The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by The Master, 2024-06-10 11:00:02

2566_SAR_TUPY_E-Book

2566_SAR_TUPY_E-Book

ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 ให้ไว้ณ วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. ๒๕42 และกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ กำหนดให้สถานศึกษา มีภาระหน้าที่ในการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามความมุ่งหมายและหลักการของการจัดการศึกษา และกำหนดให้สถานศึกษาจัดทำรายงานการประเมินตนเองเป็นประจําทุกปีพร้อมจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเอง ให้แก่หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาและรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก นั้น โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการบริหาร จัดการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา อันประกอบไปด้วย 3 มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของผู้เรียน กระบวนการบริหารและการจัดการ และกระบวนการ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผล ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาและรับรอง รายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาโดยคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ มีมติในที่ประชุม เป็นเอกฉันท์ให้ความเห็นชอบดังนี้ 1. ให้การรับรองรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ประจำปีการศึกษา 2566 ของโรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ 2. ให้โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ จัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงาน ต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน 3. ให้โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ นำผลการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2566 ไปพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาในปีการศึกษา 2567 ต่อไป ความเห็นของประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ เห็นชอบ ไม่เห็นชอบ (นายวีระชัย คล้ายทอง) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ


บทสรุปผู้บริหาร โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ตั้งอยู่เลขที่ 146 ถนนสาธุประดิษฐ์แขวงทุ่งวัดดอน เขตสาทร กรุงเทพมหานคร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 2 เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เขตพื้นที่บริการ คือ เขตสาทร ประกอบด้วย 3 แขวง ได้แก่ แขวง ยานนาวา แขวงทุ่งวัดดอน และแขวงทุ่งมหาเมฆ มีจำนวนนักเรียนทั้งหมด 1,525 คน จำนวนคณะผู้บริหาร 4 คน จำนวนข้าราชการครู75 คน จำนวนอัตราจ้าง 8 คน จำนวนเจ้าหน้าที่สำนักงาน 13 คน จำนวนลูกจ้างประจำ 1 คน ด้านผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีผลการประเมิน ดังนี้ มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ระดับคุณภาพ ค่า เป้าหมาย ผลการ ประเมิน ระดับผล การประเมิน ผลการ พัฒนา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 86.50 สูงกว่าค่า เป้าหมาย 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 84.87 ต่ำกว่าค่า เป้าหมาย 1.1.1 มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 85.58 สูงกว่าค่า เป้าหมาย 1.1.2 มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมี วิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 89.25 สูงกว่าค่า เป้าหมาย 1.1.3 มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 85.04 สูงกว่าค่า เป้าหมาย 1.1.4 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 87.62 สูงกว่าค่า เป้าหมาย 1.1.5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ยอดเยี่ยม ดี 69.02 ต่ำกว่าค่า เป้าหมาย 1.1.6 มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 85.01 สูงกว่าค่า เป้าหมาย 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 94.24 สูงกว่าค่า เป้าหมาย 1.2.1 มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษา กำหนด ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 94.99 สูงกว่าค่า เป้าหมาย 1.2.2 มีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 96.11 สูงกว่าค่า เป้าหมาย 1.2.3 ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง และหลากหลาย ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 98.50 สูงกว่าค่า เป้าหมาย


มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ระดับคุณภาพ ค่า เป้าหมาย ผลการ ประเมิน ระดับผล การประเมิน ผลการ พัฒนา 1.2.4 มีสุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 87.37 สูงกว่าค่า เป้าหมาย มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 100.00 ตามค่า เป้าหมาย 2.1 มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษา กำหนดชัดเจน ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 5 ตามค่า เป้าหมาย 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 5 ตามค่า เป้าหมาย 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียน รอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และกลุ่มเป้าหมาย ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 5 ตามค่า เป้าหมาย 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 5 ตามค่า เป้าหมาย 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อ ต่อการจัดการเรียนรู้ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 5 ตามค่า เป้าหมาย 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุน การบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 5 ตามค่า เป้าหมาย มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 97.50 สูงกว่าค่า เป้าหมาย 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 87.50 สูงกว่าค่า เป้าหมาย 3.2 ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อ ต่อการเรียนรู้ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 100 สูงกว่าค่า เป้าหมาย 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 100 สูงกว่าค่า เป้าหมาย 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 100 สูงกว่าค่า เป้าหมาย 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 100 สูงกว่าค่า เป้าหมาย ภาพรวม ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 94.14 สูงกว่าค่า เป้าหมาย


จากการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ด้วยการบริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐานตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผล ตรวจสอบคุณภาพ การศึกษา จัดให้มีการประชุมประเมินคุณภาพภายใน และรับรองรายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาโดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา และผ่านการพิจารณาให้ความเห็นชอบจากที่ประชุมของคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้งมีการจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ เปิดเผยต่อสาธารณชน ด้วยการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ให้อยู่ในรูปเล่มรายงาน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ผ่าน QR Code และเผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์ของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ (www.tupy.ac.th) และจากการดำเนินงาน โครงการ และกิจกรรมต่างๆ ที่ส่งผลให้โรงเรียนประสบผลสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตาม เป้าหมายที่ตั้งไว้จึงสรุปได้ว่า ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา อยู่ในระดับคุณภาพ ยอดเยี ่ยม โดยมีรายละเอียด ของแต่ละมาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ค่าเป้าหมาย ผลการประเมิน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ผลการประเมินตนเองในภาพรวม ยอดเยี่ยม ด้านวิธีการพัฒนาคุณภาพภายในของสถานศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีรายละเอียด ของแต่ละมาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน จุดเด่น ผู้เรียนได้รับการพัฒนาคุณภาพอย่างเหมาะสมตามระดับชั้นผ่านกิจกรรมด้านวิชาการและ สันทนาการ มีทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต และมีเจตคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพ ในอนาคต สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ตลอดจนได้รับการปลูกฝังด้านคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น กิจกรรมเนื่องในวันสำคัญทางศาสนา เป็นต้น จุดควรพัฒนา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่สอดคล้องกับค่าเป้าหมายของสถานศึกษา กำหนด การสร้างแรงบันดาลใจและเป้าหมายในการเรียนให้กับผู้เรียน และการเพิ่มร้อยละ ของผู้สำเร็จการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6ให้เป็นที่ น่าพึงพอใจตามที่ควรจะเป็นมากขึ้น ข้อเสนอแนะ จัดการศึกษาเพื่อมุ่งพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอย่างครอบคลุม รอบด้าน และต่อเนื่อง ตาม บริบทและสถานการณ์ เน้นการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการการเรียนรู้อย่างหลากหลาย และ ลดภาระที่ไม่จำเป็นให้แก่ผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนมีเวลาในการค้นหาตัวเองและศึกษาค้นคว้าในสิ่ง ที่ตนเองสนใจเพิ่มเติม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ จุดเด่น โรงเรียนมีการวางแผนการบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ ทั้งด้านการ พัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใน การพัฒนาคุณภาพของครูผู้สอน และการพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษา การส่งเสริมและสนับสนุนให้นำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เป็น เครื่องมือในการบริหารจัดการ เช่น การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์ทีม (Ms. Teams) ในการจัด


ประชุมการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา รวมทั้งมีการนำแผนไปสู่การปฏิบัติและมี การติดตามตรวจสอบและประเมินผลเพื่อปรับปรุงพัฒนางาน โดยใช้เทคนิคในการดำเนินงาน ที่เหมาะสมและหลากหลายจากการมีภาวะผู้นำทางวิชาการของทีมผู้บริหาร จุดควรพัฒนา การเพิ่มประสิทธิภาพในการกำกับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล เพื่อปรับปรุงและ พัฒนาการดำเนินงานของโรงเรียนอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องมากขึ้น การดำเนินการพัฒนา ระบบการบริหารจัดการให้เกิดเป็นมาตรฐานโดยจัดทำแผนผังทางเดินเอกสาร (Document Flowcharts) และการนำผลการประเมินคุณภาพภายในและภายนอกสู่การพิจารณาวาง แผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้านการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และนำสู่การ ปฏิบัติอย่างจริงจังมากยิ่งขึ้น ข้อเสนอแนะ มุ่งพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใน พัฒนาคุณภาพของครูผู้สอน พัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษา พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และ ส่งเสริมวัฒนธรรมของคนในองค์กรที่ถูกต้อง เรื่อง วินัย จรรยาบรรณ คุณธรรมจริยธรรม สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา อย่างเข้มข้นและเป็นรูปธรรมมากขึ้น รวมทั้ง ปรับปรุง/พัฒนาหลักสูตรให้ทันต่อยุคสมัยและตอบสนองต่อความต้องการของสังคม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จุดเด่น ครูมีความตั้งใจในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของตนเองอย่างต่อเนื่อง มีแผนการ จัดการเรียนรู้ที่ตรงตามมาตรฐานและตัวชี้วัด ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ช่วยส่งเสริมให้ ผู้เรียนได้ค้นหาศักยภาพของตน มีการใช้สื่อ เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัยมาเป็นตัวช่วย ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวกมากขึ้น จัดการ เรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และมีการเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อปรับปรุง/ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น จุดควรพัฒนา การพัฒนาเครื่องมือในการวัดและประเมินผลที่ทันสมัย น่าเชื่อถือ มีความหลากหลาย และ เหมาะสมโดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียนและบริบทของสถานศึกษา การ เพิ่มสมดุลของการสอนทั้งทางวิชาการและคุณลักษณะที่พึงประสงค์โดยการสอดแทรก คุณธรรมจริธรรมให้กับผู้เรียนในชั่วโมงเรียนของครูผู้สอนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้อย่าง เป็นรูปธรรมมากขึ้น ข้อเสนอแนะ มุ่งพัฒนาวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นหลัก RAC (Receive-Action-Connect) ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดและได้ลงมือปฏิบัติจริงผ่านกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียน มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของตนเองและมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น ใช้วิธีการวัดและประเมินผล ที่เหมาะสมสอดคล้องกับบริบทของผู้เรียน ตลอดจนวางแผนพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนเพื่อ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยคำนึงถึงค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด ด้านการปฏิบัติที่เป็นเลิศของสถานศึกษา (ความโดดเด่น) ด้านคุณภาพของผู้เรียน รางวัลดีเด่นการแข่งขันประกวดสวดมนต์หมู่ ทำนองสรภัญญะ รับใบประกาศเกียรติคุณ และโล่ รางวัล จากดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิ ชัยพัฒนา พร้อมเงินรางวัล 1,000 บาท ณ วัด พระราม 9 โดยมีนักเรียนเข้าร่วมดังนี้


1. เด็กหญิงภัทรภร อันสุข 2. เด็กหญิงชนัญชิดา ชุ่มสีดา 3. เด็กหญิงศุนิจตา วงษาไชย 4. เด็กชายธนเดช แซ่ลิ้ม 5. เด็กชายพรอัมรินทร์พรหมขันทอง ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ 1. รางวัลผลงานคุณภาพต้นแบบ โรงเรียนที่มีแนว ปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) การน้อมนำ พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวง รัชกาลที่ 10 สู่การปฏิบัติประจำปี2566 ด้าน พ ล เ ม ื อ ง ด ี ท ี ่ ม ี จ ิ ต อ า ส า จ า ก ส ำ น ั ก ง า น คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. นางสาวนิภาพร บินสัน ผู้อำนวยการโรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับ รางวัล “ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีผลงานดีเด่น ประจำปี2566” ประเภทผู้บริหารสถานศึกษาที่ มีผลงานดีเด่น ผู้อำนวยการโรงเรียนมัธยมดีเด่น สมาคมผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งประเทศ ไทย ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ นายจักรพันธ์พานสอาด ได้รับรางวัลเกียรติคุณ รางวัลไทย รางวัลเกียรติยศบนเส้นทางชีวิต “รางวัลการศึกษาดีเด่นแห่งปี” ประจำปี2566 สาขา ครูผู้สอนดีเด่น จากมูลนิธิเพื่อสังคมไทย คณะกรรมการรางวัลเกียรติคุณรางวัลไทย ผู้จัดทำ : ผู้อำนวยการสถานศึกษา


คำนำ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2566 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ เล่มนี้เป็นการสรุปผลของการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาอันสะท้อนถึงคุณภาพ ของสถานศึกษา ซึ่งเป็นผลสำเร็จจากการบริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน อันประกอบไปด้วย 3 มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของผู้เรียน กระบวนการบริหาร และการจัดการ และกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตลอดจนผลการวิเคราะห์จุดเด่น จุดควร พัฒนา และแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอรายงานผลการจัดการศึกษา ในรอบปีที่ผ่านมา ต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนา คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิคณะผู้บริหาร หัวหน้างานประกันคุณภาพการศึกษา หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ และคณะครูอาจารย์ที่ได้กรุณาส่งเสริม สนับสนุนให้การจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาเป็นไปด้วย ความเรียบร้อยและหวังว่ารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา คุณภาพการศึกษาต่อไป (นางสาวนิภาพร บินสัน) ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ วันที่ 29 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2567


สารบัญ เรื่อง หน้า ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน................................................................................................ก บทสรุปผู้บริหาร.............................................................................................................. ................................................ข คำนำ...............................................................................................................................................................................ค สารบัญ....................................................................................................................... .....................................................ง สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา..............................................................................................................1 ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา..................................................................................................... .....................2 ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา..........................................................................................................39 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน.................................................................................................................39 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ........................................................................................75 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ.......................................................86 ส่วนที่ 3 สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความต้องการการช่วยเหลือ.......................................................................99 ภาคผนวก...................................................................................................................................................................102


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 1 สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2566 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ตามที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้ดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2566 ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและประกาศกระทรวงศึกษาธิการ โดยจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่ การพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก บัดนี้การดำเนินการประเมิน คุณภาพภายในสถานศึกษาเสร็จสิ้นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จึงขอเสนอผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ดังแสดง ในตารางโดยสรุปผลได้ดังนี้ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สรุปผลการประเมินภาพรวม กำลังพัฒนา ปานกลาง ดี ดีเลิศ ยอดเยี่ยม มาตรฐานการศึกษา ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ยอดเยี่ยม


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 2 รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖6 ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา 1.1 ข้อมูลทั่วไป ชื่อสถานศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ตราประจำโรงเรียน พระเกี้ยวน้อย อักษรย่อโรงเรียน ต.อ.พ.ย. วันสถาปนาโรงเรียน 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 ผู้ก่อตั้งโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ ประเภท สหศึกษา ขนาดสถานศึกษา ขนาดใหญ่ ระดับชั้นที่เปิดสอน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เขตพื้นที่บริการ เขตสาทร ประกอบด้วย 3 แขวง ได้แก่แขวงยานนาวา แขวงทุ่งวัดดอน และแขวงทุ่งมหาเมฆ เขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ พระพุทธรูปประจำโรงเรียน หลวงพ่อสุโขทัยชัยมงคล คติพจน์โรงเรียน ประพฤติดีเรียนดีมีสัจจะ อุตสาหะ กตัญญูรู้เหตุผล ต้นไม้ประจำโรงเรียน ต้นราชพฤกษ์ สีประจำโรงเรียน สีชมพู- น้ำเงิน สีประจำคณะ คณะประดู่ - สีแดง คณะพิกุล - สีเขียว คณะหางนกยูง - สีส้ม คณะอินทนิล - สีม่วง เพลงประจำโรงเรียน เพลงมาร์ชเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ เพลงขวัญใจพระเกี้ยวน้อย เพลงลาแล้วราชพฤกษ์ สถานที่ตั้ง เลขที่ 146 ถนนสาธุประดิษฐ์แขวงทุ่งวัดดอน เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 เบอร์โทรศัพท์ 0-2211-0942 โทรสาร 0-2674-9114 เว็บไซต์ www.tupy.ac.th อีเมล [email protected]


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 3 ปรัชญา(Philosophy) ความเป็นเลิศทางวิชาการและคุณธรรม วิสัยทัศน์(Vision) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ จัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล บนพื้นฐานความเป็นไทย พันธกิจ (Mission) 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึงและเต็มศักยภาพ 2. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ และลักษณะในศตวรรษที่ 21 3. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาตามมาตรฐานวิชาชีพ 4. พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม ในการสนับสนุนการจัดการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล เป้าประสงค์(Goals) ผู้เรียนมีความรู้คู่คุณธรรม บนพื้นฐานความเป็นไทย และมีศักยภาพเป็นพลเมืองโลกในศตวรรษที่ 21 สุภาษิตโรงเรียน (Proverb) ยาทิสํวปฺปเต พีชํตาทิสํลภเต ผลํ “หว่านพืชเช่นไร ย่อมได้ผลเช่นนั้น” เอกลักษณ์(Identity) กตัญญูเชิดชูสถาบัน อัตลักษณ์(Image) คนดีศรีต.อ.พ.ย. ประวัติการก่อตั้งโรงเรียน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ เดิมชื่อ โรงเรียนยานนาวา โดย กระทรวงศึกษาธิการได้จัดซื้อที่ดินแปลงหนึ่ง โฉนดที่ดินเลขที่ 3958 มีพื้นที่จำนวน 8 ไร่ 1 งาน 89 ตารางวา จากนางแจ่ม เพชรรัตน์และนายขัน ว่องไว เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2501 ด้วยเงิน ก.ศ.ส. จำนวน 982,810 บาท เพื่อจัดตั้งเป็นโรงเรียนระดับ มัธยมศึกษา ประเภทสหศึกษาในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2501 และวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2501 จัดตั้งเป็นโรงเรียนมัธยมวิสามัญศึกษา สังกัดกองโรงเรียนรัฐบาล กรมวิสามัญ ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ใช้ชื่อว่า "โรงเรียนยานนาวา" ตำบลทุ่งวัดดอน อำเภอยานนาวา จังหวัดพระนคร ใช้อักษรย่อว่า “ย.น.” เมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ.2501 นายจรัส ธรรมพันธ์ได้รับการแต่งตั้งจาก กรมวิสามัญ กระทรวงศึกษาธิการ ให้ดำรงตำแหน่งครูใหญ่ (คนแรก) มีครูจำนวน 7 คน มีนักการภารโรง จำนวน 2 คน เปิดทำการสอน เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 (จึงถือว่า วันที่ 10 กรกฎาคม เป็นวันสถาปนาโรงเรียน) และเปิดรับ นักเรียนชายและหญิง ที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เข้าศึกษาต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยมีอาคารเรียน 1 หลัง จำนวน 12 ห้องเรียน (เปิดเป็นห้องเรียน 10 ห้อง และห้อง หัตถศึกษา 2 ห้อง) มีบ้านพักครู1 หลัง จำนวน 2 ห้อง มีบ้านพักภารโรง 1 หลัง มีห้อง สุขาภิบาล 1 หลัง และมีนักเรียนเข้าศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 416 คน ต่อมาเมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2514 ฯพณฯ สุกิจ นิมมานเหมินทร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้อนุมัติให้เปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนยานนาเวศวิทยาคม" เพื่อหลีกเลี่ยงความสับสนในชื่อโรงเรียน ที่ไปเหมือนกับโรงเรียนเทศบาลวัดยานนาวา และใน ปีการศึกษานี้โรงเรียนได้ขยายชั้นเรียน ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 3 เป็นระดับชั้นละ 10 ห้องเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 แผนกวิทยาศาสตร์4 ห้องเรียน แผนกศิลปะ 4 ห้องเรียน รวมทั้งหมดเป็น 38 ห้องเรียน มีครู70 คน มีนักเรียน 1,647 คน และมีนักการ ภารโรง 9 คน เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2563 นายสุชาติกลัดสุข ผู้อำนวยการสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 ได้ลงนามในประกาศ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 2 ประกาศให้โรงเรียนยานนาเวศวิทยาคม เปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนเตรียม อุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ” ตามมติที่ประชุมของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด กรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นการสร้างเครือข่ายทางวิชาการที่เข้มแข็ง เกิดการพัฒนาศักยภาพ ของครูและผู้เรียน ตลอดจนเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านการบริหารและการจัด การศึกษาที่ดีโดยมีนายรื่น หมื่นโกตะ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนในขณะนั้น และมีนางสาวนิภาพร บินสัน ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน ในปัจจุบัน


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 4 1.2 สภาพชุมชนโดยรวม 1. สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะเป็นชุมเมืองแออัด มีประชากรประมาณ 72,395 คน (ข้อมูล จากสำนักงานเขตพื้นที่สาทร ณ วันที่ 31 มีนาคม 2566) บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่สำนักงานเขตสาทร วัดไผ่เงินโชตนาราม วัดดอกไม้และวัดยานนาวา อาชีพหลักของชุมชน คือ การประกอบอาชีพธุรกิจ ค้าขาย และรับจ้าง ทั่วไป ทั้งนี้เนื่องจากเขตสาทรอยู่ในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้พื้นที่เดิมเป็นที่ราบลุ่มเหมาะแก่การเกษตร มีการทำสวนพืชผัก ผลไม้แต่สภาพปัจจุบันได้กลายเป็น ชุมชนหนาแน่น และเป็นศูนย์กลางย่านธุรกิจ ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุธ รองลงมาได้แก่ ศาสนาคริสต์ศาสนาอิสลาม และศาสนาพราหมณ์ฮินดูประเพณีและศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็น ที่รู้จักโดยทั่วไป คือ ประเพณีวิปัสสนากรรมฐาน-วัดบรมสถล ซึ่งเป็นประเพณีของชาวมอญโดยมีการจัดประเพณีสำคัญ ทางพุทธศาสนาทุกประเพณีมีปูชนียบุคคลทางพุทธศาสนา คือ พระครูวิสุทธิ์กัลยาณกิจ (สุมน์ญาณธมฺโม) เป็นผู้วาง ฐานบูรณะทำนุบำรุงทั้งการปฏิสังขรณ์และการสอนพระธรรม จัดตั้งโรงเรียนเผยแผ่ศาสนาจนปัจจุบันมีประเพณี การปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานเป็นประจำทุกเดือน และประเพณีอาราติปูยา-วัดวิษณุซึ่งเป็นวัดของศาสนาพราหมณ์- ฮินดูเพียงแห่งเดียวในเอเชียอาคเนย์ที่มีเทวรูปศักดิ์สิทธิ์สร้างขึ้นด้วยหินอ่อนและแกะสลักด้วยมือจากประเทอินเดีย ครบ 24 องค์ภายในเทวสถานยังได้มีการจัดพิธีทางศาสนาพราหมณ์ฮินดูอย่างพิธีอาราตปูยาเป็นการสวดมนต์ สรรเสริญองค์เทพเจ้า สวดในเรื่องรามเกียรติ์มีพิธีอาราติปูยาทุกวันอาทิตย์เวลา 10.00 น. มีอาจารย์ใหญ่เป็นผู้นำสวด มนต์พร้อมกับวงดนตรีมาบรรเลงประกอบพิธีกรรมการสวดสรรเสริญ 2. ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ถึงระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ อาชีพหลัก คือ ประกอบอาชีพส่วนตัว ค้าขาย และรับจ้างทั่วไป ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉลี่ย ต่อครอบครัว ต่อปีประมาณ 400,000 - 5000,000 บาท 3. โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียน โอกาส : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่เข้มแข็งให้ความร่วมมืออันดียิ่งในการร่วมพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน และได้รับการส่งเสริม สนับสนุนที่ดีจากชุมชน ข้อจำกัด : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ มีพื้นที่ค่อนข้างแคบ ไม่มีสนามกว้าง สำหรับกิจกรรมกลางแจ้ง รวมทั้งยังขาดการได้รับความร่วมมือตามโอกาสสมควรในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนจาก ผู้ปกครองซึ่งมีภารกิจในการทำมาหาเลี้ยงชีพ ทำให้ไม่มีเวลาว่างมากพอที่จะเข้ามามีส่วนร่วมกับโรงเรียนได้ ด้านที่มาของเขตสาทร กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศลงวันที่ 23 เมษายน 2542 เปลี่ยนแปลงชื่อ “เขตสาธร” เป็น “เขตสาทร” ที่ถูกต้อง ตามหลักฐานประวัติศาสตร์ความเป็นมาแต่อดีตและถูกต้องตามหลักภาษาไทย ซึ่งหมายความว่า เป็นสำนักงานเขต สาทรที่ “เอื้อเฟื้อ เอาใจใส่ บำบัดทุกข์บำรุงสุข” ราษฎรในพื้นที่ตามอำนาจหน้าที่สืบไป ด้านวิสัยทัศน์ของเขตสาทร สาทรพัฒนา สู่เศรษฐกิจใหม่ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม พร้อมอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ด้านคำขวัญของเขตสาทร สำเภาทองล้ำค่า สุสานสวนป่าร่มเย็น เน้นนโยบายเมืองน่าอยู่สถาบันให้ความรู้มากมีจุดรวม สถานที่แหล่งทูต ด้านพันธกิจของเขตสาทร 1. การสนับสนุนการดำเนินงานภาคธุรกิจ และส่งเสริมการสร้างงาน ให้ประชาชน ชุมชน เข้มแข็ง พึ่งพาตนเองได้ 2. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เป็นมิตรให้กับเมือง โดยเปิดโอกาสให้ภาครัฐ เอกชน และประชาชนเขามามีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบในการพัฒนาท้องถิ่น 3. การอนุรักษ์ส่งเสริม สืบสาน ศิลปวัฒนธรรมไทย


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 5 แผนที่ตั้งสถานศึกษา แผนผังบริเวณโรงเรียน หมายเลข ๑ อาคาร ๑ หมายเลข ๒ อาคาร ๒ หมายเลข ๓ อาคาร ๓ หมายเลข ๔ อาคารปฏิบัติการ หมายเลข ๕ ห้องสำนักงานกลุ่มบริหารทั่วไป หมายเลข ๖ ศาลาหลวงพ่อสุโขทัยชัยมงคล หมายเลข ๗ ศาลาสบายใจ หมายเลข ๘ ห้องประชาสัมพันธ์ หมายเลข ๙ ห้องพยาบาลและร้านค้าสวัสดิการ หมายเลข ๑๐ เวทีกลาง หมายเลข ๑๑ เสาธงโรงเรียน หมายเลข ๑๒ ศาลพระภูมิ หมายเลข ๑๓ อาคารบ้านพัก หมายเลข ๑๔ อาคารบ้านพัก หมายเลข ๑๕ ห้องสำนักงานกลุ่มบริหารทั่วไป หมายเลข ๑๖ ห้องน้ำนักเรียนชาย หมายเลข ๑๗ ห้องน้ำนักเรียนหญิง โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ เลขที่ 146 ถนนสาธุประดิษฐ์ แขวงทุ่งวัดดอน เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 6 1.3 ข้อมูลผู้บริหาร ลำดับที่ รายชื่อ ระยะเวลา ตำแหน่ง 1 นายจรัส ธรรมพันธ์ 30 เม.ย. 2501 - 1 ต.ค. 2507 อาจารย์ใหญ่ 2 นายมนัส นิจโภค 26 ต.ค. 2507 - 1 เม.ย. 2509 อาจารย์ใหญ่ 3 นายสุด สุวรรณาคินทร์ 17 พ.ค. 2509 - 2 พ.ย. 2509 อาจารย์ใหญ่ 4 นายชื้น เรืองเวช 7 ธ.ค. 2509 - 30 พ.ย. 2516 อาจารย์ใหญ่ 5 นางนังคร คชะสุต 22 พ.ย. 2516 - 30 ก.ย. 2517 อาจารย์ใหญ่ 6 นายประสิทธิ์ ธนะปัญโญ 15 พ.ย. 2517 - 30 ก.ย. 2520 อาจารย์ใหญ่ 7 นางสาวสมศรี ดวงพัตรา 29 ธ.ค. 2520 - 6 ม.ค. 2523 ผู้อำนวยการ 8 นายนพคุณ ทรงชาติ 9 พ.ค. 2525 - 1 ต.ค. 2529 ผู้อำนวยการ 9 นายเชาวน์ สาลีฉัน 1 ต.ค. 2529 - 30 ก.ย. 2535 ผู้อำนวยการ 10 นายดำรง อโนภาส 29 ต.ค. 2535 - 4 พ.ย. 2537 ผู้อำนวยการ 11 นายสมพงษ์ ปุยพลทัน 4 พ.ย. 2537 - 30 ก.ย. 2539 ผู้อำนวยการ 12 นายเพ็ญศักดิ์ เรือนใจมั่น 3 ธ.ค. 2539 - 30 ก.ย. 2541 ผู้อำนวยการ 13 นายประมวญ บุญญพาพงศ์ 24 ธ.ค. 2541 - 6 พ.ย. 2543 ผู้อำนวยการ 14 นายอุดม พรมพันธ์ใจ 6 พ.ย. 2543 - 25 ต.ค. 2544 ผู้อำนวยการ 15 นายมานพ นพศิริกุล 25 ต.ค. 2544 - 30 ก.ย. 2546 ผู้อำนวยการ 16 นางสาวปัทมรัตน์ เต็มพิทักษ์ 1 ต.ค. 2546 - 29 ต.ค. 2549 ผู้อำนวยการ 17 นายบุญฤทธิ์ รุ่งเรือง 30 ต.ค. 2549 - 14 ส.ค. 2556 ผู้อำนวยการ 18 นายสุรศักดิ์ การุญ 1 มี.ค. 2557 - 8 พ.ย. 2559 ผู้อำนวยการ 19 นายรื่น หมื่นโกตะ 22 พ.ย. 2559 - 30 ก.ย. 2563 ผู้อำนวยการ 20 นายปรเวธฎ์ เกษมโชค 22 ต.ค. 2563 - 30 ก.ย. 2565 ผู้อำนวยการ 21 นางพลอยกาญจน์ พึ่งเพียร 1 ต.ค. 2565 - 30 ก.ย. 2566 ผู้อำนวยการ 22 นางสาวนิภาพร บินสัน 1 ต.ค. 2566 - ปัจจุบัน ผู้อำนวยการ 1) ผู้อำนวยการสถานศึกษา นางสาวนิภาพร บินสัน วุฒิการศึกษาสูงสุด ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศ.ศ.ม.) สาขา บริหารการศึกษา โทรศัพท์: 089-658-6625 e-mail: [email protected] ดำรงตำแหน่งที่โรงเรียนนี้ตั้งแต่ 1 ต.ค. 2566 จนถึงปัจจุบัน เป็นเวลา ....-... ปี 6 เดือน 2) รองผู้อำนวยการสถานศึกษา (ตามมาตรฐานตำแหน่ง) จำนวน 3 คน 2.1 ชื่อ-สกุล นายพลากร จำลอง วุฒิการศึกษาสูงสุด ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม.) สาขา การบริหารการศึกษา โทรศัพท์: 097-946-3659 e-mail: [email protected] รับผิดชอบ กลุ่มบริหารวิชาการ 2.2 ชื่อ-สกุล นางสุปราณี เจริญกิจมงคล วุฒิการศึกษาสูงสุด ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม.) สาขา การบริหารการศึกษา โทรศัพท์: 081-426-0191 e-mail: [email protected] รับผิดชอบ กลุ่มบริหารงบประมาณ และ กลุ่มบริหารงานบุคคล 2.3 ชื่อ-สกุล นายชัยพล ยมจันทร์ วุฒิการศึกษาสูงสุด ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม.) สาขา การบริหารการศึกษา โทรศัพท์: 061-545-5954 e-mail: [email protected] รับผิดชอบ กลุ่มบริหารทั่วไป


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 7 คณะผู้บริหารโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ (ปัจจุบัน)


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 8 1.4 ข้อมูลครูและบุคลากร 1) จำนวนบุคลากร และวุฒิการศึกษาสูงสุดของบุคลากร ปีการศึกษา 2566 บุคลากร จำนวน บุคลากร วุฒิการศึกษาสูงสุด ต่ำกว่า ปริญญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก ผู้บริหาร 4 - - 4 - ครูผู้สอน 75 - 51 24 - พนักงานราชการ - - - - - ครูอัตราจ้าง 8 - 8 - - เจ้าหน้าที่อื่น ๆ 14 13 1 - - รวม 101 13 60 28 - ข้อมูล ณ วันที่ 29 มีนาคม 2567 2) ตำแหน่ง (วิทยฐานะ) ของบุคลากร บุคลากร จำนวน บุคลากร ตำแหน่ง (วิทยฐานะ) ครู ผู้ช่วย คศ.1 คศ.2 (ชำนาญการ) คศ.3 (ชำนาญการพิเศษ) คศ.4 (เชี่ยวชาญ) คศ.5 (เชี่ยวชาญพิเศษ) ผู้บริหาร 4 - - 2 2 - - ครูผู้สอน 75 19 17 21 18 - - รวม 79 19 17 23 20 - - ข้อมูล ณ วันที่ 29 มีนาคม 2567 3) สาขาวิชาและภาระงานที่รับผิดชอบของบุคลากร ที่ สาขาวิชา จำนวน (คน) ภาระงานสอนเฉลี่ยของผู้บริหารและครู1 คน ในแต่ละสาขาวิชา (ชั่วโมง/สัปดาห์) 1 ผู้บริหาร 4 10 2 ภาษาไทย 8 16 3 คณิตศาสตร์ 10 16 4 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 15 17 5 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 9 17 6 สุขศึกษาและพลศึกษา 6 16 7 ศิลปะ 5 15 8 การงานอาชีพ 7 15 9 ภาษาต่างประเทศ 12 17 10 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3 15 รวม 79 16 ข้อมูล ณ วันที่ 29 มีนาคม 2567


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 9 5) ผลการเข้าร่วมกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้(PLC) ต่อปีการศึกษา 2566 กลุ่มสาระการเรียนรู้ การเข้าร่วมกิจกรรม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การพัฒนาจนเกิดเป็นงานวิจัย จำนวนครู คิดเป็นร้อยละ จำนวนครู คิดเป็นร้อยละ ภาษาไทย 8 100 8 100 คณิตศาสตร์ 10 100 10 100 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 15 100 15 100 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 9 100 9 100 สุขศึกษาและพลศึกษา 6 100 6 100 ศิลปะ 5 100 5 100 การงานอาชีพ 7 100 7 100 ภาษาต่างประเทศ 12 100 12 100 รวม 72 100 72 100 ข้อมูล ณ วันที่ 29 มีนาคม 2567 1.5 ข้อมูลนักเรียน 1) ข้อมูลนักเรียน ปีการศึกษา 2566 ระดับชั้น จำนวน ห้องเรียน จำนวนนักเรียน (คน) เฉลี่ย ต่อ ห้อง (คน) ภาคเรียนที่ 1 (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2566) ภาคเรียนที่ 2 (ข้อมูล ณ วันที่ 27 มีนาคม 2567) ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 9 163 164 328 164 164 328 36 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ 7 151 111 262 145 110 255 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ 7 128 117 245 119 113 232 34 รวม ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 23 442 392 835 428 387 815 36 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ 7 131 124 242 131 109 240 34 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ 7 124 143 267 123 135 258 38 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ 7 115 107 222 113 99 212 31 รวม ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 21 370 374 731 367 343 710 34 รวมทั้งหมด 44 812 766 1,566 795 730 1,525 35 อัตราส่วนจำนวนนักเรียน : ครู = 1 : 19 เป็นไปตามเกณฑ์ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 10 2) ข้อมูลนักเรียนย้อนหลัง 3 ปีการศึกษา ระดับชั้นเรียน ปีการศึกษาที่ 2564 ปีการศึกษาที่ 2565 ปีการศึกษาที่ 2566 จำนวน ห้องเรียน (ห้อง) จำนวน นักเรียน (คน) เฉลี่ยต่อ ห้อง (คน) จำนวน ห้องเรียน (ห้อง) จำนวน นักเรียน (คน) เฉลี่ยต่อ ห้อง (คน) จำนวน ห้องเรียน (ห้อง) จำนวน นักเรียน (คน) เฉลี่ยต่อ ห้อง (คน) ม. 1 7 240 34 7 254 36 9 328 36 ม. 2 7 253 36 7 232 33 7 259 37 ม. 3 8 290 36 7 261 37 7 239 34 รวม ม.ต้น 22 783 36 21 746 36 23 825 36 ม. 4 7 222 32 7 258 37 7 241 34 ม. 5 6 192 32 7 218 31 7 263 38 ม. 6 6 150 25 6 186 31 7 217 31 รวม ม.ปลาย 19 564 30 20 661 33 21 721 34 รวมทั้งหมด 41 1,346 33 41 1,407 34 44 1,546 35 ข้อมูล ณ วันที่ 29 มีนาคม 2567 ไทย คณิต วิทย์ สังคม สุข ศิลปะ ปีการศึกษา 2564 51.83 43.40 48.30 51.28 65.69 63.21 ปีการศึกษา 2565 70.58 48.70 77.43 57.10 83.56 80.53 ปีการศึกษา 2566 64.01 46.17 74.20 60.29 86.08 81.19 0.00 10.00 20.00 30.00 40.00 50.00 60.00 70.00 80.00 90.00 100.00 แผนภูมิเปรียบเทียบข้อมูลนักเรียนย้อนหลัง 3 ปีการศึกษา


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 11 1.6 ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ที่มีผลการเรียน ตามค่าเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนด ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 กลุ่มสาระ การเรียนรู้ จำนวน นักเรียน ที่เข้า สอบ (คน) จำนวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ นักเรียนที่ได้ ตั้งแต่เกรด 3 ขึ้นไป ค่าเป้า หมาย ของ โรง เรียน (ระดับ เกรด) นักเรียนที่ได้ ผลการเรียนรู้ตาม ค่าเป้าหมาย ที่โรงเรียนกำหนด 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ ภาษาไทย 1,566 538 274 181 194 77 56 109 137 993 63.41 2.5 1,187 75.80 คณิตศาสตร์ 1,566 260 195 249 264 194 85 93 211 704 44.96 2.5 968 61.81 วิทยาศาสตร์ฯ 1,566 845 240 117 86 20 20 54 184 1202 76.76 2.5 1,288 82.25 สังคมศึกษาฯ 1,566 559 203 223 148 65 47 84 237 985 62.90 2.5 1,133 72.35 สุขศึกษาฯ 1,566 1,049 184 133 30 21 14 15 120 1,366 87.23 3 1,366 87.23 ศิลปะ 1,566 1,102 106 128 15 11 10 36 158 1,336 85.31 3 1,336 85.31 การงานอาชีพ 1,566 552 318 216 174 64 42 58 22 1,086 69.35 2.5 1,260 80.46 ภาษาต่างประเทศ 1,566 507 297 208 298 20 54 45 136 1,012 64.62 2.5 1,310 83.65 รวมเฉลี่ย 69.32 78.61 แหล่งที่มาข้อมูล: งานวัดและประเมินผลการศึกษา/กลุ่มสาระการเรียนรู้(กลุ่มวิชาพื้นฐาน) (ข้อมูล ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2566) 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 ไทย คณิต วิทย์ สังคม สุข ศิลปะ การงาน ตปท ค่าเป้าหมาย (ร้อยละ) 80 75 80 75 80 80 80 80 ภาคเรียนที่ 1 75.8 61.81 82.25 72.35 87.23 85.31 80.46 83.65 แผนภูมิแสดงร้อยละของนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชา ตามค่าเป้าหมายที่โรงเรียนก าหนด ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1–6


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 12 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ที่มีผลการเรียน ตามค่าเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนด ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 กลุ่มสาระ การเรียนรู้ จำนวน นักเรียน ที่เข้า สอบ (คน) จำนวนนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ นักเรียนที่ได้ ตั้งแต่เกรด 3 ขึ้นไป ค่าเป้า หมาย ของ โรง เรียน (ระดับ เกรด) นักเรียนที่ได้ ผลการเรียนรู้ตาม ค่าเป้าหมาย ที่โรงเรียนกำหนด 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ ภาษาไทย 1,526 570 225 191 97 97 45 132 169 986 64.61 2.5 1,083 70.97 คณิตศาสตร์ 1,526 276 202 245 194 159 103 91 251 723 47.38 2.5 917 60.09 วิทยาศาสตร์ฯ 1,526 733 220 140 104 39 38 43 209 1,093 71.63 2.5 1,197 78.44 สังคมศึกษาฯ 1,526 532 174 174 115 97 61 87 286 880 57.67 2.5 995 65.20 สุขศึกษาฯ 1,526 939 230 127 21 25 19 14 151 1,296 84.93 3 1,296 84.93 ศิลปะ 1,526 1,013 94 69 48 31 20 46 205 1,176 77.06 3 1,176 77.06 การงานอาชีพ 1,526 572 237 178 114 63 32 29 197 987 64.68 2.5 1,101 72.15 ภาษาต่างประเทศ 1,526 531 311 226 211 9 18 29 192 1,068 69.99 2.5 1,279 83.81 รวมเฉลี่ย 67.24 74.08 แหล่งที่มาข้อมูล: งานวัดและประเมินผลการศึกษา/กลุ่มสาระการเรียนรู้(กลุ่มวิชาพื้นฐาน) (ข้อมูล ณ วันที่ 29 มีนาคม 2567) 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 ไทย คณิต วิทย์ สังคม สุข ศิลปะ การงาน ตปท ค่าเป้าหมาย (ร้อยละ) 80 75 80 75 80 80 80 80 ภาคเรียนที่ 2 70.97 60.09 78.44 65.2 84.93 77.06 72.15 83.81 แผนภูมิแสดงร้อยละของนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชา ตามค่าเป้าหมายที่โรงเรียนก าหนด ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1–6


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 13 3) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1–6 ที่มีผลการเรียน ตามค่าเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนด แยกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ปีการศึกษา 2566 กลุ่มสาระการเรียนรู้ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1–6 ที่มีผลการเรียนตามค่าเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนด ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 รวม (ร้อยละ) ภาษาไทย 75.80 70.97 73.39 คณิตศาสตร์ 61.81 60.09 60.95 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 82.25 78.44 80.35 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 72.35 65.20 68.78 สุขศึกษาและพลศึกษา 87.23 84.93 86.08 ศิลปะ 85.31 77.06 81.19 การงานอาชีพ 80.46 72.15 76.31 ภาษาต่างประเทศ 83.65 83.81 83.73 รวม 78.61 74.36 76.49 4) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา (ผลสัมฤทธิ์3 ปีย้อนหลัง) ปีการศึกษา 2564 - 2565 - 2566 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลการเรียน ตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป ผลการพัฒนาต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 ปีการศึกษา 2566 ภาษาไทย 51.83 70.58 64.01 ลดลง คณิตศาสตร์ 43.40 48.70 46.17 ลดลง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 48.30 77.43 74.20 ลดลง สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 51.28 57.10 60.29 เพิ่มขึ้น ต่อเนื่อง สุขศึกษาและพลศึกษา 65.69 83.56 86.08 เพิ่มขึ้น ต่อเนื่อง ศิลปะ 63.21 80.53 81.19 เพิ่มขึ้น ต่อเนื่อง การงานอาชีพ 57.98 80.98 67.02 ลดลง ภาษาต่างประเทศ 51.41 62.07 67.31 เพิ่มขึ้น ต่อเนื่อง รวม 52.48 66.99 68.47 เพิ่มขึ้น ต่อเนื่อง หมายเหตุ : ผลการพัฒนา พิจารณาจาก 3 ปีย้อนหลัง หากเพิ่มขึ้นหรือลดลงทั้ง 3 ปีให้กรอกข้อมูลว่า เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง/ลดลงต่อเนื่อง หากข้อมูลเพิ่มขึ้นและลดลงเพียง 1 หรือ 2 ปี(ไม่ต่อเนื่อง) ไม่พิจารณาปีสุดท้ายว่าเพิ่มมากขึ้น หรือลดลงจากปีก่อนหน้า และกรอก ข้อมูล ในช่องผลการพัฒนาว่า เพิ่มขึ้น/ลดลง ไทย คณิต วิทย์ สังคม สุข ศิลปะ การงาน ตปท ภาพรวม เฉลี่ย ปีการศึกษา 2564 51.83 43.40 48.30 51.28 65.69 63.21 57.98 51.41 52.48 ปีการศึกษา 2565 70.58 48.70 77.43 57.10 83.56 80.53 80.98 62.07 66.99 ปีการศึกษา 2566 64.01 46.17 74.20 60.29 86.08 81.19 67.02 67.31 68.47 0.00 20.00 40.00 60.00 80.00 100.00 แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 - 2565 - 2566


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 14 5) ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ปีการศึกษา 2566 แหล่งที่มาข้อมูล: งานวัดและประเมินผลการศึกษา/กลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (ข้อมูล ณ วันที่ 29 มีนาคม 2567) 1. ผลการประเมินกิจกรรมแนะแนว แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2566 ภาคเรียนที่ 1 ระดับชั้น จำนวนนักเรียน ทั้งหมด จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ ผ่าน ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ มัธยมศึกษาปีที่ 1 328 315 96.04 13 3.96 มัธยมศึกษาปีที่ 2 262 249 95.04 13 4.96 มัธยมศึกษาปีที่ 3 245 223 91.02 22 8.98 มัธยมศึกษาปีที่ 4 242 237 97.93 5 2.07 มัธยมศึกษาปีที่ 5 267 245 91.76 22 8.24 มัธยมศึกษาปีที่ 6 222 208 93.69 14 6.31 รวม 1,566 1,477 94.32 89 5.68 เฉลี่ยตามเกณฑ์ร้อยละ 1,477 94.32 89 5.68 2. ผลการประเมินกิจกรรมแนะแนว แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2566 ภาคเรียนที่ 2 ระดับชั้น จำนวนนักเรียน ทั้งหมด จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ ผ่าน ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ มัธยมศึกษาปีที่ 1 328 304 94.11 19 5.89 มัธยมศึกษาปีที่ 2 255 232 91.69 21 8.31 มัธยมศึกษาปีที่ 3 232 208 89.66 22 9.48 มัธยมศึกษาปีที่ 4 240 227 95.00 13 5.00 มัธยมศึกษาปีที่ 5 258 241 93.41 17 6.59 มัธยมศึกษาปีที่ 6 213 198 92.95 15 7.05 รวม 1,526 1,411 92.89 108 7.11 เฉลี่ยตามเกณฑ์ร้อยละ 1,411 92.89 108 7.11 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 96.04 95.04 91.02 97.93 91.76 93.69 92.68 90.98 90.95 94.58 93.41 92.96 แผนภูมิแสดงร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินกิจกรรมแนะแนว ได้ระดับ "ผ่าน" ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 15 3. ผลการประเมินกิจกรรมชุมนุม แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2566 ภาคเรียนที่ 1 ระดับชั้น จำนวนนักเรียน ทั้งหมด จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ ผ่าน ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ มัธยมศึกษาปีที่ 1 328 239 72.87 89 4.60 มัธยมศึกษาปีที่ 2 262 215 82.06 47 5.79 มัธยมศึกษาปีที่ 3 245 220 89.80 25 7.56 มัธยมศึกษาปีที่ 4 242 237 97.93 5 7.44 มัธยมศึกษาปีที่ 5 267 199 74.53 68 6.08 มัธยมศึกษาปีที่ 6 222 175 78.83 47 8.60 รวม 1,566 1,305 83.33 261 6.52 เฉลี่ยตามเกณฑ์ร้อยละ 1,305 83.33 261 6.52 4. ผลการประเมินกิจกรรมชุมนุม แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2566 ภาคเรียนที่ 2 ระดับชั้น จำนวนนักเรียน ทั้งหมด จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ ผ่าน ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ มัธยมศึกษาปีที่ 1 328 293 90.71 35 10.67 มัธยมศึกษาปีที่ 2 255 224 88.54 31 12.16 มัธยมศึกษาปีที่ 3 232 194 83.62 21 9.05 มัธยมศึกษาปีที่ 4 240 216 90.00 13 5.42 มัธยมศึกษาปีที่ 5 258 212 82.17 46 17.83 มัธยมศึกษาปีที่ 6 213 193 90.61 20 9.39 รวม 1,526 1,332 87.68 194 12.71 เฉลี่ยตามเกณฑ์ร้อยละ 1,332 87.68 189 12.32 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 72.87 82.06 89.80 97.93 74.53 78.83 89.33 87.84 83.62 90.00 82.17 90.61 แผนภูมิแสดงร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินกิจกรรมชุมนุม ได้ระดับ "ผ่าน" ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 16 5. ผลการประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2566 ภาคเรียนที่ 1 ระดับชั้น จำนวนนักเรียน ทั้งหมด จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ ผ่าน ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ มัธยมศึกษาปีที่ 1 328 221 67.38 107 32.62 มัธยมศึกษาปีที่ 2 262 185 70.61 77 29.39 มัธยมศึกษาปีที่ 3 245 236 96.33 9 3.67 มัธยมศึกษาปีที่ 4 242 226 93.39 16 6.61 มัธยมศึกษาปีที่ 5 267 190 71.16 77 28.84 มัธยมศึกษาปีที่ 6 222 176 79.28 46 20.72 รวม 1,566 1,234 78.80 332 21.20 เฉลี่ยตามเกณฑ์ร้อยละ 1,234 78.80 332 21.20 6. ผลการประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2566 ภาคเรียนที่ 2 ระดับชั้น จำนวนนักเรียน ทั้งหมด จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ ผ่าน ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ มัธยมศึกษาปีที่ 1 328 287 87.50 41 12.50 มัธยมศึกษาปีที่ 2 255 187 73.33 68 26.67 มัธยมศึกษาปีที่ 3 232 194 83.62 21 9.05 มัธยมศึกษาปีที่ 4 240 216 90.00 13 5.42 มัธยมศึกษาปีที่ 5 258 223 86.43 35 13.57 มัธยมศึกษาปีที่ 6 213 189 88.73 24 11.27 รวม 1,526 1,296 84.93 230 15.07 เฉลี่ยตามเกณฑ์ร้อยละ 1,296 84.93 230 15.07 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 67.38 70.61 96.33 93.39 71.16 79.28 87.50 73.33 83.62 90.00 86.43 88.73 แผนภูมิแสดงร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินกิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน์ ได้ระดับ "ผ่าน" ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 17 7. ผลการประเมินกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารีแยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.3 ปีการศึกษา 2566 ภาคเรียนที่ 1 ระดับชั้น จำนวนนักเรียน ทั้งหมด จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ ผ่าน ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ มัธยมศึกษาปีที่ 1 328 241 73.48 87 26.52 มัธยมศึกษาปีที่ 2 262 216 82.44 46 17.56 มัธยมศึกษาปีที่ 3 245 223 91.02 22 8.98 รวม 835 680 81.44 155 18.56 เฉลี่ยตามเกณฑ์ร้อยละ 680 81.44 155 18.56 8. ผลการประเมินกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารีแยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.3 ปีการศึกษา 2566 ภาคเรียนที่ 2 ระดับชั้น จำนวนนักเรียน ทั้งหมด จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ ผ่าน ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ มัธยมศึกษาปีที่ 1 328 303 92.38 25 7.62 มัธยมศึกษาปีที่ 2 255 225 88.24 30 11.76 มัธยมศึกษาปีที่ 3 232 211 90.95 21 9.05 รวม 815 739 90.67 76 9.33 เฉลี่ยตามเกณฑ์ร้อยละ 739 90.67 76 9.33 9. ผลการประเมินกิจกรรมนักศึกษาวิชาทหาร แยกตามระดับชั้น ม.4 – ม.6 ปีการศึกษา 2566 ระดับชั้น จำนวนนักเรียน ทั้งหมด จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ ผ่าน ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ มัธยมศึกษาปีที่ 4 17 17 100 - - มัธยมศึกษาปีที่ 5 13 13 100 - - มัธยมศึกษาปีที่ 6 29 29 100 - - รวม 59 59 100 - - เฉลี่ยตามเกณฑ์ร้อยละ 59 100 - - ม.1 ม.2 ม.3 73.48 82.44 92.38 88.24 91.02 90.95 แผนภูมิแสดงร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ได้ระดับ "ผ่าน" ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 18 6) ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์แยกตามระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ปีการศึกษา 2566 แหล่งที่มาข้อมูล: งานวัดและประเมินผลการศึกษา (ข้อมูล ณ วันที่ 29 มีนาคม 2567) 3. การเปรียบเทียบผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2566 ระดับชั้น ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตั้งแต่ระดับดี(2) ขึ้นไป ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 รวม (ร้อยละ) มัธยมศึกษาปีที่ 1 ๙๖.๓๒ ๙๒.๒๓ ๙๔.๒๗ มัธยมศึกษาปีที่ 2 ๙๕.๒๘ ๙๑.๑๕ ๙๓.๒๑ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ๙๓.๐๕ ๙๑.๑๕ ๙๒.๑0 มัธยมศึกษาปีที่ 4 ๙๓.๒๕ ๙๒ ๙๒.๖๒ มัธยมศึกษาปีที่ 5 ๙๖.๑ ๙๔.๘ ๙๕.๔๕ มัธยมศึกษาปีที่ 6 ๙๒.๔๕ ๙๒.๑ ๙๒.๒๗ รวม ๙๔.๔๑ ๙๒.๒๓ ๙๓.๓๒ 1. ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2566 ภาคเรียนที่ 1 ระดับชั้น จำนวน นักเรียน ทั้งหมด ดีเยี่ยม (3) ดี(2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0) นักเรียนที่ได้ระดับ คุณภาพตั้งแต่ระดับ ดี(2) ขึ้นไป จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ ม. 1 328 281 85.67 35 10.67 12 3.66 0 0.00 316 96.34 ม. 2 262 221 84.35 29 11.07 12 4.58 0 0.00 250 95.42 ม. 3 245 206 84.08 23 9.39 16 6.53 0 0.00 229 93.47 ม. 4 242 206 85.12 19 7.85 17 7.02 0 0.00 225 92.98 ม. 5 267 246 92.13 11 4.12 10 3.75 0 0.00 257 96.25 ม. 6 222 196 88.29 9 4.05 17 7.66 0 0.00 205 92.34 รวม 1,566 1,356 86.59 123 7.85 87 5.56 0 0.00 1,479 94.44 2. ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2566 ภาคเรียนที่ 2 ระดับชั้น จำนวน นักเรียน ทั้งหมด ดีเยี่ยม (3) ดี(2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0) นักเรียนที่ได้ระดับ คุณภาพตั้งแต่ระดับ ดี(2) ขึ้นไป จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ ม. 1 328 285 86.89 18 5.49 25 7.62 0 0.00 303 92.38 ม. 2 255 215 84.31 17 6.67 23 9.02 0 0.00 232 90.98 ม. 3 232 197 84.91 14 6.03 21 9.05 0 0.00 211 90.95 ม. 4 240 199 82.92 21 8.75 27 11.25 0 0.00 220 91.67 ม. 5 258 231 89.53 13 5.04 14 5.43 0 0.00 244 94.57 ม. 6 213 182 85.45 14 6.57 17 7.98 0 0.00 196 92.02 รวม 1,526 1,308 85.71 99 6.49 119 7.80 0 0.00 1,407 92.20


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 19 4. การเปรียบเทียบร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตั้งแต่ระดับดี(2) ขึ้นไป แยกตามระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ปีการศึกษา 2564 - 2565 - 2566 (3 ปีย้อนหลัง) ระดับชั้น ร้อยละของนักเรียนที่ได้ตั้งแต่ระดับดี(2) ขึ้นไป ปีการศึกษา ผลการพัฒนาต่อเนื่อง 2564 ปีการศึกษา 2565 ปีการศึกษา 2566 มัธยมศึกษาปีที่ 1 ๙๕.๖๔ ๙๔.๕๒ ๙๔.๒๗ ลดลง ต่อเนื่อง มัธยมศึกษาปีที่ 2 ๘๙.๕๑ ๙๔.๑๔ ๙๓.๒๑ ลดลง มัธยมศึกษาปีที่ 3 ๘๘.๙๓ ๙๐.๔๓ ๙๒.๑0 เพิ่มขึ้น ต่อเนื่อง มัธยมศึกษาปีที่ 4 ๙๔.๗๓ ๙๕.๖๔ ๙๒.๖๒ ลดลง มัธยมศึกษาปีที่ 5 ๙๓.๘๕ ๙๔.๔๔ ๙๕.๔๕ เพิ่มขึ้น ต่อเนื่อง มัธยมศึกษาปีที่ 6 ๙๔.๘๒ ๙๑.๐๔ ๙๒.๒๗ เพิ่มขึ้น ต่อเนื่อง รวม ๙๒.๙๑ ๙๓.๓๙ ๙๓.๓๒ ลดลง หมายเหตุ: ผลการพัฒนาพิจารณาจาก 3 ปีย้อนหลัง หากเพิ่มขึ้นหรือลดลงทั้ง 3 ปีให้กรอกข้อมูลว่าเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง/ลดลงต่อเนื่อง หากข้อมูลเพิ่มขึ้นและลดลงเพียง 1 หรือ 2 ปี(ไม่ต่อเนื่อง) ไม่พิจารณาปีสุดท้ายว่าเพิ่มมากขึ้น หรือลดลงจากปีก่อนหน้า และกรอกข้อมูล ในช่องผลการพัฒนาว่าเพิ่มขึ้น/ลดลง ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ ม. ๕ ม. ๖ ภาพรวม ปีการศึกษา 2564 ๙๕.๖๔ ๘๙.๕๑ ๘๘.๙๓ ๙๔.๗๓ ๙๓.๘๕ ๙๔.๘๒ ๙๒.๙๑ ปีการศึกษา 2565 ๙๔.๕๒ ๙๔.๑๔ ๙๐.๔๓ ๙๕.๖๔ ๙๔.๔๔ ๙๑.๐๔ ๙๓.๓๙ ปีการศึกษา 2566 ๙๔.๒๗ ๙๓.๒๑ ๙๒.๑ ๙๒.๖๒ ๙๕.๔๕ ๙๒.๒๗ ๙๓.๓๒ ๘๔. ๘๖. ๘๘. ๙๐. ๙๒. ๙๔. ๙๖. ๙๘. แผนภูมิเปรียบเทียบผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ แยกตามระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ปีการศึกษา 2564 - 2565 - 2566


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 20 7) ผลการประเมินการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน แยกตามระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ปีการศึกษา 2566 แหล่งที่มาข้อมูล: งานวัดและประเมินผลการศึกษา (ข้อมูล ณ วันที่ 29 มีนาคม 2567) 3. การเปรียบเทียบผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2566 ระดับชั้น ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตั้งแต่ระดับดี(2) ขึ้นไป ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 รวม (ร้อยละ) มัธยมศึกษาปีที่ 1 95.43 92.68 ๙๔.๐๕ มัธยมศึกษาปีที่ 2 92.37 82.75 ๘๗.๕๖ มัธยมศึกษาปีที่ 3 96.33 93.10 ๙๔.๗๑ มัธยมศึกษาปีที่ 4 95.45 85.83 ๙๐.๖๔ มัธยมศึกษาปีที่ 5 95.51 93.80 ๙๔.๖๕ มัธยมศึกษาปีที่ 6 90.09 89.67 ๘๙.๘๘ รวม 94.32 89.78 ๙๒.๐๕ 1. ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2566 ภาคเรียนที่ 1 ระดับชั้น จำนวน นักเรียน ทั้งหมด ดีเยี่ยม (3) ดี(2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0) นักเรียนที่ได้ระดับ คุณภาพตั้งแต่ระดับ ดี(2) ขึ้นไป จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ ม. 1 328 255 77.74 58 17.68 6 1.83 9 2.74 313 95.43 ม. 2 262 212 80.92 30 11.45 8 3.05 12 4.58 242 92.37 ม. 3 245 225 91.84 11 4.49 0 0.00 9 3.67 236 96.33 ม. 4 242 189 78.10 42 17.36 7 2.89 4 1.65 231 95.45 ม. 5 267 241 90.26 14 5.24 2 0.75 10 3.75 255 95.51 ม. 6 222 177 79.73 23 10.36 2 0.90 20 9.01 200 90.09 รวม 1,566 1,299 82.95 178 11.37 25 1.60 64 4.09 1,477 94.32 2. ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2566 ภาคเรียนที่ 2 ระดับชั้น จำนวน นักเรียน ทั้งหมด ดีเยี่ยม (3) ดี(2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0) นักเรียนที่ได้ระดับ คุณภาพตั้งแต่ระดับ ดี(2) ขึ้นไป จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ ม. 1 328 296 90.24 8 2.44 9 2.74 15 4.57 304 92.68 ม. 2 255 191 74.90 20 7.84 15 5.88 29 11.37 211 82.75 ม. 3 232 205 88.36 11 4.74 1 0.43 15 6.47 216 93.10 ม. 4 240 165 68.75 41 17.08 18 7.50 16 6.67 206 85.83 ม. 5 258 204 79.07 38 14.73 5 1.94 11 4.26 242 93.80 ม. 6 213 173 81.22 18 8.45 0 0.00 22 10.33 191 89.67 รวม 1,526 1,234 80.87 136 8.91 48 3.15 108 7.08 1,370 89.78


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 21 4. การเปรียบเทียบร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ตั้งแต่ระดับดี(2) ขึ้นไป แยกตามระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ปีการศึกษา 2564 - 2565 - 2566 (3 ปีย้อนหลัง) ระดับชั้น ร้อยละของนักเรียนที่ได้ตั้งแต่ระดับดี(2) ขึ้นไป ปีการศึกษา ผลการพัฒนาต่อเนื่อง 2564 ปีการศึกษา 2565 ปีการศึกษา 2566 มัธยมศึกษาปีที่ 1 ๘๔.๑๗ ๙๒.๙๑ ๙๔.๐๕ เพิ่มขึ้น ต่อเนื่อง มัธยมศึกษาปีที่ 2 ๙๐.๕๓ ๙๒.๖๕ ๘๗.๕๖ เพิ่มขึ้น/ลดลง มัธยมศึกษาปีที่ 3 ๘๘.๖๒ ๙๒.๒๗ ๙๔.๗๑ เพิ่มขึ้น ต่อเนื่อง มัธยมศึกษาปีที่ 4 ๙๑.๑๘ ๙๖.๕๐ ๙๐.๖๔ เพิ่มขึ้น/ลดลง มัธยมศึกษาปีที่ 5 ๘๖.๔๖ ๙๔.๙๑ ๙๔.๖๕ เพิ่มขึ้น/ลดลง มัธยมศึกษาปีที่ 6 ๙๔.๐๒ ๙๑.๘๘ ๘๙.๘๘ ลดลง ต่อเนื่อง รวม ๘๙.๑๖ ๙๓.๕๙ ๙๒.๐๕ เพิ่มขึ้น/ลดลง หมายเหตุ: ผลการพัฒนาพิจารณาจาก 3 ปีย้อนหลัง หากเพิ่มขึ้นหรือลดลงทั้ง 3 ปีให้กรอกข้อมูลว่าเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง/ลดลงต่อเนื่อง หากข้อมูลเพิ่มขึ้นและลดลงเพียง 1 หรือ 2 ปี(ไม่ต่อเนื่อง) ไม่พิจารณาปีสุดท้ายว่าเพิ่มมากขึ้น หรือลดลงจากปีก่อนหน้า และกรอกข้อมูล ในช่องผลการพัฒนาว่าเพิ่มขึ้น/ลดลง ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ ม. ๕ ม. ๖ ภาพรวม ปีการศึกษา 2564 ๘๔.๑๗ ๙๐.๕๓ ๘๘.๖๒ ๙๑.๑๘ ๘๖.๔๖ ๙๔.๐๒ ๘๙.๑๖ ปีการศึกษา 2565 ๙๒.๙๑ ๙๒.๖๕ ๙๒.๒๗ ๙๖.๕ ๙๔.๙๑ ๙๑.๘๘ ๙๓.๕๙ ปีการศึกษา 2566 ๙๔.๐๕ ๘๗.๕๖ ๙๔.๗๑ ๙๐.๖๔ ๙๔.๖๕ ๘๙.๘๘ ๙๒.๐๕ ๗๘. ๘๐. ๘๒. ๘๔. ๘๖. ๘๘. ๙๐. ๙๒. ๙๔. ๙๖. ๙๘. แผนภูมิเปรียบเทียบผลการประเมินการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน แยกตามระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ปีการศึกษา 2564 - 2565 - 2566


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 22 8) ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน แยกตามระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ปีการศึกษา 2566 แหล่งที่มาข้อมูล: งานวัดและประเมินผลการศึกษา (ข้อมูล ณ วันที่ 29 มีนาคม 2567) 1. ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2566 ภาคเรียนที่ 1 ระดับชั้น จำนวน นักเรียน ทั้งหมด ดีเยี่ยม (3) ดี(2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0) นักเรียนที่ได้ระดับ คุณภาพตั้งแต่ระดับ ดี(2) ขึ้นไป จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ ม. 1 328 241 73.48 71 21.65 16 4.88 0 0.00 312 95.12 ม. 2 262 202 77.10 41 15.65 19 7.25 0 0.00 243 92.75 ม. 3 245 155 63.27 40 16.33 50 20.41 0 0.00 195 79.59 ม. 4 242 168 69.42 64 26.45 10 4.13 0 0.00 232 95.87 ม. 5 267 226 84.64 26 9.74 15 5.62 0 0.00 252 94.38 ม. 6 222 147 66.22 40 18.02 35 15.77 0 0.00 187 84.23 รวม 1,566 1,139 72.73 282 18.01 145 9.26 0 0.00 1,421 90.74 2. ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2566 ภาคเรียนที่ 2 ระดับชั้น จำนวน นักเรียน ทั้งหมด ดีเยี่ยม (3) ดี(2) ผ่าน (1) ไม่ผ่าน (0) นักเรียนที่ได้ระดับ คุณภาพตั้งแต่ระดับ ดี(2) ขึ้นไป จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ ม. 1 328 226 68.90 75 22.87 27 8.23 0 0.00 301 91.77 ม. 2 255 176 69.02 52 20.39 27 10.59 0 0.00 228 89.41 ม. 3 232 160 68.97 29 12.50 43 18.53 0 0.00 189 81.47 ม. 4 240 157 65.42 66 27.50 17 7.08 0 0.00 223 92.92 ม. 5 258 215 83.33 33 12.79 10 3.88 0 0.00 248 96.12 ม. 6 213 136 63.85 45 21.13 32 15.02 0 0.00 181 84.98 รวม 1,526 1,070 70.12 300 19.66 156 10.22 0 0.00 1,370 89.78 3. ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ตั้งแต่ระดับดี(2) ขึ้นไป แยกตามสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5 ด้าน ระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2566 ภาคเรียนที่ 1 ระดับชั้น จำนวน นักเรียน ทั้งหมด ความสามารถใน การสื่อสาร ความสามารถใน การคิด ความสามารถใน การแก้ปัญหา ความสามารถใน การใช้ทักษะชีวิต ความสามารถใน การใช้เทคโนโลยี จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ ม. 1 328 307 93.60 300 91.46 310 94.51 318 96.95 319 97.26 ม. 2 262 250 95.42 240 91.60 245 93.51 247 94.27 258 98.47 ม. 3 245 238 97.14 231 94.29 238 97.14 236 96.33 227 92.65 ม. 4 242 234 96.69 234 96.69 235 97.11 229 94.63 231 95.45 ม. 5 267 254 95.13 242 90.64 252 94.38 250 93.63 249 93.26 ม. 6 222 218 98.20 200 90.09 209 94.14 210 94.59 215 96.85 รวม 1,566 1,501 95.85 1,447 92.40 1,489 95.08 1,490 95.15 1,499 95.72


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 23 3. การเปรียบเทียบผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน แยกตามระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2566 ระดับชั้น ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ตั้งแต่ระดับดี(2) ขึ้นไป ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 รวม (ร้อยละ) มัธยมศึกษาปีที่ 1 95.12 91.77 ๙๓.๔๔ มัธยมศึกษาปีที่ 2 92.75 89.41 ๙๑.๐๘ มัธยมศึกษาปีที่ 3 79.59 81.47 ๘๐.๕๓ มัธยมศึกษาปีที่ 4 95.87 92.92 ๙๔.๓๙ มัธยมศึกษาปีที่ 5 94.38 96.12 ๙๕.๒๕ มัธยมศึกษาปีที่ 6 84.23 84.98 ๘๔.๖๐ รวม 90.74 89.78 ๙๐.๒๖ 9) จำนวนนักเรียนที่จบหลักสูตร ปีการศึกษา 2566 แหล่งที่มาข้อมูล: งานวัดและประเมินผลการศึกษา/งานทะเบียนและเทียบโอน (ข้อมูล ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2567) 4. ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ตั้งแต่ระดับดี(2) ขึ้นไป แยกตามสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5 ด้าน ระดับชั้น ม.1 – ม.6 ปีการศึกษา 2566 ภาคเรียนที่ 2 ระดับชั้น จำนวน นักเรียน ทั้งหมด ความสามารถใน การสื่อสาร ความสามารถใน การคิด ความสามารถใน การแก้ปัญหา ความสามารถใน การใช้ทักษะชีวิต ความสามารถใน การใช้เทคโนโลยี จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ ม. 1 328 319 97.26 288 87.80 318 96.95 295 89.94 295 89.94 ม. 2 262 252 98.82 230 90.20 249 97.65 240 94.12 241 94.51 ม. 3 245 236 101.72 226 97.41 228 98.28 228 98.28 221 95.26 ม. 4 242 239 99.58 228 95.00 232 96.67 229 95.42 227 94.58 ม. 5 267 247 95.74 232 89.92 241 93.41 237 91.86 246 95.35 ม. 6 222 210 98.59 198 92.96 200 93.90 195 91.55 198 92.96 รวม 1,566 1,503 98.49 1,402 91.87 1,468 96.20 1,424 93.32 1,428 93.58 จำนวนร้อยละของนักเรียนที่สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2566 ระดับชั้น จำนวนนักเรียนทั้งหมด สำเร็จการศึกษา ไม่สำเร็จการศึกษา จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ มัธยมศึกษาปีที่ 3 232 181 78.02 51 21.98 มัธยมศึกษาปีที่ 6 212 149 69.95 63 29.72 รวม 444 330 74.32 114 25.68


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 24 1.7 ข้อมูลการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา ปีการศึกษา 2566 1. ตารางแสดงข้อมูลการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2566 ลำดับ ที่ ชื่อแหล่งเรียนรู้ หน่วยงานที่รับผิดชอบ สถิติผู้เข้าใช้ แหล่งเรียนรู้ (จำนวนคน) สถิติการใช้ แหล่งเรียนรู้ (จำนวนครั้ง) 1 ห้องสมุดรติสุรกานต์ กลุ่มบริหารวิชาการ 4,386 4,386 2 ห้องเรียน DLIT กลุ่มสาระฯภาษาไทย 1,174 147 3 ห้อง GSP กลุ่มสาระฯคณิตศาสตร์ 1,850 57 4 ห้อง Knowledge Center กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ฯ 227 7 5 ห้องศูนย์ประชาคมอาเซียนศึกษา กลุ่มสาระฯสังคมศึกษาฯ 840 26 6 ห้องจริยธรรม กลุ่มสาระฯสังคมศึกษาฯ 320 10 7 ห้องดนตรีสากล กลุ่มสาระฯศิลปะ 1,620 50 8 ห้องดนตรีไทย กลุ่มสาระฯศิลปะ 237 26 9 ห้องนาฏศิลป์ กลุ่มสาระฯศิลปะ 46 46 10 ห้องทัศนศิลป์ กลุ่มสาระฯศิลปะ 475 103 11 ห้องสมุดกลุ่มสาระฯสุขศึกษาพลศึกษา กลุ่มสาระฯสุขศึกษาฯ 350 10 12 ห้องฟิตเนส กลุ่มสาระฯสุขศึกษาฯ 69 88 13 ห้องสมุดกลุ่มสาระฯการงานอาชีพ กลุ่มสาระฯการงานอาชีพ 298 10 14 ห้องศูนย์การเรียนรู้ภาษาด้วยตนเอง กลุ่มสาระฯภาษาต่างประเทศ 155 155 15 ห้องไอทีซิตี้แบงก์ กลุ่มสาระฯคณิตศาสตร์ 985 30 16 ห้องศูนย์คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระฯคณิตศาสตร์ 785 24 รวม 13,817 5,175


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 25 2. ตารางแสดงข้อมูลการใช้แหล่งเรียนรู้ภายนอกสถานศึกษา ปีการศึกษา 2566 ลำดับ ที่ ชื่อแหล่งเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ที่นำนักเรียนศึกษาแหล่ง เรียนรู้ภายนอก สถิติผู้เข้าใช้ แหล่งเรียนรู้ (จำนวนคน) สถิติการใช้ แหล่งเรียนรู้ (จำนวนครั้ง) 1 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโ นโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ฯ 6 1 2 องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (สพวช.) จ.ปทุมธานี กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ฯ 2 1 3 มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2566 อิมแพคอารีนา กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ฯ 66 1 4 การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 71 กลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ฯ 2 1 5 โรงแรมบางกะปิ กลุ่มสาระฯภาษาต่างประเทศ 6 1 6 โรงเรียนสตรีวิทยา 2 กลุ่มสาระฯภาษาต่างประเทศ 6 1 7 การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 71 งานห้องสมุด 6 1 8 โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กลุ่มสาระฯ การงานอาชีพ 10 1 9 การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 71 กลุ่มสาระฯ การงานอาชีพ 6 2 10 สนามฟุตซอล สำนักงานเขตคลองเตย กลุ่มสาระฯสุขศึกษาฯ 15 1 11 สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ คลอง 6 ปทุมธานี กลุ่มสาระฯสุขศึกษาฯ 45 3 12 สนามกีฬาจังหวัดชลบุรี กลุ่มสาระฯสุขศึกษาฯ 9 1 13 การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 71 กลุ่มสาระฯศิลปะ 8 1


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 26 14 วัดดอกไม้ กลุ่มสาระฯศิลปะ 9 1 15 ทัศนศึกษา ณ สวนสนุกดรีมเวิลด์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1,540 2 16 มหาวิทยาลัย North Bangkok University กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 57 1 17 งาน Job Expo Thailand กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 2 1 รวม 1,795 21 แหล่งที่มาข้อมูล: งานสานสนเทศโรงเรียน งานห้องสมุด และงานสารสนเทศกลุ่มสาระการเรียนรู้(ข้อมูล ณ วันที่ 29 มีนาคม 2567) 3. ตารางแสดงข้อมูลการใช้แหล่งเรียนรู้ในรูปแบบสื่อนวัตกรรมการเรียนรู้รูปแบบออนไลน์ปีการศึกษา 2566 ลำดับ ที่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวนครู ในกลุ่มสาระการเรียนรู้(คน) จำนวน นวัตกรรม สถิติการ เข้าถึง นวัตกรรม (จำนวนครั้ง) 1 ภาษาไทย 8 5 300 2 คณิตศาสตร์ 10 5 350 3 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 15 10 745 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 9 4 300 5 สุขศึกษาและพลศึกษา 6 5 520 6 ศิลปะ 5 4 705 7 การงานอาชีพ 7 5 325 8 ภาษาต่างประเทศ 12 10 980 9 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3 3 895 รวม 51 5,120


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 27 1.8 ข้อมูลด้านอาคารสถานที่ ที่ รายการ จำนวน 1 อาคารเรียน 3 2 อาคารปฏิบัติการ 1 3 ห้องสำนักงานกลุ่มบริหารทั่วไป 1 4 ศาลาหลวงพ่อสุโขทัยชัยมงคล 1 5 ศาลาสบายใจ 1 6 ห้องประชาสัมพันธ์ 1 7 ห้องพยาบาลและร้านค้าสวัสดิการ 1 8 เวทีกลาง 1 9 เสาธงโรงเรียน 1 10 หมายเลข ๑๒ ศาลพระภูมิ 1 11 หมายเลข ๑๓ อาคารบ้านพัก 1 12 หมายเลข ๑๔ อาคารบ้านพัก 1 13 หมายเลข ๑๕ ห้องสำนักงานกลุ่มบริหารทั่วไป 1 14 หมายเลข ๑๖ ห้องน้ำนักเรียนชาย 1 15 หมายเลข ๑๗ ห้องน้ำนักเรียนหญิง 1 1.9 ข้อมูลด้านนวัตกรรม/แบบอย่างที่ดี(Innovation /Best Practice) ที่ ชื่อ นวัตกรรม/แบบอย่างที่ดี ระดับการศึกษา มาตรฐานด้าน 1 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก เรื่อง คำราชาศัพท์ ขั้นพื้นฐาน ด้านที่ 3 2 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก เรื่อง การลำเลียงสาร เข้า - ออกเซลล์ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ื1 ขั้นพื้นฐาน ด้านที่ 3 3 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก เรื่อง การสร้างสรรค์งาน ทัศนศิลป์2 มิติและ 3 มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และ จินตนาการ “เรื่องภาพฉาย” ขั้นพื้นฐาน ด้านที่ 3 4 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก เรื่อง เรื่อง การถามและการบอก ทิศทาง รายวิชาภาษาอังกฤษ ขั้นพื้นฐาน ด้านที่ 3 5 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก เรื่อง เรื่อง การฝึกก้าวกระโดด ยิงประตูใต้ห่วงโดยใช้รอยเท้าเป็นเครื่องมือในกีฬาบาสเก็ตบอล รายวิชากีฬา 2 ขั้นพื้นฐาน ด้านที่ 3 6 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก เรื่อง พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ขั้นพื้นฐาน ด้านที่ 3


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 28 7 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก เรื่อง การใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว ตามเทคนิคการเสริมแรงเพื่อพัฒนามารยาท ทางสังคมของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ขั้นพื้นฐาน ด้านที่ 3 8 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก เรื่อง ขั้นพื้นฐาน ด้านที่ 3 9 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก เรื่อง ขั้นพื้นฐาน ด้านที่ 3 1.10 ข้อมูลด้านรางวัลที่สถานศึกษาได้รับ (ระดับสูงที่สุด/โดดเด่น ย้อนหลัง 3 ปี) ลำดับที่ ชื่อรางวัล หน่วยงาน ที่มอบรางวัล ประเภทรางวัล ระดับรางวัล ปีที่ได้รับ รางวัล 1 รางวัลโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำ รุ่นที่ 14 สำนักงาน คณะกรรมการ การศึกษาขั้น พื้นฐาน ⚫ สถานศึกษา ⚫ ภาค/ ประเทศ 2566 2 รางวัลผลงานคุณภาพต้นแบบ โรงเรียนที่มีแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) การน้อมนำ พระบรมราโชบายด้านการศึกษา ของในหลวงรัชกาลที่ 10 สู่การ ปฏิบัติประจำปี2566 ด้าน พลเมืองดีที่มีจิตอาสา สำนักงาน คณะกรรมการ การศึกษาขั้น พื้นฐาน ⚫ สถานศึกษา ⚫ ภาค/ ประเทศ 2566 3 รางวัลเกียรติคุณ รางวัลไทย รางวัลเกียรติยศบนเส้นทางชีวิต “รางวัลการศึกษาดีเด่นแห่งปี” ประจำปี2566 สาขา ครูผู้สอน ดีเด่น มูลนิธิเพื่อ สังคมไทย คณะกรรมการ รางวัลเกียรติ คุณรางวัลไทย ⚫ ครู ⚫ ภาค/ ประเทศ 2566


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 29 1.11 ข้อมูลเกียรติยศและผลงานดีเด่นของสถานศึกษา ลำดับที่ เกียรติประวัติ หน่วยงานที่ยกย่อง ปีการศึกษา 2564 1 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับ โล่เกียรติยศ ผู้สนับสนุนโครงการ และเกียรติบัตร รางวัล เชิดชูเกียรติจากนายกรัฐมนตรีรางวัลขับเคลื่อนศูนย์ ครอบครัวพอเพียงดีเด่น ระดับกรุงเทพมหานคร “ระดับ ดีเยี่ยม” มูลนิธิครอบครัวพอเพียง 2 นางสาวอรอนงค์วงศา ได้รับโล่รางวัลเชิดชูเกียรติจาก นายกรัฐมนตรี“รางวัลครูดีศรีแผ่นดิน” มูลนิธิครอบครัวพอเพียง 3 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับ เกียรติบัตรโรงเรียนคุณธรรม ระดับสองดาว สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ เข้า ประกวดโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ“เยาวชน ไทย ทำดีถวายในหลวง” เข้ารอบคัดเลือก 1 ใน 3 ทีม สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5 โรงเรียนทำบันทึกข้อตกลงทางการศึกษา (MOU) กับ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ 6 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับ รางวัล ชนะเลิศ 5 เหรียญทอง 3 เหรียญเงิน ถ้วยรางวัล ชนะเลิศอันดับ 1 ประเภทท่ารำ รางวัลโค้ชยอดเยี่ยม และรางวัลทีมยอดเยี่ยม 1 รางวัล จากการแข่งขันกีฬา เทควันโด “TUNNARA TAEKWONDO CHAMPIONSHIP” ครั้งที่ 3 ณ ศูนย์การค้าเดอะพาลาเดียม เวิลด์จังหวัด กรุงเทพมหานคร ศูนย์การค้า เดอะพาลาเดียม เวิลด์ช้อปปิ้ง และ พาลาเดี่ยม ไอทีประตูน้ำ 7 คุณครูเข้าร่วมโครงการ “ครูดีในดวงใจ” ครั้งที่ 19 ประจำปี2565 ระดับสหวิทยาเขตราชนครินทร์คือ นายจักรพันธ์ พานสะอาด และนางสาวจิราวรรณ เสียมภูเขียว สหวิทยาเขตราชนครินทร์ 8 นางสาวสุทธินีแก้ววิไล ได้รับเกียรติบัตรรางวัล “คุรุชน คนคุณธรรม” ประเภทผู้บริหารสถานศึกษา ประจำปี พ.ศ. 2564 สำนักเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 2 9 นายปรเวธฎ์เกษมโชค ได้รับเกียรติบัตรเชิดชูเกียรติ พร้อมเข็มกลัดทอง “ปิยชนน์คนการศึกษา” ประจำปี พ.ศ. 2564 สำนักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา กรุงเทพมหานคร 10 นายจิตรกร เขียวอ่อน นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 ได้เข้าร่วมการแข่งขัน A – MATH ในรายการ “Max Ploys Crossword Game A-Math Kumkom Sudoku Ed-Sport Challenge 2021”ณ ศูนย์การค้า เซนทรัลพลาซา บางนา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย บริษัท แม็กซ์พลอยส์อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 30 ลำดับที่ เกียรติประวัติ หน่วยงานที่ยกย่อง จากจำนวนผู้เข้าแข่งขันทั้งสิ้น 96 ทีมทั่วประเทศ, ได้อันดับที่ 12, รายการ “Max Ploys Crossword Game A-Math Kumkom Sudoku and Gold Finger Ed-Sport Challenge 2021 @Tree on 3 ” ณ ศูนย์การค้า Tree on 3 พระราม 3 ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย จากจำนวนผู้เข้าแข่งขันทั้งสิ้น 50 ทีมทั่ว ประเทศ ได้อันดับที่ 8 และรายการ “Seacon Square Crossword Game A-Math Kumkom Sudoku EdSport Challenge 2021 Presented by Max Ploys” ณ ศูนย์การค้าซีคอนสแควร์ศรีนครินทร์ ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย จากจำนวนผู้เข้าแข่งขันทั้งสิ้น 72 ทีมทั่วประเทศ ได้อันดับที่ 10 11 นายสดใส พรมพิมพ์นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 เข้าร่วมการแข่งขัน A – MATH ในรายการ “ Seacon Square Crossword Game A-Math Kumkom Sudoku Ed-Sport Challenge 2 0 2 1 Presented by Max Ploys”ณ ศูนย์การค้าซีคอนส แควร์ศรีนครินทร์ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จาก จำนวนผู้เข้าแข่งขันทั้งสิ้น 72 ทีมทั่วประเทศ ได้อันดับ ที่ 13 บริษัท แม็กซ์พลอยส์อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 12 นางสาวอรอนงค์วงศา ได้รับเกียรติบัตร เนื่องในโอกาส สนับสนุนนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันรายการ “Max Ploys Crossword Game A-Math Kumkom Sudoku Ed-Sport Challenge 2021”, รายการ “Max Ploys Crossword Game A-Math Kumkom Sudoku and Gold Finger Ed-Sport Challenge 2021 @Tree on 3” และรายการ “Seacon Square Crossword Game A-Math Kumkom Sudoku Ed-Sport Challenge 2021 Presented by Max Ploys” บริษัท แม็กซ์พลอยส์อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 13 นางสาวสุทธินีแก้ววิไล ได้รับรางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติ “รองผู้อำนวยการสถานศึกษาผู้ปฏิบัติหน้าที่ดีเด่น” สมาคมรองผู้อำนวยการโรงเรียนมัธยมศึกษา แห่งประเทศไทย 14 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับ รางวัลชนะเลิศ จากการแข่งขันกีฬา เทควันโด “ AYUTHAYA OPEN CHAMPIONSHIPS 2 0 2 1 ” ประเภท พุมเซ่ ( ท่ารำ)” ครั้งที่ 3 ณ ศูนย์การค้า เดอะสกาย ช้อปปิ้งเซ็นเตอร์จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด พระนครศรีอยุธยา และสมาคมกีฬาแห่ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า)


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 31 ลำดับที่ เกียรติประวัติ หน่วยงานที่ยกย่อง ปีการศึกษา 2565 1 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับ การรับรองการประกันคุณภาพภายนอก (พ.ศ. 2565 - 2569) สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา “ระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน” 2 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ เข้าร่วม การแข่งขันตอบปัญหากฎหมาย วันรพีได้ลำดับที่ 1 ได้รับเงินรางวัล 6,000 บาท พร้อมโล่และใบประกาศ เกียรติคุณ ณ ศาลอาญากรุงเทพใต้ ศาลอาญากรุงเทพใต้ 3 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับ โล่และเกียรติบัตรรางวัลขับเคลื่อนศูนย์ครอบครัว พอเพียง “ระดับยอดเยี่ยม”, เกียรติบัตรรางวัลรอง ชนะเลิศอันดับ 2 การขับเคลื่อนพันธกิจ “ด้านสังคม”, เกียรติบัตรรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การขับเคลื่อน พันธกิจ “ด้านประชาธิปไตย”, โล่และเกียรติบัตรรางวัล โรงเรียนและผู้บริหารสถานศึกษาดีเด่น “ด้านการ ขับเคลื่อนโครงการอบรมวิทยากรกระบวนการสื่อ สร้างสรรค์รู้เท่าทันโลกโซเชียลมีเดีย เครือข่ายกระทิง ทาโร่” ม ู ล น ิ ธ ิ ค ร อ บ ค ร ั ว พ อ เ พ ี ย ง ร ่ ว ม กั บ กระทรวงศึกษาธิการ 4 ครูอรอนงค์วงศา ได้รับโล่และเกียรติบัตรรางวัล “ครูดี ศรีแผ่นดิน” ม ู ล น ิ ธ ิ ค ร อ บ ค ร ั ว พ อ เ พ ี ย ง ร ่ ว ม กั บ กระทรวงศึกษาธิการ 5 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับ ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสใน การดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน์(ITA Online) ประจำปีการศึกษา 2565 ด้วยคะแนน 100.00 คะแนน อยู่ในระดับ AA (ดีเยี่ยม) คณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ 6 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้ส่ง นักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาฮับกิโด (ประเทศไทย) ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 (เหรียญเงิน) ประเภท ท่ารำอาวุธ 11-14 ปีหญิง, รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 (เหรียญทองแดง) ประเภทประเภทท่ารำอาวุธ 11-14 ปีชาย, รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 (เหรียญทองแดง) ประเภทประเภทท่ารำอาวุธ 15-17 ปีชาย, รองชนะเลิศอันดับ 1 (เหรียญเงิน) ประเภทท่ารำอาวุธ 18 ปีขึ้นไป ชาย, รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 (เหรียญ ทองแดง) ประเภทท่ารำอาวุธ 18 ปีขึ้นไป หญิง, รางวัล รองชนะเลิศอันดับ 2 (เหรียญทองแดง) ประเภทโชว์คู่ 15 ปีขึ้นไป สมาคมฮับกิโดร่วมกับมหาวิทยาลัยรังสิต 7 นางพลอยกาญจน์ พึ่งเพียร ได้รับรางวัลเกียรติบัตร “บุคคลรัก ศรัทธา เสียสละและอุทิศตนในวิชาชีพ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกรุงเทพมหานคร กระทรวงศึกษาธิการ


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 32 ลำดับที่ เกียรติประวัติ หน่วยงานที่ยกย่อง เพื่อประโยชน์ทางการศึกษา เนื่องในวันครูครั้งที่ 67 ปี2566” 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้ส่ง นายจิตรกร เขียวอ่อน นักเรียนระดับชั้น ม.6/1 เข้าแข่งขันต่อ สมการคณิตศาสตร์ (เอแม็ท) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอน ปลาย จาก 53 โรงเรียนระดับภาคกลางและภาค ตะวันออก ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 เหรียญ ทอง ณ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรีจังหวัดราชบุรี งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน (ระดับชาติ) ครั้งที่ 70 ปีการศึกษา 2565 ภาคกลางและ ภาคตะวันออก (สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน) 9 กลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนได้ส่ง นายพัชรพล แซ่ฉั่ว, นายชัยวัฒน์คหบดีกุล และนายณัฐนนท์แซ่คูนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/6 เข้าแข่งขันจัดทำหนังสือเล่มเล็ก ประเภทบกพร่องทางการเรียนรู้ ม.4 - ม.6 ในงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติครั้งที่ 70 ได้รับ รางวัลเหรียญทอง อันดับที่ 11 ณ ศูนย์การเรียนรู้ ในเมือง มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน (ระดับชาติ) ครั้งที่ 70 ปีการศึกษา 2565 ภาคกลางและ ภาคตะวันออก (สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน) 10 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพได้ส่ง นายกัมพล สันติ โยธินสกุล, นายศรันย์ตีราช, นายสุรเสกข์บังทอง และ นายราเมศ ชาลีพันธุ์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/7 เข้าแข่งขันประดิษฐ์ของใช้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น ม.4 - ม.6 ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติครั้งที่ 70 ได้รับรางวัลเหรียญเงิน อันดับที่ 32 ณ โรงเรียนคุรุ ราษฎร์รังสฤษฏ์ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน (ระดับชาติ) ครั้งที่ 70 ปีการศึกษา 2565 ภาคกลางและ ภาคตะวันออก (สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน) 11 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้ส่ง นางสาวพรทิพย์ พาชื่น นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 เข้าร่วม การแข่งขัน Gold Finger ในรายการ “EduPloys Cross Word Game A–Math Kumkom Sudoku Challenge 2023” @Tree on 3 ได้รับรางวัลรองชน ะเ ลิศ อันดับ 1 (เหรียญเงิน) บริษัท แม็กซ์พลอยส์อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด ปีการศึกษา 2566 1 นางสาววรรษมน หมื่นสนิท นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1 ในการแข่งขัน “ไตรกีฬาภาษาไทย” มูลนิธิครอบครัวพอเพียง 2 กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา ส่งนักกีฬาเข้าแข่งขัน กีฬาฮับกิโดชิงแชมป์ภาคกลาง ที่สนามมหาวิทยาลัยราช ภัฎราชนครินทร์จังหวัดฉะเชิงเทรา ได้รับรางวัลดังนี้ 1. เด็กหญิงกิตติวรรณ เทพเสนา ได้รับรางวัลชนะเลิศ เหรียญทอง ประเภทต่อสู้หญิง อายุ 13-14 ปี 2. เด็กชายณัฐกร มุ่งดีได้รับรางวัลชนะเลิศเหรียญทอง ประเภทต่อสู้ชาย อายุ 13-14 ปี สมาคมฮับกิโดแห่งประเทศไทย


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 33 ลำดับที่ เกียรติประวัติ หน่วยงานที่ยกย่อง 3. เด็กหญิงชมพูนุช รัตน์อ่อน ได้รับรางวัลชนะเลิศ เหรียญทอง ประเภทท่ารำอาวุธหญิง อายุ 11-14 ปี 4. นางสาวภคพร จันทรางกูร ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับ 1 เหรียญเงิน ประเภทท่ารำอาวุธหญิง อายุ 15-17 ปี 5. นายเฉลิมพงศ์สุธีรปรีชานนท์ได้รับรางวัลชนะเลิศ อันดับ 1 เหรียญเงิน ประเภทท่ารำอาวุธชาย อายุ 15- 17 ปี 6. เด็กชายณัฐฏพล วันเครือ ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับ 1 เหรียญทองแดง ประเภทต่อสู้ชาย อายุ 11-12 ปี 7. นางสาวธิรารัตน์แซ่เฮ้ง (ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน) ได้รับรางวัล ชนะเลิศเหรียญทอง ประเภทท่ารำอาวุธหญิง อายุ 18 ปี ขึ้นไป 8. นายธนากรบัวสาย (ผู้ฝึกสอน) ได้รับรางวัลชนะเลิศ เหรียญทอง ประเภทท่ารำอาวุธชาย อายุ 18 ปีขึ้นไป 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาส่งนักเรียน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาเทควันโดและฮับกิโด ในรายการการ แข่งขันกีฬา RSU FAI by ttb เพื่อฝันเพื่อวันเกียรติยศ ครั้งที่ 13 ณ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้รางวัลดังนี้ - ประเภทเทควันโด 1. เด็กหญิงวราพร เลื่อนลอย, เด็กหญิงวรรณิดา เลื่อน ลอย ได้รับรางวัลเหรียญทอง เทควันโดประเภทท่ารำ หญิงคู่ 2. นายธนากร บัวสาย ได้รับรางวัลเหรียญทอง เทควัน โดประเภทท่ารำชาย - ประเภทฮับกิโด 1. เด็กชายณัฐฏพล วันเครือ ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง ฮับกิโดประเภทต่อสู้ชายอายุ 11-12 ปี 2. เด็กหญิงกิตติวรรณ เทพเสนา ได้รับรางวัลเหรียญ ทอง ฮับกิโดประเภทต่อสู้หญิงอายุ 13-14 ปี 3. เด็กหญิงชมพูนุช รัตน์อ่อน ได้รับรางวัลเหรียญทอง ฮับกิโดประเภทท่ารำอาวุธหญิงอายุ 13-14 ปี 4. เด็กชายณัฐกร มุ่งดีได้รับรางวัลเหรียญทอง ฮับกิโด ประเภทท่ารำชายอายุ 13-14 ปีเด็กหญิงชมพูนุช รัตน์ อ่อน ได้รับรางวัลนักกีฬายอดเยี่ยมและโรงเรียนเตรียม อุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับถ้วยรางวัลยอด เยี่ยม สมาคมฮับกิโดร่วมกับมหาวิทยาลัยรังสิต 4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ นำโดย ผู้อำนวยการ พลอยกาญจน์พึ่งเพียร และครูละอองดาว อดทน ได้นำนักเรียนจำนวน 5 คน ได้แก่ นางสาว สมาคมคนของแผ่นดิน


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 34 ลำดับที่ เกียรติประวัติ หน่วยงานที่ยกย่อง สุปราณีทิพย์รักษา, นางสาววรรษมน หมื่นสนิท, นางสาววีรปริยา บัวเพ็ง, นางสาวยุพาวรรณ จันทะนนตรี และนางสาวพิชญ์สินีทวีสัตย์เข้ารับเกียรติบัตรเยาวชน ดีเด่น ประจำปีการศึกษา 2566 ณ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีทักษิณบริหารธุรกิจ 5 นายจักรพันธ์ พานสะอาด ได้รับรางวัลยกย่องเชิดชู เกียรติให้เป็น “ครูดีใจดวงใจ” ครั้งที่ 21 พ.ศ. 2567 สำนักเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 2 6 คณะครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับรางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติเป็น “คุรุชน คน คุณธรรม” ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ประจำปีพ.ศ. 2566 ดังนี้ 1. นายเรวัตร เตรียมล้ำเลิศ 2. นายนรินทร บุญธรรมพาณิชย์ 3. นายเอกลักษณ์ปิ่นดิลกคุณ 4. นางสาวศิริวิมล สมพร 5. นางสาวศรีนิล แสงจินดา 6. นางสาวจิราวรรณ เสียมภูเขียว 7. นางสาวหนูเพียร โกมลสุรกุล 8. นายวีรชัย แก้วสุติน 9. นางสาวลัลน์ญดา ยมแดง 10. นางสาวแคทรียา สุหญ้านาง 11. นางสาวพัชริดา ศรีเข้ม 12. นายนพดล สุขสุพุฒิ สำนักเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 2 7 นางพลอยกาญจน์พึ่งเพียร ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียม อุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับรางวัลยกย่องเชิด ชูเกียรติ“รางวัลนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีด้านการ บริหารเพื่อส่งเสริมคุณธรรม ประจำปี2566” สำนักเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 2 8 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับ รางวัลโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำ รุ่นที่ 14 ปีพุทธศักราช 2566 โดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานร่วมกับมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 9 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับ “รางวัลขับเคลื่อนศูนย์ครอบครัวพอเพียง ระดับดี”และ “รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3 การขับเคลื่อนพันธกิจ ด้านสังคม” จากโครงการครอบครัวพอเพียงสู่ สถานศึกษาและชุมชน ม ู ล น ิ ธ ิ ค ร อ บ ค ร ั ว พ อ เ พ ี ย ง ร ่ ว ม กั บ กระทรวงศึกษาธิการ 10 นางพลอยกาญจน์พึ่งเพียร ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียม อุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับรางวัลยกย่องเชิด ชูเกียรติ“รางวัลผู้บริหารสถานศึกษาตามศาสตร์ ม ู ล น ิ ธ ิ ค ร อ บ ค ร ั ว พ อ เ พ ี ย ง ร ่ ว ม กั บ กระทรวงศึกษาธิการ


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 35 ลำดับที่ เกียรติประวัติ หน่วยงานที่ยกย่อง ของพระราชาเป็นเลิศ” โครงการครอบครัวพอเพียงสู่ สถานศึกษาและชุมชน 11 นางสาวอรอนงค์วงศา ได้รับรางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติ “รางวัลครูดีศรีแผ่นดิน” โครงการครอบครัวพอเพียงสู่ สถานศึกษาและชุมชน ม ู ล น ิ ธ ิ ค ร อ บ ค ร ั ว พ อ เ พ ี ย ง ร ่ ว ม กั บ กระทรวงศึกษาธิการ 12 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับ ใบประกาศเกียรติคุณ เนื่องจากนักศึกษาจากโรงเรียน เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีปีการศึกษา 2564 “มีผลการเรียนดีระดับคะแนนเกรดเฉลี่ยสูงกว่า 3.00 ขึ้นไป” จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ 13 งานห้องสมุดโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ส่งนักเรียนเข้าประกวดออกแบบ Infographic ภายใต้หัวข้อ “การจัดกิจกรรมส่งเสริมการ อ่านโดยใช้หนังสือพระราชนิพนธ์ฯ ในสมเด็จพระ กนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ในระดับเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต2 ได้รับรางวัลระดับ เหรียญทองแดง โดยมีนักเรียนเข้าแข่งขันดังนี้ เด็กหญิงนันธิชา ช้างคำ และเด็กหญิงปิยพร กิ่งแก้ว ควบคุมดูแลโดยนายนพดล สุขสุพุฒิ สำนักเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 2 14 นางสาวนิภาพร บินสัน ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียม อุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับรางวัล “ผู้บริหาร สถานศึกษาที่มีผลงานดีเด่น ประจำปี2566” ประเภท ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีผลงานดีเด่น ผู้อำนวยการ โรงเรียนมัธยมดีเด่น สมาคมผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาแห่ง ประเทศไทย 15 นางสุปราณีเจริญกิจมงคล รองผู้อำนวยการโรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับ “รางวัล แห่งปีปูชนียบุคคล บุคคลแห่งชาติ2566 ครั้งที่ 3 สาขา ผู้บริหารสถานศึกษาดีเด่น” โครงการตอบแทนคุณ แผ่นดิน เพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติคนดีของสังคม สมาคมเพื่อการศึกษาทางไกล 16 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ได้รับรางวัลดีเด่นการแข่งขันประกวดสวดมนต์หมู่ ทำนองสรภัญญะ รับใบประกาศเกียรติคุณ และโล่รางวัล จากดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา พร้อมเงินรางวัล 1,000 บาท ณ วัดพระราม 9 โดยมี นักเรียนเข้าร่วมดังนี้ 1. เด็กหญิงภัทรภร อันสุข 2. เด็กหญิงชนัญชิดา ชุ่มสีดา มูลนิธิชัยพัฒนา


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 36 ลำดับที่ เกียรติประวัติ หน่วยงานที่ยกย่อง 3. เด็กหญิงศุนิจตา วงษาไชย 4. เด็กชายธนเดช แซ่ลิ้ม 5. เด็กชายพรอัมรินทร์พรหมขันทอง 17 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาส่งนักเรียน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาฮับกิโดชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย ณ มหาวิทยาลัยรังสิต โดยมีนักกีฬาเข้าร่วมดังนี้ - รางวัลเหรียญทอง แชมป์ประเทศไทย 1. เด็กหญิงชมพูนุช รัตน์อ่อน 2. เด็กชายณัฐกร มุ่งดี 3. เด็กหญิงวรรณิดา เลื่อนลอย 4. นายเฉลิมพงศ์สุธีรปรีชานนท์ 5. นางสาวธิรารัตน์แซ่เฮ้ง - รางวัลเหรียญเงิน รองแชมป์ประเทศไทย 1. นายธนากร บัวสาย 2. นางสาวธิรารัตน์แซ่เฮ้ง 3. นายธนากร บัวสาย 4. เด็กหญิงชมพูนุช รัตน์อ่อน - ถ้วยนักกีฬายอดเยี่ยม เด็กหญิงชมพูนุช รัตน์อ่อน สมาคมฮับกิโดร่วมกับมหาวิทยาลัยรังสิต 18 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ โดย นางสาวนิภาพร บินสัน ผู้อำนวยการโรงเรียน และ นางสุปราณีเจริญกิจมงคล รองผู้อำนวยการ ได้นำคณะ ครูและนักเรียนเข้ารับเกียรติคุณบัตรประทานฯ เข็มพระ นามย่อ ญสส. โล่และเกียรติบัตรคุณความดีประจำปี การศึกษา 2566 ณ หอประชุมคุณหญิงบุญเลื่อน เครือตราชูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ เนื่องใน วันคล้ายวันสถาปนาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา พัฒนาการ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ 19 ผู้อำนวยการนางสาวนิภาพร บินสัน และนางสุปราณี เจริญกิจมงคล ได้รับประทานรางวัลคุณความดีรางวัล ประเภท “เป็นแบบอย่างของผู้บริหารดีเด่น” นายเอก มีแสวง, นายมาวิน คำดีและนายจักรพันธ์พานสะอาด ได้รับประทานรางวัลคุณความดีรางวัลประเภท “เป็น แบบอย่างของครูดีเด่น” จากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก 20 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาส่งนักกีฬาเข้า ร่วมแข่งขันกีฬาฮับกิโด ชิงแชมป์ภาคตะวันออก ประจำปี2567 ณ โรงยิมเนเซียม องค์การบริหารส่วน จังหวัดชลบุรีโดยมีนักกีฬาที่ได้รับรางวัล ดังนี้ สมาคมฮับกิโดร่วมกับจังหวัดชลบุรี


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 37 ลำดับที่ เกียรติประวัติ หน่วยงานที่ยกย่อง - เหรียญทอง เด็กหญิงชมพูนุช รัตน์อ่อน, เด็กชายณัฐฏ พล วันเครือ - เหรียญเงิน นางสาวธิรารัตน์แซ่เฮ้ง, เด็กชายจิรายุตุลา - เหรียญทองแดง เด็กชายณัฐกร มุ่งดี, นางสาวกชกร งามงอน, เด็กหญิงวรรณิดา เลื่อนลอย 21 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์โรงเรียนเตรียม อุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ โดยครูอรอนงค์วงษา ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับที่ 2 ในการเข้าแข่งขัน Circus เกมการ์ดต่อสีและอักษรเหมือน รุ่นโอเพ่น ในรายการ “Terminal 21 Rama 3 A-Math Kumkom Crossword Game and Sudoku Challenge 2024 Presented by EduPloys” ณ ศูนย์การค้าเทอมินอล 21 พระราม 3 EduPloysร่วมกับ Terminal 21 Rama 3 22 ผู้อำนวยการนางสาวนิภาพร บินสัน ได้รับรางวัลประเภท “กรรมการและเลขานุการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานดีเด่น” ประจำปี2566 นายกิตติสัณห์ ลาภวัฒนะมงคล และ นางจารุวรรณ กาฬโอฆะ คณะกรรมการสถานศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับ รางวัล ประเภท “กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ดีเด่น” ประจำปี 2566 จากสมาคมกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานแห่งประเทศไทย สมาคมกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานแห่ง ประเทศไทย 23 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้ผ่าน การตรวจสอบการดำเนินงานตามเกณฑ์การยกระดับ คุณภาพ โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ระดับ 3 ดาว ประจำปี พ.ศ.2566 ประจำเขตตรวจราชการที่ 1 สำนักเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต2 แหลงที่มาข้อมูล: งานสารสนเทศโรงเรียน (ข้อมูล ณ วันที่ 29 มีนาคม 2567) 1.12 ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาในปีที่ผ่านมา (ปีการศึกษา 2565) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สรุปผลการประเมินภาพรวม กำลังพัฒนา ปานกลาง ดี ดีเลิศ ยอดเยี่ยม มาตรฐาน / ประเด็นพิจารณา ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ยอดเยี่ยม


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 38 จุดเด่น โรงเรียนมีกระบวนการบริหารงานตามวงจรคุณภาพของเดมมิ่ง (PDCA) มุ่งพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้เป็น ผู้ที่มีความรู้มีทักษะและมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามสถานศึกษากำหนด จุดควรพัฒนา สร้างความตระหนักรู้ในองค์กรเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพการสอนของครูในแต่ละกลุ่มสาระ การเรียนรู้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้มีค่าการพัฒนาที่สูงขึ้น ข้อเสนอแนะ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ เตรียมนำผลการประเมินภายในและคำแนะนำ จากการประกันคุณภาพภายนอกสู่การวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 1.13 ผลการประเมินคุณภาพภายนอก (สมศ.) (ครั้งล่าสุด) รอบการประเมิน ระดับผลการประเมิน/ผลการรับรอง ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน รอบที่ 4 (ภายใต้สถานการณ์covid-19) ปีที่ประเมิน 2565 ระดับผลประเมิน 3 ผลการรับรอง “รับรอง” ผลการประเมินปีล่าสุด ปีที่ประเมิน 2565 มาตรฐานที่ 1 ดี มาตรฐานที่ 2 ดี มาตรฐานที่ 3 ดี


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 39 ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 1. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยการกำหนดวิสัยทัศน์“โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ จัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลบนพื้นฐานความเป็นไทย” ให้มีความเป็นเลิศด้านวิชาการและคุณธรรม โดยการส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการควบคู่ไปกับการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมที่ดีงามตามศักยภาพของตนเองโดยยึดโรงเรียนเป็นฐาน (SBM : School Based Management) ตามความ ถนัดและความสนใจของผู้เรียนโดยความร่วมมือของผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กับการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียนทุกภาคส่วน ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน มีการกำหนดนโยบายและดำเนินการ จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามทักษะในศตวรรษที่ 21 ที่มุ่งพัฒนา คุณภาพผู้เรียนทุกด้านตามตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรังปรุง พ.ศ. 2560) ร่วมกับหลักสูตรมาตรฐานสากล พัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้วยกระบวนการพัฒนาผู้เรียนที่หลากหลายอย่างเป็นระบบผ่านโครงการสอน และการ จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีการบูรณาการทักษะการอ่าน การเขียนสื่อสารและการคิดคำนวณ ที่เป็นไปตาม มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรที่คำนึงถึงศักยภาพของผู้เรียนทุกระดับ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับ ผู้เรียน จัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning) โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามความพร้อมของผู้เรียน มีการลงมือ ปฏิบัติจริงและฝึกฝนจนเกิดกระบวนการคิด การวิเคราะห์และการร่วมมือกันแก้ปัญหา บูรณาการกิจกรรมการเรียนรู้ที่ นอกเหนือจากการเรียนในชั้นเรียน ให้นักเรียนได้ฝึกทักษะและแสวงหาความรู้ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีนิสัยรักการอ่าน รู้จัก คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความ มีการใช้แหล่งเรียนรู้และสื่อเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้อย่างหลากหลายทันสมัย มีความสะดวกและสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา ผ่านแอพพลิเคชั่นและโปรแกรมการเรียนรู้ต่างๆ ทั้งในรูปแบบ On-site และ Online เช่น โปรแกรม Ms. Teams, Google Classroom, Line และ Facebook เป็นต้น พัฒนาแหล่ง เรียนรู้ภายในสถานศึกษา ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงแบบไฟเบอร์ออฟติก (Fiber Optic) กระจายสัญญาณ อินเทอร์เน็ตไร้สาย (WIFI) ครอบคลุมพื้นที่ของโรงเรียนและวางระบบการใช้งานอินเทอร์เน็ตแบบยืนยันตัวตน (Authentication) เพื่อใช้งานอินเทอร์เน็ตของนักเรียนให้อยู่ในความเหมาะสม มีห้องสมุดในโรงเรียน ห้องปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ห้องปฏิบัติการกลุ่มสาระการเรียนรู้ห้องสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ ห้อง IT CITY BANK ห้อง Knowledge Center ห้องศูนย์นวัตกรรมและหุ่นยนต์ห้องศูนย์การเรียนรู้ภาษาด้วยตนเอง (Self Access Language Learning Centre) ห้อง GSP ฯลฯ ผู้เรียนสามารถสืบค้นข้อมูลในการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารได้อย่างเหมาะสม และสามารถสร้างสรรค์ผลงาน จัดทำสื่อนวัตกรรมและนำสนอผลงานจากกิจกรรม การเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ให้ความรู้ด้านวิชาการทั้งในและนอกสถานศึกษา อย่างหลากหลาย เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์รวมทั้งการทำบันทึกข้อตกลงทางการศึกษา (MOU) กับสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา เพื่อเพิ่มโอกาสในการเรียนรู้แก่นักเรียน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ มีการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนด้วยกระบวนการจัดการ เรียนรู้ตามนโยบายและแผนการปฏิบัติการประจำปีตามระบบการบริหารงานวงจรคุณภาพของเดมมิ่ง (PDCA) โดย ความร่วมมือของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเพื่อมุ่งพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ทั้งด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของ ผู้เรียน และด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน โดยมีขั้นตอนในการดำเนินการพัฒนาอย่างเป็นระบบ ตามกระบวนการของรูปแบบวงจรเดมมิ่ง ดังนี้


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 40 แผนภาพกระบวนการดำเนินงาน 2. ผลการดำเนินงาน จากกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มุ่งให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ผ่านโครงการและกิจกรรมอย่างหลากหลาย จึงนำไปสู่ผลการดำเนินงานที่บรรลุตามวัตถุประสงค์ซึ่งจำแนกตาม ประเด็นพิจารณา ได้ดังต่อไปนี้ 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ร้อยละ 85.58 ระดับผลการประเมิน : ยอดเยี่ยม โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน กระบวนการพัฒนา 1. โครงการ/กิจกรรม 1.1) มีโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมหรือ บูรณาการความสามารถในการอ่าน การ เขียน และการสื่อสาร ได้แก่ 1. โครงการสืบสานมรดกภาษาและมหา กวีไทย ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย - กิจกรรมวันสุนทรภู - กิจกรรมวันภาษาไทยแห่งชาติ 2. กิจกรรมทดสอบความสามารถใน การอ่านและการเขียนภาษาไทยของนักเรียน ตามแนว PISA 3. กิจกรรมการแข่งขันทักษะทางภาษา ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 4. กิจกรรมวันคริสต์มาส 5. กิจกรรมวันตรุษจีน 1.2) มีโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมหรือบูรณา การความสามารถในการคิดคำนวณ ได้แก่ 1. กิจกรรมสัปดาห์การแข่งขันทักษะ คณิตศาสตร์ 1. จัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยจัดทำโครงการสอนรายวิชา แผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) และกิจกรรมการ เรียนรู้ที่พัฒนาผู้เรียนด้านการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิด คำนวณ 2. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ 3. จัดกิจกรรมส่งเสริมความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณอย่างหลากหลายรอบด้าน และบูรณา การกิจกรรมการเรียนรู้ระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ 4. ส่งเสริมและพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณของนักเรียนอย่างกว้างขวาง โดยการ นำนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันพัฒนาทักษะต่างๆ นอกโรงเรียน 5. มีการประเมินผู้เรียนด้านการอ่าน เขียน และคิด ทุกระยะ ทั้งก่อน เรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียนเพื่อนำผลการประเมินไปพัฒนา ผู้เรียนให้เกิดทักษะได้อย่างครบถ้วน 1. ศึกษา วิเคราะห์มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 2. กำหนดเกณฑ์การประเมิน ระดับคุณภาพ และตั้งค่า เป้าหมายในการพัฒนาของสถานศึกษา 3. กำหนดแนวทางและวิธีการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน 1. ดำเนินโครงการและกิจกรรมการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 1. นำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนา 2. รายงานผลการพัฒนา 1. ตรวจสอบและประเมินโครงการและกิจกรรมการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ (ตามค่าเป้าหมายในการ พัฒนาของสถานศึกษา) PLAN DO ACT CHECK


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 41 2. ค่ายบูรณาการบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ภาษาอังกฤษ และเทคโนโลยี (SMET Camp) 3. กิจกรรมการนำนักเรียนเข้าร่วมการ แข่งขันทักษะทางคณิตศาสตร์กับหน่วยงาน ภายนอกในรายการแข่งขันเกมต่อสมการ คณิตศาสตร์(A- Math) 6. นำผลการประเมินความสามารถของนักเรียนไปพัฒนานักเรียนที่มี ทักษะตามเกณฑ์หรือสูงกว่าเกณฑ์ให้ได้รับการพัฒนายิ่งขึ้นไปตาม ศักยภาพของนักเรียน และดูแลส่งเสริมช่วยเหลือให้นักเรียนที่ยังไม่ ผ่านเกณฑ์ในการปรับปรุงพัฒนาความสามารถของตนเองจนสมารถ ผ่านเกณฑ์ได้ 7. สรุปผลการดำเนินงาน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาต่อไป แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ 2567 รายงานผลการปฏิบัติงาน คำสั่งปฏิบัติงานประจำปี2566 คำสั่งปฏิบัติงานประจำปี2567 2. รายงานโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน (แนบ QR CODE) ไม่มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล หลักฐาน ผลการประเมิน 1. เครื่องมือ 1.1) แบบประเมินความสามารถในการอ่าน และการเขียนภาษาไทยของนักเรียนตามแนว PISA 1.2 แบบประเมินความสามารถในการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน 1.3 แบบประเมินความสามารถในการคิด คำนวณของนักเรียน 1.5 แบบประเมินสมรรถนะการสื่อสาร ของนักเรียน 1.5 แบบสังเกตและแบบบันทึกผลการดำเนิน กิจกรรมการอ่าน เขียน สื่อสารและคิดคำนวณ 1.2) เครื่องมืออื่นๆ 1.1 ผลการประเมินความสามารถในการอ่านภาษาไทย ของนักเรียน ปีการศึกษา 2566 แผนภูมิแสดงร้อยละของความสามารถในการอ่านภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2566 88.57 90.14 89.52 82.37 81.14 86.90 86.51 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ยรวม ร้อยละ ร้อยละของจํานวนนักเรียนที่มีผลการประเมินการอ่านภาษาไทย ระดับดีขึ้นไป ตามระดับชั้น ปีการศึกษา 2566


Click to View FlipBook Version