The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สมุนไพรในรั้ววัด รวบรวมพืชผักสมุนไพรที่ได้รวบรวม ของดี คิลานเภัช ในการดูแลสุขภาพของพระภิกษุ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดูแลร่างกาย ตอนอาพาธของพระภิกษุ สามเณร ภายในวัด โรงพยาบาล ยาที่อยุ่ใกล้ตัวนำมาปรับใช้รักษาได้ง่าย ราคาถูก และรักษาโรคได้จริง ทันท่วงที

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สมุนไพรในรั้ววัด

สมุนไพรในรั้ววัด รวบรวมพืชผักสมุนไพรที่ได้รวบรวม ของดี คิลานเภัช ในการดูแลสุขภาพของพระภิกษุ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดูแลร่างกาย ตอนอาพาธของพระภิกษุ สามเณร ภายในวัด โรงพยาบาล ยาที่อยุ่ใกล้ตัวนำมาปรับใช้รักษาได้ง่าย ราคาถูก และรักษาโรคได้จริง ทันท่วงที

รางแดง (Ventilago Calyculata Ful.)

ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Ventilago Calyculata Ful.
วงศ์ RHAMNACEAE
ช่อื อืน่ กะเหรยี่ งแดง, เคอื กอ้ งแกบ, แสงอาทิตย,์ เถาวัลย์เหลก็ , ย่านอีเหล็ก (ไทย) ,
แสงพระอาทิตย์ (ประจวบ) , ก้องแกบ, หนามหนั (พายัพ) ,ปลอกแกลบ (บรุ รี ัมย์) , กะเลยี งแดง
(ศรรี าชา) , ทรงแดง (ใต)้
การขยายพันธ์ุ โดยการทาบเถา การตอน
ส่วนทใ่ี ช้ ใบ และเถา ใชเ้ ป็นยา
สรรพคณุ ของสมนุ ไพร ใบ นำไปป้งิ ไฟใหเ้ หลือง แล้วใชช้ งน้ำกนิ ตา่ งนำ้ ชา เปน็ ยาขับปัสสาวะ และ
ทำใหเ้ ส้นเอ็นในรา่ งกายอ่อนดี เถา ใชห้ นั่ ตากแดด แล้วนำไปปรงุ เปน็ ยากนิ รกั ษาโรคกษยั ยาตำรับ
ใช้ เถาวลั ยเ์ ปรยี ง แฝกหอม ออ้ ยแดง กำแพงเจด็ ชั้น เถาเอน็ อ่อน ฝางเสน ชะเอมไทย หนักอยา่ งละ
๒๐ กรมั เถารางแดงป้ิงไฟ หนกั ๕๐ กรัม ตำรับน้ตี ม้ ด่ืม เป็ นยาขบั ปัสสาวะ แกก้ ระษยั ไตพิการ
แกป้ วดเสน้ ตึง กระษัยลงฝกั ทำใหข้ ับถ่ายยาก ดมื่ เปน็ ประจำ วันละ ๓ คร้งั เช้า เย็น ก่อนนอนท่าน
ว่าสรรพคุณดีนัก ทา่ นผ้อู า่ นกล็ องศกึ ษาแล้วนำมาปรงุ ประกอบเพ่อื รักษาท่านเองดู แตว่ า่ ผู้เขยี นน้ี
เหน็ ผลเปน็ ท่ปี ระจักษแ์ จง้ แก่ตนเองมาเเลว้ จึงนำมาบอกกลา่ วใหท้ ่านร้แู จ้งตาม

๘๖

วา่ นหางจระเข้ ว่านหางจระเข้ (Aloe vera (L.) Burm.f.)

๘๗

วา่ นหางจระเข้ (Aloe vera (L.) Burm.f.)

ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Aloe vera (L.) Burm.f.
ชอื่ สามญั Star cactus, Aloe, Aloin, Jafferabad, Barbados
วงศ์ ASPHODELACEAE
ชอ่ื อ่ืน หางตะเข้ (ภาคกลาง) ว่านไฟไหม้ (ภาคเหนอื )
ลกั ษณะ วา่ นหางจระเขเ้ ปน็ พืชอวบน้ำลำตน้ ส้ันหรือไมม่ ลี ำต้นสูง ๖๐–๑๐๐ ซม. (๒๔–๓๙ นิ้ว)
กระจายพันธโ์ุ ดยตะเกียง ใบหนาอ้วนมสี เี ขยี วถึงเทา-เขยี ว บางสายพันธ์ุมีจดุ สีขาวบนและล่างของ
โคนใบ[๑] ขอบใบเป็นหยักและมฟี นั เลก็ ๆสขี าว ออกดอกในฤดรู ้อนบนช่อเชิงลด สงู ได้ถงึ ๙๐ ซม
(๓๕ นว้ิ ) ดอกเป็นดอกหอ้ ย วงกลีบดอกสีเหลอื งรูปหลอด ยาว ๒–๓ ซม. (๐.๘–๑.๒ นวิ้ ) ว่าน
หางจระเขก้ ็เหมอื นพชื ชนดิ อื่นในสกลุ ทสี่ รา้ งอารบ์ ัสคูลารไ์ มคอร์ไรซา (arbuscular mycorrhiza)
ขึน้ ซง่ึ เปน็ สมชีพทท่ี ำใหพ้ ชื ดูดซึมสารอาหารและแร่ธาตใุ นดนิ ไดด้ ีขึ้น
ส่วนที่ใช้ ยางในใบ น้ำว้นุ เนื้อวนุ้ และเหงา้
สรรพคุณ ใบ - รสเยน็ ตำผสมสุรา พอกฝี ทัง้ ตน้ - รสเย็น ดองสรุ าดื่มขบั นำ้ คาวปลา
ราก - รสขม รับประทานถา่ ยโรคหนองใน แก้มตุ กดิ ยางในใบ - เป็นยาระบาย
ใบ - ล้างด้วยนำ้ สะอาด ฝานบางๆ รักษาแผลสดภายนอก นำ้ ร้อนลวก ไฟไหม้
ทำใหแ้ ผลเป็นจางลง ดับพิษรอ้ น ทาผวิ ป้องกันและรักษาอาการไหม้จากแสงแดด ทาผวิ รักษาสิวฝ้า
และขจดั รอยแผลเปน็
เหง้า - ต้มรบั ประทานแก้หนองใน โรคมตุ กดิ

๘๘

เขยตาย เขยตาย (Glycosmis pentaphylla Carr.)

๘๙

เขยตาย (Glycosmis pentaphylla Carr.)

ชือ่ วิทยาศาสตร์ Glycosmis pentaphylla Carr.
ชื่ออืน่ เขตตายแมย่ ายชกั ปรก ลกู เขยตาย สชี มชนื่ (ชย)
ลกั ษณะทางพฤกศาสตร์ ลำตน้ เปน็ พรรณไม้ขนาดกลาง ลำตน้ น้นั จะโตประมาณเท่ากบั ตน้ หมาก
และมคี วามสงู ประมาณ ๓-๖ เมตร ส่วนผวิ ของลำต้นตน้ จะเปน็ สเี ทาๆ ตกกระเป็นดวงขาวๆ
ใบปลายใบจะเรยี วเลก็ สว่ นกลางใบน้นั จะกว้าง รมิ ใบจะเรียบตรงปลายใบของมันจะแหลม
ใบนั้นจะมคี วามยาวประมาณ ๙-๑๘.๕ เซนตเิ มตร และมคี วามกว้างประมาณ ๓-๗ เซนตเิ มตร
กา้ นใบจะส้ัน
สรรพคณุ ราก รสเมาขนื่ ปรา่ กระท้งุ พิษ แกพ้ ิษฝีท้งั ภายในและภายนอก แกพ้ ษิ งู แก้ไข้กาฬ
แก้โรคผวิ หนังพุพอง ขับน้ำนม
ลกู รสเมาร้อน แก้หิด เปลือก ขบั น้ำนม รักษาฝี ปรงุ เป็นยาอายุวัฒนะ
ใบ ปรงุ ยาตำรับมีสว่ นประกอบของ ขม้นิ อ้อย บอระเพ็ด แห้วหมู เปน็ ยาขบั โลหิตเสีย
สรรพคณุ ทั้งต้นเปน็ ยาบำรงุ เลือด ขับลมที่เสียดแทงให้ผายเรอ ปรุงเป็นยาอายวุ ฒั นะ
วิธใี ช้ตามภมู ปิ ัญาท้องถ่ินลำตน้ และรากตม้ กินรบั ประทานเปน็ ยาแกพ้ ิษฝี พิษแมลงพิษงู ขับน้ำนม
ดอกและผลตำทารกั ษาหิด รากตม้ กนิ แก้ไข้ และบดทาแก้โรคผวิ หนังพุพอง ผลสกุ รับประทานได้
ความเช่ือ ทำของมงคลเป็นสาก ตำนำ้ พริกเชอื่ วา่ วญิ ญาณชั่วร้ายกลวั ใช้ทำทัพพหี รอื ด้ามทพั พี
ทำให้รสชาติของอาหารดเี ลศิ จะดีเลิศจรงิ หรอื ไมอ่ ย่างไรท่านผ้อู ่านกล็ องทำไม้เขยตายมาพิสูจน์เอง
กแ็ ลว้ กันนะครับว่าจะจริงดงั่ คำเล่าลือหรอื ไม่ ไม่เชื่อก็อย่าลบหลูน่ ะครับ

๙๐

สงั กรณี สงั กรณี (Barieria strigosa Wild)

๙๑

สงั กรณี (Barieria strigosa Wild)

ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Barieria strigosa Wild
ช่อื วงศ์ ACANTHACEAE
ชื่ออน่ื ฟา้ ระงับ (ชย)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นพรรณไมพ้ ุม่ ทีล่ ำตน้ ไม่มีหนามแตกกิ่งกา้ นสาขารอบๆต้น
มากมาย ตามก่งิ ก้านจะมีขนสีนำ้ ตาลปกคลุมอยู่ ลำต้นสูงประมาณ ๒-๔ ฟตุ เปน็ ไมใ้ บเดย่ี ว
ออกเรียงกนั เปน็ ค่ๆู ไปตามขอ้ ต้น ลกั ษณะของใบเป็นรปู รีแตก่ ค็ อ่ นข้างจะยาว ปลายใบ
แหลมและมตี ิ่งสว่ นโคนใบนน้ั ก็จะแหลมและคอ่ ยๆ เรยี วแหลมจนถงึ กา้ นใบ ขอบใบมหี นาม
พ้นื ใบเป็นสเี ขียว ดา้ นล่างของใบมีขนยาว ตามเสน้ ใบ ส่วนดา้ นบนมบี ้างประปราย
ออกเป็นชอ่ อยูต่ ามงา่ มใบ ซง่ึ จะมใี บประดับห่อหุ้มอยู่ ๔ กลีบต่อหนง่ึ ดอก กลบี ใหญ่ ๒ เล็ก ๒
ส่วนดอกนัน้ มีสฟี า้ มอี ยู่ ๕ กลบี โคนดอกเปน็ หลอดยาว ๑-๑.๕ นิ้ว ตรงปลายอดแยกออกเป็น ๕
กลบี ยาว ๐.๕ นิว้ กลางดอกมเี กสร ๔ อนั ยา ๐.๘ นิว้ ผลเปน็ ฝกั เกลย้ี ง ภายในผลจะมีเมล็ดผลละ
๔ เมล็ด การขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด ชำก่ิง
สรรพคุณ ราก ใช้เป็นยาแก้กษยั ไตพิการบำรุงกำลงั แกป้ วดเมื่อย
ใบ ขบั ปสั สาวะตำพอกฝี ทำให้ฝ่อ
ในประเทศอินเดียใชร้ ากปรุงเปน็ ยาแก้ไอ และในไทยใชเ้ ป็นยารักษาโรค ร้อนใน
ดับพิษไขท้ ั้งปวง ลดความรอ้ นในรา่ งกาย ใชแ้ ก้กระหายน้ำ และกินเปน็ ยาถอนพิษไขก้ าฬ

๗๒

หนมุ านประสานกาย หนุมานประสานกาย(Orthosiphon aristatus (Blume)

๙๓

หนุมานประสานกาย(Orthosiphon aristatus (Blume) Miq)

ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ Schefflera leucantha R. Vig.
วงศ์ ARALAINOEAE
ช่ืออนื่ -
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมพ้ ุ่ม สงู ๑-๔ เมตร แตกกิง่ กา้ นต่ำใกลพ้ ้ืนดนิ เปลือกต้นเรียบเป็น
สนี ้ำตาล ใบ เป็นใบประกอบแบบน้ิวมอื ออกเรยี งสลับ มีใบยอ่ ย ๖-๘ ใบ รปู รี กวา้ ง ๑.๕-๓ ซม.
ยาว ๕-๘ ซม. โคนใบแหลม ปลายใบเรยี วแหลม ขอบใบเรยี บ แผน่ ใบเรยี บสเี ขยี วเป็นมนั ดอก
ออกเปน็ ช่อทีป่ ลายกิง่ ดอกเลก็ สขี าวนวล ผล เปน็ ผลมเี น้ือ รูปทรงกลม ขนาดเล็ก
ส่วนท่ใี ช้ ใบสด
สรรพคณุ รกั ษาโรคหดื โรคแพ้อากาศ ขบั เสมหะ รักษาโรคหลอดลมอกั เสบรักษา
วัณโรคปอด แก้ไอ แก้อาเจียนเป็นเลือด ตำพอกแผลห้ามเลือด ห้ามเลือด ใบ คนั้ เอาน้ำด่มื
รักษาอาการจุดเสียด แนน่ ท้องจาก อาการของมะเรง็ รกั ษาแผลภายในและภายนอกไดผ้ ลดี
เคี้ยวใบสด ลดอาการอยากสบู บหุ ร่ี เหมาะสำหรบั ผ้ทู อ่ี ยากเลกิ สบู บุหรี่แตว่ า่ ใจยัไม่แข็งพอต้องมที ี่
พ่งึ พงิ และตวั สร้างศรัทธา ยาตวั นีเ้ หมาะสมเปน็ อย่างยง่ิ ครบั

๙๔

ยา่ นางแดง ยา่ นางแดง (Bauhinia strychnifolia Craib Tiliacora trianraDiels)

๙๕

ยา่ นางแดง (Bauhinia strychnifolia Craib Tiliacora trianraDiels)

ชอื่ วิทยาศาสตร์ Bauhinia strychnifolia Craib Tiliacora triandra Diels
ช่ือวงศ์ CAESALPINIACEAE MENISPERMACEAE
ช่ืออื่น เครอื ขยนั ขยนั สยาน ขยาน
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้นไมเ้ ถาเลอื้ ยค่อนขา้ งแข็งขนาดใหญ่มีเหงา้ หวั ใต้ดิน
เถายาวประมาณ ๔-๑๐ เมตร สนี ำ้ ตาลเกลี้ยงพาดตามตน้ ไมอ้ นื่ กิง่ แขนงแยกออกจากง่ามใบส
ลับกนั ไปเป็นระเบยี บตามปลายกิ่งแขนง มมี อื มว้ นเปน็ คู่ๆ ตรงข้ามกนั สำหรบั เกาะยึด ใบเด่ียวอ
อกเรยี งสลับมหี ูใบเลก็ ๆ ๑ คู่ๆ ใบรปู ขอบขนานหรือรปู ไขม่ นรี ขนาดกวา้ ง ๓-๖ ซม. ยาว ๖-
๑๒ ซม. โคนใบหยักเวา้ เลก็ นอ้ ย ปลายใบสอบแคบหรอื แหลม ผิวใบเกลยี้ งและเปน็ มันสเี ขียว
เสน้ แขนงใบสแี ดงคล้ำ ใบยอดออ่ นสอี อกแดง
สรรพคุณ ใชภ้ ายใน บำรงุ กำลงั แกป้ วดหลงั ปวดเอว ปวดเม่ือยตามร่างกาย และถอนพษิ
เหงา้ ใชก้ ระทงุ้ พิษไข้ กนิ พิษยาเบือ่ เมา ยาส่ัง ยา สำแดง ถอนพษิ และแก้พษิ ไข้ทงั้ ปวงขบั พิษโ
ลหติ และน้ำเหลือง แก้ท้องผกู วธิ ที ำ/วิธใี ช-้ ใช้ฝนกับน้ำหรือนำ้ ซาวข้าวหรอื ตม้ ด่มื เถายา่ นางแดง
:มีสรรพคุณ ดบั พิษรอ้ น ถอนพษิ ไข้ แกพ้ ษิ ทง้ั ปวง พิษเบื่อเมา ถอนพิษผิดสำแดง แกไ้ ขพิษ
ไขก้ าฬ ไข้หัว ไข้เซอ่ื งซึม ไข้สุกใส สำแดง ไขป้ ่าเร้อื รัง ไขทบั ระดู ไขก้ ลับไขซ้ ้ำ บำรุงหัวใจ
แกโ้ รคหัวใจบวม บำรุงธาตุ แก้ท้องผูกไม่ถ่าย

๙๖

หมอ่ น หมอ่ น (Morus alba L.)

๙๗

หม่อน ( Morus alba L.)

ช่อื วิทยาศาสตร์ Morus alba L.
วงศ์ MORACEAE
ชื่ออน่ื White berry, Mulberry tree
ลักษณะ ไม้พุ่ม ลำต้นตรง มีหลายพนั ธุ์ ใบเดีย่ ว เรยี งสลับ รปู ไข่ ขอบเรยี บหรอื หยัก
เว้าเปน็ พขู นึ้ กบั พนั ธุ์ สากคาย ดอกชอ่ รูปทรงกระบอก ออกท่ีซอกใบ แยกเพศอย่บู นตน้ เดยี วกนั
กลีบรวมสีขาวหมน่ หรอื สขี าวแกมเขียว ผลเป็นผลรวม รปู ทรงกระบอกหรือสมี ว่ งแดง
สว่ นท่ใี ช้เป็นยา เปลือกราก ขับนำ้ ส่วนเกินออกจากรา่ งกาย ปรบั และเสรมิ ธาตนุ ำ้ ขบั พยาธิ
เปลือก เปน็ ยาระบาย ถ่ายพยาธิ ใบ แก้ตาแดง ตาแฉะ ตามัว ตาฟาง ระงับประสาท แก้ไอ
แก้เจบ็ คอ ทำให้ช่มุ ชน้ื ขับเหงื่อ ผล ขบั เสมหะ แก้เจบ็ คอ เป็นยาระบายออ่ น ๆ แก้ธาตไุ มป่ กติ
สรรพคุณและวธิ ใี ช้ ดึงดูดแมลง กระตนุ้ การวางไข่ของแมลง มฤี ทธิเ์ หมือน pheromone
และ juvenile ของแมลง รบกวนการกนิ อาหารของแมลง กระตนุ้ การเหนี่ยวนำ interferon
ต้านมะเรง็ เรง่ การกำจดั แอมโมเนยี ภายในรา่ งกาย และลดการดูซมึ แอลกอฮอล์ในทางเดินอาหาร
ระบายทอ้ ง กระตนุ้ การงอกของเส้นผม จับกับอนุมลู อสิ ระ แก้ปวด คลายกลา้ มเน้ือเรียบ
กระต้นุ มดลูกให้บีบตัว ลดความดันโลหติ มฤี ทธเ์ิ หมือนฮอรโ์ มนเอสโตรเจนและ growth hor-
mone ยับยัง้ เบาหวาน ลดระดบั นำ้ ตาลในเลือด ขับปสั สาวะ ลดการอักเสบ แกไ้ อ กระตุ้นภูมคิ ้มุ
กันของรา่ งกาย บำรงุ หัวใจ

๙๘

จนั ทน์แดง จนั ทนแ์ ดง (Dracaena loureiri Gagnep.)

๙๙

จนั ทน์แดง (Dracaena loureiri Gagnep.)

ชื่อวิทยาศาสตร์ Dracaena loureiri Gagnep.
ชอ่ื วงศ์ LILIACEAE
ชื่อสกลุ ไม้ Dracaena Vand.ex L.
ชือ่ อื่น จนั ทน์แดง จันแดง จันหอม
ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ลำต้นไม้พมุ่ ก่ึงไมย้ นื ตน้ ขนาดเลก็ สงู ๓-๕ เมตร ลำตน้ เปลา กลม
มรี อยแผลใบถๆ่ี ตามขวาง แตกกิง่ กา้ นนอ้ ย แกน่ มสี ีแดง ใบเป็นใบเด่ียว ออกเรยี งสลับหนา
แนน่ อย่บู รเิ วณปลายยอด ใบรูปรยี าวขอบขนาน ปลายใบเรียวแหลม โคนใบโอบตดิ กบั ลำต้น
ไมม่ ีก้านใบ เนือ้ ใบหนา ขอบใบเรียบ ดอกเป็นดอกช่อแยกแขนงขนาดใหญ่ ออกทปี่ ลายยอด
ดอกย่อยสขี าวนวลแตม้ สแี ดง ผลทรงกลม เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง ๐.๗ เซนติเมตร ผิวเกลี้ยง
สรรพคณุ เนือ้ ไม้ ที่มเี ชือ้ ราลงจนเปน็ สีแดงเขม้ เรียกว่าจนั ทนแ์ ดงใช้เปน็ ยาเยน็ ดับพษิ ไข้
บำรงุ หวั ใจ ฝนทาภายใจ แก้ฟกชำ้ บวม และฝี แก่น รสขมเย็น แก้ไออันเกดิ จากซางและดี
บำรงุ หวั ใจ แก้เลือดออกตามไรฟัน แก้ไข้เพื่อดพี กิ าร แกบ้ าดแผล ดา้ นการเปน็ ไมป้ ระดับ
ความน่าสนใจของไม้ตน้ น้คี อื เปน็ พมุ่ ขนาดเล็ก ทมี่ ีรปู ทรงลำตน้ และยอดสวนเก๋แปลกตา

๑๐๐

มะคังแดง มะคงั แดง (Dioecrescis erythroclada (Kurz) Tirveng.)

๑๐๑

มะคังแดง (Dioecrescis erythroclada (Kurz) Tirveng.)

ช่อื วิทยาศาสตร์ Dioecrescis erythroclada (Kurz) Tirveng. (Gardenia erythroclada Kurz.)
ช่อื วงศ์ RUBIACEAE
ชอ่ื อื่น จิ้งก่าขาว, ชนั ยอด, ตุมกาแดง, มะคงั , มะคังปา่ , มุยแดง, ลมุ ปุกแดง
ลักษณะ มะคังแดงเป็นไมย้ นื ต้นสงู ๖-๑๒ เมตร ลำต้นและกิง่ กา้ นสนี ้ำตาลแดง โคนต้น
มีหนาม โดยรอบ ใบเดี่ยว เรยี งตรงข้าม รปู วงรีหรอื รูปไขก่ ลบั กว้าง ๘-๑๕ ซม. ยาว ๑๕-
๒๒ ซม. ผิวใบมขี นทั้งสองด้าน หใู บอยู่ระหวา่ ง กา้ นใบ ดอกช่อ ออกท่ีซอกใบใกล้ปลายกิ่ง
กลีบดอกสเี หลอื งแกมเขยี ว ผลสด รปู กระสวย มกี ลีบเลี้ยง ติดอยู่ เกิดตามปา่ เบญพรรณทวั่ ไป
ขยายพนั ธดุ์ ้วยเมลด็
สรรพคณุ ต้น ตม้ น้ำด่ืม แกเ้ ลอื ดลมเดนิ ไมส่ ะดวก ผสมกบั หวั ยาข้าวเยน็ ตมน้ ้ำด่มื แก้ไตพิการ
เนือ้ ไม้ แกเ้ ลอื ดลมเดนิ ไมส่ ะดวก แก้กษยั ไตพกิ าร แกป้ วดทอ้ ง ขับพิษโลหติ และน้ำเหลือง
ตำพอกแผลสด หา้ มเลือดและสมานแผล

๑๐๒

พนั งู พนั งเู ขยี ว (Stachytarpheta jamaicensis (L.) Vahl (S.indica Vahl)

๑๐๓

พันงูเขียว (Stachytarpheta jamaicensis (L.) Vahl (S.indica Vahl)

ช่ือวทิ ยาศาสตร S์ tachytarpheta jamaicensis (L.) Vahl (S.indica Vahl)
วงศ์ AMARANTHACEAE
ชอื่ อื่น เจก๊ จับกบ (ตราด) เดอื ยงู พระอนิ ทรโ์ ปรย (ชุมพร)สารพัดพิษ สีบ่ าท (ภาคกลาง)
หญ้าหนวดเสอื (ภาคเหนือ)หญ้าหางงู (ภาคใต้) เงก็ เลง้ เปียง (แต้จ๋ิว) ฟันฟมื (ชย)
ลกั ษณะ เปน็ พืชลม้ ลกุ คลา้ ยพวกหญ้า ลำตน้ ตรง สงู ประมาณ ๕๐ ซม. แตกก่ิงกา้ นสาขาทางดา้ น
ขา้ งใบเดี่ยวเปน็ รูปไขย่ าว ๔-๖ ซม. กวา้ ง ๒-๓ ซม. ออกตรงกนั ขา้ ม ปลายแหลม ฐานรูปลิม่
ขอบใบหยักคลา้ ยฟนั เลอ่ื ย ชอ่ ดอกยาวเกดิ ตรงยอด ดอกไม่มีก้าน เกดิ ห่าง ๆ กนั ดอกสีม่วงน้ำเงิน
รูปท่อกลมงอเลก็ นอ้ ยมี ๕ กลีบ เกสรตัวผู้ ๒ อัน รังไข่ ๒ ห้อง ผลแห้งแตกได้ มกี ลีบเลย้ี งหุ้ม
มีดอกในฤดรู ้อนขนึ้ ตามเนนิ เขา ทุ่งนา ริมถนน
ส่วนทีใ่ ช้ ทัง้ ต้น เปลือกต้น ใบ
สรรพคุณ ทั้งต้น : ใชใ้ นโรคน่วิ ลดไข้ แก้โรคปวดขอ้ คออักเสบ ตาแดง แผลอักเสบ แผลเปอื่ ย
โรคกระเพาะ ขบั พยาธิ แก้อาเจียน
เปลือกต้น : แก้ทอ้ งเสยี บิด
ใบ : ทาถูนวดแกป้ วดเม่อื ย แก้ฝีหนอง

๑๐๔

พทุ ธรกั ษา พทุ ธรักษา (Canna, Indian shoot)

๑๐๕

พุทธรกั ษา (Canna, Indian shoot)

ช่ือวิทยาศาสตร์ Canna generalis
ชื่อวงศ์ CANNACEAE
ชอ่ื สามญั Canna, Indian shoot
ลักษณะทว่ั ไป เป็นพรรณไมล้ ้มลุก เนือ้ ออ่ นอวบนำ้ ลำตน้ มีความสงู ประมาณ ๑-๒ เมตร มลี ำตน้
อย่ใู ตด้ นิ เรยี กว่า เหง้า มกี ารเจรญิ เตบิ โตโดยแตกหนอ่ เปน็ กอคล้ายกับกลว้ ย ลักษณะ หนอ่ ที่
เจรญิ เปน็ ต้นเหนอื พนื้ ดนิ นนั้ มลี กั ษณะกลมแบนสเี ขยี วขนาดลำตน้ โตประมาณ ๒-๔ เซนตเิ มตร
ใบมีขนาดใหญ่สีเขียวโคนใบและปลายใบรแี หลม ขอบใบเรียบ กลางใบเปน็ เสน้ นูนเหน็ ได้ชดั โคน
ใบมกี า้ นใบซ้งึ ยาวเปน็ กาบใบหุ้มลำต้นซอ้ นสลับกนั ขนาดใบกว้างประมาณ ๑๐-๑๕ เซนตเิ มตร
ยาวประมาณ ๒๕-๓๕ เซนตเิ มตร ออกดอกเปน็ ช่อตรงสว่ นยอดของลำตน้ ชอ่ ดอกยาวประมาณ
๑๕-๒๐ เซนตเิ มตร ประกอบด้วยดอก ๘-๑๐ ดอก และมกี ลบี ดอกบางนมิ่ ขนาดของดอกและสีสนั
แตกต่างกนั ไปตามชนิดพันธ์ุ
สรรพคุณ เหงา้ ใชต้ ม้ รักโรคตบั อกั เสบชนดิ เฉียบพลัน รกั ษาอาการบวมของไต รักษาอาการอกั เสบ
ขับปัสสาวะ เหง้าหรอื หัวปรุงเขา้ ยาตำรบั รกั ษามะเร็ง คตุ ทะราด เขา้ ขอ้
ขอ้ ควรระวงั ใช้ในปรมิ าณมากทำให้อาเจียน

๑๐๖

เครืองเู ห่า เครอื งเู หา่ (Toddalia asiatica (Linn.) Lamk.)

๑๐๗

เครอื งูเห่า (Toddalia asiatica (Linn.) Lamk.)

ชือ่ วิทยาศาสตร์ Toddalia asiatica (L.)Lam.
วงศ์ RUBIACEAE
ชื่อพ้อง T. aculeate Pers.
ชอ่ื อ่ืน ผักแปมปา่ (ภาคเหนือ) เล็บรอก (ประจวบคีรีขนั ธ์) สะบา่ สะเระ (เขมร กาญจนบุร)ี
ลักษณะ ตน้ ไมเ้ ถาเลอ้ื ยพันตน้ ไม้อืน่ ตามเถาจะมหี นาม เม่ือเถายังออ่ นหนามแหลมคม
แต่เมอื่ แกห่ นาม มองคลา้ ยปุม่ ตามต้น
ใบ ประกอบแบบฝ่ามือ ใบยอ่ ย ๓ ใบ รปู ขอบขนานแกมไข่ กว้าง ๑-๒.๕ ซม. ยาว ๓-๘
ซม. เนอื้ ในมีจดุ น้ำมันกระจายอยทู่ ั่วไป
ดอก ดอกชอ่ ออกตดิ กันทป่ี ลายกง่ิ และซอกใบ กลบี ดอกสีเหลอื งแกมสีเขยี ว
มีรังไข่ขนาด ใหญ่เป็นลักษณะกลม อยตู่ รงกลางดอก ซึ่งจะเปลย่ี นเป็นผลตอ่ ไป
ผล ผลเป็นชอ่ ลูกกลม ผลสดสเี ขียวเมอื่ สุกสเี หลอื ง
สรรพคณุ เถา ฝนแก้พษิ งเู ห่า แกแ้ มลงสตั วก์ ดั ตอ่ ย แก้ผิดสำแดง ใช้ต้น ๑ กำมือ ตม้ นำ้ ดื่มวนั ละ
๒-๓ ครั้ง ขบั ปสั สาวะหรอื ผสมกับแก่นฝาง ตับพญาทา้ วเอว โด่ไมร่ ลู้ ้มท้งั ต้น และตน้ กำลงั ช้างสาร
ต้มนำ้ ด่ืม แกป้ วดเสน้ ปวดเอ็น

๑๐๘

ทองกวาว ทองกวาว (Butea monosperma O. Ktze.)

๑๐๙

ทองกวาว (Butea monosperma O. Ktze.)

ช่อื วทิ ยาศาสตร์ Butea monosperma O. Ktze.
วงศ์ LEGUMINOSEAE
ชื่ออน่ื จอมทอง (ภาคเหนอื ) ทองกวาวต้น (ภาคกลาง) กวาวกา้ ว (พายพั ) ทองพรมชาติ
ทองธรรมชาติ, จาน(ภาคอีสาน), ทองต้น (ราชบรุ ี), จ้า (เขมร)
ช่ือสามญั Flame of the forest.
สว่ นท่ใี ช้ ใบ ดอก ฝกั เมล็ด ราก
สรรพคณุ ใบ ใชใ้ บสดนำมาตม้ เอานำ้ กนิ เปน็ ยาแกป้ วด ขบั พยาธิ ถอนพิษ แก้ท้องข้นึ
แก้ริดสดี วงทวาร นำใบสดมาตำใหล้ ะเอยี ดใช้พอกสวิ และฝีเปน็ ตน้
ดอก ใช้ดอกสดมาตม้ เอาน้ำรบั ประทานเป็นยา แก้ถอนพิษไข้ ช่วยขบั ปสั สาวะ
หรอื นำเอานำ้ มาผสมกับยาหยอดตาแก้โรคตามัว หรือเจ็บตา เปน็ ตน้ ฝกั นำมาตม้ เอาน้ำด่ืม
เป็นยาขับถ่ายพยาธิ
เมลด็ นำเมลด็ มาตำให้ละเอยี ดแลว้ ใช้ผสมกบั นำ้ มะนาว ใช้บรเิ วณที่เปน็ ผื่นคัน หรอื เป็น
แผลอกั เสบเนื่องจากเปน็ โรคผวิ หนงั หรอื นำเมลด็ มาตม้ ใชน้ ำ้ กนิ เป็นยาถา่ ยพยาธิไส้เดือน เป็นตน้
ราก นำรากสดมาต้ม ใชน้ ำ้ รับประทาน เป็นยาแกโ้ รคประสาททุกชนิด และใช้เปน็ ยาบำรงุ
ธาตุอีกด้วย

๑๑๐

มะแว้งเครือ มะแว้งเครอื (Parthenocissus quinquefolia)

๑๑๑

มะแวง้ เครอื (Parthenocissus quinquefolia)

ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Solanum trilobatum Linn.
วงศ์ SOLANACEAE
ชอื่ อนื่ มะแวง้ เถา (กรุงเทพฯ) แคว้งเคยี (ตาก)
ลกั ษณะของพืช เปน็ ไม้เลื้อยหรือไมพ้ มุ่ มหี นามตามสว่ นตา่ งๆ ใบรปู กลมรขี องใบหยักเวา้
๒-๕ หยกั ด้วยกัน ผวิ ของใบอาจเรียบหรือมีหนามเลก็ ๆ ตามเส้นกลางของใบอยู่ ดอกออก
เป็นชอ่ คล้ายมะเขือ สีมว่ งเกสรเหลอื งผลกลมเล็ก ตอนดิบสีเขียวมีลายเล็กน้อย ตอนสุก
จะเปน็ สแี ดงสดใส
ส่วนที่ใชเ้ ป็นยา ผลแกส่ ด
ช่วงเวลาที่เกบ็ เปน็ ยา ผลสุก
รสและสรรพคณุ ยาไทย รสขม เปน็ ยากดั เสมหะ
วธิ ีใช้ ใชร้ ักษาอาการไอและขับเสมหะ โดยการเอาผลแก่สดมา ๕-๑๐ ผลโขลกพอแหลก คัน้ เอา
แต่น้ำ ใสเ่ กลือเลก็ นอ้ ย รับประทานบอ่ ยๆหรืออาจจะใหผ้ ลสดๆล้างใหส้ ะอาดเค้ยี วกลนื ท้งั น้ำและ
เมอื้ ไป เลยก็ไดจ้ นกว่าอาการจะดขี ึน้

๑๑๒

กำลงั ววั เถลิง กำลงั ววั เถลงิ (Anaxagorea luzonensis A. Gray)

๑๑๓

กำลังววั เถลิง (Anaxagorea luzonensis A. Gray)

ชือ่ วิทยาศาสตร์ Anaxagorea luzonensis A. Gray
วงศ์ ANNONACEAE
ชื่ออ่นื ชา้ งววั เถลิง ชะแมบ ปนู ทา ปนู
ชื่อพฤกษศาสตร์ Anaxagorea luzonensis A. Gray
ลกั ษณะ กำลังวัวเถลงิ เปน็ ไม้พ่มุ ขนาดเล็ก สูง ๕๐- ๘๐ เมตร เปลอื กสีเทาอมดำเปลือกกง่ิ ออ่ นสี
เขียว และกล่ินฉนุ

- ใบ เด่ยี ว เรยี งสลบั รปู ขอบขนาน หรอื แกมรูปใบหอกกลบั โคนใบแหลม ขอบใบเรยี บ
- ดอก ออกตามตน้ และกง่ิ ตรงข้าม ดอกสขี าว กล่ินหอม เกสรเพศผู้ สีเหลอื ง
- ผล เป็นผลกลมุ่ ปลายผลมตี ิง่ แหลมโคง้ งอ รปู ทรงกลม เม่ือแก่ สดี ำ เมลด็ รปู ไข่กลบั
ด้านหนึ่งแบนราบ อกี ดา้ นหนงึ่ โค้ง สดี ำ เป็นมนั นูน
การขยายพนั ธ์ุ เพาะเมล็ด
สรรพคณุ เปลือก เนอ้ื ไม้ บำรงุ โลหติ บำรงุ ธาตุ แกป้ วดเมื่อย บำรงุ กำลงั

๑๑๔

ระยอ่ ม ระยอ่ ม (Rauvolfia serpentine (L.) Benth.ex Kurz )

๑๑๕

ระยอ่ ม (Rauvolfia serpentine (L.) Benth.ex Kurz )

ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Rauvolfia serpentine (L.) Benth.ex Kurz
ช่อื วงศ์ APOCYNACEAE
ชื่อท้องถนิ่ กะยอ่ ม เขม็ แดง
ลกั ษณะทางพฤกศาสตร์ ลำตน้ : เปน็ พรรณไม้พมุ่ ขนาดเล็กลำตน้ ลำต้นจะมคี วามสูงไม่เกนิ ๖๐
เซนติเมตร เปลอื กจะเปน็ สีขาว และมนี ำ้ ยางสีขาว จะผลดั ใบในฤดแู ล้ง จะผลิใบใหมใ่ นฤดฝู น
สว่ นดอกน้ันจะออกต้นฤดหู นาว
ใบ: จะออกเปน็ คูต่ รงข้ามกัน ลกั ษณะใบจะเป็นรปู รแี กมรปู หอกตรงปลายใบแหลม
ใบจะมคี วามกวา้ งประมาณ ๑.๕-๑๐ เซนติเมตร และมคี วามยาวประมาณ ๕-๒๑ เซนตเิ มตร
ดอก: จะออกเปน็ ชอ่ สขี าว ชมพู หรอื แดง ลักษณะคลา้ ยดอกเขม็ ก้านดอกจะเปน็ สแี ดง
มกี ลีบรองกลบี ดอก ๕ กลีบ มีลักษณะเปน็ หลอดโคง้ เล็กนอ้ ย
ผล: ผลอ่อนจะเป็นสเี ขยี ว ส่วนผลสกุ จะเป็นสีดำ ผลนน้ั จะมลี ักษณะเป็นผลแผดตดิ กนั
ตรงโคนด้านใน และจะอมุ้ น้ำ ผลจะมคี วามยาวประมาณ ๑-๑.๘ เซนตเิ มตร
สรรพคุณ ราก แก้ไข้ เจริญอาหารลดความดันโลหติ แก้บา้ คลงั่ ทำให้นอนหลับ ขบั พยาธพิ บวา่
รากมีแอลคาลอยด์ reserpine ซ่ึงมีฤทธล์ิ ดความดนั โลหิต และกลอ่ มประสาท อาหารข้างเคียง
ของการใช้ยานค้ี ือ ทำใหฝ้ นั รา้ ย ซึมเศรา้ คดั จมูก

๑๑๖

โมกเครอื โมกเครอื (Aganosma marginata (Roxb.) G. Don)

๑๑๗

โมกเครอื (Aganosma marginata (Roxb.) G. Don)

ช่อื ทางวิทยาศาสตร์ Aganosma marginata (Roxb.) G. Don
วงศ์ APOCYNACEAE
ชอื่ อ่ืน โมกเครือ, เดือ่ เครือ, เด่ือดนิ , เดือ่ เถา, เด่ือไม้ (ภาคเหนอื ), เครือไสต้ ัน (หนองคาย),
เดอื ยดนิ
ลกั ษณะทางพฤกศาสตร์ ลำตน้ ไมเ้ ถาเนอ้ื แข็ง เล้อื ยพาดพนั ไม้อน่ื ลำต้นสนี ้ำตาล มตี ุ่มท่ีเป็น
ช่องอากาศจำนวนมาก ทุกส่วนของตน้ มีน้ำยางสีขาว ใบเป็นใบเดีย่ วออกตรงขา้ มกันเป็นคู่
ใบรูปขอบขนาน กว้าง ๒-๔.๕ เซนตเิ มตร ยาว ๕-๑๒.๕ เซนติเมตร ปลายใบเปน็ ตงิ่ แหลม
โคนใบมนหรือกลม
สรรพคุณ สมุนไพร ตำรายาไทยใช้ ตน้ มีรสเฝอื่ นฝาดเขา้ ยารกั ษาประดง (อาการปวดผิวหนงั มี
ผื่นคนั คลา้ ยผด คนั มากมกั มีไขร้ ว่ ม) แกพ้ ษิ ฝีภายใน ยาพืน้ บ้านใช้ ตน้ ผสมกบั ผลมะตูมอ่อน
เถาสิงโตท้ังต้น และว่านมหากาฬทงั้ ต้น ต้มนำ้ ดืม่ รกั ษาเบาหวาน รากบำรงุ กำลังช่วงฟื้นไข้
แก้ไตพกิ าร (ปสั สาวะข่นุ ข้น สเี หลืองหรือแดง มอี าการแนน่ ท้องกินอาหารไมไ่ ด้) ตบั พกิ าร
บำรุงและขบั ระดู ผสมแกน่ ล่นั ทม ตม้ นำ้ ดม่ื เปน็ ยาระบาย ใบ แก้เมอ่ื ย เข้ายาทารักษาฝีและริดสดี
วงทวาร ตำรับยาตม้ แก้ริดสีดวงทวาร ทา่ นใหเ้ อา ฝาง ,รากส้มลม,แก่นปีบ ,คัดลน้ิ ,กำแพงเจ็ดชั้น
,โมกเครอื ,ข้าวเย็นเหนือ,อยา่ ละ ๒๕ กรัม ตม้ ดมื่ ,เช้า-เยน็ รักษาโรครดิ สดี วงทวารชนิดเลอื ดออก
และชนดิ เดือยไก่เหน็ ผลมามากแล้ว

๑๑๘

โปรง่ ฟ้า โปร่งฟา้ (Asparagus setaceus)

๑๑๙

โปรง่ ฟา้ (Asparagus setaceus)

ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Asparagus setaceus
ชื่อวงศ์ RUTACEAE
ช่ือสามัญ Asparagus fern
ชอ่ื อน่ื สอ่ งฟ้า(ชยั ภูมิ)
ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้นโปร่งฟา้ เป็นไม้พุ่มขนาดยอ่ ม ๆ ลำต้นสูงประมาณ ๓-๔ ฟตุ
ใบโตขนาดใบมะหวด ในใบของมันมีตอ่ มน้ำมัน ถ้าเอาไปส่องดูกับแดดจะเห็นโปรง่ เปน็ จุด ๆ
คล้ายกบั จะทะลทุ ง้ั ใบ มดี อกสีเขียว ๆ ขาว ๆ ขนาดย่อมกวา่ ดอกแก้ว และกล่ินนีก้ ห็ อมมาก
ใบมีสีเขยี วแก่ และพ่มุ งาม ดอกมสี ขี าว ต้นโปรง่ ฟา้ เป็นไมท้ ี่เกิดตามท่ีโล่งในป่าทงิ้ ใบทัว่ ๆ
ไปขึน้ ตามเชิงเขา และตามหนิ ปนู ตามเรอื กสวน ตามปา่ ทบึ มีเกิดทุกภาคของประเทศไทย
สรรพคณุ ใบ รสหอมเผด็ ร้อนซา่ ต้มดื่มหรือกินใบสด แก้ไอเจ็บคอเน่ืองจากไข้หวัด ไอหอบ หดื
ไอเนื่องจากแพ้ฝุ่นหรอื ละอองเกสรหรือไอจาม เนอื่ งจากแพ้อากาศ หรือ ไอเนอื่ งจากวณั โรคได้
อยา่ งรวดเร็ว บำรุงความจำ บำรงุ หัวใจ ตำทาแก้คัน พอก ประคบ อบสมนุ ไพรกระจายเลอื ด
กระจายลมใหเ้ ดินสะดวก แกล้ มอมั พฤกษ์ อมั พาต แกท้ ้องอดื ขบั ลม ในกระเพาะอาหาร
คลายกล้ามเนอื้ เรียบหลอดลมไดอ้ ย่างรวดเร็วทันใจ ลดไขมันในเสน้ เลอื ด ราก ต้มดืม่ ปรับธาตุ
รกั ษาอาการไขว้ ัดเร้อื รงั หมอเขมรใช้รากฝนกบั นำ้ ซาวข้าวรักษาพษิ งู ใช้พอกบรเิ วณทง่ี ขู บกัด
พรอ้ มทง้ั ดมื่ ยาดว้ ย

๑๒๐

บอระเพด็ พงุ ชา้ ง บอระเพด็ พงุ ช้าง (Stephania pierrel Diels)

๑๒๑

บอระเพ็ดพุงชา้ ง (Stephania pierrel Diels)

ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ Stephania pierrel Diels
วงศ์ MENISPERMACEAE
ชือ่ อืน่ ๆ กลงิ้ กลางดง, หวั สนั โดษ (อีสาน), สบูเ่ ลอื ด, สบู่เครือ (บางภาคเรยี ก)
ส่วนที่ใช้ เถา เถาและก้าน ใบ ดอก หวั และรากใช้เปน็ ยา
ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ ไม้เลอ้ื ย มนี ำ้ ยางสีแดง โคนตน้ เปน็ หวั เสน้ ผา่ ศูนย์กลางถึง ๔๐ ซม.
ใบเดีย่ วเรียงสลบั รปู ไขแ่ กนสามเหลี่ยม กวา้ ง ๗-๑๒ ซม. ยาว ๖-๑๑ ซม. ปลายมนหรือเว้าต้ืน
โคนใบตดั เป็นรปู หัวใจ ท้องใบมขี นและคราบสีขาว กา้ นใบยาว ๕-๑๕ ซม. ดอกชอ่ แยกเพศ
ช่อดอกตัวผ้เู ปน็ กระจกุ รูปซ่รี ่มออกท่ีซอกใบ ยาว ๔-๑๖ ซม. กลีบเล้ียง ๖ กลบี สีเขยี วเรียงเปน็
๒ วง วงนอกกลีบเลย้ี งรูปใบหอกกลับ
สรรพคุณ เถา ใชเ้ ปน็ ยาขับเลือดระดู หรือใช้เถานำมาตม้ กินเป็นยาขบั พยาธิลำไส้เถาและกา้ น
ใชด้ องกับสุรากิน จะทำให้หนังชาอยู่คงเฆย่ี นตีจะไม่แตกพวกนกั ดมื่ นิยมกนิ มาก เป็นยากำลงั
รักษาอาการผอมแหง้ ปอดพกิ ารและรักษาโรคหัวใจ

ใบ ใชเ้ ป็นยาบำรงุ ไฟธาตุ ตำใบเอาน้ำใสแ่ ผลสด และเรื้อรงั
ดอก เปน็ ยาฆ่าเชอื้ โรคเรือ้ น และยงั ทำให้อจุ จาระละเอยี ด
หวั ใชเ้ ป็นยารกั ษาเสมหะเบอื้ งบนให้ตกลงได้ หรือใชด้ องสรุ า กินทำให้เกดิ กำลัง
และยังบำรุงกำหนดั ได้อีกดว้ ย ราก เป็นยาบำรุงเสน้ ประสาท

๑๒๒

หญา้ ดอกขาว หญา้ ดอกขาว (Vernonia cinerea Less.)

๑๒๓

หญ้าดอกขาว (Vernonia cinerea Less.)

ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Vernonia cinerea Less.
วงศ์ COMPOSITEA
ชื่ออ่นื หญา้ สามวัน ก้านธปู ถั่วแฮะดนิ ฝร่ังโคก หญา้ ละออง หญา้ หมอน้อย หนวดหนา
หญา้ ดอกขงิ หญ้าเหลา่ ฮก หญา้ เหนยี มชา้ ง เซี่ยวไซ(จีน)
ลักษณะ เปน็ ตน้ ไมจ้ ะพวกตน้ หญา้ ใบคลา้ ยตน้ พรกิ ต้นสงู ประมาณ ๑ ฟุตดอกออกเปน็ ช่อเป็น
กระจกุ สมี ว่ งแลดคู ล้ายดอกดาวเรืองเล็กๆ พอดอกแกจ่ ะบานกลายเปน็ สีขาวปลิววอ่ นขยายพันธ์ุ
ไปท่ัวไม้น้มี ีขนึ้ เองตามท่ีรกรา้ งท่วั ไปทกุ ภาคในประเทศไทย ใบและตน้ หญ้าดอกขาวมีรสจืดดอก
มรี สขมเลก็ น้อยและมีกลิน่ ฉุนเล็กน้อยรากมรี สขม
สรรพคุณ ใช้ท้งั ต้นต้มรบั ประทาน แกป้ วดท้อง ทอ้ งข้นึ ทอ้ งเฟอ้ ใบสด ตำใหล้ ะเอยี ด
ปิดสมานแผล ทำให้เยน็ หรอื ผสมกบั น้ำนมคน กรองเอาแต่น้ำ หยอดตา แกต้ าแดง ตาฝา้
ตาเปียก ตาแฉะ แพทย์จีน ใช้ท้งั ต้นตำพอกนม แก้นมคดั นมหลง แก้บวม และดดู หนอง สว่ น
ภาคเหนอื ใชท้ งั้ ต้นและราก ตากแหง้ บดเปน็ ผง รกั ษาแผลสด แผลเรื้อรัง ผวิ หนงั พพุ อง หา้ มเลอื ด
ตำรายาไทยใชท้ ้ังตน้ แก้ไข้ แก้ไอ ดีซ่าน ปัสสาวะรดท่นี อน ใบสด แก้กลากเกลือ้ น เร้ือนกวาง
ได้ดีมาก ยาพ้นื บ้านใชท้ ั้ง ๕ (รวมราก) ๑ กำมือ ตม้ กับนำ้ ๔ ถ้วย ดื่มแกต้ กเลือด บำรุงเลือด
ลดอาการปวด ลดความดนั

๑๒๔

หนอนตายอยาก หนอนตายอยาก (Stemona tuberosa Lour.)

๑๒๕

หนอนตายอยาก (Stemona tuberosa Lour.)

ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Stemona tuberosa Lour.
ช่ือวงศ์ STEMONACEAE
ชอ่ื อน่ื หนอนตายหยากเลก็ สลองเฮยี งคำ กะเพยี ง โปง่ มดง่าม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ไมเ้ ถาล้มลกุ เลื้อยพันต้นไมอ้ ื่น เถากลมสีเขียว มรี ากอยใู่ ตด้ ินคลา้ ย
กระชาย เปน็ ไม้เล้อื ยใบเดย่ี ว รากออกเป็นกระจกุ ใบออกเรียงสลบั ใบรูปหัวใจ กว้าง ๔-๖
เซนติเมตร ยาว ๖-๑๐ เซนตเิ มตร โคนใบเว้า ปลายใบเรยี วแหลมเส้นใบแตกออกจากโคนใบ
ขนานกนั ไปทางด้านปลายใบ แผ่นใบเป็นคลื่น ขอบใบเรียบหรบื ดิ เปน็ คล่ืน เล็กนอ้ ย ก้านใบยาว
ดอกเป็นดอกเดี่ยว ออกตามซอกใบ ดอกสแี ดงเขม้ กลีบดอกมี ๔ กลีบ กลีบดอกดา้ นนอกมสี เี ขี
ยวปนเหลอื งโคนกลีบดอกตดิ กนั ผลลกั ษณะเป็นผัก ปลายแหลม ขนาดกวา้ ง๑ เซนติเมตร ยาว
๓เซนตเิ มตร ผลแห้งแลว้ แตก
ส่วนที่ใช้ ราก
สรรพคุณ เหง้าหรอื หวั รสเฝ่อื นขม แกไ้ อ แก้เสมหะพกิ าร จีนใชบ้ ำรงุ ความรอ้ น ของปอด
บำรุงปอด ดับกระหาย ปรุงเป็นยาตำรบั แก้อาการไอเร้อื รัง ตำรับยาไทยผสมขา้ วเยน็
เหนือ-ใต้ ชะเอมเทศ ขันทองพยาบาท ทองพนั ชั่ง หนอนตายอยาก รักษามะเร็งปอด
ความร้ดู า้ นภูมปิ ญั ญาไทย ความรู้ดา้ นภมู ิปัญญาไทยใชห้ นอนตายอยากฆ่าหนอนในปลาร้า
ใช้หวั หมกั ฉดี พน่ ฆา่ แมลงในงานเกษตร

๑๒๖

ชะเอมเทศ ชะเอมเทศ (Glycyrrhizs glabra Linn. G. Glabra linn. Var.)

๑๒๗

ชะเอมเทศ (Glycyrrhizs glabra Linn. G. Glabra linn. Var.)

ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Glycyrrhizs glabra Linn. G. Glabra linn. Var. glandulifera Waldst.
Et Kit. G. ural ensis Fisch.
วงศ์ PAPILIONACEAE
ชื่ออนื่ กำเช้า, กำเชา่ (จีน-แตจ้ ๋วิ ), ชะเอมเทศ, ชะเอมจนี
ชอ่ื สามญั Spanish licorice, Russian licorice, Chinese licorice
ลกั ษณะ เปน็ พรรณไมท้ ม่ี อี ายุนานหลายปี ลำต้นน้นั จะมีความยาวประมาณ ๑-๒ เมตร
ส่วนที่ใช้ ต้น เปลือก ใบ ดอก ผล และรากใชเ้ ป็นยา
สรรพคุณ ต้น กระจายลมเบอ้ื งบน และเบ้ืองล่าง

เปลอื กของราก จะมเี ปน็ สีแดง และมีรสหวานใชเ้ ปน็ ยาบำรงุ กำลัง
ใบ ทำให้เสมหะแหง้ และเปน็ ยารกั ดีพิการ
ดอก ใช้รักษาอาการคัน และรักษาพษิ ฝดี าษ
ผล จะมีรสหวาน ใช้เป็นยาบำรงุ กำลัง และอาการคอแห้ง ทำใหช้ มุ่ ชื้น
ราก จะมีรสชุ่ม ใช้เปน็ ยาบำรุงปอด ขบั เลือดทเี่ นา่ ในทอ้ ง รักษาพษิ ยาหรอื พืชพิษ
ตา่ ง ๆ ชนดิ คัว่ แล้วรกั ษาอาการเบื่ออาหาร ออ่ นเพลยี ตรากตรำทำงานหนัก ปวดท้อง ไอเป็นไข้
สงบประสาท บำรงุ ปอด ใช้รากสดรกั ษาอาการเจบ็ คอ เปน็ แผลเรือ้ รงั ระบบการยอ่ ยอาหารไมด่ ี
หรอื อาหารเป็นพษิ และรักษากำเดาให้เปน็ ปกติ

๑๒๘

ชะเอมไทย ชะเอมไทย (Albizzin myriophyll, Benth.)

๑๒๙

ชะเอมไทย (Albizzin myriophyll, Benth.)

ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Albizzin myriophyll, Benth.
วงศ์ MIMOSEAE
ชือ่ อื่น ชะเอม, กอกกนั้ , ชะเอม, สม้ ป่อยหวาน, ออ้ ยช้าง, ชะเอมไทย (ชุมพร), เซเบ๊ียดกาชา (ตรัง)
ลกั ษณะ เปน็ พรรณไม้เถายนื ตน้ มีขนาดกลาง ตามลำตน้ ก่งิ ก้านจะมหี นาม
สว่ นทใ่ี ช้ เน้ือไม้ ใบ ดอก และรากใชเ้ ป็นยา
สรรพคุณ เน้ือไม้ ใช้รกั ษาโรคในคอ รกั ษาลมรักษาเลอื ดออกตามไรฟันบำรงุ กล้ามเนื้อใหเ้ จรญิ
บำรุงธาตุและกำลัง ขบั เสมหะรกั ษานำ้ ลายเหนียว ใบ ใช้ขับเลอื ดใหต้ ก ดอก รักษาดี และเลือด
ทำใหเ้ สมหะงวดเข้า ช่วยยอ่ ยอาหาร ราก จะมีรสหวาน ลกั ษณะคลา้ ยชะเอมเทศ ใชป้ รุงเปน็ ยา
ถ่ินทอ่ี ยู่ พรรณไม้นี้ มกั จะขึน้ ตามพ้ืนทรี่ าบเชิงเขา ในตำบลบา้ นอา่ ง จังหวดั จันทบุรี และเข้าใจ
กันว่ามมี ากในจังหวดั นี้

๑๓๐

ชมุ เห็ดเทศ ชุมเหด็ เทศ (Cassia alata Linn.)

๑๓๑

ชุมเหด็ เทศ (Cassia alata Linn.)

ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Cassia alata Linn.
วงศ์ CAESALPINIACEAE
ช่ืออนื่ หมากกะลิงเทศ, ลับมืนหลาว, ขค้ี าก (ภาคเหนือ), ชมุ เห็ดใหญ่, ชมุ เห็ดเทศ
(ไทยภาคกลาง), สม้ เหด็ (เชยี งราย), ตะสีพอ (กะเหร่ียง-แม่ฮ่องสอน), จุมเห็ด(มหาสารคาม),
ตุ๊ยเฮยี ะเตา่ , ฮยุ วจิ วบกั ทง (จีน)
สว่ นที่ใช้ ทัง้ ตน้ ต้น ใบ ดอก ฝัก เมล็ด และรากใช้เป็นยา
สรรพคุณ ทง้ั ต้น ใช้ขับพยาธใิ นลำไส้ ถ่ายพิษตานทรง รกั ษาซาง โรคผวิ หนัง ถา่ ยเสมหะรักษา
ฟกบวม รักษารดิ สดี วง ดีซา่ น และฝี

ต้น ใช้เป็นยารกั ษาคุดทะราด และกลางเกลอ้ื น รกั ษากษัยเสน้ ขบั พยาธิ
และขับปสั สาวะ รกั ษาทอ้ งผูก และทำใหห้ ัวใจเปน็ ปรกติ

ใบ จะมีกลิน่ ฉุน ต้มน้ำกินเปน็ ยาระบาย อมบ้วนปากและใช้เป็นยาฆ่าพยาธติ าม
ผวิ หนงั รกั ษากลากเกลอื้ น ผวิ หนงั อักเสบเป็นผื่นคนั เส้นประสาทอกั เสบ รักษากษัยเสน้
ขบั ปสั สาวะ และรักษากระเพาะอาหารอักเสบดอก ใช้ ๑ ช่อ ต้มน้ำกินเป็นยาระบาย
ทำให้ผวิ หนังดมี สี ี มีใย ฝัก ใช้ผสมกับยารกั ษากลาก และเปน็ ยาขบั พยาธิระบายอมบ้วนปาก
และใชเ้ ป็นยาฆ่าพยาธติ ามผิว หนงั รักษากลากเกลอื้ น ผวิ หนงั อกั เสบเป็นผ่ืนคนั

๑๓๒

แจง แจง (Maerua siamensis (Kurz.) Pax)

๑๓๓

แจง (Maerua siamensis (Kurz.) Pax)

ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Maerua siamensis (Kurz.) Pax
วงศ์ CAPPARIDACEAE
ลกั ษณะ ลำต้นเป็นไมย้ นื ต้นขนาดกลาง สูง ๓-๑๐ เมตร แตกกิ่งแขนงมากมายใบประกอบแบบ
ฝา่ มอื มีใบยอ่ ย ๓-๕ ใบ รูปหอกเรยี วเล็กลับหรอื ขอบขนาน สเี ขียวเข้ม กว้าง ๒-๔ เซนตเิ มตร
ยาว ๕-๘ เซนตเิ มตร ปลายใบมนหรอื แหลม โคนใบมน ผิวใบเรียบ กา้ นใบย่อยสนั้ ดอกชอ่ แบบ
กระจกุ หรือดอกเดี่ยว เกิดท่ีปลายก่ิง ดอกย่อยมสี ขี าว ก้านดอกยาว๒-๖ เซนตเิ มตร มีใบประดับ
รปู รบิ บิน้ ขนาดเลก็ กลบี เลย้ี ง ๔-๕ กลีบ รูปขอบขนาน ปลายกลีบแหลม ผวิ กลีบเรียบ
ขอบกลบี เป็นขนนม่ิ ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ ๙-๑๒ อนั ผลสด ทรงกลมเทา่ หวั แม่มือหรือรี
เส้นผ่าศนู ย์กลาง ๒-๓ เซนติเมตร
สรรพคุณ รากปรุงรับประทานเป็นยาบำรุงกำลัง แก้ปสั สาวะพิการ แกก้ ระษัย ปวดเมื่อย
ขับปสั สาวะ นำมาต้มเอาไอนำ้ อบแกบ้ วม เปลือก ราก และใบ ต้มน้ำดืม่ แกด้ ซี า่ น หน้ามืด
ตาฟาง ไข้จบั ส่ัน ตน้ มคี ุณสมบตั เิ หมอื นราก แต่มคี ุณสมบัตมิ ากกวา่ รากตรงทแี่ ก้แมงกนิ ฟนั
ทำให้ฟนั ทน ใบ และยอด ตำใชส้ ฟี ัน แกแ้ มงกนิ ฟนั ทำให้ฟันทน และแกไ้ ข้ .เปลือกบำรงุ กำลัง
แก้หน้ามดื ตาฟาง แก้ปสั สาวะพิการ แกก้ ระษยั ปวดเม่อื ยตามรา่ งกาย และเปลอื กไม้
ราก ต้มอาบอบ กนิ แกอ้ มั พฤก อัมพาตยอดอ่อนผสมเกลือ รกั ษาโรครำมะนาด แก้ปวดฟัน
แก่นแก้ไขต้ ัวรอ้ น

๑๓๔

ขา้ วเยน็ เหนือ ขา้ วเย็นเหนือ (Smylax peguana)

๑๓๕


Click to View FlipBook Version