชินกาลมาลีปกรณ์ดังได้กล่าวมาแล้ว
จงึ ทาใหก้ ารวเิ คราะหข์ องรปู แบบการสรา้ งบรู ณะพระเจดยี ์แต่ละสมยั คลาดเคลื่อน

ส่วนเร่ืองอุโมงค์ท่ีฐานเจดีย์นั้น เช่ือว่าแรกเร่ิมของการก่อสร้างในคร้ังสมัยพระเจ้าติโลก
ราชคงมีการสร้างอุโมงค์จากฐานดังกล่าวเพ่ือเป็นทางข้ึนสู่ระเบียงหรือลานประทักษิณด้านบนตาม
แบบแผนของการก่อสร้างโบราณสถานขนาดใหญ่ท่ีนิยมทากันในอาณาจักรพุกาม แต่อาจเป็นเพราะ
ช่างลา้ นนาไม่ชานาญเรอ่ื งเทคนิคการกอ่ อิฐวงโคง้ ทท่ี าอโุ มงคใ์ ตฐ้ านเจดีย์ซ่ึงเป็นเทคนิคใหม่ ประกอบ
กบั รูปทรงของเจดีย์ลา้ นนามคี วามแตกตา่ งจากเจดีย์พุกาม เกิดปัญหาทรุดตัวและแตกร้าว จึงได้มีการ
ก่ออิฐค้ายันภายในอุโมงค์เป็นระยะๆ เพ่ือป้องกันมิให้ทรุดตัวลงมาได้ ปลายอุโมงค์ทางข้ึนไปสู่ชั้นบน
จึงถูกก่ออิฐปิดตัน รวมทั้งได้มีการก่ออิฐปิดปากอุโมงค์ท่ีเชิงบันได และต่อมาได้มีการสร้างขยายส่วน
ฐานด้านล่างสุดเพ่ิมเติม ดังน้ันจึงมีร่องรอยของฐานบางส่วนปิดปากอุโมงค์เชิงบันไดบางแห่งไปด้วย
ขณะเดียวกันเม่ือทางอุโมงค์ที่จะข้ึนสู่ช้ันบนของพระเจดีย์ใช้ไม่ได้ จึงจาเป็นต้องมีการก่ออิฐทา
ขน้ั บันไดขึ้นทางบันไดนาคเฉพาะสว่ นดา้ นทิศตะวันออกดา้ นเดียว ส่วนบันไดนาคด้านอ่ืนๆ ยังคงอยู่ใน
สภาพเดิม คอื ก่ออิฐเรยี บไมม่ ขี น้ั และฉาบปนู 48

สาหรับซุ้มจระนาของพระเจดีย์หลวง ที่ยังคงสมบูรณ์มีเพียง 2 ด้านเท่าน้ัน คือด้านทิศ
เหนือและทิศตะวันออก ในส่วนของซุ้มด้านทิศตะวันออก จะเห็นว่ามีการก่ออิฐปิดทึบช่วงซุ้มต้ังแต่
ด้านลา่ งถงึ สว่ นบน และเปดิ ชอ่ งเลก็ ๆ ตรงส่วนฐานด้านล่างไว้ ส่วนฐานชุกชีด้านหน้าจะมีส่วนฐานยื่น
ออกมา ซ่ึงเชื่อกันว่าเป็นท่ีสาหรับประดิษฐานพระแก้วมรกต สุรพล กล่าวว่าเห็นด้วยกับคาอธิบาย
ดังกล่าว แต่ก็ได้แสดงความเห็นเพิ่มเติมว่า พระแก้วมรกตได้เคยประดิษฐานอยู่บริเวณซุ้มด้านทิศ
ตะวันออกของพระเจดียห์ ลวงเพยี งเวลาหนึ่งเท่าน้ัน เพราะปรากฏว่าหลังจากน้ันไม่นานได้มีการสร้าง

46 รายละเอียดของบทความ “ปัญหาของพระเจดีย์หลวงที่ปรากฏในชินกาลมาลีปกรณ์และเอกสาร
บางฉบับ” ผู้เขียนได้กล่าวไว้แล้วในส่วนของประวัติความเป็นมาวัดเจดีย์หลวงข้างต้น อ่านเพิ่มเติมได้จาก สมโภช
600 ปี พระธาตเุ จดยี ์หลวง, 165-168.

47 สรุ พล ดารหิ ก์ ลุ , “ปัญหาและความรใู้ หม่ท่ีเกยี่ วกับโบราณสถานพระเจดยี ห์ ลวง เมืองเชียงใหม่”,
สมโภช 600 ปี พระธาตเุ จดยี ์หลวง, 170.

48 เร่อื งเดียวกนั , 171-172.

26

หอพระแก้วและอัญเชิญพระแก้วมรกตลงมาประดิษฐานในหอพระแก้ว ดังน้ันจึงไม่น่าจะสร้างเพ่ือ
ประดษิ ฐานพระแก้วมรกตอยา่ งทีก่ ล่าวอ้าง จากลักษณะของการกอ่ อิฐปดิ ซุ้มจระนาด้านทิศตะวันออก
ทึบและเจาะช่องน้ันน่าจะเป็นส่ิงท่ีกระทาข้ึนในภายหลังจากท่ีพระเจดีย์หลวงไ ด้พังทลายลงมาแล้ว
โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็นการค้ายันและรับน้าหนักของอิฐส่วนที่เหลืออยู่ด้านบน เพื่อมิให้ซุ้มด้านนี้
พังทลายลงมาอีก แต่การที่ต้องเปิดเป็นช่องไว้ ก็เนื่องจากภายในซุ้มดังกล่าวมีพระพุทธรูปปูนปั้น
ประดษิ ฐานอยู่ จงึ เปดิ ชอ่ งดังกลา่ วเพื่อสาหรบั สักการบชู าดว้ ย49

นอกจากนี้ยังพบหลักฐานท่ีน่าสนใจประการสาคัญท่ีซุ้มจระนาด้านทิศตะวันตกและ
ตะวันออก คือ ที่ผนังภายในซุ้มจระนาด้านทิศตะวันตก พบว่ามีร่องรอยของการลงรักปิดทองเป็น 2
คร้ังหรือ 2 ระยะทับซ้อนกันอย่างเห็นได้ชัด ซ่ึงหากจะตีความตามเหตุการณ์ท่ีปรากฏในเอกสารอาจ
กลา่ วไดว้ า่ ร่องรอยของการลงรกั ปดิ ทองผนังภายในซุ้มจระนาคร้ังแรกอยู่ในช่วงแรกสร้างสมัยพระเจ้า
ติโลกราช ส่วนร่องรอยการลงรักปิดทองคร้ังที่ 2 น่าจะเป็นการบูรณะอีกคร้ังในรัชสมัยพระเจ้ายอด
เชยี งราย ดังปรากฏในเอกสารตามท่ีได้กล่าวมาแล้ว และเม่ือตรวจสอบกับผนังของซุ้มจระนาด้านทิศ
ตะวันออก พบว่าที่ผนังด้านในบางส่วนและส่วนท่ีอิฐก่อปิดทับน้ัน มีร่องรอยการลงรักปิดทอง 2 ช้ัน
เชน่ เดยี วกบั ทพี่ บในซุ้มด้านทศิ ตะวันตก แสดงให้เหน็ ว่าซมุ้ จระนาด้านทศิ ตะวันออกนี้จะต้องเปิดกว้าง
โดยไม่มีอะไรมาปิดบังอยู่ตลอดมา และการก่ออิฐปิดซุ้มดังที่เห็นในปัจจุบันเป็นการกระทาภาย
หลังจากที่พระเจดยี ห์ ลวงได้พังทลายลงมาแล้ว ซึ่งก็สนับสนุนกบั ขอ้ สนั นษิ ฐานข้างต้น50

ประเด็นเร่ืองซุ้มจระนาดา้ นทศิ ตะวนั ออกนนั้ สุวนิ วชั รเสถียร51 เป็นอีกผู้หน่ึงซึ่งได้มีส่วน
ร่วมในการขุดค้นศึกษาทางโบราณคดีพระเจดีย์หลวง ปี พ.ศ. 2529 ได้เขียนข้อความบรรยายพร้อม
ภาพประกอบเกีย่ วกับประเดน็ นล้ี งในบทความเรือ่ ง “บนั ทึกอดตี พระเจดยี ์หลวง : คุณค่าและวิญญาณ
ของล้านนา ที่ไม่อาจเรียกกลับคืนมาได้” ว่ามีการก่ออิฐทึบปิดทับซุ้มจระนาด้านทิศตะวันออกขึ้นไป
จนยันกรอบวงโคง้ และเปิดชอ่ งประตูเล็กๆ อยตู่ รงกลาง ซึ่งในการบูรณะไม่ได้เปิดอิฐส่วนน้ีออกโดยให้
เหตุผลว่าเปน็ สถานท่สี าหรบั ประดิษฐานพระแกว้ มรกต แตจ่ ากลกั ษณะของการก่ออิฐและความหยาบ
ของฝีมือที่ปรากฏ ตลอดจนหลักฐานที่ค้นพบนั้นขัดแย้งกับสภาพที่ควรจะเป็น และเมื่อตรวจสอบ
สภาพภายในซุ้มจระนาด้านทิศตะวันตกภายหลังการขุดค้นเรียบร้อยแล้ว พบว่ามีร่องรอยของการก่อ

49 เร่ืองเดียวกัน, 172-173.
50 เร่ืองเดียวกนั , 173.
51 สวุ ิน วัชรเสถียร ไดม้ ีส่วนร่วมขุดค้นศึกษาทางโบราณคดีพระเจดีย์หลวงใน พ.ศ. 2529 และได้รับ
มอบหมายให้เห็นนายช่างผู้ควบคุมการบูรณะฯพระเจดีย์หลวงคร้ังใหญ่ ในระหว่าง พ.ศ. 2533-2534 แต่หลังจาก
การบูรณะดาเนินการได้เพียง 20% เนื่องจากมีความขัดแย้งทางความคิด จึงถูกสับเปล่ียนหน้าท่ีให้ประจากอง
สถาปัตยกรรม ส่วนการดาเนินงานบรู ณะพระเจดียห์ ลวงไดด้ าเนินการผา่ นไปโดยการควบคมุ งานของนายชา่ งคนใหม่
จนแลว้ เสรจ็ ดังปรากฏผลการบูรณะพระเจดียห์ ลวงทกุ วันน้ี

27

อิฐค้ายันผนังด้านข้างไว้มิให้พังทลายลงมา ซึ่งคงเป็นลักษณะเช่นเดียวกับที่ซุ้มจระนาด้านทิศ
ตะวนั ออก เพียงแต่ว่าวงโค้งของซุ้มด้านน้ีคงพังไปหมดแล้วก่อนหน้านี้ ดังน้ันการก่ออิฐด้านนี้จึงไม่สูง
ยนั ถงึ วงโคง้ ของซุ้มเชน่ ด้านทศิ ตะวนั ออก52 จากการวิเคราะหข์ า้ งตน้ ท้งั ของสุรพล ดาริห์กุล และ สุวิน
วัชรเสถียร ล้วนมีความเห็นท่ีสอดคล้องกันว่า การก่ออิฐปิดทึบที่ซุ้มจระนาด้านทิศตะวันออกนั้น
น่าจะเป็นการก่อขึ้นในภายหลังจากที่พระเจดีย์หลวงได้พังทลายลงมาแล้วมากกว่า ไม่น่าเป็นก่ออิฐ
เพอ่ื ประดิษฐานพระแกว้ มรกตแต่อย่างใด

ส่วนยอดของพระเจดีย์หลวงยังคงเป็นประเด็นสาคัญอีกประเด็นหนึ่งท่ีมีการถกเถียงอยู่
ว่าควรจะมีลักษณะแบบใดกันแน่ สุรพล ดาริห์กุล พูดถึงประเด็นนี้ว่าจากการศึกษาในส่วนที่เหลือ
ตั้งแต่ฐานถึงมาลัยเถาใต้คอระฆัง อาจเปรียบแบบแผนของช้ันลวดบัวเจดีย์ได้ว่ามีส่วนคล้ายคลึงกับ
พระเจดยี ์วัดเชยี งมั่น ท้ังนเี้ พราะมีลักษณะรูปทรงของพระเจดีย์หลวงเป็นช้างล้อมใกล้เคียงกัน รวมท้ัง
ประวตั ิการก่อสรา้ งก็มีระยะเวลาทใี่ กล้เคียง กล่าวคือเจดีย์วัดเชียงม่ันได้รับการปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ใน
รัชสมัยพระเจ้าติโลกราช ดังนั้นในการวิเคราะห์แบบแผนทางศิลปกรรมและรูปทรงในส่วนที่ขาด
หายไปของพระเจดีย์หลวงส่วนบน อาจกล่าวได้ว่ามีลักษณะใกล้เคียงกับพระเจดีย์วัดเชียงมั่นมาก
ท่สี ดุ 53 ซง่ึ ข้อสันนิษฐานนีก้ ็สอดคลอ้ งกบั รายงานการบูรณะของกรมศิลปากร

ขณะเดียวกันก็มีนักวิชาการบางท่านไม่เห็นด้วยกับข้อสันนิษฐานดังกล่าว เช่น จิรศักดิ์
เดชวงศ์ญา ผู้เขียนหนังสือ “พระเจดีย์เมืองเชียงใหม่” ได้ต้ังข้อสังเกตเก่ียวกับพระเจดีย์หลวงใน
ประเดน็ น้ีวา่ ยังมขี อ้ น่าสงสยั สาหรบั ส่วนยอดของพระเจดีย์หลวงท่ีนาไปเปรียบเทียบกับส่วนยอดของ
เจดีย์วัดเชียงม่ันนั้นมีความถูกต้องเพียงใด ถึงแม้ว่าโดยลักษณะส่วนยอดเหนือมาลัยเถาแปดเหลี่ยม
จะต้องเป็นทรงระฆัง บัลลังก์ ปล้องไฉนและปลี แต่เจดีย์วัดเชียงม่ันถูกครอบทับทั้งองค์เมื่อปี พ.ศ.
2114 โดยพญาแสนหลวง54 สว่ นเคา้ โครงของส่วนยอดพระเจดีย์หลวงที่เปลี่ยนแปลงในสมัยพระเจ้าติ
โลกราชน่าจะเปรียบเทียบได้กับส่วนยอดของเจดีย์บรรจุอัฐิของพระองค์ในวัดเจ็ดยอดท่ีพระเจ้ายอด
เชยี งรายสร้างข้ึนเม่ือ พ.ศ. 2030 มากกว่า ซึ่งน่าจะเป็นแนวทางการวิวัฒนาการท่ีสอดคล้องกับเจดีย์
ทรงปราสาทยอดเจดียร์ าวตน้ พุทธศตวรรษที่ 21 นอกจากนี้ จิรศักด์ิ ยังได้เสนอแนวความคิดเก่ียวกับ
ช้ันมาลัยแปดเหล่ียมเหนือเรือนธาตุของพระเจดีย์หลวงว่า น่าจะถูกปรับเปลี่ยนในรัชกาลพระเมือง

52 สุวนิ วัชรเสถยี ร, “บนั ทึกอดตี พระเจดยี ห์ ลวง : คุณค่าและวญิ ญาณของล้านนา ที่ไมอ่ าจเรยี ก
กลับคืนมาได้” สมโภช 600 ปี พระธาตุเจดยี ์หลวง, 177-181.

53 สุรพล ดาริห์กลุ , “ปญั หาและความรใู้ หมเ่ กยี่ วกับโบราณสถานพระเจดียห์ ลวง เมืองเชียงใหม่”
สมโภช 600 ปี พระธาตุเจดีย์หลวง, 170.

54 คณะกรรมการจดั พมิ พเ์ อกสารประวตั ิศาสตร์ วฒั นธรรมและโบราณคดี, ประชมุ ศลิ าจารกึ ภาคที่
3, (กรุงเทพฯ : สานกั ทาเนียบนายกรัฐมนตร,ี 2508), 211.

28

แก้ว ซ่ึงในตานานระบุถึงการปิดทองจังโกพระเจดีย์หลวงท้ังองค์ อันเป็นระยะเวลาเดียวกับการเร่ิมมี
ความนิยมเปล่ยี นมาลยั เถาจากผังกลมเป็นผังแปดเหล่ียมของเจดีย์ทรงระฆัง ดังนั้นถ้าจะกล่าวถึงยอด
พระเจดีย์หลวงท่ีปรากฏหลักฐานอยู่ในปัจจุบันน่าจะเปรียบเทียบกับเจดีย์ทรงระฆังในระยะเดียวกัน
มากกว่าการเปรียบเทียบกับยอดเจดีย์วัดเชียงมั่น อย่างไรก็ตามการเปรียบเทียบกับยอดเจดีย์ทรง
ระฆงั นนั้ กย็ ังมีปัญหาเรื่องรายละเอยี ดขององค์ประกอบสถาปตั ยกรรมด้วย55

ม.ล.สุรสวัสดิ์ สุขสวัสดิ์ นักวิชาการอีกท่านหน่ึงซ่ึงให้ความสาคัญและศึกษาข้อมูล
เกี่ยวกับพระเจดีย์หลวง ได้เขียนบทความเรื่อง “การบูรณปฏิสังขรณ์ พระเจดีย์หลวงคร้ังล่าสุด การ
ค้นหาแก่นสารจากความไร้แก่นสาร” กล่าวถึงการเปรียบเทียบส่วนยอดพระเจดีย์หลวงกับยอดเจดีย์
วัดเชียงมั่นว่า แม้จารึกวัดเชียงม่ัน พ.ศ. 2124 ซ่ึงจารึกขึ้นในสมัยที่มังนรธาช่อปกครองเชียงใหม่จะ
กล่าวไว้ว่า พญาติโลกราชให้ก่อเจดีย์วัดเชียงม่ันด้วยแลง เมื่อ พ.ศ. 2014 ในเวลาใกล้เคียงกับการท่ี
พระองค์ให้บูรณะก่อเสริมพระเจดีย์หลวง แต่จารึกวัดเชียงม่ันกล่าวต่อมาอีกว่า ใน พ.ศ. 2114 (ราว
สมัยท้าวแมก่ ถุ งึ พระนางวสิ ทุ ธเิ ทว)ี ได้มีการ “ก่อกวม” หรือก่อพระเจดีย์องค์ใหม่ ครอบเจดีย์วัดเชียง
ม่ันองค์เดิมแล้ว56 อันเป็นประเพณีนิยมของการบูรณปฏิสังขรณ์ในวัฒนธรรมล้านนา ดังน้ันจึงยังไม่มี
หลักฐานทมี่ ีน้าหนัก มากพอจะเปรียบเทียบกันได้ว่าส่วนยอดของพระเจดีย์หลวงกับส่วนยอดเจดีย์วัด
เชียงม่ันมีรปู แบบทเี่ หมอื นกัน ซึง่ ควรจะมีการศกึ ษาวเิ คราะห์เพม่ิ เตมิ ใหม้ ีข้อสรปุ ทช่ี ดั เจนกว่านี้

นอกจากนี้ ม.ล.สุรสวัสดิ์ ได้วิเคราะห์ประเด็นอุโมงค์ภายในพระเจดีย์หลวงว่า อาจ
สมั พนั ธก์ ับบนั ไดนาคทั้งสี่ดา้ น โดยตงั้ ข้อสงั เกตวา่ อโุ มงคน์ น้ั ไดก้ อ่ เสร็จข้ึนไปยังลานประทักษิณชั้นบน
ได้หรือไม่ หรืออาจจะก่อไม่เสร็จ คือทาไว้แต่เพียงเท่านี้ตั้งแต่แรก ตามที่ระบุไว้ในรายงานการขุดค้น
เม่ือปี พ.ศ. 2529 แต่ถ้าอุโมงค์นั้นใช้ขึ้นไปลานประทักษิณชั้นบนไม่ได้แต่แรกแล้ว ก็ควรจะต้องมี
บันไดทางข้ึนด้วยหรือไม่ เพราะในตานานพ้ืนเมืองหลายฉบับล้วนกล่าวตรงกันถึง “บันไดลงท้ัง 4
ด้าน”57 ในขณะที่รายงานการขุดค้นศึกษาเพื่อเตรียมการบูรณะพระเจดีย์หลวง และรายงานการ

55 จิรศักดิ์ เดชวงศ์ญา, พระเจดีย์เมืองเชียงใหม่, (เชียงใหม่ : สานักพิมพ์วรรณรักษ์, 2541), 104-
105.

56 ม.ล. สุรสวสั ดิ์ สุขสวัสดิ์, “การบูรณปฏิสังขรณ์ พระเจดีย์หลวงครั้งล่าสุด การค้นหาแก่นสารจาก
ความไร้แก่นสาร” เมอื งโบราณ, ปที ี่ 19, ฉบับท่ี 2 (เม.ย.- ม.ิ ย. 2536), 157. อ้างถงึ จารกึ วดั เชยี งมนั่ โดย ฉ่า ทองคา
วรรณ, อ่านและอธิบายคา, “จารึกหลักที่ 76 ศิลาจารึกวัดชียงม่ัน จังหวัดเชียงใหม่” ประชุมศิลาจารึกภาค 3
(กรุงเทพฯ : คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และโบราณคดี สานักนายกรัฐมนตรี,
2508), 211.

57 ดรู ายละเอียดใน ไพฑูรย์ ดอกบัวแก้ว, “เจดีย์หลวงกับการบูรณะครั้งใหม่” เอกสารประกอบการ
สมั มนาเรื่อง ศลิ ปะสถาปตั ยกรรมลา้ นนา : สภาพปัญหาและแนวทางอนุรักษ์ ณ วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร อาเภอเมือง
จังหวัดเชยี งใหม่ ระหว่างวันที่ 1-3 เมษายน 2536, เอกสารโรเนยี ว, 2-4.

29

บูรณปฏิสังขรณ์พระเจดีย์หลวงฉบับของบริษัทศิวกรการช่าง จากัด กล่าวไว้ตรงกันว่ามีร่องรอยของ
บันไดเฉพาะด้านทิศตะวันออก ซ่ึงพระเมืองแก้วคงให้สร้างขึ้น บันไดดังกล่าวมีลักษณะ “...ตรงกลาง
ทางขึ้นทาเป็นขั้นบันไดต้ังแต่พื้นขึ้นไป ลักษณะของขั้นบันไดก่ออิฐเรียงซ้อนกัน 4 ก้อน ฉาบปูน
ภายนอก บันไดแต่ละขั้นมีขนาดกว้าง 0.38 เมตร สูง 0.24 เมตร”58 ส่วนบันไดด้านอ่ืนเป็นลักษณะ
กอ่ อฐิ เทปูนเรียบ ไม่มีข้ันบันได ซึ่งเม่ือเปรียบเทียบระหว่างข้อมูลเอกสารกับหลักฐานท่ีได้จากการขุด
ค้นกม็ ีความขัดแยง้ กนั เอง จึงยงั ไมส่ ามารถหาข้อสรปุ ได้

สาหรับปัญหาบันไดทางขึ้นพระเจดีย์หลวงน้ัน สันติ เล็กสุขุม ได้กล่าวถึงประเด็นนี้ใน
หนงั สือ “ศิลปะภาคเหนือ : หรภิ ุญชัย- ลา้ นนา” วา่ พระเจดยี ห์ ลวงองค์นเี้ ปน็ เจดีย์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
อยู่กลางเมืองเชียงใหม่ ฐานประทักษิณสูง จึงมีบันไดทางขึ้นซึ่งทาไว้ทั้ง 4 ด้าน ในการบูรณะในอดีต
ครั้งใดครั้งหน่ึงมีการปิดข้ันบันไดทางข้ึน ต่อมาคราวบูรณะครั้งล่าสุดของกรมศิลปากร เม่ือ พ.ศ.
2535 จงึ ไดเ้ ทปนู ปิดทับขั้นบันไดเหลา่ น้นั ไว้ตามเดิม โดยเฉพาะบันไดทางดา้ นตะวันออก59

นอกจากนี้ สันติ ยังได้วิเคราะห์ประเด็นเรือนธาตุทรงสี่เหล่ียมเพ่ิมมุมของเจดีย์หลวงว่า
เรือนธาตุมีมุมขนาดใหญ่เป็นมุมประธานน้ัน มีลักษณะแปลกไปจากรูปแบบท่ีเคยทากันมาของช่าง
ล้านนา ทาใหด้ คู ลา้ ยการเพิม่ มุมตามแบบแผนของปรางค์แบบอยุธยา ส่วนเหนือเรือนธาตุขึ้นไปก่ออิฐ
เป็นรูปหลังคาเอนลาดทุกมุมของชายคามีร่องรอยว่าประดับส่วนงอนขึ้นคล้ายที่เรียกว่า หางวัน
สันนษิ ฐานว่าแนวเอนลาดของหลังคาทรงปราสาทคงปรับเปล่ียนในคราวสร้างปฏิสังขรณ์คร้ังพระเจ้าติ
โลกราช ซ่ึงความเอนลาดของหลังคาไม่เหมาะแก่การก่อทรงเจดีย์ที่เป็นยอดบริวาร ดังนั้นพระเจดีย์
หลวงจงึ มรี ะเบยี บกระพุ่มยอดเดียว คือ มีเฉพาะยอดกลาง ซ่ึงควรเป็นทรงระฆังท่ีต้ังอยู่บนชุดของชั้น
แปดเหลยี่ ม มบี ัลลังกต์ ้งั เหนอื ทรงระฆงั และตอ่ ยอดด้วยปล้องไฉนและปลี60

5.2 ศึกษารูปแบบสันนิษฐานท้ังภาพลายเส้นท่ีมีผู้ศึกษาไว้แล้ว รวมถึงรูปแบบ
สนั นิษฐาน 3 มติ ิ โดย เกรยี งไกร เกดิ ศิริ

นอกจากจะมีเอกสารงานวิจัยจานวนมากเกี่ยวกับพระเจดีย์หลวง จ.เชียงใหม่แล้ว ยังมี
การทารูปแบบสันนิษฐานท้ังภาพลายเส้นและภาพ 3 มิติ ซึ่งรูปแบบสันนิษฐานท่ีปรากฏก็มีลักษณะ
แตกตา่ งกันไปตามแนวความคิดของผู้วิจัย โดยแบบสันนิษฐานภาพลายเส้นพระเจดีย์หลวง(รูปที่8) จ.

58 วิเศษ เพชรประดับ, รายงานการขุดค้นศึกษาเพื่อเตรียมการบูรณะพระเจดีย์หลวง อ.เมือง จ.
เชียงใหม่, 15. และรายงานการบูรณปฏิสังขรณ์พระเจดีย์หลวง วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร จังหวัดเชียงใหม่,
(บริษัทศวิ กรการช่างจากัด, 2536), 66.

59 สนั ติ เลก็ สุขุม, ศลิ ปะภาคเหนือ : หริภุญชยั –ลา้ นนา, พมิ พค์ ร้ังท่ี 3 (กรุงเทพฯ : เมอื งโบราณ,
2555), 100.

60 เรอื่ งเดยี วกนั , 100.

30

เชียงใหม่ ในระยะแรกจดั ทาและตีพมิ พล์ งใน “รายงานการขุดค้นเพ่ือเตรียมการบูรณะพระเจดีย์หลวง
อ.เมือง จ.เชียงใหม่” ปี พ.ศ. 2529 โดยหน่วยศิลปากรที่ 4 กองโบราณคดี กรมศิลปากร ซ่ึงได้
วเิ คราะหว์ า่ ส่วนยอดของของพระเจดียห์ ลวงเทา่ ทม่ี หี ลกั ฐานเหลืออยู่ มีลักษณะเป็นชั้นบัวคว่าหรือบัว
ถลาซ้อนลดหล่ันกัน ต่อด้วยชั้นบัวถลาแปดเหล่ียมรองรับองค์ระฆัง จากรูปแบบดังกล่าวทาให้เช่ือว่า
ส่วนยอดของพระเจดีย์หลวงท่ีพังทลายไปนั้น น่าจะเปรียบเทียบได้กับส่วนยอดของเจดีย์วัดเชียงมั่น
จ.เชียงใหม่ เนอ่ื งจากมีแบบแผนท่ใี กลเ้ คียงกันมากท่ีสดุ

ช้ันบัวถลาแปดเหลย่ี ม
ช้นั บัวคว่าบวั หงาย

รูปท8่ี : แบบสนั นษิ ฐานภาพลายเสน้ พระเจดยี ์หลวงเปรยี บเทยี บกบั ลายเสน้ เจดียว์ ดั เชียงมนั่ จ.เชียงใหม่
ท่มี า: รายงานการขดุ ค้นเพื่อเตรียมการบูรณะพระเจดยี ์หลวง, กรมศลิ ปากร, พ.ศ. 2529

31

ชน้ั มาลัยเถา ภาพลายเส้นแบบสันนิษฐานพระ
แปดเหล่ยี ม เ จ ดี ย์ ห ล ว ง ใ น เ อ ก ส า ร โ ค ร ง ก า ร บู ร ณ ะ
ช้นั บัวควา่ บวั หงาย โบราณสถานเจดีย์หลวง จ.เชียงใหม่(รูปท่ี9) ส่วน
ห นึ่ ง ข อ ง โ ค ร ง ก า ร ร่ ว ม มื อ แ ล ะ แ ล ก เ ป ลี่ ย น ท า ง
รูปท9ี่ : แบบสนั นิษฐานภาพลายเสน้ พระเจดยี ห์ ลวง วิชาการระหว่าง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
ทมี่ า: เอกสารโครงการบูรณะโบราณสถานเจดยี ์หลวง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับสถาบัน l’Ecole
ส่วนหนึ่งของโครงการร่วมมือและแลกเปล่ียนทาง d’Architecture Paris-Villemin, พ.ศ.2531 และ
วชิ าการระหว่างคณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์ ปรากฏท่ีปกหลัง “รายงานการบูรณปฏิสังขรณ์
มหาวิทยาลัยกับสถาบันl’Ecole d’Architecture พระเจดีย์หลวง” โดยบริษัท ศิวกรการช่าง จากัด
Paris-Villemin, พ.ศ.2531 พ.ศ. 2536 เมื่อพิจารณาดูจากรูปแบบแล้ว มี
ลักษณะท่ีแตกต่างออกไป คือ แบบสันนิษฐานนี้ท่ี
ส่วนเหนือเรือนธาตุมีลักษณะเป็นชั้นบัวคว่าบัว
หงายซ้อนกัน 3 ชั้น ถัดขึ้นไปเป็นชุดฐานรองรับ
องค์ระฆังแปดเหล่ียมซ้อนกัน 4-5 ชั้น องค์ระฆัง
ปลีและยอดตามลาดับ แต่เมื่อตรว จสอบ
เปรียบเทียบกับส่วนยอดท่ีเหลืออยู่ของพระเจดีย์
หลวง มีลักษณะเป็นบัวคว่าซ้อนกันต่อด้วยช้ันบัว
ถลาแปดเหลี่ยม จึงเป็นไปไม่ได้ที่จะมีรูปแบบ
สนั นิษฐานดงั ภาพลายเส้นท่ีปรากฏ

นอกจากรูปแบบสันนิษฐานเป็นภาพลายเส้นแบบ 2 มิติข้างต้นแล้ว ยังมีรูปแบบ
สันนิษฐานภาพ 3 มิติ(รูปท่ี10) ซึ่งศึกษาและจัดทาโดย เกรียงไกร เกิดศิริ และคณะผู้ร่วมวิจัย จาก
แบบสันนิษฐานพบว่า ลักษณะส่วนยอดใกล้เคียงกับภาพลายเส้นสันนิษฐานของกรมศิลปากรเมื่อปี
พ.ศ. 2529 คือ มีรูปแบบเปรียบเทียบได้กับเจดีย์วัดเชียงมั่น ประกอบไปด้วย บัวคว่า 2 ชั้นซ้อนกัน
ถัดขึ้นไปเป็นชุดฐานบัวถลาแปดเหล่ียม รองรับองค์ระฆังทรงกลม ตามด้วยปลีและยอดตามลาดับ
นอกจากนย้ี งั ไดใ้ สร่ ายละเอยี ดเสรมิ เขา้ ไปทาให้ดูสมจริงมากย่ิงข้นึ คอื บรเิ วณเรือนธาตุจนถึงส่วนยอด
ของเจดียท์ าเปน็ สีทองอรา่ ม ให้ตรงตามตานานที่กล่าวว่ามกี ารปิดทองจังโกพระเจดยี ห์ ลวงทง้ั องค์

32

รปู ท1่ี 0: แบบสันนษิ ฐานภาพลายเส้นและภาพ 3 มติ ิ พระเจดียห์ ลวง จ.เชยี งใหม่
ทม่ี า: www.facebook.com/kreangkrai.kirdsiri/media_set?set=a.536461986382913.
139765.100000573491135&type=3

33

5.3 สรุปแนวคิดท่ีได้จากการศกึ ษาและวเิ คราะหร์ ูปทรงสนั นษิ ฐานพระเจดีย์หลวง
ส่วนฐาน บนั ไดนาค และอโุ มงค์ใต้เจดีย์
แนวคิดแรก เชื่อว่าบันไดนาค น่าจะมีการก่ออิฐเทปูนเรียบทุกด้านไม่มีข้ันบันไดต้ังแต่
สมยั พระเจา้ ตโิ ลกราชแล้ว เนื่องจากว่ามีการสร้างอุโมงค์ใต้ฐานพระเจดีย์หลวง ซ่ึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือ
ใช้เป็นทางขึ้นไปบนระเบียงลานประทักษิณด้านบน ต่อมาเมื่ออุโมงค์ใต้เจดีย์ทรุดตัว จึงได้มีการปิด
ทางเขา้ อโุ มงค์และทาขน้ั บนั ไดทางขน้ึ เฉพาะด้านทิศตะวนั ออกเพยี งด้านเดยี วเท่าน้ัน
แนวคิดที่สอง เช่ือว่าในอดีตน่าจะมีการทาบันไดทางข้ึนทั้ง 4 ด้าน โดยมีบันทึกเป็น
เอกสารตานานตา่ งๆ ท่ีเก่ียวกับพระเจดีย์หลวงก็กล่าวตรงกันว่า มีบันไดทางข้ึนทุกด้าน ต่อมาในสมัย
ใดสมยั คงปดิ ไม่ใหใ้ ช้บนั ไดทางขึ้นอีก 3 ด้าน ให้เหลือเฉพาะทางด้านทิศตะวันออกเท่านั้นที่ใช้ได้ และ
บูรณะอกี ครั้งโดยกรมศลิ ปากร ซ่ึงไดเ้ ทปนู เรียบดังสภาพท่เี หน็ ในปัจจบุ นั
ซ่ึงผู้เขียนเชื่อว่าบันไดนาคของพระเจดีย์หลวงน่าจะเป็นไปตามแนวความคิดที่สอง คือ
ในอดีตมีการทาขนั้ บันไดทางขนึ้ ท้ัง 4 ดา้ น
ส่วนเรอื นธาตุและซมุ้ จระนา
แนวคิดแรก เชื่อว่า ซุ้มจระด้านทิศตะวันออกท่ีก่ออิฐปิดทึบแล้วเปิดเป็นช่องตรงกลาง
ด้านล่างน้ัน น่าจะเพื่อเป็นท่ีประดิษฐานพระแก้วมรกตที่พระเจ้าติโลกราชอัญเชิญมาจากนครลาปาง
และยังมีบันทึกเกี่ยวกับการประดิษฐานพระแก้วมรกตที่ซุ้มจระนาด้านทิศตะวันออกนี้ นอกจากน้ียัง
เหลอื ส่วนฐานชุกชีสาหรับประดิษฐานพระพทุ ธรูปอยูภ่ ายในซมุ้ ดา้ นนด้ี ้วย
แนวคดิ ทส่ี อง เช่ือว่า ซุ้มจระนาดา้ นทศิ ตะวันออกท่ีก่ออิฐปิดทึบน้ัน น่าจะเป็นการก่อข้ึน
ภายหลังท่ีเจดีย์พังทลายลงมาแล้ว เนื่องจากลักษณะของการก่ออิฐที่ค่อนข้างหยาบ และเม่ือสารวจ
ภายในซุ้มจระนาทิศตะวันตกยังพบลักษณะการก่ออิฐคล้ายๆกัน แต่ไม่สูงเท่า นอกจากนี้ภายในซุ้ม
จระนาด้านทิศตะวันออกด้านหลังกาแพงอิฐ ยังพบหลักฐานเป็นร่องรอยลงรักปิดทองจังโก ซ่ึงมี
ลกั ษณะเหมือนกบั ทพ่ี บในซมุ้ จระนาด้านทิศตะวนั ตกอีกด้วย
สาหรับส่วนเรือนธาตุและซุ้มจระนา น่าจะเป็นไปตามแนวความคิดท่ีสอง คือ เช่ือว่า
นา่ จะมีการกอ่ อิฐปิดทบึ บรเิ วณซุ้มจระนาด้านทิศตะวันออกภายหลัง
ส่วนยอดของพระเจดยี ห์ ลวง
แนวคิดแรก เช่ือว่า ส่วนยอดที่พังทลายของพระเจดีย์หลวง น่าจะมีรูปแบบเดียวกับวัด
เชยี งม่ัน จ.เชียงใหม่ เน่อื งจากหลักฐานสว่ นยอดของพระเจดียห์ ลวงทีเ่ หลืออยูม่ ีความใกล้เคียงกับส่วน
ยอดของเจดีย์วัดเชียงมั่น และท่ีฐานมีช้างล้อมเหมือนกัน รวมถึงเปรียบเทียบประวัติการก่อสร้างก็มี
ระยะเวลาใกล้เคียงกัน คือ เจดีย์วัดเชียงม่ันได้รับการปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ในรัชสมัยพระเจ้าติโลกราช
เชน่ เดียวกัน

34

แนวคิดทส่ี อง เชอ่ื วา่ เค้าโครงของสว่ นยอดพระเจดีย์หลวงท่ีเปล่ียนแปลงในสมัยพระเจ้า
ติโลกราชน่าจะเปรียบได้กับส่วนยอดของเจดีย์บรรจุอัฐิของพระองค์ในวัดเจ็ดยอด ท่ีพระเจ้ายอด
เชียงรายสร้างขึ้น หรือเปรียบเทียบกับเจดีย์ทรงระฆังในระยะเดียวกันมากกว่าวัดเชียงม่ัน เนื่องจาก
ตามประวัติวัดเชียงม่ันน้ันถูกสร้างครอบทับท้ังองค์เม่ือ ปีพ.ศ. 2114 โดยพญาแสนหลวง ดังน้ันจึงไม่
สามารถนามาเปรยี บเทียบกับสว่ นยอดวัดเชยี งมัน่ ได้

สว่ นยอดของพระเจดยี ห์ ลวง ผูเ้ ขียนเช่ือว่าน่าจะเป็นมีรูปแบบเป็นไปตามแนวความคิดท่ี
สอง คอื เคา้ โครงสว่ นยอดท่ีเปลยี่ นแปลงในสมัยพระเจ้าติโลกราชน่าจะเทียบได้กับเจดีย์บรรจุอัฐิพระ
เจา้ ติโลกราชมากกว่าวดั เชียงมน่ั

บทที่ 3
วิเคราะหร์ ปู แบบพระเจดีย์หลวง และงานปนู ปั้นประดบั ตกแต่ง

จากประเด็นปัญหาการศึกษาท่ีผ่านมาเกี่ยวกับพระเจดีย์หลวง จังหวัดเชียงใหม่ดังที่ได้
กล่าวมาแล้วในบทท่ี 2 ในบทน้ีจะนาข้อมูลท่ีได้ศึกษามาวิเคราะห์รูปแบบศิลปกรรมและลวดลายท่ี
ปรากฏโดยเปรียบเทียบกับเจดีย์ทรงปราสาทยอดเดียวที่สร้างร่วมสมัยกัน รวมถึงเจดีย์แห่งอื่นๆท่ี
น่าจะมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน เพื่อนามาเป็นข้อมูลสาหรับจัดทารูปแบบสันนิษฐานภาพลายเส้น
และภาพ 3 มิติ ในลาดบั ถัดไป

พระเจดีย์หลวงเป็นเจดีย์ทรงปราสาทแบบล้านนาท่ีมีวิวัฒนาการเกิดข้ึนใหม่ในสมัยพระ
เจ้าติโลกราช สันนิษฐานว่าเป็นรูปแบบท่ีผสมผสานระหว่างเจดีย์ทรงระฆังล้านนากับเจดีย์ทรง
ปราสาทห้ายอดท่ีมีมาก่อนหน้า นอกจากนี้ยังได้รับเอาอิทธิพลจากศิลปะพุกาม สุโขทัย อยุธยา และ
ลวดลายเคร่ืองถ้วยในศิลปะจีนมาพัฒนาร่วมกับรูปแบบท้องถิ่น จนเกิดเป็นเจดีย์รูปแบบใหม่ท่ีเป็น
เอกลักษณ์เฉพาะของล้านนาในท่ีสุด ดังนั้นผู้เขียนขอกล่าวถึงศิลปกรรมท่ีมีอิทธิพลต่อเจดีย์ล้านนา
เพื่อให้เข้าใจถึงรูปแบบและท่ีมาของแหล่งแรงบันดาลใจดังกล่าว ก่อนจะเข้าสู่บทวิเคราะห์ในลาดับ
ตอ่ ไป

1. ศลิ ปกรรมท่มี อี ิทธิพลและเป็นแรงบลั ดาลใจในศลิ ปะลา้ นนา ได้แก่
1.1 ศลิ ปะพกุ าม
ศิลปะพุกาม เป็นศิลปะที่ปูพ้ืนฐานให้กับศิลปะทางภาคเหนือของไทย เช่น ศิลปะหริภุญ

ชัย ศิลปะล้านนา ศิลปะสุโขทัย เป็นต้น โดยศิลปะล้านนาระยะแรกได้รับแรงบันดาลใจสาคัญมาจาก
เจติยวิหาร1 ในศิลปะพุกามตอนปลาย และเจดีย์ทรงระฆังพุกามกลุ่มอิทธิพลลังกา ซ่ึงมีรายละเอียด
ดงั น้ี

เจติยวิหารในศิลปะพุกามตอนปลาย ประกอบด้วย ส่วนฐานมักรองรับด้วยฐานเพียง 1
ช้ัน โดยนิยมทาเป็นฐานบัวลูกแก้วสองเส้น ตรงกลางเป็นท้องไม้ซึ่งมีการเจาะช่อง(รูปท่ี 11) บางครั้ง

1 เจตยิ วหิ าร คอื เจดียท์ ีม่ ีเรือนธาตเุ ขา้ ไปภายในได้ เปน็ เจดยี ์ทมี่ ตี น้ กาเนิดมาจากอาคารทรงศิขระใน
ศิลปะอินเดีย และต่อมาจะกลายเป็นต้นกาเนิดให้กับเจดีย์ทรงปราสาทยอดในศิลปะไทย ภาษาพม่าเรียกเจดีย์
ประเภทน้ีว่า “ก”ู่ ซง่ึ อาจกลายมาจากคาวา่ “คูหา” โปรดดู เชษฐ์ ตงิ สัญชลี, เจดียใ์ นศลิ ปะพม่า-มอญ: พัฒนาการ
ทางด้านรูปแบบต้งั แตศ่ ลิ ปะศรเี กษตรถึงศลิ ปะมณั ฑเล, (กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2555), 403.

35


Click to View FlipBook Version