The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สมุนไพรในรั้ววัด รวบรวมพืชผักสมุนไพรที่ได้รวบรวม ของดี คิลานเภัช ในการดูแลสุขภาพของพระภิกษุ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดูแลร่างกาย ตอนอาพาธของพระภิกษุ สามเณร ภายในวัด โรงพยาบาล ยาที่อยุ่ใกล้ตัวนำมาปรับใช้รักษาได้ง่าย ราคาถูก และรักษาโรคได้จริง ทันท่วงที

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สมุนไพรในรั้ววัด

สมุนไพรในรั้ววัด รวบรวมพืชผักสมุนไพรที่ได้รวบรวม ของดี คิลานเภัช ในการดูแลสุขภาพของพระภิกษุ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดูแลร่างกาย ตอนอาพาธของพระภิกษุ สามเณร ภายในวัด โรงพยาบาล ยาที่อยุ่ใกล้ตัวนำมาปรับใช้รักษาได้ง่าย ราคาถูก และรักษาโรคได้จริง ทันท่วงที

ไพล (Zingiber montanum (Koen.) Theilade.)

ชื่อวิทยาศาสตร์ Zingiber montanum (Koen.) Theilade
ชือ่ วงศ์ ZINGIBERACEAE
ชือ่ อน่ื ว่านไฟ,วา่ นไพล
ช่ือพ้อง Zingiber cassumuunar Roxb. , Zingiber purpureum Roscoe
ลักษณะ ลำตน้ เป็นไมล้ ม้ ลกุ สูงประมาณ ๐.๘-๑.๒ เมตร มลี ำต้นเป็นเหงา้ ใตด้ นิ ลำต้นเทียมสี
นำ้ ตาลเขม้ เกิดจากกาบใบหมุ้ ซอ้ นกนั เป็นลำกลม เน้อื ในเหง้ามีสีเหลอื งมีกลิ่นเฉพาะ ใบเปน็ ใบ
เดี่ยวออกเรยี งสลับ ใบรูปขอบขนานแกมใบหอก กว้าง ๒-๓ เซนตเิ มตร ยาว ๕-๗ เซนตเิ มตร
ขอบใบเรยี บออกในระนาบเดียวกัน ดอกออกเป็นชอ่ มาจากเหง้าท่ีอยู่ใต้ดิน ก้านชูชอ่ ดอกยาว
มใี บประดับสีมว่ งเรยี งซ้อนเป็นรูปกระสวยดอกย่อย สีนวล
สรรพคุณ ราก แก้โรคอันบงั เกิดแตโ่ ลหติ อนั ออกทางปากและจมกู ขบั โลหติ แก้อาเจียนเปน็ โลหิต
แกป้ วดทอ้ ง ทำให้ประจำเดือนมาตามปรกติ แกท้ ้องอดื เฟ้อ แกท้ อ้ งผกู แก้โรคผิวหนัง
แกเ้ คลด็ ยอก ต้น แกอ้ จุ จาระอันประกอบไปด้วยอปุ ัทวะให้เป็นปรกติ ใบ แก้ไขอ้ ันเมือ่ ยขบ
แก้ครนั่ เนือ้ ครน่ั ตัว แก้ปวดเม่ือยตามร่างกาย ดอก กระจายโลหติ อนั เกดิ แต่อภิญญาณธาตุ
ขับโลหิต แก้อาเจยี นเป็นโลหติ แกเ้ ลือดกำเดาออกทางจมกู แก้ช้ำใน ขบั ระดูประจำเดอื น เหงา้
ขบั โลหติ ร้ายทงั้ หลายใหต้ กเสีย แกฟ้ กช้ำ เคล็ดบวม ขับลมในลำไส้ ขับระดู ไล่แมลง แก้จุกเสียด
รักษาโรคเหนบ็ ชา แกป้ วดทอ้ งเปน็ บิดมูกเลือด
๒๓๖

สมอไทย สมอไทย (Terminalia chebula Retz.)

สมอไทย (Terminalia chebula Retz.)

๒๓๗

สมอไทย (Terminalia chebula Retz.)

ชอื่ วิทยาศาสตร์ Terminalia chebula Retz.
ช่ือวงศ์ COMBRETACEAE
ชอ่ื อ่ืน สมออัพยา, หมากแน่ะ
ลักษณะ ลำต้นเป็นพรรณไม้ยืนตน้ ขนาดกลาง จนถงึ ขนาดใหญ่ มคี วามสงู ประมาณ ๒๐-๓๐
เมตร และกว้าง ๑.๕-๑๒ ฟุต ใบเปน็ ไมใ้ บเด่ยี ว เรียงลบั กนั ไปตามขอ้ ต้นลักษณะของเปน็ รปู ไข่
ปลายใบแหลม โคนใบมนหรอื สอบ ขอบใบเรียบและพนื้ ใบเป็นสเี ขยี ว ใบยาวประมาณ ๒.๕-๖
นว้ิ มีกา้ นใบยาว ดอกออกดอกเปน็ ชอ่ ใหญ่ ขนาดของดอกนั้นจะเลก็ ชอ่ หน่งึ จะมดี อกอย่จู ำนว
นมาก สีนวลมีกล่ินหอม ผลเป็นลูกกลมๆ คลา้ ยรปู ไข่ ยาวประมาณ ๐.๘ นวิ้ สีเขียวอมเหลอื
หรือบางทกี ม็ สี แี ดงปน ภายในผลมเี มลด็ แขง็ และมีเมล็ดเดยี ว
สรรพคุณ เปลอื กต้น ถ่ายน้ำเหลือง แก่น แก้ตาอกั เสบ ใบ ระบายออ่ นๆ แกพ้ ิษรอ้ นใน
แกก้ ระหายน้ำ รถู้ ่ายรู้ปิดเอง คมุ ธาตุ แก้ไข้เพ่อื เสมหะ แก้ลมจุกเสยี ด ผายธาตุผล ระบายอ่อนๆ
รู้ถ่ายรปู้ ดิ เอง คมุ ธาตุ ฝาดสมาน แก้บิด แกไ้ ข้ แก้เสมหะพิการ แกด้ ีพิการ ดพี ลุ่ง ดเี ดอื ด แก้กษยั
แกอ้ ่อนเพลยี เบอ่ื อาหาร แกไ้ ข้เพ่อื ลม แก้น้ำดี แกค้ ถู เสมหะ แกไ้ ข้เพ่อื ดี แกร้ ิดสดี วงทวาร
แกเ้ จ็บคอ แกโ้ รคลม แกล้ มจกุ เสยี ด ผายธาตุ แก้ในกองลม ใช้ระบายในโรคปว่ งหรอื ลมป่วง
ตา่ งๆ แกไ้ ข้เพ่อื เสมหะ แก้เสมหะ แกโ้ ลหติ และดี ถ่ายพิษไข้ แก้พษิ รอ้ นภายใน แกก้ ระหายน้ำ
แก้โลหติ ในทอ้ ง บำรงุ ธาตุ แกไ้ ข้เพือ่ โลหติ กอ้ นแข็งจากใบและยอดออ่ น

๒๓๘

ขงิ ขงิ (Zingiber officinate Rosc.)

๒๓๙

ขงิ (Zingiber officinate Rosc.)

ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Zingiber officinate Rosc.
ชื่อวงศ์ ZINGIBERACEAE
ช่อื อ่ืน ขงิ แกลง, ขิงแดง, ขิงเผอื ก, สะเอ,
ลกั ษณะ ไม้ล้มลกุ สงู ๐.๓-๑ เมตร และมีส่วนท่อี ยู่บนดินสูงได้ถงึ ๕๐ เซนติเมตร มเี หง้าใต้ดิน
สขี าวนวลอยู่ใตด้ ิน เปลอื กนอกสีน้ำตาลแกมเหลอื ง เนอ้ื ใน สนี วลมกี ลนิ่ เฉพาะ แทงหนอ่ หรอื
ลำต้นเทยี มเชน่ เดยี วกบั ไพล ใบเป็นใบเป็นแบบสลับ มกี าบห้มุ ใบลำต้นยาว ๘-๑๒ เซนติเมตร
ตวั ใบยาวเรยี วแหลม กวา้ ง ๑-๓ เซนติเมตร ยาว ๑๐-๒๕ เซนตเิ มตร ขอบใบเรยี บ ออกเรียงสลบั
สองเปน็ สองแถว รปู ขอบขนาน แกมใบหอก กวา้ ง ๑.๕-๒ เซนติเมตร ยาว๑๕-๒๐ เซนตเิ มตร
ดอกออกเปน็ ชอ่ แทงออกจากเหง้ากลีบดอกสเี หลอื ง แกมเขยี ว
สรรพคณุ ราก เจริญอาหาร แกเ้ สมหะในลำคอ ทำใหล้ ำคอโปรง่ ทำให้เสยี งเพราะ ฆ่าพยาธิ แก้ลม
แกพ้ รรดกึ แก้บิด แก้อจุ จาระดังขม้ิน แก้ท้องลัน่ โครกคราก แก้ลำไสใ้ หญอ่ ักเสบ แก้ปวดลำไส้เล็ก
ต่อต้านการอักเสบของเย้อื เมอื ก ทำให้ผวิ สดชื่น แก้โรคตา บำรงุ ธาตุไฟ แก้แนน่ ในอก
แก้โรคบงั เกดิ แตท่ รวง แก้คอเป่อื ย ขบั ลม ช่วยย่อยอาหาร แก้น่วิ แก้เบา แก้อาเจยี น แก้นอนไมห่ ลับ
แก้อากาศธาตุ ๑๐ ประการ เหง้า เจรญิ อากาศธาตุ แก้ไข้ แก้พรรดึก แกน้ อนไมห่ ลับ แก้ลมพานไส้
แก้คลนื่ เหียนอาเจียน แก้ทอ้ งเสยี แก้น่วิ ขับเสมหะ

๒๔๐

ออ้ ยแดง อ้อยแดง (Saccharum officinarum L..)

๒๔๑

อ้อยแดง (Saccharum officinarum L..)

ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ Saccharum officinarum L.
ช่ือสามญั Sugar cane
วงศ์ POACEAE (GRAMINEAE)
ชอ่ื อ่ืน อ้อย อ้อยขม อ้อยดำ (ภาคกลาง) กะที (กะเหรี่ยง-แมฮ่ ่องสอน)
ส่วนทใ่ี ช้ ท้ังตน้ ตน้ นำ้ อ้อย ผวิ ของต้นอ้อย มี wax
สรรพคุณ ท้ังตน้ - แกป้ ัสสาวะพิการ แก้ขัดเบา แกช้ ำ้ ร่วั แกโ้ รคนิ่ว แก้ไอ
ต้น - แกอ้ าการขัดเบา แก้ปัสสาวะพกิ าร แก้ไขต้ ัวรอ้ น แกพ้ ษิ ตานซาง บำรุงธาตนุ ำ้
แก้ร้อนใน กระหายน้ำ แกเ้ สมหะเหนียว ทำให้ชมุ่ ช่ืนในลำคอ ในอก บำรงุ กำลัง บำรุงหัวใจ
ขบั นำ้ เหลือง แกช้ ำ้ ใน รกั ษาโรคไซนสั
น้ำออ้ ย - รักษาโรคนิว่ บำรุงหัวใจ ทำใหช้ มุ่ ชืน่ ในลำคอ แก้เสมหะ แกห้ ดื ไอ
ขบั ปัสสาวะ บำรุงกำลัง เจรญิ อาหาร เจริญธาตุ ผิวของตน้ อ้อย มี wax เอามาทำยา
และเครื่องสำอาง ตำรับยาแก้ปัสสาวะพิการ ท่านให้เอารากพันงนู ้อย ๑๕ กรัม เหงา้ สับปะรด
๑๕ กรมั อ้อยแดง ๒๐ กรัม หญา้ หนวดแมว ๑๐ กรัม ฝางเสน ๑๕ กรัม นำ้ ๑ ลิตร
ตม้ ดมื่ วนั ละ ๒ คร้งั หลังอาหารเช้า-เยน็ มสี รรพคุณรกั ษาอาการบวม อักเสบทางท่อปัสสาวะ

๒๔๒

หนมุ านนั่งแทน่ หนุมานน่งั แทน่ (Jatropha podagrica Hook. f.)

๒๔๓

หนมุ านนงั่ แท่น (Jatropha podagrica Hook. f.)

ชอื่ วิทยาศาสตร์ Jatropha podagrica Hook. f.
ชื่ออ่ืน หลู ะมาน วา่ นหนมุ าน มานแดง
วงศ์ EUPHORBIACEAE
ลกั ษณะ ไม้พมุ่ มีน้ำยางใส ขนาดสงู ประมาณ ๑.๕ – ๓ เมตร ใบเด่ียวขนาดใหญแ่ ผก่
ว้าง ขอบใบเว้า ๓ หรอื ๕ แฉก ดอกออกเป็นช่อตามปลายกง่ิ มีดอกย่อยหลายดอก
แต่ละดอก มกี ลบี สีสม้ จำนวน ๕ กลีบ ผลสดสีเขยี ว เมอื่ แกไ่ มแ่ ตกจะเปลีย่ นเป็นสดี ำ
แหล่งทพี่ บ นิยมปลูกเป็นไม้ประดบั ตามบา้ นและวดั
สรรพคณุ นำ้ ยาง ยาพื้นบ้านล้านนา ใช้ทารกั ษาแผลมีดบาด ช่วยหา้ มเลอื ด รกั ษาฝี เมลด็
มีพิษ โคนตน้ หัน่ เปน็ แวน่ ตากแดดใหแ้ หง้ ตม้ ดมื่ รกั ษามะเรง็ มดลูก ทอี่ าการปวด และมเี ลือดออก
ทางชอ่ งคลอด
ความเชื่อ เปน็ ไมม้ งคลปลกู ไว้ตามบา้ นห้างร้านบริษัท จะบนั ดาลให้เกดิ ความเจริญรุ่งเรือง
มัน่ คง กอ่ นปลูกอธษิ ฐานต้ังนะโม ๓ จบ เสกน้ำรดด้วย อะรทุ รงั พุทโธ นะโมพุทธายะ ๓ ครั้ง
ประสิทธผิ ลมาก

๒๔๔

ตะไคร้ ตะไคร้ (Cymbopogon citratus Stapf.)

๒๔๕

ตะไคร้ (Cymbopogon citratus Stapf.)

ชือ่ ทางวิทยาศาสตร์ Cymbopogon citratus Stapf
วงศ์ GRAMINEAE
ช่ืออื่น คาหอม ไคร จะไคร เชดิ เกรย สงิ ไคร
ลกั ษณะ เป็นพชื จำพวกหญ้า ทั้งตน้ ขยด้ี มมีกล่นิ หอม สงู ประมาณ ๒ เมตรใบเป็นเสน้ ยาวตรง
ยาว ๑ เมตร กว้าง ๑๕ มม. เมอ่ื ลูบผิวใบจะรู้สึกสากมือ
สว่ นที่ใช้ ทงั้ ต้นและราก
สรรพคณุ ทัง้ ตน้ ใชข้ ับลม ทำให้เจริญอาหาร ไขห้ วัด ปวดหัว ไอ ราก แก้เสยี ดแน่น
ปวดกระเพาะอาหาร และขับปัสสาวะ เข้ายาตำรบั รักษาอาการปวดหลัง ทั้งตน้ รสร้อนปรา่ หอม
ขบั ปสั สาวะ,แกก้ ษยั ไตพกิ าร มุตกติ ระดูขาว นำ้ มนั จากตน้ ทสี่ กัดแลว้ ไลย่ ุงและแมลง นยิ มนำ
มาบรรจใุ นรูปแบบสเปรย์ฉดี ไล่ยุง

๒๔๖

ขา่ ขา่ (Alpinia nigra B.L.Burtt)

๒๔๗

ขา่ (Alpinia nigra B.L.Burtt)

ชื่อวิทยาศาสตร์ Alpinia nigra B.L.Burtt
ชอ่ื วงศ์ ZINGIBERACEAE
ชอ่ื สามัญ Ginger
ชอ่ื อ่ืน ขา่ ต้น , กระทือ
ลักษณะ ลำตน้ เป็นเหงา้ อย่ใู ต้ดนิ สว่ นที่อยูเ่ หนอื ดนิ จะเปน็ กา้ นและใบ สูงประมาณ ๑ - ๒ เมตร
ใบ ใบเดย่ี วออกสลับ รปู ขอบขนาด ปลายและโคนแหลม ก้านใบเป็นกาบห้มุ ซอ้ นกนั
ดอกเป็นสีขาวมีประสมี ่วงแดงออกเปน็ ช่อท่ปี ลายยอดกลบี เลี้ยงขนาดเลก็ กลบี ดอกโคนเชอ่ื มกัน
ปลายแยกเป็น ๓ กลบี
สรรพคุณ เหงา้ มีสารที่มีกลนิ้ หอมฉนุ มีสาร cineol, methylcinnamate ดับกลิน่ คาว
แตง่ กลน่ิ อาหาร ขับลม แกท้ ้องอดื เฟอ้ ใช้ตำ ทาแก้โรคผิงหนงั เชน่ เกล้ือน เหงา้ อ่อน ๑๐๐ กรัม
ใหพ้ ลังงานต่อร่างกาย ๒๐ กิโลแคลอรี ขา่ มสี รรพคุณ ในการรักษาลมเรอจกุ เสยี ด แนน่ ท้อง
ปรงุ ยาตำรับรกั ษารดิ สดี วงทวาร ชว่ ยขบั ลมในลำใส้ และยาอายวุ ัฒนะ
การขยายพันธุ์ ปักชำเหงา้

๒๔๘

เหงอื กปลาหมอ เหงือกปลาหมอ (Acanthus ebracteatus Vahl )

๒๔๙

เหงือกปลาหมอ (Acanthus ebracteatus Vahl )

ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ Acanthus ebracteatus Vahl
วงศ์ ACANTHACEAE
ช่อื อื่น แกม้ หมอ แก้มหมอทะเล จะเกรง็ นางเกรง็ อีเกรง็ เหงอื กปลาหมอน้ำเงิน
ลกั ษณะทางพฤกศาสตร์ ไม้พมุ่ ขนาดเลก็ สูงประมาณ ๐.๕-๑เมตร. ลำตน้ ตงั้ ตรง กลม เรียบแขง็
สีเขียวแกมเทา มหี นามบรเิ วณข้อๆละ ๔ หนาม ใบเป็นใบเด่ยี ว ออกเรียงตรงขา้ มเปน็ คู่
ใบรูปไขห่ รือขอบขนาน กวา้ ง๓-๗ เซนตเิ มตร ยาว๖-๒๐ เซนติเมตร. ขอบใบหยกั เป็นซ่ีห่างๆ
ปลายซี่เปน็ หนามแหลม แผ่นใบเรียบเปน็ มัน เนือ้ ใบเหนียว มกี ้านใบส้นั ๆ ดอกออกเป็นช่อตงั้ ที่
ปลายยอด ช่อดอกยาว ๑๐-๑๕ เซนตเิ มตร กลีบเลีย้ งมี ๔ กลบี แยกออกจากกัน กลีบดอกขาว
มี ๒ ปาก กลีบบนยาวเทา่ กับกลบี เลี้ยง กลบี ล่างแผก่ วา้ งและโคง้ ลง ปลายกลีบหยักเว้าเป็น ๓
หยกั ตื้นๆ ผลมลี กั ษณะเปน็ ฝกั ปลายฝักป้าน ผิวเปลือกเป็นสนี ้ำตาล ภายในฝักมี ๔ เม็ด
สว่ นท่ีใช้ ตน้ และใบ ทง้ั สดและแห้ง ราก เมลด็
สรรพคุณ ต้นทง้ั สดและแห้ง - แกแ้ ผลพพุ อง น้ำเหลืองเสยี เป็นฝบี ่อยๆ
ใบ - เปน็ ยาประคบแก้ไขขอ้ อกั เสบ แก้ปวดตา่ ง ๆ รกั ษาโรคผวิ หนัง ขับนำ้ เหลอื งเสยี
ราก - ขบั เสมหะ บำรงุ ประสาท แกไ้ อ แก้หดื แก้มะเรง็ คุดมะราด แก้บวม
รักษามตุ กดิ ระดขู าว


๒๕๐

เกลด็ ปลาชอ่ น เกลด็ ปลาชอ่ น (Phyllodium pulchellum (L.) Desv.)

๒๕๑

เกลด็ ปลาชอ่ น (Phyllodium pulchellum (L.) Desv.)

ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Phyllodium pulchellum (L.) Desv.
วงศ์ LEGUMINOSAE-CAECALPINODEAE
ชอ่ื อื่น เกลด็ ปลาช่อน (สระบุร)ี ; เกลด็ ลน่ิ ใหญ(่ นครราชสมี า); ลน่ิ ตน้ , หญ้าสองปลอ้ ง
(ภาคกลาง);ลกู หนบี ตน้ (ปราจีนบรุ ี);หญ้าเกลด็ ลิ่น (ภาคเหนอื ,ภาคใต้); หางลนิ่ (สุราษฎร์ธาน)ี
ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ เปน็ ไม้พุ่ม(shrub)ขนาดเลก็ อายหุ ลายปี ปลายยอดค่อนข้างต้งั
ต้นสูง ๑๐๒.๑๙-๑๑๓.๕๗ เซนตเิ มตร เส้นผ่านศูนยก์ ลางลำต้น ๓๒.๔ – ๓๗.๒ มลิ ลเิ มตร
ลำตน้ สนี ำ้ ตาลแดงมีขนปกคลุมปานกลาง ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกเรยี งสลับ มี ใบย่อย ๓
ใบยอ่ ยและมกี า้ นใบ(pinnately-trifoliate) รูปรา่ งใบยอ่ ยแบบรปู ไข่แกมใบหอก
สรรพคุณ ใบ รสจืดต้มดืม่ แก้ไข้ แก้ไขป้ สั สาวะพกิ าร ไขจ้ บั ส่ัน ราก รสจดื เฝื่อน ตำพอก
แก้ปวด แก้เคล็ดบวม รกั เบาหวานเรอื้ รัง ทีเ่ กดิ แผลกราย ใหห้ ายเร็วขนึ้ ยาตำรับรกั ษาเบาหวาน
ทา่ นให้เอา รากหนามเลบ็ แมว ๒๐ กรัม รากครอบจกั รวาล ๒๐ กรมั รากเกลด็ ปลาช่อน
๒๐ กรมั ฝาง ๒๐ กรัม แฝกหอม ๒๐ กรมั ต้มดมื่ ครัง้ ๑ ถว้ ยชา วนั ละ ๓ ครัง้
ก่อนอาหารเชา้ เยน็ ดนี กั

๒๕๒

เจตมลู เพลงิ ขาว เจตมูลเพลงิ ขาว (Plumbago zeylanica Linn)

๒๕๓

เจตมูลเพลิงขาว (Plumbago zeylanica Linn)

ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Plumbago zeylanica Linn
วงศ์ PLUMBAGINACEAE
ชอื่ ทอ้ งถ่นิ ปี่ปีขาว,ปดิ ปวิ ขาว,ตอชูวา,ตัง้ ชฮู ว้ ย,แปะฮวยตงั
ลักษณะ เปน็ ไมพ้ มุ่ ขนาเลก็ สีเขยี วอ่อน สงู ประมาณ ๑ เมตร แตกกิง่ กา้ นสาขามาก
ใบเดย่ี วรปู หวั ใจปลายแหลม เนอ้ื บาง ดอกสขี าว ก้านมียางเหนยี วออกเป็นช่อทีป่ ลายกงิ่ ผล
มีสีเขียวยาวมีขนรอบตวั เกิดตามป่าดงดบิ และปา่ โปร่งทวั่ ไป
สรรพคุณ ใบ รสร้อน แกล้ มในกองเสมหะ ช่วยย่อยอาหารขับผายลม
ดอก รสร้อน แก้โรคตา แก้โรคใหห้ นาวให้เย็น
ตน้ รสร้อน ขับระดู ชำระมลทินให้ตกไป
ราก รสร้อน ขบั ลมในอก ขับโลหิตอนั มีพิษ แก้รดิ สดี วง แกบ้ วม แก้คุดทะราด บำรงุ ธาตุ
บำรงุ โลหติ แก้ปวดท้อง แกท้ อ้ งเสีย กระจายเลือดลม

๒๕๔

แฝกหอม แฝกหอม (Vetiveria zizaniodes Stapf.)

๒๕๕

แฝกหอม (Vetiveria zizaniodes Stapf.)

ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Vetiveria zizaniodes Stapf.
วงศ์ GRAMINEAEA
ชอื่ อ่นื ภาคกลาง แฝก (Faek)
ลกั ษณะ ไม้ลม้ ลุกเน้ือหอม คล้ายหญา้ คา ใบสีเขยี วเลก็ ยาวปลายแหลม สองขา้ งมคี ม
มีกลิน่ หอมร้อน เกิดตามพนื้ ที่ลมุ่ ต่ำแฉะ
สรรพคณุ ราก-ใชข้ ับลมในลำไส้ แกท้ อ้ งข้นึ อืดเฟอ้ ใช้เป็นยาแก้ไข้ บำรุงหัวใจ แก้ลมเบอื้ งบน
ท่ที ำให้เกดิ อาการหาวเรอคลน่ื เหียน อาเจยี น ลดความดันโลหติ น้ำมนั ในรากทส่ี ะกดั เขม้ ขน้ เรยี ก
ว่า Oil of Vetever ใชแ้ ต่งกล่ิน นอกจากน้ี ในด้านความเช่ือ แฝกหอมยังเปน็ ไมม้ งคลปลูกไว้ใน
บา้ นเรอื น สามารถบันดาลโชคให้เกิดมโี ชคลาภแก่ผปู้ ลกู ได้อย่างอศั จรรยอ์ กี ดว้ ย

๒๕๖

ทองพนั ชั่ง ทองพันชัง่ (Rhinacanthus nasutus (L.)Kurz.)

๒๕๗

ทองพนั ช่งั (Rhinacanthus nasutus (L.)Kurz.)

ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Rhinacanthus nasutus (L.)Kurz.
วงศ์ ACANTHACEAE
ชื่ออื่น ทองคนั ชง่ั , หญา้ มนั ไก่, ทองพันดลุ ย์ (ภาคกลาง)
ส่วนที่ใช้ ใบ ราก
ลกั ษณะ ทองพนั ช่ัง เป็นตน้ ไม้เล็กๆ สงู ประมาณ ๓-๔ ใบมีลักษะ เหมอื นใบพริกแต่โตกวา่
สีเขยี วอมเหลอื ง มีจุดดา่ งเปน็ กระสเี หลอื งอ่อนๆ ในใบ มกี ล่นิ หอม ดอกมีสีขาว สงั เกตดุ ใู ห้ดี
จะเห็นคล้ายมีนกยางเกาะท่ีต้น มลี ักษณะเหมอื นต้นยูงสขี าวดอกมีสขี าวบริสทุ ธิ์ นา่ ดู
สรรพคณุ ใบ ใชใ้ บสด หรือคัว่ ใหแ้ หง้ นำมาชงในน้ำใช้ดม่ื เป็นยาชว่ ยขับปสั สาวะ หรอื ใชเ้ ป็นยา
ระบายได้ใบและรากมีสารอ๊อกซีเมททิลแอนทราควิโนน(oxymethylanthraquinone)
เม่ือนำเอาใบ ประมาณ ๕-๘ ใบ และรากสดประมาณ ๒-๓ ราก นำมาตำให้ละเอียดแล้วคนั้
เอานำ้ ออก จากนนั้ กน็ ำมาแชด่ ้วยแอลกอฮอล์ หรอื ในสรุ า แล้วใช้ทารักษาผิวหนัง กลากเกล้ือน
หรือผน่ื คัน ทงั้ ต้นแก้มะเร็งหลายชนิด ยาตำรบั รกั ษามะเร็งส่วนใหญ่มกั จะใช้ตน้ ทองพนั ชง่ั เป็น
สว่ นประกอบทงั้ ส้นิ ตำรับยารักษาขอ้ อักเสบ ปวดเสน้ ขา ท่านให้เอาต้นทองพนั ชง่ั ๓๕ กรัม
หญ้าดอกขาว ๒๕ กรัม ต้มดม่ื เช้า-เยน็ วนั ละ ๑-๒ ถ้วยชาใหญ่ มีสรรพคณุ รกั ษาอาการบวม
ปวดตามข้อไดด้ ี

๒๕๘

ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ ๒๘ ขนาน
แต่เดิมยาสามญั ประจำบา้ นแผนโบราณมีอยู่ ๑๖ ขนาน เม่ือปลายปี ๒๕๓๗ ได้มี
ประการยกเลกิ ยาสามญั ประจำบา้ นแผนโบราณเดมิ ท้งั ๑๖ ขนาน แลว้ กำหนดขึน้ มาใหม่ ซ่ึงมี
ตำรบั ยาสามัญประจำบา้ นแผนโบราณเดิมอยู่ด้วยส่วนหนึ่ง และกำหนดข้นึ มาใหมเ่ ปน็ สว่ น
ใหญ่ รวมทง้ั ส้ิน ๒๘ ขนาน ยาสามญั ประจำบ้านแผนโบราณท่กี ำหนดขน้ึ มาใหม่ นี้ เป็นยา
บรรจุเสร็จการจำหน่าย โดยทว่ั ไป จะจำหน่ายได้เฉพาะยาทบ่ี รรจุเสรจ็ ตามรายระเอยี ดและ
ขนาดบรรจทุ ่ีกำหนดไว้เทา่ น้ัน
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
เร่อื ง ยาสามัญประจำบา้ น ฉบบั ท่ี ๒
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๗๖(๕) แห่งพระราชบญั ญตั ิยา พ.ศ. ๒๕๑๐ ซงึ่ แกไ้ ข
เพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญตั ิยา (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๒๒ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสขุ
โดยคำแนะนำของคณะกรรมการยา จึงออกประกาศไว้ดังต่อไปน้ี
ขอ้ ๑. ใหย้ กเลิกประกาศยาแผนโบราณทเี่ ปน็ ยาสามนั ประจำบ้านตามประกาศกระท
รวงสาธารณสุข ระบุยาสามัญประจำบา้ น ตามความในพระราชบญั ญัตยิ า พ.ศ. ๒๕๑๐
ลงวันที่ ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๑๑
ข้อ ๒. ใหย้ าแผนโบราณซงึ่ มชี อ่ื ปริมาณของวตั ถุส่วนประกอบ วธิ ที ำ สรรพคุณ
ขนาดรบั ประทาน คำเตอื นและขนาดบรรจุ ต่อไปนี้ เป็นยาสามญั ประจำบา้ น
๑. ยาหอมเทพจิตร
วัตถุสว่ นประกอบ ลกู จันทน์ ดอกจันทร์ ลกู กระวาน กานพลู จันทรแ์ ดง จนั ทนข์ าว
กฤษณา กระลำพกั ขอนดอก ชะลูด อบเชย เปราะหอม แฝกหอม หนักส่งิ ละ ๒ ส่วนผิวมะกรูด
ผวิ มะงัว่ ผิวมะนาว ผวิ สม้ ตะรังกะนู ผิวสม้ จนี ผิวสม้ โอ ผวิ ส้มเขียวหวาน หนักสิง่ ละ ๔ สว่ น
ผวิ สม้ ซา่ หนัก ๒๘ ส่วน ดอกพกิ ุลทอง ดอกบุญนาค ดอกสารภี เกสรบวั หลวง ดอกบัวขม
ดอกบวั เผื่อน หนักสง่ิ ละ ๔ สว่ น ชะมดเชด็ การบรู หนักสง่ิ ละ ๑ สว่ น โกศสอ โกฐเขมา
โกฐหวั บวั โกฐจุฬาลมั พา โกฐกระดูก โกฐก้านพรา้ ว โกฐพงุ ปลา โกฐชฎามงั สี หนักสิ่งละ
๔ สว่ น เทียนดำ เทยี นแดง เทยี นขาว เทยี นข้าวเปลือก เทยี นตาตก๊ั แตน เทียนเยาว-ภาณี
เทยี นสัตตบตุ ย์ เทียนเกล็ดหอย เทยี นตากบ หนักส่ิงละ ๔ ส่วน พมิ เสน หนกั ๔ ส่วน
ดอกมะลหิ นกั ๑๘๔ ส่วน
วิธที ำ บดเปน็ ผง ผสมน้ำดอกไมเ้ ทศ ทำเป็นเมด็ หนกั เมด็ ละ ๐.๒ กรมั

สรรพคณุ แก้ลม บำรงุ หัวใจ
ขนาดรบั ประทาน ครงั้ ละ ๕-๗ เม็ด

ขนาดบรรจุ ๓๐ เม็ด

๒. ยาหอมทิพโอสถ
วัตถสุ ่วนประกอบ ดอกพกิ ุล ดอกบนุ นาค ดอกสารภี ดอกมะลิ เกสรบวั หลวง
ดอกกระดงั งา ดอกบัวจงกลนี หวั แหว้ ไทย กระจับ ฝาง จันทน์ขาว จนั ทรเ์ ทศ กฤษณา ชะลูด
อบเชย สมลุ แวง้ สนเทศ วานนำ้ กระชาย เปราะหอม ดอกคำไทย ชะเอมเทศ สรุ ามฤต
ขา่ ตน้ ลูกจันทน์ หนกั สิ่งละ ๔ สว่ น โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหวั บวั โกฐเชียง โกฐจฬุ าลัมพา
โกฐกระดูก โกฐกา้ นพร้าว โกฐพงุ ปลา โกฐชฎามงั สี หนกั สง่ิ ละ ๒ ส่วน เทยี นดำ เทยี นแดง
เทยี นขาว เทยี นขา้ วเปลอื ก เทยี นตาตั๊กแตน เทียนเยาวพาณี เทยี นสตั ตบุษย์ เทียนเกล็ดหอย
เทียนตากบ การบรู หนกั สง่ิ ละ ๑ สว่ น ชะมดเช็ดพมิ เสน หนกั ส่งิ ละ ๒ ส่วน
วิธีทำ ชนิดผง บดเปน็ ผง ชนิดเมด็ บดเปน็ ผง ทำเมด็ หนกั เมด็ ละ ๐.๒ กรัม
สรรพคุณ แก้ลมวงิ เวียน ละลายน้ำดอกไม้ หรอื นำ้ สุก
ขนาดรบั ประทาน ชนิดผง ครง้ั ละ ๑/๒-๑ ชอ้ นกาแฟ ชนดิ เมด็ คร้ังละ ๕-๗ เม็ด
ขนาดบรรจุ ชนิดผง ๑๕ กรัม ชนิดเมด็ ๓๐ เมด็

๓. ยามหานลิ แท่งทอง
วัตถสุ ่วนประกอบ เนอื้ ในเมด็ สะบ้ามอญสุม กระดกู กาสมุ กระดูกงูเหลอื มสุม
หวายตะคา้ สมุ เม็ดมะกอกสมุ ลกู มะคำดคี วายสุม ถา่ นไมส้ กั จันทร์แดง จันทรเ์ ทศ ใบพมิ เสน
ใบหญา้ นาง หมกึ หอม หนกั สิ่งละ ๑ สว่ น เบ้ียจ่ัน คว่ั ให้เหลือง ๓ เบ้ีย
วิธที ำ บดเป็นผง ทำเป็นเม็ด ปิดทองคำเปลว หนักเมด็ ละ ๐.๕ กรมั
สรรพคุณ แกไ้ ข้ แก้หระกายนำ้ แกห้ ดั อสี กุ อีใส
ขนาดรับประทาน รับประทานครงั้ ละ ๒ คร้งั ผู้ใหญ่ ครัง้ ละ ๓-๔ เมด็ เด็ก ครัง้ ละ
๑-๒ เมด็
ขนาดบรรจุ ๓๐ เมด็

๔. ยาเขียวหอม
วตั ถุส่วนประกอบ ใบพิมเสน ใบผักกระโฉม ใบหมากผู้ ใบหมากเมีย ใบสันพรา้ หอม
รากแฝกหอม จันทร์เทศ จนั ทนแ์ ดง ว่านกลบี แรด วา่ นร่อนทอง เนระพูสี พิษนาศน์
รากไครเ้ ครือ ดอกพกิ ุล เกสรบนุ นาค เกสรสารภี เกสรวั หลวง หนกั ส่ิงละ ๑ สว่ น ระยอ่ ม
หนกั ๑/๔ สว่ น
วธิ ที ำ บดเป็นผง
สรรพคณุ แก้ตวั ร้อน ร้อนใน กระหายนำ้ ละลายนำ้ สุก หรอื น้ำดอกมะลแิ กพ้ ษิ หดั พิษสกุ ใส
ละลายน้ำรากผกั ชตี ม้ ท้ังรบั ประทานและชโลม
ขนาดรบั ประทาน รับประทานวันละ ๔–๖ครั้ง ผูใ้ หญ่ ครงั้ ละ ๑ ชอ้ นกาแฟ เด็ก ครงั้ ละ ๑-๒
ช้อนกาแฟ
ขนาดบรรจุ ๓๐ เมด็

๕. ยาประสะกะเพรา
วตั ถุส่วนประกอบ พรกิ ไทย ขงิ ดีปลี กระเทียม น้ำประสานทองสะตุ หนักสง่ิ ละ ๒
สว่ น ชะเอมเทศ หกากิงคุ์ หนักส่งิ ละ ๘ ส่วน เกลือสนิ เธาว์ หนัก ๑ ส่วน ผวิ มะกรูด หนัก ๒๐
สว่ น ใบกะเพรา หนัก ๔๗ สว่ น
วธิ ที ำ บดเป็นผง ทำเป็นเม็ด หนักเมด็ ละ ๐.๑ กรมั
สรรพคณุ แก้ทอ้ งขน้ึ ทอ้ งเฟอ้ ละลายนำสุก หรือน้ำใบกะเพราต้มแก้ท้องแนน่ จุกเสียด
ใช้ไพลเผาไฟพอสกุ ฝนแทรก
ขนาดรับประทาน รบั ประทาน เชา้ เยน็ เดก็ อายุ ๑-๓ เดอื น ครั้งละ ๔-๖ เม็ด
ขนาดบรรจุ ๓๐ เม็ด

๖. ยาเหลอื งปดิ สมุทร
วตั ถุส่วนประกอบ แห้วหมู ขม้ินอ้อย เปลอื กเพกา รากกลว้ ยตีบ กระเทยี มค่วั ดีปลี
ชนั ย้อย ครั่ง สีเสยี ดเทศ สีเสียดไทย ใบเทียน ใบทบั ทมิ หนักสิ่งละ ๑ สว่ น
ขมิน้ ชนั หนกั ๖ ส่วน
วิธีทำ บดเป็นผง ทำเปน็ เมด็ หนกั เม็ดละ ๐.๑ กรัม
สรรพคุณ แก้ท้องเสีย ใช้น้ำเปลอื กลกู ทบั ทมิ หรือเปลอื กแคต้มกบั นำ้ ปูนใส เป็นกระสาย
ถา้ หาน้ำกระสายไม่ได้ ใหใ้ ชน้ ้ำสุกแทน เด็กโต ครั้งละ ๕-๗ เม็ด
ขนาดบรรจุ ๓๐ เม็ด

ขนาดรับประทาน รับประทาน วันละ ๓ เวลา ก่อนอาการ เด็กอายุ ๓-๕ เดือน ครัง้ ละ ๒ เม็ด
เดก็ อายุ ๖–๑๒ เดอื น ครัง้ ละ ๓-๔ เมด็
ขนาดบรรจุ ๓๐ เม็ด

๗. ยาอำมฤควาที
วตั ถสุ ว่ นประกอบ รากไครเ้ ครอื โกฐพงุ ปลา เทยี นขาว ลกู ผักชีลา เนือ้ ลูกมะขามปอ้ ม
เนอื้ ลกู มะขามปอ้ ม เนือ้ ลูกสมอพิเภก หนักสงิ่ ละ ๗ สว่ น นำ้ ประสานทองสะตุ หนกั ๑ สว่ น
ชะเอมเทศ หนัก ๔๓ ส่วน
วิธที ำ บดเปน็ ผง
สรรพคุณ แกไ้ อ ขับเสมหะ ละลายน้ำมะนาวแทรกเกลอื ใชจ้ บิ หรือกวาดคอ
ขนาดรับประทาน ผใู้ หญ่ ครั้งละ ๑ ช้อนกาแฟ เดก็ ลดลงตามคอ
ขนาดบรรจุ ๑๕ กรมั

๘. ยาประสะมะแวง้
วัตถสุ ่วนประกอบ สารสม้ หนกั ๑ สว่ น ขมิ้นออ้ ย หนกั ๓ สว่ น ใบสวาด ใบตานหมอ่ น
ใบกะเพรา หนักสง่ิ ละ ๘ สว่ น
วิธีทำ บดเป็นผง ผสมน้ำสกุ แทรกพมิ เสนพอควร ทำเปน็ เมด็ หนักเม็ดละ ๐.๒ กรัม
สรรพคุณ แก้ไอ แกเ้ สมหะ ละลายน้ำมะนาวแทรกเกลอื รับประทานหรือใช้อม
ขนาดรับประทาน เดก็ ครงั้ ละ ๑-๒ เมด็
ขนาดบรรจุ ๓๐ เม็ด

๙.ยาจันทนล์ ีลา
วัตถสุ ว่ นประกอบ โกฐสอ โกฐเขมา โกฐจฬุ าลัมพา จนั ทรเ์ ทศ จันทรแ์ ดง ลกู กระดอม
บอระเพด็ รากปลาไหลเผอื ก หนกั สิ่งละ ๔ สว่ น
วิธีทำ ชนดิ ผง บดเปน็ ผง ชนิดเมด็ บดเป็นผง ทำเปน็ เม็ดหนกั เม็ดละ๐.๕ กรมั
สรรพคุณ แก้ไข้ แกต้ ัวรอ้ น
ขนาดรับประทาน รบั ประทานทกุ ๔ ชว่ั โมง ชนดิ ผง เด็ก คร้งั ละ ๑/๒-๑ ช้อนกาแฟ ผู้ใหญ่
ครัง้ ละ ๑-๒ ช้อนกาแฟ ชนดิ เม็ด เดก็ คร้งั ละ ๑-๒ เม็ด
ผูใ้ หญ่ ครงั้ ละ ๓-๔ เมด็
ขนาดบรรจุ ชนดิ ผง ๑๕ กรัม ชนดิ เมด็ ๓๐ เมด็

๑๐. ยาตรหี อม
วตั ถุสว่ นประกอบ เน้อื ลกู สมอเทศ เน้อื ลกู สมอพเิ ภก เนอื้ ลกู มะขามป้อม ลูกผกั ชีลา
หนกั สิง่ ละ ๔ ส่วน รากไคร้เครอื โกศสอ ชะเอมเทศ นำ้ ประสานทองสะตุ ลกู ซัดควั่ หนกั สงิ่ ละ
๑ ส่วน เนือ้ ลูกสมอไทย โกฐนำ้ เตา้ ใหญ่นึ่งสกุ หนกั สิ่งละ ๒๒ ส่วน
วธิ ที ำ บดเป็นผง ทำเป็นเม็ด หนกั เมด็ ละ ๐.๒ กรัม
สรรพคณุ แก้เด็กท้องผกู ระบายพิษไข้
ขนาดรับประทาน รบั ประทาน กอ่ นอาหารเชา้ เด็กอายุ ๑-๒ เดอื น ครั้งละ ๒-๓ เมด็ เดก็ อายุ
๓-๕ เดอื น ครง้ั ละ ๔-๕ เม็ด เด็กอายุ ๖–๑๒ เดือน ครัง้ ละ ๖-๘ เมด็

๑๑. ยาประสะจันทนแ์ ดง
วัตถสุ ่วนประกอบ รากเหมือนคน รากมะปรางหวาน รากมะนาว เปราะหอม โกฐหวั บวั
จันทร์เทศ ฝางเสน หนักสิง่ ละ ๔ สว่ น เกสรบัวหลวง ดอกบุนาค ดอกสารภี ดอกมะลิ
หนักส่ิงละ ๑ สว่ น จนั ทนแ์ ดง ๓๒ สว่ น
วธิ ที ำ บดเปน็ ผง
สรรพคุณ แกไ้ ขต้ ัวรอ้ น กระหายนำ้ ละลายนำ้ สุกหรอื น้ำดอกมะลิ
ขนาดรับประทาน รับประทานทกุ ๓ ชั่วโมง ผใู้ หญ่ ครัง้ ละ ๑ ช้อนกาแฟ เดก็ คร้ังละ ๑/๒
ชอ้ นกาแฟ
ขนาดบรรจุ ๑๕ กรัม

๑๒. ยาหอมอนิ ทจกั ร์
วัตถสุ ว่ นประกอบ สะค้าน รากช้าพลู ขงิ ดปี ลี รากเจตมูลเพลิงแดง ลูกผักชลี า
โกฐสอ โกฐเขมา โกฐก้านพรา้ ว โกฐพุงปลา โกฐจุฬาลัมพา โกฐเชียง โกฐกักกรา โกฐนำ้ เตา้
โกฐกระดกู เทียนดำ เทียนขาว เทยี นแดง เทียนขา้ วเปลอื ก เทยี นเยาวพาณี จนั ทน์แดง
จนั ทร์เทศ เถามวกขาว รากหญา้ นาง เปลือกสมลุ แวง้ กฤษณา กระลำพกั บอระเพ็ด
ลูกกระดอม กำยาน ขอนดอก ชะมดเชด็ ลูกจนั ทน์ ดอกจันทร์ ลกู กระวาน การพลู รากไครเ้ ครอื
ลำพันแดง ดอกสารภี ดอกพกิ ลุ ดอกบนนาค ดอกจำปา ดอกกระดังงา
ดอกมะลิ ดอกคำไทย ฝางเสน ดีงเู หา่ ดีหมูปา่ ดวี ัว พมิ เสน สิง่ ละ ๑ ส่วน
วิธีทำชนิดผง บดเปน็ ผง ชนิดเม็ด บดเปน็ ผง ทำเป็นเมด็ หนักเม็ดละ ๐.๒ กรัม
สรรพคณุ แก้ลมบาดทะจติ ใช้นำดอกมะลิ แก้คลื่นเหียนอาเจยี น ใชน้ ำ้ ลกู ผักชี เทยี นดำตม้
ถ้าไมม่ ใี ชน้ ำ้ สุก แกล้ มจกุ เสียด ใชน้ ้ำขงิ ตม้ เมด็

ขนาดรับประทาน รบั ประทานทกุ ๓ ชว่ั โมง ชนดิ ผง คร้งั ละ ๑/๒-๑ ช้อนกาแฟ ชนดิ เม็ด
ครั้งละ ๕–๑๐ เม็ด
ขนาดบรรจุ ชนิดผง ๑๕ กรัม ชนดิ เม็ด ๓๐ เมด็

๑๓. ยาประสะไพล
วตั ถุสว่ นประกอบ ผวิ มะกรดู วา่ นนำ้ กระเทียม หัวหอม พรกิ ไทย ดีปลี ขงิ ขมิ้นออย้
เทยี นดำ เกลอื สินเธาว์ หนักส่ิงละ ๘ ส่วน การบูร หนัก ๑ ส่วน ไพล หนัก ๘๑ ส่วน
วธิ ที ำ บดเป็นผง
สรรพคณุ แกจ้ กุ เสยี ด แกร้ ะดไู มป่ กติ ขบั น้ำคาวปลา
ขนาดรับประทาน รบั ประทานวนั ละ ๓ ครงั้ ก่อนอาหาร ครงั้ ละ ๑ ช้อนกาแฟ ละลายนำ้ สกุ
หรือน้ำสุรา
ขนาดบรรจุ ๓๐ กรมั

๑๔. ยาหอมนวโกฐ
วตั ถสุ ่วนประกอบ ขงิ แหง้ ดีปลี เจตมูลเพลงิ แดง สะคา้ น ช้าพลู หนักส่ิงละ ๓
สว่ น แหว้ หมู โกฐเชียง โกฐก้านพรา้ ว .โกฐพุงปลา โกฐชฎามงั สี เทยี นดำ เทยี นดำ เทยี นแดง
เทียนขาว เทยี นขา้ วเปลอื ก เทียนเนาวพาณี เทียนสตั ตบษุ ย์ เทียนเกล็ดหอย เทยี นตากบ สกั ขี
ลกู ราชดดั ลูกสารพดั พษิ ลกู กระวาน การพลู ดอกจันทน์ ลกู เทศ จันทนแ์ ดง อบเชยญวน
เปลือกสมลุ แว้ง หญา้ ตนี นก แฝกหอม เปลือกชะลดู เปราะหอม รากไครเ้ ครอื เนอ้ื ไม้
ขอนดอก กระลำพัก เนอื้ ลูกมะขามปอ้ ม เน้ือลกู สมอพเิ ภกชะเอมเทศ ลูกผักชลี า ลกู กระดอม
บอระเพด็ เกสรบวั หลวง เกสรบนุ นาค ดอกพกิ ลุ ดอกสารภี ดอกมะลิ แกน่ สน หนกั ส่ิงละ ๔
สว่ น นำ้ ประสานทองสะตุ หนัก ๒ สว่ น
ชะมดเช็ด พมิ เสน หนกั ส่ิงละ ๑ สว่ น
วิธที ำ ชนดิ ผง บดเปน็ ผง ชนิดเม็ด หนกั เม็ดละ ๐๒ กรมั
สรรพคณุ แก้ลมคลนื่ เหยี น อาเจยี น ใช้นำ้ ลกู ผักชี เทียนดำ ตม้ แก้ลมปลายไข้ ใช้นำ้ สุกแทน
ขนาดรับประทาน รบั ประทานทุก ๓ ชว่ั โมง ชนดิ ผง ครงั้ ละ ๑/๒-๑ ช้อนกาแฟ ชนดิ เมด็
ครัง้ ละ ๕–๑๐ กรัม
ขนาดบรรจุ ชนิดผง ๑๕ กรัม ชนดิ เม็ด ๓๐ เมด็

๑๕. ยาวสิ ัมพยาใหญ่
วัตถสุ ว่ นประกอบ ลกู ผกี ชลี า ลกู จนั ทร์ ดอกจันทร์ หนกั สิ่งละ ๘ ส่วน กระวาน
กานพลู โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบวั โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา อบเชย สมลุ แวง้ สมอเทศ
สมอไทย รากไคร้เครือ วา่ นนำ้ บอระเพ็ด ขงิ แหง้ พญารากขาว หนักสง่ิ ละ ๒ ส่วน ดีปลี หนกั
๕๖ ส่วน น้ำประสานทองสะตุ หนัก ๑ สว่ น
วธิ ีทำ บดเปน็ ผง
สรรพคุณ แกท้ อ้ งขน้ึ อืด เฟ้อ จกุ เสยี ด
ขนาดรบั ประทาน รับประทานทุก ๔ ชั่วโมง คร้ังละ ๑ ชอ้ นกาแฟ ใชน้ ำ้ สกุ เปน็ กระสาย หรือผ
สมนำ้ ผง้ึ ปนั้ เปน็ ลกู กลอน
ขนาดบรรจุ ๑๕ กรัม

๑๖. ยาธาตบุ รรจบ
วตั ถุส่วนประกอบ ขงิ โกฐเขมา โกฐพงุ ปลา โกฐเชยี ง โกฐสอ เทียนดำ เทียนขาว
เทยี นสตั ตบุษย์ เทียนยาวพาณี เทยี นแดง ลกู จันทร์ กานพลู การบรู เปลอื กสมนุ แว้ง ลกู กระวาน
ลูกผักชีลา ใบพมิ เสน รากไคร้เครือ ดีปลี เปราะหอม หนกั ส่งิ ละ ๔ สว่ น โกฐกา้ นพร้าว หนกั ๘
ส่วน เน้อื ลกู สมอไทย หนกั ๑๖ ส่วน นำ้ ประสานทองสะตุ
หนกั ๑ สว่ น
วิธที ำ บดเปน็ ผง
สรรพคณุ แกธ้ าตุไม่ปกติ ท้องเสีย ใชเ้ ปลอื กแค หรอื เปลือกสะเดา หรือ เปลือกลูกทับทมิ ต้
มกบั นำ้ ปนู ใสแก้ท้องขึ้น ท้องเฟ้อ ใชก้ ระเทียม 3 กลบี ทบุ ชงน้ำร้อน หรือใชใ้ บกระเพราต้ม
เป็นกระสาย ถา้ หาน้ำกระสายไมไ่ ด้ให้ใชน้ ้ำสกุ แทน
ขนาดรับประทาน รับประทานวันละ ๓ เวลา ก่อนอาหาร ผู้ใหญ่ ครง้ั ละ๑ ชอ้ นกาแฟ เด็ก
คร้งั ละ๑ ชอ้ นกาแฟ
ขนาดบรรจุ ๑๕ กรัม

๑๗. ยาประสานกานพลู
วตั ถุสว่ นประกอบ เทียนดำ เทยี นขาว โกฐสอ โกฐกระดกู กำมะถันเหลอื ง การบูร
รากไคร้เครอื เปลอื กเพกา เปลอื กขี้อ้าย ใบกระวาน ลูกผักชีลา แฝกหอม ว่านนำ้
หวั กระชาย เปราะหอม รากแจง กรุงเขมา หนกั สิ่งละ ๔ ส่วน รากขา้ วสาร เนื้อไม้ ลูกจันทร์
ขม้ินชนั หนกั สงิ่ ละ ๘ ส่วน ขงิ แหง้ ดีปลี หนักส่งิ ละ ๓ ส่วน น้ำประสานทองสตุ
ไพร เจตมลู เพลงิ แดง สะค้าน ช้าพลู หนกั สิ่งละ ๒ สว่ น เปลอื กซิก หนกั ๑๐ ส่วน พรกิ ไทย
หนัก ๑ สว่ น กานพลู หนกั ๑๓๑ ส่วน
วธิ ที ำ บดเป็นผง
สรรพคณุ แกป้ วดทอ้ ง เน่อื งจากธาตไุ มป่ กติ ใชไ้ พลเผาไฟฝนกบั น้ำปนู ใส หรอื ใชน้ ำ้ สกุ แทน
ขนาดรับประทาน รบั ประทานทุก ๓ ชวั่ โมง ผู้ใหญ่ครง้ั ละ ๑ ช้อนกาแฟ
ขนาดบรรจุ ๑๕ กรมั

๑๘. ยาแสงหมึก
วัตถสุ ว่ นประกอบ หมกึ หอม จนั ทร์ชะมด ลูกกระวาน จันทรเ์ ทศ ใบพมิ เสน ลกู จันทร์
กานพลู ใบสนั พรา้ หอม หัวหอม ใบกระเพรา ดงี เู หลอื ม หนกั สง่ิ ละ ๔ ส่วน
ชะมด พิมเสน หนกั สง่ิ ละ ๑ สว่ น
วิธที ำ บดเปน็ ผง ทำเปน็ เม็ด หนนกั เม็ดละ ๐.๒ กรัม
สรรพคณุ แก้ตัวรอ้ น ละลายนำ้ ดอกไม้เทศ แก้ท้องข้ึน ปวดทอ้ ง ละลายนำ้ ใบกระเพราต้ม
แกไ้ อ ขบั เสมหะ ลาลายนำ้ ลูก มะแวง้ เครือ หรือลกู มะแวง้ ต้น กวาดคอ
แก้ปากเป็นแผล แกล้ ะออง ละลายนำ้ ลกู เบญกานี ฝนทาปาก
ขนาดรับประทาน ใช้กวาดคอ วนั ละ ๑ ครั้ง หลงั จากนนั้ รับประทานทุก ๓ ช่ัวโมง เด็กอายุ
๑-๖ เดอื น คร้ังละ ๒ เม็ด เด็กอายุ ๗-๑๒ เดอื น คร้ังละ ๓ เม็ด
ขนาดบรรจุ ๑๒ เม็ด

๑๙. ยามันทธาตุ
วัตถุสว่ นประกอบ โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบวั โกฐเชยี ง โกฐจุฬาลมั พา
เทียนดำเทียนแดง เทยี นขาว เทยี นข้าวเปลือก เทียนตาตกั๊ แตน รากไคร้เครอื ลกู ผกั ชลี ้อม
ลูกผกั ชลี า การบูร กระเทียม เปลือกสมลุ แวง้ เปลือกโมกมนั จันทร์แดง จันทรเ์ ทศ กานพลู
ดปี ลี รากช้าพลู เถาสะคา้ น รากเจตมลู เพลงิ แดง พริกไทยลอ่ น ลกู จนั ทร์
หนักสงิ่ ละ ๑ ส่วน ขงิ ลกู เบญกานี หนักสงิ่ ละ ๓ ส่วน
วธิ ีทำ บดเป็นผง
สรรพคุณ แกธ้ าตไุ มป่ กติ แก้ท้องขึน้ อืดเฟอ้
ขนาดรับประทาน รับประทานวนั ละ ๓ ครัง้ กอ่ นอาหาร ผู้ใหญ่คร้ังละ ๑ ชอ้ นกาแฟ ละลานำ้ สกุ
เดก็ ครงั้ ละ ๑ ชอ้ นกาแฟ ละลายนำ้ สกุ
ขนาดบรรจุ ๑๕ กรมั
๒๐. ยาไฟประลยั กัลป์
วตั ถุส่วนประกอบ พรกิ ไทยลอ่ น ขงิ ดีปลี กระเทยี ม หนกั ส่งิ ละ ๔ ส่วน ขม้นิ ออ้ ย
กะทอื ข่า ไพล เปลอื กมะรุม หนักส่ิงละ ๕ สว่ น รากเจตมูลเพลงิ แดง สารส้ม แก่นเเสมทะเล
การบูร ผวิ มะกรดู หนักสิ่งละ ๖ สว่ น
วธิ ีทำ บดเปน็ ผง
สรรพคุณ ขบั นำ้ คาวปลาในเรอื นไฟ ช่วยใหม้ ดลูกเขา้ อู่
ขนาดรับประทาน รับประทานวนั ละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร ครั้งละ ๑ ช้อนกาแฟ ละลายน้ำสุก
หรือนำ้ สรุ า
ขนาดบรรจุ ๑๕ กรัม

๒๑. ยาไฟหา้ กอง
วัตถสุ ่วนประกอบ รากเจตมลู เพลงิ แดง ขงิ พริกไทยล่อน สารส้ม ฝกั สม้ ปอ่ ย
หนกั สง่ิ ละ ๑ สว่ น
วิธีทำ บดเปน็ ผง
สรรพคุณ ขับน้ำคาวปลาในเรือนไฟ
ขนาดรบั ประทาน รบั ประทาน วันละ ๓ คร้ัง ก่อนอาหาร ครั้งละ ๑ ชอ้ นกาแฟ ละลายนำ้ สกุ
หรอื น้ำสรุ า
ขนาดบรรจุ ๑๕ กรัม

๒๒.ยาประสะเจตพังคี
วตั ถสุ ่วนประกอบ ดอกจนั ทร์ ลูกจนั ทร์ ลูกกระวาน ใบกระวาน กานพลู กรุงเขมา
รากไคร้เครือ การบูร ลูกสะมอทะเล พญารากขาว เปลอื กหว้า เกลอื สนิ เธาว์ หนักสง่ิ ละ ๑ สว่ น
พรกิ ไทยล่อน บอระเพด็ หนกั สง่ิ ละ ๒ ส่วน ข่า หนัก ๑๖ ส่วน ระย่อม หนัก ๒ ส่วน เจตพงั คี
หนกั ๓๔ สว่ น
วธิ ีทำ บดเป็นผง
สรรพคณุ แกก้ ระษยั จุกเสียด
ขนาดรับประทาน รับประทาน เชา้ และเยน็ กอ่ นอาหาร ครั้งละ ๑ ช้อนกาแฟ ละลายน้ำสกุ
ขนาดบรรจุ ๑๕ กรัม

๒๓. ยาธรณสี ันฑะฆาต
วัตถสุ ่วนประกอบ ลูกจันทร์ ดอกจันทร์ ลูกกระวาน กานพลู เทียนดำ เทยี นขาว
หัวดองดงึ หวั บกุ หัวกลอย หัวกระดาดขาว หวั กระดาดแดง ลกู เรว่ ขิง ชะเอมเทศ
รากเจตมลู เพลงิ แดง โกบกระดูก โกฐเขมา โกฐน้ำเตา้ หนกั สงิ่ ละ ๑ สว่ น ผักแพวแดง
เน้อื ลกู มะขามปอ้ ม หนกั ส่งิ ละ ๒ ส่วน เนอื้ ลกู สมอไทย มหาหงิ ค์ุ การบรู
หนักส่ิงละ ๖ ส่วน รงทอง (ประสะแลว้ ) หนกั ๔ ส่วน ยาดำ หนัก ๒๐ สว่ น พริกไทยล่อน
หนกั ๙๖ ส่วน
วธิ ที ำ บดเปน็ ผง
สรรพคณุ แก้กระษัยเสน้ เถาดาน ท้องผกู
ขนาดรับประทาน รบั ประทาน วันละ ๑ ครงั้ ก่อนอาหารเชา้ หรอื ก่อนนอน
ครั้งละ ๑ ช้อนกาแฟ ลาลายนำ้ สกุ หรอื ผสมน้ำผึ้งปน้ั เป็นลูกกลอน
คำเตอื น คนเปน็ ไข้ หรือ สตรีมีครรภ์ ห้ามรับประทาน
ขนาดบรรจุ ๑๕ กรัม

๒๔.ยาบำรงุ โลหิต
วตั ถุสว่ นประกอบ ขิงแหง้ ดปี ลี เจตมูลเพลิงแดง สะคา้ น ช้าพลู ขมนิ้ เครอื
เถามวกแดง กำลังววั เถลิง ดอกสารถี ดอกพกิ ลุ ดอกบนุ นาค เกสรบวั หลวง หนักส่งิ ละ ๒
สว่ น ดอกจนั ทร์ ลกู จันทร์ ลกู กระวาน กานพลู เทียนดำ เทียนแดง เทียนขาว เทียนข้าวเปลอื ก
เทียนตาตก๊ั แตน โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหวั บวั โกฐเชียง โกฐจฬุ าลัมพา เนือ้ ลกู สมอไทย
เนอ้ื ลูกสมอดงี ู เน้ือลูกสมอพเิ ภก เปลอื กชะลดู เปลือกอบเชยเทศ จนั ทรแ์ ดง แกน่ แสมสาร
แก่นแสมทะเล กฤษณา หนักสิ่งละ ๑ สว่ นครึ่ง หนัก ๘ ส่วน ฝาง ดอกคำไทย หนักสง่ิ ละ ๑๐
ส่วน
วิธีทำ บดเป็นผง
สรรพคณุ บำรงุ โลหิต
ขนาดรบั ประทาน รับประทาน วนั ละ ๒ คร้งั เช้า-เยน็ กอ่ นอาหาร ครั้งละ ๑ ช้อนกาแฟ
ขนาดบรรจุ ๓๐ กรัม

๒๕. ยาประสะเปราะใหญ่
วัตถุสว่ นประกอบ โกฐสอ โกฐเขมา โกฐเชยี ง โกฐจฬุ าลัมพา เทียนดำ เทยี นแดง
เทียนขาว เทียนขา้ วเปลอื ก เทยี นตาตัก๊ แตน ลูกจันทร์ ดอกจนั ทร์ ลกู กระวาน กานพลู
จนั ทรเ์ ทศ จันทรแ์ ดง ดอกบุนนาค ดอกสารภี ดอกพกิ ุล เกสรบัวหลวง หนกั สงิ่ ละ ๑ สว่ น
เปราะหอม หนัก ๒๐ สว่ น
วธิ ที ำ บดเปน็ ผง
สรรพคุณ ถอนผดิ ไข้ตานทรางสำหรับเดก็ ละลายนำ้ ดอกไม้เทศ หรอื น้ำสกุ รบั ประทานหรอื
ผสมน้ำสรุ าสุมกระหม่อมขนาดรับประทาน รบั ประทานทุกสามช่ัวโมง
ครงั้ ละ ๑ ชอ้ นกาแฟ
ขนาดบรรจุ ๑๕ กรัม

๒๖. ยามหาจกั รใหญ่
วัตถสุ ่วนประกอบ โกฐสอ โกฐเสมา โกฐพงุ ปลา โกฐก้านพร้าว โกฐกระดกู เทยี นดำ
เทียนแดง เทยี นขาว เทียนขาวเปลอื กเทยี นเยาวพาณี สมอไทย(เอาแตเ่ น้ือ)
ลูกจนั ทน์ ลูกกระวาน กานพลู ชะเอมเทศ เมล็ดโหรพา ลูกผกั ชีลา สารส้ม ดินประสวิ ขมิ้นอ้อย
หวั กระเทยี ม หนักสง่ิ ละ ๑ สว่ น ยาดำสะตุ หนัก ๔ ส่วน ใบกระพงั โหม หนกั ๓๐ ส่วน
วิธที ำ บดเป็นผง ทำเปน็ เม็ด หนกั เมด็ ละ ๐.๕ กรัม
สรรรพคุณ แก้ลมทราง แก้อาการท้องอืด ทอ้ งเฟอ้
ขนาดรับประทาน เดก็ อายุตำ่ กว่า ๕ ขวบ รบั ประทานครงั้ ละ ๑-๓ เมด็ เพ่มิ และ
ลดไดต้ ามส่วน รบั ประทานกับนำ้ สุก กอ่ นอาหาร เช้า-เย็น
ขนาดบรรจุ ๑๐ เมด็

๒๗. ยาเนาวหอย
วตั ถุส่วนประกอบ กระดูกเสอื เผา กระดูกโคเผา กระดูกแพะเผา กระดูกงูเหลอื มเผา
หนกั สง่ิ ละ ๑ ส่วน เปลอื กหอยขมเผา เปลอื กหอยแครงเผา เปลือกหอยตาววั เผา
เปลอื กหอยพมิ พการังเผา เปลือกหอยจแุ๊ จงเผา เปลือกหอยมุกเผา เปลอื กหอยสงั ขเ์ ผา
หนกั ส่งิ ละ ๒ ส่วน รากทนด(ี ตองแตก)หนกั ๓ ส่วน รากเจตมูลเพลิงแดง หสั คุณเทศ
หนักส่งิ ละ ๔ สว่ น พริกไทยลอ่ น หนกั ๓๒ สว่ น
วิธที ำ บดเปน็ ผง
สรรพคณุ แก้กระษยั จกุ เสียด
ขนาดรับประทาน รับประทานวนั ละ ๒ ครัง้ กอ่ นอาหารเชา้ -เย็น ครั้งละ ๑ ชอ้ นกาแฟผสมน้ำ
ผ้ึงป้นั เป็นลกู กลอน บรรจุ ๑๕ กรัม

๒๘. ยาถา่ ย
วตั ถุส่วนประกอบ ใบมะกา ใบมะขาม ใบสม้ ปอ่ ย หญ้าไทร ใบไผป่ ่า ฝักคูณ
รากข้กี าแดง รากขก้ี าขาว รากตองแตก เถาวัลย์เปรียง หวั หอม ฝกั ส้มปอ่ ย สมอไทย
สมอดีงู หนักสิ่งละ ๑ ส่วน ขเ้ี หลก็ ท้งั ๕ หนกั ๑ สว่ น ยาดำ หนัก ๔ ส่วน ดีเกลอื ฝร่ัง หนัก
๒๐ สว่ น
วิธที ำ บดเป็นผง ทำเป็นเม็ด หนกั เม็ดละ ๐.๕ กรมั
สรรพคุณ แก้ท้องผูก
ขนาดรับประทาน รับประทานวันละ๑ ครั้ง ก่อนนอน ครง้ั ละ ๒-๕ เมด็ ตามธาตหุ นกั เบา
ขนาดบรรจุ ๑๐ เม็ด
ขอ้ ๓. ยาสามญั ประจำบ้าน ท่ไี ดข้ น้ึ ทะเบียนตำหรับยาไวก้ ่อนประกาศฉบบั นีใ้ ชบ้ ังคั
บ ยังเป็นยาสามญั ประจำบา้ นตอ่ ไปได้ ภายในกำหนด 180 วันนบั แตป่ ระกาศ
ฉบบั นีม้ ีผลใชบ้ งั คบั
ขอ้ ๔. ให้ผูร้ บั อนุญาตผลิตนำหรือสง่ั ยาเขา้ มาในราชอาณาจกั ร ซึง่ ยาแผนโบราณทีม่ ี
ตำหรบั ยาตามประกาศฉบบั นี้ และได้ข้นึ ทะเบยี นตำหรบั ยาไว้กอ่ น ทปี่ ระกาศฉบบั นี้
มีผลใชบ้ ังคับ ที่ประสงคจ์ ะใหต้ ำหรบั ยานั้น เปน็ ยาสามัญประจำบา้ น โดยไม่ตอ้ งขอขึ้นทะเบยี
นตำหรบั ยาใหม่ ขอแก้ไขรายการทะเบยี นตำหรบั ยา ภายในกำหนด ๑๘๐ วัน
นบั แตป่ ระกาศฉบบั นมี้ ผี ลใช้บังคับ
ขอ้ ๕. ประกาศฉบับนีใ้ ห้ใช้บงั คับตง้ั แต่วันถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา
เป็นตน้ ไป

ประกาศ ณ วันท่ี ๒๙ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๓๗
อาทิตย์ อุไรรัตน์

(นายอาทิตย์ อุไรรัตน)์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข

( คดั จากราชกจิ จานเุ บกษา ฉบบั ประกาศท่ัวไป เล่ม ๑๑๑ ตอนพเิ ศษ ๔๒ ลงวนั ท่ี ๓ ตุลาคม ๒๕๓๗)

ปจั ฉิมบท

พทุ ธดำรสั วา่ “อโรคา ปรมา ลาภา” ผซู้ ง่ึ ไม่มโี รคภัยเบียดเบยี น เปน็ ลาภอนั ประเสริฐ
นั้นจรงิ แทแ้ นน่ อนไมม่ ีศาลอุทรรอ้ งเรียนเลยนา เมอ่ื มโี รคามาเบยี ดเบยี น มนุษยก์ ็จำเป็นต้อง
เยียวยารักษาแก้ไข เพือ่ บรรเทาทกุ ขเวทนา จากโรคภัยนั้นกม็ ีนัยหลายวธิ ี เช่น ตม้ ยา ต้งั ยา
แตง่ ยา นวด ฯลฯ เพ่ือผ่อนคลายทกุ ขเวนาเหล่านนั้ ไป ไมว่ ่าจะรกั ษาโดยวิธกี ารใดเม่ือถึงท่ีสุด
แหง่ สงั ขารถึงกาลดบั ดน้ิ สนิ้ ไป อายไุ ขส้นิ ลง ความตายพรากชวี ิต อุปฆาตกรรมตัดรอน แล้วก็
ไม่สามารถชว่ ยเหลอื ด้วยวิธีการใดได้ เราก็ต้องน้อมใจลงสู่บทธรรมคอื อนิจจงั สงั ขารไมเ่ ท่ียง
ทุกขัง ความทุกขเ์ กดิ ข้ึนอยรู่ ำ่ ไปไมม่ ีวันส่างซา อนตั ตา พจิ ารณาวา่ ไมม่ ีส่งิ ใดหลงเหลอื อยูเ่ ลย
เพอื่ ทำให้หวั ใจเรา แชม่ ชืน่ ด้วย พระสัทธรรม เปน็ ทีน่ ้อมนำกายใจเรา ไมย่ ึดภาระอันเป็นทุกข์
โทษในโลกและไมเ่ สยี ทที ไ่ี ด้ เกดิ มาใตร้ ม่ บุญพระพุทธศาสนา ซง่ึ มีพระพทุ ธ พระธรรม
พระสงฆ์ เป็นไตรรตั นอ์ นั สวา่ งจ้าเปรียบประหนึง่ ว่าเป็นเสายึดเหนยี่ วหวั ใจของเราไมใ่ ห้ไหล
ไปสคู่ วามชวั่ ช้าเลวทราม ระลกึ รู้อยู่ ตลอดเวลา ยอ่ มนำพาจิตสู่หลักชัย ชนะภัยอนั เร่ารอ้ น
สสู่ ุขสันตท์ กุ วันคนื “ยาทง้ั หลายในโลกมไี วส้ ำหรบั รักษากาย ธรรมะยอ่ มยงั หวั ใจ ให้ห่าง
ไกลความทกุ ข์”เม่อื เกิดโรคภัย พึงรำลกึ เสมอวา่ หายก็ดไี ม่หายก็ดี เพราะสภาวะแห่งสังขาร
ก็กล่าว แลว้ วา่ ไมเ่ ทย่ี งแท้แนน่ อน จึงน้อมระลึกถงึ คุณความดีทเ่ี ราทำทุกเช้าค่ำวันคืนนน่ั แหละ
มาพยงุ ดึงร้งั หวั ใจไมใ่ ห้ทุกขไ์ ปกับเวทนาที่ เกิดเพราะความเจบ็ ไข้ ระลึกไปตลอด แล้วเราจัก
ไม่ตายจากความดีเลยนา

พระธาตรี อุปฺปลวณฺโณ
อโรคยาศาลา วดั ป่ากุดฉนวนอดุ มพร

กราบขอบพระคุณ
พระครวู ิสทุ ธศิ ภุ กิจ วดั ป่าสุวรรณไพโรจน์

พระอาจารยอ์ ดลู อรโิ ย วดั ปา่ นำ้ ผดุ
พระอาจารยโ์ กศิลป์ ปญฺญาวชิโร วัดป่าแจง้
พระอาจารยบ์ ุญธรรม กลฺญาโณ วดั ปา่ หนองไร่
พระอาจารย์ปรยี าวฒั น์ จนฺทสาโร วัดกลางพระอารามหลวง

คณะทำงาน
พระธาตรี อุปปฺ ลวณฺโณ
พเิ ชษฐ์ หุ่มขุนทด อิสระ รกั พนิ จิ อริศรา แสงศิรวิ ิวฒั น์ รตั นส์ ุดาพร จนิ ดารัตน์
ขอบคุณและอนุโมทนา
คณุ ราเชนทร์ สดศริ ิ และครอบครวั คณุ สรุ พันธ์ คณุ สฤุ ดี ธีระภทั รานนั ท์ และครอบครัว
คณุ พรทพิ ย์ จึงธนาภิวฒั น์ คุณบุญชัย จึงธนาภิวัฒน์ คุณพิมพ์พร จงึ ธนาภวิ ฒั น์
นายแพทย์ประสาท เรอื งสุขอุดม คณุ จันทมิ า เรอื งสุขอุดม คุณสุชาติ ศรมี ุกข์
คุณเพ็ญพร ฟ้งุ ขจร พล.อ.อ ธานนิ ทร์ ฟุ้งขจร คุณแมเ่ พญ็ ศรี ฟุ้งขจร
ส.ต.อ.หญงิ รตั นาภรณ์ เหลา่ พลิ ยั คณุ แมบ่ ุญมี เหลา่ พิลัย วงศ์กระโซ่กับรตั นหตั ถกุล
คุณศรเี พญ็ คณุ ชยั สทิ ธ์ิ วงศก์ ลาง คณุ สกุ ลั ยา หวานไกล กบั ด.ญ.หญงิ จารชุ า เหล่าพิลัย
คุณสวภทั ร หวานไกล คณุ อรพนิ ท์ ลขิ ิตยง่ั ยืน และครอบครัว
คุณสโรจน์ เอกจรรยา และครอบครวั คณุ จนญั ญา ภมี ะโยธิน และครอบครวั
คณุ ชญมนฑน์ พูลเพมิ่ และ ด.ช.อาจณรงค์ พรมสี ส.ต.ท.หญงิ มนชั ญา จวั นาน
และครอบครวั คุณ ปิน่ สดุ า โออนิ ทร์ คณุ ปิยธิดา สีลา คุณแมค่ ำ หลักคำแพง คณุ นงคราญ
หลักคำแพง คุณ มณั ธณา เปาลวิ ฒั น์ รา้ นภูมิไทเฮิร์บบุรีรมั ย์ คุณพ่อวีระ คุณแมร่ งั สติ
สนิทรมั ย์ คุณอาคม คณุ วิราพร รงุ่ โรจนแ์ ละครอบครวั สวนธรรมเทยี นศิริ บรุ รี ัมย์
ขบวนกานตาสับปะรดส่วนกลางและส่วนภูมิภาคทุกเครอื ข่าย
ผอ.ณรงค์และ อ.กฤตยา ศรรี ิ และครอบครวั
ครูบาสุทธินนั ท์ ปรัชญพฤกษ์และครอบครัว
รศ.ดร.ประพาศน์-ผศ.รำพงึ พฤทธิประภา
ดร.อนิ ทร-ดร.จินตนา จนั ทรเ์ จรญิ

ปราสาทหินพนมรุ้ง จังหวดั บรุ ีรมั ย์

เปน็ ปราทหินที่สร้างเพอ่ื เป็นท่บี วงสรวงเทพเจา้ ผเู้ ป็นใหญใ่ นจกั รวาล และประดษิ ฐานรปู สกั การะ
พระไภสัชครุ ุไวทรู ย์ ภายในมโี รงพยาบาล(อโรคยาศาลา) และเป็นทีพ่ ำนกั ของเหล่าฤาษี อายุกวา่ ๑,๐๐๐ ปี
ในสมัยน้นั จะมอี โรคยาศาลาเปน็ ระยะตามเสน้ ทางที่ติดตอ่ กัน ระหวา่ งหวั เมืองต่าง ๆ ภายในอาณาจักร

เส้ยี วเถา พิลังกาสา
สม้ ซา่ กลวยป่า

ขอขอบคณุ วดั ป่าเขาน้อย จ.บรุ ีรมั ย์

พนมสวรรค์

พนั งดู อกแดง สามสิบกลีบ

บรรณานกุ รม

ตำราเวชศาสตรฉ์ บับหลวง เลม่ ๑-๒ กทม.
ตำรับยาจนี ทใี่ ช้บอ่ ยในประเทศไทย.กระทรงสาธารณสุข
กกยาอิสาน มลู นิธิมหาลัยมหิดล
สารานกุ รมสมุนไพรไทย วฒุ วฒุ ธิ รรมเวช กทม.
พระคมั ภรี แ์ พทย์ศาสตรส์ งเคราะห์ กทม.
สมนุ ไพรพ้นื บา้ นจงั หวัดชยั ภูมิ มูลนิธมิ หาลยั มหิดล
ตำรบั ยาแผนโบราณ ไอซแ์ ลนด์ พบั ลชิ ชิ่ง กทม. ๒๕๓๘
การใชส้ มุนไพร เลม่ ๒ โครงการพฒั นาเทคนคิ การทำยาสมุนไพร กทม.
พชื สมนุ ไพร นิจศิริ เรอื งรังษี พยอม ตนั ติวัฒน์ วังบูรพา กทม.
ตำรายาโบราณอสิ าน ดร.ปรชี า พินทอง อนุสรณ์ ๒๐๐ ปี อุบลราชธานี
เภสัชกรรมไทย วุฒ วุฒิธรรมเวช กทม.
ยาจีนกบั พลังปราณ กทม.

สมนุ ไพรนีม้ คี ่ามาก
พระเจ้าอยู่หัวทรงฝากใหร้ ักษา

แต่ปู่ยา่ ตา ยาย ใช้กนั มา
ควรลูกหลานรรู้ กั ษาใชส้ ืบไป
เป็นเอกลกั ษณ์ของชาติควรศึกษา
วิจัยยาประยกุ ต์ใช้ใหเ้ หมาะสมยั
รปู้ ระโยชนร์ ู้คุณโทษสมุนไพร
เพอ่ื คนไทยอย่รู อดตลอดกาล

พระราชนพิ นธ์
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี



ทา่ นท่ตี ้องการหนังสือสมนุ ไพรในรวั้ วัด สามารถติดตอ่ ขอรบั โดยตรงที่
อโรคยาศาล วัดป่ากดฉุ นวนอุดมพร ๓ ม.๑๙ ตำบลบา้ นเขวา้ อำเภอบ้านเขวา้

จังหวัดชัยภมู ิ ๓๖๑๗๐ E-mail [email protected]
โทร ๐๘๗-๓๗๗๗๑๔๑


Click to View FlipBook Version