The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การทำงานย่อมมีอุปสรรค ปัญหาฉันใด การทำการเกษตร ก็ย่อมมีแมลงและศัตรูพืชฉันนั้นหนังสือเล่มนี้จะบอกเรื่องราว ที่ควรรู้ และการแก้ปัญหาให้ตรงจุด ตรงประเด็นช่วยให้การทำเกษตร การปลูกดอกไม้ พืชผักสวยงามได้ประสิทธิภาพสูงสุด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แมลงและศัตรูโรค

การทำงานย่อมมีอุปสรรค ปัญหาฉันใด การทำการเกษตร ก็ย่อมมีแมลงและศัตรูพืชฉันนั้นหนังสือเล่มนี้จะบอกเรื่องราว ที่ควรรู้ และการแก้ปัญหาให้ตรงจุด ตรงประเด็นช่วยให้การทำเกษตร การปลูกดอกไม้ พืชผักสวยงามได้ประสิทธิภาพสูงสุด

แมลงศัตรพู ชื และโรคพชื

Insect pests and plant diseases

แมลงศัตรพู ชื

Insect pests

หมายถึง สตั วทีม่ ีลาํ ตวั เปนปลอ ง (Arthropods) จัดอยูในชนั้ (class) Insecta ประกอบดวย
สตั วประมาณ 26 อันดับ (order) ซ่ึงสัตวเ หลานี้ไดก อความเสยี หายแกพ ืชเพาะปลกู แมลงเปนสัตว
ไมม ีกระดูกสันหลงั ลาํ ตัวแบงออกเปน สามสวน คอื สว นศรีษะ (head) อก (thorax) และทอ ง
(abdomen) ซงึ่ บนสวนอกมี 3 ปลอง ซ่งึ แตล ะปลอ งมขี า 1 คู สวนทองมี 8-11 ปลอ ง แมลงมผี นัง
หุมลาํ ตวั แขง็ (exoskeleton) ดังนั้นการเจรญิ เติบโตของแมลงจงึ ตองอาศยั การลอกคราบ (molting)
การจําแนกชนดิ ของแมลงท่ถี ูกตอ งจะแบง ตามหลกั การอนุกรมวธิ านโดยนกั กฏี วิทยา (entomologist)

แมลงศัตรพู ืชสามารถจดั แบง่ ตามระยะเวลาการเข้าทาํ ลายพืชปลกู
ซงึ สามารถแบง่ ได้ 2 ประเภท คอื

1.แมลงศัตรูพืชประเภททีเ่ ขาทาํ ลายตงั้ แตร ะยะปลูกจนถึงระยะเก็บเกี่ยว
การทําลายของแมลงศัตรพู ชื ประเภทนเี้ กิดโดยการกัดกนิ ใบ ยอดออน ตาดอก ดอก และ
ลาํ ตน หรอื การดดู กินนาํ้ เลีย้ งของยอดออน ตาดอก และกิ่งออน หรือการเจาะไชลาํ ตน หรือ
การเปนพาหะท่ีทาํ ใหเกิดการระบาดหรอื แพรก ระจายของโรคพชื ซ่งึ การทาํ ลายของแมลง
ประเภทนี้ ทําใหศ ักยภาพการใหผ ลผลติ ของพชื ปลกู ลดลง

1.แมลงศตั รพู ืชประเภททาํ ลายผลผลิตในโรงเก็บเก่ยี ว (stored insect pest)
แมลงศตั รปู ระเภทนีอ้ าจจะวางไขบนดอกหรือผลของพืชปลูกขณะอยใู นแปลง แลว ตัวแมลงไป
เจริญเติบโตทําลายผลผลิตขณะท่อี ยูใ นโรงเก็บ หรือหลังการเกบ็ เกย่ี วผลผลิตมาแลว เชน
ดวงงวงขาวสาร ดว งถั่ว มอด แมลงวนั ผลไม หรอื อาจจะเปน พวกท่ีอาศยั อยใู นโรงเกบ็ เชน
แมลงสาบ มด เปนตน

ชนดิ ของ ชนดิ ที 1 แมลงศตั รูพืชจําพวกกดั กนิ ใบ (LEAF FEEDER)
แมลงศัตรพู ชื
ไดแ ก หนอนผีเสอ้ื ตั๊กแตน ดวงปก แขง็ แมลงศตั รูพชื พวกนี้มปี ากแบบกดั
กิน (chewing) สามารถกดั กนิ ใบท้งั หมด หรอื กดั กนิ เฉพาะตวั ใบแลว
เหลอื เสนใบไว ทําใหพ ชื ขาดสว นสังเคราะหแ สง หรือขาดที่สะสมอาหาร
หรือขาดยอดออนสําหรบั การเจรญิ เติบโตตอไป

ชนดิ ที 2 แมลงศตั รูพืชจําพวกดดู กินนําเลยี ง (JUICE SUCKER)

ไดแ ก เพล้ียออน เพล้ียกระโดด เพล้ียจ๊กั จั่น และมวนตา ง ๆ แมลงศตั รู
พชื จําพวกนี้มปี ากแบบดูด (sucking) สามารถแทงและดูดนํา้ เลย้ี งจากใบ
ยอดออน กิ่ง ลาํ ตน ดอก หรือ ผล ทาํ ใหสวนตา ง ๆ ของพืชทถี่ ูกดูดกนิ
นา้ํ เลยี้ งมีรอยไหม ใบมวนเหีย่ ว ไมเ จริญเติบโต หรือแคระแกรน็ และ
นอกจากนแี้ มลงจาํ พวกน้ยี ังเปนสาเหตุสาํ คัญของการถา ยทอดและแพร
กระจายโรคพืชทม่ี ีเชื้อไวรสั เปนสาเหตุอกี ดวย

ชนดิ ของ ชนดิ ที 3 แมลงศัตรูพืชจําพวกหนอนชอนใบ (LEAF MINOR)
แมลงศัตรพู ชื
ไดแ ก หนอนผีเสือ้ หนอนแมลงวันบางชนิด แมลงศัตรูพชื จาํ พวกน้ีมักมี
ขนาดเล็ก กัดกนิ เนื้อเย่อื อยูระหวา งผวิ ใบพชื ทาํ ใหพ ืชขาดสวนสงั เคราะห
แสงหรอื ขาดสว นสะสมอาหาร

ชนดิ ที 4 แมลงศัตรพู ืชจําพวกหนอนเจาะลาํ ตน้ (STEM BORER)

ไดแก หนอนดวง หนอนผเี สอ้ื และปลวก แมลงศัตรพู ืชจําพวกนม้ี กั วางไข
ตามใบหรือเปลอื กไม เม่อื ไขฟ ก ออกเปน ตวั หนอนก็จะชอนไชเขา ไปอยใู น
กิง่ ลําตน หรอื ผล ทาํ ใหต น พชื ขาดน้าํ และอาหารแลวแหง ตายไป หรอื
ทาํ ใหผลไมเ นา, หลน เสียหาย

ชนดิ ของ ชนดิ ที 5 แมลงศตั รพู ืชจําพวกกดั กนิ ราก (ROOT FEEDER)
แมลงศัตรพู ชื
ไดแ ก ดว งดีด จ้ิงหรีด แมลงกระชอน ดวงดิน ดวงงวง แมลงศัตรพู ชื
จําพวกนี้มปี ากแบบกัดกนิ มกั มชี ีวิตหรือวางไขต ามพื้นดนิ ตัวออ นและตวั
เตม็ วัยจะเขาทําลายรากพืช ท้ังทําใหพ ชื ยนื ตน แหง ตายเนื่องจากขาดนํา้
และอาหาร

ชนดิ ที 6 แมลงศัตรูพืชจาํ พวกทีทําใหเ้ กดิ ปมุ ปม (GALL MAKER)

ไดแ ก ตอ แตน และเพลี้ย แมลงศตั รูพืชจําพวกนี้เมอ่ื กดั กนิ , ดูดน้ําเล้ียง
หรือวางไขบนพชื แลว มกั จะปลดปลอ ยสารบางชนิดลงบนพืช ทาํ ใหเ กิด
อาการปมุ ปมผิดปกติบนสวนตา ง ๆ ของพชื เชน ดอก ใบ ยอดออน ราก
และลําตน

หนอนผีเสือ้ ต๊กั แตน เพ้ียะ
แตน จิ้งหรีด ปลวก

วธิ ีปองกนั และกาํ จัดแมลงศตั รพู ืช

แบง ออกได 5 วิธีคือ

1.วิธีทางเขตกรรม เชน การปลกู พชื หมนุ เวียน การทําความสะอาดแปลงปลูก กําหนดระยะเวลาการ

เพาะปลกู การตัดแตงตนพชื

2.วธิ ีทางกายภาพ เชน การใชม งุ ปอ งกัน การใชก าวดกั แมลง การทําลายแหลง อาศยั ของแมลง การใชไฟ

ลอและทาํ ลาย

3.วธิ ที างชีวภาพ เชน การใชต ัวหาํ้ ตวั เบยี น การใชเ ชอ้ื รา การใชเชือ้ แบคทเี รยี การใชเชอ้ื ไวรัส

4. วิธีทางพันธุกรรม โดยการนาํ แมลงศตั รูพืชมาผานการฉายรังสเี พื่อใหเปนหมันแลว ปลอ ยไปใน

ธรรมชาติทาํ ใหแ มลงนนั้ ไมสามารถขยายพันธไุ ด

5.วิธที างเคมี โดยแบง ออกเปน 2 กลมุ คอื กลมุ เคมที ไ่ี ดมาจากการสกัดจากธรรมชาติ เชน ยาเสน

สะเดา สาบเสอื ตะไครหอม ฯลฯ และกลมุ เคมีที่สงั เคราะหขนึ้ เชน กลุมออรก าโนคลอไรน

กลุมออรกาโนฟอสเฟต กลมุ คารบาเมต กลมุ สารสงั เคราะหไ พรีทอย

หนอนกระทหู้ อม (beet armyworm)

ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Spodoptera exigua (Hubner)
วงศ ผเี สอ้ื หนอนกระทู (Noctuidae)
อนั ดับ ผเี สื้อ (Lepidoptera)

พืชอาหารและวงจรชวี ิต
พชื อาหารหลายชนดิ เชน หอม องนุ พชื ตระกูลกะหลาํ่ พืชตระกูลถ่วั และพืชผกั อน่ื ๆ

วงจรชีวติ กลุม ไข 20-8- ฟอง ระยะฟก 3-4 วนั ระยะหนอน 14-17 วนั ระยะดักแด (ในดนิ )
5-7 วัน สว นตัวเต็มวยั มอี ายุเฉลี่ย 4-10 วัน เปนผีเสื้อกลางคนื ขนาดกลางปก คหู นาสีนํ้าตาล
ปนเทา กลางปกคูหนา มจี ุดน้ําตาลออ น 2 จุด หนอนมีผนงั ลําตัวเรยี บ ลาํ ตวั อว น กะโหลกเลก็
มีหลายสแี ตส วนใหญม สี ีเขียวออน

ความสําคญั และลกั ษณะการทาํ ลาย
หนอนกระทูหอมเปนแมลงศัตรูทีส่ ําคญั อกี ชนดิ หนง่ึ กอใหเกดิ ความเสียหายกับผักตระกูล กะหลาํ ทกุ ชนดิ

ทัวประเทศไทยโดยเฉพาะตามแหลงปลูกการคา กอ ใหเกดิ ความเสียหายตอผูปลูก ผกั อยางมาก ท้ังนี
เกษตรกรไมส ามารถปอ งกันกาํ จดั หนอนชนดิ นไี ด เน่ืองจากหนอนสรา งความ ตานทานตอ สารฆาแมลงหลาย
ชนดิ และมีพฤติกรรมชอบหลบซอนตวั การระบาดจะรนุ แรงมากใน ชวงฤดรู อน โดยหนอนเมอ่ื ฟกออกจากไข
จะกดั กนิ ผวิ ใบบริเวณสวนตา งๆ ของพชื เปนกลมุ และความเสียหายรนุ แรงในระยะหนอนวยั 3 ซง่ึ จะแยกยาย
กดั กนิ ทุกสวนของพืช หากปริมาณหนอน มากความเสยี หายจะรนุ แรง ผลผลติ จะเสยี หายและคุณภาพไมเปน
ทีต่ อ งการของตลาด

การแพรกระจาย
หนอนกระทเู็ ปน แมลงท่ีมีการแพรร ะบาด กระจายไปท่ัวโลก โดยเฉพาะอยา งยิง่ ในประเทศแถบประเทศ

เอเซยี ที่มีสภาพภมู ิอากาศรอนชืน้ จะพบการแพรร ะบาดมากกวาประเทศอน่ื ๆ ในประเทศไทยสามารถพบไดท ว่ั
ทุกภาค ตลอดทง้ั ป และไมจ าํ กัดฤดูกาล โดยเฉพาะพืน้ ทปี่ ลกู พชื ไร พชื ผกั ในจงั หวดั ตา งๆ

การปอ งกันกําจดั
การใชวิธเี ขตกรรม เชน การไถพรวนดนิ ตากแดด เพือฆาดกั แดห นอนกระทูห อมทอี ยูใ น
ดนิ การทาํ ลายซากพชื อาหาร เพือ ลดแหลง อาหารในการขยายพนั ธอุ ยา งตอเนอื ง ทําให
ชวยลด การระบาดของหนอนกระทหู อมในการปลูกผักครงั ตอ ไป
การใชวิธกี ล เชน เกบ็ กลมุ ไขและหนอนทําลายจะชวยลดการระบาดลงไดอ ยางมี
ประสทิ ธิภาพ
การใชโ รงเรอื นตาขา ยไนลอน หรือการปลูกผักกางมงุ โดยการปลกู ผักในโรงเรอื นทค่ี ลมุ
ดวยตาขายไนลอนขนาด 16 mesh สามารถปอ งกันการเขา ทาํ ลายของหนอนกระทหู อม
ไดอยา งมี ประสทิ ธภิ าพ 100 เปอรเ ซน็ ต

การใชสารจุลนิ ทรียฆ า แมลง (microbial insecticides) ไดแก
- การใชเชื้อแบคทีเรีย (บาซลิ ลสั ทรู ิงเยนซสิ ) ท่มี จี าํ หนายเปน การคา ไดแ ก Bacillus
thuringiensis subsp. aizawai เชน เซนทารี และ ฟลอรแ บค ดับบลวิ ดจี ี เปน ตน Bacillus
thuringiensis subsp. kurstaki เชน เดลฟน และ แบคโทสปน เอ็ชพี เปนตน
- การใชเชอื้ ไวรสั (นวิ เคลียรโพลีฮีโครซสิ ไวรัส) หนอนกระทูหอม เชน DOA BIO V1
(กรม วิชาการเกษตร) เปนตน
การใชส ารฆาแมลงทมี่ ีประสิทธิภาพ ในการปองกนั กําจดั หนอนกระทูหอม

เพลยี จกั จันฝาย (leafhopper)

ชือ่ วทิ ยาศาสตร Amrasca biguttula biguttula (Ishida)

วงศ Cicadellidae

อนั ดบั Homoptera

พชื อาหารและวงจรชวี ติ

พชื อาหารพบทําลายพชื ผกั หลายชนิดทสี าํ คัญ ไดแ ก มะเขือเปราะ มะเขอื ยาว และกระเจย๊ี บเขยี ว เปน ตน

นอกจากนี้ยังพบทาํ ลายฝาย และปอแก วงจรชีวิตระยะไขเ ฉลย่ี ประมาณ 6.3 วัน ตวั ออนทฟ่ี กออกจากไขม สี เี ขียวอม

เหลอื งจาง ตัวออนโต เต็มทีม ีขนาด 2 มม. เคล่อื นไหวรวดเร็ว มกี ารเจรญิ เติบโต 5 ระยะ ระยะที 1 อายุ 1.5 วนั

ระยะท่ี 2 1.1 วนั ระยะที่ 3 1.2 วนั ระยะที่ 4 1.5 วนั และระยะที 5 2 วัน รวมระยะตัวออนเฉลีย 7.3 วัน ตัว

เต็มวัยรูปรา งลักษณะยาวรี ขนาดเล็กประมาณ 2.5 มม. มีสีเขียวจาง ปก โปรง ใสมจี ดุ สีดาํ อยูกลางปก ขา งละจุด

เคลื่อนไหวและบินไดร วดเรว็ มากเมอื ถกู รบกวน ตวั เต็มวยั มีอายุประมาณ 21-30 วัน

ความสาํ คัญและลกั ษณะการทําลาย
เพลีย จักจ่ันฝายระบาดตามแหลงปลกู ทวั ไปในประเทศไทย เขา ทําลายในชวงตนพชื ยังเลก็ ทําใหตน

ไมเจริญเติบโตหรอื ตายได โดยทัง ตวั ออ นและตัวเต็มวัยดดู กินนําเลีย้ งจากใบมีผลทําให ใบเปลียนเปนสีนาํ
ตาล และงอลง ใบจะเหยี วแหง และแหง กรอบในท่ีสดุ ดังนันในชวงทีพ่ ืชเล็กควร หมันตรวจนบั แมลงหาก
พบเพล้ยี จักจนั่ ฝา ยเฉลียสงู กวา 1 ตัวตอใบควรทาํ การปอ งกันกาํ จัด

การปอ งกันกาํ จดั
คลุกเมลด็ กอนเพาะกลาดวยสารคารโบซลั แฟน (พอสซ 25% เอสที) อตั รา 40 กรมั / เมลด็ 1
กก.
ใชสารฆาแมลงทีม ีประสทิ ธิภาพ เชน อมิ ดิ าโคลพรดิ (คอนฟดอร 100 เอสแอล 10% เอสแอล)
หรอื ฟโปรนิล (แอสเซ็นด 5% เอสซี) อตั รา 20 และ 20 มล./นํา 20 ลิตร ตามลาํ ดบั

แมลงวนั หนอนชอนใบ

(chrysanthemum leaf miner)

ช่อื วทิ ยาศาสตร Liriomyza huidobrensis (Blanchard)

วงศ Agromyzidae

อันดบั Diptera
พืชอาหารและวงจรชวี ติ

พืชอาหารพบทําลาย ไมด อก เชน เยอบีรา แอสเตอร กุหลาบ ดาวเรอื ง เบญจมาศ ฯลฯ วงจรชีวติ ระยะไข 2 -

4 วัน เมอื ฟก เปนตัวหนอน จะมีลักษณะหัว แหลมทายปา น (รปู กระสวย) ไมเ ปน ปลองชดั เจน ไมมขี า เคลือ่ นทโี ดย

การดดี ตวั มขี นาดยาว ประมาณ 0.5 - 1 มม. จะชอนไชไปตามเนอื้ เยือ่ พชื ในระยะหนอนใชเวลาประมาณ 7 - 10

วนั จงึ เขาดกั แด ดกั แดรปู รา งคลายเมลด็ ขาวสารอยูตามสว นของพชื ที่ถูกทําลาย และตามใบทรี วงหลน ลงดนิ ขนาด

ดักแดยาว 0.8 - 1 มม. ในระยะดักแด ใชเวลาประมาณ 5 - 7 วนั จงึ ออกเปนตวั เต็ม วัย แมลงวันจะมสี ีดาํ หรือสี

เหลอื ง วงจรชีวติ ประมาณ 3 - 4 สปั ดาห

ความสาํ คัญและลกั ษณะการทําลาย
แมลงวนั หนอนชอนใบ เปน แมลงศตั รทู ่ีเริมมีบทบาทสําคญั ตอ ไมด อกหลายชนดิ ไดแ ก เบญจมาศ ดาวเรอื ง เยอบีรา เปน ตน

ตัวเตม็ วยั เพศเมียวางไขทม่ี ีขนาดเลก็ ภายในผิวพืช เมอื ไขฟ ก เปน ตัวหนอนท่ีมีลกั ษณะหัวแหลมทายปา น ตัวหนอนชอนไชอยูใ น
ใบทําใหเ กดิ รอยเสนสขี าว คดเคยี วไปมา เมอื่ นําใบพชื มาสองดูจะพบหนอนตวั เล็กๆ สเี หลืองออ นโปรงแสง ใส อยูภายใน เน้อื เยอื ใบ
พชื หากระบาดรุนแรงจะทําใหใบเสยี หายรว งหลน ซ่งึ จะมผี ลตอผลผลติ หากพืชน้นั ๆ ไมสามารถสรา งใบทดแทนได หรอื ถกู ทาํ ลาย
อยา งหนกั พืชกจ็ ะตายไปในทีสุด

การปอ งกันกาํ จดั
วิธกี ล การเผาทําลายเศษใบพืชทีถูกแมลงวันหนอนชอนใบทําลายตามพนื ดินจะ สามารถชว ยลดการแพรระบาดได เนืองจาก
ดักแดทีอ ยูตามเศษใบพืชจะถูกทําลายไปดว ย
การใชก ับดักกาวเหนยี วสีเหลอื ง อัตรา 80 กับดัก/ไร พบวามปี ระสิทธิภาพดใี นการดกั จบั ตวั เต็มวยั ของหนอนชอนใบ
เบญจมาศ
สารสกดั สะเดา อตั รา 100 มล./นํา 20 ลิตร สามารถปอ งกันและกําจัดแมลงวนั หนอน ชอนใบได
สารฆา แมลง เบตา ไซฟลูทรนิ (โฟลเิ ทค 2.5% อีซี) อตั รา 30 มล./นํา 20 ลติ ร สามารถ กาํ จัดแมลงวนั หนอนชอนใบได

ดว้ งหมดั ผกั (Leaf eating bettle)

ชอื่ วิทยาศาสตร Phyllotreta sinuata , Phyllotreta chontanica)
วงศ Chysomelidae
อันดบั Coleoptera
พืชอาหารและวงจรชีวติ
พชื อาหารดวงหมัดผักชอบทําลายผกั ในตระกูลกะหล่ํา วงจรชวี ติ ระยะไข 3 - 4 วนั ตัวหนอนมีสีขาว สว นหัว
และสว นทองปลองแรกมีสีนํ้าตาล มจี ดุ สนี ้ําตาลตามลําตัวและแผน สนี ํ้าตาลอยูทางดา นบนของปลองสุดทายของลาํ ตวั
หนอนอาศยั อยใู นดิน ระยะหนอน 10 - 14 วนั และเขา ดักแดใ นดนิ สว นปก และขาของดกั แดแยกจากลาํ ตัวเปนอิสระ
เคลอ่ื นไหวได ระยะดักแด 4 - 5 วัน ตัวเต็มวยั เปนดวงขนาดเลก็ ความยาวประมาณ 2 - 2.5 มลิ ลิเมตร ปกคูหนา สี
ดาํ มีแถบเหลอื งสองแถบพาดตามความยาว ดานลา งลําตวั สีดํา ขาคูหลงั ขยายใหญแ ละโตกวาขาคูอื่นๆ หนวดเปน แบบ
เสน ดาย อายตุ ัวเต็มวยั 30 - 60 วัน ผสมพนั ธไุ ดห ลายคร้งั เพศเมยี แตล ะตัววางไขได 80 - 200 ฟอง

ความสาํ คญั และลักษณะการทาํ ลาย
ตัวออ นของดว งหมัดผกั ชอบกดั กินหรอื ชอนไชเขา ไปกนิ อยบู ริเวณโคนตน หรือรากของ

ผัก ทําใหพ ชื ผกั เห่ยี วเฉาและไมเ จรญิ เตบิ โต ถารากถกู ทาํ ลายมากๆ ก็อาจทําใหพืชผกั ตาย
ได ตัวเต็มวนั ชอบกัดกินดา นลา งของผวิ ใบ ทําใหใ บมรี ูพรุน และอาจกดั กนิ ลําตน และกลีบ
ดอกดวย ดวงหมัดผกั ชอบอยูรวมกันเปนกลุมๆ ตัวเตม็ วัยเมอ่ื ถกู กระทบกระเทือน ชอบ
กระโดดและสามารถบินไดไ กลๆ

การแพรกระจาย
ดว งหมัดผักพบแพรกระจายอยโู ดยท่ัวๆ ไป และจะเกดิ การกระจายวนเวียนอยูใน

บรเิ วณใกลเคียงกับแหลงปลูกผกั เกา

การปอ งกันและกําจัด
ควรไถตากดินไวเ ปนเวลานานพอสมควร เพอื่ ทําลายตัวออนและดกั แดท อี่ ยใู ตด นิ นอกจากนี้
ควรเปลี่ยนมาปลูกพืชท่ีดวงหมัดผกั ไมชอบ ก็จะเปน การชว ยลดการระบาดไดอ กี ทางหนึ่ง
สารเคมกี ําจดั แมลงกลมุ คารบาเมต เชน คารบ าริล (เซฟวนิ 85%WP) คารโ บซลั แฟน
(พอสซ 20% EC)(อัตราใชต ามฉลากแนะนาํ ) ยังคงใชไดผ ลดีในแหลงปลูกผกั ใหมๆ ท่ีไมมกี าร
ระบาดรุนแรง สว น ในแหลง ท่ปี ลกู ผักเปน ประจาํ ควรใชสารฆาแมลง ไพรฟโนฟอส (ซเุ ปอรค
รอน 50%EC) โพรไทโอฟอส (โตกุโทออน 50%EC) ฟโปรนิล (แอสแซนด 5%SC) (อตั รา
ตามฉลากแนะนํา)จะใหผ ลดกี วา
การใชไ สเ ดือนฝอย (Nematodic 22) อัตรา 4 ลา นตัวตอ พนื้ ที่ 20 ตารางเมตร ตอ น้ํา 20
ลิตร โดยพนหรือราดไสเดอื นฝอยบนแปลงปลูกผักเมือ่ ผักอายไุ ด 15, 30, และ 45 วัน หลัง
หวา นเมลด็ และเชอ้ื Bt. โดยพนหรอื ราด ทกุ 7 วนั

ดว้ งหนวดยาว (longhorn beetles)

ช่ือวิทยาศาสตร Dorysthenes buqueti Guerin
วงศ Cerambycidae
อันดบั Coleoptera

พืชอาหารและวงจรชวี ติ
พชื อาหารดว งหนวดยาวหรือดว งทเุ รยี นในแถบบา นเราเปน แมลงศตั รูพชื ทสี่ ําคัญของทเุ รียน และ

มะมว ง นอกจากน้ียงั มีพืชอาศยั อืน่ ๆ เชน นนุ มะมวงหมิ พานต มะกอก สนทะเล อะโวคาโด ขนุน มะเดื่อ
ฝรงั่ โกโก หมอ น สาเก ยางพารา สาละ เปน ตน วงจรชวี ิตระยะไข 7-14 วัน ระยะหนอน 280 วันหรือ
ประมาณ 9 เดือน จงึ เรมิ่ หดตัวหยดุ กินอาหาร หลังจากนนั้ เรม่ิ หดตัว 7-12 วนั จึงเขา ดักแด ระยะดักแด
17 วนั และระยะตวั เตม็ วัยมอี ายุขยั ประมาณ 82 วัน

ความสาํ คญั และลักษณะการทําลาย
ดว งหนวดยาวตวั เตม็ วัยเพศเมยี วางไขโ ดยฝงไวใ ตเปลือกตนทุเรยี น หนอนจะกัดกินชอน

ไชไปตามเปลือกไมด า นใน ทาํ ใหเ กดิ ยางไหล หนอนอาจควั่นเปลือกจนรอบลําตน ทาํ ใหท อ นา้ํ
ทออาหารถูกตัดทาํ ลายเปน เหตใุ หตนทเุ รียนทรุดโทรม ใบเหลอื งรวง และตายได แหลง ปลูก
ทเุ รียนทว่ั ประเทศไทยสว นใหญพบวาดวงหนวดยาวทําลายทุเรียนพันธุห มอนทอง การระบาด
คอ ยๆ สะสมความรุนแรง เนอ่ื งจากเปน แมลงกลางคืน พฤติกรรมตา งๆจึงมักเกดิ ในชวงกลาง
คืน เกษตรกรจงึ ไมทราบวามีการระบาดของดว งหนวดยาว

การปอ งกันและกําจดั
การกําจัดดว งหนวดยาวโดยวธิ เี ขตกรรม ทาํ ลายแหลงขยายพันธุ โดยตดั กิง่ และตน
ทเุ รียนที่ถกู ทาํ ลายรนุ แรงทิ้ง
การกาํ จัดดวงหนวดยาวโดยวธิ กี ล
- การใชต าขา ยดกั ปลาตาถ่ีพนั รอบโคนตนเพื่อดกั จับตวั เต็มวยั เปนวิธกี ารทีไ่ ดผลมาก
ที่สดุ
- การใชไฟสองจับตังเต็มวัยในเวลากลางคนื ชว ง 20:00 น. ถึงชวงเชา มืด

หมน่ั สาํ รวจรอบลําตน ตน ทเุ รยี น สงั เกตรอยแผลทด่ี วงวางไข ถา พบขยุ และรอยทําลายใหใชมดี
ถาก ทาํ ลายไขท้งิ และจบั ตัวหนอนทาํ ลาย

การใชส ารเคมี
- หากดว งหนวดยาวเจาะเขา ลําตน ไปแลว ใหฉ ดี สารฆา แมลงที่มีคณุ สมบัติเปนไอระเหยสําหรบั ไป
ฆา หนอนและดักแดทีอ่ ยูใ นรภู ายในตน สารเคมที ่มี คี ณุ สมบัติเปนไอระเหย สว นใหญจะเปนสารกลมุ ที่ 1
กลุม ออรกาโนฟอสเฟต ไดแก คลอรไ พรฟิ อส ไดอะซนิ อน พริ มิ ฟิ อสเมทลิ หรือไดคลอรวอส โดยใช
กระบอกฉีดยาดูดสารเคมีชนดิ ใดชนิดหนึ่งแบบเขม ขน 1 - 2 ซีซีตอ รู โดยไมต อ งผสมนํา้ เขา ไปในรเู จาะ
ของดว งแลว ใชดินน้าํ มันหรืออุดดวยดินเหนียว

- กรณใี นแหลง ดว งหนวดยาวระบาดรนุ แรง จาํ เปนตองพน สารเคมี ใหพ นสารเคมกี ําจัดแมลง
สาํ หรบั ใหทัว่ บรเิ วณลาํ ตน และกง่ิ ขนาดใหญ พน ติดตอกนั 2 ครงั้ หางกัน 2 สัปดาห (วธิ กี ารนเี้ ปนวธิ ีการ
พนสารเพ่อื ปองกันการเขามาวางไขเ ทา นน้ั วธิ ีการนไ้ี มม ีประสิทธิภาพไปฆา หนอนและดกั แดทีอ่ ยูภายใต
เปลอื กได) สารเคมที ี่มปี ระสทิ ธภิ าพใชพนลําตน ปอ งกันดวงหนวดยาวไดแก กลุม 1 ออรกาโนฟอสเฟต
เชน ไดอะซินอน โพรฟโ นฟอส ไตรอะโซฟอส กลุม 2 ฟโ พรนิล กลุม 4 นีโอนิโคตินอยด เชน อิมดิ าโค
พรดิ ไทอะมที อกแซม โคลไทอะนิดนิ อะซที ามพิ ริด เปนตน

ตกั แตนปาทังกา้ (Bombay locust)

ช่ือวิทยาศาสตร Patanga succincta
วงศ Acrididae
อนั ดบั Orthoptera

พืชอาหารและวงจรชีวติ
พืชอาหารต๊ักแตนปาทังกา สามารถกนิ พชื เปน อาหารได 34 ชนิด พชื ทช่ี อบมากที่สดุ ไดแ ก ขาวโพด,

ออย, สม, ขา วฟา ง, ถ่ัวเหลอื ง, ขา ว , มะพราว, หญา ตนี ติด, ปาลม นา้ํ มัน, ไผ เปน ตน วงจรชวี ิตในรอบ
1 ป มกี ารขยายพันธุเพยี ง 1 คร้ัง โดยฤดผู สมพนั ธอุ ยใู นชว งเดอื นมีนาคม-เมษายน ระยะไข 35-51 วนั
ระยะตวั ออน 56-81 วัน มี 9 วยั ระยะตวั เตม็ วยั 8-9 เดือน ตัก๊ แตนเมอ่ื วางไขแลว กจ็ ะตายในท่ีสุด

ความสาํ คญั และลักษณะการทาํ ลาย
ต้ังแตนต้งั แตว ยั 4-ตัวเตม็ วยั จะกัดกนิ ใบขาวโพดและตนขา วโพดต้ังแตเ รมิ่ งอกจนออกดอกและ

ตดิ ฝก โดยเฉพาะขาวโพดท่มี ีอายุระหวาง 40-55 วนั เปน ชวงอันตรายท่สี ุดหากถกู กดั กนิ จนไดร บั
ความเสยี หายจะมีผลกระทบตอ ผลผลิต เพราะชว งดงั กลาวเปน ชวงทีก่ ําลังสรางเมลด็ ซึ่งจะทําใหก าร
ตดิ เมล็ดลดลงและเมลด็ ลบี

การแพรกระจาย
พบแพรก ระจายอยูทั่วไปเกอื บทุกภาค พบมากตามพน้ื ทีป่ ลกู ขา วโพดโดยเฉพาะบรเิ วณที่ทาํ การ

บกุ เบกิ ใหม หรอื พืน้ ทท่ี เี่ คยมกี ารระบาดของตกั๊ แตนชนดิ นี สําหรับชว งที่พบระบาดจะอยูใ นชวงฤดู
แลง (กมุ ภาพันธ- เมษายน) ชวงตวั ออ นมถิ นุ ายน-กรกฎาคม และชวงตัวเต็มวัยสิงหาคม-ตลุ าคม

การปอ งกนั และกาํ จัด
โดยวธิ ีกล โดยการใชเ ครื่องมอื อปุ กรณตาง ๆ ในการจับตั๊กแตน ไดแก การใชแ สงไฟลอ การใช
แสงไฟขาศรีษะ สวงิ และการขดุ ไขทําลาย
โดยชวี วธิ ี โดยการใชศ ัตรธู รรมชาติเปนตวั ควบคุมประชากรของตกั๊ แตน โดยการอนุรกั ษเ พมิ่
ขยายจํานวนประชากรของศตั รูธรรมชาติใหอยูในลกั ษณะสมดลุ ย เชน แตนเบียนไข มปี ระสิทธิ์
ที่ภาพในการทาํ รายใครต๊กั แตนได 65.12% เปน การตดั วงจรชวี ติ ของตัก๊ แตน ทีจ่ ะฟก ออกมา
เปนตั๊กแตนตัวออน
โดยใชพ ชื สมนุ ไพรไดแ กสะเดาสามารถยบั ย้ังการทําลายพชื อาหาร (ขา วโพด) ของตก๊ั แตน
ปาทงั กาวยั 3-6 ได 100 , 90 % ที่ 24 และ 48 ชวั่ โมงตามลําดับ

โรคพชื

หมายถึงลักษณะอาการของพืชที่ผดิ ไปจากปกติ ซงึ่ อาจเกดิ ข้ึนบนสวนใดสว นหนง่ึ
ของตน พชื หรอื ตลอดท้ังตน และรวมไปจนถึงการแหงตายไปทั้งตน สาเหตทุ ี่ทําใหเกิด
โรคพืชแบงได 2 สาเหตุ คือ

1. เกิดจากสง่ิ มชี ีวิต (pathogenic disease)
2. เกิดจากสิง่ ไมม ชี ีวิต (nonpathogenic disease)

1

เกดิ จากสงิ่ มชี ีวติ (pathogenic disease)

เชน โรคพชื ทเ่ี กดิ จากเชือ้ ไวรัส (virus) เชอ้ื ไมโคพลาสมา(mycoplasma) เชื้อแบคทเี รีย
(bacteria) เชือ้ รา (fungi) และไสเดอื นฝอย โรคพชื จะเกดิ ข้ึนและสามารถแพรก ระจาย
ระบาดออกไปไดถ า หากมีเช้ือสาเหตุเหลาน้ี ตลอดจนมีสภาพแวดลอ มท่เี หมาะสมตอการเกิด
และการแพรก ระจายของโรคพืชน้ัน ๆ การแพรกระจายของโรคพชื อาศยั นํา้ ฝน ความชืน้
ลม ดิน หรือโดยการถายทอด (transmission) ผานทางเมล็ดพันธุ สวนขยายพันธุ หรอื โดย
แมลง

ลกั ษณะอาการ (symptom) จะแตกตา งกันดงั ตอ ไปน้ี
1. ลักษณะอาการของโรคพชื ทเ่ี กดิ จากเชอ้ื ไวรสั มักมอี าการโรคใบหด ใบหงกิ ใบสเี หลอื งสม
ใบดา งเหลอื ง ใบมว น
2. ลกั ษณะอาการของโรคพชื ท่เี กดิ จากเชอ้ื ไมโคพลาสมา มกั มอี าการโรคใบขาว ลาํ ตน แคระ
แกรน แตกกอเปน พมุ หรือใบเหลอื งซีด กิ่งแหง ตาย ลําตนทรดุ โทรมและไมใหผ ลผลติ
3. ลักษณะอาการของโรคพชื จากเชือ้ แบคทีเรยี มีลกั ษณะอาการแตกตา งกัน 5 แบบ คือ

3.1 เหี่ยว (wilt) อาการเห่ียวเฉา เกดิ จากเชือ้ แบคทเี รยี เขา ไปเจริญในทอน้าํ ทอ
อาหารของตน พืช ทําใหเ กิดการอดุ ตนั ของทอ นํ้าและทอ อาหาร จึงเปนเหตใุ หพชื ไดรบั นํา้ และอาหาร
ไมเ พยี งพอ เกดิ อาการเหยี่ วเฉา หรอื เจริญเติบโตผิดปกติและจะตายไปในทีส่ ุด เชน โรคเหี่ยวของ
มะเขอื เทศ มันฝรง่ั ยาสูบ ถ่ัวลสิ ง กลวย แตงกวา แตงโม มีสาเหตมุ าจากเชื้อ Xanthomonas
spp., Pseudomonas spp., Erwinia spp.

3.2 เนา เละ (soft rot) อาการเนาและมีกลนิ่ เหม็น ทง้ั นี้เพราะแบคทเี รยี เขา ทาํ ลาย
เซลลพ ชื และมีเชื้อจุลนิ ทรยี อ ื่น ๆ รว มเขา ทาํ ลายซ้าํ เติม โรคพืชแบบนม้ี ักเกิดกบั สวนของพืชทีอ่ วบ
น้าํ เชน โรคเนา เละของพืชผกั มันฝรง่ั มะเขอื เทศ แตงกวา กะหลาํ่ พริก สวนใหญม สี าเหตุมาจาก
เชอ้ื Erwinia spp.

3.3 แผลเปน จุด (spot หรือ local lesion) อาการจุดแหงตาย เกดิ จากเชือ้
แบคทีเรยี เขาไปเจริญอยูในชองวางระหวา งเซลลห รือในเซลล ทาํ ใหเ ซลลบรเิ วณน้ันตายเปน แผลแหง
มขี อบเขตจํากดั เชน โรคใบจุดของฝาย โรคใบจุดของถัว่ เหลือง โรคขอบใบแหงของขา ว โรคแคงเค
อรของสม โรคใบจดุ ของยาสูบ เชื้อสาเหตุ ไดแ ก Xanthomonas sp., Pseudomonas spp.

3.4 ไหม (blight) อาการใบไหมต าย เรมิ่ จากจดุ เล็ก ๆ กอน แลวแผขยายไปเรอ่ื ย ๆ
โดยไมม ีขอบเขตจํากดั เกิดจากเชอื้ แบคทีเรยี เขา ไปเจริญอยใู นชองวางระหวา งเซลล แตไมท าํ ลาย
เนอื้ เยอ่ื เซลล เพยี งแตทาํ ใหก ารเคล่อื นยายน้ําและอาหารในพชื ไมสะดวก ทําใหใบและลําตนมีสซี ดี
(necrosis) และอาจแหงตายไปในทสี่ ดุ เชน โรคใบไหมข องถ่วั ยางพารา แอปเปล เช้ือสาเหตไุ ดแก
Xanthomonas spp. Phythopthora spp. และ Erwinia spp.

3.5 ปุมปม (gall หรือ tumer) อาการเปนปุมปมเกิดจากเชื้อแบคทเี รยี เขา ไปเจรญิ
อยูในเซลลพ ืช แลวสรา งสารบางชนดิ ออกมากระตนุ ใหเ ซลลบ รเิ วณนั้นมีการแบงตัวมากข้ึน เชน โรค
crown gall ของมะเขือเทศ โรค gall ของหัวบีท เชือ้ สาเหตุไดแ ก Agrobacterium spp. และ
Xanthomonas spp.

4. ลกั ษณะอาการของโรคพืชจากเชอื้ รา ลักษณะอาการของโรคพืชจากเช้อื รามมี ากหลายแบบ
เชน ใบเปนแผล ใบไหม ใบบิด ตนเห่ยี ว รากเนา โคนตน เนา ผลเนา เมลด็ เนา ตน กลาเนา หรือตน
แหงตายไปทง้ั ตน ลกั ษณะอาการของโรคพชื จากเชือ้ รามกั จะสงั เกตเหน็ เสน ใย (hypha) สปอร
(spore) สวนสบื พนั ธุตา งๆ เชน sporangium, conidia, basidiumascus มสี ีขาว หรอื สดี าํ หรือสี
น้าํ ตาล ปรากฏตามรอยแผลอาการของโรค หรอื ตรงสว นท่ีเช้ือสาเหตุเขาสตู นพชื ตวั อยา งของโรคพชื ที่
เกิดจากเช้ือราไดแ ก โรคโคนเนา คอดนิ ของตนกลา โรครากและโคนตนเนา โรครานา้ํ คาง โรคเนาของผล
ไมและผัก โรคราแปงขาว โรคราสนมิ เหลก็ โรคเขมาดาํ โรคแสดาํ ของออ ย โรคไหมของขา ว โรคใบจดุ
ของขาวโพด โรคใบจดุ ตานกของยางพารา โรคแอนแทรคโนส โรคเหี่ยวของมะเขอื เทศ

5. ลักษณะอาการของโรคพืชจากไสเดอื นฝอย มกั ทําใหเ กดิ โรครากปม รากขอด และลาํ ตนพชื
เหย่ี วเฉาตายไปในทีส่ ุด

2

เกดิ จากส่งิ ไมมีชวี ิต(nonpathogenic disease)

อาการของโรคพืชอาจเกดิ จากสาเหตอุ นั เน่อื งจากส่ิงไมม ชี ีวิต สภาพแวดลอ มท่ีผดิ ปกติ
หรอื สารเคมบี างชนิด อาจทําใหพืชแสดงอาการเปนโรคไดเชนเดียวกับเชือ้ โรค แตท ต่ี างกนั คอื
โรคทเ่ี กดิ จากสาเหตุไรช ีวติ เหลา นี้จะไมแ พรร ะบาด และมกั พบในเฉพาะบางพน้ื ที่ หรือเฉพาะ
บางเวลาเทาน้นั สาเหตุสาํ คญั ทอี่ าจทําใหพ ชื แสดงอาการผิดปกติ ไดแ ก

1. อณุ หภูมิสงู หรือตํ่ากวา ปกติ
2. ความชน้ื ในดินมากหรือนอยความไมสมดุลยข องธาตุอาหารในดนิ กวา ปกติ
3. แสงความเขมมากหรือนอยเกินไปหรือระยะเวลาไดรับแสงสั้นหรอื นานเกนิ ไป
4. ปรมิ าณออกซเิ จนหรือคารบ อนไดออกไซดน อยกวา ปกติ
5. ความไมสมดุลยข องความไมสมดุลยข องธาตุอาหารในดิน
6. สภาพดนิ เค็ม
7. สภาพความเปนกรด-ดางของดนิ ไมเ หมาะสม
8. มลพษิ ในสภาพแวดลอม
9. สารเคมที ่ใี ชทางการเกษตร
10. ความผดิ ปกตทิ างพนั ธกุ รรม

สว นประกอบของโรค (Disease components)

สวนประกอบของโรคเปน ปจ จัยสาํ คัญของการเกดิ โรค จะตองมอี งคป ระกอบทีท่ าํ ใหเ กดิ โรค
ซึง่ มี 4 ปจ จัย หากขาดสวนใดสว นหนึง่ แลว การเกิดโรคจะไมส มบรู ณห รอื ไมอ าจเกิดโรคไดเ ลย สวน
ประกอบของโรคเปนท่ีรจู ักกันดใี นช่อื สามเหล่ียมโรคพืช (Disease triangle) ไดแก

1. พืชอาศยั (Host) ตอ งมพี ชื อาศยั ทีเ่ ปนโรคงา ย
2. เชือ้ สาเหตุ (Pathogen) ตองเปน เชือ้ สาเหตทุ ่รี ุนแรง
3. สภาพแวดลอมตอ งมสี ภาพ (Environment)
4.เวลา (Time) ถอื เปนสงิ่ สําคญั อกี ปจจัยหนึ่ง ไดแ ก ระยะเวลาที่พชื อาศยั และเชอ้ื โรคสัมผัสกนั

ระยะเวลาท่ีเหมาะสมตอ การแพรกระจายของสปอร การตดิ เชอ้ื เปน ตน

สามเหลียมโรคพืช
(Disease triangle)


Click to View FlipBook Version