The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา 64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by laddawan.chaiworn, 2022-04-06 04:26:02

หลักสูตรสถานศึกษา 64

หลักสูตรสถานศึกษา 64

๑๙๗

คำอธิบำยรำยวชิ ำเพิม่ เติม

อ ๑๒๒๐๑ ภำษำอังกฤษเพื่อกำรสื่อสำร ๒ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำต่ำงประเทศ

ช้นั ประถมศกึ ษำปีที่ ๒ เวลำ ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑ หนว่ ยกิต

**********************************************************************************

พัฒนาการออกเสยี งคาสัง่ และคาขอร้องทใ่ี ช้ในห้องเรยี น ตวั อักษร เสียงตวั อักษรและสระการสะกดคา
และประโยค หลกั การอ่านออกเสยี ง ประโยค บทสนทนา หรอื นิทานทมี่ ีภาพประกอบ ประโยคคาถาม และ
คาตอบ บทสนทนาทใี่ ช้ในการทกั ทาย กลา่ วลา ขอบคุณ ขอโทษ และประโยคหรอื ขอ้ ความที่ใช้แนะนาตนเอง
คาส่ัง และคาขอร้องทใี่ ช้ในหอ้ งเรียน คาศัพท์ สานวน และประโยคทใี่ ชบ้ อกความตอ้ งการ คาและประโยคท่ีใช้
ในการพูดให้ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ตนเอง บุคคลใกล้ตวั และเรอื่ งใกล้ตวั การใชภ้ าษาในการฟงั และพดู ในสถานการณ์
งา่ ย ๆ ท่เี กิดขนึ้ ในห้องเรียน

โดยปฏบิ ัติตามคาสั่ง และคาขอรอ้ งงา่ ย ๆ ทฟ่ี งั ระบุตวั อักษรและเสียง อา่ นออกเสยี งคา สะกดคา
และอา่ นประโยคงา่ ย ๆ ถกู ตอ้ งตามหลักการอ่าน ตอบคาถามจากการฟังประโยค บทสนทนา และนทิ านง่าย ๆ
ทมี่ ีภาพประกอบ พูดโต้ตอบดว้ ยคาสน้ั ๆ งา่ ย ๆ ในการส่อื สารระหวา่ งบคุ คลตามแบบที่ฟงั ใช้คาส่ัง
และคาขอรอ้ งง่าย ๆ บอกความตอ้ งการงา่ ย ๆ ของตนเอง พดู ให้ขอ้ มูลเก่ียวกบั ตนเองและเรื่องใกล้ตัว
ฟังและพูด ในสถานการณ์งา่ ย ๆ ที่เกดิ ขน้ึ ในห้องเรยี น

เพื่อให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน ฝึกทักษะกระบวนการคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต
เทคโนโลยี มวี ินัย ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ มัน่ ในการทางาน และมเี จตคติที่ดีต่อการเรยี นภาษาองั กฤษ
ผลกำรเรยี นรู้

๑. นักเรยี นสามารถออกเสียงคาส่งั และคาขอรอ้ งท่ใี ช้ในหอ้ งเรยี นได้
๒. นักเรียนสามารถออกเสยี งคาทักทาย ประโยค และบทสนทนาได้ถูกต้อง
๓. นกั เรียนพดู ให้ขอ้ มูลของตนเอง บุคคลใกล้ตวั และเร่อื งใกล้ตวั ได้

รวมผลกำรเรยี นรู้ ๓ ข้อ

๑๙๘

คำอธิบำยรำยวิชำเพ่มิ เตมิ

อ ๑๓๒๐๑ ภำษำอังกฤษเพ่ือกำรสอ่ื สำร ๓ กลุม่ สำระกำรเรียนร้ภู ำษำตำ่ งประเทศ

ชน้ั ประถมศึกษำปีท่ี ๓ เวลำ ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑ หน่วยกิต

**********************************************************************************

พฒั นาการใชค้ าสง่ั และคาขอรอ้ งทใ่ี ช้ในห้องเรียน คา กลมุ่ คา ประโยคเด่ยี ว และบทพดู เข้าจงั หวะ
และการสะกดคา การใช้พจนานุกรม หลกั การอ่านออกเสยี ง ประโยค บทสนทนา หรือนิทานท่ีมภี าพประกอบ
ประโยคคาถามและคาตอบ บทสนทนาท่ีใช้ในการทกั ทาย กล่าวลา ขอบคณุ ขอโทษ และประโยค/ข้อความ
ทใ่ี ช้แนะนาตนเอง คาสัง่ และคาขอร้องที่ใช้ในห้องเรยี น คาและประโยคที่ใช้ในการพูดให้ขอ้ มลู เกีย่ วกบั ตนเอง
บุคคลใกล้ตัว และเร่ืองใกล้ตัว ความแตกตา่ งของเสียงตัวอกั ษร คา กลมุ่ คา และประโยคของภาษาต่างประเทศ
และภาษาไทย การใช้ภาษาในการฟงั /พดู ในสถานการณง์ ่าย ๆ ทเ่ี กดิ ข้ึนในห้องเรียน

โดยปฏิบตั ิตามคาสั่ง และคาขอร้องท่ฟี งั หรืออา่ น อ่านออกเสยี งคา สะกดคา อ่านกลมุ่ คา ประโยค
และบทพูดเข้าจงั หวะ (chant) งา่ ย ๆ ถกู ต้องตามหลักการอา่ นตอบคาถามจากการฟังหรอื อา่ นประโยค
บทสนทนา หรอื นทิ านง่าย ๆ พดู โต้ตอบด้วยคาส้ัน ๆ ง่าย ๆ ในการสื่อสารระหว่างบคุ คลตามแบบทฟ่ี ัง
ใช้คาสั่ง และคาขอร้องงา่ ย ๆ ตามแบบทีฟ่ ัง พูดให้ขอ้ มูลเกยี่ วกับตนเองและเรอ่ื งใกลต้ ัว บอกความแตกต่างของ
เสียงตัวอกั ษร คา กลมุ่ คา และประโยคงา่ ย ๆ ของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย ฟงั /พดู ในสถานการณ์งา่ ยๆ
ทเ่ี กดิ ขึ้นในหอ้ งเรยี น

เพื่อให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน ฝึกทักษะกระบวนการคดิ การแกป้ ัญหา การใชท้ ักษะชีวิต
เทคโนโลยี มีวนิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมั่นในการทางาน และมีเจตคติที่ดตี อ่ การเรียนภาษาอังกฤษ
ผลกำรเรยี นรู้

๑. นักเรยี นสามารถออกเสียงคาสัง่ และคาขอร้องท่ใี ช้ในห้องเรียนได้
๒. นกั เรียนสามารถออกเสียงประโยค บทสนทนาได้ถูกต้อง
๓. นกั เรยี นพูดให้ข้อมลู ของตนเอง บุคคลใกล้ตวั และเร่อื งใกล้ตัวได้
๔. นกั เรียนสามารถออกเสยี งตัวอกั ษรท่ีแตกต่างกันได้

รวมผลกำรเรียนรู้ ๓ ขอ้

๑๙๙

คำอธบิ ำยรำยวิชำเพ่มิ เตมิ

อ ๑๔๒๐๑ ภำษำองั กฤษเพ่อื กำรส่ือสำร ๔ กลุ่มสำระกำรเรยี นรภู้ ำษำต่ำงประเทศ(ภำษำอังกฤษ)

ชั้นประถมศกึ ษำปีท่ี ๔ เวลำ ๔๐ ช่วั โมง จำนวน ๑ หนว่ ยกติ

*********************************************************************************

ความรู้ ความเขา้ ใจคาสั่ง คาขอรอ้ ง คาแนะนาที่ใชใ้ นหอ้ งเรยี น บทสนทนา ประโยค ให้ขอ้ มูลเกยี่ วกบั
ตนเองคา การส่อื สารระหวา่ งบคุ คล ประโยคบอกความตอ้ งการเกยี่ วกับตนเอง คาสงั่ ท่ีใช้ในหอ้ งเรยี น ข้อความ
ทีใ่ ช้ในการพูด เขยี น แสดงความตอ้ งการของตนเอง ใหข้ ้อมูลความรู้สึกเก่ียวกบั ตนเอง และเรอื่ งใกลต้ ัว ใช้
ภาษา ท่าทาง นา้ เสยี งถูกตอ้ งตามวฒั นธรรมเจ้าของภาษา

โดยสนทนา ขอและใหข้ อ้ มลู เก่ียวกับตนเอง เร่อื งใกล้ตัว คาส่ัง คาขอรอ้ ง คาแนะนา คาแสดงความ
ตอ้ งการ และใชภ้ าษา กรยิ าทา่ ประกอบอยา่ งสุภาพ เหมาะสมกบั วัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา

เพื่อให้ผูเ้ รยี นตระหนกั ในการใช้ภาษาเพ่ือการส่ือสาร เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่
เรยี นรู้ และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ในชวี ติ ประจาวัน มวี ินยั ใฝ่เรยี นรู้ รักความเป็นไทย และดาเนนิ ชวี ิตอย่าง
พอเพยี ง มงุ่ มั่นในการทางาน และมเี จตคตทิ ่ีดีตอ่ การเรียนภาษาองั กฤษ

ผลกำรเรยี นรู้
๑. นักเรียนสามารถปฏิบตั ิตามและใชค้ าสัง่ คาขอร้องได้
๒. นักเรียนสามารถพดู โตต้ อบด้วยคาสัน้ ๆ งา่ ยๆ ในการส่อื สารระหวา่ งบคุ คลได้
๓. นักเรียนสามารพพดู ขอและให้ขอ้ มูลเกยี่ วกับตนเองและเพอ่ื น บอกความรู้สกึ ของตนเองเกีย่ วกับ
สิ่งต่างๆ ใกล้ตวั ได้
๔. นักเรยี นสามารถพูดและทาทา่ ประกอบได้ถกู ต้องตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจา้ ของ
ภาษา
๕. นักเรยี นสามารถใชภ้ าษาส่อื สารในสถานการณ์ง่ายๆ ทเ่ี กิดขึ้นในห้องเรียนได้

รวมผลกำรเรียนรู้ ๕ ข้อ

๒๐๐

คำอธิบำยรำยวิชำเพิม่ เติม

อ ๑๕๒๐๑ ภำษำองั กฤษเพ่ือกำรส่ือสำร ๕ กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ภำษำตำ่ งประเทศ (ภำษำองั กฤษ)

ช้นั ประถมศึกษำปีที่ ๕ เวลำ ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑ หนว่ ยกติ

*********************************************************************************

ความรู้ ความเขา้ ใจคาสั่ง คาขอรอ้ ง คาแนะนางา่ ยๆ ทใี่ ช้ในห้องเรยี น บทสนทนา ประโยค ใหข้ ้อมูล
เกี่ยวกับตนเองคา ภาษาท่ีใช้แสดงความรู้สกึ ในการส่อื สารระหว่างบุคคล การใช้ถ้อยคา น้าเสยี ง และกริ ิยา
ทา่ ทางตามมารยาทและวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา

โดยฝกึ ปฏิบัติและใช้คาส่งั ที่ใช้ในห้องเรียน การพูด ขอ และให้ข้อมลู เกยี่ วกบั ตนเอง และเรอ่ื งใกลต้ ัว
พดู แสดงความต้องการ ความคิดเห็นงา่ ย ๆ โดยใช้คาศัพท์เหมาะสมกับวยั ใช้ภาษาท่าทางประกอบอย่างสภุ าพ
ร่วมกจิ กรรมทางภาษา ในสถานการณ์ทเ่ี กิดขึ้นในหอ้ งเรียน

เพ่ือใหผ้ ู้เรียนตระหนกั ในการใชภ้ าษาเพอ่ื การสื่อสาร เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่ิงท่ี
เรียนรู้ และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ในชวี ิตประจาวนั มีวินยั ใฝ่เรยี นรู้ รักความเป็นไทย และดาเนินชวี ติ อย่าง
พอเพียง มุง่ ม่นั ในการทางาน และมเี จตคติท่ดี ีตอ่ การเรียนภาษาอังกฤษ

ผลกำรเรียนรู้
๑. นักเรยี นสามารถปฏบิ ตั ติ ามและใช้คาสั่ง คาขอร้องได้
๒. นักเรียนสามารถพดู โตต้ อบด้วยคาสน้ั ๆ ง่ายๆ ในการส่อื สารระหวา่ งบคุ คลได้
๓. นกั เรยี นสามารพพดู ขอและให้ข้อมลู เกีย่ วกบั ตนเองและเพอื่ น บอกความรู้สกึ ของตนเองเก่ียวกับ
สงิ่ ต่างๆ ใกล้ตัวได้
๔. นกั เรียนสามารถพดู และทาท่าประกอบได้ถูกต้องตามมารยาทสังคมและวฒั นธรรมของเจ้าของ
ภาษา
๕. นักเรียนสามารถใชภ้ าษาสอ่ื สารในสถานการณ์งา่ ยๆ ที่เกดิ ข้นึ ในห้องเรยี นได้

รวมผลกำรเรยี นรู้ ๕ ขอ้

๒๐๑

คำอธิบำยรำยวชิ ำเพิ่มเตมิ

อ ๑๖๒๐๑ ภำษำอังกฤษเพื่อกำรสื่อสำร ๖ กล่มุ สำระกำรเรียนรภู้ ำษำต่ำงประเทศ(ภำษำอังกฤษ)

ชั้นประถมศกึ ษำปที ่ี ๖ เวลำ ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑ หน่วยกิต

*********************************************************************************

ความรู้ ความเข้าใจคาสง่ั คาขอรอ้ ง คาแนะนาง่ายๆ ท่ใี ช้ในห้องเรยี น บทสนทนา ประโยค ใหข้ ้อมูล
เกี่ยวกับตนเอง บทสนทนา พูด เขียนให้ข้อมูลโตต้ อบเกยี่ วกบั ตนเอง แสดงความรสู้ กึ สอ่ื สารระหว่างบคุ คล
การใช้ถ้อยคา นา้ เสยี ง และกิริยา ทา่ ทางถูกต้องตามมารยาทและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา

โดยปฏบิ ตั ติ ามและใช้คาสั่งในห้องเรยี น สนทนาสื่อสาร ขอและให้ข้อมลู เกยี่ วกับตนเอง เร่อื งต่าง ๆ
ใกลต้ ัว แสดงความรสู้ ึกให้คาแนะนา แสดงความคิดเหน็ ง่าย ๆ โดยใชค้ าศพั ท์เหมาะสมกับวัย ใชภ้ าษา ท่าทาง
ประกอบการสนทนา นาเสนอสถานการณ์ทีเ่ กิดขึ้นในห้องเรียน และสถานศึกษา

เพื่อใหผ้ ้เู รียนตระหนกั ในการใชภ้ าษาเพื่อการส่อื สาร เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถส่อื สารส่งิ ที่
เรยี นรู้ และนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ในชวี ติ ประจาวนั มวี นิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ รกั ความเป็นไทย และดาเนนิ ชวี ิตอย่าง
พอเพียง มุ่งมน่ั ในการทางาน และมเี จตคติทีด่ ีต่อการเรียนภาษาอังกฤษ

ผลกำรเรียนรู้
๑. นักเรียนสามารถปฏบิ ัตติ ามและใช้คาสั่ง คาขอร้องได้
๒. นกั เรยี นสามารถพดู โต้ตอบดว้ ยคาส้ันๆ งา่ ยๆ ในการสอื่ สารระหว่างบุคคลได้
๓. นักเรยี นสามารถพดู ขอและให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับตนเองและเพื่อน บอกความรู้สึกของตนเองเกย่ี วกับ
สิ่งต่างๆ ใกลต้ ัวได้
๔. นกั เรยี นสามารถพูดและทาทา่ ประกอบไดถ้ กู ต้องตามมารยาทสงั คมและวฒั นธรรมของเจา้ ของ
ภาษา
๕. นักเรียนสามารถใชภ้ าษาสอ่ื สารในสถานการณง์ า่ ยๆ ท่เี กดิ ขึ้นในห้องเรียนได้

รวมผลกำรเรยี นรู้ ๕ ข้อ

๒๐๒

รำยวิชำพ้นื ฐำนและเพิ่มเติม กล่มุ สำระกำรเรียนรู้ภำษำต่ำงประเทศ (ภำษำองั กฤษ)
ระดบั มธั ยมศกึ ษำตอนตน้

รำยวิชำพื้นฐำน หน่วยกิต เวลำ
อ ๒๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ จานวน ๑.๕ ๖๐ ชว่ั โมง
อ ๒๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒ จานวน ๑.๕ ๖๐ ชวั่ โมง
อ ๒๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ จานวน ๑.๕ ๖๐ ชั่วโมง
อ ๒๒๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๔ จานวน ๑.๕ ๖๐ ชว่ั โมง
อ ๒๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ จานวน ๑.๕ ๖๐ ช่วั โมง
อ ๒๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖ จานวน ๑.๕ ๖๐ ชว่ั โมง

รำยวิชำเพิ่มเติม หนว่ ยกิต เวลำ
อ ๒๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษอา่ นเพ่ือการสือ่ สาร ๑ จานวน ๐.๕ ๒๐ ชว่ั โมง
อ ๒๑๒๐๒ ภาษาอังกฤษอา่ นเพ่อื การส่ือสาร ๒ จานวน ๐.๕ ๒๐ ช่วั โมง
อ ๒๒๒๐๑ ภาษาอังกฤษอา่ นเพ่อื การสือ่ สาร ๓ จานวน ๐.๕ ๒๐ ชว่ั โมง
อ ๒๒๒๐๒ ภาษาองั กฤษอ่านเพอ่ื การสื่อสาร ๔ จานวน ๐.๕ ๒๐ ชั่วโมง
อ ๒๓๒๐๑ ภาษาองั กฤษอา่ นเพ่ือการสือ่ สาร ๕ จานวน ๐.๕ ๒๐ ชั่วโมง
อ ๒๓๒๐๒ ภาษาอังกฤษอ่านเพอื่ การส่ือสาร ๖ จานวน ๐.๕ ๒๐ ชวั่ โมง

๒๐๓

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพนื้ ฐำน

อ ๒๑๑๐๑ ภำษำอังกฤษ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำตำ่ งประเทศ (รำยวชิ ำภำษำองั กฤษ)

ช้นั มัธยมศึกษำปีท่ี ๑ ภำคเรียนที่ ๑ เวลำ ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ

**********************************************************************************

ความรู้ ความเขา้ ใจ คาส่งั คาขอรอ้ ง คาแนะนา คาเชอ่ื มประโยค การใช้พจนานุกรม การอา่ นออก
เสียงคา กลุ่มคา ประโยค ข้อความ บทร้อยกรอง ความหมายเกย่ี วกบั ตนเอง ครอบครัว สิ่งแวดล้อมใกลต้ ัว
สถานการณ์ กจิ กรรมต่างๆ เปน็ วงคาศพั ท์สะสมประมาณ ๑,๔๐๐-๑,๕๕๐ คา (คาศพั ทท์ ีเ่ ปน็ รูปธรรมและ
นามธรรม) การตคี วาม ถ่ายโอนขอ้ มลู ให้สัมพันธ์กบั สอื่ ท่ีไม่ใช่ความเรยี ง การจบั ใจความสาคญั ของเร่อื ง การ
สนทนาส่ือสารขอและให้ข้อมูล แสดงความรสู้ กึ ความคิดเห็น ขอความช่วยเหลอื ปฏิเสธการให้ความชว่ ยเหลอื
การให้เหตุผล ประกอบเกี่ยวกับตนเอง เพ่ือน บุคคลใกล้ตวั เหตุการณ์ สถานการณ์ ในชีวิตประจาวัน การใช้
ภาษา นา้ เสียง และกริ ิยาท่าทางในการสนทนา ตามมารยาทสังคมและวฒั นธรรมของเจ้าของภาษา ชวี ิตความ
เปน็ อยู่ และประเพณขี องเจา้ ของภาษากิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรม ความเหมอื นความแตกต่างระหวา่ ง
การออกเสียงประโยค การใช้เครอื่ งหมายวรรคตอน การลาดับ คา ความเหมือนและแตกตา่ งระหว่างเทศกาล
งานฉลอง วนั สาคัญ ชวี ิต ความเป็นอยู่ของเจา้ ของภาษากับของไทย การคน้ ควา้ รวบรวม สรปุ นาเสนอ
ข้อมูลข้อเท็จจริง ที่เกี่ยวข้องกบั กลมุ่ สาระการเรียนรู้อื่น การใชภ้ าษาสือ่ สารในสถานการณ์จริง สถานการณ์
จาลองท่เี กิดข้ึน ในห้องเรยี นและสถานศึกษา การใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบคน้ ค้นควา้ ความรู้ ข้อมูล
จากสอ่ื และแหลง่ การเรียนรู้ตา่ งๆ ในการศกึ ษาต่อและประกอบอาชีพ

โดยปฏิบตั ติ ามคาสง่ั คาขอรอ้ ง คาแนะนา และคาชี้แจงงา่ ย ๆ ที่ฟังและอ่าน จากสถานการณท์ ่ี
กาหนดท้งั ในและนอกสถานศกึ ษา ใชภ้ าษาน้าเสยี ง กริ ยิ าทา่ ทาง เหมาะสมตามมารยาทสังคม อา่ นออกเสยี ง
ขอ้ ความ นทิ าน และบทร้อยกรอง สน้ั ๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน สนทนาแลกเปล่ียนขอ้ มลู แสดงความ
ตอ้ งการ ความรู้สกึ ความคิดเห็นเกี่ยวกับกจิ กรรม และสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน พรอ้ มทง้ั ใหเ้ หตุผล
สั้นๆ ประกอบ อยา่ งเหมาะสม พูดและเขยี นบรรยาย สรปุ ใจความสาคัญเก่ียวกับตนเอง กิจวัตรประจาวัน
ประสบการณ์ สิง่ แวดลอ้ มใกล้ตัว และเหตกุ ารณท์ ี่อยูใ่ นความสนใจของสังคม เลือก ประโยค และข้อความ
ใหส้ มั พันธ์กบั ส่ือ ท่ไี มใ่ ช่ความเรียงทอี่ ่าน ระบุหวั ขอ้ เรือ่ ง ใจความสาคัญ และตอบคาถามจากการฟังและอ่าน
บทสนทนา นิทาน เรอ่ื งส้นั และเรื่องจากส่ือประเภทต่าง ๆ บรรยายเกย่ี วกบั เทศกาล วันสาคญั ชวี ิตความ
เป็นอยู่ และประเพณี ของเจ้าของภาษา เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรมตามความสนใจ เปรียบเทยี บ
ความเหมือน และความแตกตา่ งระหวา่ งเทศกาล งานฉลอง วันสาคญั และชีวติ ความเปน็ อย่ขู องเจ้าของภาษา
กับของไทย บอกความเป็นมาและความสาคญั ของประเพณีในท้องถนิ่ ของตนได้ ค้นควา้ รวบรวม และสรุป
ขอ้ มลู ข้อเท็จจริงที่เกย่ี วข้องกับกลุม่ สาระการเรียนร้อู ่นื จากแหล่งเรยี นรู้ นาเสนอดว้ ยการพดู และเขียน

๒๐๔

ใช้ภาษาต่างประเทศ ในการสืบคน้ ข้อมูล จากสื่อหรอื แหล่งเรยี นรู้ต่าง ๆ ในการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชีพ
ตลอดจนมีทักษะการคดิ ใหเ้ หตผุ ล

มุ่งหวงั ใหผ้ ู้เรยี นมีเจตคติทีด่ ตี อ่ ภาษาต่างประเทศ เขา้ ใจวัฒนธรรมอันหลากหลายของประชาคมโลก
ตระหนักถึงความหลากหลายทางวฒั นธรรมและมมุ มองของสงั คมโลก นามาซ่งึ มติ รไมตรี และความร่วมมือ
เข้าใจตนเองและผอู้ นื่ ดขี น้ึ เขา้ ใจความแตกต่างของภาษาและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณี มเี จตคติ
ทด่ี ตี ่อการใชภ้ าษาอังกฤษ มีวิสยั ทศั น์ในการดาเนินชวี ติ มวี นิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ มที กั ษะการคิด ให้เหตุผล รักความ
เป็นไทย ซอ่ื สตั ย์ รับผิดชอบ รกั การทางาน รกั ความเป็นไทย การอยอู่ ยา่ งพอเพยี งและมีจิตสาธารณะ

รหสั ตัวชี้วัด
ต ๑.๑ ม ๑/๑, ม ๑/๒, ม๑ /๓, ม ๑/๔
ต ๑.๒ ม ๑/๑, ม ๑/๒, ม ๑/๓, ม ๑/๔, ม ๑/๕
ต ๑.๓ ม ๑/๑, ม ๑/๒, ม ๑/๓
ต ๒.๑ ม ๑/๑, ม ๑/๒, ม ๑/๓
ต ๒.๒ ม ๑/๑, ม ๑/๒
ต ๓.๑ ม ๑/๑
ต ๔.๑ ม ๑/๑
ต ๔.๒ ม ๑/๑

รวม ๒๐ ตัวช้ีวดั

๒๐๕

คำอธบิ ำยรำยวิชำพน้ื ฐำน

อ ๒๑๑๐๒ ภำษำองั กฤษ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำต่ำงประเทศ (รำยวิชำภำษำอังกฤษ)

ช้นั มธั ยมศกึ ษำปีท่ี ๑ ภำคเรียนท่ี ๒ เวลำ ๖๐ ช่วั โมง จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกิต

**********************************************************************************

ความรู้ ความเขา้ ใจ คาขอรอ้ ง คาแนะนา คาเชอื่ มประโยค การใชพ้ จนานุกรม การอ่านออกเสยี ง

ประโยค ข้อความ บทรอ้ ยกรอง ความหมายเก่ียวกบั ตนเอง ครอบครัว ส่งิ แวดล้อมใกลต้ วั สถานการณ์

กิจกรรมต่าง ๆ เปน็ วงคาศัพท์สะสมประมาณ ๑,๔๐๐ - ๑,๕๕๐ คา (คาศัพทท์ ี่เปน็ รูปธรรมและนามธรรม)

การตคี วามถ่ายโอนข้อมูลให้สมั พันธก์ ับสือ่ ทไ่ี ม่ใช่ความเรียง การจบั ใจความสาคญั ของเรอื่ ง การสนทนาสอ่ื สาร

ขอและให้ข้อมูล แสดงความร้สู กึ ความคิดเหน็ ขอความช่วยเหลอื ปฏิเสธการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ให้เหตุผล

ประกอบ เก่ยี วกับตนเอง เพือ่ น บุคคลใกล้ตวั เหตุการณ์ สถานการณ์ ในชีวิตประจาวนั การใชภ้ าษา นา้ เสียง

และกิริยาท่าทางในการสนทนา ตามมารยาทสงั คมและวฒั นธรรมของเจ้าของภาษา ชีวติ ความเป็นอยู่ และ

ประเพณขี องเจา้ ของภาษากิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม ความเหมือนความแตกตา่ งของ การออกเสยี ง

ประโยค การใช้เครอื่ งหมายวรรคตอน การลาดับคา เทศกาล งานฉลอง ความเปน็ อย่ขู องเจ้าของภาษา กบั ของ

ไทย การคน้ คว้า รวบรวม สรุป นาเสนอขอ้ มลู ข้อเท็จจรงิ ทเ่ี กย่ี วข้องกบั กลุ่มสาระการเรียนรอู้ ืน่

การใชภ้ าษาส่ือสาร ในสถานการณ์จรงิ สถานการณจ์ าลองทีเ่ กิดข้นึ ในหอ้ งเรยี นและสถานศึกษาการใชภ้ าษา

ตา่ งประเทศในการสืบค้น ค้นควา้ ความรู้ ข้อมลู จากสอ่ื และแหล่งการเรียนรตู้ า่ งๆในการศกึ ษาตอ่ และประกอบ

อาชีพ

โดยปฏบิ ตั ิตามคาขอรอ้ ง คาแนะนา และคาช้แี จงงา่ ย ๆ ท่ฟี ังและอ่าน จากสถานการณ์ทกี่ าหนด

ท้ังในและนอกสถานศึกษา ใช้ภาษาน้าเสียง กิริยาท่าทาง เหมาะสมตามมารยาทสงั คม อ่านออกเสียงข้อความ

นิทาน และบทรอ้ ยกรอง สนั้ ๆ ถกู ตอ้ งตามหลกั การอ่าน สนทนาแลกเปลยี่ นข้อมลู แสดงความตอ้ งการ

ความรสู้ ึก ความคดิ เหน็ เกีย่ วกบั กจิ กรรม และสถานการณต์ า่ ง ๆ ในชวี ติ ประจาวนั พร้อมท้ังให้เหตุผลสัน้ ๆ

ประกอบอย่างเหมาะสม พูดและเขียนบรรยาย สรุปใจความสาคัญเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ส่ิงแวดล้อม

ใกล้ตัว และเหตกุ ารณ์ที่อยใู่ นความสนใจของสังคม เลอื ก ประโยค และข้อความ ใหส้ มั พันธ์กบั ส่อื ที่ไมใ่ ชค่ วาม

เรยี งที่อ่าน ระบหุ วั ข้อเร่ือง ใจความสาคัญ และตอบคาถามจากการฟังและอา่ น บทสนทนานทิ าน เรื่องส้ัน

และเรื่องจากสอ่ื ประเภทต่าง ๆ บรรยายเก่ียวกับเทศกาล วนั สาคญั ชีวิตความเปน็ อยู่ และประเพณีของเจ้าของ

ภาษา เขา้ ร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ เปรยี บเทยี บความเหมือน ความแตกต่าง

ระหวา่ งเทศกาลงานฉลอง วันสาคญั และชวี ติ ความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษากับของไทย บอกความเป็นมาและ

ความสาคัญของประเพณีในท้องถิน่ ของตนได้ ค้นคว้า รวบรวม และสรปุ ข้อมูล ข้อเท็จจริงทเี่ ก่ียวขอ้ งกับกล่มุ

สาระการเรยี นรู้อื่นจากแหลง่ เรียนรู้ นาเสนอด้วยการพูดและเขียน ใช้ภาษาตา่ งประเทศในการสืบค้นข้อมูล

จากสื่อหรือแหล่งเรียนรู้ตา่ ง ๆ ในการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชีพ ตลอดจนมีทกั ษะการคดิ การให้เหตผุ ล

๒๐๖

มุ่งหวังใหผ้ ู้เรียนมีเจตคติทดี่ ีตอ่ ภาษาตา่ งประเทศ เขา้ ใจวัฒนธรรมอันหลากหลายของประชาคมโลก
ตระหนกั ถึงความหลากหลายทางวฒั นธรรมและมมุ มองของสงั คมโลก นามาซึ่งมติ รไมตรี และความรว่ มมือ
เขา้ ใจตนเองและผู้อนื่ ดขี ึ้น เข้าใจความแตกต่างของภาษาและวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี มีเจตคติ
ท่ีดตี ่อการใช้ภาษาอังกฤษ มีวสิ ัยทัศนใ์ นการดาเนินชวี ติ มีวนิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ มที ักษะการคิด ให้เหตุผล รักความ
เปน็ ไทย ซอื่ สัตย์ รับผิดชอบ รักการทางาน รักความเป็นไทย การอยอู่ ย่างพอเพยี งและมจี ติ สาธารณะ

รหสั ตวั ชี้วัด
ต ๑.๑ ม ๑/๑, ม ๑/๒, ม๑ /๓, ม ๑/๔
ต ๑.๒ ม ๑/๑, ม ๑/๒, ม ๑/๓, ม ๑/๔, ม ๑/๕
ต ๑.๓ ม ๑/๑, ม ๑/๒, ม ๑/๓
ต ๒.๑ ม ๑/๑, ม ๑/๒, ม ๑/๓
ต ๒.๒ ม ๑/๑, ม ๑/๒
ต ๓.๑ ม ๑/๑
ต ๔.๑ ม ๑/๑
ต ๔.๒ ม ๑/๑

รวม ๒๐ ตัวช้ีวดั

๒๐๗

คำอธบิ ำยรำยวิชำพนื้ ฐำน

อ ๒๒๑๐๑ ภำษำองั กฤษ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ภำษำตำ่ งประเทศ (รำยวิชำภำษำองั กฤษ)

ชนั้ มธั ยมศกึ ษำปีท่ี ๒ ภำคเรียนท่ี ๑ เวลำ ๖๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกิต

**************************************************************************************************

ความร้คู วามเข้าใจคาขอรอ้ ง คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบาย ขอ้ ความ ประโยค การอา่ นออกเสียงคา

ขอ้ ความ ข่าว ประกาศ และบทรอ้ ยกรอง ถกู ตอ้ งตามหลกั การอ่านออกเสียง คาศพั ท์เกีย่ วกับตนเอง กิจกรรม

เรื่องใกลต้ ัว เปน็ วงคาศัพท์สะสมประมาณ ๑,๗๕๐-๑,๙๐๐ คา (คาศัพท์ที่เปน็ รูปธรรมและนามธรรม)

การตคี วาม ถ่ายโอนขอ้ มลู ให้สมั พนั ธ์กบั สื่อ บทสนทนา นทิ าน เรื่องสั้น และเร่ืองจากสอ่ื ประเภทต่าง ๆ

การจับใจความสาคญั ประโยคทใ่ี ชใ้ นการแสดงความคดิ เห็น การใหเ้ หตุผล แลกเปล่ียนข้อมูล ภาษาทีใ่ ช้

ในการสอ่ื สารระหว่างบคุ คล แสดงความตอ้ งการ แสดงความคิดเห็น เสนอและใหค้ วามช่วยเหลอื แสดง

ความร้สู กึ ความคดิ เหน็ การใหเ้ หตุผลประกอบ ตอบรบั และปฏเิ สธการใหค้ วามชว่ ยเหลือ แลกเปลี่ยนขอ้ มูล

เก่ยี วกับตนเองเรอื่ งใกลต้ วั สถานการณต์ ่าง ๆ ในชีวติ ประจาวนั คาศพั ท์ สานวน ประโยค ขอ้ ความทใ่ี ช้ในการ

ขอและใหข้ อ้ มูล บรรยาย และแสดงความคดิ เหน็ เกีย่ วกับเรอื่ งทีฟ่ ังหรืออ่าน การบรรยายข้อมูลเก่ียวกบั ตนเอง

กจิ วตั รประจาวนั ประสบการณ์ ข่าว เหตกุ ารณ์ กจิ กรรม เรอ่ื งตา่ ง ๆ ใกลต้ ัว การใชภ้ าษา นา้ เสยี ง กิริยาท่าทาง

ในการสนทนา ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรม ของเจา้ ของ ความเป็นมาและความสาคัญของเทศกาล ชวี ิต

ความเปน็ อยู่ และประเพณีของเจา้ ของภาษา กิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรม การเปรยี บเทียบและการอธบิ าย

ความเหมือน ความแตกตา่ งของการออกเสียง การใช้เครอื่ งหมายวรรคตอน การลาดบั คาตามโครงสร้างประโยค

ชวี ิตความเปน็ อย่แู ละวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษากบั ของไทย การค้นคว้า รวบรวม สรปุ นาเสนอข้อมลู

ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับกล่มุ สาระการเรียนร้อู ื่น การใชภ้ าษา สอื่ สารในสถานการณ์จรงิ สถานการณ์จาลองท่ีเกิดขน้ึ

ในห้องเรียน สถานศกึ ษา และชมุ ชน การใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการสืบคน้ คน้ คว้าความรู้ ข้อมูลต่างๆ จากสื่อ

และแหล่งการเรยี นรตู้ า่ ง ๆ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ การเผยแพร่ ประชาสัมพนั ธข์ ้อมูลข่าวสาร

ของการนาเสนอข้อมูลขา่ วสาร ในโรงเรียนเป็นภาษาอังกฤษ

โดยใชค้ าขอรอ้ ง คาแนะนา คาช้แี จง คาอธบิ ายงา่ ย ๆ ตามสถานการณ์ อ่านออกเสยี งไดถ้ กู ตอ้ ง

ตามหลกั การอา่ น สนทนาแลกเปลี่ยนขอ้ มลู เกี่ยวกับตนเอง และเร่ืองใกล้ตวั พูดและเขยี นแสดงความตอ้ งการ

ความร้สู กึ เสนอการให้ความช่วยเหลือไดเ้ หมาะสม แสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกับเร่อื งที่ฟังและอา่ นจากสอ่ื

ประเภทต่าง ๆ โดยให้เหตุผลประกอบ ใช้ภาษา นา้ เสยี ง และกิริยาท่าทางสื่อสารตามมารยาททางสังคม

อธบิ ายเกยี่ วกับเทศกาล วนั สาคญั ชีวติ ความเป็นอยู่ วฒั นธรรมและประเพณีของเจา้ ของภาษา เข้าร่วม

กิจกรรมทางภาษาตามความสนใจ เปรียบเทยี บและอธิบายความเหมือน ความแตกต่างของเจ้าของภาษา

กับของไทย ค้นคว้า รวบรวม สรปุ ขอ้ มูล ข้อเทจ็ จริง ท่เี กย่ี วขอ้ งกับกล่มุ สาระการเรยี นรูอ้ น่ื และสถานการณ์

๒๐๘

จาลองท่ีเกดิ ขึ้น เผยแพร่ ประชาสมั พนั ธ์ขอ้ มูล ข่าวสารของโรงเรียน ประเพณขี องชุมชน แหลง่ ท่องเท่ียว
ในชุมชนโดยใช้ภาษาองั กฤษไดเ้ หมาะสม

มงุ่ หวงั ให้ผเู้ รยี นมีเจตคติทีด่ ีต่อภาษาตา่ งประเทศ เขา้ ใจวัฒนธรรมอันหลากหลายของประชาคมโลก
ตระหนกั ถึงความหลากหลายทางวฒั นธรรมและมมุ มองของสงั คมโลก นามาซ่ึงมติ รไมตรี และความร่วมมือ
เขา้ ใจตนเองและผอู้ ่ืนดขี ้ึน เขา้ ใจความแตกต่างของภาษาและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณี มีเจตคติ
ท่ดี ตี อ่ การใชภ้ าษาอังกฤษ มวี ิสัยทัศน์ในการดาเนินชีวิต มีวนิ ัย เห็นคณุ ค่าของการใฝเ่ รียนรู้ นาความรทู้ ีไ่ ด้มา
คิดวิเคราะห์ สรุปใจความสาคญั ตัดสนิ ใจในสถานการณต์ ่าง ๆ ไดต้ ามหลักคุณธรรม จริยธรรมและคา่ นิยม
ท่เี หมาะสม รักการทางาน รกั ความเปน็ ไทย การอยูอ่ ย่างพอเพยี งและมีจติ สาธารณะ
รหัสตวั ชี้วดั

ต ๑.๑ ม.๒/๑-ม.๒/๔,
ต ๑.๒ ม.๒/๑-ม.๒/๕,
ต ๑.๓ ม.๒/๑-ม.๒/๓,
ต ๒.๑ ม.๒/๑-ม.๒/๓,
ต ๒.๒ ม.๒/๑-ม.๒/๒,
ต ๓.๑ ม.๒/๑,
ต ๔.๑ ม.๒/๑,
ต ๔.๒ ม.๒/๑-ม.๒/๒

รวม ๒๑ ตัวชว้ี ัด

๒๐๙

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพนื้ ฐำน

อ ๒๒๑๐๒ ภำษำอังกฤษ กล่มุ สำระกำรเรียนรภู้ ำษำตำ่ งประเทศ (รำยวิชำภำษำองั กฤษ)

ชน้ั มธั ยมศึกษำปที ี่ ๒ ภำคเรยี นที่ ๒ เวลำ ๖๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกติ

**********************************************************************************

ความรคู้ วามเข้าใจคาขอรอ้ ง คาแนะนา คาชีแ้ จง คาอธิบาย ขอ้ ความ ประโยค การอ่านออกเสยี งคา
ข้อความ ข่าว ประกาศ และบทรอ้ ยกรอง ถูกต้องตามหลักการอ่านออกเสียง คาศพั ท์เกยี่ วกับตนเอง กิจกรรม
เรื่องใกลต้ ัว เป็นวงคาศพั ทส์ ะสมประมาณ ๑,๗๕๐-๑,๙๐๐ คา (คาศัพทท์ เ่ี ปน็ รปู ธรรมและนามธรรม)
การตคี วาม ถ่ายโอนขอ้ มลู ให้สัมพนั ธก์ บั สือ่ บทสนทนา นิทาน เรื่องส้ัน และเรอ่ื งจากสื่อประเภทต่างๆ การจบั
ใจความสาคญั ประโยคทใี่ ช้ในการแสดงความคิดเห็น การใหเ้ หตุผล แลกเปลีย่ นข้อมลู ภาษาท่ใี ช้ในการส่อื สาร
ระหวา่ งบคุ คล แสดงความตอ้ งการ ความคิดเหน็ ความรสู้ กึ การให้เหตุผล เสนอ ตอบรบั และปฏิเสธการให้
ความชว่ ยเหลือ การบรรยายแลกเปลีย่ นขอ้ มูลเกีย่ วกับตนเองเรื่องใกล้ตัว สถานการณต์ ่างๆ ในชวี ติ ประจาวนั
ข่าว เหตุการณ์ กิจกรรม เรอ่ื งต่าง ๆ ใกล้ตัว การใช้ภาษา นา้ เสยี ง กิรยิ าทา่ ทางในการสนทนา ตามมารยาท
สงั คมและวฒั นธรรมของเจา้ ของ ความเป็นมาและความสาคัญของเทศกาล ชวี ติ ความเปน็ อยู่ ประเพณี
ของเจ้าของภาษา กจิ กรรมทางภาษาและวฒั นธรรม การเปรยี บเทียบความเหมอื น ความแตกต่างระหว่างการ
ออกเสยี ง การใช้เครอื่ งหมายวรรคตอน การลาดับคาตามโครงสร้างประโยค ชวี ติ ความเป็นอย่แู ละวฒั นธรรม
ของเจา้ ของภาษากับของไทย การคน้ คว้า รวบรวม สรุป นาเสนอขอ้ มลู ท่ีเก่ียวข้องกับกล่มุ สาระการเรยี นรู้อื่น
การใช้ภาษาส่ือสาร ในสถานการณ์จรงิ สถานการณจ์ าลองท่เี กิดข้นึ ในห้องเรยี น สถานศกึ ษา และชุมชน
การใช้ภาษาต่างประเทศ ในการสบื คน้ ค้นคว้าความรู้ ขอ้ มลู ต่างๆ จากสื่อและแหล่งการเรยี นรู้ตา่ งๆ ใน
การศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชีพ การเผยแพร่ ประชาสัมพันธข์ อ้ มลู ข่าวสารของการนาเสนอขอ้ มลู ข่าวสาร
ในโรงเรยี นเป็นภาษาอังกฤษ

โดยใช้คาขอร้อง คาแนะนา คาชีแ้ จง คาอธบิ ายตามสถานการณ์ อา่ นออกเสียงข้อความ ข่าว ประกาศ
และบทรอ้ ยกรองส้นั ๆ ถกู ต้องตามหลกั การอ่าน ระบปุ ระโยค ขอ้ ความ ให้สมั พนั ธ์กบั สื่อท่ีไมใ่ ช่ความเรยี ง รูปแบบ
ต่าง ๆ ท่อี า่ น เลอื กหัวขอ้ เรอ่ื ง ใจความสาคัญ บอกรายละเอียดสนับสนนุ แสดงความคิดเหน็ ให้เหตุผล
และยกตวั อยา่ งงา่ ยๆ ประกอบ สนทนา แลกเปลี่ยนขอ้ มูล ตอบรับและปฏเิ สธการให้ความชว่ ยเหลือ เกีย่ วกับ
ตนเอง เร่ืองใกล้ตัว สถานการณ์ต่าง ๆ ในชวี ิตประจาวัน ข่าว เหตุการณ์ และประสบการณ์ พดู และเขียนสรปุ
ใจความสาคญั หัวข้อเร่อื ง ที่ได้จากการวเิ คราะหเ์ ร่ือง ข่าว เหตุการณ์ ท่อี ยใู่ นความสนใจของสงั คม ใชภ้ าษา
นา้ เสยี งและกริ ยิ าท่าทางเหมาะกบั บุคคลและโอกาส ตามมารยาทสงั คม และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อธบิ าย
เกย่ี วกับเทศกาล ชีวิตความเป็นอยู่ และประเพณีของเจา้ ของภาษา เขา้ รว่ มกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม
ตามความสนใจ เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนและความแตกตา่ งระหวา่ งการออกเสยี งประโยคชนิด

๒๑๐

ตา่ งๆ การลาดบั คาตามโครงสร้างประโยค ของภาษาตา่ งประเทศและภาษาไทย ค้นควา้ รวบรวมและสรุปข้อมลู
ขอ้ เท็จจริงทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับกลุม่ สาระการเรียนรู้อ่นื และนาเสนอด้วยการพูดและการเขยี น ใชภ้ าษาสื่อสาร
ในสถานการณ์จริงหรือสถานการณ์จาลองท่เี กิดข้ึนในหอ้ งเรยี น สถานศกึ ษา และชุมชน รจู้ ักการใช้
ภาษาองั กฤษในการแนะนาท้องถิน่ ของตนได้ ขอ้ มลู ขา่ วสารของโรงเรยี นท้ังการพูดและการเขียน
ใช้ภาษา ต่างประเทศในการค้นคว้า รวบรวมและสรุปความรู้ จากสอื่ และแหลง่ การเรยี นรตู้ า่ ง ๆ ในการศกึ ษา
ตอ่ และประกอบอาชพี

มงุ่ หวังให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อภาษาต่างประเทศ เข้าใจวัฒนธรรมอันหลากหลายของประชาคมโลก
ตระหนักถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมและมุมมองของสังคมโลก นามาซึ่งมิตรไมตรี และความร่วมมือ
เข้าใจตนเองและผู้อื่นดีขึ้น เข้าใจความแตกต่างของภาษาและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี มีเจตคติ
ที่ดีต่อการใช้ภาษาอังกฤษ มีวิสัยทัศน์ในการดาเนินชีวิต มีวินัย เห็นคุณค่าของการใฝ่เรียนรู้ นาความรู้ที่ได้
มาคิดวิเคราะห์ สรุปใจความสาคัญ ตัดสินใจในสถานการณ์ต่างๆ ได้ตามหลักคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม
ทเ่ี หมาะสม รักการทางาน รกั ความเป็นไทย การอยู่อย่างพอเพยี งและมจี ติ สาธารณะ
รหสั ตวั ชี้วัด

ต ๑.๑ ม.๒/๑-ม.๒/๔,
ต ๑.๒ ม.๒/๑-ม.๒/๕,
ต ๑.๓ ม.๒/๑-ม.๒/๓,
ต ๒.๑ ม.๒/๑-ม.๒/๓,
ต ๒.๒ ม.๒/๑-ม.๒/๒,
ต ๓.๑ ม.๒/๑,
ต ๔.๑ ม.๒/๑,
ต ๔.๒ ม.๒/๑-ม.๒/๒

รวม ๒๑ ตวั ช้ีวัด

๒๑๑

คำอธิบำยรำยวชิ ำพน้ื ฐำน

อ ๒๓๑๐๑ ภำษำอังกฤษ กลมุ่ สำระกำรเรียนร้ภู ำษำตำ่ งประเทศ (รำยวชิ ำภำษำอังกฤษ)

ช้ันมัธยมศกึ ษำปีที่ ๓ ภำคเรยี นที่ ๑ เวลำ ๖๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ

**************************************************************************************************

ความรู้ ความเข้าใจคาขอรอ้ ง คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบายทีม่ ขี ัน้ ตอนซบั ซอ้ น หลักการอา่ นออก
เสียงประโยค ขอ้ ความ และความหมายเก่ียวกับตนเอง ครอบครวั เร่อื ง กิจกรรม สถานการณ์ เหตุการณ์ใกล้ตัว
เป็นวงคาศพั ท์ประมาณ ๑,๔๐๐-๑,๕๕๐ คา (คาศพั ท์ทเี่ ป็นรูปธรรมและนามธรรม) การตคี วาม ถ่ายโอนข้อมลู
ให้สมั พนั ธก์ บั สอื่ การจับใจความสาคัญ รายละเอียดสนับสนุน จากสื่อสิง่ พมิ พแ์ ละส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ประโยค
ที่ใช้ในการแสดงความคิดเห็น ให้เหตุผล ภาษาท่ใี ชใ้ นการสอื่ สารระหว่างบุคคล การแลกเปล่ยี นข้อมลู การ
บรรยายแสดงความตอ้ งการ เสนอและใหค้ วามช่วยเหลอื แสดงความคดิ เห็น ใหเ้ หตุผลเกย่ี วกบั ตนเอง การจับ
ใจความสาคัญ เรอื่ งใกล้ตัว สถานการณต์ ่าง ๆ ข่าว เรอื่ งท่ีอยู่ในความสนใจในชีวติ ประจาวัน การจับใจความ
สาคญั การเลอื กใช้ภาษา นา้ เสยี ง กิรยิ าทา่ ทางในการสนทนา ตามมารยาทสงั คมและวัฒนธรรมของเจา้ ของ
ภาษา ชวี ติ ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนยี มและประเพณขี องเจา้ ของภาษา กิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรม
การเปรียบเทยี บและการอธิบายความเหมอื นความแตกตา่ งระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่าง ๆ การใช้
เครอื่ งหมายวรรคตอน ลาดับคาตามโครงสรา้ งประโยค ชีวิตความเปน็ อยู่ และวฒั นธรรมของภาษาต่างประเทศ
และภาษาไทย การนาวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษาไปใช้ การค้นควา้ รวบรวม สรุป นาเสนอข้อมลู ขอ้ เท็จจริง
ที่เก่ยี วขอ้ งกับกลุม่ สาระการเรียนรู้อืน่ การใชภ้ าษาสือ่ สารในสถานการณ์จรงิ สถานการณ์จาลองทีเ่ กดิ ขึน้
ในหอ้ งเรียน สถานศึกษา ชมุ ชน และสงั คม การใชภ้ าษาต่างประเทศในการสืบค้น ค้นคว้าความรู้ข้อมลู ต่าง ๆ
จากสอ่ื และแหลง่ การเรยี นรตู้ ่างๆ ในการศกึ ษาต่อและประกอบอาชีพ การใชภ้ าษาต่างประเทศในการเผยแพร่
ประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลข่าวสารของโรงเรยี น ชุมชน และทอ้ งถนิ่ เช่น การทาหนังสือเลม่ เล็กแนะนาโรงเรียน
ชุมชน และทอ้ งถ่นิ การทาแผน่ ปลวิ ป้ายคาขวัญ คาเชิญชวนแนะนา โรงเรยี นและสถานท่สี าคัญ
ในชมุ ชน และท้องถน่ิ การนาเสนอขอ้ มูลขา่ วสารในโรงเรียน ชมุ ชน และทอ้ งถิน่ เปน็ ภาษาอังกฤษ

โดยศึกษาคาขอร้อง คาแนะนา คาชแ้ี จง การอ่านออกเสียงขอ้ ความ ข่าว โฆษณา บทร้อยกรองสั้น ๆ
ไดถ้ ูกต้องตามหลักการอา่ น สามารถใชค้ าขอรอ้ ง ใหค้ าแนะนา คาชีแ้ จง คาอธิบายได้ พูดและสรปุ ใจความ
สาคัญ เรือ่ งที่ไดจ้ ากการวเิ คราะหส์ ถานการณ์ทอ่ี ยู่บนความสนใจของสงั คม โดยสามารถใชป้ ระโยคผสมและ
ประโยคซับซ้อน ในการสอ่ื ความหมายอยา่ งเป็นทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ พดู และเขียนแสดงความตอ้ งการ
เสนอและใหค้ วามช่วยเหลือ ตอบรับและปฏเิ สธการให้ความชว่ ยเหลือในสถานการณ์ต่าง ๆสามารถอธิบาย
เปรียบเทยี บแสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกับเร่ืองท่ีฟัง หรืออ่านไดอ้ ย่างเหมาะสม สนทนา และเขียนโต้ตอบขอ้ มลู
เก่ียวกับตนเอง เรื่องตา่ งๆ สถานการณ์ ข่าว ท่ีเกดิ ขึ้นท้ังในสถานการณ์ จรงิ สถานการณ์จาลอง สามารถ

๒๑๒

อธิบายเก่ยี วกบั ชวี ิต ความเปน็ อยู่ ขนบธรรมเนยี ม ประเพณขี องเจา้ ของภาษา เปรยี บเทียบและอธิบาย
ความเหมือน ความแตกต่างระหวา่ งชวี ติ ความเปน็ อยู่ วัฒนธรรมของเจา้ ของภาษากบั ของไทย โดยเผยแพร่
ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสารจากโรงเรียน ชมุ ชน และทอ้ งถนิ่ เป็นภาษาต่างประเทศ สามารถใช้ภาษา
ตา่ งประเทศในการสืบคน้ ค้นควา้ รวบรวม สรปุ ข้อมูลต่างๆ จากสือ่ และแหลง่ เรียนรู้ต่างๆ ในการศกึ ษาต่อ
และประกอบอาชีพ

มุ่งหวงั ให้ผู้เรยี นมีเจตคติทดี่ ตี ่อภาษาตา่ งประเทศ เขา้ ใจวัฒนธรรมอนั หลากหลายของประชาคมโลก
ตระหนกั ถงึ ความหลากหลายทางวฒั นธรรมและมมุ มองของสังคมโลก นามาซึ่งมิตรไมตรี และความรว่ มมือ
เข้าใจตนเองและผอู้ ื่นดขี น้ึ เขา้ ใจความแตกต่างของภาษาและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี มีเจตคติ
ทด่ี ตี ่อการใช้ภาษาองั กฤษ มีวสิ ยั ทัศนใ์ นการดาเนินชวี ิต มีวินยั เหน็ คุณค่าของการใฝเ่ รยี นรู้ นาความรูท้ ไี่ ด้
มาคดิ วิเคราะห์ สรุปใจความสาคัญ ตดั สินใจในสถานการณ์ตา่ งๆ ไดต้ ามหลกั คณุ ธรรม จริยธรรมและคา่ นยิ ม
ที่เหมาะสม รักการทางาน รกั ความเป็นไทย การอยู่อย่างพอเพยี งและมีจติ สาธารณะ
รหัสตัวชี้วัด

ต ๑.๑ ม.๓/๑-ม.๓/๔,
ต ๑.๒ ม.๓/๑-ม.๓/๕,
ต ๑.๓ ม.๓/๑-ม.๓/๓,
ต ๒.๑ ม.๓/๑-ม.๓/๓,
ต ๒.๒ ม.๓/๑-ม.๓/๒,
ต ๓.๑ ม.๓/๑,
ต ๔.๑ ม.๓/๑,
ต ๔.๒ ม.๓/๑-ม.๓/๒

รวม ๒๑ ตัวช้ีวัด

๒๑๓

คำอธบิ ำยรำยวิชำพน้ื ฐำน

อ ๒๓๑๐๒ ภำษำอังกฤษ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำต่ำงประเทศ (รำยวชิ ำภำษำองั กฤษ)

ช้นั มัธยมศึกษำปที ่ี ๓ ภำคเรียนที่ ๒ เวลำ ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต

**********************************************************************************

ความรู้ ความเข้าใจคาขอร้อง คาแนะนา คาชแี้ จง คาอธิบายท่มี ขี ั้นตอนซับซอ้ น หลกั การอา่ นออก
เสียงประโยค ข้อความ และความหมายเกยี่ วกับตนเอง ครอบครวั เรือ่ ง กิจกรรม สถานการณ์ เหตุการณ์ใกลต้ ัว
เป็นวงคาศพั ทป์ ระมาณ ๑,๔๐๐-๑,๕๕๐ คา (คาศพั ทท์ ่ีเป็นรปู ธรรมและนามธรรม) การตีความ ถ่ายโอนข้อมูล
ให้สัมพันธก์ บั สอื่ การจับใจความสาคญั รายละเอียดสนับสนนุ จากสอ่ื ส่ิงพิมพแ์ ละสอื่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ประโยค
ท่ีใช้ในการแสดงความคิดเห็น ใหเ้ หตุผล ภาษาทใ่ี ชใ้ นการสอ่ื สารระหวา่ งบุคคล การแลกเปล่ียนขอ้ มูล
การบรรยายแสดงความตอ้ งการ เสนอและใหค้ วามชว่ ยเหลือ แสดงความคดิ เห็น ให้เหตุผลเก่ยี วกบั ตนเอง
การจบั ใจความสาคัญ เร่อื งใกลต้ ัว สถานการณ์ต่าง ๆ ขา่ ว เรอ่ื งท่ีอยู่ในความสนใจในชีวิตประจาวัน การจบั
ใจความสาคญั การเลือกใชภ้ าษา นา้ เสียง กิรยิ าท่าทางในการสนทนา ตามมารยาทสงั คมและวัฒนธรรมของ
เจา้ ของภาษา ชวี ติ ความเปน็ อยู่ ขนบธรรมเนียม ประเพณี กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม การเปรยี บเทยี บ
และอธบิ ายความเหมือนความแตกต่างระหวา่ งการออกเสียงประโยค การใชเ้ ครื่องหมายวรรคตอน ลาดับคา
ตามโครงสร้างประโยค ชีวติ ความเป็นอยู่ วัฒนธรรมของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย การคน้ คว้า รวบรวม
สรุป นาเสนอขอ้ มูลขอ้ เท็จจริงทเี่ ก่ยี วข้องกบั กลุ่มสาระการเรยี นรอู้ ื่น การใชภ้ าษาสอื่ สารในสถานการณจ์ รงิ
สถานการณจ์ าลองทีเ่ กิดขึ้นในหอ้ งเรยี น สถานศึกษา ชุมชน และสังคม การใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น
ค้นคว้าข้อมูลต่าง ๆ จากส่อื และแหลง่ การเรียนรู้ ในการศึกษาตอ่ และประกอบอาชีพ การเผยแพร่
ประชาสมั พนั ธ์ นาเสนอขอ้ มูลข่าวสารของโรงเรยี น ชุมชน และท้องถิ่น เปน็ ภาษาอังกฤษ

โดยใชค้ าขอร้อง คาแนะนา คาชแี้ จง คาอธิบายตามสถานการณ์ อ่านออกเสียงขอ้ ความ ข่าว ประกาศ
บทร้อยกรองสน้ั ๆ ตามหลกั การอ่านระบปุ ระโยค ข้อความ สัมพนั ธก์ บั สือ่ รปู แบบ ตา่ ง ๆ ที่อ่าน เลอื กหัวข้อเรอ่ื ง
ใจความสาคญั บอกรายละเอียดสนับสนนุ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั เรอ่ื งทฟ่ี งั และอ่าน ให้เหตุผลและ
ยกตัวอยา่ งงา่ ย ๆ ประกอบบทสนทนา แลกเปลีย่ นข้อมลู เก่ียวกับตนเอง เรอื่ งต่าง ๆ ใกล้ตวั และสถานการณ์
ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวนั อย่างเหมาะสม พดู และเขียนแสดงความต้องการ ขอและให้ขอ้ มลู อธิบาย บรรยาย
แสดงความคิดเห็น ความรู้สกึ ให้เหตุผลประกอบ เสนอ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลอื ในสถานการณ์
ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม บรรยายเกีย่ วกับเรอื่ งกิจวัตรประจาวัน กจิ กรรม ข่าว เหตุการณ์ ประสบการณ์ พรอ้ มทัง้
ใหเ้ หตุผลประกอบ พดู และเขยี นสรุปใจความสาคัญ หัวข้อเรือ่ ง ท่ีได้จากการวิเคราะห์เรื่อง ข่าว เหตุการณ์ ที่อยู่
ในความสนใจของสงั คม ใชภ้ าษา นา้ เสยี ง กริ ยิ าท่าทางเหมาะกบั บุคคลและโอกาส ตามมารยาททางสังคม
และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อธิบายเก่ียวกับเทศกาล วันสาคัญ ชีวิตความเปน็ อยู่ และประเพณี ของเจ้าของ

๒๑๔

ภาษา เข้าร่วมกจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ เปรยี บเทียบและอธบิ ายความเหมอื น
และความแตกต่างระหวา่ งการออกเสยี งประโยค การลาดบั คาตามโครงสร้างประโยค ของภาษาต่างประเทศ
และภาษาไทย คน้ คว้า รวบรวม สรปุ ขอ้ มลู ข้อเท็จจรงิ ท่ีเก่ียวข้องกบั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้อ่นื และนาเสนอ
ดว้ ยการพูดและการเขยี น ใชภ้ าษาส่ือสารในสถานการณจ์ รงิ หรอื สถานการณ์จาลองท่ีเกดิ ข้นึ ในห้องเรียน
สถานศึกษา และชุมชน รูจ้ ักการใช้ภาษาอังกฤษในการแนะนาทอ้ งถ่นิ ของตนได้ ทัง้ การพดู และการเขียน
ใชภ้ าษา ตา่ งประเทศในการค้นคว้า รวบรวมและสรุปความรู้ จากส่อื และแหล่งการเรียนรตู้ ่าง ๆ ในการศกึ ษา
ต่อและประกอบอาชพี ประชาสัมพันธข์ ้อมูลข่าวสาร ของโรงเรียนเปน็ ภาษาอังกฤษ

มงุ่ หวังให้ผูเ้ รียนมเี จตคติทดี่ ตี ่อภาษาตา่ งประเทศ เขา้ ใจวัฒนธรรมอนั หลากหลายของประชาคมโลก
ตระหนกั ถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมและมมุ มองของสังคมโลก นามาซึ่งมติ รไมตรี และความร่วมมือ
เขา้ ใจตนเองและผู้อื่นดขี นึ้ เข้าใจความแตกต่างของภาษาและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี มีเจตคติ
ท่ดี ตี อ่ การใชภ้ าษาอังกฤษ มวี ิสยั ทศั น์ในการดาเนินชีวิต มวี นิ ยั เห็นคุณค่าของการใฝ่เรยี นรู้ นาความรทู้ ีไ่ ด้
มาคิดวิเคราะห์ สรปุ ใจความสาคญั ตดั สนิ ใจในสถานการณต์ ่าง ๆ ไดต้ ามหลักคุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นยิ ม
ท่ีเหมาะสม รักการทางาน รักความเป็นไทย การอยอู่ ย่างพอเพยี งและมีจิตสาธารณะ
รหัสตัวช้ีวัด

ต ๑.๑ ม.๓/๑-ม.๓/๔,
ต ๑.๒ ม.๓/๑-ม.๓/๕,
ต ๑.๓ ม.๓/๑-ม.๓/๓,
ต ๒.๑ ม.๓/๑-ม.๓/๓,
ต ๒.๒ ม.๓/๑-ม.๓/๒,
ต ๓.๑ ม.๓/๑,
ต ๔.๑ ม.๓/๑,
ต ๔.๒ ม.๓/๑-ม.๓/๒

รวม ๒๑ ตวั ชวี้ ัด

๒๑๕

คำอธบิ ำยรำยวิชำเพม่ิ เตมิ
อ ๒๑๒๐๑ ภำษำองั กฤษเพ่ือกำรส่อื สำร กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ภำษำต่ำงประเทศ (รำยวิชำภำษำอังกฤษ)

ชั้นมธั ยมศึกษำปที ี่ ๑ ภำคเรียนท่ี ๑ เวลำ ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต

**********************************************************************************

ความรู้ ความเข้าใจภาษาทใ่ี ช้ในการสอ่ื สารระหวา่ งบุคคล เช่น การทกั ทาย กล่าวลา ขอบคุณ ขอโทษ

ชมเชย การพูดแทรกอย่างสภุ าพ การชักชวน การแนะนาตนเอง เพ่อื น และบุคคลใกลต้ ัว การแลกเปลีย่ น

ข้อมลู เกยี่ วกบั ตนเอง กิจกรรม สถานการณต์ า่ งๆ ในชวี ติ ประจาวัน ภาษาท่ีใช้ในการขอร้อง แนะนา ชีแ้ จง

บอกความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการใหค้ วามช่วยเหลอื แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ

สถานการณ์ ใกลต้ ัว แสดงความรู้สึก ความคดิ เห็น และให้เหตผุ ลประกอบ เชน่ ชอบ ไม่ชอบ ดใี จ เสยี ใจ

มีความสขุ เศร้า หวิ รสชาติ สวย นา่ เกลยี ด เสยี งดัง ดี ไม่ดี จากข่าว เหตุการณ์ สถานการณ์ ในชีวิตประจาวนั

การบรรยายเกย่ี วกบั ตนเอง กิจวตั รประจาวัน ประสบการณ์ สง่ิ แวดล้อม ใกล้ตัว เช่น การเดินทาง การ

รับประทานอาหาร การเรียน การเล่นกฬี า เวลาว่าง การท่องเทีย่ ว การใช้ภาษา นา้ เสยี ง และกริ ยิ าท่าทางใน

การสนทนาตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา การใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง

สถานการณจ์ าลองที่เกดิ ขึน้ ในหอ้ งเรยี นและสถานศึกษา

โดยศกึ ษา และฝกึ ปฏบิ ตั ิ การฟัง พูด เรอื่ งราวเกย่ี วกับชวี ติ ประจาวนั หรอื เร่ืองราวเก่ยี วกบั เหตุการณ์

ใกลต้ ัว การแสดงความคิดเห็น เข้าใจนา้ เสยี ง ความรู้สกึ ของผู้พดู ใชภ้ าษาและทา่ ทางไดถ้ ูกต้องตามมารยาท

ทางสงั คม เหมาะสมกบั กาลเทศะ ศกึ ษาความเหมือนและความแตกตา่ งระหว่างภาษาอังกฤษและภาษาไทย

การใชค้ า สานวน วลี ถ่ายโอนข้อมูลจากเรื่องท่อี ่าน และฟังและเขา้ รว่ มกจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรม

ของเจา้ ของภาษาที่เหมาะสมถูกตอ้ งตามกาลเทศะ

มงุ่ หวงั ให้ผูเ้ รียนเห็นคุณค่าของภาษาองั กฤษ มที ักษะในการสอื่ สารมีเจตคติท่ีดี ตอ่ การใชภ้ าษาอังกฤษ

มวี ิสัยทศั นใ์ นการดาเนินชีวิต มีวนิ ัย เห็นคุณค่าของการใฝ่เรียนรู้ รกั การทางาน รักความเปน็ ไทย การอยู่อยา่ ง

พอเพยี ง และมจี ติ สาธารณะ

๒๑๖

ผลกำรเรียนรู้
๑. พูดและปฏบิ ตั ิตามคาสั่ง คาขอรอ้ ง คาแนะนา คาชแ้ี จงและคาอธบิ ายง่ายๆ ที่ฟังได้
๒. สนทนาและเขยี นโตต้ อบขอ้ มูลเกี่ยวกับตนเอง กจิ กรรม สถานการณต์ า่ งๆ ในชวี ติ ประจาวนั
๓. พดู บรรยายเกย่ี วกับตนเอง กิจกรรม ประสบการณ์ ข่าว เหตกุ ารณ์ ประเดน็ ตา่ งๆ ท่อี ยใู่ นความ
สนใจของสงั คม
๔. เลอื กใชภ้ าษา น้าเสียง และกิรยิ าท่าทาง เหมาะสมกับบคุ คลและโอกาส ตามมารยาททางสงั คม
และวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา
๕. สนทนาบอกเล่า แสดงความร้สู ึก ความคดิ เห็น เกีย่ วกับชุมชน ท้องถ่ิน ศิลปวฒั นธรรม
ขนบธรรมเนยี ม และประเพณี
๖. ใช้ภาษาต่างประเทศในการแสวงหาความรู้ แสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกับเหตกุ ารณ์ สถานการณ์
ใกลต้ วั
๗. มีทักษะในการเผยแพร่ ประชาสมั พันธข์ ้อมูลของโรงเรียน และชมุ ชนได้
๘. มีทักษะในการเรยี นรู้ การทางาน การคิด การแกป้ ัญหา
๙. มีคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องโรงเรยี นและของกลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ
รวมผลกำรเรียนรู้ ๙ ข้อ

๒๑๗

คำอธบิ ำยรำยวิชำเพม่ิ เติม

อ ๒๑๒๐๒ ภำษำอังกฤษเพื่อกำรสอ่ื สำร กลุม่ สำระกำรเรียนรูภ้ ำษำต่ำงประเทศ (รำยวชิ ำภำษำอังกฤษ)

ชั้นมัธยมศึกษำปที ่ี ๑ ภำคเรยี นที่ ๒ เวลำ ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ

**********************************************************************************

ความรู้ ความเข้าใจภาษาท่ใี ช้ในการสื่อสารระหว่างบคุ คล เช่น ขอโทษ ชมเชย การพดู แทรกอยา่ ง
สภุ าพ การชักชวน การแลกเปลี่ยนขอ้ มูลเกีย่ วกับตนเอง กิจกรรม สถานการณ์ตา่ งๆ ในชีวิตประจาวนั ภาษาท่ี
ใชใ้ นการ แนะนา ชี้แจง บอกความตอ้ งการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความชว่ ยเหลอื
แสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกบั สถานการณใ์ กล้ตัว แสดงความรู้สึก ความคดิ เหน็ และให้เหตผุ ลประกอบ เชน่ ชอบ
ไมช่ อบ ดใี จ เสยี ใจ มีความสุข เศรา้ หิว รสชาติ สวย นา่ เกลียด เสียงดัง ดี ไมด่ ี จากข่าว เหตกุ ารณ์
สถานการณ์ ในชีวิตประจาวัน การบรรยายเก่ียวกบั กิจวัตรประจาวนั ประสบการณ์ ส่งิ แวดล้อม ใกล้ตวั เชน่
การเดนิ ทาง การรับประทานอาหาร การเรียน การเล่นกีฬา เวลาว่าง การท่องเทย่ี ว การใช้ภาษา นา้ เสยี ง และ
กิริยาท่าทางในการสนทนาตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา การใชภ้ าษาสือ่ สารใน
สถานการณจ์ ริง สถานการณจ์ าลอง ที่เกิดข้ึนในหอ้ งเรียนและสถานศกึ ษา

โดยศึกษา และฝกึ ปฏิบัติ การฟัง พูด เรอ่ื งราวเก่ยี วกบั ชวี ติ ประจาวัน หรอื เรือ่ งราวเกีย่ วกับเหตุการณ์
ใกล้ตัว การแสดงความคิดเหน็ เข้าใจนา้ เสียง ความรสู้ กึ ของผพู้ ดู ใชภ้ าษาและทา่ ทางได้ถกู ตอ้ งตามมารยาท
ทางสังคม เหมาะสมกับกาลเทศะ ศกึ ษาความเหมือนและความแตกตา่ งระหว่างภาษาอังกฤษและภาษาไทย
การใช้คา สานวน วลี ถ่ายโอนข้อมลู จากเรื่องทอี่ า่ น และฟังและเข้าร่วมกจิ กรรมทางภาษาและวฒั นธรรม
ของเจา้ ของภาษาท่เี หมาะสมถกู ต้องตามกาลเทศะ

มงุ่ หวังใหผ้ เู้ รียนเหน็ คุณค่าของภาษาอังกฤษ มีทกั ษะในการสอ่ื สารมีเจตคติที่ดี ตอ่ การใช้ภาษาอังกฤษ
มวี ิสยั ทัศน์ในการดาเนนิ ชวี ิต มีวนิ ยั เหน็ คุณค่าของการใฝ่เรียนรู้ รกั การทางาน รกั ความเปน็ ไทย การอยู่
อย่างพอเพียง และมจี ิตสาธารณะ

๒๑๘

ผลกำรเรียนรู้
๑. พดู และปฏิบตั ิตามคาส่ัง คาขอรอ้ ง คาแนะนา คาชีแ้ จงและคาอธิบายง่าย ๆ ท่ีฟงั ได้
๒. สนทนาและเขยี นโตต้ อบข้อมลู เกีย่ วกับตนเอง กจิ กรรม สถานการณ์ต่าง ๆ ในชวี ิตประจาวนั
๓. พดู บรรยายเก่ยี วกบั ตนเอง กจิ กรรม ประสบการณ์ ข่าว เหตกุ ารณ์ ประเดน็ ตา่ ง ๆ ท่ีอยู่ในความ
สนใจของสงั คม
๔. เลอื กใช้ภาษา นา้ เสยี ง และกิรยิ าท่าทาง เหมาะสมกับบคุ คลและโอกาส ตามมารยาททางสังคม
และวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา
๕. สนทนาบอกเล่า แสดงความรสู้ ึก ความคิดเหน็ เกย่ี วกบั ชมุ ชน ทอ้ งถิ่น ศิลปวัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียม และประเพณี
๖. ใช้ภาษาต่างประเทศในการแสวงหาความรู้ แสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั เหตกุ ารณ์ สถานการณ์
ใกล้ตัว
๗. มีทักษะในการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ขอ้ มลู ของโรงเรยี น และชุมชนได้
๘. มที กั ษะในการเรียนรู้ การทางาน การคิด การแก้ปญั หา
๙. มีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ของโรงเรยี นและของกลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ

รวมผลกำรเรียนรู้ ๙ ข้อ

๒๑๙

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำเพิม่ เติม

อ ๒๒๒๐๑ ภำษำอังกฤษเพอ่ื กำรสอ่ื สำร กลุม่ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำตำ่ งประเทศ (รำยวชิ ำภำษำองั กฤษ)

ชัน้ มธั ยมศึกษำปที ่ี ๒ ภำคเรยี นท่ี ๑ เวลำ ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต

**********************************************************************************

ความรู้ ความเข้าใจภาษาท่ใี ช้ในการสื่อสารระหวา่ งบคุ คล เช่น การพดู แทรกอยา่ งสุภาพ การชกั ชวน
การแลกเปล่ียนขอ้ มูลเกี่ยวกับตนเอง กจิ กรรม สถานการณ์ตา่ งๆ ในชีวิตประจาวัน ภาษาทีใ่ ช้แสดงความ
ต้องการ เสนอและใหค้ วามช่วยเหลือ ตอบรบั และปฏิเสธการให้ความชว่ ยเหลือ บรรยายและแสดงความคดิ เหน็
ความรู้สึก พร้อมให้เหตผุ ลประกอบเกย่ี วกบั สถานการณ์ ใกลต้ ัว เช่น การเดนิ ทาง การรับประทานอาหาร
การเรยี น การเลน่ กีฬา การทอ่ งเทีย่ ว เทศกาล วันสาคญั ของเจ้าของภาษากับของไทย การใชภ้ าษา นา้ เสียง
และกริ ิยาท่าทางในการสนทนาตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา การใช้ภาษาสื่อสารใน
สถานการณ์จรงิ สถานการณจ์ าลองท่ีเกดิ ขึ้นในห้องเรยี นและสถานศกึ ษา

โดยศึกษา และฝกึ ปฏบิ ตั ิ การฟงั พูด เรือ่ งราวเก่ยี วกับชวี ติ ประจาวนั เหตกุ ารณ์ใกล้ตวั แลกเปลีย่ น
ขอ้ มูล แสดงความคิดเหน็ บอกความรูส้ ึก บอกเหตผุ ล เสนอเพือ่ ขอและให้ หรือตอบรบั ตอบปฏิเสธความ
ชว่ ยเหลือใช้น้าเสียง ภาษาและท่าทางตามมารยาททางสงั คม และกาลเทศะ ระบุความเหมือนและความ
แตกต่างระหว่างภาษาองั กฤษและภาษาไทย ใช้คา สานวน วลี ถา่ ยโอนขอ้ มูลจากเร่อื งทฟ่ี ัง เข้ารว่ มกจิ กรรม
ทางภาษา และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาเหมาะสมถูกตอ้ งตามกาลเทศะ

ม่งุ หวงั ให้ผูเ้ รยี นเหน็ คุณค่าของภาษาองั กฤษ มที กั ษะในการส่อื สารมีเจตคตทิ ่ีดี ตอ่ การใช้ภาษาองั กฤษ
มีวสิ ยั ทัศนใ์ นการดาเนนิ ชวี ิต มวี นิ ัย เหน็ คณุ ค่าของการใฝ่เรยี นรู้ รักการทางาน รักความเป็นไทย
การอยูอ่ ยา่ งพอเพยี งและมจี ิตสาธารณะ

๒๒๐

ผลกำรเรียนรู้
๑. พูดและปฏบิ ตั ิตามคาสั่ง คาขอรอ้ ง คาแนะนา คาชแ้ี จงและคาอธิบายง่าย ๆ ที่ฟังได้
๒. สนทนาและเขยี นโตต้ อบขอ้ มูลเกี่ยวกับตนเอง กจิ กรรม สถานการณต์ า่ ง ๆ ในชีวิตประจาวนั
๓. พดู บรรยายเกย่ี วกับตนเอง กิจกรรม ประสบการณ์ ข่าว เหตกุ ารณ์ ประเดน็ ตา่ ง ๆ ท่อี ยู่ในความ
สนใจของสงั คม
๔. เลอื กใชภ้ าษา น้าเสียง และกิรยิ าท่าทาง เหมาะสมกับบคุ คลและโอกาส ตามมารยาททางสงั คม
และวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา
๕. สนทนาบอกเล่า แสดงความร้สู ึก ความคดิ เห็น เกีย่ วกับชุมชน ท้องถ่ิน ศิลปวัฒนธรรม
ขนบธรรมเนยี ม และประเพณี
๖. ใช้ภาษาต่างประเทศในการแสวงหาความรู้ แสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกับเหตกุ ารณ์ สถานการณ์
ใกลต้ วั
๗. มีทักษะในการเผยแพร่ ประชาสมั พันธข์ ้อมูลของโรงเรียน และชมุ ชนได้
๘. มีทักษะในการเรยี นรู้ การทางาน การคิด การแกป้ ัญหา
๙. มีคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องโรงเรยี นและของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

รวมผลกำรเรียนรู้ ๙ ข้อ

๒๒๑

คำอธิบำยรำยวิชำเพมิ่ เติม

อ ๒๒๒๐๒ ภำษำอังกฤษเพอื่ กำรสอื่ สำร กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำตำ่ งประเทศ (รำยวชิ ำภำษำองั กฤษ)

ชน้ั มธั ยมศึกษำปีท่ี ๒ ภำคเรียนท่ี ๒ เวลำ ๒๐ ชวั่ โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ

**********************************************************************************

ความรู้ ความเขา้ ใจภาษาทใ่ี ช้ในการขอร้อง แนะนา ช้ีแจง และอธิบาย การสนทนาสอ่ื สารระหวา่ ง

บุคคล การแลกเปล่ียนขอ้ มูลเกีย่ วกับตนเอง กจิ กรรม สถานการณต์ า่ งๆ ในชวี ิตประจาวนั ภาษาท่ีใช้แสดง

ความต้องการ เสนอและให้ความชว่ ยเหลอื ตอบรับและปฏิเสธการให้ความชว่ ยเหลอื บรรยายและแสดงความ

คดิ เหน็ ความรู้สึก พรอ้ มให้เหตผุ ลประกอบเก่ียวกับ สถานการณ์ ใกล้ตัว การใชภ้ าษา นา้ เสียง และกิรยิ า

ท่าทางในการสนทนา ตามมารยาทสงั คมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา การใชภ้ าษาส่อื สารในสถานการณ์

จริง สถานการณ์จาลองท่เี กิดขึ้นในหอ้ งเรียนและสถานศึกษา เผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธ์

โดยศกึ ษา และฝกึ ปฏิบตั ิ การฟงั พดู เรื่องราวเกยี่ วกับชีวิตประจาวนั เหตุการณ์ใกล้ตวั แลกเปล่ยี น

ขอ้ มูล แสดงความคิดเหน็ บอกความร้สู ึก บอกเหตุผล เสนอเพอ่ื ขอและให้ หรือตอบรบั ตอบปฏิเสธความ

ช่วยเหลือ ใช้นา้ เสยี ง ภาษาและทา่ ทางตามมารยาททางสงั คม และกาลเทศะ ระบุความเหมือนและความ

แตกตา่ งระหวา่ งภาษาองั กฤษและภาษาไทย ใช้คา สานวน วลี ถา่ ยโอนข้อมูลจากเรอ่ื งท่ีฟงั เข้าร่วมกิจกรรม

ทางภาษา และวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษาเหมาะสมถูกต้องตามกาลเทศะ

มุ่งหวังให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของภาษาอังกฤษ มีทักษะในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา

การใชท้ ักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี มเี จตคติทดี่ ี ต่อการใช้ภาษาอังกฤษ มีวิสยั ทศั นใ์ นการ

ดาเนินชวี ติ มีวินยั เห็นคุณคา่ ของการใฝ่เรียนรู้ รกั การทางาน รกั ทอ้ งถิน่ รักความเปน็ ไทย การอยอู่ ยา่ งพอเพียง

และมีจิตสาธารณะ

๒๒๒

ผลกำรเรียนรู้
๑. พดู และปฏิบตั ิตามคาส่ัง คาขอร้อง คาแนะนา คาชีแ้ จงและคาอธบิ ายง่ายๆ ท่ฟี งั ได้
๒. สนทนาและเขยี นโตต้ อบข้อมูลเก่ียวกับตนเอง กจิ กรรม สถานการณ์ต่างๆ ในชีวติ ประจาวนั
๓. พดู บรรยายเก่ยี วกบั ตนเอง กจิ กรรม ประสบการณ์ ข่าว เหตกุ ารณ์ ประเด็นต่างๆ ทอี่ ยู่ในความ
สนใจของสงั คม
๔. เลอื กใช้ภาษา นา้ เสยี ง และกริ ยิ าท่าทาง เหมาะสมกับบคุ คลและโอกาส ตามมารยาททางสังคม
และวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา
๕. สนทนาบอกเล่า แสดงความรสู้ กึ ความคิดเหน็ เกย่ี วกบั ชมุ ชน ท้องถ่ิน ศิลปวฒั นธรรม
ขนบธรรมเนียม และประเพณี
๖. ใช้ภาษาต่างประเทศในการแสวงหาความรู้ แสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั เหตุการณ์ สถานการณ์
ใกล้ตัว
๗. มีทักษะในการเผยแพร่ ประชาสมั พันธ์ขอ้ มลู ของโรงเรยี น และชุมชนได้
๘. มที กั ษะในการเรียนรู้ การทางาน การคิด การแก้ปญั หา
๙. มีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ของโรงเรยี นและของกลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาต่างประเทศ

รวมผลกำรเรียนรู้ ๙ ข้อ

๒๒๓

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำเพม่ิ เติม

อ ๒๓๒๐๑ ภำษำองั กฤษเพอ่ื กำรสื่อสำร กลมุ่ สำระกำรเรียนร้ภู ำษำต่ำงประเทศ (รำยวิชำภำษำอังกฤษ)

ช้นั มธั ยมศึกษำปที ่ี ๓ ภำคเรียนท่ี ๑ เวลำ ๒๐ ชวั่ โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต

**********************************************************************************

ความรู้ ความเขา้ ใจภาษาทีใ่ ช้ในการส่ือสารระหวา่ งบุคคล เชน่ เชน่ ชมเชย การพดู แทรกอยา่ งสภุ าพ
การชักชวน การแลกเปล่ยี นข้อมูลเกย่ี วกบั ตนเองเรอื่ งใกล้ตัว สถานการณต์ า่ งๆ ในชีวิตประจาวนั เกีย่ วกับ
ตนเองและบุคคลใกลต้ ัว สถานการณ์ ข่าว เรอื่ งท่ีอยใู่ นความสนใจในชวี ิตประจาวัน คาขอร้อง คาแนะนา คา
ชแ้ี จง คาอธิบาย ทม่ี ขี ้ันตอนซับซอ้ น ภาษาทใ่ี ช้ในการแสดงความต้องการ เสนอและใหค้ วามช่วยเหลอื ตอบรบั
และปฏเิ สธการให้ความชว่ ยเหลือ แสดงความคดิ เหน็ แสดงความร้สู ึก ในสถานการณ์ต่างๆ คาศัพท์ สานวน
ประโยค และขอ้ ความทใี่ ช้ในการขอและใหข้ อ้ มูล อธิบาย เปรียบเทียบ การบรรยายเกีย่ วกับตนเอง
ประสบการณ์ เหตุการณ์ทอ่ี ยใู่ นความสนใจของสังคม เชน่ การเดนิ ทาง การรับประทานอาหาร การเลน่ กีฬา
การฟงั เพลง การอา่ นหนงั สือ การทอ่ งเทย่ี ว การศึกษา สภาพสังคม เศรษฐกจิ การเลอื กใช้ภาษา นา้ เสียง และ
กริ ยิ าท่าทางในการสนทนา ตามมารยาทสงั คมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา เชน่ การขอบคุณ ขอโทษ
การชมเชย การใช้สีหนา้ ท่าทางประกอบ การพดู ขณะแนะนาตนเอง การสัมผสั มือ การโบกมอื การแสดง
ความรสู้ กึ ชอบ ไมช่ อบ การกล่าวอวยพร การแสดงอาการตอบรบั หรอื ปฏิเสธ กจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรม
เช่น การเล่นเกม การรอ้ งเพลง การเล่านทิ าน บทบาทสมมุติ วนั คริสต์มาส วันวาเลนไทน์ การใช้ภาษาส่อื สาร
ในสถานการณ์จรงิ สถานการณ์จาลองทเ่ี กดิ ข้ึนในห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม การใช้ภาษา
ต่างประเทศ ในการเผยแพรป่ ระชาสมั พันธข์ ้อมูลขา่ วสารของโรงเรยี น ชมุ ชน และท้องถน่ิ

โดยศึกษา และฝึกปฏบิ ัติ การฟงั พดู เรอ่ื งราวเกยี่ วกับชวี ิตประจาวนั เหตกุ ารณ์ใกล้ตวั แลกเปล่ียน
ข้อมลู แสดงความคิดเห็น บอกความรู้สึก บอกเหตผุ ล เสนอเพอ่ื ขอและให้ หรอื ตอบรบั ตอบปฏิเสธความ
ช่วยเหลอื ใชน้ า้ เสียง ภาษาและท่าทางตามมารยาททางสังคม และกาลเทศะ ระบคุ วามเหมอื นและความ
แตกต่างระหว่างภาษาอังกฤษและภาษาไทย ใช้คา สานวน วลี ถา่ ยโอนขอ้ มูลจากเรื่องทีฟ่ งั เข้ารว่ มกจิ กรรม
ทางภาษา และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาเหมาะสมถูกต้องตามกาลเทศะ

มุ่งหวังใหผ้ เู้ รียนเห็นคุณค่าของภาษาองั กฤษ มีทกั ษะในการสื่อสารมีเจตคติที่ดี ตอ่ การใช้ภาษาองั กฤษ
มีวสิ ยั ทศั น์ในการดาเนนิ ชวี ติ มวี นิ ยั เห็นคุณค่าของการใฝเ่ รยี นรู้ รกั การทางาน รกั ความเปน็ ไทย
การอยู่อยา่ งพอเพยี งและมีจิตสาธารณะ

๒๒๔

ผลกำรเรียนรู้
๑. พูดและปฏบิ ตั ิตามคาสั่ง คาขอรอ้ ง คาแนะนา คาชแ้ี จงและคาอธบิ ายง่ายๆ ที่ฟังได้
๒. สนทนาและเขยี นโตต้ อบขอ้ มูลเกี่ยวกับตนเอง กจิ กรรม สถานการณต์ า่ งๆ ในชวี ติ ประจาวัน
๓. พดู บรรยายเกย่ี วกับตนเอง กิจกรรม ประสบการณ์ ข่าว เหตกุ ารณ์ ประเดน็ ตา่ งๆ ท่อี ย่ใู นความ
สนใจของสงั คม
๔. เลอื กใชภ้ าษา น้าเสียง และกิรยิ าท่าทาง เหมาะสมกับบคุ คลและโอกาส ตามมารยาททางสังคม
และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
๕. สนทนาบอกเล่า แสดงความร้สู ึก ความคดิ เห็น เกีย่ วกับชมุ ชน ทอ้ งถ่ิน ศิลปวฒั นธรรม
ขนบธรรมเนยี ม และประเพณี
๖. ใช้ภาษาต่างประเทศในการแสวงหาความรู้ แสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกับเหตกุ ารณ์ สถานการณ์
ใกลต้ วั
๗. มีทักษะในการเผยแพร่ ประชาสมั พันธข์ อ้ มูลของโรงเรียน และชุมชนได้
๘. มีทักษะในการเรยี นรู้ การทางาน การคดิ การแกป้ ัญหา
๙. มีคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องโรงเรยี นและของกลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ

รวมผลกำรเรียนรู้ ๙ ข้อ

๒๒๕

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำเพิม่ เติม

อ ๒๓๒๐๒ ภำษำองั กฤษเพ่อื กำรสื่อสำร กลมุ่ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำต่ำงประเทศ(รำยวิชำ ภำษำองั กฤษ)

ชนั้ มัธยมศกึ ษำปที ี่ ๓ ภำคเรยี นที่ ๒ เวลำ ๒๐ ชวั่ โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ

**********************************************************************************

ความรู้ ความเข้าใจภาษาท่ีใช้ในการสื่อสารระหวา่ งบคุ คล เช่น เช่น ชมเชย การพดู แทรกอย่างสุภาพ
การชักชวน การแลกเปลย่ี นข้อมลู เกย่ี วกับตนเองเร่อื งใกล้ตวั สถานการณ์ต่างๆ ในชีวติ ประจาวัน เก่ียวกบั
ตนเองและบุคคลใกลต้ ัว สถานการณ์ ข่าว เรอ่ื งท่ีอยใู่ นความสนใจในชีวิตประจาวนั คาขอร้อง คาแนะนา คา
ชี้แจง คาอธิบาย ที่มขี ้ันตอนซับซอ้ น ภาษาท่ีใชใ้ นการแสดงความต้องการ เสนอและใหค้ วามชว่ ยเหลือ ตอบรบั
และปฏิเสธการให้ความชว่ ยเหลือ แสดงความคดิ เห็น แสดงความรู้สกึ ในสถานการณ์ต่างๆ คาศพั ท์ สานวน
ประโยค และข้อความทใี่ ช้ในการขอและให้ข้อมูล อธิบาย เปรยี บเทยี บ การบรรยายเก่ยี วกบั ตนเอง
ประสบการณ์ เหตกุ ารณ์ท่อี ยูใ่ นความสนใจของสังคม เช่น การเดนิ ทาง การรับประทานอาหาร การเลน่ กีฬา
การฟงั เพลง การอ่านหนังสอื การท่องเท่ยี ว การศึกษา สภาพสงั คม เศรษฐกจิ การเลอื กใช้ภาษา นา้ เสยี ง และ
กิรยิ าท่าทาง ในการสนทนา ตามมารยาทสงั คมและวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา เชน่ การขอบคณุ ขอโทษ
การชมเชย การใช้สีหนา้ ท่าทางประกอบ การพดู ขณะแนะนาตนเอง การสมั ผสั มอื การโบกมอื การแสดงความ
รสู้ ึกชอบ ไมช่ อบ การกล่าวอวยพร การแสดงอาการตอบรบั หรอื ปฏิเสธ กจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรม เชน่
การเล่นเกม การร้องเพลง การเล่านิทาน บทบาทสมมตุ ิ วันครสิ ตม์ าส วนั วาเลนไทน์ การใชภ้ าษาสือ่ สารใน
สถานการณ์จริงสถานการณจ์ าลองท่เี กดิ ขึน้ ในหอ้ งเรยี น สถานศกึ ษา ชมุ ชน และสังคม การใช้
ภาษาต่างประเทศในการเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธ์ข้อมลู ขา่ วสารของโรงเรียน ชมุ ชน และท้องถ่นิ

โดยศกึ ษา และฝึกปฏบิ ตั ิ การฟงั พดู เรอื่ งราวเกยี่ วกบั ชวี ติ ประจาวนั เหตุการณ์ใกลต้ ัว แลกเปลีย่ น
ขอ้ มูล แสดงความคิดเหน็ บอกความรู้สกึ บอกเหตผุ ล เสนอเพือ่ ขอและให้ หรือตอบรับ ตอบปฏิเสธความ
ชว่ ยเหลือ ใชน้ า้ เสยี ง ภาษาและทา่ ทางตามมารยาททางสังคม และกาลเทศะ ระบุความเหมือนและความ
แตกตา่ งระหวา่ งภาษาอังกฤษและภาษาไทย ใช้คา สานวน วลี ถา่ ยโอนข้อมูลจากเรอ่ื งท่ฟี งั เขา้ รว่ มกจิ กรรม
ทางภาษา และวฒั นธรรมของเจ้าของภาษาเหมาะสมถกู ต้องตามกาลเทศะ

มงุ่ หวังใหผ้ เู้ รยี นเหน็ คณุ ค่าของภาษาอังกฤษ มีทกั ษะในการสอื่ สารมีเจตคติท่ีดี ตอ่ การใชภ้ าษาอังกฤษ
มวี ิสยั ทศั นใ์ นการดาเนินชีวิต มวี นิ ัย เหน็ คณุ ค่าของการใฝ่เรียนรู้ รกั การทางาน รกั ความเปน็ ไทย
การอยู่อยา่ งพอเพียงและมจี ิตสาธารณะ

๒๒๖

ผลกำรเรยี นรู้
๑. พดู และปฏบิ ตั ิตามคาสั่ง คาขอรอ้ ง คาแนะนา คาช้ีแจงและคาอธบิ ายง่ายๆ ทฟ่ี ังได้
๒. สนทนาและเขยี นโตต้ อบขอ้ มูลเกี่ยวกับตนเอง กจิ กรรม สถานการณต์ า่ งๆ ในชีวิตประจาวนั
๓. พูดบรรยายเกย่ี วกับตนเอง กิจกรรม ประสบการณ์ ข่าว เหตุการณ์ ประเดน็ ต่างๆ ท่อี ยใู่ นความ
สนใจของสงั คม
๔. เลือกใชภ้ าษา น้าเสียง และกิรยิ าท่าทาง เหมาะสมกับบคุ คลและโอกาส ตามมารยาททางสงั คม
และวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา
๕. สนทนาบอกเล่า แสดงความร้สู ึก ความคดิ เห็น เกีย่ วกับชมุ ชน ท้องถ่ิน ศิลปวฒั นธรรม
ขนบธรรมเนยี ม และประเพณี
๖. ใช้ภาษาต่างประเทศในการแสวงหาความรู้ แสดงความคิดเห็นเกยี่ วกับเหตกุ ารณ์ สถานการณ์
ใกล้ตวั
๗. มีทกั ษะในการเผยแพร่ ประชาสมั พันธข์ อ้ มูลของโรงเรยี น และชมุ ชนได้
๘. มีทักษะในการเรยี นรู้ การทางาน การคิด การแก้ปญั หา
๙. มีคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องโรงเรยี นและของกลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ

รวมผลกำรเรียนรู้ ๙ ข้อ

๒๒๗

กจิ กรรมพัฒนำผเู้ รียน

กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน เป็นกจิ กรรมท่มี งุ่ ใหผ้ ู้เรียนพฒั นาตนเองตามศกั ยภาพ พฒั นาอย่างรอบด้าน
เพ่อื ความเปน็ มนษุ ยท์ ่สี มบรู ณ์ ทั้งรา่ งกาย สติปัญญา อารมณ์ และสงั คม เสรมิ สร้างให้เป็นผ้มู ีศีลธรรม
จรยิ ธรรม มีระเบยี บวินยั ปลกู ฝังและสรา้ งจิตสานึกของการทาประโยชนเ์ พ่อื สังคม สามารถจัดการตนเองได้
และอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอยา่ งมีความสขุ

โรงเรียนชมุ ชนวดั สุวรรณรังสรรค์ ไดจ้ ดั กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน โดยแบง่ ออกเป็น ๓ ลักษณะดงั น้ี
๑. กจิ กรรมแนะแนว เปน็ กิจกรรมทีส่ ่งเสริมและพัฒนานักเรยี นให้สอดคล้องกับความสามารถ
ความถนดั และความสนใจ โดยคานงึ ถึงความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล ดว้ ยกระบวนการทางจิตวทิ ยา การแนะ
แนว ใหส้ อดคลอ้ งครอบคลมุ ด้านการศกึ ษา อาชีพสว่ นตวั และสังคม กิจกรรมสาคัญในการพฒั นา ไดแ้ ก่
กจิ กรรม การรูจ้ ัก เขา้ ใจและเห็นคุณคา่ ในตนเองและผ้อู ่ืน กิจกรรมการปรับตวั และดารงชีวิต กจิ กรรมแสวงหา
และใช้ขอ้ มูลสารสนเทศ กจิ กรรมการตัดสิตใจและแก้ปัญหา เป็นตน้
นกั เรียนทุกคนต้องเข้ารว่ มกิจกรรมแนะแนว ๔๐ ช่วั โมง ต่อปีการศึกษา (ระดบั ประถมศึกษา)
และ ๒๐ ช่ัวโมงตอ่ ภาคเรยี น (ในระดับมัธยมศกึ ษา)
แนวกำรจดั กิจกรรมแนะแนว
การจดั กจิ กรรมแนะแนวได้จัดอตั ราเวลาเรยี นไวใ้ นโครงสรา้ งหลักสูตร จานวน ๑ ชว่ั โมงในทุกช้ันเรียน
เป็นกจิ กรรมที่เปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นทุกคนได้รว่ มกิจกรรมเพอ่ื ให้สามารถคน้ พบตนเอง โดยมคี รเู ปน็ ท่ปี รึกษา
และใหค้ วามรู้ ตลอดจนข้อมลู ที่จาเป็นหรอื ท่นี ักเรียนสนใจ นักเรียนทุกคนต้องเขา้ รว่ มกจิ กรรมและรายงานผล
การเขา้ ร่วมกิจกรรมด้วย ต่อจากนัน้ ครูผรู้ ับผิดชอบจะทาการประเมินและเสนอผลการประเมนิ ตอ่
คณะอนกุ รรมการกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นเพื่อใหค้ วามเห็นชอบ พรอ้ มท้งั เสนอผู้บริหารเพอื่ พจิ ารณาอนุมัติตอ่ ไป
๒. กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมท่ีสง่ เสริมและพฒั นานกั เรียนให้ผ้เู รยี นเป็นผ้ปู ฏิบัตดิ ้วยตนเอง
อยา่ งครบวงจร ตัง้ แตก่ ารศกึ ษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏบิ ัติตามแผน ประเมนิ และปรับปรงุ การทางาน โดยเนน้
การทางานร่วมกันเปน็ กลมุ่ เปน็ กิจกรรมท่ีเกดิ จากความสมคั รใจของผ้เู รียน ม่งุ พฒั นาคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์
เพิ่มเตมิ จากกิจกรรมในกลุม่ สาระการเรยี นรู้ เป็นกิจกรรมท่ีผ้เู รยี นช่วยกันคดิ ช่วยกันทา ช่วยกันแก้ปัญหา
เพื่อส่งเสริมศกั ยภาพของผู้เรยี นอยา่ งเตม็ ท่ี รวมถึงกจิ กรรมท่ีปลูกฝังความมรี ะเบยี บวนิ ยั ความรับผิดชอบ
และหน้าท่ีของตนเอง
กจิ กรรมนักเรียนประกอบด้วย

๒.๑ กิจกรรมลกู เสอื - เนตรนำรี นกั เรยี นทกุ คนตอ้ งเข้าร่วมกิจกรรมลกู เสอื -เนตรนารี ๓๐ ชว่ั โมง
ต่อปกี ารศึกษา (ระดับประถมศกึ ษา) ๑๕ ช่ัวโมงต่อภาคเรียน (ระดับมธั ยมศกึ ษา)

๒๒๘

แนวกำรจดั กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนำรี

เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นพัฒนาทางกาย สตปิ ัญญา จิตใจ และศีลธรรม ใหเ้ ป็นพลเมืองดี มคี วามรับผดิ ชอบ

โดยปลูกฝังลักษณะให้มคี วามรู้ เขา้ ใจ และสามารถปฏิบตั ิตามคาปฏญิ าณ กฎ และคติพจน์ มีทักษะการสังเกต

จดจา การใชม้ ือ เครือ่ งมือ การแก้ปัญหาและทักษะในการทางานร่วมกับผู้อนื่ มคี วามซ่ือสตั ยส์ ุจริต มรี ะเบียบ

วินยั มีความสามคั คี เหน็ อกเห็นใจผู้อ่ืน มคี วามเสียสละ บาเพญ็ ตนเพ่ือสาธารณประโยชน์และมกี ารพฒั นา

ตนเองอยูเ่ สมอ โดยดาเนินกจิ กรรม เปิดประชุมกอง ดาเนนิ การตามกระบวนการลูกเสือและจัดกจิ กรรม

โดยใหศ้ กึ ษาวิเคราะหว์ างแผน ปฏบิ ัติกจิ กรรมตามฐานโดยเน้นระบบหมู่ สรปุ ผลการจัดกจิ กรรม

ปิดประชุมกอง

๒.๒ กิจกรรมชุมนมุ นักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมชุมนุม ๔๐ ช่ัวโมงตอ่ ปกี ารศกึ ษา

(ระดบั ประถมศึกษา) ๒๐ ชัว่ โมงตอ่ ภาคเรยี น (ระดบั มธั ยมศึกษา)

แนวกำรจดั กิจกรรมชุมนุม

เป็นกิจกรรมพัฒนาความถนัด ความสนใจ ตามความต้องการของผ้เู รยี น โดยมุ่งเนน้ การเติมเตม็

ความรูค้ วามชานาญ และประสบการณ์ของผู้เรยี นใหก้ ว้างขวางยิ่งขึ้น เพอื่ การค้นพบความถนดั ความสนใจ

ของตนเองและพัฒนาตนเองใหเ้ ต็มศักยภาพ ตลอดจนการพัฒนาทกั ษะและปลกู ฝงั จิตสานึกของการทา

ประโยชน์เพื่อสังคม

รายชอื่ ชมุ นมุ ระดับประถมศึกษา

๑. ชมุ นมุ ยวุ กวี ๒. ชุมนุมนกั ประดษิ ฐ์

๓. ชุมนุมห้องสมุด ๔. ชุมนุมคอมพิวเตอร์

๕. ชมุ นุมกฬี า ๖. ชุมนุมการละเล่นไทย

๗. ชมุ นมุ นาฎศิลป์ ๘. ชุมนุมจิตรกรน้อย

รายช่อื ชมุ นุมระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

๑. ชมุ นุมภาษาไทย ๒. ชมุ นุม Math & Com

๓. ชุมนุมวทิ ยาศาสตร์ ๔. ชุมนมุ สังคมไทย

๕. ชุมนุมยวุ เกษตรกร ๖. ชมุ นมุ กีฬา

๗. ชมุ นุมนาฎศิลปไ์ ทย ๘. ชุมนุมศลิ ปะ

๙. ชมุ นุมภาษาอังกฤษ

๓. กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสำธำรณประโยชน์ เป็นกจิ กรรมที่สง่ เสริมและพฒั นานักเรยี นให้ได้ทา

ประโยชน์ตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพอื่ แสดงถงึ ความรับผดิ ชอบ

ความดงี าม ความเสยี สละตอ่ สงั คม มจี ติ ใจมงุ่ ทาประโยชน์ตอ่ ครอบครัว ชุมชนและสงั คม กจิ กรรมสาคัญ ไดแ้ ก่

กจิ กรรมบาเพญ็ ประโยชน์ กจิ กรรมสรา้ งสรรคส์ งั คม กิจกรรมดารงรกั ษา สืบสานศาสนา ศิลปะ และวฒั นธรรม

กจิ กรรมพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยเี พือ่ สังคม

นกั เรียนทุกคนต้องเขา้ ร่วมกิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๑๐ ชัว่ โมงตอ่ ปี

(ระดับประถมศกึ ษา) ๕ ชวั่ โมงต่อภาคเรียน (ระดบั มธั ยมศึกษา)

๒๒๙

แนวกำรจดั กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสำธำรณประโยชน์
จดั ให้บรู ณาการในการนาองค์ความรไู้ ปใชบ้ ริการสังคม (Social Service Activity) และ/หรือ กจิ กรรม
ลูกเสอื -เนตรนารี โดยใหน้ กั เรยี นเขา้ ร่วมกจิ กรรมและรายงานแสดงการเข้ารว่ มกจิ กรรมซง่ึ มีผ้รู บั รองผล
การเขา้ ร่วมกิจกรรมด้วย ต่อจากน้นั ครูผ้รู ับผิดชอบ จะทาการประเมนิ ผลและนาเสนอผลการประเมนิ ต่อ
คณะอนกุ รรมการกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนเพอ่ื ขอความเหน็ ชอบและเสนอผู้บริหารต่อไป

๒๓๐

เกณฑ์กำรวัดและประเมนิ ผลกำรเรยี น
๑. กำรตัดสินผลกำรเรียน

๑.๑ ระดับประถมศึกษำ
(๑) ผ้เู รียนต้องมรี ะดับผลการเรยี นไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทั้งหมด
(๒) ผเู้ รยี นต้องได้รบั การประเมินทุกตวั ชวี้ ัดและผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศกึ ษากาหนด
(๓) ผู้เรียนต้องไดร้ ับการตดั สินผลการเรยี นทกุ รายวิชา
(๔) ผู้เรยี นตอ้ งผา่ นการทดสอบปลายภาคเรยี นทุกรายวิชา
(๕) ผ้เู รียนต้องไดร้ บั การประเมิน และมผี ลการประเมินผา่ นตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนด

ในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขียน คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์และกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น
๑.๒ ระดบั มธั ยมศึกษำ
(๑) ตดั สนิ ผลการเรยี นเป็นรายวิชา ผูเ้ รยี นต้องมีเวลาเรยี นตลอดภาคเรยี นไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๘๐

ของเวลาเรียนท้งั หมดในรายวชิ านนั้ ๆ
(๒) ผเู้ รียนต้องไดร้ บั การประเมนิ ทกุ ตัวชีว้ ดั และผ่านตามเกณฑท์ ี่สถานศกึ ษากาหนด
(๓) ผู้เรยี นต้องไดร้ ับการตดั สินผลการเรียนทกุ รายวชิ า
(๔) ผเู้ รียนตอ้ งผา่ นการทดสอบปลายภาคเรยี นทกุ รายวิชา
(๕) ผ้เู รียนตอ้ งได้รบั การประเมนิ และมีผลการประเมนิ ผา่ นตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนด

ในการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขยี น คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น
การพิจารณาเล่ือนช้ันทงั้ ระดับประถมศึกษาและมธั ยมศึกษา ถ้าผู้เรียนมีขอ้ บกพรอ่ งเพยี งเลก็ น้อย

และสถานศึกษาพิจารณาเหน็ ว่าสามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยู่ในดลุ ยพินิจของสถานศึกษา
ท่ีจะผ่อนผันใหเ้ ล่ือนช้ันได้ แตถ่ า้ ผู้เรยี นไม่ผ่านรายวชิ าเปน็ จานวนมากและมแี นวโนม้ ว่าจะเปน็ ปัญหา
ตอ่ การเรียนในระดับชัน้ ท่ีสูงขนึ้ สถานศกึ ษาจะตง้ั คณะกรรมการพจิ ารณาให้เรยี นซา้ ชนั้ ได้ ทัง้ นี้จะคานึงถึง
วุฒภิ าวะและความรขู้ องผเู้ รยี นเปน็ สาคญั
๒. กำรให้ระดบั ผลกำรเรยี น

๒.๑ ระดับประถมศกึ ษำ
ในการตัดสินเพื่อใหร้ ะดบั ผลการเรยี นรายวิชาสถานศกึ ษาจะใหร้ ะดบั ผลการเรยี นหรอื ระดับคณุ ภาพ

ของผูเ้ รียนเป็นระบบตวั เลข ๘ ระดับ
การประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขยี น และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ให้มีระดบั

ผลการประเมนิ เปน็ ดีเยี่ยม ดี ผา่ นและไมผ่ ่าน
การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นจะตอ้ งพจิ ารณาท้ังเวลาการเข้าร่วมกจิ กรรม การปฏบิ ตั กิ ิจกรรม

และผลงานของผเู้ รียนตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนดและให้ผลการเขา้ ร่วมกิจกรรมเปน็ ผา่ นและไม่ผ่าน
๒.๒ ระดบั มธั ยมศึกษำ
ในการตัดสนิ เพือ่ ให้ระดบั ผลการเรยี นรายวิชาจะใช้ตวั เลขแสดงระดับผลการเรียนเป็น ๘ ระดับ
การประเมินการอา่ น คิด วเิ คราะห์และเขยี น และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ให้มรี ะดับ

๒๓๑

ผลการประเมินเป็นดีเย่ียม ดี ผ่านและไม่ผา่ น
การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนจะตอ้ งพิจารณาทงั้ เวลาการเข้ารว่ มกจิ กรรม การปฏิบตั กิ จิ กรรม

และผลงานของผู้เรยี นตามเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากาหนดและใหผ้ ลการเข้าร่วมกิจกรรมเปน็ ผา่ นและไมผ่ ่าน

กำรให้ระดับผลกำรเรยี น
การตดั สนิ ผลการเรียนรายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ให้ใชร้ ะบบตวั เลข แสดงระดับ

ผลการเรียนในแต่ละกลุ่มสาระ ดงั น้ี

ระดับผลกำรเรียน ควำมหมำย ชว่ งคะแนนรอ้ ยละ
๔ ผลการเรยี นดีเยยี่ ม ๘๐ - ๑๐๐
๓.๕ ผลการเรยี นดมี าก ๗๕ - ๗๙
๓ ๗๐ - ๗๔
๒.๕ ผลการเรยี นดี ๖๕ - ๖๙
๒ ผลการเรยี นค่อนข้างดี ๖๐ - ๖๔
๑.๕ ผลการเรียนนา่ พอใจ ๕๕ - ๕๙
๑ ๕๐ - ๕๔
๐ ผลการเรยี นพอใช้ ๐ - ๔๙
ผลการเรยี นผ่านเกณฑ์ขนั้ ตา่
ผลการเรียนตา่ กวา่ เกณฑ์

กำรประเมนิ กำรอ่ำน คิดวเิ ครำะห์ และเขียน เป็นผ่านและไม่ผ่าน ถ้ากรณีที่ผา่ น กาหนดเกณฑก์ าร
ตัดสินเป็นดีเย่ยี ม ดี และผา่ น

ดีเยีย่ ม หมายถึง มผี ลงานทีแ่ สดงถึงความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี น
ทม่ี ีคณุ ภาพดเี ลิศอยู่เสมอ

ดี หมายถงึ มีผลงานทแ่ี สดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น
ที่มคี ุณภาพเป็นท่ยี อมรับ

ผา่ น หมายถงึ มีผลงานท่แี สดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
ท่ีมคี ณุ ภาพเป็นทีย่ อมรับ แตย่ ังมีขอ้ บกพรอ่ งบางประการ

ไมผ่ ่าน หมายถึง ไมม่ ีผลงานท่แี สดงถงึ ความสามารถในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์
และเขียน หรือถา้ มีผลงาน ผลงานน้นั ยังมขี อ้ บกพร่องทีต่ ้องได้รบั การปรบั ปรุงแกไ้ ขหลายประการ

กำรประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมทกุ คณุ ลักษณะเพ่อื การเลอ่ื นช้ัน และจบการศึกษา
เป็นผา่ นและไมผ่ ่าน ในการผ่าน กาหนดเกณฑก์ ารตัดสนิ เปน็ ดีเยีย่ ม ดี และผ่าน และความหมาย
ของแต่ละระดับ ดังน้ี

ดีเยยี่ ม หมายถึง ผู้เรยี นปฏบิ ตั ิตนตามคณุ ลกั ษณะจนเป็นนสิ ยั และนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
เพ่อื ประโยชนส์ ขุ ของตนเองและสังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดบั ดีเยยี่ ม จานวน ๕ - ๘
คณุ ลักษณะ และไม่มีคณุ ลักษณะใดไดผ้ ลการประเมินตา่ กว่าระดับดี

๒๓๒

ดี หมายถงึ ผู้เรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ เพ่อื ให้เป็นการยอมรับของสังคม
โดยพิจารณาจาก

๑) ได้ผลการประเมินระดับดเี ย่ียมจานวน ๑ - ๔ คุณลกั ษณะ และไม่มคี ุณลักษณะใด
ไดผ้ ลการประเมนิ ตา่ กว่าระดบั ดี หรอื

๒) ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดี เย่ยี มจานวน ๔ คุณลกั ษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดไดผ้ ล
การประเมนิ ตา่ กว่าระดับผ่านหรอื

๓) ได้ผลการประเมนิ ระดบั ดี จานวน ๕ - ๘ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลกั ษณะใดไดผ้ ล
การประเมินตา่ กวา่ ระดบั ผา่ น

ผา่ น หมายถงึ ผเู้ รียนรบั รู้และปฏิบัติตามกฎเกณฑแ์ ละเงือ่ นไขท่สี ถานศึกษากาหนด
โดยพิจารณาจาก

๑) ไดผ้ ลการประเมินระดบั ผ่าน จานวน ๕ - ๘ คุณลกั ษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผล
การประเมนิ ต่ากว่าระดับผ่าน หรือ

๒) ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดี จานวน ๔ คณุ ลกั ษณะ และไม่มคี ณุ ลักษณะใดได้ผล
การประเมนิ ต่ากว่าระดับผา่ น

ไมผ่ ่าน หมายถึง ผู้เรียนรบั รแู้ ละปฏิบตั ไิ ดไ้ มค่ รบตามกฎเกณฑ์และเง่ือนไขท่ีสถานศกึ ษากาหนด
โดยพิจารณาจากผลการประเมนิ ระดับไมผ่ ่านตงั้ แต่ ๑ คณุ ลักษณะ
๓. กำรรำยงำนผลกำรเรยี น

การรายงานผลให้ผู้ปกครองและนกั เรยี นทราบถงึ ความก้าวหนา้ ในการเรยี น สถานศึกษาจะสรปุ ผล
การประเมนิ และจดั ทาเอกสารรายงานให้ผ้ปู กครองทราบเปน็ ระยะอยา่ งนอ้ ยภาคเรียนละ ๑ ครง้ั
๔. เกณฑก์ ำรจบกำรศึกษำ

๔.๑ เกณฑ์กำรจบระดับประถมศึกษำ
(๑) ผเู้ รียนเรียนรายวชิ าพื้นฐาน และรายวชิ า/กิจกรรมเพมิ่ เตมิ โดยเปน็ รายวชิ าพ้ืนฐานตามโครงสรา้ ง

เวลาเรยี นท่ีหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานกาหนด และรายวชิ า/กจิ กรรมเพ่มิ เตมิ ตามที่สถานศกึ ษา
กาหนด

(๒) ผูเ้ รยี นตอ้ งมีผลการประเมินรายวชิ าพืน้ ฐานผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามท่ีสถานศึกษากาหนด
(๓) ผู้เรยี นตอ้ งผ่านการทดสอบปลายภาคเรยี นทุกรายวชิ า
(๔) ผเู้ รยี นมีผลการประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขียน ในระดบั ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ตามที่
สถานศึกษากาหนด
(๕) ผเู้ รยี นมีผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคใ์ นระดับผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ตามท่ี
สถานศกึ ษากาหนด
(๖) ผู้เรียนเข้ารว่ มกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนและมผี ลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามท่ี
สถานศึกษากาหนด

๒๓๓

๔.๒ เกณฑ์กำรจบระดับมัธยมศึกษำตอนตน้
(๑) ผู้เรียนเรยี นรายวิชาพนื้ ฐาน และรายวิชา/กจิ กรรมเพิม่ เตมิ โดยเป็นรายวชิ าพน้ื ฐานตามโครงสร้าง

เวลาเรียนทีห่ ลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานกาหนด และรายวชิ า/กจิ กรรมเพมิ่ เตมิ ตามท่ีสถานศึกษา
กาหนด

(๒) ผเู้ รียนต้องไดห้ นว่ ยกิต ตลอดหลกั สูตรไมน่ ้อยกวา่ ๗๗ หน่วยกติ โดยเปน็ รายวชิ าพืน้ ฐาน ๖๖
หนว่ ยกติ และรายวิชาเพม่ิ เติมไม่นอ้ ยกวา่ ๑๔ หนว่ ยกติ

(๓) ผู้เรยี นตอ้ งผ่านการทดสอบปลายภาคเรยี นทกุ รายวชิ า
(๔) ผูเ้ รยี นมผี ลการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขยี น ในระดบั ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามท่ี
สถานศึกษากาหนด
(๕) ผู้เรยี นมีผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงคใ์ นระดบั ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินตามที่
สถานศึกษากาหนด
(๖) ผู้เรยี นเขา้ ร่วมกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียนและมีผลการประเมนิ ผ่านเกณฑก์ ารประเมินตามท่ี
สถานศึกษากาหนด
๕. กำรเลือ่ นชนั้
เมอ่ื สิน้ ปกี ารศกึ ษา ผู้เรยี นจะไดร้ บั การเลอ่ื นชนั้ เมอ่ื มีคณุ สมบตั ิตามเกณฑด์ ังต่อไปนี้

(๑) ผเู้ รียนต้องมเี วลาเรียนไม่น้อยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นท้งั หมด
(๒) ผเู้ รียนต้องได้รบั การประเมินทุกตวั ชีว้ ดั และผ่านเกณฑไ์ มน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของจานวน
ตวั ชี้วัด
(๓) ผู้เรยี นตอ้ งได้รับการตัดสินผลการเรยี นทกุ รายวชิ า ไมน่ อ้ ยกว่าระดับ “ ๑ ” จึงจะถอื ว่าผา่ น
เกณฑ์ตามท่ีสถานศึกษากาหนด
(๔) นกั เรยี นต้องได้รับการประเมนิ และมีผลการประเมิน การอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขยี น
ในระดบั “ ผา่ น ” ข้ึนไป มผี ลการประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคใ์ นระดับ“ ผา่ น ” ขนึ้ ไป และมผี ล
การประเมินกจิ กรรมพฒั นานักเรียน ในระดับ “ ผ่าน ”
ทง้ั น้ี ถ้าผู้เรยี นมีข้อบกพรอ่ งเพยี งเล็กน้อย และพิจารณาเห็นว่าสามารถพฒั นาและสอน
ซ่อมเสริมไดใ้ หอ้ ยใู่ นดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะผอ่ นผันให้เลือ่ นชน้ั ได้
อนง่ึ ในกรณีท่ีผูเ้ รยี นมีหลักฐานการเรยี นร้ทู ีแ่ สดงวา่ มคี วามสามารถดเี ลศิ สถานศึกษา
อาจให้โอกาสผู้เรียนเล่อื นชน้ั กลางปีการศึกษา โดยสถานศกึ ษาแต่งต้ังคณะกรรมการประกอบดว้ ยฝ่ายวิชาการ
ของสถานศึกษาและผแู้ ทนของเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาหรือตน้ สงั กัดประเมินผเู้ รยี นและตรวจสอบคณุ สมบตั ิ
ให้ครบถว้ นตามเง่ือนไขทง้ั ๓ ประการต่อไปน้ี

๑. มผี ลการเรียนในปกี ารศึกษาท่ีผ่านมาและมีผลการเรยี นระหว่างปที กี่ าลงั ศกึ ษา
อยู่ในเกณฑด์ ีเยยี่ ม

๒. มวี ุฒภิ าวะเหมาะสมท่ีจะเรียนในชน้ั ท่ีสูงขน้ึ
๓. ผา่ นการประเมินผลความรูค้ วามสามารถทุกรายวชิ าของช้ันปีทเ่ี รียนปจั จบุ ัน และความรู้
ความสามารถทุกรายวิชาในภาคเรียนแรกของชนั้ ปีทจ่ี ะเลอ่ื นข้ึน

๒๓๔

การอนุมตั ใิ ห้เลอ่ื นช้นั กลางปกี ารศกึ ษาไปเรยี นชนั้ สูงขึ้นได้ ๑ ระดับชน้ั น้ี ต้องไดร้ บั
การยนิ ยอมจากผู้เรยี นและผปู้ กครองและตอ้ งดาเนนิ การให้เสร็จสิ้นกอ่ นเปิดภาคเรียนท่ี ๒ ของปีการศึกษา
นัน้ สาหรับในกรณที ี่พบวา่ มีผู้เรยี นกลุ่มพเิ ศษประเภทต่างๆ มปี ัญหาในการเรียนรใู้ ห้สถานศึกษาดาเนนิ งาน
ร่วมกับสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาเฉพาะความพกิ ารหาแนวทางการแกไ้ ขและพฒั นา
๖. กำรสอนซอ่ มเสริม

การสอนซอ่ มเสริม เป็นการสอนเพื่อแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ ง กรณีท่ีผ้เู รียนมีความรู้ ทักษะ กระบวนการ
หรือคณุ ลกั ษณะไมเ่ ป็นไปตามเกณฑ์ทกี่ าหนด จะต้องจัดสอนซอ่ มเสริมเพือ่ พัฒนาการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น
เตม็ ตามศักยภาพ การสอนซอ่ มเสริมเป็นการสอนเพ่อื แก้ไขขอ้ บกพร่องกรณที ผ่ี ู้เรยี นมีความรู้ ทักษะ
กระบวนการ หรือเจตคติ/คณุ ลกั ษณะไม่เปน็ ไปตามเกณฑท์ ่ีสถานศกึ ษากาหนด สถานศึกษาต้องจัดสอน
ซอ่ มเสรมิ เปน็ กรณีพเิ ศษนอกเหนอื ไปจากการสอนตามปกตเิ พ่อื พฒั นาให้ผู้เรียนสามารถบรรลุตามมาตรฐาน
การเรยี นร/ู้ ตวั ชีว้ ัดท่ีกาหนดไว้เป็นการให้โอกาสแก่ผเู้ รียนได้เรยี นรู้และพฒั นา โดยจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
ที่หลากหลายและตอบสนองความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล
๗. กำรเปลย่ี นผลกำรเรียน

การเปลย่ี นผลการเรยี น“๐”
สถานศกึ ษาจัดให้มกี ารสอนซอ่ มเสรมิ ในมาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชี้วัดทผี่ ูเ้ รยี นสอบไมผ่ ่านก่อน

แล้วจงึ สอบแกต้ วั ได้ไมเ่ กนิ ๒ ครั้ง ถา้ ผู้เรยี นไม่ดาเนนิ การสอบแก้ตัวตามระยะเวลาท่ีสถานศกึ ษากาหนดให้
อยใู่ นดุลยพินิจของสถานศกึ ษาท่จี ะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีก ๑ ภาคเรียน สาหรบั ภาคเรียนท่ี ๒
ต้องดาเนนิ การให้เสร็จส้ินภายในปีการศกึ ษาน้นั

ถา้ สอบแก้ตัว ๒ คร้ังแล้ว ยังได้ระดับผลการเรียน “๐” อีก ใหส้ ถานศึกษาแตง่ ตง้ั
คณะกรรมการดาเนนิ การเกีย่ วกับการเปลี่ยนผลการเรยี นของผู้เรยี นโดยปฏิบัตดิ ังนี้

๑) ถ้าเปน็ รายวชิ าพื้นฐานให้เรยี นซา้ รายวิชานั้น
๒) ถ้าเปน็ รายวิชาเพ่มิ เติมใหเ้ รยี นซ้าหรอื เปลีย่ นรายวิชาเรียนใหม่ ท้ังน้ใี ห้อยใู่ น
ดลุ ยพินจิ ของสถานศึกษา ในกรณที ่ีเปลย่ี นรายวิชาเรยี นใหม่ ให้หมายเหตใุ นระเบยี น แดงผลการเรียน
วา่ เรยี นแทนรายวชิ าใด
๘. การเปล่ียนผลการเรยี น“ร”
การเปล่ยี นผลการเรยี น“ร” ให้ดาเนนิ การดงั นี้ ใหผ้ เู้ รียนดาเนินการแกไ้ ข “ร” ตามสาเหตุ เมอ่ื
ผู้เรียนแกไ้ ขปัญหาเสรจ็ แล้วให้ไดร้ ะดบั ผลการเรยี นตามปกติ (ต้ังแต่ ๐ - ๔) ถ้าผู้เรียนไมด่ าเนินการแกไ้ ข “ร”
กรณที สี่ ง่ งานไม่ครบแต่มีผลการประเมินระหวา่ งภาคเรียนและปลายภาคให้ผู้สอนนาขอ้ มลู ทม่ี ีอยตู่ ัดสนิ ผลการ
เรียนยกเวน้ มีเหตุสดุ วิสัยใหอ้ ยู่ในดุลยพนิ ิจของสถานศกึ ษาท่ีจะขยายเวลาการแก้ “ร” ออกไปอกี
ไม่เกนิ ๑ ภาคเรยี นสาหรับภาคเรยี นท่ี ๒ ตอ้ งดาเนินการใหเ้ สรจ็ สนิ้ ภายในปกี ารศึกษาน้นั เม่อื พ้นกาหนดนี้
แลว้ ให้เรยี นซ้า หากผลการเรียนเปน็ “๐” ให้ดาเนนิ การแก้ไขตามหลักเกณฑ์
การเปลีย่ นผลการเรยี น “มส”

๒๓๕

๙. การเปลีย่ นผลการเรยี น“มส” มี ๒ กรณี ดังนี้
๑) กรณีผูเ้ รียนไดผ้ ลการเรยี น “มส” เพราะมเี วลาเรยี นไม่ถึงรอ้ ยละ ๘๐ แต่มีเวลาเรยี น

ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ของเวลาเรยี นในรายวิชาน้นั ให้จัดให้เรียนเพิม่ เติมโดยใช้ชั่วโมงสอนซ่อมเสริม
หรอื ใชเ้ วลาว่าง หรือใชว้ ันหยุดหรอื มอบหมายงานใหท้ าจนมีเวลาเรยี นครบตามท่ีกาหนดไว้สาหรบั รายวิชานน้ั
แล้วจึงใหว้ ัดผลปลายภาคเปน็ กรณพี เิ ศษ

๒) ผลการแก้ “มส” ใหไ้ ดร้ ะดบั ผลการเรียนไมเ่ กนิ “๑” การแก้
“มส” กรณนี ใ้ี หก้ ระทาใหเ้ สร็จสิน้ ภายในปีการศึกษานน้ั ถา้ ผูเ้ รยี น ไม่มาดาเนนิ การแก้

“มส” ตามระยะเวลาทก่ี าหนดไวน้ ้ใี ห้เรยี นซ้า ยกเว้นมีเหตุสดุ วิสัย ใหอ้ ย่ใู นดลุ ยพินิจของสถานศึกษา
ท่ีจะขยายเวลาการแก้ “มส” ออกไปอีกไม่เกนิ ๑ ภาคเรียน แต่เม่ือพน้ กาหนดนี้แลว้ ให้ปฏิบัติดังน้ี

(๑) ถา้ เปน็ รายวิชาพ้ืนฐานใหเ้ รียนซา้ รายวิชาน้ัน
(๒) ถา้ เป็นรายวิชาเพม่ิ เติมให้อยใู่ นดุลยพินจิ ของสถานศกึ ษา ใหเ้ รียนซา้ หรือเปลยี่ น
รายวิชาเรยี นใหม่
๓) กรณผี ้เู รยี นไดผ้ ลการเรียน “มส” เพราะมเี วลาเรียนน้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ของเวลา
เรยี นทัง้ หมดใหส้ ถานศกึ ษาดาเนนิ การดังน้ี

(๑) ถ้าเป็นรายวชิ าพื้นฐานให้เรยี นซา้ รายวิชาน้ัน
(๒) ถ้าเปน็ รายวิชาเพ่มิ เติมให้อยู่ในดุลยพินจิ ของสถานศึกษา ใหเ้ รียนซ้าหรือเปลยี่ น
รายวชิ าเรียนใหม่ ในกรณีที่เปลย่ี นรายวิชาเรยี นใหมใ่ หห้ มายเหตใุ นระเบียนแสดงผลการเรยี นว่าเรยี นแทน
รายวิชาใด
๑๐. การเรยี นซา้ รายวชิ า ผู้เรยี นท่ีไดร้ ับการสอนซ่อมเสริมและสอบแกต้ ัว ๒ ครั้งแลว้ ไมผ่ า่ นเกณฑ์การ
ประเมินให้เรียนซ้ารายวิชาน้ัน ท้งั นี้ให้อยูใ่ นดลุ ยพินิจของสถานศึกษาในการจดั ให้เรียนซ้าในชว่ งใดช่วงหน่ึงท่ี
สถานศึกษาเห็นวา่ เหมาะสม เชน่ พกั กลางวนั วันหยดุ ชั่วโมงว่างหลงั เลิกเรียน ภาคฤดรู อ้ นเป็นตน้
ในกรณีภาคเรียนท่ี ๒ หากผเู้ รยี นยังมีผลการเรยี น “๐” “ร” “มส” ใหด้ าเนินการให้เสร็จส้ิน
กอ่ นเปิดเรยี นปีการศึกษาถัดไป สถานศึกษาอาจเปิดการเรยี นการสอนในภาคฤดรู ้อนเพอ่ื แกไ้ ขผลการเรียน
ของผู้เรียนได้
๑๑. การเปลยี่ นผล“มผ”
กรณีที่ผู้เรยี นไดผ้ ล “มผ” สถานศึกษาต้องจดั ซอ่ มเสริมให้ผู้เรยี นทากจิ กรรมในสว่ นทผี่ ู้เรียนไมไ่ ด้
เข้ารว่ มหรอื ไมไ่ ด้ทาจนครบถว้ น แลว้ จึงเปล่ยี นผลจาก “มผ”เปน็ “ผ” ได้ ท้ังน้ดี าเนินการใหเ้ สร็จส้ินภายใน
ภาคเรียนนัน้ ๆ ยกเว้นมเี หตสุ ดุ วิสัยใหอ้ ยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาทีจ่ ะพิจารณาขยายเวลา
ออกไปอีกไมเ่ กนิ ๑ ภาคเรียน สาหรับภาคเรยี นที่ ๒ ต้องดาเนนิ การใหเ้ สรจ็ ส้นิ ภายในปีการศึกษาน้นั
๑๒. กำรเรยี นซ้ำชั้น
ผเู้ รยี นทไี่ ม่ผา่ นรายวิชาจานวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปญั หาต่อการเรยี นในระดบั ชัน้
ทีส่ ูงขน้ึ สถานศึกษา ต้องตง้ั คณะกรรมการพิจารณาให้เรยี นซ้าชน้ั ได้ ทัง้ นใ้ี ห้คานงึ ถึงวฒุ ภิ าวะและความรู้
ความสามารถของผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ

๒๓๖

ผเู้ รยี นท่ีไมม่ คี ุณสมบัตติ ามเกณฑ์การเล่อื นช้ัน สถานศึกษาควรให้เรยี นซา้ ชั้น ทัง้ นี้ สถานศกึ ษา
อาจใช้ดลุ ยพนิ จิ ให้เล่ือนช้นั ได้ หากพจิ ารณาว่าผ้เู รียนมีคุณสมบตั ิขอ้ ใดข้อหนงึ่ ดงั ต่อไปน้ี

๑) มเี วลาเรียนไมถ่ งึ รอ้ ยละ ๘๐ อันเน่ืองจากสาเหตุจาเปน็ หรอื เหตสุ ดุ วิสยั แตม่ ีคุณสมบัติ
ตามเกณฑก์ ารเล่อื นชั้นในข้ออ่ืนๆ ครบถ้วน

๒) ผู้เรยี นมผี ลการประเมินผ่านมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชี้วดั ไมถ่ งึ เกณฑต์ ามท่สี ถานศึกษา
กาหนดในแต่ละรายวชิ า แตเ่ หน็ ว่าสามารถสอนซ่อมเสริมได้ในปีการศึกษานั้น และมีคุณสมบตั ติ ามเกณฑ์การ
เลอื่ นชั้นในขอ้ อนื่ ๆ ครบถว้ น

๓) ผู้เรยี นมีผลการประเมนิ รายวชิ าในกลุ่มสาระภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
สงั คมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรมอยู่ในระดับผา่ น

กอ่ นทีจ่ ะให้ผเู้ รยี นเรียนซ้าชนั้ สถานศกึ ษาตอ้ งแจง้ ใหผ้ ู้ปกครองและผู้เรยี นทราบเหตุผล
ของการเรียนซ้าชั้น

เอกสำรหลกั ฐำนกำรศึกษำ
เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา เป็นเอกสารสาคัญทบี่ ันทกึ ผลการเรียน ข้อมลู และสารสนเทศทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

กบั พฒั นาการของผู้เรียนในด้านต่าง ๆ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ดังน้ี
๑. เอกสำรหลักฐำนกำรศกึ ษำทก่ี ระทรวงศึกษำธิกำรกำหนด

๑.๑ ระเบียนแสดงผลกำรเรยี น เปน็ เอกสารแสดงผลการเรียนและรบั รองผลการเรียน
ของผ้เู รยี นตามรายวชิ า ผลการประเมินการอา่ น คดิ วเิ คราะห์และเขยี น ผลการประเมนิ คุณลักษณะ
อันพงึ ประสงคข์ องสถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น สถานศึกษาจะต้องบันทึกข้อมูล
และออกเอกสารนใี้ หผ้ ูเ้ รยี นเปน็ รายบุคคล เมือ่ ผู้เรยี นจบการศึกษาระดบั ประถมศึกษา

๑.๓ แบบรำยงำนผู้สำเร็จกำรศึกษำ เป็นเอกสารอนุมัติการจบหลักสูตรโดยบันทึกรายช่ือ
และข้อมูลของผจู้ บการศึกษาระดับประถมศึกษา
๒. เอกสำรหลกั ฐำนกำรศกึ ษำทสี่ ถำนศกึ ษำกำหนด

เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทาขึ้นเพ่ือบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้ และข้อมูลสาคัญ เก่ียวกับ
ผู้เรียน เชน่ แบบรายงานประจาตัวนักเรียน แบบบันทกึ ผลการเรียนประจารายวิชา ระเบียนสะสม ใบรับรอง
ผลการเรียน และ เอกสารอนื่ ๆ ตามวตั ถปุ ระสงค์ของการนาเอกสารไปใช้

กำรเทียบโอนผลกำรเรยี น
สถานศึกษาสามารถเทยี บโอนผลการเรยี นของผูเ้ รยี นในกรณตี ่างๆไดแ้ ก่ การย้ายสถานศึกษา

การเปลย่ี นรูปแบบการศึกษา การย้ายหลกั สตู ร การออกกลางคนั และขอกลับเข้ารับการศกึ ษาตอ่ การศึกษา
จากตา่ งประเทศและขอเข้าศึกษาตอ่ ในประเทศ นอกจากน้ี ยังสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์
จากแหล่งการเรียนรูอ้ ่นื ๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบนั ศาสนา สถาบนั การฝกึ อบรมอาชพี การจัดการศกึ ษา
โดยครอบครวั

การเทียบโอนผลการเรียนควรดาเนนิ การในช่วงกอ่ นเปิดภาคเรยี นแรก หรือตน้ ภาคเรียนแรก
ท่ีสถานศึกษารับผ้ขู อเทยี บโอนเป็นผู้เรียน ทง้ั น้ี ผูเ้ รยี นทไ่ี ดร้ ับการเทยี บโอนผลการเรยี นต้องศึกษาต่อเนอ่ื ง

๒๓๗

ในสถานศึกษาทีร่ ับเทยี บโอนอยา่ งน้อย ๑ ภาคเรียน โดยสถานศกึ ษาทรี่ บั ผเู้ รียนจาก
การเทยี บโอนควรกาหนดรายวิชา/จานวนหน่วยกิตท่ีจะรับเทียบโอนตามความเหมาะสม

การพจิ ารณาการเทยี บโอน สามารถดาเนนิ การได้ ดงั น้ี
๑. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอ่ืนๆ ท่ีให้ข้อมูลแสดงความรู้ ความสามารถ
ของผูเ้ รียน
๒. พจิ ารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียนโดยการทดสอบด้วยวิธีการตา่ งๆ ท้ังภาคความรู้
และภาคปฏบิ ัติ
๓. พจิ ารณาจากความสามารถและการปฏิบัติในสภาพจรงิ
การเทียบโอนผลการเรียนให้เปน็ ไปตาม ประกาศ หรือ แนวปฏิบัติ ของกระทรวงศึกษาธิการ
กำรบริหำรจดั กำรหลักสตู ร
ในระบบการศกึ ษาทมี่ กี ารกระจายอานาจให้ท้องถิ่นและสถานศึกษามีบทบาทในการพัฒนาหลักสตู ร
นัน้ หนว่ ยงานตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในแตล่ ะระดับ ตงั้ แต่ระดับชาติ ระดบั ท้องถนิ่ จนถึงระดบั สถานศึกษา
มีบทบาทหนา้ ที่ และความรบั ผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุน ส่งเสรมิ การใชแ้ ละพฒั นาหลกั สูตรให้เป็นไป
อย่างมีประสทิ ธภิ าพ เพ่ือใหก้ ารดาเนินการจดั ทาหลักสตู รสถานศกึ ษาและการจัดการเรยี นการสอน
ของสถานศกึ ษามีประสิทธภิ าพสูงสุด อันจะส่งผลใหก้ ารพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี นบรรลตุ ามมาตรฐานการเรียนรู้
ทก่ี าหนดไว้ในระดบั ชาตคิ ุณภาพของของผ้เู รียนท่สี าคัญ และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
ระดบั ทอ้ งถ่ิน ไดแ้ ก่ สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา หนว่ ยงานตน้ สังกัดอ่นื ๆ เป็นหน่วยงาน
ท่มี ีบทบาทในการขบั เคลอ่ื นคุณภาพการจัดการศึกษา เปน็ ตัวกลางทีจ่ ะเชื่อมโยงหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐานทกี่ าหนดในระดับชาติให้สอดคล้องกับสภาพและความตอ้ งการของท้องถ่นิ เพ่อื นาไปสู่การจดั ทา
หลกั สตู รของสถานศกึ ษา สง่ เสริมการใชแ้ ละพัฒนาหลักสูตรในระดับสถานศกึ ษา ให้ประสบความสาเรจ็
โดยมีภารกิจสาคัญ คอื กาหนดเปา้ หมายและจดุ เน้นการพฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี น ในระดบั ท้องถิน่ โดยพจิ ารณา
ใหส้ อดคล้องกับส่งิ ท่ีเป็นความตอ้ งการในระดบั ชาติ พัฒนาสาระ การเรยี นรทู้ อ้ งถน่ิ ประเมินคุณภาพการศึกษา
ในระดบั ทอ้ งถ่ิน รวมท้งั เพ่ิมพนู คณุ ภาพการใชห้ ลักสตู รด้วยการวิจยั และพัฒนา การพฒั นาบคุ ลากร สนบั สนนุ
สง่ เสริม ติดตามผล ประเมนิ ผล วเิ คราะห์ และรายงานผลคุณภาพของผู้เรียน
สถานศึกษามีหนา้ ที่สาคัญในการพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา การวางแผนและดาเนนิ การใชห้ ลกั สูตร
การเพมิ่ พูนคณุ ภาพการใชห้ ลกั สูตรด้วยการวจิ ยั และพฒั นา การปรบั ปรุงและพัฒนาหลกั สตู รจดั ทาระเบียบการ
วดั และประเมนิ ผล ในการพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษาต้องพิจารณาให้สอดคล้อง กบั หลกั สูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน และรายละเอียดท่ีเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา หรือหนว่ ยงาน สงั กดั อ่ืนๆ ในระดบั ท้องถ่ิน
ได้จดั ทาเพ่มิ เติม รวมทงั้ สถานศึกษาสามารถเพ่มิ เตมิ ในส่วนท่ีเกี่ยวกบั สภาพปญั หาในชุมชนและสงั คม
ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ และความตอ้ งการของผเู้ รยี น โดยทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนรว่ มในการพัฒนาหลกั สูตร
สถานศึกษา

๒๓๘

กำรจัดกำรเรียนรู้
การจัดการเรียนรเู้ ปน็ กระบวนการสาคัญในการนาหลกั สูตรส่กู ารปฏิบตั ิ หลักสูตรแกนกลาง

การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานเปน็ หลกั สตู รท่ีมีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคญั และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
ของผเู้ รยี น เปน็ เปา้ หมายสาหรับพฒั นาเดก็ และเยาวชน

ในการพัฒนาผู้เรียนใหม้ คี ุณสมบัติตามเปา้ หมายหลกั สตู ร ผู้สอนพยายามคดั สรร กระบวนการ
เรยี นรู้ จดั การเรียนรโู้ ดยช่วยใหผ้ ู้เรียนเรยี นรู้ผา่ นสาระท่ีกาหนดไว้ในหลกั สูตร ๘ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ รวมทั้ง
ปลูกฝังเสริมสร้างคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ พฒั นาทักษะต่างๆ อันเปน็ สมรรถนะสาคญั ใหผ้ ู้เรยี นบรรลุ
ตามเป้าหมาย

๑. หลกั กำรจดั กำรเรยี นรู้
การจัดการเรียนรเู้ พื่อให้ผู้เรียนมีความรคู้ วามสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคญั และ
คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคต์ ามทีก่ าหนดไวใ้ นหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน โดยยึดหลกั ว่า
ผ้เู รียนมีความสาคัญที่สดุ เช่ือวา่ ทุกคนมีความสามารถเรียนรแู้ ละพฒั นาตนเองได้ ยึดประโยชน์ท่ีเกิดกับผูเ้ รียน
กระบวนการจัดการเรียนรตู้ อ้ งสง่ เสรมิ ให้ผูเ้ รยี น สามารถพัฒนาตามธรรมชาตแิ ละเตม็ ตามศกั ยภาพ คานึงถงึ
ความแตกต่างระหว่างบคุ คลและพฒั นาการทางสมองเน้นใหค้ วามสาคญั ท้งั ความรู้ และคณุ ธรรม
๒. กระบวนกำรเรียนรู้
การจดั การเรียนรู้ทเี่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ ผ้เู รยี นจะตอ้ งอาศยั กระบวนการเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลาย
เปน็ เคร่ืองมือทจี่ ะนาพาตนเองไปส่เู ปา้ หมายของหลักสตู ร กระบวนการเรยี นร้ทู จี่ าเปน็ สาหรับผู้เรียน
อาทิ กระบวนการเรยี นร้แู บบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม
กระบวนการเผชญิ สถานการณ์และแก้ปญั หา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏบิ ัติ
ลงมือทาจรงิ กระบวนการจัดการ กระบวนการวจิ ยั กระบวนการเรียนรู้การเรียนร้ขู องตนเอง
กระบวนการพฒั นาลกั ษณะนสิ ยั กระบวนการเหล่านเ้ี ปน็ แนวทางในการจัดการเรยี นรู้ทผ่ี ูเ้ รยี นควรได้รับการ
ฝึกฝนพัฒนา เพราะจะสามารถชว่ ยให้ผูเ้ รยี นเกดิ การเรียนรูไ้ ดด้ ี บรรลุเปา้ หมายของหลกั สูตร ดงั นน้ั ผสู้ อน
จงึ จาเป็นต้องศึกษาทาความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เพ่ือให้สามารถเลอื กใช้ในการจดั กระบวนการ
เรียนรไู้ ด้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
๓. กำรออกแบบกำรจดั กำรเรยี นรู้
ผ้สู อนตอ้ งศึกษาหลักสตู รสถานศกึ ษาให้เข้าใจถงึ มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั สมรรถนะสาคญั
ของผ้เู รยี น คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ทีเ่ หมาะสมกับผูเ้ รยี น แลว้ จึงพจิ ารณาออกแบบ
การจัดการเรยี นร้โู ดยเลือกใชว้ ธิ สี อนและเทคนคิ การสอน สอื่ /แหล่งเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ ผล เพอ่ื ให้
ผู้เรยี นได้พัฒนาเต็มตามศกั ยภาพและบรรลตุ ามเป้าหมายทก่ี าหนด
๔. บทบำทของผู้สอนและผูเ้ รียน
การจดั การเรียนรเู้ พอื่ ให้ผูเ้ รียนมีคุณภาพตามเป้าหมายของหลักสตู ร ทง้ั ผู้สอนและผเู้ รยี น
ควรมีบทบาท ดังนี้

๒๓๙

๔.๑ บทบำทของผสู้ อน
๑) ศึกษาวิเคราะหผ์ ู้เรียนเปน็ รายบคุ คล แลว้ นาข้อมูลมาใชใ้ นการวางแผน

การจัดการเรียนรู้ ทท่ี า้ ทายความสามารถของผู้เรียน
๒) กาหนดเป้าหมายท่ีต้องการใหเ้ กดิ ข้ึนกับผู้เรียน ด้านความรู้และทกั ษะกระบวนการ

ท่เี ปน็ ความคิดรวบยอด หลักการ และความสมั พันธ์ รวมท้ังคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
๓) ออกแบบการเรียนรแู้ ละจดั การเรยี นร้ทู ่ตี อบสนองความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล

และพัฒนาการทางสมอง เพอ่ื นาผู้เรียนไปส่เู ป้าหมาย
๔) จดั บรรยากาศท่ีเอ้ือตอ่ การเรียนรู้ และดแู ลช่วยเหลอื ผู้เรยี นใหเ้ กิดการเรียนรู้
๕) จัดเตรียมและเลือกใช้สอื่ ให้เหมาะสมกับกจิ กรรม นาภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ เทคโนโลยี

ทเี่ หมาะสมมาประยุกตใ์ ชใ้ นการจัดการเรียนการสอน
๖) ประเมนิ ความกา้ วหนา้ ของผเู้ รยี นดว้ ยวธิ กี ารที่หลากหลาย เหมาะสมกบั ธรรมชาติ

ของวิชาและระดับพฒั นาการของผเู้ รยี น
๗) วิเคราะห์ผลการประเมนิ มาใช้ในการซอ่ มเสรมิ และพฒั นาผู้เรยี น รวมท้งั ปรบั ปรุง

การจดั การเรยี นการสอนของตนเอง
๔.๒ บทบำทของผ้เู รยี น
๑) กาหนดเป้าหมาย วางแผน และรบั ผดิ ชอบการเรียนรู้ของตนเอง
๒) เสาะแสวงหาความรู้ เขา้ ถึงแหล่งการเรยี นรู้ วิเคราะห์ สงั เคราะห์ข้อความรู้ ต้งั คาถาม คดิ หา

คาตอบหรือหาแนวทางแก้ปญั หาดว้ ยวิธีการตา่ ง ๆ
๓) ลงมอื ปฏบิ ตั ิจริง สรุปสง่ิ ท่ีได้เรียนรดู้ ้วยตนเอง และนาความร้ไู ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นสถานการณ์

ต่างๆ
๔) มปี ฏสิ มั พนั ธ์ ทางาน ทากจิ กรรมรว่ มกับกลุ่มและครู
๕) ประเมนิ และพฒั นากระบวนการเรยี นรูข้ องตนเองอย่างต่อเนอ่ื ง

ส่ือกำรเรยี นรู้
สอ่ื การเรียนร้เู ป็นเคร่ืองมือสง่ เสรมิ สนบั สนุนการจัดการกระบวนการเรยี นรู้ ให้ผู้เรยี นเข้าถงึ ความรู้

ทักษะกระบวนการ และคุณลกั ษณะตามมาตรฐานของหลักสตู รไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ สือ่ การเรียนรู้มี
หลากหลายประเภท ทัง้ สอื่ ธรรมชาติ สอ่ื ส่ิงพมิ พ์ สือ่ เทคโนโลยี และเครอื ข่าย การเรยี นรูต้ า่ งๆ ทม่ี ีในทอ้ งถน่ิ
การเลอื กใช้สื่อควรเลือกให้มีความเหมาะสมกบั ระดับพฒั นาการ และลลี าการเรยี นรู้
ที่หลากหลายของผู้เรยี น

การจัดหาสอ่ื การเรียนรู้ ผเู้ รยี นและผูส้ อนสามารถจดั ทาและพฒั นาข้ึนเอง หรือปรับปรุงเลอื กใช้
อยา่ งมคี ุณภาพจากสื่อตา่ งๆ ทม่ี ีอยรู่ อบตวั เพื่อนามาใช้ประกอบในการจดั การเรียนรู้ทีส่ ามารถส่งเสริมและ
สอื่ สารให้ผเู้ รยี นเกดิ การเรียนรู้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพยี ง เพ่ือพัฒนาใหผ้ ู้เรยี น เกดิ การเรยี นรู้
อยา่ งแทจ้ ริง สถานศึกษา เขตพืน้ ท่ีการศึกษา หน่วยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ งและผูม้ ีหนา้ ทจี่ ัดการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
ควรดาเนนิ การดังนี้

๒๔๐

๑. จดั ใหม้ แี หลง่ การเรยี นรู้ ศนู ย์สอื่ การเรยี นรู้ ระบบสารสนเทศการเรยี นรู้ และเครอื ขา่ ย
การเรยี นรู้ทม่ี ปี ระสิทธิภาพท้งั ในสถานศึกษาและในชุมชน เพอื่ การศึกษาคน้ คว้าและการแลกเปลย่ี น
ประสบการณ์การเรยี นรู้ ระหว่างสถานศึกษา ท้องถ่นิ ชมุ ชน สังคมโลก

๒. จดั ทาและจดั หาสอื่ การเรยี นรูส้ าหรบั การศกึ ษาค้นควา้ ของผู้เรยี น เสรมิ ความรู้ให้ผูส้ อน รวมท้ัง
จัดหาส่งิ ที่มอี ยใู่ นท้องถิ่นมาประยกุ ตใ์ ชเ้ ปน็ ส่อื การเรียนรู้

๓. เลอื กและใช้ส่อื การเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ มคี วามเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้อง กับวธิ ี
การเรยี นรู้ ธรรมชาติของสาระการเรียนรู้ และความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลของผู้เรียน

๔. ประเมนิ คณุ ภาพของสอ่ื การเรยี นร้ทู เ่ี ลือกใชอ้ ย่างเปน็ ระบบ
๕. ศกึ ษาค้นควา้ วจิ ัย เพ่อื พัฒนาสอื่ การเรียนรู้ใหส้ อดคลอ้ งกับกระบวนการเรยี นร้ขู องผูเ้ รียน
๖. จัดใหม้ ีการกากับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสทิ ธภิ าพเกีย่ วกบั ส่อื และการใช้สือ่
การเรยี นรเู้ ป็นระยะๆ และสม่าเสมอ
ในการจดั ทา การเลอื กใช้ และการประเมินคุณภาพสื่อการเรยี นรทู้ ี่ใช้ในสถานศึกษา
ควรคานึงถึงหลักการสาคัญของสือ่ การเรยี นรู้ เชน่ ความสอดคลอ้ งกับหลกั สตู ร วัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้
การออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ การจัดประสบการณ์ใหผ้ ู้เรยี น เน้อื หามีความถูกต้องและทันสมัย
ไมก่ ระทบความมนั่ คงของชาติ ไม่ขัดต่อศีลธรรม มีการใชภ้ าษาที่ถูกต้อง รปู แบบการนาเสนอ
ท่เี ข้าใจง่าย และน่าสนใจ

กำรวดั และประเมนิ ผลกำรเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ของผูเ้ รียนตอ้ งอยู่บนหลกั การพ้นื ฐานสองประการ คือ

การประเมินเพอ่ื พฒั นาผู้เรียนและเพอื่ ตดั สนิ ผลการเรยี น ในการพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นรู้ของผูเ้ รยี น
ให้ประสบผลสาเรจ็ นน้ั ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมนิ ตามตัวชีว้ ดั เพ่อื ให้บรรลุ
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสาคญั และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผู้เรยี นซง่ึ เป็นเปา้ หมาย
หลกั ในการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรใู้ นทกุ ระดบั ไม่วา่ จะเป็นระดับชั้นเรยี น ระดับสถานศึกษา ระดับเขต
พื้นที่การศกึ ษา และระดับชาติ การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้
เปน็ กระบวนการพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียนโดยใช้ผลการประเมนิ เป็นข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ
ความก้าวหน้า และความสาเร็จทางการเรียนของผเู้ รยี น ตลอดจนข้อมูลท่เี ปน็ ประโยชน์
ต่อการส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นเกดิ การพัฒนาและเรยี นรูอ้ ยา่ งเตม็ ตามศักยภาพ

การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แบ่งออกเปน็ ๔ ระดบั ไดแ้ ก่ ระดบั ชน้ั เรียน ระดับสถานศกึ ษา
ระดับเขตพ้นื ที่การศกึ ษา และระดับชาติ มรี ายละเอยี ด ดงั นี้

๑. กำรประเมนิ ระดบั ชั้นเรยี น เปน็ การวัดและประเมนิ ผลท่ีอยใู่ นกระบวนการจดั การเรียนรู้ ผู้สอน
ดาเนินการเปน็ ปกตแิ ละสมา่ เสมอ ในการจดั การเรยี นการสอน ใชเ้ ทคนคิ การประเมินอย่างหลากหลาย เชน่
การซกั ถาม การสงั เกต การตรวจการบา้ น การประเมินโครงงาน การประเมินชน้ิ งาน/ ภาระงาน แฟม้ สะสม
งาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเปน็ ผู้ประเมนิ เองหรอื เปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมนิ ตนเอง เพอ่ื น
ประเมินเพอ่ื น ผปู้ กครองรว่ มประเมนิ ในกรณที ่ีไมผ่ า่ นตวั ช้ีวดั ใหม้ ีการสอนซอ่ มเสรมิ

๒๔๑

การประเมินระดับชน้ั เรยี นเปน็ การตรวจสอบว่า ผู้เรียนมพี ัฒนาการความก้าวหน้าในการเรยี นรู้
อันเป็นผลมาจากการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนหรอื ไม่ และมากน้อยเพยี งใด มีสิ่งทจ่ี ะต้องไดร้ ับการพัฒนา
ปรบั ปรงุ และส่งเสรมิ ในด้านใด นอกจากนีย้ ังเปน็ ข้อมลู ใหผ้ ู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนดว้ ย
ทั้งนโ้ี ดยสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ช้วี ดั

๒. กำรประเมินระดับสถำนศกึ ษำ เป็นการประเมนิ ทส่ี ถานศกึ ษาดาเนินการเพ่ือตัดสินผล การเรยี น
ของผ้เู รยี นเปน็ รายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี น คุณลกั ษณะ อนั พงึ ประสงค์
และกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน นอกจากนี้เพอื่ ให้ไดข้ อ้ มลู เก่ียวกับการจดั การศึกษา ของสถานศึกษา วา่ ส่งผล
ตอ่ การเรียนรู้ของผ้เู รียนตามเป้าหมายหรอื ไม่ ผ้เู รียนมจี ุดพัฒนาในด้านใด รวมท้งั สามารถนาผลการเรยี น
ของผเู้ รียนในสถานศึกษาเปรียบเทยี บกบั เกณฑร์ ะดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศกึ ษาจะเปน็ ข้อมูล
และสารสนเทศเพื่อการปรับปรงุ นโยบาย หลักสตู ร โครงการ หรอื วิธกี ารจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพือ่
การจดั ทาแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา
ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศกึ ษาและการรายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศกึ ษา
สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ผ้ปู กครองและชมุ ชน

๓. กำรประเมนิ ระดบั เขตพื้นที่กำรศกึ ษำ เปน็ การประเมนิ คณุ ภาพผูเ้ รียนในระดบั เขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษาตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน เพื่อใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลพื้นฐาน
ในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา ตามภาระความรบั ผิดชอบ สามารถดาเนินการโดย
ประเมินคณุ ภาพผลสมั ฤทธ์ิของผู้เรยี นดว้ ยข้อสอบมาตรฐานท่ีจัดทาและดาเนนิ การโดยเขตพื้นทกี่ ารศึกษา หรอื
ดว้ ยความร่วมมอื กบั หน่วยงานตน้ สงั กัด ในการดาเนินการจัดสอบ นอกจากนีย้ งั ได้จากการตรวจสอบทบทวน
ขอ้ มูลจากการประเมินระดบั สถานศึกษาในเขตพื้นทีก่ ารศึกษา

๔. กำรประเมนิ ระดบั ชำติ เปน็ การประเมินคณุ ภาพผ้เู รียนในระดบั ชาติตามมาตรฐานการเรียนรู้
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน สถานศกึ ษาต้องจัดให้ผู้เรยี นทุกคนทเี่ รียน ในชนั้ ประถมศึกษา
ปีที่ ๓ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ เข้ารบั การประเมนิ ผลจากการประเมินใชเ้ ป็นข้อมลู ในการเทียบเคียงคุณภาพ
การศึกษาในระดับต่าง ๆ เพ่ือนาไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็นขอ้ มลู
สนับสนนุ การตดั สินใจในระดบั นโยบายของประเทศ

ขอ้ มลู การประเมินในระดับตา่ งๆ ข้างตน้ เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวน
พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน ถือเป็นภาระความรบั ผิดชอบของสถานศกึ ษาที่จะตอ้ งจัดระบบดแู ลช่วยเหลอื ปรับปรงุ
แก้ไข ส่งเสรมิ สนับสนนุ เพอื่ ให้ผเู้ รยี นได้พัฒนาเตม็ ตามศกั ยภาพบนพนื้ ฐานความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล
ทจ่ี าแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลมุ่ ผู้เรยี นท่ัวไป กลุ่มผูเ้ รียนทีม่ คี วามสามารถพิเศษ กลุ่ม
ผู้เรียนที่มผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นตา่ กลมุ่ ผเู้ รยี นทม่ี ีปัญหาด้านวินยั และพฤติกรรม กลุ่มผเู้ รยี นท่ปี ฏเิ สธ
โรงเรียน กลุ่มผเู้ รยี นทม่ี ีปญั หาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุม่ พิการทางร่างกายและสตปิ ัญญา เปน็ ตน้ ข้อมลู
จากการประเมนิ จึงเปน็ หัวใจของสถานศึกษาในการดาเนนิ การช่วยเหลอื ผ้เู รยี นไดท้ นั ทว่ งที ปิดโอกาสให้ผู้เรยี น
ไดร้ บั การพฒั นาและประสบความสาเรจ็ ในการเรียน

๒๔๒

สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผล
การเรียนของสถานศกึ ษาให้สอดคล้องและเปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์และแนวปฏิบตั ิทเ่ี ป็นข้อกาหนดของหลักสตู ร
แกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน เพื่อใหบ้ ุคลากรท่ีเก่ยี วข้องทกุ ฝา่ ยถือปฏิบตั ิรว่ มกนั

ผเู้ รยี นทไ่ี ม่มีคณุ สมบัติตามเกณฑก์ ารเลือ่ นช้นั สถานศึกษาควรให้เรยี นซา้ ชน้ั ทั้งนี้ สถานศึกษา
อาจใช้ดลุ ยพินิจให้เลอ่ื นชน้ั ได้ หากพจิ ารณาว่าผ้เู รยี นมีคณุ สมบัตขิ อ้ ใดข้อหนึ่ง ดงั ตอ่ ไปนี้

๑) มเี วลาเรียนไมถ่ งึ ร้อยละ ๘๐ อนั เน่ืองจากสาเหตุจาเปน็ หรอื เหตุสดุ วิสยั แตม่ ี
คุณสมบตั ิตามเกณฑ์การเลอ่ื นชน้ั ในข้ออนื่ ๆ ครบถ้วน

๒) ผ้เู รียนมีผลการประเมินผา่ นมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชี้วดั ไม่ถงึ เกณฑ์ตามท่สี ถานศกึ ษา
กาหนดในแตล่ ะรายวชิ า แต่เหน็ ว่าสามารถสอนซ่อมเสริมได้ในปกี ารศึกษาน้ัน และมีคณุ สมบตั ติ ามเกณฑ์การ
เลอ่ื นชัน้ ในขอ้ อื่น ๆ ครบถ้วน

๓) ผเู้ รยี นมผี ลการประเมนิ รายวชิ าในกล่มุ สาระภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์
สังคมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรมอยใู่ นระดับผา่ น

กอ่ นทีจ่ ะใหผ้ ู้เรียนเรียนซ้าชน้ั สถานศึกษาต้องแจ้งใหผ้ ้ปู กครองและผู้เรยี นทราบเหตุผลของการ
เรียนซา้ ชน้ั

บรรณำนุกรม

กรมวิชาการ. (๒๕๕๕). พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และทแี่ กไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบบั ท่ี ๒)
พ.ศ. ๒๕๔๕ และพระราชบัญญตั กิ ารศึกษาภาคบังคบั พ.ศ. ๒๕๔๕. กรุงเทพฯ : อักษรไทย,

กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๔๕). หลกั สูตรการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๔๕. กรุงเทพ ฯ :
ครุ ุสภาลาดพรา้ ว.

กระทรวงศึกษาธกิ าร. (๒๕๕๐ ก). แนวทางการจดั ทาหนว่ ยการเรียนรแู้ บบบรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงช่วงช้นั ท่ี ๑ (ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๑-๓). กรุงเทพฯ : ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่
ประเทศไทย จากดั .

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (๒๕๕๐ ข). แนวทางการจัดทาหนว่ ยการเรยี นรแู้ บบบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี งช่วงช้นั ท่ี ๒(ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๔-๖). กรุงเทพฯ : ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่
ประเทศไทย จากัด.

กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๕๑). หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ :
ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.

สถาบันสง่ เสรมิ าการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (๒๕๖๐). ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา
ขั้นพ้นื ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพ ฯ : ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากัด.

สถาบนั สง่ เสริมาการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (๒๕๖๐). ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษา
ข้ันพ้นื ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑. กรงุ เทพ ฯ : ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากดั .

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน. (๒๕๕๗, ๒๙ กนั ยายน). แนวปฏบิ ัตเิ กยี่ วกับคา่ นยิ มหลกั
๑๒ ประการสูก่ ารปฏบิ ัติ. กรงุ เทพ ฯ : ผู้แต่ง.

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน. (๒๕๖๑, ๘ มกราคม) แนวทางบริหารจัดการหลกั สตู ร
สถานศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑. กรงุ เทพฯ : ผู้แตง่ .

สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. (๒๕๕๑). แนวทางการบรหิ ารจดั การหลักสูตร. กรงุ เทพฯ :
ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.

สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน. (๒๕๖๑, ๕ มกราคม) คาสง่ั สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา
ขนั้ พื้นฐาน ท่ี ๓๐/๒๕๖๑ เรื่อง ใหเ้ ปลยี่ นแปลงมาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวชวี้ ัดการเรยี นรู้
คณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา
ขนั้ พื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : ผูแ้ ตง่ .

สานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา. (๒๕๕๑). ตวั ช้วี ัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลางกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ภาษาไทย. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพช์ มุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทยจากดั ,๒๕๕๑.

สานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. (๒๕๕๑). ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศกึ ษาศาสนา และวฒั นธรรม. กรงุ เทพ ฯ : ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย
จากัด.

สานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา. (๒๕๕๑). ตวั ช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
สุขศึกษาและพลศกึ ษา. กรงุ เทพ ฯ : ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทยจากัด.

สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (๒๕๕๑). ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลางกลุ่มสาระการเรยี นรู้
การงานอาชีพและเทคโนโลยี. กรงุ เทพ ฯ : ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด.

สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. (๒๕๕๑). ตัวชี้วดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลางกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ภาษาตา่ งประเทศ. กรุงเทพ ฯ : ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทยจากัด.

สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (๒๕๕๗). แนวทางการจัดการเรียนรรู้ ายวชิ าเพม่ิ เติม หน้าท่ีพลเมือง.
กรุงเทพ ฯ : ผแู้ ต่ง.

สานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา. (๒๕๕๘). ค่มู ือบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารู้”
กรุงเทพ ฯ : ผูแ้ ต่ง.

สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (๒๕๖๑). ตัวชีว้ ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลางสาระภูมศิ าสตร์
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรมตาม
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และแนวการจดั กจิ กรรมการเรยี นร.ู้
.กรุงเทพ ฯ : ผูแ้ ต่ง.

สานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. (๒๕๖๑). เอกสารประกอบการประชุมเชงิ ปฏิบตั กิ ารพฒั นาบุคลากร
หลกั เพอ่ื สรา้ งความเข้าใจเรื่อง การจดั ทามาตรฐานการเรยี นร้แู ละตัวช้วี ดั กลุ่มสาระการเรยี นรู้
คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สาระภมู ิศาสตร์ ฯ (ฉบับปรับปรงุ พงศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู ร
แกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ. กรงุ เทพ ฯ : ผู้แตง่ .

ภำคผนวก

คาส่งั สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาระยอง เขต ๑
ที่ / ๒๕๖๔

เรือ่ ง แต่งตงั้ คณะกรรมการบริหารหลักสตู รและวิชาการของสถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

*********************************

ตามคาสั่งกระทรวงศึกษาธิการได้มีคาส่ัง ที่ สพฐ.๑๒๓๙ /๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๐

เร่ือง ให้ใช้ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และสาระ

ภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ และคาส่ัง สพฐ. ๙๒๑/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๓

พฤษภาคม ๒๕๖๑ เรอื่ งยกเลกิ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชวี้ ัด สาระท่ี ๒ สาระที่ ๓ ในกล่มุ สาระการเรยี นรู้

การงานอาชีพและเทคโนโลยี และคาสง่ั สพฐ. ท่ี ๙๒๒/๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๑ เรอื่ งการปรับปรุง

โครงสร้างเวลาเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อให้การจดั การศึกษา

ข้ันพื้นฐานสอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และความรู้

ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เป็นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพของคน

ของชาติให้มีคุณภาพและมาตรฐานสากล สอดคล้องกับประเทศไทย ๔.๐ โลกศตวรรษที่ ๒๑ และทัดเทียม

กับนานาชาติ ดารงชีวิตอย่างสรา้ งสรรค์ในประชาคมโลก ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

เพื่อให้การบรหิ ารหลักสูตรและงานวชิ าการสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐานเปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

สอดคล้องกบั พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และทแ่ี ก้ไขเพมิ่ เติม (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕

และมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัตริ ะเบียบบรหิ ารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ สานกั งาน

เขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาระยอง เขต ๑ จงึ แตง่ ตั้งคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รและวิชาการ

ของสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ

๒๕๖๔) ของโรงเรียนชมุ ชนวดั สุวรรณรงั สรรค์ ดงั น้ี

๑. คณะกรรมกำรอำนวยกำร ประกอบดว้ ย ประธานกรรมการ
๑.๑ นางพณั ณช์ ติ า กนกพงษเ์ สถยี ร ผอู้ านวยการโรงเรยี น

๑.๒ นางสาวยภุ ารตั น์ เชีย่ วชาญ รองผอู้ านวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ

๑.๓ นางทพิ ย์พรรณ สาราญจิตร์ ครู อนั ดบั คศ.๓ กรรมการ

๑.๔ นางอมรรตั น์ วิทยานกุ รณ์ ครู อนั ดบั คศ.๓ กรรมการ

๑.๕ นางสาวรพกี ารย์ กัลปจ์ ิราพงศ์ ครู อันดับ คศ.๓ กรรมการ


Click to View FlipBook Version