รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 92 4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน ร้อยละ 100 ระดับผลการประเมิน: ยอดเยี่ยม โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน กระบวนการพัฒนา 1. โครงการ/กิจกรรม 1.1) มีโครงการ/กิจกรรมที่พัฒนาการวัด และประเมินผลการจัดการเรียนรู้อย่างเป็น ระบบ ได้แก่ โครงการดำเนินงานซ่อม ผลการเรียน 0, ร, มส, และ มผ 1.2) มีโครงการ/กิจกรรมการเสริมสร้าง เครื่องมือวัดและประเมินผลที่หลากหลาย ได้แก่ โครงการสอน 1.3) มีโครงการ/กิจกรรมการให้ข้อมูล ย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อนำไปพัฒนาการ เรียนรู้ได้แก่ โครงการกำกับ ติดตามผล การเรียนของครูที่ปรึกษา 1. สถานศึกษามีการนิเทศและประเมินผลการปฏิบัติงานของครู ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้โดยฝ่ายบริหารอย่างต่อเนื่อง เพื่อนำผล การประเมินการปฏิบัติงานไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการ เรียนรู้และช่วยเหลือ แนะนำ ส่งเสริมกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทางวิชาชีพของครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่างสม่ำเสมอ ส่งผลดี ต่อคุณภาพของผู้เรียนทั้งด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน และ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ตามที่สถานศึกษากำหนดไว้เป็น ค่าเป้าหมายในการพัฒนา ตลอดจน มีการติดตามผล ผู้จบหลักสูตร (Outcomes) เพื่อนำมาใช้พัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา 2. ครูใช้วิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียนตามสมรรถนะสำคัญ ในหลักสูตร และตามโครงสร้างรายวิชาที่หลากหลาย เป็นระบบและ ต่อเนื่อง สอดคล้องกับบริบทของผู้เรียน มีการประเมินผู้เรียนจาก สภาพจริง มีการกำหนดขั้นตอนการวัดและประเมินผลอย่างเป็น ระบบ มีเกณฑ์การให้คะแนนที่ชัดเจนเหมาะกับผู้เรียน และให้ผู้เรียน ได้ทราบผลคะแนนในแต่ละขั้นเป็นระยะเพื่อประโยชน์ในการพัฒนา ตนเองของผู้เรียน รวมทั้ง เปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้ปกครองได้มี บทบาทและมีส่วนร่วมในการพัฒนาการเรียนรู้ ดังมีปรากฏใน โครงการสอน และแผนการจัดการเรียนรู้เป็นต้น 3. ครูผู้สอนนำผลการประเมินมาใช้พัฒนาผู้เรียนโดยคำนึงถึง ค่าเป้าหมายในการพัฒนาของสถานศึกษาร่วมกับระบบดูแลช่วย นักเรียน ดังมีปรากฏในโครงการสอน เล่ม ปพ. แบบรายงานสรุปผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้และ เล่มรายงานการประเมินตนเองของครูผู้สอน (T-SAR) เป็นต้น 2. รายงานโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน (แนบ QR CODE) ไม่มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 93 เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล หลักฐาน ผลปรากฏ/คุณภาพที่เกิดขึ้น 1. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่พัฒนาการวัดและประเมินผลการจัดการ เรียนรู้อย่างเป็นระบบ 2. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่การสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผล ที่หลากหลาย 3. บันทึกการนำข้อมูลย้อนกลับเพื่อ พัฒนาการเรียนรู้ 1. แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินด้านการพัฒนาการวัด และประเมินผลการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ 2. แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินด้านการสร้างเครื่องมือ วัดและประเมินผลที่หลากหลาย 80.54 92.74 88.64 89.12 87.48 87.70 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ร้อยละ ร้อยละของผลการประเมินด้านการพัฒนาการวัดและประเมินผล การจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ 84.87 86.71 82.81 89.71 88.74 86.57 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ร้อยละ ร้อยละของผลการประเมินด้านการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผล ที่หลากหลาย
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 94 3. แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินด้านการดำเนินกิจกรรม การให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 100 ระดับผลการประเมิน: ยอดเยี่ยม โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน กระบวนการพัฒนา 1. โครงการ/กิจกรรม 1.1) มีโครงการ/กิจกรรมการแลกเปลี่ยน เรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนา และปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ กิจกรรม PLC 1. ผู้บริหารมีกระบวนการนิเทศการปฏิบัติงานของครูและบุคลากร ทางการศึกษา นำผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงาน มาวิเคราะห์เพื่อวางแผนพัฒนาวิชาชีพอย่างเป็นระบบ ดังมีปรากฏ ในคำสั่งจัดตั้งกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) 94.63 90.41 87.54 86.73 92.58 90.38 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ร้อยละ ร้อยละของผลการประเมินด้านการด าเนินกิจกรรมการให้ข้อมูล ย้อนกลับ แก่ผู้เรียน
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 95 1 . 2 ) ม ี โ ค ร ง ก า ร / ก ิ จ ก ร ร ม พ ั ฒ น า กระบวนการนิเทศการปฏิบัติงานของครูและ บุคลากรทางการศึกษาอย่างเป็นระบบ ได้แก่ กิจกรรมการนิเทศการเรียนรู้ 2. สถานศึกษากำหนดให้มีการนิเทศแบบกัลยาณมิตรจากครูในกลุ่ม สาระ การเรียนรู้ของตน และจากผู้บริหาร ส่งผลให้ครูได้พัฒนา ความรู้และทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เกิดการแลกเปลี่ยน ข้อมูล ความรู้และประสบการณ์ร่วมกัน มีการให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนเพื่อประโยชน์ ในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ดังเห็นได้จาก ภาพ กิจกรรมนิเทศแบบกัลยาณมิตร เป็นต้น 2. รายงานโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน (แนบ QR CODE) ไม่มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล หลักฐาน ผลปรากฏ/คุณภาพที่เกิดขึ้น 1. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อน กลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการ เรียนรู้ 1. แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินด้านการแลกเปลี่ยน เรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการ เรียนรู้ 94.2795.7496.82 92.6793.57 97.4295.7194.8696.9495.33 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ร้อยละ ร้อยละของผลการประเมินด้านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 96 2. แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินด้านการจัดทำวิจัยในชั้น เรียน 3. จุดเด่น ครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ มีความตั้งใจและมุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน โดยมีแผนจัด การเรียนรู้ที่ตรงตามมาตรฐานและตัวชี้วัด นำใช้สื่อ เทคโนโลยีและนวัตกรรม มาเป็นตัวช่วยในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก สร้างบรรยากาศที่น่าเรียนให้กับชั้นเรียนของตน วัดและประเมินผลตาม สมรรถนะสำคัญในหลักสูตร ประเมินผู้เรียนด้วยวิธีที่หลากหลายจากสภาพจริง มีการส่งเสริมให้ครูได้พัฒนาการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน โดยจัดให้มีการนิเทศการสอนที่เน้นส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยการคิด การปฏิบัติจริง มีการใช้วิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายทั้งในชุมชน จากภูมิปัญญาท้องถิ่น และการใช้เทคโนโลยี ในการสืบค้น นอกจากนี้ครูยังมีการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ค้นหาศักยภาพของตน เช่น โครงการแข่งขันทักษะด้านภาษา กีฬา และดนตรีมีการจัดสภาพแวดล้อมให้ผู้เรียนได้มีโอกาสในการเรียนรู้ ผ่านประสบการณ์ตรง จากการปฏิบัติจริง เช่น การจัดทำโครงงานและการจัดแสดงผลงานนักเรียน การทำงานเป็นกลุ่ม การสืบค้นข้อมูลจากห้องสมุด ห้องศูนย์การเรียนรู้ภาษาด้วยตนเอง รวมถึงห้อง Knowledge Center เป็นต้น และมีผล การประเมินมาตรฐานการศึกษาด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม โดยมีจุดเด่นจำแนกตามประเด็นพิจารณาดังต่อไปนี้ 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ดังจะเห็นได้จาก การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ โครงการแข่งขันทักษะของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้เป็นต้น 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ดังจะเห็นได้จาก โครงการประกวดสื่อ นวัตกรรมการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ตามสถานที่ต่างๆ 95.87 91.2592.3490.68 95.2494.14 96.5694.6098.1494.31 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ร้อยละ ร้อยละของผลการประเมินด้านการจัดท าวิจัยในชั้นเรียน
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 97 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ดังจะเห็นได้จาก โครงการอบรมพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา การจัดบอร์ดนิทรรศการหน้าชั้นเรียน การจัดมุมให้ความรู้ต่างๆ เป็นต้น 4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน ดังจะเห็นได้จาก โครงการสอน เล่ม ปพ. และภาพการประชุมวิเคราะผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน เป็นต้น 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ดังจะเห็นได้ จาก การนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนการสอนที่เป็นระบบแบบกัลยาณมิตร ทั้งจากการนิเทศของแต่ละกลุ่มสาระการ เรียนรู้ และการนิเทศของฝ่ายบริหารอย่างต่อเนื่อง รวมถึงกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ เป็นต้น 4. จุดควรพัฒนา 1. การสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้และสรุปเป็นความรู้ที่คงทนได้ด้วยตนเอง ตลอดจนการมี แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการเรียน 2. การให้ความสำคัญกับการเรียนรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น และการเชิญให้ชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดกิจกรรมเสริมและเพิ่มเติมให้กับผู้เรียน 3. การให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักเรียนทันทีหลังการวัดและประเมินผล เพื่อให้นักเรียนตระหนักในการพัฒนา ตนเองและรู้จักกำหนดเป้าหมายในการเรียนให้กับชีวิตในอนาคต 4. การส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูใช้วิธีในการวัดและประเมินผลที่ทันสมัย น่าเชื่อถือ และสอดคล้องกับบริบท ของผู้เรียนที่มีความแตกต่างระหว่างบุคคล 5. การสอดแทรกคุณธรรมจริธรรมให้กับผู้เรียนในชั่วโมงเรียนของครูผู้สอนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ อย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น 5. แนวทางการคงสภาพคุณภาพมาตรฐาน มุ่งพัฒนาวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นหลัก RAC (Receive-Action-Connect) ที่ส่งเสริมให้ ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดและได้ลงมือปฏิบัติจริงผ่านกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของตนเองและ มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น ใช้วิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมสอดคล้องกับบริบทของผู้เรียน ตลอดจนวางแผนพัฒนา คุณภาพของผู้เรียนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยคำนึงถึงค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 98 สรุปผลการประเมินในภาพรวม โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ มีผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามมาตรฐาน การศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำปีการศึกษา 2566 ที่เป็นไปตามค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้โดยมีผลการ ประเมินภาพรวมอยู่ใน ระดับยอดเยี่ยม และมีผลการประเมินในแต่ละมาตรฐานจำแนกตามประเด็นพิจารณา ดังนี้ ตารางสรุปผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2566 มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ค่า เป้าหมาย ผลการประเมิน ร้อยละ คะแนน ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ยอดเยี่ยม 86.50 4.32 ยอดเยี่ยม 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ยอดเยี่ยม 84.87 4.18 ยอดเยี่ยม 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ ยอดเยี่ยม 85.58 4.28 ยอดเยี่ยม 2. มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา ยอดเยี่ยม 89.25 4.46 ยอดเยี่ยม 3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ยอดเยี่ยม 85.04 4.25 ยอดเยี่ยม 4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ยอดเยี่ยม 87.62 4.38 ยอดเยี่ยม 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ยอดเยี่ยม 69.02 3.45 ดี 6. มีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ยอดเยี่ยม 85.01 4.25 ยอดเยี่ยม 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ยอดเยี่ยม 94.24 4.72 ยอดเยี่ยม 1. มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด ยอดเยี่ยม 94.99 4.75 ยอดเยี่ยม 2. มีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ยอดเยี่ยม 96.11 4.81 ยอดเยี่ยม 3. ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ยอดเยี่ยม 98.50 4.93 ยอดเยี่ยม 4. มีสุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม ยอดเยี่ยม 87.37 4.37 ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 5.00 ยอดเยี่ยม 1. มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 5.00 ยอดเยี่ยม 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 5.00 ยอดเยี่ยม 3. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร สถานศึกษา และกลุ่มเป้าหมาย ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 5.00 ยอดเยี่ยม 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 5.00 ยอดเยี่ยม 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 5.00 ยอดเยี่ยม 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม 5.00 ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ยอดเยี่ยม 97.50 4.87 ยอดเยี่ยม 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ยอดเยี่ยม 87.50 4.38 ยอดเยี่ยม 2. ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ยอดเยี่ยม 100 5 ยอดเยี่ยม 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ยอดเยี่ยม 100 5 ยอดเยี่ยม 4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน ยอดเยี่ยม 100 5 ยอดเยี่ยม 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ยอดเยี่ยม 100 5 ยอดเยี่ยม
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 99 ส่วนที่ 3 สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความต้องการการช่วยเหลือ สรุปผล มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา การรักษาคุณภาพมาตรฐาน ผู้เรียนได้รับการพัฒนาคุณภาพอย่าง เหมาะสมตามระดับชั้นผ่านกิจกรรม ด้านวิชาการและสันทนาการโดยมี ความรู้ความสามารถในการฟัง พูด อ่าน เขียน สื่อสาร คิดคำนวณ วิเคราะห์คิดอย่างมีวิจารณญาณ รู้จักอภิปรายแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นและแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่างๆ ได้ดีเห็นความสำคัญของการ สร้างนวัตกรรม รู้จักนำเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ได้ อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีทักษะ พื้นฐานที่จำเป็นและมีเจตคติที่ดีต่อ การประกอบอาช ีพในอนาคต สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ตลอดจนได้รับการปลูกฝังด้าน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ผ่าน กิจกรรมต่างๆ เช่น กิจกรรมเนื่องใน วันสำคัญทางศาสนา กิจกรรมทำบุญ ตักบาตร กิจกรรมไหว้ครูกิจกรรม อัญเชิญพระเกี้ยว กิจกรรมสถาปนา โ ร ง เ ร ี ย น ก ิ จ ก ร ร ม ส ่ ง เ ส ริ ม ประชาธิปไตย กิจกรรมลูกเสือ เนตร นารีและยุวกาชาด กิจกรรมวัน อาเซียน กิจกรรมระบบดูแ ล ช่วยเหลือนักเรียน กิจกรรมตรวจ สุขภาพนักเรียน และการเข้าร่วม กิจกรรมต่างๆจากหน่วยงาน ภายนอก เป็นต้น การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของผู้เรียนที่สอดคล้องกับค่า เป้าหมายของสถานศึกษากำหนด การสร้างแรงบันดาลใจและเป้าหมาย ในการเรียนให้กับผู้เรียน และการ เพิ่มร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาใน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ให้เป็นที่ น่าพึงพอใจตามที่ควรจะเป็นมากขึ้น จัดการศึกษาเพื่อมุ่งพัฒนาคุณภาพ ของผู้เรียนอย่างครอบคลุม รอบด้าน และต่อเนื่อง ตามบริบทและ สถานการณ์ เน้นการจัดกิจกรรม แบบบูรณาการการเรียนรู้อย่าง หลากหลาย และลดภาระที่ไม่จำเป็น ให้แก่ผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนมีเวลาใน การค้นหาตัวเองและศึกษาค้นคว้าใน สิ่งที่ตนเองสนใจเพิ่มเติม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา การรักษาคุณภาพมาตรฐาน โรงเรียนมีการวางแผนการบริหาร จัดการคุณภาพของสถานศึกษาอย่าง เป็นระบบ ทั้งด้านการพัฒนาระบบ การบริหารจัดการภายใน การพัฒนา คุณภาพของครูผู้สอน และการ การเพิ่มประสิทธิภาพในการกำกับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล เพื่อปรับปรุงพัฒนาการดำเนินงาน ของโรงเรียนอย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่องมากขึ้น การดำเนินการ มุ่งพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ภายใน พัฒนาคุณภาพของครูผู้สอน พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 100 พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา โดย มีการประชุมออกคำสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการดำเนินงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง มีการส่งเสริมและ สนับสนุนให้นำเอาเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้เป็นเครื่องมือในการ บริหารจัดการ เช่น การใช้โปรแกรม ไมโครซอฟต์ทีม (Ms. Teams) ใน การจัดประชุมการประเมินคุณภาพ ภายในของสถานศึกษา รวมทั้งมีการ นำแผนไปสู่การปฏิบัติและมีการ ติดตามตรวจสอบและประเมินผล เพื่อปรับปรุงพัฒนางาน โดยใช้ เทคนิคในการดำเนินงานที่เหมาะสม และหลากหลายจากการมีภาวะผู้นำ ทางวิชาการของทีมผู้บริหาร พัฒนาระบบการบริหารจัดการให้ เกิดเป็นมาตรฐานโดยจัดทำแผนผัง ท า ง เ ด ิ น เ อ ก ส า ร ( Document Flowcharts) และการนำผลการ ประเมินคุณภาพภายในและภายนอก สู่การพิจารณาวางแผนการพัฒนา คุณภาพการศึกษาด้านการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และนำสู่ การปฏิบัติอย่างจริงจังมากยิ่งขึ้น และส่งเสริมวัฒนธรรมของคนใน องค์กรที่ถูกต้อง เรื่อง วินัย จรรยาบรรณ คุณธรรมจริยธรรม สำหรับข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา อย่างเข้มข้นและเป็น รูปธรรมมากขึ้น รวมทั้งปรับปรุง/ พัฒนาหลักสูตรให้ทันต่อยุคสมัยและ ตอบสนองต่อความต้องการของ สังคม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา การรักษาคุณภาพมาตรฐาน ครูมีความตั้งใจในการพัฒนาการ จัดการเรียนการสอนของตนเองอย่าง ต่อเนื่อง มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ตรงตามมาตรฐานและตัวชี้วัด ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ช่วย ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ค้นหาศักยภาพ ของตน เช่น โครงการแข่งขันทักษะ ด้านภาษา กีฬา และดนตรีมีการใช้ สื่อ เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ ทันสมัยมาเป็นตัวช่วยในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน มีการ บริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวกมาก ขึ้น จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการ คิดและปฏิบัติจริง และมีการเข้าร่วม แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อปรับปรุง/ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น การสร้างหรือพัฒนาเครื่องมือในการ วัดและประเมินผลที่ทั นส มัย น่าเชื่อถือ มีความหลากหลาย และ เหมาะสมโดยคำนึงถึงความแตกต่าง ระหว่างบุคคลของผู้เรียนและบริบท ของสถานศึกษา การเพิ่มสมดุลของ การสอนทั้งทางว ิช ากา ร แ ล ะ คุณลักษณะที่พึงประสงค์โดยการ สอดแทรกคุณธรรมจริธรรมให้กับ ผู้เรียนในชั่วโมงเรียนของครูผู้สอนใน แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้อย่างเป็น รูปธรรมมากขึ้น มุ่งพัฒนาวิธีการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนที่เน้นหลัก RAC (ReceiveAction-Connect) ที่ส่งเสริมให้ ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดและได้ลง มือปฏิบัติจริงผ่านกิจกรรมที่ช่วยให้ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของ ตนเองและมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น ใช้ วิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสม สอดคล้องกับบริบทของผู้เรียน ตลอดจนวางแผนพัฒนาคุณภาพของ ผู้เรียนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนโดยคำนึงถึง ค่า เป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 101 แนวทางการพัฒนาในอนาคต 1. การวางแผนพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใน พัฒนาคุณภาพของครูผู้สอน พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา และพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. การเพิ่มประสิทธิภาพในการการดำเนินงานด้วยการพัฒนาระบบการบริหารจัดการให้เกิดเป็นมาตรฐานโดยจัดทำ แผนผังทางเดินเอกสาร (Document Flowcharts) 3. การส่งเสริมวัฒนธรรมของคนในองค์กรที่ถูกต้อง เรื่อง วินัย จรรยาบรรณ คุณธรรมจริยธรรมสำหรับข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา อย่างเข้มข้นและเป็นรูปธรรมมากขึ้น 4. การพัฒนาวิธี/เครื่องมือในการวัดและประเมินผลที่ทันสมัย น่าเชื่อถือ มีความหลากหลาย และเหมาะสม โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียนและบริบทของสถานศึกษา 5. การจัดกิจกรรมและการกำหนดภาระงานแบบบูรณาการการเรียนรู้อย่างหลากหลาย ลดภาระที่ไม่จำเป็นให้แก่ ผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนมีเวลาในการค้นหาตัวเองและศึกษาค้นคว้าในสิ่งที่ตนเองสนใจเพิ่มเติม 6. การปรับปรุง/พัฒนาหลักสูตรให้ทันต่อยุคสมัยและตอบสนองต่อความต้องการของสังคมของโรงเรียนอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่องมากขึ้น 7. วางแผนพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนโดยครูผู้สอนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยคำนึงถึงค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษากำหนด 8. การใช้หลัก RAC (Receive-Action-Connect) ในการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญและเน้นการลงมือปฏิบัติจริง เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดให้เป็นระบบโดยเน้นการคิด วิเคราะห์สังเคราะห์ประเมินค่า และสร้างสรรค์ ความต้องการและการช่วยเหลือ 1. ความร่วมมือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยเฉพาะผู้ปกครองและชุมชนในการร่วมกันสอดส่องดูแลพฤติกรรมนักเรียน ให้มีวินัยในตนเอง เคารพกฎระเบียบของสถานศึกษา รับผิดชอบต่อการเรียนของตนเอง รู้จักใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชน์รวมทั้งมีแรงบันดาลใจและเป้าหมายในการเรียน 2. การสนับสนุนด้านสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยและเพียงพอกับความต้องการ เช่น เครื่องฉายโพรเจกเตอร์คอมพิวเตอร์ โปรแกรมการสอนสำเร็จรูป และอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงที่ครอบคลุมพื้นที่ห้องเรียน เป็นต้น
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 102 ภาคผนวก 1. ประกาศมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพภายใน 2. ประกาศค่าเป้าหมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 3. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 4. ประกาศเรื่องการแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา 5. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และรายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) 6. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบและรับรองรายงานการประเมินตนเองของครูผู้สอน (T-SAR) 7. เครื่องมือการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในของสถานศึกษา 8. เกณฑ์สำหรับการประเมินมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 9. ภาพประกอบการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 10. ลิงก์ข้อมูลเพิ่มเติม 11. คำรับรองรายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 103 1. ประกาศมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 104 มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ แนบท้ายประกาศโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของสถานศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา ๒๕๖6 _________________________________________________ มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน ของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา พัฒนาการ ยานนาเวศ มีจำนวน 3 มาตรฐาน โดยแต่ละมาตรฐาน มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ 2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา 3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 6) มีความรู้ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 1) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด 2) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 3) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 4) สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 2.1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 105 2. ประกาศค่าเป้าหมายการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 106
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 107
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 108 3. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 109
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 110
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 111
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 112
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 113
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 114
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 115
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 116
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 117
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 118
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 119
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 120
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 121
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 122
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 123 4. ประกาศเรื่องการแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 124 5. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 125
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 126
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 127 6. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบและรับรองรายงานการประเมินตนเองของครูผู้สอน (T-SAR)
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 128 7. เครื่องมือการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในของสถานศึกษา
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 129
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 130
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 131
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 132
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 133
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 134
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 135
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 136
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 137
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 138
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 139 8. เกณฑ์สำหรับการประเมินมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 1. ตารางแสดงน้ำหนักคะแนนย่อยและคะแนนเต็มในประเด็นการประเมิน มาตรฐานการศึกษา คะแนน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน เต็ม 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 5 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ 1.1 ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารภาษาไทยตามเกณฑ์การเรียนรู้ 1.1.1 ระดับผลการเรียนรายวิชาภาษาไทย ตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด 1.1.2 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความวิชาภาษาไทยระดับดีขึ้นไป 1.2 ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารภาษาอังกฤษตามเกณฑ์การเรียนรู้ 1.2.1 ระดับผลการเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ ตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด 1.2.2 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความวิชาภาษาอังกฤษระดับดีขึ้นไป 1.3 ความสามารถในการคำนวณตามเกณฑ์การเรียนรู้ 1.3.1 ระดับผลการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ตั้งแต่ตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด 1.3.2 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความวิชาคณิตศาสตร์ระดับดีขึ้นไป 5 2. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา 5 3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 5 4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4.1 ผลการจัดการเรียนรู้รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศระดับผลการเรียนตั้งแต่ 2 ขึ้นไป 4.2 ผลการใช้แหล่งเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศ 5 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 5.1 ผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษากำหนด 5.2 การจบหลักสูตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 5 6. มีความรู้ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ 5 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 5 1. การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามสถานศึกษากำหนด 5 2. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 5 3. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและความหลากหลาย 5 4. สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม 5 2. การกำหนดระดับคุณภาพของค่าเป้าหมาย กำหนดเป็น ระดับคุณภาพ 5 ระดับ ดังนี้ ระดับ 5 ยอดเยี่ยม ระดับ 4 ดีเลิศ ระดับ 3 ดี ระดับ 2 ปานกลาง ระดับ 1 กำลังพัฒนา 3. การกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน กำหนดเป็นช่วงคะแนน ดังนี้ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 4.00 – 5.00 ยอดเยี่ยม (5) 3.50 – 3.99 ดีเลิศ (4) 3.00 – 3.49 ดี (3) 2.50 – 2.99 ปานกลาง (2) 0.00 – 2.49 กำลังพัฒนา (1)
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 140 4. ขั้นตอนการคำนวณคะแนน คำนวณคะแนนตามลำดับดังนี้ 4.1 คำนวณคะแนนด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน มี6 ประเด็นพิจารณา คือ - มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ - มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา - มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม - มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา - มีความรู้ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ 4.2 คำนวณคะแนนด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน มี4 ประเด็นพิจารณา คือ - การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามสถานศึกษากำหนด - ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย - การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและความหลากหลาย - สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม 4.3 คำนวณคะแนนรวมด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ 4.4 คำนวณคะแนนรวมด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 4.5 คำนวณคะแนนรวมทั้ง 2 ด้าน เป็นคะแนนรวมของมาตรฐานที่ 1 5. วิธีการคำนวณคะแนน 5.1 คำนวณค่าร้อยละของผลการดำเนินงานตามประเด็นการประเมิน 5.2 ประเด็นที่มีคะแนนย่อยจากหลายส่วนใช้น้ำหนักคะแนนคำนวณตามสัดส่วน 5.3 นำค่าร้อยละของผลการดำเนินงานคูณน้ำหนักคะแนนแต่ละประเด็นเทียบบัญญัติไตรยางศ์ 5.4 รวมคะแนนแต่ละประเด็น (หากมีประเด็นย่อย) 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน มี6 ประเด็น ดังนี้ 1) ประเด็นที่ 1 มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ (5 คะแนน) ประเด็นย่อย 1.1 ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารภาษาไทยตามเกณฑ์การเรียนรู้ 1.1.1 ระดับผลการเรียนรายวิชาภาษาไทย ตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด (น้ำหนักคะแนน 3 คะแนน) 1.1.2 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความวิชาภาษาไทย ระดับดีขึ้นไป (น้ำหนักคะแนน 2 คะแนน) คะแนนที่ได้ในประเด็นย่อยที่ 1.1 วิชาภาษาไทย (เต็ม 5 คะแนน) ค่าคะแนนจาก 1.1.1 (3 คะแนน) + ค่าคะแนนจาก 1.1.2 (2 คะแนน) = 5 คะแนน วิธีคิดคะแนน ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีระดับผลการเรียน ตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด X 3 100 วิธีคิดคะแนน ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีระดับผลการประเมินการอ่านฯ ตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด X 2 100
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 141 ประเด็นย่อย 1.2 ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารภาษาอังกฤษตามเกณฑ์การเรียนรู้ 1.2.1 ระดับผลการเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษ ตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด (น้ำหนักคะแนน 3 คะแนน) 1.2.2 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความวิชาภาษาอังกฤษ ระดับดีขึ้นไป (น้ำหนักคะแนน 2 คะแนน) คะแนนที่ได้ในประเด็นที่ 1.2 วิชาภาษาอังกฤษ (เต็ม 5 คะแนน) ค่าคะแนนจาก 1.2.1 (3 คะแนน) + ค่าคะแนนจาก 1.2.2 (2 คะแนน) = 5 คะแนน ประเด็นย่อย 1.3 ความสามารถในการคำนวณตามเกณฑ์การเรียนรู้(5 คะแนน) 1.3.1 ระดับผลการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด (น้ำหนักคะแนน 3 คะแนน) 1.3.2 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความวิชาคณิตศาสตร์ระดับดีขึ้นไป (น้ำหนักคะแนน 2 คะแนน) คะแนนที่ได้ในประเด็นย่อยที่ 1.3 วิชาคณิตศาสตร์(เต็ม 5 คะแนน) ค่าคะแนนจาก 1.2.1 (3 คะแนน) + ค่าคะแนนจาก 1.2.2 (2 คะแนน) = 5 คะแนน สรุปคะแนนรวมประเด็นที่ 1 จากประเด็นย่อยทั้งหมด (เต็ม 5 คะแนน) วิธีคิดคะแนน ค่าคะแนนจากรายการประเด็นย่อย 1.1 + รายการประเด็นย่อย 1.2 + รายการประเด็นย่อย 1.3 X 3 100 วิธีคิดคะแนน ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีระดับผลการเรียน ตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด X 3 100 วิธีคิดคะแนน ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีระดับผลการประเมินการอ่านฯ ในระดับดี(2) ขึ้นไป X 2 100 วิธีคิดคะแนน ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีระดับผลการเรียน ตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด X 3 100 วิธีคิดคะแนน ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีระดับผลการประเมินการอ่านฯ ในระดับดี(2) ขึ้นไป X 2 100