The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by The Master, 2024-06-10 11:00:02

2566_SAR_TUPY_E-Book

2566_SAR_TUPY_E-Book

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 42 2. หลักฐานข้อมูล 2.1) รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมหรือบูรณาการความสามารถในการ อ่าน การเขียน และการสื่อสาร - รายงานผลการดำเนินกิจกรรมของกลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาไทย - รายงานผลการดำเนินกิจกรรมของกลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 2.2) รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมหรือบูรณาการความสามารถในการ คิดคำนวณ - รายงานผลการดำเนินกิจกรรมของกลุ่ม สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 1.2 ผลการประเมินความสามารถในการเขียนภาษาไทยของนักเรียน ปีการศึกษา 2566 แผนภูมิแสดงร้อยละของความสามารถในการเขียนภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2566 1.3 ผลการประเมินความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสารของนักเรียน ปีการศึกษา 2566 แผนภูมิแสดงร้อยละของความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1–6 ดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2566 92.07 88.59 90.57 82.16 80.19 84.83 86.68 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ยรวม ร้อยละ ร้อยละของจํานวนนักเรียนที่มีผลการประเมินการเขียนภาษาไทย ระดับดีขึ้นไป ตามระดับชั้น ปีการศึกษา 2566 90.85 83.37 80.29 81.74 84.38 85.52 84.70 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ยรวม ร้อยละ ร้อยละของจํานวนนักเรียนที่มีผลการประเมินความสามารถในการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจําวัน ระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2566


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 43 1.4 ผลการประเมินสมรรถนะความสามารถในด้านการสื่อสารของ นักเรียน ปีการศึกษา 2566 แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินสมรรถนะความสามารถ ในด้านการสื่อสาร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ระดับดี ขึ้นไป ปีการศึกษา 2566 1.5 ผลการประเมินความสามารถในการคิดคำนวณของนักเรียน ปีการศึกษา 2566 แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินความสามารถในการคิด คำนวณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2566 90.55 91.37 80.60 92.92 95.35 86.85 89.84 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ยรวม ร้อยละ ร้อยละของจํานวนนักเรียนที่มีผลการประเมินสมรรถนะด้านการสื่อสาร ในระดับดีขึ้นไป ตามระดับชั้นและในภาพรวม ปีการศึกษา 2566 80.34 76.40 78.62 80.91 80.57 84.60 80.14 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ยรวม ร้อยละ ร้อยละของจํานวนนักเรียนที่มีผลการประเมินความสามารถในการคิด คํานวณ ระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2566


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 44 2. มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา ร้อยละ 89.25 ระดับผลการประเมิน : ยอดเยี่ยม โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน กระบวนการพัฒนา 1. โครงการ/กิจกรรม 1.1) มีโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมหรือ บูรณาการความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และ/ หรือ คิดวิจารณญาณ ได้แก่ 1. โครงการรักการอ่านยุค 4.0 2. กิจกรรมชุมนุมการอ่านเพื่อพัฒนา ผู้เรียนสู่ยุค 4.0 3.กิจกรรมส่งเสริมการอ่านออนไลน์ 4.กิจกรรมสัปดาห์ห้องสมุด 5.กิจกรรมการแข่งขันสารานุกรมไทย 6.กิจกรรมการทำหนังสือเล่มเล็ก 7.การประเมินสมรรถนะการคิดของ นักเรียน 1.2) มีโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมหรือ บูรณาการความสามารถในการอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา ได้แก่ 1.กิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา IS 2. กิจกรรมสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประจำปี2566 3.กิจกรรมค่ายบูรณาการพัฒนาทักษะ วิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ภาษาอังกฤษ และ เทคโนโลยี(SMET Camp) 4. การประเมินสมรรถนะด้านการ แก้ปัญหาของนักเรียน 5. การประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความของครูผู้สอน 1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักสูตรในห้องเรียนเพื่อพัฒนาให้ ผู้เรียนมีคุณภาพ โดยเน้นกระบวนการเรียนรู้และใช้สื่อ นวัตกรรม การเรียนรู้ที่สอดคล้องทำให้ผู้เรียนมีความสามารถในการวิเคราะห์ และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ แก้ปัญหาได้เช่น กิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์ที่มีการ ทดลอง การบันทึกผลการทดลอง การสรุปอภิปรายผล แลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และการฝึกฝนในการแก้ปัญหาต่างๆ จากการเรียนรู้ จนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้การเรียนรู้ในรายวิชา IS การเรียนรู้ใน รายวิชา กิจกรรมชุมนุมพัฒนาผู้เรียน และชุมนุม สะเต็มศึกษา ฯลฯ 2. จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรนอกห้องเรียนทั้งภายในและภายนอก โรงเรียนให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา จากกิจกรรมการแข่งขัน รายการต่างๆ เช่น กิจกรรมรักการอ่านยุค 4.0 เน้นการวิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นและแก้ปัญหา โดยการสรุปเนื้อหาตอบคำถามจาก บทความที่กำหนดให้การแข่งขันทำสมุดเล่มเล็ก กิจกรรมสัปดาห์ วิทยาศาสตร์แห่งชาติกิจกรรมค่ายบูรณาการพัฒนาทักษะ วิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ภาษาอังกฤษ และเทคโนโลยี(SMET Camp) 3. ประเมินความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียนสื่อความ ของนักเรียนจากครูผู้สอน 4. ประเมินสมรรถนะการคิดของนักเรียนทุกคน เพื่อนำผลการประเมิน ไปใช้ในการปรับปรุงและส่งเสริมกระบวนการคิดให้นักเรียนในส่วนที่ ต้องได้รับการพัฒนา แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ 2567 รายงานผลการปฏิบัติงาน คำสั่งปฏิบัติงานประจำปี2566 คำสั่งปฏิบัติงานประจำปี2567 2. รายงานโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน (แนบ QR CODE) ไม่มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 45 เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล หลักฐาน ผลการประเมิน 1. เครื่องมือ 1.1) แบบประเมิน 1. แบบประเมินกิจกรรมรักการอ่านยุค 4.0 ของงานห้องสมุด 2. แบบประเมินสมรรถนะการคิดของ ผู้เรียน 3. แบบประเมินสมรรถนะด้านการ แก้ปัญหาของผู้เรียน 4. แบบประเมินความสามารถในการ อ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนสื่อความของ ครูผู้สอนทุกรายวิชา 5.แบบประเมินผลการดำเนินโครงการ/ กิจกรรมที่พัฒนาการคิดวิเคราะห์ 1.2) แบบสังเกตและบันทึก 1.3) เครื่องมืออื่นๆ 2.1 แผนภูมิแสดงร้อยละของความสามารถในการวิเคราะห์และคิด อย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา จากโครงการรักการอ่านยุค 4.0 ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ระดับ ดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2566 ของงานห้องสมุด 2.2 ผลการประเมินสมรรถนะด้านการคิดของนักเรียน ปีการศึกษา 2566 แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินสมรรถนะด้านการคิด ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2566 2. หลักฐานข้อมูล 2.1) รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมหรือบูรณาการวามสามารถในการ คิดวิเคราะห์และ/ หรือคิดวิจารณญาณ 2.2) รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมหรือบูรณาการความสามารถใน การอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ความสามารถในการแก้ปัญหา 94.05 87.04 93.08 90.66 93.90 89.66 91.56 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ยรวม ร้อยละ ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนของนักเรียน ระดับดีขึ้นไปในกิจกรรมรักการอ่าน ปีการศึกษา 2566 92.68 90.20 80.60 90.83 95.74 86.85 89.84 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ยรวม ร้อยละ ร้อยละของจํานวนนักเรียนที่มีผลการประเมินสมรรถนะด้านการคิดในระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2566


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 46 2.3 ผลการประเมินสมรรถนะด้านการแก้ปัญหาของนักเรียน ปีการศึกษา 2566 แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินสมรรถนะด้านการ แก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2566 2.4 ผลการประเมินความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน สื่อความของนักเรียนทุกรายวิชา ปีการศึกษา 2566 แผนภูมิแสดงร้อยละของความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียนสื่อความ ทุกรายวิชาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 – 6 ระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2566 93.33 90.59 80.60 92.50 96.51 86.41 90.31 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ยรวม ร้อยละ ร้อยละของจํานวนนักเรียนที่มีผลการประเมินสมรรถนะด้านการแก้ปัญหา ในระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2566 86.43 83.17 81.76 93.15 86.48 82.26 85.64 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 รวม ร้อยละ ร้อยละของจํานวนนักเรียนที่มีผลการประเมินความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียนสื่อความ ระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2566


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 47 2.5 ผลการประเมินความสามารถในการคิดวิเคราะห์และคิดอย่างมี วิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา ในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ปีการศึกษา 2566 แผนภูมิแสดงร้อยละของความสามารถในการคิดวิเคราะห์และ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ แก้ปัญหาในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับดีขึ้นไป ของนักเรียน ทุกระดับชั้น ปีการศึกษา 2566 3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ร้อยละ 85.04 ระดับผลการประเมิน : ยอดเยี่ยม โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน กระบวนการพัฒนา 1. โครงการ/กิจกรรม มีโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมหรือ บูรณาการความสามารถใน การสร้าง นวัตกรรม ได้แก่ โครงการพัฒนาผู้เรียน อย่างมีคุณภาพ ประกอบด้วยกิจกรรม ดังนี้ - กิจกรรมพัฒนาการเรียนการสอน ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ - กิจกรรมส่งเสริมความเป็นเลิศด้าน คณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ศิลปะ การงาน อาชีพ และด้านภาษาต่างประเทศ - กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนและ นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ และการ แข่งขันศิลปะหัตถกรรมนักเรียน - กิจกรรมสัปดาห์วิชาการ งาน นิทรรศการวิชาการ Open house 1. โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ พัฒนา ความสามารถในการสร้างนวัตกรรมของนักเรียน โดยจัดกระบวนการ การเรียนรู้ที่มีความหลากหลายตามบริบทของผู้เรียนตามหลักสูตร ในทุกรายวิชา และรายวิชาเพิ่มเติมที่ส่งเสริมให้เกิดการสร้าง นวัตกรรม เช่น การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ STEM ศึกษา รายวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์รายวิชา IS รายวิชาเพิ่มเติม ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ การงานอาชีพ การสร้างสรรค์ผลงาน ในวิชาเทคโนโลยีฯลฯ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการคิดอย่างสร้างสรรค์ ยอมรับความแตกต่างทางความคิด ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง สร้างสรรค์แลกเปลี่ยนเรียนรู้นำเสนอแนวคิดกับผู้อื่นได้จนสามารถ สร้างนวัตกรรมได้ 2. ส่งเสริมและพัฒนาความสามารถในการสร้างนวัตกรรมผ่าน กิจกรรมในโครงการพัฒนาผู้เรียนอย่างมีคุณภาพของกลุ่มบริหาร วิชาการ ที่มีการบูรณาการความสามารถของผู้เรียนในหลากหลาย กิจกรรม เช่น กิจกรรมพัฒนาการเรียนการสอนทั้ง 8 กลุ่มสาระ การเรียนรู้กิจกรรมส่งเสริมความเป็นเลิศด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ศิลปะ การงานอาชีพ และด้านภาษาต่างประเทศ 91.29 92.41 88.15 84.95 84.95 85.97 88.90 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ยรวม ร้อยละ ร้อยละของจํานวนนักเรียนที่มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหาได้ในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2566


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 48 2. รายงานโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน (แนบ QR CODE) ไม่มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนและนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ และการสร้างสรรค์ผลงานเพื่อเข้าร่วมการแข่งขันในงาน ศิลปะหัตถกรรมนักเรียน กิจกรรมการแสดงผลงานของนักเรียน ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ในรูปแบบของงาน Art Talent 3. นำเสนอผลงานการสร้างนวัตกรรมของนักเรียนจากกิจกรรม การเรียนรู้ของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ในกิจกรรมสัปดาห์วิชาการ ในรูปแบบของงานนิทรรศการวิชาการ Open House แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ 2567 รายงานผลการปฏิบัติงาน คำสั่งปฏิบัติงานประจำปี2566 คำสั่งปฏิบัติงานประจำปี2567 เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล หลักฐาน ผลการประเมิน 1. เครื่องมือ 1.1 แบบประเมิน - แบบประเมินความสามารถในการ สร้างนวัตกรรมของนักเรียน (ครูประเมิน) - แบบประเมินความสามารถในการ สร้างนวัตกรรม (นักเรียนประเมินตนเอง) - แบบประเมินการเรียนรู้ผลงานและ ชิ้นงานของผู้เรียน 1.2) แบบสังเกตและบันทึก 1.3) เครื่องมืออื่นๆ ที่มี/ถ้ามี 3.1 ผลการประเมินความสามารถในการสร้างนวัตกรรมของนักเรียน ปีการศึกษา 2566 โดยการประเมินตนเองของนักเรียน แผนภูมิแสดงร้อยละของความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 จากการประเมินตนเอง ระดับ ดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2566 80.70 83.77 81.80 81.47 85.96 82.24 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ร้อยละ ร้อยละของผลการประเมินความสามารถในการสร้างนวัตกรรมของนักเรียน ในระดับดีขึ้นไป ของนักเรียน ปีการศึกษา 2566


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 49 2. หลักฐานข้อมูล รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมหรือบูรณาการความสามารถในการ สร้างนวัตกรรม 3.2 ผลการประเมินความสามารถในการสร้างนวัตกรรมของนักเรียน ปีการศึกษา 2566 โดยครูประเมิน แผนภูมิแสดงร้อยละของความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 โดยครูผู้สอนประเมิน ระดับดี ขึ้นไป ปีการศึกษา 2566 4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ร้อยละ 87.62 ระดับผลการประเมิน : ยอดเยี่ยม โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน กระบวนการพัฒนา 1. โครงการ/กิจกรรม มีโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมหรือบูรณา การความสามารถในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ได้แก่ โครงการ พัฒนาผู้เรียนอย่างมีคุณภาพ ประกอบด้วย กิจกรรม ดังนี้ - กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - กิจกรรมพัฒนาศักยภาพนักเรียนด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - กิจกรรมการส่งเสริมและพัฒนา ศักยภาพนักเรียนทีมีความสามารถพิเศษ - กิจกรรมการแข่งขันกีฬา e-sport และ การแข่งขัน ROV โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้พัฒนา ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของ ผู้เรียนตั้งแต่ระดับชั้น ม.1-6 มีการจัดหา คอมพิวเตอร์สื่อเทคโนโลยี พัฒนาและติดตั้งระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงแบบไฟเบอร์ ออฟติก (Fiber Optic) กระจายสัญญาณอินเทอร์เน็ตไร้สาย (WIFI) ครอบคลุมพื้นที่ของโรงเรียน พร้อมทั้งวางระบบการใช้งาน อินเทอร์เน็ตแบบยืนยันตัวตน (Authentication) เพื่อสอดส่องดูแล การใช้งานอินเทอร์เน็ตของนักเรียนให้อยู่ในความเหมาะสม ปรับปรุง ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบัติการกลุ่มสาระการเรียนรู้ ห้องสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ ห้อง IT CITYBANK ห้องKnowledge Center ห้องศูนย์นวัตกรรมและหุ่นยนต์ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ได้อย่าง ประสิทธิภาพ ทุกกกลุ่มสาระการเรียนรู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้และ กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ในรูปแบบให้นักเรียนมีส่วนร่วมในระบบ ออนไลน์และเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้มากขึ้น เช่น กิจกรรมการร่วมตอบคำถามและทดสอบความรู้ในวัน วิทยาศาสตร์แห่งชาติแบบออนไลน์กิจกรรมพัฒนาศักยภาพทางด้าน 87.84 93.24 94.59 90.54 85.14 82.43 81.08 87.84 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ร้อยละ ร้อยละของผลการประเมินความสามารถในการสร้างนวัตกรรมของนักเรียน โดยครูผู้สอน ในระดับดีขึ้นไปปีการศึกษา 2566


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 50 ภาษาต่างประเทศในรูปแบบออนไลน์ ในการวัดผลประเมินการ เรียนรู้ในทุกรายวิชา มีการนำระบบการทดสอบแบบออนไลน์ มาใช้ ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ทั้งการทำแบบทดสอบหรือแบบ ประเมินอื่นๆ จากหน่วยงานภายนอกที่ขอความร่วมมือ การส่งงาน หรือการบ้าน แบบฝึกหัด แบบฝึกทักษะของนักเรียนจากการเรียนรู้ ได้ปรับใช้ระบบออนไลน์ให้นักเรียนได้ดำเนินการติดต่อสื่อสาร และ ส่งงานกับครูผู้สอนผ่านโปรแกรมการเรียนรู้บนแพลตฟอร์มและ แอปลิเคชันการเรียนรู้ต่างๆ เช่น โปรแกรม Ms.Teams, Google Classroom, Meet, Zoom, Line และ Facebook เป็นต้น แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ 2567 รายงานผลการปฏิบัติงาน คำสั่งปฏิบัติงานประจำปี2566 คำสั่งปฏิบัติงานประจำปี2567 2. รายงานโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน (แนบ QR CODE) ไม่มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล หลักฐาน ผลการประเมิน 1. เครื่องมือ 1.1) แบบประเมิน - แบบประเมินความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีและการสื่อสารของนักเรียน - แบบสังเกตและบันทึกผลการเรียนรู้ และการเข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 1.2) เครื่องมืออื่นๆ 4.1 ผลการประเมินสมรรถนะด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารของนักเรียน ปีการศึกษา 2566 แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินสมรรถนะด้านการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2566 93.33 87.06 82.33 92.50 95.35 88.73 90.02 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ยรวม ร้อยละ ร้อยละของจํานวนนักเรียนที่มีผลการประเมินสมรรถนะด้านการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารในระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2566


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 51 2. หลักฐานข้อมูล รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ ส่งเสริมหรือบูรณาการความสามารถในการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4.2 ผลการประเมินความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารในการเรียนรู้ของนักเรียน ปีการศึกษา 2566 แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1– 6 ระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2566 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ร้อยละ 69.02 ระดับผลการประเมิน : ดี โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน กระบวนการพัฒนา 1. โครงการ/กิจกรรม 1.1) มีโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ ตามหลักสูตรสถานศึกษา ได้แก่ โครงการ พัฒนาผู้เรียนอย่างมีคุณภาพ ประกอบด้วย กิจกรรมของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้ - กิจกรรมพัฒนาการเรียนการสอนทุก กลุ่มสาระการเรียนรู้ - กิจกรรมสู่ความเป็นเลิศทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้ - กิจกรรมสัปดาห์วิชาการ (นิทรรศการ วิชาการ Open House) 1.2) มีโครงการ/กิจกรรม ที่ช่วยยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ได้แก่ - กิจกรรมสนับสนุนพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน - กิจกรรมเรียนซ่อมเสริมและสอบแก้ตัว - กิจกรรมติวเพื่อเตรียมตัวสอบโอเน็ต ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนยเตรียมอุดมศึกษาพัฒนากร ยานนาเวศ ดำเนินการจัดการ ศึกษาเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีการส่งเสริมสนับสนุนให้ครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้จัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning) โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์คิด แก้ปัญหา เพื่อให้นักเรียนทุกคนมีความรู้ความเข้าใจ เกิดทักษะ และ มีสมรรถนะที่สำคัญตามหลักสูตร จัดกิจกรรมค่ายบูรณาการพัฒนา ทักษะวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และเทคโนโลยี (SMET Camp) กิจกรรมพัฒนาการเรียนการสอนโดยจัดกิจกรรม การแข่งขันทักษะทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมสู่ความเป็นเลิศ เพื่อส่งเสริมนักเรียนที่มีศักยภาพพร้อมพัฒนาตนเองให้สูงขึ้น จัดกิจกรรมสัปดาห์วิชาการในรูปนิทรรศการวิชาการ Open House ให้นักเรียนได้เรียนรู้และฝึกทักษะความสามารถด้านต่างๆ จัดกิจกรรมสอนเสริมเพิ่มความรู้โดยใช้วิทยากรภายในและภายนอก สถานศึกษา เพื่อการเตรียมตัวในการสอบ O-Net, TGAT, A-level ดำเนินกิจกรรมการเรียนซ่อมเสริมเพิ่มความรู้เพื่อเพื่อยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างต่อเนื่อง จัดกิจกรรมซ่อมเสริมการ เรียนรู้ที่หลากหลายให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาของนักเรียนแต่ละ กลุ่ม ให้นักเรียนมีโอกาสในการเข้าถึงการเรียนรู้และมีการใช้ 86.61 88.99 87.62 80.12 83.12 84.87 85.22 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ยรวม ร้อยละ ร้อยละของจํานวนนักเรียนที่มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร ในการเรียนรู้ ในระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2566


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 52 - กิจกรรมเตรียมตัวสู่รั้วมหาวิทยาลัย ด้วย TGAT และ A-level - การแก้ไขปัญหาการเรียนของนักเรียน ด้วยการทำวิจัยในชันเรียนของครูทุกคน 1.2) มีโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริม ความสามารถและทักษะทางวิชาการ ของนักเรียน ได้แก่ โครงการ - กิจกรรมพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพ นักเรียน กระบวนการ PLC ในการแก้ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียนอย่างเป็น ระบบ มีการนิเทศการจัดการเรียนรู้และการ Coaching เพื่อสะท้อน แนวคิดการจัดการเรียนรู้ให้ครูนำไปปรับปรุงพัฒนาการจัดการศึกษา ให้เป็นไปตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา มีการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารหลายช่องทาง มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง โดยใช้แบบทดสอบและ เครื่องมือการวัดผลและประเมินที่สอดคล้องได้ครบทุกทักษะ แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ 2567 รายงานผลการปฏิบัติงาน คำสั่งปฏิบัติงานประจำปี2566 คำสั่งปฏิบัติงานประจำปี2567 2. รายงานโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน (แนบ QR CODE) ไม่มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล หลักฐาน ผลการประเมิน 1. เครื่องมือ 1.1) แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียน 1.2) แบบประเมินการดำเนินงานตาม โครงการ 1.3) แบบบันทึก 5.1 ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามค่าเป้าหมาย ของสถานศึกษากำหนด ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ปีการศึกษา 2566 แผนภูมิแสดงร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามค่า เป้าหมายของสถานศึกษาที่กำหนดของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ปีการศึกษา 2566 73.98 64.79 82.16 70.64 86.04 77.99 78.87 83.44 80 78.61 75 80 75 80 80 80 80 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ร้อยละ ร้อยละของจํานวนนักเรียนที่ได้ระดับผลการเรียนตามค่าเป้าหมายในทุกรายวิชา ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ ค่าเป้าหมาย


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 53 2. หลักฐานข้อมูล 2.1) รายงานผลการดำเนินโครงการ/ กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ตามหลักสูตร สถานศึกษา 2.2) รายงานผลการดำเนินโครงการ/ กิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2.3) รายงานผลการดำเนินโครงการ/ กิจกรรมส่งเสริมความสามารถและทักษะ ทางวิชาการของนักเรียน 5.2 ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร สถานศึกษา ปีการศึกษา 2566 แผนภูมิแสดงร้อยละของจำนวนนักเรียนที่สำเร็จการศึกษาตาม หลักสูตรสถานศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ปีการศึกษา 2566 6. มีความรู้ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ร้อยละ 96.50 ระดับผลการประเมิน: ยอดเยี่ยม โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน กระบวนการพัฒนา 1. โครงการ/กิจกรรม 1.1) มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนานักเรียนให้มี ทักษะในการทำงาน ได้แก่ โครงการสนับสนุน โอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างมี คุณภาพ ประกอบด้วย -กิจกรรมแนะแนวพัฒนาคุณภาพผู้เรียน -การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ในรายการจัดสวนถาด การแกะสลักผักและ ผลไม้การทำหนังสือเล่มเล็ก 1.2) มีโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมอาชีพ ได้แก่ โครงการพัฒนาผู้เรียนอย่างมีคุณภาพ ประกอบด้วย -กิจกรรมพัฒนาศักยภาพด้านทักษะอาชีพ - กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน - กิจกรรมส่งเสริมทักษะอาชีพนักเรียน/ ชุมชน - กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาทักษะอาชีพด้านอาหารและ เครื่องดื่มสำหรับนักเรียน - กิจกรรมการฉลุลายไม้ - กิจกรรการร้อยมาลัยจากวัสดุเหลือใช้ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ จัดการศึกษาเพื่อให้ นักเรียน มีความรู้ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่อการงานอาชีพ มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความรู้ความเข้าใจ จนเกิดกระบวนการ และทักษะตามขอบข่ายงาน ได้แก่ ด้านการศึกษา ด้านอาชีพ ด้าน ส่วนตัวและสังคม ดำเนินการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการ ที่หลากหลาย สอดคล้องกับความแตกต่างและความต้องการ ของผู้เรียน ดังนี้ 1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาให้ผู้เรียนทุกคนมีความรู้ความ เข้าใจทักษะ และเจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้น หรือมีวุฒิภาวะทางอาชีพที่เหมาะสมกับช่วงวัย ตามโครงสร้าง หลักสูตรสถานศึกษากำหนด 2. มีการประเมินเจตคติต่อการงานอาชีพโดยใช้แบบประเมิน ความรู้ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ ของงานแนะแนว 3. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาแนะแนวที่ส่งเสริมความรู้ ด้านทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่อการงานอาชีพ ให้นักเรียน มีโอกาสแสดงความคิดเห็น ศึกษาหาความรู้และทักษะต่างๆ เกี่ยวกับ การงานอาชีพ ตลอดจนมีหลักสูตรที่เน้นการจัดการศึกษาเพื่อการ มีงานทำ 4. จัดบริการแนะแนว เสริมความรู้ด้านอาชีพ เช่น กิจกรรม ส่งเสริมการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ในและภายนอก มีการ แนะแนวทางในการเลือกแผนการเรียนที่เหมาะสมกับตนเองให้กับ นักเรียนในปีการศึกษาถัดไป โดยให้ข้อมูลความรู้ในการเลือก 72.34 68.54 70.54 27.66 31.46 29.46 0 20 40 60 80 100 ม.3 ม.6 รวม ร้อยละ ร้อยละของจํานวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่จบหลักสูตรในปีการศึกษา 2566 จบ ไม่จบ


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 54 1.3) มีโครงการ/กิจกรรมการแนะแนวเพื่อ การประกอบอาชีพ ได้แก่ - กิจกรรมการนำนักเรียนเข้าร่วมงาน Job Expo Thailand ศึกษาแหล่งเรียนรู้ ภายนอก ในงานเปิดตลาดของการทำงานใน สถานประกอบการ การจัดนิทรรศการ การ สาธิตอาชีพต่างๆ - กิจกรรมเปิดบ้านแนะแนวการศึกษา ต่อที่มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ แผนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น แผนการเรียนวิทยาศาสตร์- คณิตศาสตร์ แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ (SMT) แผนการเรียนคณิตศาสตร์-ภาษาอังกฤษ (ธุรกิจ) แผนการเรียน คอมพิวเตอร์ดิจิทัล แผนการเรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน แผนการ เรียนภาษาอังกฤษ-ภาษาฝรั่งเศส แผนการเรียนภาษาอังกฤษ ภาษาไทย-สังคมศึกษา ฯลฯ 5. จัดกิจกรรมให้นักเรียนจะได้รับทักษะความรู้และฝึก ประสบการณ์จริงจากแหล่งเรียนรู้และผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน 6. มีการนำระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนมาใช้ในการสร้าง เจตคติที่ดีต่ออาชีพและช่วยเหลือด้านทักษะความรู้แก่นักเรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้มีทักษะในการทำงาน มีการวางแผน อย่างเป็นระบบ รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น มีความสุข ในการทำงาน สามารถทำงานให้บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ 7. จัดนิทรรศการการศึกษาต่อและอาชีพ ซึ่งจะเป็นแนวทาง ประกอบการตัดสินใจ/วางแผนการเรียนและอาชีพ พร้อมทั้งทำแบบ สำรวจความสนใจในอาชีพ วิเคราะห์บุคลิกภาพที่เหมาะสม ในการศึกษาต่อและอาชีพ โดยกรมการจัดหางาน ทำให้ผู้เรียนทุกคน มีความพร้อมในการศึกษาต่อและการฝึกงาน รายงานผลการปฏิบัติงาน 2. รายงานโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน (แนบ QR CODE) ไม่มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล หลักฐาน ผลการประเมิน 1. เครื่องมือ 1.1) แบบประเมินความรู้ทักษะพื้นฐานและ เจตคติที่ดีต่อการงานอาชีพของงานแนะนว 1.2) ประเมินสมรรถนะความสามารถใน ด้านทักษะชีวิตของนักเรียน 1.3) แบบสอบถาม 1.4) แบบสังเกต/บันทึก 1.5) เครื่องมืออื่นๆ 6.1 ผลการประเมินความรู้ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่อการงาน อาชีพของนักเรียน ปีการศึกษา 2566 แผนภูมิแสดงค่าร้อยละของผลการประเมินความรู้ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่อการงานอาชีพ ของนักเรียนชั้น ม. 1- 6 ระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2566 81.8085.0983.3382.0280.2682.4681.5883.9982.0281.36 82.39 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ร้อยละ ร้อยละของจํานวนนักเรียนที่มีผลการประเมินความรู้ทักษะพื้นฐานและ เจตคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2566


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 55 2. หลักฐานข้อมูล 2.1) รายงานผลการดำเนินโครงการ/ กิจกรรมพัฒนานักเรียนให้มีทักษะในการ ทำงาน 2.2) รายงานผลการดำเนินโครงการ/ กิจกรรมส่งเสริมอาชีพ 2.3) รายงานผลการดำเนินโครงการ/ กิจกรรมการแนะแนวเพื่อการประกอบอาชีพ 6.2 ผลการประเมินสมรรถนะความสามารถในด้านทักษะชีวิต ของนักเรียน ตามระดับชั้นและในภาพรวม ปีการศึกษา 2566 แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินสมรรถนะความสามารถ ในด้านทักษะชีวิต ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ระดับดี ขึ้นไป ปีการศึกษา 2566 6.3 ผลการประเมินความสามารถด้านทักษะชีวิตในการเรียนรู้ ของนักเรียน ในรายวิชาการงานอาชีพ ปีการศึกษา 2566 แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินความสามารถด้าน ทักษะชีวิตในการเรียนรู้ในรายวิชาการงานอาชีพ ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 ระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2566 90.85 87.84 82.33 92.50 95.35 86.85 89.52 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ยรวม ร้อยละ ร้อยละของจํานวนนักเรียนที่มีผลการประเมินสมรรถนะ ด้านการใช้ทักษะชีวิตในระดับดีขึ้นปีการศึกษา 2566 79.47 83.95 82.18 88.63 83.92 80.98 83.12 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6 เฉลี่ยรวม ร้อยละ ร้อยละของจํานวนนักเรียนที่มีความสามารถด้านทักษะชีวิตในการเรียนรู้ วิชาการงานอาชีพ ในระดับดีขึ้นไป ปีการศึกษา 2566


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 56 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 1. การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด ร้อยละ 9๔.๙๙ ระดับผลการประเมิน: ยอดเยี่ยม โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน กระบวนการพัฒนา 1. โครงการ/กิจกรรม 1.1) มีโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม คุณลักษณะ และค่านิยมที่ดีได้แก่ - กิจกรรมเฉลิมพระชนมพรรษาฯ ร.๑๐ - กิจกรรมตักบาตรวันขึ้นปีใหม่ - กิจกรรมวันไหว้ครู - กิจกรรมค่ายโครงการเสริมสร้าง กระบวนการผู้นำเยาวชนต้านทุจริต เป็นต้น 1.2) มีโครงการ/กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด นักศึกษาวิชาทหาร จิตอาสา ได้แก่ - กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารียุวกาชาด - กิจกรรมการรักษาดินแดน (ร.ด.) - กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณ ประโยชน์เป็นต้น ๑.ประชุมและวางแผนดำเนินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมด้าน คุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด ๒. ดำเนินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมด้านคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี ตามที่สถานศึกษากำหนด ๓. ตรวจสอบและประเมินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมด้านคุณลักษณะ และค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด ๔. นำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาโครงการ/กิจกรรมส่งเสริด้าน คุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด ๕. สรุปและรายงานผลการพัฒนาโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมด้าน คุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ 2567 คำสั่งปฏิบัติงานประจำปี2566 คำสั่งปฏิบัติงานประจำปี256๗ 2. รายงานโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน มีรายงานโครงการ/กิจกรรมที่ ดำเนินงาน (แนบ QR CODE) ไม่มีรายงานโครงการ/กิจกรรมที่ ดำเนินงาน เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล หลักฐาน ผลการประเมิน 1. เครื่องมือ 1.1) แบบประเมินการมีคุณลักษณะและ ค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด 1.2) เครื่องมืออื่นๆ ที่มี/ถ้ามี แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินด้านคุณลักษณะและ ค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด ดังนี้ ตารางแสดงผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์(%) ระดับชั้น ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ดีเยี่ยม ดี รวม ดีเยี่ยม ดี รวม มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ๘๕.๘0 ๑๐.๕๒ ๙๖.๓๒ ๘๖.๙0 ๕.๓๓ ๙๒.๒๓ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๘๔.๒๒ ๑๑.๐๖ ๙๕.๒๘ ๘๔.๔๕ ๖.๗0 ๙๑.๑๕ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ๘๓.๘๗ ๙.๑๘ ๙๓.๐๕ ๘๕.00 ๖.๑๕ ๙๑.๑๕ มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ๘๕.๒๕ ๘.00 ๙๓.๒๕ ๘๓.00 ๙.00 ๙๒.00 มัธยมศึกษาปีที่ ๕ ๙๒.00 ๔.๑ ๙๖.๑0 ๘๙.๖0 ๕.๒0 ๙๔.๘0 มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ๘๘.๓0 ๔.๑๕ ๙๒.๔๕ ๘๕.๔0 ๖.๗0 ๙๒.๑0 ค่าเฉลี่ย ๘๖.๖0 ๗.๘๔ ๙๔.๔๑ ๘๕.๗๓ ๖.๕๑ ๙๒.๒๓ เฉลี่ยรวม ๒ ภาคเรียน ๙๓.๓๒ ผลประเมินระดับดีเยี่ยม ๘๖.๑๗ 2. หลักฐานข้อมูล 2.1) รายงานผลการดำเนินโครงการ/ กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม คุณลักษณะ และ ค่านิยมที่ดี 2.2) รายงานผลการดำเนินโครงการ/ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารียุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ นักศึกษาวิชาทหาร จิต อาสา


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 57 ผลการประเมินกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารียุวกาชาด ภาคเรียนที่ 1 ระดับชั้น จำนวน นักเรียน ทั้งหมด จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ ผ่าน ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ ม. 1 328 295 89.94 33 10.06 ม. 2 262 245 93.51 17 6.49 ม. 3 245 209 85.31 36 14.69 ค่าเฉลี่ย 835 749 89.70 86 10.30 เฉลี่ยผ่านตามเกณฑ์ร้อยละ 89.70


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 58 ผลการประเมินกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารียุวกาชาด ของนักเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผลการประเมินกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารียุกาชาด ภาคเรียนที่ 2 ระดับชั้น จำนวน นักเรียน ทั้งหมด จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ ผ่าน ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ ม. 1 328 315 96.04 13 3.96 ม. 2 255 230 90.20 25 9.80 ม. 3 232 210 90.52 22 9.48 ค่าเฉลี่ย 815 755 92.64 60 7.36 เฉลี่ยผ่านตามเกณฑ์ร้อยละ 92.64 ผลการประเมินกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารียุวกาชาด ของนักเรียน ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา 2566


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 59 ผลเฉลี่ยรวมผลการประเมินกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารียุวกาชาด ภาคเรียนที่ 1 และ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ผลการประเมินกิจกรรมนักศึกษาวิชาทหาร ภาคเรียนที่ 1 ระดับชั้น จำนวน นักเรียน ทั้งหมด จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับ คุณภาพ ผ่าน ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อย ละ จำนวน (คน) ร้อยละ ม. 4 17 17 100 - - ม. 5 13 13 100 - - ม. 6 29 29 100 - - รวม 59 59 100 - - เฉลี่ยผ่านตามเกณฑ์ร้อยละ 100 ผลเฉลี่ยรวมผลการประเมินกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารียุวกาชาด ภาคเรียนที่ 1 และ ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรียน จำนวน นักเรียน ทั้งหมด จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับคุณภาพ ผ่าน ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ ภาคเรียนที่ 1 835 749 89.70 86 10.30 ภาคเรียนที่ 2 815 755 92.64 60 7.36 ค่าเฉลี่ย 1,650 1504 91.15 146 8.85 เฉลี่ยผ่านตามเกณฑ์ร้อยละ 91.15


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 60 ผลการประเมินกิจกรรมนักศึกษาวิชาทหาร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผลการประเมินกิจกรรมนักศึกษาวิชาทหาร ภาคเรียนที่ 2 ระดับชั้น จำนวน นักเรียน ทั้งหมด จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับ คุณภาพ ผ่าน ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อย ละ จำนวน (คน) ร้อยละ ม. 4 17 17 100 - - ม. 5 13 13 100 - - ม. 6 29 29 100 - - รวม 59 59 100 - - เฉลี่ยผ่านตามเกณฑ์ร้อยละ 100 ผลการประเมินกิจกรรมนักศึกษาวิชาทหาร ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา 2566


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 61 ผลการประเมินกิจกรรมนักศึกษาวิชาทหาร ภาคเรียนที่ ๑ และ ภาคเรียนที่ 2 ระดับชั้น จำนวน นักเรียน ทั้งหมด จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับ คุณภาพ ผ่าน ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อย ละ จำนวน (คน) ร้อยละ ภาคเรียนที่ 1 59 59 100 - - ภาคเรียนที่ 2 59 59 100 - - รวม 118 118 100 - - เฉลี่ยผ่านตามเกณฑ์ร้อยละ 100 ผลเฉลี่ยรวมการประเมินกิจกรรมนักศึกษาวิชาทหาร ภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ผลการประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ภาคเรียนที่ 1 ระดับชั้น จำนวน นักเรียน ทั้งหมด จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับ คุณภาพ ผ่าน ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ ม. 1 328 315 96.04 13 3.96 ม. 2 262 250 95.42 12 4.58 ม. 3 245 232 94.69 13 5.31 ม. 4 242 236 97.52 6 2.48 ม. 5 267 246 92.13 3 1.12 ม. 6 222 212 95.50 10 4.50 ค่าเฉลี่ย 1,566 1,491 95.21 75 4.79 เฉลี่ยผ่านตามเกณฑ์ร้อยละ 95.21


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 62 ผลการประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ภาคเรียนที่ 1 ผลการประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ภาคเรียนที่ 2 ระดับชั้น จำนวน นักเรียน ทั้งหมด จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับ คุณภาพ ผ่าน ไม่ผ่าน จำนว น (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ ม. 1 328 312 95.12 16 4.88 ม. 2 255 250 98.04 5 1.96 ม. 3 232 225 96.98 7 3.02 ม. 4 240 232 96.67 8 3.33 ม. 5 258 246 95.35 12 4.65 ม. 6 213 196 92.02 17 7.98 ค่าเฉลี่ย 1,526 1,461 95.74 65 4.26 เฉลี่ยผ่านตามเกณฑ์ร้อยละ 95.74 ผลการประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ภาคเรียนที่ 2


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 63 ผลเฉลี่ยรวมการประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 ผลการประเมินกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ภาคเรียนที่ ๑ และ ภาคเรียนที่ 2 ระดับชั้น จำนวน นักเรีย น ทั้งหม ด จำนวนร้อยละของนักเรียนตามระดับ คุณภาพ ผ่าน ไม่ผ่าน จำนวน (คน) ร้อยละ จำนวน (คน) ร้อยละ ภาคเรียนที่ 1 1,566 1,491 95.21 75 4.79 ภาคเรียนที่ 2 1,526 1,461 95.74 65 4.26 ค่าเฉลี่ย 3,092 2,952 95.47 140 4.53 เฉลี่ยผ่านตามเกณฑ์ร้อยละ 95.74 2. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ร้อยละ 96.๑๑ ระดับผลการประเมิน: ยอดเยี่ยม โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน กระบวนการพัฒนา 1. โครงการ/กิจกรรม 1.1) มีโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมความ ภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ได้แก่ - กิจกรรมการทำบุญตักบาตร และ กิจกรรมสวดมนต์ยาวในวันศุกร์ - กิจกรรมไหว้ครู - กิจกรรมประดับเข็มพระเกี้ยว - กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระ นางเจ้าฯ พระบรมราชินี - กิจกรรมวันสถาปนาโรงเรียน - กิจกรรมวันอาสาฬหบูชาและวัน เข้าพรรษา ๑. ประชุมและวางแผนดำเนินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมความภูมิใจ ในท้องถิ่นและความเป็นไทย ๒. ดำเนินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมความภูมิใจในท้องถิ่นและความ เป็นไทย ๓. ตรวจสอบและประเมินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมความภูมิใจใน ท้องถิ่นและความเป็นไทย ๔. นำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาโครงการ/กิจกรรมส่งเสริม ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ๕. สรุปและรายงานผลการพัฒนาโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมความ ภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 64 - กิจกรรมเทศน์มหาชาติ - กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ - วันสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า - กิจกรรมการสอบธรรมศึกษา - กิจกรรมวันพ่อแห่งชาติ - กิจกรรมวันขึ้นปีใหม่ - กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ - กิจกรรมวันลอยกระทง - กิจกรรมเปิดบ้านวิชาการ - กิจกรรมชมรมนาฏศิลป์และดนตรีไทย แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ 2567 คำสั่งปฏิบัติงานประจำปี2566 คำสั่งปฏิบัติงานประจำปี256๗ 2. รายงานโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน (แนบ QR CODE) ไม่มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล หลักฐาน ผลการประเมิน 1. เครื่องมือ 1.1) แบบประเมินกิจกรรมส่งเสริมความ ภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 1.2) เครื่องมืออื่นๆ ที่มี/ถ้ามี แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินด้านความภูมิใจใน ท้องถิ่นและความเป็นไทย ดังนี้ - ผลการประเมินกิจกรรมการทำบุญตักบาตร และกิจกรรม สวดมนต์ยาวในวันศุกร์ ที่อยู่ในระดับ ดีขึ้นไป คิดเป็นร้อย ละ ๙๗.๖๓ - ผลการประเมินกิจกรรมไหว้ครูที่อยู่ในระดับ ดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ ๙๖.54 - ผลการประเมินกิจกรรมประดับเข็มพระเกี้ยว ที่อยู่ในระดับ ดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ ๙8.88 - ผลการประเมินกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีที่อยู่ในระดับ ดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ ๙5.32 - ผลการประเมินกิจกรรมวันสถาปนาโรงเรียน ที่อยู่ในระดับ ดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 97.14 - ผลการประเมินกิจกรรมวันอาสาฬหบูชาและวันเข้าพรรษา ที่อยู่ในระดับ ดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 96.42 - ผลการประเมินกิจกรรมเทศน์มหาชาติที่อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 93.87 - ผลการประเมินกิจกรรมวันแม่แห่งชาติที่อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 96.55 - ผลการประเมินวันสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า ที่อยู่ในระดับ ดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 98.37 - ผลการประเมินกิจกรรมการสอบธรรมศึกษา ที่อยู่ในระดับ ดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 96.65 2. หลักฐานข้อมูล 2.1) รายงานผลการดำเนินโครงการ/ กิจกรรมส่งเสริมความภูมิใจในท้องถิ่นและ ความเป็นไทย 2.2) รายงานผลการดำเนินโครงการ/ กิจกรรมวันสำคัญต่าง ๆ


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 65 - ผลการประเมินกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติที่อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 94.66 - ผลการประเมินกิจกรรมวันขึ้นปีใหม่ ที่อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 94.47 - ผลการประเมินกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติที่อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 92.51 - ผลการประเมินกิจกรรมวันลอยกระทง ที่อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 98.36 - ผลการประเมินกิจกรรมเปิดบ้านวิชาการ ที่อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 94.25 - ผลการประเมินกิจกรรมชมรมนาฏศิลป์และดนตรีไทย ที่อยู่ในระดับ ดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 93.66


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 66 สรุปผลการประเมินด้านความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ที่อยู่ในระดับ ดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ ๙6.11 สูงกว่าเป้าหมาย ที่กำหนดไว้ 3. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ร้อยละ 98.50 ระดับผลการประเมิน: ยอดเยี่ยม โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน กระบวนการพัฒนา 1. โครงการ/กิจกรรม 1.1) มีโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมการ ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและ หลากหลาย ได้แก่ - กิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย(การ เลือกตั้งประธานสภานักเรียน) - กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารียุวกาชาด - กิจกรรมวันอาเซียน - กิจกรรมวันคริสต์มาส - กิจกรรมกีฬาสี - กิจกรรมวันตรุษจีน เป็นต้น ๑. ประชุมและวางแผนดำเนินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมการยอมรับ ที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ๒. ดำเนินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบน ความแตกต่างและหลากหลาย ๓. ตรวจสอบและประเมินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมการยอมรับที่จะ อยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ๔. นำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาโครงการ/กิจกรรมส่งเสริม การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ๕. สรุปและรายงานผลการพัฒนาโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมการ ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ 2567 คำสั่งปฏิบัติงานประจำปี2566 คำสั่งปฏิบัติงานประจำปี256๗ 2. รายงานโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน (แนบ QR CODE) ไม่มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 67 เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล หลักฐาน ผลการประเมิน 1. เครื่องมือ 1.1) แบบประเมินกิจกรรมส่งเสริมการ ยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและ หลากหลาย 1.2) เครื่องมืออื่นๆ แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินด้านการยอมรับที่จะอยู่ ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ดังนี้ - ผลการประเมินกิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย (การเลือกตั้ง ประธานสภานักเรียน) ที่อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ ๙๘.00 - ผลการประเมินกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี/ยุวกาชาด ที่อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ ๙๙.0๐ - ผลการประเมินกิจกรรมวันอาเซียน ที่อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ ๙๘.0๐ - ผลการประเมินกิจกรรมวันคริสต์มาส ที่อยู่ในระดับ ดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ ๙๙.0๐ - ผลการประเมินกิจกรรมวันกีฬาสี ที่อยู่ในระดับ ดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ ๙๙.0๐ - ผลการประเมินกิจกรรมวันตรุษจีน ที่อยู่ในระดับ ดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ ๙๘.0๐ สรุปผลการประเมินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมการยอมรับ ที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ที่อยู่ในระดับ ดีขึ้น ไป คิดเป็นร้อยละ ๙๘.๕๐ สูงกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ 2. หลักฐานข้อมูล 2.1) รายงานผลการดำเนินโครงการ/ กิจกรรมส่งเสริมการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกัน บนความแตกต่างและหลากหลาย และการ ส่งเสริมประชาธิปไตยในสถานศึกษา


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 68 4. สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม ร้อยละ ๘๗.๓๗ ระดับผลการประเมิน: ยอดเยี่ยม โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน กระบวนการพัฒนา 1. โครงการ/กิจกรรม 1.1) มีโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะ ทางร่างกาย ได้แก่ - กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน - กิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียน - กิจกรรมอบรมการช่วยเหลือปฐม พยาบาลผู้ป่วยเบื้องต้น (First Aid) - กิจกรรมการฉีดวัคซีนป้องกันโรคคอ ตีบและบาดทะยัก - กิจกรรมการตรวจประเมินการ สุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - กิจกรรมวันต่อต้านยาเสพติด เป็นต้น 1.2) มีโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมด้าน จิตสังคม ได้แก่ - กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน - กิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียน เป็นต้น ๑. ประชุมและวางแผนดำเนินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะ ทางร่างกายและด้านจิตสังคม ๒. ดำเนินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะทางร่างกายและด้านจิต สังคม ๓. ตรวจสอบและประเมินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะ ทางร่างกายและด้านจิตสังคม ๔. นำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาโครงการ/กิจกรรมส่งเสริม สุขภาวะทางร่างกายและด้านจิตสังคม ๕. สรุปและรายงานผลการพัฒนาโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะ ทางร่างกายและด้านจิตสังคม แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ 2567 คำสั่งปฏิบัติงานประจำปี2566 คำสั่งปฏิบัติงานประจำปี256๗ 2. รายงานโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน (แนบ QR CODE) ไม่มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล หลักฐาน ผลการประเมิน 1. เครื่องมือ 1.1) แบบประเมินกิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะ ทางร่างกายและด้านจิตสังคม 1.2) เครื่องมืออื่นๆ ที่มี/ถ้ามี แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินด้านสุขภาวะทาง ร่างกายและลักษณะจิตสังคม ดังนี้ ๑. ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมสุขภาวะทางร่างกาย ภาคเรียนที่ ๑ ผลการประเมินอยู่ในระดับ ปกติคิดเป็นร้อยละ ๘๖.๗๒ และ ภาคเรียนที่ ๒ ผลการประเมินอยู่ในระดับ ปกติคิดเป็น ร้อยละ ๘๗.๐๓ 2. หลักฐานข้อมูล 2.1) รายงานผลการดำเนินโครงการ/ กิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะทางร่างกาย 2.2) รายงานผลการดำเนินโครงการ/ กิจกรรมส่งเสริมด้านจิตสังคม


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 69 ๒. สรุปผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมสุขภาวะทาง ร่างกาย ผลการประเมินที่อยู่ในระดับ ปกติ (สุขภาวะทางร่างกาย) คิดเป็นร้อยละ ๘๖.๘๗


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 70 ๓. ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมด้านจิตสังคม - ด้านสภาวะความมั่นคงทางอารมณ์ ผลการประเมินที่อยู่ในระดับ ปกติ คิดเป็นร้อยละ ๘๖.๓๖ - ด้านความประพฤติและความสัมพันธ์กับผู้อื่น ผลการประเมินที่อยู่ในระดับ ปกติ คิดเป็นร้อยละ ๘๘.๐๒ - ด้านสมาธิสั้น ผลการประเมินที่อยู่ในระดับ ปกติ คิดเป็นร้อยละ ๘๗.๘๔ - ด้าน EQ ความฉลาดทางอารมณ์ ผลการประเมินที่อยู่ในระดับ ปกติ คิดเป็นร้อยละ ๘๙.๐๖ 4. สรุปผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมด้านจิตสังคม ผลการประเมินที่อยู่ในระดับ ปกติ (ลักษณะจิตใจสังคม) คิดเป็น ร้อยละ ๘๗.๘๘


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 71 3. จุดเด่น ด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ มีการพัฒนาผู้เรียน ตามมาตรฐานการศึกษา ดำเนินการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างครอบคลุมและรอบด้าน ตามบริบทและ สถานการณ์ในการจัดการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มีการจัดกิจกรรมบูรณาการการเรียนรู้อย่างหลากหลายและ ต่อเนื่อง สามารถพัฒนาผู้เรียนได้อย่างครอบคลุม ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ ทั้งด้าน วิชาการ ดนตรีกีฬา ศิลปะ และมีความสามารถทางด้านเทคโนโลยีการสร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร ส่งเสริมนักเรียนให้มีโอกาสพัฒนาการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายนอกอย่างหลากหลาย ส่งนักเรียนเข้าร่วม การแข่งขันภายนอก มีผลงานดีเด่นระดับชาติหลายรายการ ส่งผลให้คุณภาพของผู้เรียนด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 84.87 โดยมีจุดเด่นจำแนกตามประเด็นพิจารณา ดังต่อไปนี้ 1. ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณที่เป็นไปตามเกณฑ์อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 85.58 2. ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์และความสามารถในการอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ที่เป็นไปตามเกณฑ์อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 89.25 3. ผู้เรียนมีความสามารในการสร้างนวัตกรรมที่เป็นไปตามเกณฑ์อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 85.04 4. ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เป็นไปตามเกณฑ์อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 87.62 5. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา อยู่ในระดับ ดีคิดเป็นร้อยละ 69.02 6. ผู้เรียนมีความรู้ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพที่เป็นไปตามเกณฑ์อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม คิดเป็น ร้อยละ 85.01 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ มีการพัฒนา ผู้เรียนตามมาตรฐานการศึกษาในด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน โดยพัฒนาด้านคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี ที่ตรงตามคุณลักษณะที่ต้องการให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียนจากกิจกรรมต่างๆ ที่โรงเรียนได้ส่งเสริมและสนับสนุน ได้แก่ กิจกรรมเนื่องในวันสำคัญทางศาสนา กิจกรรมทำบุญตักบาตร กิจกรรมไหว้ครูกิจกรรมอัญเชิญพระเกี้ยว กิจกรรม สถาปนาโรงเรียน กิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารีและยุวกาชาด กิจกรรมวันอาเซียน กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน กิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียน และการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆจากหน่วยงาน ภายนอก เป็นต้น กิจกรรมเหล่านี้เป็นการปลูกฝังคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีส่งผลให้คุณภาพของผู้เรียน ๕. สรุปสรุปผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะ ทางร่างกายและด้านจิตสังคม คิดเป็นร้อยละ ๘๗.๓๗ สูงกว่าค่า เป้าหมายที่กำหนดไว้


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 72 ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 94.99 โดยมีจุดเด่นจำแนกตาม ประเด็นพิจารณาดังต่อไปนี้ ๑. ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนดที่เป็นไปตามเกณฑ์ อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 94.99 2. ผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทยที่เป็นไปตามเกณฑ์ อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 96.11 3. ผู้เรียนยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลายที่เป็นไปตามเกณฑ์อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 98.50 4. ผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคมที่เป็นไปตามเกณฑ์อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม คิดเป็น ร้อยละ 87.37 4. จุดควรพัฒนา 4.1 การสร้างความตระหนักรู้ในองค์กร ในการจัดการศึกษาให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สอดคล้องกับค่า เป้าหมายของสถานศึกษาในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามบริบทของสถานศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ให้มีค่าการพัฒนาที่สูงขึ้น 4.2 การบูรณาการในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ไม่ให้ส่งผลกระทบต่อเวลาเรียน ลดความซ้ำซ้อน ของกิจกรรม เน้นสาระของกิจกรรมให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนมากกว่าเน้นความบันเทิง 4.3 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมทักษะ ในศตวรรษที่ 21 ให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียนอย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น 4.4 ปรับปรุงการดำเนินงานด้านสารสนเทศให้มีความสมบูรณ์และเป็นปัจจุบันเพื่อความสะดวกในการศึกษา ผลการดำเนินงานต่างๆ รวมถึงนำปัญหาและอุปสรรคมาเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพ 4.5 ควรมีการควรพัฒนารูปแบบและเครื่องมือในการประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์และค่านิยมที่ดี ของนักเรียนให้มีความเข้มข้นและเหมาะสมกับบริบทของนักเรียน อันเป็นประโยชน์ต่อการแก้ปัญหาพฤติกรรมนักเรียน ที่ไม่พึงประสงค์ได้เช่น การมาสาย การขาดเรียนนาน ความก้าวร้าว เป็นต้น 5. แนวทางการคงสภาพคุณภาพมาตรฐาน จัดการศึกษาเพื่อมุ่งพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอย่างครอบคลุม รอบด้าน และต่อเนื่อง ตามบริบทและ สถานการณ์เน้นการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการการเรียนรู้อย่างหลากหลาย และลดภาระที่ไม่จำเป็นให้แก่ผู้เรียนเพื่อให้ ผู้เรียนมีเวลาในการค้นหาตัวเองและศึกษาค้นคว้าในสิ่งที่ตนเองสนใจเพิ่มเติม


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 73 แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบผลการประเมินมาตรฐานการศึกษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ปีการศึกษา 2564 - 2565 – 2566 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ เฉลี่ยรวม ปี 2564 87.25 94.78 91.01 ปี 2565 87.57 92.51 87.57 ปี 2566 84.87 94.24 86.50 87.25 94.78 91.01 87.57 92.51 87.57 84.87 94.24 86.50 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ร้อยละ แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบผลการประเมินมาตรฐานการศึกษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ในปีการศึกษา 2564 - ปีการศึกษา 2566


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 74 แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบผลการประเมินด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ปีการศึกษา 2564 - 2565 – 2566 แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบผลการประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ปีการศึกษา 2564 - 2565 - 2566 การอ่าน เขียน สื่อสาร และคิด คํานวณ การคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมี วิจารณญาณฯ การสร้าง นวัตกรรม การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนตาม หลักสูตร ความรู้ ทักษะ พื้นฐานเจตคติที่ดี ต่องานอาชีพ เฉลี่ยรวม ปี 2564 86.05 91.38 86.52 91.28 72.36 95.90 87.25 ปี 2565 85.11 90.45 82.73 90.76 77.75 89.71 87.57 ปี 2566 85.58 89.25 85.04 87.62 69.02 85.01 84.87 86.05 91.38 86.52 91.28 72.36 95.90 85.11 87.25 90.45 82.73 90.76 77.75 89.… 87.57 85.58 89.25 85.04 87.62 69.02 85.01 84.87 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ร้อยละ แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบคุณภาพของผู้เรียนด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ในปีการศึกษา 2564 - ปีการศึกษา 2566 คุณลักษณะและค่านิยม ที่ดีตามสถานศึกษาฯ ความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทย การยอมรับที่จะอยู่ ร่วมกันบนความ แตกต่างฯ สุขภาวะทางร่างกาย และลักษณะจิตสังคม เฉลี่ยรวม ปี 2564 92.91 95.77 98.50 91.94 94.78 ปี 2565 87.13 97.62 98.67 86.62 92.51 ปี 2566 94.99 96.11 98.50 87.37 94.24 92.91 95.77 98.50 91.94 94.78 87.13 97.62 98.67 86.62 92.51 94.99 96.11 98.50 87.37 94.24 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ร้อยละ แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบคุณภาพของผู้เรียนด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในปีการศึกษา 2564 - ปีการศึกษา 2566


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 75 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 1. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ มีการประชุมวางแผนการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษา และพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อเป็นหลักประกันให้กับสังคมว่า สถานศึกษา จัดการศึกษาได้คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยอาศัยวัฒนธรรมองค์กรด้านการอยู่ ร่วมกันที่เอื้อต่อการพัฒนางาน และเริ่มต้นจากกระบวนการวิเคราะห์สภาพปัญหา และผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา อย่างเป็นระบบ โดยการศึกษาข้อมูลสารสนเทศ จากผลการนิเทศ ติดตามประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบาย การปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็นโดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของบุคลากรในสถานศึกษา เพื่อวางแผนและร่วมกันกำหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์กำหนดพันธกิจ กลยุทธ์ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้มีความรู้คู่คุณธรรมอันเป็นเป้าหมายที่สำคัญของสถานศึกษา โดยมีกระบวนการดำเนินงานตามระบบการบริหารงานวงจรคุณภาพของเดมมิ่ง (PDCA) ได้แก่ การวิเคราะห์ ความต้องการของผู้รับบริการและนโยบายขององค์กรหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การกำหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย กลยุทธ์การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพและแผนปฏิบัติการ การดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ แผนกลยุทธ์ แผนงาน โครงการและกิจกรรม การติดตาม ตรวจสอบ โครงการและกิจกรรมต่างๆ การสรุปผลและการนำผลการ ประเมินไปใช้ในการพัฒนา ตลอดจนการรายงานผลการพัฒนา ดังแผนภาพต่อไปนี้ แผนภาพกระบวนการดำเนินงาน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการยานนาเวศ สถานศึกษา มีการบริหารจัดการโดยยึดหลักการบริหารงาน วงจรคุณภาพของเดมมิ่ง (PDCA) มีการประชุมทบทวนวิสัยทัศน์พันธกิจ และนโยบายต่างๆ อันจะช่วยส่งเสริมและ นำไปสู่การปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของครูเกิดผลดีต่อคุณภาพของผู้เรียนทั้งทางด้านผลสัมฤทธิ์ ทางวิชาการของผู้เรียนและด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน โดยมีประเด็นสำคัญดังต่อไปนี้ 1. วิเคราะห์ความต้องการของผู้รับบริการและ นโยบายขององค์กรและหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง 2. กำหนดวิสัยทัศน์พันธกิจ เป้าหมาย กลยุทธ์ 3. จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพและแผนปฏิบัติ การ 1. ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ กลยุทธ์ แผนงาน โครงการ และกิจกรรม ซึ่งเป็น การดำเนินการต่อจากขั้นการวางแผน 1. สรุปผลและนำผลการประเมินไปใช้ใน การพัฒนา การปรับปรุง หรือการแก้ไข 2. รายงานผลการพัฒนา 1. ติดตาม ตรวจสอบ โครงการและกิจกรรม ที่ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการเพื่อนำไปใช้ ในการปรับปรุง การแก้ไข หรือการพัฒนา PLAN DO ACT CHECK


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 76 ข้อที่ 1 ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึงและเต็มตามศักยภาพ โรงเรียนเตรียม อุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้ดำเนินนโยบายให้โอกาสทางการศึกษากับผู้เรียนทั้งในการจัดการศึกษาภาคบังคับ และการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามศักยภาพของผู้เรียน มีการดำเนินการจัดแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายผ่านโครงการ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน อาทิการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา การจัดทำข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) กับ สถาบันการศึกษาชั้นนำทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ อีกทั้งยังมีการดำเนินโครงการ “พาน้องกลับมาเรียน” ซึ่งตอบสนองนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผ่านการร่วมมือของภาคีเครือข่ายโรงเรียน เช่น คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ สมาคมผู้ปกครองและครู โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ สมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนยานนาเวศวิทยาคม ผู้ปกครองเครือข่าย โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ และครูที่ปรึกษา ในการติดตามนักเรียนที่ขาดเรียนเป็นเวลานาน ให้กลับเข้ามาในระบบการศึกษาอีกครั้ง ตามขั้นตอน ข้อที่ ๒ พัฒนาและส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และคุณลักษณะ ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้ดำเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพผู้เรียน จัดทำ แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ จัดทำโครงสร้างการบริหารตามพรรณนางานในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียน อาทิกิจกรรมรวมใจลูก ต.อ.พ.ย. โดยงานระดับชั้น กิจกรรมการแข่งขันกีฬาภายในโดยงานคณะสี กิจกรรมค่ายคุณธรรมโดยงานส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม และกิจกรรมจิตอาสาโดยงานส่งเสริมกิจการนักเรียน อีกทั้งการส่งเสริมให้มีการอบรมในคาบโฮมรูมนักเรียนได้พบครูที่ปรึกษา มีการมอบนโยบายให้กับงานระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียนให้ดำเนินการต่างๆ อย่างเป็นระบบ เช่น การให้นักเรียนได้ปฏิบัติการทำกิจกรรมจิตอาสาต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง ข้อที่ ๓ ส่งเสริมสนับสนุนครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ โรงเรียนเตรียม อุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ดำเนินนโยบายที่ส่งเสริมสนับสนุนครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ทักษะ ความสามารถด้านต่างๆ เพื่อนำไปปรับใช้ในการดำเนินกิจกรรมตามโครงการที่กำหนดในแผนปฏิบัติการประจำปี ทั้งการอำนวยความสะดวกในการเดินทาง การใช้งบประมาณในการพัฒนาตนเองของครูและบุคลากรทางการศึกษา มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เช่น การเข้าร่วมอบรมพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ การเข้าร่วมประชุมสัมมนาในรายการ ต่างๆ การจัดให้มีการประเมินคุณภาพของครูผู้สอนประจำปีงบประมาณตามมาตรฐานของหลักเกณฑ์ว9 (PA) ข้อที่ ๔ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนและยึดหลักธรรมาภิบาล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ มีการพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาอยู่เสมอ โดยจัดให้มีการ ระดมทรัพยากร การประสานงานรับฟังความคิดเห็น ร่วมจัดทำและดำเนินการนโยบายต่างๆ ของโรงเรียนโดยการมี ส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายโรงเรียน ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สมาคมผู้ปกครองและครูสมาคมศิษย์ เก่า สมาคมครูเก่า มูลนิธิการศึกษา เครือข่ายผู้ปกครอง เป็นต้น 2. ผลการดำเนินงาน จากการพัฒนากระบวนการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษาที่มุ่งให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาตามมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่งผลให้สถานศึกษาเกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และนำไปสู่ผลการดำเนินงานที่บรรลุตาม เป้าหมายซึ่งจำแนกตามประเด็นพิจารณา ได้ดังต่อไปนี้ 1. มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน ระดับผลการประเมิน: ยอดเยี่ยม โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน กระบวนการพัฒนา 1. โครงการ/กิจกรรม มีโครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการ กำหนด/ทบทวน วิสัยทัศน์และพันธกิจของ สถานศึกษา ได้แก่ กิจกรรมการประชุม โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ มีการทบทวน เป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจที่ชัดเจน สอดคล้องกับบริบท ของสถานศึกษา และความต้องการของชุมชน เป็นไปได้ในการปฏิบัติ โดยมีการประชุม คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดทำ


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 77 จัดทำแผนปฏิบัติการโรงเรียนเตรียม อุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ รวมทั้งการประกาศค่าเป้าหมายความสำเร็จในแต่ละมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2566 โดยการศึกษาบริบทของโรงเรียน ชุมชน คุณภาพผู้เรียนในรอบปีที่ผ่านมา เน้นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะ ๕ ด้าน เพื่อไปสู่พลเมืองไทยและพลเมืองโลกอย่างมีคุณภาพ ผู้เรียนในปัจจุบัน ได้รับการพัฒนาด้านวิชาการและด้านคุณธรรม และจริยธรรม โดยอาศัยจุดเด่นของโรงเรียนด้านความพร้อมของภาคี เครือข่ายและคณะครูที่พร้อมดำเนินการเพื่อตอบสนองนโยบาย ให้บรรลุตามเป้าหมาย แต่จุดด้อยของโรงเรียนคือความพร้อม ของผู้เรียนที่อาจมีข้อจำกัดหลายด้าน เช่น ด้านเศรษฐกิจ ด้านครอบครัวที่ยังไม่สามารถให้การสนับสนุนผู้เรียนด้านการศึกษา ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพเท่าที่ควรจะเป็นซึ่งนับเป็นอุปสรรคสำคัญ โรงเรียนจึงได้สร้างโอกาสจากความร่วมมือของทุกภาคส่วน ที่เกี่ยวข้องอย่างเต็มศักยภาพ เช่น การมอบทุนการศึกษาจากหลาย หน่วยงานการจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างเข้มแข็งเพื่อช่วย ผู้เรียนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มประสิทธิภาพตามบริบท 2. รายงานโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน (แนบ QR CODE) ไม่มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล หลักฐาน ผลปรากฏ/คุณภาพที่เกิดขึ้น 1. แผนกลยุทธ์ 2. แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 3. แผนปฏิบัติการ สำหรับการบริหาร จัดการ ผลจากการดำเนินการจัดทำแผนกลยุทธ์แผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษา แผนปฏิบัติการที่จำเป็นต่างๆ ส่งผลให้เกิดการพัฒนาด้าน การบริหารจัดการของสถานศึกษา โดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายทั้ง ภายในและภายนอกที่ร่วมกันกำหนดวิสัยทัศน์พันธกิจ และค่านิยม ของสถานศึกษาอันสะท้อนให้เห็นถึงผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ตามหลักสูตรสถานศึกษา ดังจะเห็นได้จาก รายงานการประเมิน ตนเองประจำปีของสถานศึกษา โครงการตามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ ผลการนิเทศการจัดการเรียนรู้ของกลุ่มสาระ การเรียนรู้และสรุปผลการดำเนินงานในกิจกรรมต่างๆ ตามโครงการ ตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ ตามรูปแบบ PDCA ตัวอย่างของผลที่สะท้อนถึงการบรรลุตามพันธกิจโรงเรียน เช่น โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ได้รับรางวัล โรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำระดับ ๓ ดาว และการได้รับรางวัลโรงเรียน ที่มีแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การน้อมนำพระราโชบาย ด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ ๑๐ สู่การปฏิบัติระดับเขตพื้นที่ การศึกษา 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ระดับผลการประเมิน: ยอดเยี่ยม โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน กระบวนการพัฒนา 1. โครงการ/กิจกรรม 1.1) มีโครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการ วางแผนการพัฒนาระบบบริหารจัดการ คุณภาพการศึกษาโดยอ้างอิงแนวคิด/ทฤษฎี 1. สถานศึกษากำหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์และแผนงาน ของสถานศึกษาอย่างมีส่วนร่วมของครูบุคลากรทางการศึกษา และ ผู้เกี่ยวข้อง


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 78 ทางการบริหาร ได้แก่ โครงการอบรมเชิง ปฏิบัติการ เรื่องการพัฒนานวัตกรรมนิเวศ การเรียนรู้สู่ห้องเรียนแห่งความสุข ประสิทธิภาพสูง บริบทโรงเรียนคุณภาพ โครงการสัมมนาวิชาการ ภายใต้โครงการ พัฒนาครูและบุคลากรโรงเรียนในเครือ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ สู่ความเป็นเลิศ (ครั้งที่ ๙) 1.2) มีกิจกรรมการกำกับติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล โดยใช้วงจรคุณภาพ หรือใช้ รูปแบบบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษา ได้แก่ วงจรคุณภาพของเดมมิ่ง (PDCA) ในโครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 1.3) มีกิจกรรมการปรับปรุงพัฒนางานอย่าง ต่อเนื่องได้แก่ การจัดการประชุมครู ประจำเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อติดตาม/พัฒนา งาน และการปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนางาน ในกิจกรรมและโครงการต่างๆ 2. ผู้บริหารให้ความสำคัญการการนำผลการประเมินคุณภาพ ภายนอกมาเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการจัด การศึกษาอย่างต่อเนื่อง 3. ผู้บริหารมีภาวะผู้นำทางวิชาการ มีกระบวนการบริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาลเพื่อสะท้อนความรับผิดชอบต่อคุณภาพและ สวัสดิภาพของผู้เรียน ครอบคลุมทั้ง 6 หลัก ได้แก่ 1) หลักนิติธรรม 2) หลักคุณธรรม 3) หลักความโปร่งใส 4) หลักความมีส่วนร่วม 5) หลักความรับผิดชอบ และ 6) หลักความคุ้มค่า 4. ผู้บริหารส่งเสริมให้ครูบุคลากรทางการศึกษาใช้กระบวนการ PLC (Professional Learning Community) ในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาการจัดการเรียนรู้และติดตามประเมินผลการใช้PLC (Professional Learning Community) ของสถานศึกษาอย่าง ต่อเนื่อง 5. ผู้บริหารสร้างบรรยากาศสถานศึกษาให้เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ SLC (School as Learning Community) มีการจัดการความรู้และ เป็นแบบอย่างที่ดี 6. ผู้บริหารมีการบริหารจัดการหลักสูตร การสอน สื่อสารแผนงาน วิชาการและสร้างบรรยากาศทางวิชาการ 7. ผู้บริหารส่งเสริม กระตุ้น ชี้แนะ ให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา เห็นความสำคัญของการดำเนินงานเพื่อผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ดี ของผู้เรียน 8. ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน อย่างต่อเนื่องเป็นระบบและเชื่อถือได้นำผลการประเมินคุณภาพ ภายในและการประเมินคุณภาพภายนอกมาเป็นส่วนหนึ่งในการ ปรับปรุงพัฒนาตามข้อเสนอแนะอย่างเป็นรูปธรรม รวมทั้งรายงาน ผลการดำเนินงานต่อสาธารณชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 2. รายงานโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน (แนบ QR CODE) ไม่มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 79 เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล หลักฐาน ผลปรากฏ/คุณภาพที่เกิดขึ้น 1. รายงานผลกิจกรรมการวางแผนการ พัฒนาระบบบริหารจัดการคุณภาพ การศึกษาโดยอ้างอิงแนวคิด/ทฤษฎีทางการ บริหาร 2. รายงานผลกิจกรรมการกำกับติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล โดยใช้วงจร คุณภาพ หรือใช้รูปแบบบริหารจัดการ คุณภาพสถานศึกษา 3. รายงานผลกิจกรรมการปรับปรุงพัฒนา งานอย่างต่อเนื่อง 4. รายงานการประเมินตนเองประจำปีของ สถานศึกษา (SAR) ผลจากการดำเนินการพัฒนาระบบการบริหารจัดการคุณภาพ ของสถานศึกษา ส่งผลให้สถานศึกษามีวิธีปฏิบัติที่ดีและมีมาตรฐาน ได้รับการรับรองการประกันคุณภาพภายนอก (พ.ศ. 2565 - 2569) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จากสำนักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ได้รับความร่วมมือและการมี ส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากครูและบุคลากรทางการ ศึกษา และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ครูและบุคลากรทางการศึกษาเห็น ความสำคัญของการดำเนินงานเพื่อผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ดีของผู้เรียน อันส่งผลต่อคุณภาพและสวัสดิภาพของผู้เรียน สถานศึกษาเกิด บรรยากาศการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้รวมทั้งมีการพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่องของครูและบุคลากรทางการศึกษา นอกจากนั้น สถานศึกษายังได้รับรางวัลสำคัญๆ เช่น โรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำระดับ ๓ ดาว และการได้รับรางวัลโรงเรียนที่มีแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การน้อมนำพระราโชบายด้านการศึกษาของในหลวง รัชกาลที่ ๑๐ สู่การปฏิบัติระดับเขตพื้นที่การศึกษา 3. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย ระดับผลการประเมิน: ยอดเยี่ยม โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน กระบวนการพัฒนา 1. โครงการ/กิจกรรม 1.1) มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาวิชาการ ได้แก่ โครงการทัศนศึกษา กิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน โครงการพัฒนาวิชาการของกลุ่ม สาระการเรียนรู้ต่างๆ เช่น ค่ายบูรณาการ วิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ภาษาอังกฤษและ เทคโนโลยีการดำเนินการส่งเสริมนักเรียน เข้าแข่งขันทักษะวิชาการที่หลากหลาย 1.2) มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา ได้แก่ การประชุมจัดทำ หลักสูตรสถานศึกษาเพิ่มเติมใหม่ คือ หลักสูตรห้องเรียนพิเศษ (SMEP ) 1. มีการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2564 ตาม มาตรฐานและตัวชี้วัดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ปรับปรุง พัฒนา หลักสูตรให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับวิสัยทัศน์พันธกิจ นโยบาย และจุดเน้น เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการ ของผู้เรียน ชุมชน และสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคมในปัจจุบัน 2. มีการพัฒนาด้านวิชาการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของผู้เรียน อย่างเป็นระบบ โดยมีการประกาศค่าเป้าหมาย ความสำเร็จในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน การอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียน มีการนิเทศภายใน การวิจัยเพื่อพัฒนาและ แก้ปัญหาผู้เรียน จัดโครงการ/กิจกรรมเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ของผู้เรียน ได้แก่ โครงการปลอด 0, ร, มส, มผ เป็นต้น 2. รายงานโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน (แนบ QR CODE) ไม่มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 80 เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล หลักฐาน ผลปรากฏ/คุณภาพที่เกิดขึ้น 1. รายงานผลการดำเนินงานพัฒนาวิชาการ 2. รายงานผลการพัฒนาหลักสู ต ร สถานศึกษา 3. รายงานผลการประเมินหลักสูตร สถานศึกษา 4. เล่มหลักสูตรสถานศึกษา (แนบQR CODE) ผู้เรียนได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้อย่างรอบด้าน ทุกกลุ่มเป้าหมายตามความสนใจและความถนัดของผู้เรียน เชื่อมโยง กับชีวิตจริง ในรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาและ แผนการเรียนที่มีความหลากหลาย และได้รับประสบการณ์เสริม ผ่านโครงการ/กิจกรรมของกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระการ เรียนรู้และกลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ส่งผลให้เกิดการพัฒนา คุณภาพของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ระดับผลการประเมิน: ยอดเยี่ยม โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน กระบวนการพัฒนา 1. โครงการ/กิจกรรม มีโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมให้ครูและ บุคลากรได้พัฒนาตนเองด้วยวิธีการ ที่หลากหลาย ได้แก่ โครงการอบรมเชิง ปฏิบัติการ เรื่องการพัฒนานวัตกรรมนิเวศ การเรียนรู้สู่ห้องเรียนแห่งความสุข ประสิทธิภาพสูง บริบทโรงเรียนคุณภาพ โครงการสัมมนาวิชาการ ภายใต้โครงการ พัฒนาครูและบุคลากรโรงเรียนในเครือ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ สู่ความเป็นเลิศ (ครั้งที่ ๙) รวมทั้งการสนับสนุนให้ครูและ บุคลากรทางการศึกษาไปอบรมพัฒนา ตนเอง ตามความสนใจ 1. สถานศึกษามีการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา จัดทำแผนงาน ดำเนินงานตามแผนงาน ในการพัฒนาความรู้ทักษะวิชาชีพ และติดตามผลการพัฒนา ที่นำไปสู่การปฏิบัติของครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อนำมา ปรับปรุงแก้ไขอย่างต่อเนื่อง 2. มีการบริหารอัตรากำลังทรัพยากรทางการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ จัดบุคลากร วางตำแหน่งครูผู้สอนที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญได้ตรง สาขาวิชา 2. รายงานโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน (แนบ QR CODE) ไม่มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 81 เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล หลักฐาน ผลปรากฏ/คุณภาพที่เกิดขึ้น 1. รายงานผลการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมให้ ครูและบุคลากรได้พัฒนาตนเองด้วยวิธีการ ที่หลากหลาย ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาด้านความรู้และ ทักษะ เกิดความก้าวหน้าทางวิชาชีพซึ่งครอบคลุมเรื่องการจัดการ ความเสี่ยง ความปลอดภัย การดูแลคุ้มครองผู้เรียนจากการถูกรังแก และถูกคุกคามที่สอดคล้องกับสภาพและบริบทของสถานศึกษาใน ปัจจุบัน ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดในแต่ละปี การศึกษา และพัฒนาตนเองตามข้อตกลงโดยเห็นได้จาก สถิติการ เข้ารับการอบรมพัฒนาตนเองของครูและบุคลากร และร้อยละ ของครูมีวิทยฐานะสูงขึ้น ดังนี้ ครูมีวิทยฐานะสูงขึ้น จำนวน ๑๗ คน ครูได้รับรางวัล ครูดีในดวงใจ จำนวน ๑ คน ครูได้รับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ประเภทครูผู้สอน ระดับเขต พื้นที่การศึกษา จำนวน 1๓ คน สถิติการเข้ารับการอบรมพัฒนาตนเองของครูคิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ รวมทั้งการพัฒนาตนเองของครูด้วยการสำเร็จการศึกษาในระดับที่ สูงขึ้น จำนวน ๕ คน 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ระดับผลการประเมิน: ยอดเยี่ยม โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน กระบวนการพัฒนา 1. โครงการ/กิจกรรม 1.1) มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาสภาพ แวดล้อมทางกายภาพ สังคม แหล่งเรียนรู้ทั้ง ภายในและภายนอกห้องเรียนที่เอื้อต่อการ จัดการเรียนรู้(การจัดสภาพแวดล้อม อาคาร สถานที่ ปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ) ได้แก่ โครงการโรงเรียนปลอดภัย โครงการตรวจ สุขภาพนักเรียน ครูและบุคลากรทางการ ศึกษา กิจกรรมงานโภชนาการ โครงการ พ ั ฒ น า ร ะ บ บ ร ั ก ษ า ค ว า ม ป ล อ ด ภัย ของโรงเรียน เป็นต้น 1.2) มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาสวัสดิการ สวัสดิภาพ แนวทางการป้องกันโรค อุบัติภัย ภัยพิบัติได้แก่ กิจกรรมให้ความรู้ด้านภัย คุกคามรูปแบบใหม่ พร้อมทั้งจัดทำแผน ความปลอดภัยภายในโรงเรียน 1.3) มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาระบบและ กระบวนการช่วยเหลือผู้เรียน ได้แก่ 1. สถานศึกษามีอาคารสถานที่ สภาพแวดล้อม ปลอดภัยและ ถูกสุขลักษณะ มีแผนการบำรุงรักษาอาคารสถานที่ มีการประเมิน ความเสี่ยงตามบริบทของสถานศึกษา และมีมาตรการป้องกัน ความเสี่ยงทุกด้านอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เช่น การจัดระบบ ดูแลรักษาความปลอดภัยภายในโรงเรียน 2. มีการสร้างเครือข่าย สร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานภายนอก ในรูปแบบที่หลากหลาย และสร้างความรู้ สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาและการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนา ผู้เรียน โดยการมีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และให้ ความสำคัญกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Personal Data Protection Act : PDPA) 3. การจัดแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก เช่น ห้อง IT City Bank, ห้อง Knowledge Center, ห้องอาเซียน, ห้องศูนย์นวัตกรรม และหุ่นยนต์,ห้องเรียนรู้GSP, ห้องสมุดโรงเรียน, ห้องศูนย์การเรียนรู้ ภาษาด้วยตนเอง (Self-Access Language Learning Center), ห้องปฏิบัติการต่างๆ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระการ เรียนรู้และ 1 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งกลุ่มบริหาร 4 ฝ่าย การเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาดูงาน การทัศนศึกษาภายนอกโรงเรียน


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 82 โครงการ พาน้องกลับมาเรียน และโครงการ พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 1.4) มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาการ เสริมสร้างเครือข่ายผู้ปกครอง องค์กร และ ชุมชน เพื่อความร่วมมือในการสนับสนุนการ จัดการเรียนรู้และพัฒนาผู้เรียน ได้แก่ กิจกรรมการประชุมผู้ปกครองเครือข่าย โ รงเรียน และกิจกร รม ก ารป ร ะ ชุ ม คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้และ 1 กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน หรือกลุ่มบริหาร 4 ฝ่าย การพัฒนาการสุขาภิบาล อาหาร ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 2. รายงานโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน (แนบ QR CODE) ไม่มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล หลักฐาน ผลปรากฏ/คุณภาพที่เกิดขึ้น 1. รายงานผลการดำเนินกิจกรรมพัฒนา สภาพแวดล้อมทางกายภาพ สังคม แหล่ง เรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ 2. รายงานผลการดำเนินการใช้แหล่งเรียนรู้ ภายในและภายนอกห้องเรียนที่เอื้อต่อการ จัดการเรียนรู้ 1. อาคารสถานที่ พื้นที่สำหรับทำกิจกรรมการเรียนรู้สภาพแวดล้อม และสิ่งอำนวยความสะดวก ได้รับการปรับปรุง บำรุงรักษาให้พร้อม ใช้งาน ปลอดภัย และเพียงพอต่อผู้เรียน เช่น สวัสดิการด้าน โภชนาการ สถานที่รับประทานอาหาร น้ำดื่ม ห้องน้ำ การตรวจ สุขภาพ เป็นต้น 2. ผู้เรียนได้รับการดูแลอย่างเป็นระบบ ตามระบบการดูแลช่วยเหลือ นักเรียน และเกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างสถานศึกษากับผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานภายนอกในการส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ รวมทั้งเกิดความร่วมมือในการสนับสนุนการจัดการเรียนรู้และพัฒนา ผู้เรียน โดยคำนึงถึงการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Personal Data Protection Act : PDPA) 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ระดับผลการประเมิน: ยอดเยี่ยม โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน กระบวนการพัฒนา 1. โครงการ/กิจกรรม 1.1) มีโครงการ/กิจกรรมส่งเสริม สนับสนุน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการบริหาร จัดการ ได้แก่ การจัดประชุมรายงานการ สถานศึกษาจัดให้มีระบบเทคโนโลยีสนับสนุนการจัดการศึกษา มีสื่อ อุปกรณ์ที่เหมาะสมต่อการจัดการเรียนรู้ส่งเสริมการพัฒนา ตนเองของครูและบุคลากรทางการศึกษา มีการประเมินผลการใช้ ระบบเทคโนโลยีสื่อ อุปกรณ์และปรับปรุงพัฒนาอย่างเหมาะสมกับ


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 83 ประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาประจำปี แบบออนไลน์ผ่านโปรแกรมไมโครซอฟต์ทีม การนำระบบ School Health Hero มาช่วย ในการดำเนินการระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน 1.2) มีโครงการ/กิจกรรมส่งเสริม สนับสนุน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการจัดการ เรียนรู้ได้แก่ การจัดทำสื่อแหล่งเรียนรู้ ออนไลน์ของกลุ่มสาระการเรียนรู้เผยแพร่ ในเว็บไซต์โรงเรียน ผู้เรียนและบริบทของสถานศึกษารวมทั้งมีการจัดหา ปรับปรุง และ พัฒนาระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เทคโนโลยีสารสนเทศ มีการ จัดทำข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบด้วยเทคโนโลยีที่มีคุณภาพ สำหรับการจัดเก็บและการจัดการข้อมูลเพื่อให้บุคลากรสามารถ เข้าถึงและเรียกใช้ข้อมูลสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว ทันสมัย และลดปริมาณการใช้กระดาษ เช่น การจัดทำสารสนเทศ ของสถานศึกษาที่เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์ เพจเฟซบุ๊ก โรงเรียน การจัดทำหรือส่งต่อหนังสือ/ประกาศ/คำสั่งทางราชการ ในรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์การจัดทำข้อมูลสารสนเทศนักเรียน รายบุคคล Data Management Center (DMC) การใช้ระบบ "SCHOONEY-EOC SYSTEM" การขับเคลื่อนธนาคารโรงเรียนดิจิทัล (GSB Digital School Bank) ระบบ การจัดตารางเรียนแ ล ะ ตารางสอนของครูผู้สอน การรับสมัครนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 และ 4 ด้วยรูปแบบออนไลน์การนำระบบ School Health Hero มาช่วยในการดำเนินการในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็นต้น 2. รายงานโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน (แนบ QR CODE) ไม่มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล หลักฐาน ผลปรากฏ/คุณภาพที่เกิดขึ้น 1. รายงานผลการดำเนินกิจกรรมส่งเสริม สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการบริหารจัดการ 2. รายงานผลการดำเนินกิจกรรมส่งเสริม สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการจัดการเรียนรู้ ครูผู้สอนและผู้เรียนมีระบบและอุปกรณ์เทคโนโลยีพื้นฐานในการ เรียนการสอนที่เพียงพอตามบริบทของสถานศึกษาซึ่งช่วยส่งเสริม การพัฒนาตนเองของครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมถึงผู้เรียน ได้เป็นอย่างดีตามสมควรรวมทั้งช่วยให้ครูผู้สอนและผู้เรียนได้เข้าถึง แหล่งข้อมูล ความรู้การศึกษาค้นคว้าอย่างทั่วถึง เกิดประโยชน์และ ประสิทธิภาพสูงสุด เช่น การจัดแพลทฟอร์มรองรับการจัดการเรียนรู้ รูปแบบออนไลน์ด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์ทีม (Ms. Teams) การรายงาน/ประกาศผลการเรียนผ่านระบบ SGS เป็นต้น โดย คำนึงถึงความเหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา รวมทั้งการใช้ โปรแกรมไมโครซอฟต์ทีม (Ms. Teams) ในการจัดประชุมการ ประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา การนำระบบ Hero school มาช่วยในการดำเนินการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยมีครู ที่ปรึกษาเข้าใช้ระบบในการดำเนินการ จำนวน 38 ห้องเรียน จากจำนวน ๔๔ ห้องเรียน คิดเป็นร้อยละ 86.36 การจัดทำสื่อและ แหล่งเรียนรู้ออนไลน์ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ เผยแพร่ใน เว็บไซต์โรงเรียน (อยู่ระหว่างการดำเนินการพัฒนา) 3. จุดเด่น โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ มีการวางแผนการบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา อย่างเป็นระบบ ทั้งด้านการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา และการพัฒนาระบบการบริหารจัดการ มีการนำแผนไปสู่ การปฏิบัติมีการติดตามตรวจสอบและประเมินผล เพื่อปรับปรุงพัฒนางาน โดยใช้เทคนิคในการดำเนินงานที่เหมาะสม และหลากหลาย เช่น การประชุมระดมสมองและการประชุมแบบออนไลน์ เพื่อให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการกำหนด


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 84 วิสัยทัศน์พันธกิจ และเป้าหมาย ที่ชัดเจนและปฏิบัติได้โดยได้รับความร่วมมือจากองค์กรทั้งภายในและภายนอก เป็นอย่างดีตลอดจนมีการส่งเสริมและสนับสนุนการนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เป็นเครื่องมือในการบริหาร จัดการ เช่น การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์ทีม (Ms. Teams) ในการจัดประชุมการประเมินคุณภาพภายใน ของสถานศึกษา และการนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการสอนทั้งแบบปกติและ แบบออนไลน์รวมไปถึงระบบการรายงานต่างๆ เช่น การรายงานการมาเรียนของนักเรียนการประเมินผลของกิจกรรม การเรียนการสอน การเก็บข้อมูลด้านต่างๆ และการชำระเงินค่าอาหารในโรงอาหารแบบออนไลน์โดยใช้QR Code เป็นต้น ส่งผลให้การดำเนินกิจการของสถานศึกษาบรรลุตามวัตถุประสงค์และมีผลการประเมินมาตรฐานการศึกษา ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม โดยมีจุดเด่นจำแนกตามประเด็นพิจารณาดังต่อไปนี้ 1. มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน ดังจะเห็นได้จากการดำเนินการจัดประชุม จัดทำแผนปฏิบัติการปีงบประมาณ 2567-2571 โดยมีการกำหนดวิสัยทัศน์“โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ จัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลบนพื้นฐานความเป็นไทย” พันธกิจ โรงเรียนเตรียม อุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ (1) ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึงและเต็มตามศักยภาพ (2) พัฒนาและส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 (3) ส่งเสริมสนับสนุนครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ (4) พัฒนาระบบการบริหารจัด การศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วมในการสนับสนุนการจัดการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล และเป้าประสงค์โรงเรียนเตรียม อุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ผู้เรียนมีคุณธรรมนำความรู้บนพื้นฐานความเป็นไทย และมีศักยภาพเป็นพลโลก ในศตวรรษที่ 21 2. มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ดังจะเห็นได้จากการดำเนินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนานวัตกรรมนิเวศการเรียนรู้สู่ห้องเรียนแห่งความสุขประสิทธิภาพสูง บริบทโรงเรียนคุณภาพ และ โครงการสัมมนาวิชาการ ภายใต้โครงการพัฒนาครูและบุคลากรโรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ สู่ความ เป็นเลิศ (ครั้งที่ ๙) มีกิจกรรมการกำกับติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล โดยใช้วงจรคุณภาพ หรือใช้รูปแบบบริหาร จัดการคุณภาพสถานศึกษาได้แก่ วงจรคุณภาพของเดมมิ่ง (PDCA) ในโครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจำปี งบประมาณ 3. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย ดังจะเห็นได้จากการดำเนินโครงการพัฒนาวิชาการ ได้แก่ โครงการทัศนศึกษา กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โครงการพัฒนา วิชาการของกลุ่มสาระการเรียนรู้เช่น ค่ายบูรณาการวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และเทคโนโลยี การดำเนินการส่งเสริมนักเรียนเข้าแข่งขันทักษะวิชาการที่หลากหลาย มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การประชุมจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาเพิ่มเติมใหม่ คือ หลักสูตรห้องเรียนพิเศษ (SMEP) มุ่งส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนไปสู่ การเข้าศึกษาต่อในสาขาวิชาด้านการแพทย์และด้านภาษาอังกฤษ 4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ดังจะเห็นได้จากการดำเนินโครงการอบรมเชิง ปฏิบัติการ เรื่องการพัฒนานวัตกรรมนิเวศการเรียนรู้สู่ห้องเรียนแห่งความสุขประสิทธิภาพสูง บริบทโรงเรียนคุณภาพ โครงการสัมมนาวิชาการ ภายใต้โครงการพัฒนาครูและบุคลากรโรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ สู่ความ เป็นเลิศ (ครั้งที่ ๙) รวมทั้งการสนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาไปอบรมพัฒนาตนเองตามความสนใจ และ พัฒนาตนเองตามข้อตกลง โดยเห็นได้จาก สถิติการเข้ารับการอบรมพัฒนาตนเองของครูและบุคลากรทางการศึกษา และร้อยละของครูที่มีวิทยฐานะสูงขึ้น (จำนวน ๑๗ คน) ครูได้รับรางวัล ครูดีในดวงใจ จำนวน ๑ คน ครูได้รับรางวัล คุรุชนคนคุณธรรม ประเภทครูผู้สอน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา จำนวน 1๓ คน สถิติการเข้ารับการอบรมพัฒนาตนเอง ของครูคิดเป็นร้อยละ 95.29 รวมทั้งการพัฒนาตนเองของครูด้วยการสำเร็จการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น จำนวน ๕ คน 5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ดังจะเห็นได้จากการ ดำเนินโครงการ/กิจกรรมพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพ สังคม แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนที่เอื้อ ต่อการจัดการเรียนรู้(การจัดสภาพแวดล้อม อาคารสถานที่ ปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ) ได้แก่ โครงการโรงเรียน ปลอดภัย โครงการตรวจสุขภาพนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา กิจกรรมงานโภชนาการ โครงการพัฒนาระบบ รักษาความปลอดภัยของโรงเรียน เป็นต้น โครงการพัฒนาสวัสดิการและสวัสดิภาพของผู้เรียน แนวทางการป้องกันโรค


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 85 อุบัติภัย ภัยพิบัติได้แก่ กิจกรรมให้ความรู้ด้านภัยคุกคามรูปแบบใหม่ พร้อมทั้งจัดทำแผนความปลอดภัยภายใน โรงเรียน และโครงการ/กิจกรรมพัฒนาระบบและกระบวนการช่วยเหลือนักเรียน ได้แก่ โครงการพาน้องกลับมาเรียน อีกทั้งยังได้ดำเนินการจัดให้มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาการเสริมสร้างเครือข่ายผู้ปกครอง องค์กร และชุมชน เพื่อความ ร่วมมือในการสนับสนุนการจัดการเรียนรู้และพัฒนาผู้เรียน ได้แก่ กิจกรรมการประชุมผู้ปกครองเครือข่ายโรงเรียน และกิจกรรมการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ดังจะเห็นได้จากการ ดำเนินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริม สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจัดการ ได้แก่ การจัดประชุม รายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาประจำปีแบบออนไลน์ผ่านโปรแกรมไมโครซอฟต์ทีม การนำระบบ School Health Hero มาช่วยในการดำเนินการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ใช้ระบบ SGS ในการบันทึกข้อมูล ผลการวัดและประเมินผลการเรียนของผู้เรียน มีโครงการสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการจัดการเรียนรู้ ได้แก่การจัดทำสื่อแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ เผยแพร่ในเว็บไซต์โรงเรียน 4. จุดควรพัฒนา 1. การจัดสรรงบประมาณเพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ ทั้งรูปแบบ ออนไซต์และรูปแบบออนไลน์ที่ทันสมัย น่าสนใจ เพื่อการสร้างโอกาสให้ผู้เรียนเข้าถึงการศึกษาได้อย่างเท่าเทียม 2. การประชาสัมพันธ์กิจกรรมและผลงานต่างๆ ของสถานศึกษา ทั้งภายในและภายนอกองค์กรที่ยังขาด ความเด่นชัดและความต่อเนื่อง ๓. การส่งเสริมการจัดโครงการ/กิจกรรมด้านคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้เรียนเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพ สังคมและบริบทของชาติในปัจจุบันอย่างต่อเนื่องซึ่งยังมีกิจกรรมที่ค่อนข้างน้อย 4. การดำเนินการพัฒนาระบบการบริหารจัดการให้เกิดเป็นมาตรฐานโดยจัดทำแผนผังทางเดินเอกสาร (Document Flowcharts) 5. การนำผลการประเมินคุณภาพภายในและภายนอกสู่การพิจารณาวางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้านการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และนำสู่การปฏิบัติอย่างจริงจังมากยิ่งขึ้น 5. แนวทางการคงสภาพคุณภาพมาตรฐาน มุ่งพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใน พัฒนาคุณภาพของครูผู้สอน พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พัฒนา ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และส่งเสริมวัฒนธรรมของคนในองค์กรที่ถูกต้อง เรื่อง วินัย จรรยาบรรณ คุณธรรมจริยธรรมสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา อย่างเข้มข้นและเป็น รูปธรรมมากขึ้น รวมทั้งปรับปรุง/พัฒนาหลักสูตรให้ทันต่อยุคสมัยและตอบสนองต่อความต้องการของสังคม


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 86 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 1. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ยานนาเวศ ให้ความสำคัญกับการพัฒนากระบวนการจัดการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามระบบการบริหารงานวงจรคุณภาพของเดมมิ่ง (PDCA) มีการวางแผน การดำเนินงานอย่างเป็นระบบ คำนึงถึงประโยชน์ของผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อพัฒนาและส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ คู่คุณธรรมและมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา โดยส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนเชิงรุก (Active Learning) ที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและมีปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติที่หลากหลายรูปแบบ เช่น การวิเคราะห์การสังเคราะห์การระดมสมอง การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และการทำกรณีศึกษา เป็นต้น ซึ่งล้วนเป็น กิจกรรมที่ช่วยพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การสื่อสาร การนำเสนอ และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่างเหมาะสม กระตุ้นให้ผู้เรียนนอกจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรมดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังต้องมีปฏิสัมพันธ์ กับผู้สอนและกับผู้เรียนด้วยกันด้วย นอกจากนี้สถานศึกษายังจัดให้มีกิจกรรมเพิ่มเติมเพื่อการพัฒนาผู้เรียนอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตร ซึ่งมีการประชุมปฏิบัติการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา พัฒนาสู่มาตรฐานสากล รวมทั้งมีการบูรณาการภาระงานและ ชิ้นงาน กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกำหนดกิจกรรมและวิเคราะห์ตนเอง มีการจัดการเรียนการสอน ให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนเป็นรายบุคคล มีกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง มีทักษะชีวิต กล้าคิดกล้าแสดงออก มีการนำเสนอผลงานโดยผ่านการจัดทำโครงงาน การทำงานเป็นกลุ่ม การสาธิต มีการบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้มีการสืบค้นจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ทั้งในชุมชน จากภูมิปัญญา ท้องถิ่น และจากการใช้เทคโนโลยีมีระบบการอ้างอิงที่ถูกวิธีรวมถึงกิจกรรมรักการอ่านเพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์ โครงการแข่งขันทักษะและแสดงผลงานนักเรียน ตลอดจนกิจกรรมการนิเทศการศึกษา โดยอาศัยกระบวนการในการ พัฒนา ดังนี้ แผนภาพกระบวนการดำเนินงาน 2. ผลการดำเนินงาน จากการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอน เชิงรุก (Active Learning) ผ่านโครงการและกิจกรรมอย่างหลากหลายและเพียงพอ จึงนำไปสู่ผลการดำเนินงานที่บรรลุ ตามวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาการจัดการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 2. สำรวจสภาพปัญหาในการจัดการเรียน การสอนของครูผู้สอน 1. ดำเนินการตาม โครงการและกิจกรรม 2. ครูพัฒนาตนเองในการจัดการเรียนการสอน 1. พัฒนา ขยายผลการนำไปใช้และสร้าง เครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน 2. สรุปผลการพัฒนา 1. ผลการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ (ผ่าน/ไม่ผ่าน) PLAN DO ACT CHECK


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 87 1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ร้อยละ 87.50 ระดับผลการประเมิน: ยอดเยี่ยม โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน กระบวนการพัฒนา 1. โครงการ/กิจกรรม 1.1) มีโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมการจัดการ เรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติ จริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ได้แก่ โครงการห้องเรียนพิเศษ (คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และภาษาอังกฤษ) โครงการ ค่ายบูรณาการ SMET Camp 1.2) มีการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ แผนการ จัดการเรียนรู้เรื่อง Active Learning ของ แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ 1 . 3 ) ม ี โ ค ร ง ก า ร / ก ิ จ ก ร ร ม พ ั ฒ น า กระบวนการนิเทศการปฏิบัติงานของครูและ บุคลากรทางการศึกษาอย่างเป็นระบบ ได้แก่ โครงการนิเทศการศึกษา 1. ครูพัฒนาการจัดการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ของหลักสูตรสถานศึกษา โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และ มีปฏิสัมพันธ์ผ่านกระบวนการคิดและลงมือปฏิบัติจริง มีการประเมิน เพื่อปรับปรุงหลักสูตรระดับห้องเรียนให้เป็นปัจจุบันทันต่อการ เปลี่ยนแปลงของสังคม 2. ครูออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามบริบทของสถานศึกษาและ ท้องถิ่นโดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ความสนใจและ ความต้องการของผู้เรียนเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะและคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน 3. ครูจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถนำตนเองในการเรียนรู้ นำผลการประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไปพัฒนาการจัดการ เรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง โดยคำนึงถึงการมีส่วนร่วม ของผู้เรียน ผู้ปกครองและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 4. ผู้บริหารมีกระบวนการนิเทศการปฏิบัติงานของครูและบุคลากร ทางการศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยครูเข้าร่วมการนิเทศและได้รับการ นิเทศจากเพื่อนครูและจากผู้บริหาร กระตุ้นให้เกิดกระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพของครูและบุคลากรทางการศึกษา อย่างสม่ำเสมอ 2. รายงานโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน (แนบ QR CODE) ไม่มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 88 เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล หลักฐาน ผลปรากฏ/คุณภาพที่เกิดขึ้น 1. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม การจัดการเรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิด และปฏ ิบัติจริง และสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ 2. แผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ 3. รายงานผลการพัฒนากระบวนการนิเทศ การปฏิบัติงานของครูและบุคลากรทาง การศึกษาอย่างเป็นระบบ 1. แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินด้านการจัดการเรียนรู้ โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไประยุกต์ใช้ ในชีวิตได้ 2. แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินด้านการจัดทำแผนการ จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 87.50 90.9088.2388.88 83.3385.7183.33 86.66 100.00 83.40 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ร้อยละ ร้อยละของผลการประเมินด้านการจัดการเรียนรู้โดยผ่าน กระบวนการคิด และปฏิบัติจริง และสามารถน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ 82.14 94.78 87.69 91.63 95.27 83.40 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ร้อยละ ร้อยละของผลการการประเมินด้านการจัดท าแผนการจัดการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 89 3. แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินด้านการนิเทศภายใน สถานศึกษา 2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ร้อยละ 100 ระดับผลการประเมิน: ยอดเยี่ยม โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน กระบวนการพัฒนา 1. โครงการ/กิจกรรม 1.1) มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับ การเรียนรู้ได้แก่ โครงการประกวดสื่อ นวัตกรรม 1.2) มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ ห้องปฏิบัติการตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมอ่าน คิด วิเคราะห์ 1. สถานศึกษาพัฒนาแหล่งเรียนรู้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อการศึกษาทั้งในห้องเรียน และภายในสถานศึกษา รวมทั้ง ห้องปฏิบัติการต่างๆ ของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้พร้อมอำนวย ความสะดวกให้แก่ครูและผู้เรียน 2. ครูพัฒนาการสอนโดยใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่ง เรียนรู้รวมทั้งภูมิปัญญา ท้องถิ่นมาช่วยในการจัดการเรียนรู้ โดยสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากสื่อ ที่หลากหลายและทันสมัย 3. สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูพัฒนาคุณภาพการสอนโดยการผลิตและ ใช้สื่อที่น่าสนใจด้วยตัวครูผู้สอนเอง เช่น จัดให้มีโครงการประกวดสื่อ นวัตกรรมทางการศึกษา โดยงานพัฒนาสื่อและนวัตกรรมโดยใช้ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกเป็นกรรมการตัดสิน 2. รายงานโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน (แนบ QR CODE) ไม่มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน 100.00 100.00 100.00 100.00100.00 100.00 100.00 100.00 100.00100.00 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ร้อยละ ร้อยละของผลการประเมินประเมินด้านการนิเทศภายในสถานศึกษา


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 90 เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล หลักฐาน ผลปรากฏ/คุณภาพที่เกิดขึ้น 1. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม พัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับการเรียนรู้ 2 . ร า ย ง า น ผ ล ก า ร พ ั ฒ น า ห ้อ งสมุด แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น 1. แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการเรียนรู้ 2. แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินด้านการพัฒนาห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น 89.00 87.41 83.47 81.56 86.7486.57 84.6386.8786.5785.87 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ร้อยละ ร้อยละของผลการประเมินด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี สารสนเทศส าหรับการเรียนรู้ 84.36 87.47 94.87 97.52 92.36 91.32 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ร้อยละ ร้อยละของผลการประเมินด้านการพัฒนาห้องสมุดแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญา ท้องถิ่น


รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR 2566) งานประกันคุณภาพการศึกษา กลุ่มบริหารวิชาการ หน้า 91 3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ร้อยละ 100 ระดับผลการประเมิน: ยอดเยี่ยม โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน กระบวนการพัฒนา 1. โครงการ/กิจกรรม 1.1) มีโครงการ/กิจกรรมที่มีการบริหาร จัดการ เน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก สามารถเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข ได้แก่ โครงการพัฒนานวัตกรรมนิเวศการเรียนรู้ สู่ห้องเรียนแห่งความสุข ประสิทธิภาพสูง ตามบริบทโรงเรียนคุณภาพ 1. ครูมีการบริหารจัดการชั้นเรียนในเชิงบวก สร้างบรรยากาศ แห่งความสำเร็จและอบอุ่น สร้างแรงจูงใจที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ของผู้เรียน เช่น การจัดห้องเรียน รูปแบบการนั่งเรียน การจัดเวร ประจำวันให้นักเรียนช่วยกันดูแลความสะอาด และบอร์ดสารสนเทศ ให้ความรู้ต่างๆ เป็นต้น 2. สถานศึกษามีโครงการพัฒนาคุณภาพครูด้านการจัดการชั้นเรียน เชิงบวก เพื่อส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในเชิงบวกที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญผ่านกระบวนการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ให้ผู้เรียนทุกคนได้มีส่วนร่วม และรัก 2. รายงานโครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินงาน ที่จะเรียนรู้ตลอดจนสามารถเรียนรู้ร่วมกันได้อย่างมีความสุข มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน (แนบ QR CODE) ไม่มีรายงานโครงการ/กิจกรรม ที่ดำเนินงาน เครื่องมือ/แหล่งข้อมูล หลักฐาน ผลปรากฏ/คุณภาพที่เกิดขึ้น 1. รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่มีการบริหารจัดการ เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ เชิงบวก สามารถเรียนรู้ร่วมกันอย่าง มีความสุข 1. แผนภูมิแสดงร้อยละของผลการประเมินด้านการพัฒนาการ บริหารจัดการชั้นเรียนที่เน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก สามารถเรียนรู้ ร่วมกันอย่างมีความสุข ของครูโดยการจัดกระบวนการเรียนรู้ผ่าน กิจกรรม “Active Learning” 89.47 87.47 87.51 83.57 92.71 88.15 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 ร้อยละ ร้อยละของผลการประเมินด้านการพัฒนาการบริหารจัดการ ชั้นเรียนเชิงบวก


Click to View FlipBook Version