The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา 64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by laddawan.chaiworn, 2022-04-06 04:26:02

หลักสูตรสถานศึกษา 64

หลักสูตรสถานศึกษา 64

๔๗

คำอธิบำยรำยวชิ ำพืน้ ฐำน

ค ๑๕๑๐๑ วชิ ำคณติ ศำสตร์ ๕ กลุม่ สำระกำรเรยี นร้คู ณิตศำสตร์

ชัน้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๕ เวลำเรียน ๑๖๐ ชว่ั โมง

**********************************************************************************

ศึกษาความรู้เก่ียวกับเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างเศษส่วนและทศนิยม ค่าประมาณของทศนิยมไม่เกิน ๓

ตาแหน่ง ทเี่ ป็นจานวนเต็ม ทศนิยม ๑ ตาแหน่ง และ ๒ ตาแหน่ง การใช้เคร่ืองหมาย  การแกโ้ จทยป์ ัญหา

โดยใชบ้ ัญญตั ิไตรยางศ์ การเปรียบเทียบเศษส่วนและจานวนคละ การบวก การลบเศษส่วนและจานวนคละ

การคูณ การหารของเศษสว่ นและจานวนคละ การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษสว่ นและจานวนคละ การ

แก้โจทย์ปัญหาเศษส่วนและจานวนคละ การประมาณผลลัพธข์ องการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม

การคูณทศนิยม การหารทศนิยม การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับทศนิยม การอ่านและการเขียนร้อยละหรือ

เปอร์เซ็นต์ การแก้โจทย์ปญั หารอ้ ยละ ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาว เซนตเิ มตรกับมิลลิเมตร เมตร

กับเซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร โดยใช้ความรู้เรื่องทศนิยม การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับความยาวโดยใช้

ความรู้ เรอื่ งการเปลี่ยนหน่วยและทศนิยม ความสัมพันธ์ระหว่างหนว่ ยน้าหนัก กิโลกรมั กับกรัม โดยใช้ความรู้

เรื่องทศนิยม การแก้โจทย์ปัญหาเกย่ี วกับน้าหนกั โดยใช้ความรู้ เรอ่ื งการเปล่ยี นหน่วยและทศนิยม ปริมาตร

ของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุ ของภาชนะทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉากความสัมพันธ์ระหว่าง มิลลิลิตร ลิตร

ลูกบาศก์เซนติเมตร และลกู บาศก์เมตร การแก้โจทย์ปญั หาเกย่ี วกับปริมาตรของ ทรงส่ีเหล่ยี มมมุ ฉากและความ

จุของภาชนะทรงสี่เหล่ียมมุมฉาก ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหล่ียมพื้นท่ีของรูปส่ีเหล่ียมด้านขนาน และรูป

สีเ่ หล่ียมขนมเปยี กปนู การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมและพ้ืนทข่ี องรูปสี่เหลี่ยม

ดา้ นขนานและรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน เส้นตงั้ ฉากและสญั ลักษณ์แสดงการตั้งฉาก เส้นขนานและสญั ลักษณ์

แสดงการขนาน การสร้างเส้นขนาน มุมแย้ง มุมภายในและมุมภายนอกที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง

(Transversal) ชนิดและสมบัติของรปู สเ่ี หล่ียม การสร้างรูปสี่เหล่ียม ลกั ษณะและสว่ นต่าง ๆ ของปรซิ ึม การ

อา่ นและการเขยี นแผนภมู ิแท่ง การอา่ นกราฟเสน้

โดยจัดประสบการณ์ กิจกรรม หรือโจทย์ปญั หาทสี่ ่งเสริมการพฒั นาทักษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ในการ

คิดคานวณ การแก้ปัญหา การเชอ่ื มโยง การให้เหตผุ ล การคิดสร้างสรรค์ การส่ือสารและการสอ่ื ความหมาย

ทางคณติ ศาสตร์

เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการทางานอย่างมีระบบ

ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวจิ ารณญาณ รู้จกั นาความรู้ไปประยุกต์ใชใ้ นการดารงชวี ติ ได้อย่างพอเพยี ง รวมท้ังมีเจต

คติท่ีดีตอ่ คณติ ศาสตร์

๔๘

รหัสตัวชี้วดั
มำตรฐำน ค ๑.๑ ค ๑.๑ ป.๕/๑ ค ๑.๑ ป.๕/๒ ค ๑.๑ ป.๕/๓ ค ๑.๑ ป.๕/๔ ค ๑.๑ ป.๕/๕

ค ๑.๑ ป.๕/๖ ค ๑.๑ ป.๕/๗ ค ๑.๑ ป.๕/๘ ค ๑.๑ ป.๕/๙
มำตรฐำน ค ๒.๑ ค ๒.๑ ป.๕/๑ ค ๒.๑ ป.๕/๒ ค ๒.๑ ป.๕/๓ ค ๒.๑ ป.๕/๔
มำตรฐำน ค ๒.๒ ค ๒.๒ ป.๕/๑ ค ๒.๒ ป.๕/๒ ค ๒.๒ ป.๕/๓ ค ๒.๒ ป.๕/๔
มำตรฐำน ค ๓.๑ ค ๓.๑ ป.๕/๑ ค ๓.๑ ป.๕/๒

รวมท้ังสิ้น ๑๙ ตัวชี้วดั

๔๙

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพืน้ ฐำน

ค ๑๖๑๐๑ วิชำคณติ ศำสตร์ ๖ กล่มุ สำระกำรเรียนร้คู ณติ ศำสตร์

ช้ันประถมศกึ ษำปที ี่ ๖ เวลำเรยี น ๑๖๐ ช่ัวโมง

**********************************************************************************

ศึกษาความรเู้ กย่ี วกบั เรื่องการเปรยี บเทียบและเรียงลาดับเศษสว่ นและจานวนคละโดยใช้ความรเู้ รื่อง ค.ร.น.

อัตราสว่ น อัตราสว่ นทเ่ี ทา่ กัน และมาตราสว่ น ตัวประกอบ จานวนเฉพาะ ตวั ประกอบเฉพาะ และการแยกตวั

ประกอบ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. การแก้โจทยป์ ัญหาเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. การบวก การลบเศษสว่ นและ

จานวนคละ โดยใช้ความรู้เร่อื ง ค.ร.น. การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและ จานวนคละ การแก้โจทย์

ปัญหาเศษส่วนและจานวนคละ ความสัมพันธ์ระหวา่ งเศษส่วนและทศนยิ ม การหารทศนิยม การแก้โจทย์

ปญั หาเกี่ยวกับทศนยิ ม (รวมการแลกเงินตา่ งประเทศ) การแก้โจทย์ปญั หาอัตราส่วนและมาตราส่วน การแก้

โจทยป์ ญั หาร้อยละ การแกป้ ัญหาเกย่ี วกบั แบบรูป ปริมาตรของรปู เรขาคณิตสามมิตทิ ีป่ ระกอบดว้ ย ทรง

ส่เี หลยี่ มมมุ ฉาก การแก้โจทย์ปัญหาเกยี่ วกับปริมาตรของรปู เรขาคณิตสามมิติที่ประกอบด้วยทรงสเี่ หลยี่ มมมุ

ฉาก ความยาวรอบรูปและพ้นื ท่ีของรูปสามเหลยี่ ม มมุ ภายในของรูปหลายเหลี่ยม ความยาวรอบรปู และพน้ื ที่ของ

รูปหลายเหลย่ี ม การแกโ้ จทย์ปัญหาเกย่ี วกับความยาวรอบรปู และพนื้ ทข่ี องรูปหลายเหล่ียม ความยาวรอบรปู

และพืน้ ทข่ี องวงกลม การแก้โจทยป์ ญั หาเกยี่ วกบั ความยาวรอบรปู และพื้นทข่ี องวงกลม ชนิดและสมบตั ิของรปู

สามเหล่ียม การสร้างรูปสามเหลย่ี ม สว่ นตา่ ง ๆ ของวงกลม การสรา้ งวงกลม ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย

พีระมิด รปู คลีข่ องทรงกระบอก กรวย ปรซิ มึ พีระมดิ การอ่านแผนภมู ิรปู วงกลม

โดยจดั ประสบการณ์ กิจกรรม หรือโจทยป์ ัญหาท่ีส่งเสรมิ การพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ใน

การคิดคานวณ การแก้ปัญหา การเชื่อมโยง การใหเ้ หตผุ ล การคิดสรา้ งสรรค์ การส่อื สารและการส่อื

ความหมายทางคณติ ศาสตร์

เพ่อื ให้เกิดความร้คู วามเขา้ ใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝเ่ รยี น มีระเบียบวินยั มุ่งมนั่ ในการทางานอย่าง

มรี ะบบ ประหยดั ซ่อื สัตย์ มีวิจารณญาณ ร้จู กั นาความรู้ไปประยุกต์ใชใ้ นการดารงชีวติ ได้อยา่ งพอเพียง รวมทั้ง

มีเจตคตทิ ่ีดีตอ่ คณิตศาสตร์

๕๐

รหสั ตวั ช้ีวดั
มำตรฐำน ค ๑.๑ ค ๑.๑ ป.๖/๑ ค ๑.๑ ป.๖/๒ ค ๑.๑ ป.๖/๓ ค ๑.๑ ป.๖/๔

ค ๑.๑ ป.๖/๕ ค ๑.๑ ป.๖/๖ ค ๑.๑ ป.๖/๗ ค ๑.๑ ป.๖/๘
ค ๑.๑ ป.๖/๙ ค ๑.๑ ป.๖/๑๐ ค ๑.๑ ป.๖/๑๑ ค ๑.๑ ป.๖/๑๒
มำตรฐำน ค ๑.๒ ค ๑.๒ ป.๖/๑
มำตรฐำน ค ๒.๑ ค ๒.๑ ป.๖/๑ ค ๒.๑ ป.๖/๒ ค ๒.๑ ป.๖/๓
มำตรฐำน ค ๒.๒ ค ๒.๒ ป.๖/๑ ค ๒.๒ ป.๖/๒ ค ๒.๒ ป.๖/๓ ค ๒.๒ ป.๖/๔
มำตรฐำน ค ๓.๑ ค ๓.๑ ป.๖/๑

รวมท้งั ส้นิ ๒๑ ตวั ชี้วัด

๕๑

รำยวิชำพนื้ ฐำนและเพิม่ เตมิ กลุ่มสำระกำรเรยี นรูค้ ณติ ศำสตร์
ระดบั มธั ยมศึกษำตอนต้น

รำยวชิ ำพื้นฐำน หน่วยกิต เวลำ
ค ๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ จานวน ๑.๕ ๖๐ ชว่ั โมง
ค ๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ จานวน ๑.๕ ๖๐ ชว่ั โมง
ค ๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ จานวน ๑.๕ ๖๐ ชั่วโมง
ค ๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ จานวน ๑.๕ ๖๐ ชวั่ โมง
ค ๒๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ จานวน ๑.๕ ๖๐ ชว่ั โมง
ค ๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ จานวน ๑.๕ ๖๐ ชัว่ โมง

รำยวชิ ำเพ่มิ เตมิ หนว่ ยกติ เวลำ
ค ๒๑๒๐๑ คณติ คิดเรว็ ๑ จานวน ๐.๕ ๒๐ ชว่ั โมง
ค ๒๑๒๐๒ คณิตคิดเร็ว ๒ จานวน ๐.๕ ๒๐ ช่ัวโมง
ค ๒๒๒๐๑ คณิตคดิ เรว็ ๓ จานวน ๐.๕ ๒๐ ชวั่ โมง
ค ๒๒๒๐๒ คณิตคดิ เร็ว ๔ จานวน ๐.๕ ๒๐ ชวั่ โมง
ค ๒๓๒๐๑ คณิตคิดเรว็ ๕ จานวน ๐.๕ ๒๐ ชวั่ โมง
ค ๒๓๒๐๒ คณติ คิดเรว็ ๖ จานวน ๐.๕ ๒๐ ชวั่ โมง

๕๒

คำอธิบำยรำยวชิ ำพืน้ ฐำน

ค ๒๑๑๐๑ คณิตศำสตร์พืน้ ฐำน ๑ กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้คณิตศำสตร์

ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปที ่ี ๑ ภำคเรียนท่ี ๑ เวลำ ๖๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต

**********************************************************************************

ศกึ ษา และฝึกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์อันไดแ้ ก่ การแกป้ ัญหา การสื่อสารและการส่ือ

ความหมายทางคณติ ศาสตร์ การเชื่อมโยง การใหเ้ หตผุ ล และการคิดสร้างสรรค์ ในสาระตอ่ ไปนี้

จำนวนเตม็ สมบัติของจานวนเต็ม การนาความรเู้ กย่ี วกับจานวนเตม็ ไปใช้ในการแก้ปญั หา

กำรสร้ำงทำงเรขำคณิต การสรา้ งพืน้ ฐานทางเรขาคณิต การสรา้ งรูปเรขาคณิตสองมิตโิ ดยใช้

การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณติ การนาความรู้เก่ียวกับการสร้างพ้นื ฐานทางเรขาคณิตไปใชใ้ นชีวติ จรงิ

เลขยกกำลงั เลขยกกาลังท่ีมีเลขช้ีกาลังเป็นจานวนเต็มบวก การนาความรเู้ กีย่ วกบั เลขยกกาลังไปใช้

ในการแกป้ ัญหา

ทศนิยมและเศษส่วน

รูปเรขำคณิตสองมิติและสำมมิติ หน้าตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติ ภาพที่ได้จากการมองด้านหน้า

ดา้ นขา้ ง ดา้ นบนของรปู เรขาคณติ สามมิตทิ ่ีประกอบข้ึนจากลูกบาศก์

โดยการจัดประสบการณห์ รือสรา้ งสถานการณใ์ นชีวิตประจาวันที่ใกล้ตวั ให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดย

การปฏิบัตจิ รงิ ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพฒั นาทกั ษะและกระบวนการในการคดิ คานวณ การแก้ปัญหา

การให้เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและ

กระบวนการท่ีได้ไปใช้ในการเรียนรู้ส่ิงต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและ

มีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ

มีวจิ ารณญาณ และมีความเชือ่ มั่นในตนเอง

เพื่อให้เกิดความรูค้ วามเข้าใจ ความคดิ รวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรยี น มรี ะเบียบวินัยมงุ่ มัน่ ในการทางานอย่างมีระบบ

ประหยัด ซ่ือสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิตได้อย่างพอเพียง

รวมทงั้ มเี จตคตทิ ่ดี ตี ่อคณิตศาสตร์

รหัสตัวชว้ี ดั
ค ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒
ค ๒.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒
รวมทง้ั สิ้น ๔ ตัวชว้ี ดั

๕๓

คำอธิบำยรำยวชิ ำพน้ื ฐำน

ค ๒๑๑๐๒ คณติ ศำสตรพ์ นื้ ฐำน ๒ กลุม่ สำระกำรเรียนรูค้ ณิตศำสตร์

ช้นั มัธยมศกึ ษำปีที่ ๑ ภำคเรยี นที่ ๒ เวลำ ๖๐ ช่วั โมง จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกิต

**********************************************************************************

ศกึ ษา และฝึกทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์อนั ไดแ้ ก่ การแกป้ ัญหา การสื่อสารและการสื่อ

ความหมายทางคณิตศาสตร์ การเชอ่ื มโยง การใหเ้ หตผุ ล และการคดิ สร้างสรรค์ ในสาระต่อไปนี้

สมกำรเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การนาความรู้เกี่ยวกับการแก้สมการ

เชงิ เสน้ ตวั แปรเดยี วไปใชใ้ นชวี ิตจรงิ

อัตรำส่วน สัดส่วน และร้อยละ อัตราส่วนของจานวนหลายๆ จานวน สัดส่วน การนาความรู้

เกยี่ วกับอัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา

สมกำรเชงิ เส้นสองตัวแปร กราฟของความสัมพันธเ์ ชงิ เส้น การนาความรู้เก่ียวกับสมการเชงิ เส้นสอง

ตวั แปรและกราฟของความสมั พันธเ์ ชิงเสน้ ไปใชใ้ นชีวิตจรงิ

สถิติ การตงั้ คาถามทางสถติ ิ การเก็บรวบรวมข้อมลู การนาเสนอขอ้ มลู ได้แก่ แผนภูมริ ูปภาพ แผนภูมิ

แท่ง กราฟเสน้ แผนภมู ิรูปวงกลม การแปลความหมายขอ้ มูล การนาสถติ ิไปใช้ในชีวิตจรงิ

โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจาวันที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า

โดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรปุ รายงาน เพอ่ื พัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา

การให้เหตุผล การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะ

และกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ส่ิงต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมท้ังเห็นคุณค่า

และมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบระเบียบ มีความรอบคอบ ความรับผิดชอบ

มีวิจารณญาณ และมีความเช่ือม่ันในตนเอง

เพอื่ ให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝเ่ รยี น มรี ะเบียบวนิ ัยมงุ่ มน่ั ในการทางานอย่างมีระบบ

ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิตได้อย่างพอเพียง

รวมทงั้ มเี จตคตทิ ่ดี ีต่อคณติ ศาสตร์

รหัสตวั ชวี้ ดั
ค ๑.๑ ม.๑/๓
ค ๑.๓ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓
ค ๓.๑ ม.๑/๑
รวมท้งั สิน้ ๕ ตวั ช้ีวดั

๕๔

คำอธิบำยรำยวชิ ำพื้นฐำน

ค ๒๒๑๐๑ คณิตศำสตร์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้คณติ ศำสตร์

ระดบั ช้นั มัธยมศึกษำปีท่ี ๒ ภำคเรียนท่ี ๑ จำนวน ๖๐ ช่วั โมง๑.๕ หน่วยกติ

**********************************************************************************

ศึกษาและฝกึ ทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตรอ์ นั ไดแ้ ก่ การแกป้ ัญหา การส่ือสารและการสอื่

ความหมายทางคณติ ศาสตร์ การเช่ือมโยง การให้เหตุผล และการคดิ สร้างสรรค์ ในสาระตอ่ ไปนี้

จำนวนตรรกยะ เลขยกกาลังท่ีมีเลขช้กี าลังเป็นจานวนเต็ม การนาความรู้เก่ยี วกบั เลขยกกาลงั ไปใช้

ในการแก้ปัญหา

จำนวนจรงิ จานวนอตรรกยะ จานวนจรงิ รากทส่ี องและรากทสี่ ามของจานวนตรรกยะ การนาความรู้

เกย่ี วกับจานวนจริงไปใช้

พหนุ ำม การบวก การลบ และการคณู ของพหุนาม การหารพหนุ ามด้วยเอกนามท่มี ผี ลหารเป็นพหนุ าม

กำรแยกตัวประกอบของพหุนำม การแยกตวั ประกอบของพหนุ ามดกี รีสองโดยใช้ สมบตั กิ ารแจกแจง

กาลงั สองสมบรู ณ์ ผลต่างของกาลงั สอง

สถติ ิ การนาเสนอและวเิ คราะห์ขอ้ มลู แผนภาพจดุ แผนภาพต้น – ใบ ฮสิ โทแกรม คา่ กลางของข้อมลู การ

แปลความหมายผลลพั ธก์ ารนาสถิติไปใช้ในชวี ติ จริง

โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชวี ิตประจาวนั ทีใ่ กลต้ วั ให้ผู้เรียนไดศ้ ึกษาคน้ คว้า

โดยการปฏบิ ัติจรงิ ทดลอง สรุป รายงาน เพอื่ พฒั นาทกั ษะและกระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา

การให้เหตุผล การสอื่ ความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทกั ษะและ

กระบวนการทีไ่ ดไ้ ปใช้ในการเรียนรูส้ ิง่ ตา่ ง ๆ และใช้ในชวี ติ ประจาวันอยา่ งสร้างสรรค์ รวมท้ังเห็นคุณค่าและมี

เจตคตทิ ่ดี ีตอ่ คณิตศาสตร์ สามารถทางานอยา่ งเป็นระบบระเบยี บ มคี วามรอบคอบ มีความรบั ผิดชอบ มี

วิจารณญาณ และมีความเชอื่ มั่นในตนเอง

เพอื่ ใหเ้ กดิ ความรู้ความเข้าใจ ความคดิ รวบยอด ใฝร่ ใู้ ฝ่เรยี น มีระเบียบวนิ ัยมุง่ ม่ันในการทางานอยา่ งมีระบบ

ประหยัด ซอื่ สัตย์ มวี ิจารณญาณ รู้จกั นาความรไู้ ปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิตได้อย่างพอเพยี ง

รวมทง้ั มีเจตคตทิ ่ีดตี ่อคณิตศาสตร์

รหัสตัวชี้วดั
ค๒.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔,
ค๓.๑ ม.๒/๑
รวมทั้งหมด ๕ ตวั ชี้วัด

๕๕

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพ้นื ฐำน

ค ๒๒๑๐๑ คณิตศำสตร์ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้คณิตศำสตร์

ระดับชัน้ มธั ยมศึกษำปีที่ ๒ ภำคเรยี นที่ ๒ จำนวน ๖๐ ชวั่ โมง ๑.๕ หนว่ ยกติ

**********************************************************************************

ศกึ ษาและฝึกทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์อันไดแ้ ก่ การแก้ปัญหา การส่อื สารและการส่ือ

ความหมายทางคณิตศาสตร์ การเช่ือมโยง การใหเ้ หตุผล และการคดิ สรา้ งสรรค์ ในสาระต่อไปน้ี

พนื้ ท่ผี วิ การหาพนื้ ที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก การนาความรเู้ กยี่ วกับพน้ื ท่ผี ิวของปริซึม

และทรงกระบอกไปใช้ในการแก้ปัญหา

ปรมิ ำตร การหาปรมิ าตรของปริซึมและทรงกระบอก การนาความรูเ้ ก่ยี วกบั ปริมาตรของปริซมึ
และทรงกระบอกไปใช้ในการแกป้ ัญหา

กำรสรำ้ งทำงเรขำคณิต การนาความรู้เก่ยี วกับการสร้างทางเรขาคณิตไปใช้ในชีวิตจรงิ

เสน้ ขนำน สมบัติเก่ียวกบั เสน้ ขนานและรูปสามเหลี่ยม

กำรแปลงทำงเรขำคณิต การเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน การนาความรู้เก่ยี วกับการแปลง

ทางเรขาคณติ ไปใช้ในการแกป้ ญั หา
ควำมเทำ่ กันทุกประกำร ความเท่ากนั ทกุ ประการของรูปสามเหล่ียม การนาความรู้เกีย่ วกับความเท่ากันทกุ

ประการไปใช้ในการแก้ปญั หา

ทฤษฎพี ที ำโกรัส ทฤษฎพี ีทาโกรัส บทกลับของทฤษฎีพีทาโกรัส การนาความรู้เกยี่ วกบั ทฤษฎบี ท

พที าโกรสั และบทกลบั ไปใช้ในชีวิตจริง

โดยการจดั ประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวติ ประจาวันทใี่ กล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาคน้ คว้า โดย
การปฏิบตั ิจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพอื่ พฒั นาทักษะและกระบวนการในการคดิ คานวณ การแกป้ ัญหา การ

ใหเ้ หตุผล การสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตร์ และการนาประสบการณด์ า้ นความรู้ ความคิด ทักษะและ

กระบวนการที่ไดไ้ ปใช้ในการเรยี นรสู้ ิง่ ตา่ ง ๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอยา่ งสร้างสรรค์ รวมท้งั เห็นคุณค่าและมี

เจตคติท่ดี ีตอ่ คณิตศาสตร์ สามารถทางานอยา่ งเป็นระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มคี วามรับผดิ ชอบ

มวี ิจารณญาณ และมคี วามเชอื่ มน่ั ในตนเองเพอื่ ใหเ้ กิดความร้คู วามเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รใู้ ฝ่เรยี น
มรี ะเบยี บวินัยมุ่งมนั่ ในการทางานอย่างมรี ะบบ ประหยัด ซอื่ สตั ย์ มีวิจารณญาณ รู้จกั นาความรไู้ ปประยุกต์ใช้

ในการดารงชวี ิตไดอ้ ยา่ งพอเพยี งรวมทงั้ มีเจตคติท่ีดีตอ่ คณิตศาสตร์

รหัสตวั ชี้วดั
ค๒.๑ ม.๒/๑, ม ๒/๒
ค.๒.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕

รวมทั้งหมด ๗ ตัวช้ีวัด

๕๖

คำอธิบำยรำยวชิ ำพน้ื ฐำน

ค ๒๓๑๐๑ วชิ ำ คณิตศำสตรพ์ นื้ ฐำน กลมุ่ สำระกำรเรียนรคู้ ณิตศำสตร์

ช้นั มธั ยมศกึ ษำปีที่ ๓ ภำคเรียนที่ ๑ เวลำ ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกติ

**********************************************************************************

ศกึ ษาและฝึกทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์อันไดแ้ ก่ การแก้ปัญหา การสื่อสารและการส่อื

ความหมายทางคณติ ศาสตร์ การเชอ่ื มโยง การให้เหตุผล และการคดิ สรา้ งสรรค์ ในสาระต่อไปนี้

กำรแยกตวั ประกอบของพหนุ ำม การแยกตัวประกอบของพหนุ ามท่ีมดี ีกรสี ูงกว่าสอง

อสมกำรเชิงเส้นตัวแปรเดียว อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว แก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว นา

ความรู้เก่ียวกับการแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวไปใช้ในการแก้ปัญหา นาความรู้เกี่ยวกับการแก้สมการ

กาลงั สองตวั แปรเดียวไปใช้ในการแกป้ ัญหา

สมกำรกำลังสองตัวแปรเดียว สมการกาลงั สองตวั แปรเดียว แก้สมการกาลังสองตวั แปรเดยี ว

นาความรเู้ กยี่ วกบั การแก้สมการกาลังสองตวั แปรเดียวไปใช้ในการแกป้ ญั หา

ระบบสมกำร ระบบสมการเชิงเสน้ สองตวั แปร การแกร้ ะบบสมการเชงิ เสน้ สองตวั แปร

นาความรเู้ กย่ี วกับการแกร้ ะบบสมการเชงิ เส้นสองตัวแปรเดยี วไปใช้ในการแกป้ ัญหา

พื้นท่ีผิว การหาพ้ืนท่ีผิวของพีระมิด กรวย และทรงกลม นาความรู้เกี่ยวกับพ้ืนที่ผิวของพีระมิด

กรวย และทรงกลมไปใชใ้ นการแกป้ ญั หา

ปริมำตร การหาปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม นาความรู้เกี่ยวกับปริมาตรของพีระมิด

กรวย และทรงกลมไปใช้ในการแก้ปัญหา

ควำมน่ำจะเป็น เหตุการณ์จากการทดลองสุ่ม ความน่าจะเป็น นาความรู้เก่ียวกับความน่าจะ

เปน็ ไปใชใ้ นชวี ติ จรงิ

โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจาวัน ท่ีใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า

โดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรปุ รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา

การให้เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะ

และกระบวนการท่ไี ด้ไปใช้ในการเรียนรูส้ ่ิงต่าง ๆ และใชใ้ นชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมท้ังเห็นคุณค่า

และมเี จตคติท่ีดีตอ่ คณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเปน็ ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ

มีวจิ ารณญาณ และมีความเช่อื ม่ันในตนเอง

เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งม่ันในการทางาน

อย่างมีระบบ ประหยดั ซื่อสัตย์ มีวจิ ารณญาณ รู้จักนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิตได้อยา่ งพอเพียง

รวมทั้งมีเจตคติทด่ี ตี ่อคณิตศาสตร์

๕๗

รหสั ตวั ชี้วัด
ค๑.๒ ม๓/๑
ค๑.๓ ม๓/๑, ม๓/๒, ม๓/๓
ค๒.๑ ม๓/๑, ม๓/๒
ค๓.๒ ม๓/๑
รวมทั้งหมด ๗ ตัวช้ีวัด

๕๘

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพน้ื ฐำน

ค ๒๓๑๐๒ ชื่อวิชำ คณิตศำสตรพ์ น้ื ฐำน กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้คณิตศำสตร์

ชน้ั มธั ยมศึกษำปีที่ ๓ ภำคเรียนที่ ๒ เวลำ ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน่วย

กติ

**********************************************************************************

ศึกษาและฝกึ ทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตรอ์ นั ไดแ้ ก่ การแกป้ ญั หา การสอ่ื สารและการส่ือ

ความหมายทางคณิตศาสตร์ การเชื่อมโยง การให้เหตผุ ล และการคิดสรา้ งสรรค์ ในสาระต่อไปน้ี

ฟงั กช์ นั กำลังสอง กราฟของฟังกช์ ันกาลังสอง นาความรเู้ กี่ยวกับฟงั กช์ ันกาลงั สองไปใชใ้ นการแก้ปญั หา

ควำมคลำ้ ย รูปสามเหลีย่ มท่ีคล้ายกนั นาความร้เู กยี่ วกับความคล้ายไปใช้ในการแกป้ ญั หา

อัตรำสว่ นตรีโกณมิติ อัตราสว่ นตรโี กณมิติ นาค่าอัตราสว่ นตรีโกณมิตขิ องมุม ๓๐องศา ๔๕ องศา

และ ๖๐ องศาไปใช้ในการแกป้ ญั หา

วงกลม วงกลม คอร์ด และเส้นสัมผัส ทฤษฎบี ทเกี่ยวกับวงกลม

สถติ ิ ข้อมูลและการวิเคราะห์ขอ้ มูล แผนภาพกล่อง การแปลความหมายผลลัพธ์ การนาสถติ ิไปใช้

ในชีวติ จริง

โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจาวัน ท่ีใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า

โดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรปุ รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา

การให้เหตุผล การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะ

และกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใชใ้ นชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่า

และมีเจตคติท่ีดีตอ่ คณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเปน็ ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผดิ ชอบ

มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อม่ันในตนเอง เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน

มรี ะเบียบวินัยม่งุ มั่นในการทางาน อย่างมรี ะบบ ประหยดั ซ่ือสตั ย์ มีวิจารณญาณ รูจ้ กั นาความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ช้

ในการดารงชวี ติ ได้อยา่ งพอเพยี ง รวมทัง้ มีเจตคติทดี่ ตี อ่ คณิตศาสตร์

รหัสตวั ช้ีวัด
ค๑.๒ ม๓/๒
ค๒.๒ ม๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓
ค๓.๑ ม๓/๑
รวมทง้ั หมด ๕ ตัวช้ีวัด

๕๙

คำอธิบำยรำยวชิ ำเพิ่มเติม

ค ๒๑๒๐๑ คณิตศำสตร์เพิม่ เติม ๑ กลุ่มสำระกำรเรียนรคู้ ณิตศำสตร์

ช้ันมัธยมศกึ ษำปีท่ี ๑ ภำคเรยี นที่ ๑ เวลำ ๒๐ ช่วั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต

**********************************************************************************

ศกึ ษา คน้ คว้า ฝกึ ทักษะ/กระบวนการเกยี่ วกับเร่ืองดังตอ่ ไปน้ี

การประยุกต์ ๑ เกี่ยวกบั รูปเรขาคณติ ประกอบด้วย จดุ เส้นตรง เส้นโค้ง ระนาบ ฯลฯ

อย่างน้อยหน่ึงอย่าง รูปสามเหล่ียม รูปส่ีเหลี่ยม ทรงส่ีเหล่ียมมุมฉากแล ะทรงกระบอก มีจานวนนับ

รอ้ ยละในชวี ติ ประจาวนั และปญั หาชวนคิด

จานวนและตัวเลข ได้แก่ ระบบตวั เลขโรมัน ระบบตวั เลขฐานตา่ ง ๆ และการเปลีย่ นฐานในระบบตัวเลข

การประยุกตข์ องจานวนเตม็ และเลขยกกาลงั ไดแ้ ก่ การคดิ คานวณ และโจทยป์ ญั หา

การสร้าง ได้แก่ การแบ่งส่วนของเส้นตรง การสร้างมุมขนาดต่าง ๆ และการสร้างรูปสามเหล่ียม

และรูปส่ีเหล่ยี มดา้ นขนาน

โดยใช้ความรู้ ทกั ษะ/กระบวนการทางคณติ ศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี นการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง

ๆ ได้อย่างเหมาะสม โดยใช้วิธีการที่หลากหลายในการคิดคานวณการแก้ปัญหาการให้เหตุผลประกอบการ

ตดั สินใจและสรปุ ผลได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณติ ศาสตร์ในการส่ือสาร การส่ือ

ความหมายและการนาเสนอได้อย่างถูกต้องชัดเจน เช่ือมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์และนาความรู้

หลักการ กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ไปเชอ่ื มโยงกบั ศาสตร์อนื่ ๆ

เห็นคุณค่าและมเี จตคตทิ ี่ดีตอ่ คณติ ศาสตร์มีความใฝเ่ รยี นรู้ ความมงุ่ มน่ั ในการทางาน ร้สู ามารถทางานอยา่ งเป็น

ระบบระเบียบมีวินัยมีความรอบคอบมีความรับผิดชอบ มคี วามซื่อสตั ย์สุจริตมวี ิจารณญาณและมีความเชื่อม่ัน

ในตนเองและใชใ้ นชวี ิตประจาวันอย่างสรา้ งสรรค์

ผลกำรเรียนรู้

1. ใชค้ วามรูเ้ ก่ียวกบั รูปเรขาคณิต จานวนนับ ร้อยละในชวี ิตประจาวนั ปัญหาชวนคดิ

และทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตรแ์ กป้ ัญหาต่าง ๆ ได้

๒. อ่านและเขยี นตวั เลขโรมนั ได้

๓. บอกคา่ ของเลขโดดตวั เลขฐานต่าง ๆ ท่กี าหนดให้ได้

๔. เขียนตวั เลขที่กาหนดให้เป็นตวั เลขฐานต่าง ๆ ได้

๕. ใชค้ วามรู้เกย่ี วกบั จานวนเตม็ และเลขยกกาลังในการแกป้ ญั หาได้

๖. ใชก้ ารสรา้ งพื้นฐานสร้างรปู ที่ซบั ซอ้ นขึน้ ได้

๗. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบท่ีได้

รวมทง้ั หมด ๗ ผลกำรเรียนรู้

๖๐

คำอธิบำยรำยวชิ ำเพิม่ เตมิ

ค ๒๑๒๐๒ คณติ ศำสตรเ์ พิม่ เติม ๒ กล่มุ สำระกำรเรียนรู้คณติ ศำสตร์

ชนั้ มัธยมศึกษำปที ่ี ๑ ภำคเรยี นที่ ๒ จำนวน ๒๐ ชัว่ โมง ๐.๕ หนว่ ยกิต

**********************************************************************************

ศึกษา คน้ คว้า ฝกึ ทักษะ/กระบวนการเก่ยี วกบั เรอื่ งดงั ต่อไปนี้ การเตรียมความพร้อมในการให้เหตผุ ล ไดแ้ ก่

ข้อความคาดการณ์ ประโยคเงื่อนไข บทกลับของประโยคเงื่อนไข การให้เหตุผล พหุนาม ได้แก่ เอกนาม

การบวกและการลบเอกนาม พหนุ าม การบวกและการลบ พหนุ าม การคูณพหุนาม การหารพหนุ าม

บทประยุกต์ ๒ ได้แก่ แบบรูปของจานวน ข่ายงาน การประยุกต์ของเศษส่วนและทศนิยม โดยใช้ความรู้

ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม

โดยใช้วิธีการท่ีหลากหลายในการคิดคานวณการแก้ปัญหาการให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้

อย่างถูกต้อง เหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมายและการ

นาเสนอได้อย่างถูกต้องชดั เจน เชอ่ื มโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณติ ศาสตร์และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทาง

คณติ ศาสตรไ์ ปเช่อื มโยงกบั ศาสตรอ์ ่ืน ๆ

เห็นคณุ ค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณติ ศาสตร์มีความใฝเ่ รยี นรู้ ความมุ่งมนั่ ในการทางาน รู้สามารถทางานอย่างเป็น

ระบบระเบียบมีวินัยมีความรอบคอบมีความรับผิดชอบ มีความซื่อสัตย์สุจริตมีวิจารณญาณและมี

ความเชื่อมั่นในตนเองและใช้ในชีวติ ประจาวนั อยา่ งสรา้ งสรรค์

ผลกำรเรยี นรู้
๑. ใช้ความรเู้ กี่ยวกบั ข้อความคาดการณ์ ประโยคเงื่อนไข บทกลับของประโยคเงื่อนไข

การให้เหตผุ ล ทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตรแ์ กป้ ญั หาต่าง ๆ และประยุกตใ์ ช้
ในชวี ิตประจาวนั ได้
๒. ระบนุ ิพจน์ท่เี ป็นเอกนามและไมเ่ ป็นเอกนาม และแสดงการบวก การลบเอกนามได้
๓. เขยี นพหุนามในรปู พหนุ ามในรปู ผลสาเร็จ และระบดุ กี รีของพหนุ าม พจน์แต่ละพจนใ์ นพหนุ ามได้
๔. อธิบายและหาผลลัพธข์ องการบวก การลบ การคูณ การหาร พหนุ ามได้
๕. ใชค้ วามรเู้ ก่ยี วกบั แบบรูปของจานวน ขา่ ยงาน การประยกุ ต์ของเศษสว่ นและทศนิยม
ในการแกป้ ัญหา และประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวันได้
๖. ตระหนกั ถึงความสมเหตสุ มผลของคาตอบทไี่ ด้
รวมทง้ั หมด ๖ ผลกำรเรียนรู้

๖๑

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำเพ่มิ เติม

ค ๒๒๒๐๑ คณิตศำสตร์เพิม่ เติม ๓ กลุ่มสำระกำรเรียนรูค้ ณติ ศำสตร์

ชน้ั มัธยมศึกษำปีท่ี ๒ ภำคเรยี นที่ ๑ จำนวน ๒๐ ชวั่ โมง ๐.๕ หน่วยกิต

**********************************************************************************

ศกึ ษา ค้นคว้า ฝกึ ทักษะ/กระบวนการเกี่ยวกับเรอ่ื งต่อไปนี้

สมบัติของเลขยกกาลัง การคูณเลขยกกาลงั การหารเลขยกกาลงั สมบัติของเลขยกกาลัง เลขยก

กาลังในรปู สัญกรณ์วิทยาศาสตร์

พหนุ าม และ เศษสว่ นของพหุนามอย่างงา่ ย การบวก การลบ การคณู และ การหาร

พหนุ าม การบวก การลบ การคณู และการหารเศษสว่ น พหุนามดีกรีไมเ่ กนิ ๑

การประยกุ ต์ของอตั ราส่วนและร้อยละ การแก้ปัญหาหรือสถานการณ์โดยใช้อัตราส่วนและสัดส่วน

การแกป้ ญั หาหรือสถานการณ์ในชีวิตประจาวันโดยใช้รอ้ ยละ

การประยุกต์และการแปลงทางเรขาคณิต การสรา้ งสรรค์งานศลิ ปะโดยใช้การแปลง

ทางเรขาคณิต การออกแบบโดยใช้การแปลงทางเรขาคณิต

โดยใช้ความรู้ ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยใี นการแก้ปัญหาในสถานการณต์ ่าง

ๆ ได้อย่างเหมาะสม โดยใช้วิธีการที่หลากหลายในการคิดคานวณการแก้ปัญหาการให้เหตุผลประกอบการ

ตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการส่ือสาร การสื่อ

ความหมายและการนาเสนอได้อย่างถูกต้องชัดเจน เช่ือมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์และนาความรู้

หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกบั ศาสตร์อ่ืน ๆ

เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์มคี วามใฝ่เรียนรู้ ความม่งุ ม่นั ในการทางาน รู้สามารถทางานอย่างเป็น

ระบบระ เบียบมีวินัยมีคว ามรอบคอบมีคว ามรับผิดชอบ มีความซ่ือสัตย์สุจริตมีวิจารณญาณ

และมคี วามเชือ่ มั่นในตนเองและใชใ้ นชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์

ผลกำรเรียนรู้

๑. คูณและหารจานวนทีเ่ ขยี นอยูใ่ นรูปเลขยกกาลังท่ีมเี ลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มโดยใช้

บทนิยามและสมบัติของเลขยกกาลงั และนาไปใช้ในการแก้ปญั หาได้

๒. คานวณและใช้เลขยกกาลังในการเขยี นแสดงจานวนทีม่ คี ่าน้อย ๆ หรือมาก ๆ ในรปู

สญั กรณ์วิทยาศาสตรไ์ ด้

๓. บวก ลบ คูณ หารพหุนามได้

๔. บวก ลบ คูณ หารเศษส่วนของพหนุ ามทีม่ ีดกี รไี มเ่ กนิ หนงึ่ ได้

๕. ใช้ความรเู้ กย่ี วกับอัตราส่วน สัดสว่ นและร้อยละแกป้ ญั หาหรือสถานการณต์ ่างๆ ได้

๖. ใช้ความรเู้ กยี่ วกบั การเลอื่ นขนาน การสะทอ้ นและการหมนุ ในการสร้างสรรคง์ านศิลปะ

หรือออกแบบได้

๗. ตระหนักถงึ ความสมเหตุสมผลของคาตอบที่ได้

รวมทงั้ หมด ๗ ผลกำรเรียนรู้

๖๒

คำอธิบำยรำยวชิ ำเพ่มิ เตมิ

ค ๒๒๒๐๒ คณิตศำสตร์เพม่ิ เตมิ ๔ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรคู้ ณิตศำสตร์

ช้ันมธั ยมศกึ ษำปที ี่ ๒ ภำคเรียนที่ ๒ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต

**********************************************************************************

ศกึ ษา คน้ ควา้ ฝกึ ทกั ษะ/กระบวนการเกี่ยวกับเรอ่ื งตอ่ ไปน้ี

การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง การแยกตัวประกอบของพหุนามดรกรีสองโดยการแจก

แจง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองท่ีอยู่ในรูป ax๒+bx+c เมื่อ a,b,cเป็นค่าคงตัว และ a¹๐ การ

แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์ การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่

อยู่ในรูปผลต่างกาลงั สอง

สมการกาลังสองตัวแปรเดียว การแก้สมการกาลังสองตัวแปรเดยี วโดยใช้การแยกตวั ประกอบ การ

แกโ้ จทยป์ ัญหาเก่ียวกบั สมการกาลงั สองตวั แปรเดยี วโดยใช้การแยกตัวประกอบ

การแปรผัน การแปรตรง การแปรผกผนั การแปรผันเกีย่ วเน่ือง การนาไปใช้ในการแก้ปัญหา

โดยใช้ความรู้ ทกั ษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี นการแก้ปัญหาในสถานการณต์ ่าง

ๆ ได้อย่างเหมาะสม โดยใช้วิธีการท่ีหลากหลายในการคิดคานวณการแก้ปัญหาการให้เหตุผลประกอบการ

ตดั สินใจและสรุปผลได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณติ ศาสตร์ในการสื่อสาร การส่ือ

ความหมายและการนาเสนอได้อย่างถูกต้องชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์และนาความรู้

หลกั การ กระบวนการทางคณติ ศาสตรไ์ ปเชื่อมโยงกับศาสตรอ์ ื่น ๆ

เหน็ คณุ ค่าและมีเจตคติที่ดตี อ่ คณติ ศาสตร์มีความใฝ่เรียนรู้ ความมุ่งม่ันในการทางาน ร้สู ามารถทางานอย่างเป็น

ระบบระ เบียบมีวินัยมีคว ามรอบคอบมีคว ามรับผิดชอบ มีความซื่อสัตย์สุจริตมีวิจารณญาณ

และมีความเช่ือมัน่ ในตนเองและใช้ในชวี ติ ประจาวันอย่างสร้างสรรค์

ผลกำรเรยี นรู้
๑. แยกตัวประกอบของพหนุ ามดกี รสี องโดยใชค้ ุณสมบัติการแจกแจงได้
๒. แยกตัวประกอบของพหนุ ามดีกรีสองท่อี ยูใ่ นรูป ax๒ + bx + c เมอ่ื a,b,cเป็นค่าคงตวั

และ a  0 ได้
๓. แยกตัวประกอบของพหุนามดกี รสี องท่ีอยู่ในรปู กาลังสองสมบรู ณไ์ ด้
๔. แยกตัวประกอบของพหุนามดกี รีสองทอี่ ยูใ่ นรปู ผลต่างของกาลงั สองได้
๕. แกส้ มการกาลังสองตวั แปรเดยี วโดยใชก้ ารแยกตวั ประกอบได้
๖. แก้โจทยป์ ญั หาเกี่ยวกับสมการกาลงั สองตัวแปรเดียวโดยใช้การแยกตัวประกอบได้

๗. เขยี นสมการแสดงการแปรผันระหวา่ งปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่แี ปรผันตอ่ กนั ได้
๘. แก้ปัญหาหรอื สถานการณท์ ี่กาหนดโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับการแปรผนั ได้
๙. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบทีไ่ ด้
รวมท้ังหมด ๙ ผลกำรเรียนรู้

๖๓

คำอธิบำยรำยวชิ ำเพิม่ เติม

ค ๒๓๒๐๑ คณติ ศำสตรเ์ พม่ิ เตมิ ๕ กลมุ่ สำระกำรเรียนร้คู ณิตศำสตร์

ชนั้ มัธยมศกึ ษำปที ี่ ๓ ภำคเรยี นท่ี ๑ จำนวน ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ

**********************************************************************************

ศกึ ษาคน้ คว้า ฝึกทักษะ/กระบวนการเก่ยี วกับเร่ืองดังต่อไปนี้

การบวก การลบ การคณู และการหารจานวนจริงทอี่ ยู่ในรปู a เมอื่ a  ๐
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยวิธีทาเป็นกาลังสองสมบูรณ์ การแยกตัวประกอบ

พหุนามดีกรีสูงกว่าสองท่ีมีสัมประสิทธ์ิเป็นจานวนเต็มโดยอาศัยวิธีทาเป็นกาลังสองสมบูรณ์หรือใช้ทฤษฎี
เศษเหลือ

การแก้สมการกาลังสองตัวแปรเดียวโดยใช้สูตร โจทย์ปัญหาสมการกาลังสองตัวแปรเดียวสมการ

พาราโบลา กราฟของสมการพาราโบลาทีอ่ ยใู่ นรปู y  ax 2  bx  c เม่ือ a  ๐
การหาพืน้ ที่ผวิ ของพรี ะมดิ กรวย และ ทรงกลม การแกป้ ญั หาหรอื สถานการณโ์ ดยใชค้ วามรู้เก่ียวกับปรมิ าตร
และพื้นทีผ่ ิว
โดยใช้ความรู้ ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
อย่างเหมาะสม โดยใช้วิธีการท่ีหลากหลายในการคดิ คานวณการแก้ปัญหาการใหเ้ หตผุ ลประกอบการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการส่ือสาร การสื่อ
ความหมายและการนาเสนอได้อย่างถูกต้องชัดเจน เช่ือมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์และนาความรู้
หลกั การ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเช่อื มโยงกับศาสตรอ์ ่ืน ๆ
เห็นคุณค่าและมเี จตคตทิ ่ีดีตอ่ คณิตศาสตร์มคี วามใฝ่เรียนรู้ ความมุ่งมัน่ ในการทางาน รสู้ ามารถทางานอย่างเป็น
ระบบระเบียบมีวินัยมีความรอบคอบมีความรับผิดชอบ มคี วามซื่อสตั ย์สุจริตมวี ิจารณญาณและมีความเชื่อมั่น
ในตนเองและใช้ในชีวติ ประจาวันอย่างสร้างสรรค์
ผลกำรเรยี นรู้

๑. นักเรยี นมคี วามรู้เกยี่ วกับเรือ่ งกรณฑ์ทสี่ อง แสดงการบวก ลบ คณู และหารจานวนจรงิ ทีอ่ ยู่ในรูป a
และนาความรู้เรื่อง กรณฑท์ สี่ องไปใช้ในการแก้ปัญหาได้

๒. นกั เรยี นมคี วามรู้เก่ยี วกับเรือ่ งการแยกตัวประกอบของพหนุ ามดีกรีสองที่อยใู่ นรปู กาลังสองสมบรู ณ์ ที่มี
สมั ประสิทธิเ์ ปน็ จานวนเตม็ และนาความรเู้ รอ่ื ง การแยกตัวประกอบของพหุนามไปใชใ้ นการแก้ปญั หาได้

๓. นกั เรียนมคี วามรู้เร่อื งสมการกาลงั สองตัวแปรเดียว และนาความรเู้ รอื่ งสมการกาลงั สองไปใชใ้ นการ
แกป้ ัญหาได้

๔. นกั เรียนมีความรเู้ ก่ียวกับเร่ือง พาราโบลา สมการพาราโบลา และกราฟของพาราโบลา และนาความรู้
เรือ่ งพาราโบลาไปใชใ้ นการแก้ปญั หาได้

๕. นกั เรียนมคี วามร้เู กีย่ วกับเร่อื ง ปรมิ าตรและพืน้ ทผี่ วิ และนาความรู้เรื่องปรมิ าตรและพนื้ ที่ผวิ ไปใช้ในการ
แกป้ ัญหาได้

รวมท้ังหมด ๕ ผลกำรเรียนรู้

๖๔

คำอธิบำยรำยวชิ ำเพิม่ เตมิ

ค ๒๓๒๐๒ คณิตศำสตร์เพิม่ เติม ๖ กลุ่มสำระกำรเรยี นรูค้ ณิตศำสตร์

ช้ันมัธยมศึกษำปที ี่ ๓ ภำคเรียนท่ี ๒ จำนวน ๒๐ ช่วั โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต

**********************************************************************************

ศกึ ษาค้นคว้า ฝกึ ทกั ษะ/กระบวนการเก่ียวกับเรอื่ งดังตอ่ ไปนี้

ความรู้พน้ื ฐานเก่ียวกับการให้เหตผุ ลทางเรขาคณิต ทฤษฎบี ทเก่ยี วกับรปู สามเหล่ยี มและรูปสี่เหลี่ยม

การสร้างระบบสมการดีกรีไม่เกินสอง โจทย์ปัญหาระบบสมการดีกรีไม่เกินสองวงกลม มุมท่ีจุดศูนย์กลาง

และมุมในส่วนโค้งของวงกลม คอร์ด เส้นสัมผัสวงกลมการบวก การลบ การคูณ และการหารเศษส่วน

ของพหุนามการแก้สมการเศษส่วนของพหุนามการแกป้ ญั หาเกี่ยวกับเศษสว่ นของพหนุ าม

โดยใช้ความรู้ ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์

ตา่ ง ๆ ได้อย่างเหมาะสม โดยใช้วิธีการท่หี ลากหลายในการคิดคานวณการแก้ปญั หาการให้เหตุผลประกอบการ

ตัดสินใจและสรปุ ผลได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณติ ศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อ

ความหมายและการนาเสนอได้อย่างถูกต้องชัดเจน เช่ือมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์และนาความรู้

หลกั การ กระบวนการทางคณติ ศาสตรไ์ ปเช่ือมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ

เห็นคุณค่าและมีเจตคตทิ ่ีดีตอ่ คณติ ศาสตร์มีความใฝ่เรียนรู้ ความมุ่งม่ันในการทางาน รู้สามารถทางานอย่างเป็น

ระบบระเบียบมีวินัยมีความรอบคอบมีความรับผิดชอบ มคี วามซ่ือสตั ย์สจุ ริตมีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่น

ในตนเองและใช้ในชีวิตประจาวันอยา่ งสรา้ งสรรค์

ผลกำรเรียนรู้
๑. นกั เรียนมคี วามรู้เรอ่ื ง การให้เหตผุ ลทางเรขาคณิต และนาความรู้เรอื่ ง การใหเ้ หตทุ างเรขาคณิตไปใช้
ในการแก้ปัญหาได้
๒. นกั เรยี นมคี วามรู้เก่ยี วกับเรอ่ื งระบบสมการ ท่ีมดี ีกรไี ม่เกนิ สอง และนาความรเู้ ร่ืองระบบสมการไปใช้
แก้ปัญหาได้
๓. นกั เรียนมีความรู้เก่ียวกบั เรื่อง เศษส่วนของพหุนาม และนาความเร่ืองเศษส่วนของพหนุ ามไปใชใ้ นการ
แกป้ ญั หาได้

รวมทงั้ หมด ๓ ผลกำรเรียนรู้

๖๕

รำยวิชำพน้ื ฐำน กล่มุ สำระกำรเรียนรวู้ ทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ระดับประถมศกึ ษำ

รำยวิชำพนื้ ฐำน จานวน ๘๐ ช่ัวโมง
ว ๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ จานวน ๘๐ ชั่วโมง
ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ จานวน ๘๐ ชว่ั โมง
ว ๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ จานวน ๘๐ ช่ัวโมง
ว ๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ จานวน ๘๐ ชั่วโมง
ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์ จานวน ๘๐ ชั่วโมง
ว ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์

๖๖

คำอธิบำยรำยวชิ ำพน้ื ฐำน

ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยำศำสตร์ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ชั้นประถมศกึ ษำปีที่ ๑ เวลำ ๘๐ ช่ัวโมง/ปี จำนวน ๒ หนว่ ยกิต

**********************************************************************************

ศึกษา วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างพชื และสัตว์ทอี่ าศยั อยบู่ ริเวณต่าง ๆ สภาพแวดลอ้ มท่ีเหมาะสม

กับการดารงชีวิตของพืชและสัตว์ในท้องถิ่น พร้อมกับระบุช่ือของพืชและสัตว์ท่ีอาศัยอยู่บริเวณน้ัน ๆ ได้

ลักษณะหน้าท่ีที่แตกต่างกัน ของโครงสร้างภายนอกของพืชและสัตว์ ความสาคัญของอวัยวะภายนอก

ของมนษุ ย์ ตลอดจนการดูแลรักษาสุขภาพ ลกั ษณะหรอื สมบตั ิของวัสดุที่ใช้ทาของเลน่ ของใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน

มหี ลายชนิด วัสดุแตล่ ะชนิดมสี มบัตแิ ตกตา่ งกัน สามารถนามาใชเ้ ปน็ เกณฑ์ในการจดั กลุ่มวัสดุได้ วัสดบุ างอยา่ ง

สามารถนามาประกอบกัน เพ่ือทาเป็นวัตถุต่าง ๆ ได้ เสียงเกิดจากการส่ันของวัตถุ วัตถุที่ทาให้เกิดเสียงเป็น

แหล่งกาเนิดเสียง ซ่ึงมีทง้ั แหล่งกาเนิดเสียงตามธรรมชาติและแหล่งกาเนิดเสียงท่ีมนุษย์สร้างขนึ้ เสียงเคลือ่ นที่

ออกจากแหล่งกาเนิดเสียงทุกทิศทาง บนท้องฟ้ามีดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาว ซึ่งในเวลากลางวัน

จะมองเห็นดวงอาทิตย์และอาจมองเห็นดวงจนั ทรบ์ างเวลาในบางวันแต่ไม่สามารถมองเหน็ ดาว ในเวลากลางวัน

มองไม่เห็นดาวส่วนใหญ่ เน่ืองจากแสงอาทิตย์สว่างกว่าจึงกลบแสงของดาว ส่วนในเวลากลางคืน

จะมองเห็นดาวและมองเหน็ ดวงจันทรเ์ กอื บทุกคืน

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ สงั เกต สารวจ ตรวจสอบ การสืบคน้ ข้อมูล

และการอภปิ ราย

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ การเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ Software หรือส่ือ

โดยใช้เทคโนโลยใี นการสร้าง จัดเก็บ เรียกใช้ตามวัตถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติ

ตามข้อตกลงในการใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกัน สามารถสื่อสารส่ิงที่เรียนรู้ได้ มีความสามารถในการตัดสินใจ

เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม

และค่านยิ มทีเ่ หมาะสม

รหัสตัวช้ีวดั
ว ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ว ๑.๒ ป.๑/๑ ป.๑/๒
ว ๒.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒
ว ๒.๓ ป.๑/๑
ว ๓.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒
ว ๓.๒ ป.๑/๑
ว ๔.๒ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓ ป.๑/๔ ป.๑/๕
รวมทัง้ หมด ๑๕ ตัวชี้วัด

๖๗

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพ้ืนฐำน

ว ๑๒๑๐๑ วิทยำศำสตร์ ๒ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ชั้นประถมศกึ ษำปที ี่ ๒ เวลำ ๘๐ ชว่ั โมง/ปี จำนวน ๒ หน่วยกิต

**********************************************************************************

คน้ คว้าเก่ียวกบั ความต้องการปัจจยั ต่างๆในการดารงชีวติ และการเจรญิ เตบิ โตของพืช สัตว์ และมนษุ ย์

การตอบสนองท่ีมีต่อแสง อุณหภูมิและการสัมผัส ประโยชน์ของพืชและสัตว์ที่มีต่อมนุษย์ในแง่ปัจจัยสี่

ชนิดและสมบัติของวัสดุท่ีนามาทาเปน็ ของเล่น การเลือกวัสดุและสิ่งของสาหรับใช้งาน แรงที่เกิดจากแมเ่ หล็ก

และการใช้ประโยชน์ แรงไฟฟ้าท่ีเกิดจากการถูวัตถุ พลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอร่ี การเปล่ียนพลังงานไฟฟา้ เป็น

พลังงานอ่นื ของเครอื่ งใช้ไฟฟ้า การจาแนกประเภทของดนิ ตามสมบัติทางกายภาพ เป็นดินร่วน ดินเหนียว ดิน

ทราย ความสาคัญของดวงอาทิตย์ที่เป็นแหล่งกาเนิดพลังงานความร้อน พลังงานแสง และประโยชน์

ของพลังงานท่ีมีต่อการดารงชีวติ ของสิง่ มีชีวติ

โดยใช้กระบวนการและทักษะทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการคิด การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจ

ตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การบันทึก จัดกลุ่มข้อมูล การอภิปราย การต้ังคาถามในการเรียนรู้ การนาเสนอ

ขอ้ มูล

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ การเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ Software หรือสื่อ

โดยใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดเก็บ เรียกใช้ตามวัตถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติ

ตามขอ้ ตกลงในการใช้คอมพิวเตอร์รว่ มกนั ดูแลรกั ษาอปุ กรณเ์ บ้อื งต้น ใชง้ านอย่างเหมาะสม สามารถส่ือสารสิ่ง

ท่ีเรียนรู้ได้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน

มจี ิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมที่เหมาะสม

รหสั ตวั ช้ีวดั
ว ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ว ๑.๓ ป.๒/๑
ว ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ว ๒.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๔.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
รวมท้ังหมด ๑๖ ตัวช้วี ดั

๖๘

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพ้ืนฐำน

ว ๑๓๑๐๑ วทิ ยำศำสตร์ ๓ กลุ่มสำระกำรเรียนรวู้ ทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๓ เวลำ ๘๐ ชั่วโมง/ปี จำนวน ๒ หน่วยกติ

**********************************************************************************

ศึกษาวิเคราะห์ลักษณะต่างๆของสิ่งมีชีวิต เปรียบเทียบและระบุลักษณะที่คล้ายคลึงกันของพ่อแม่

กบั ลูก การถา่ ยทอดลักษณะทางพันธกุ รรม การปรับตัวของสิ่งมีชีวิตใหเ้ ขา้ กับสภาพแวดล้อมเพื่อความอยูร่ อด

และการดารงพันธุ์ ส่ิงแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ

และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถ่ิน ปัญหาส่ิงแวดล้อมท่ีเกิดจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ การดูแล

และใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างประหยัดและคุ้มค่า ชนิดและสมบัติของวัสดุที่เป็นส่วนประกอบของของเล่น

ของใช้ การเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนกับวัสดุ เมื่อถูกแรงกระทาหรือทาให้ร้อนข้ึนหรือเย็นลง ประโยชน์

และอันตรายท่ีเกิดขึ้นจากการเปล่ียนแปลงของวัสดุ แรงที่กระทาต่อวัตถุ แรงโน้มถ่วงหรือแรงดึงดูดของโลก

กระทาต่อวัตถุ พลังงานธรรมชาติที่ใช้ผลิตไฟฟ้า ความสาคัญของพลังงานไฟฟ้าแ ละวิธีการใช้ไฟฟ้า

อย่างประหยัดและปลอดภัย สมบัติทางกายภาพของน้าจากแหล่งน้าในท้องถนิ่ ส่วนประกอบและความสาคัญ

ของอากาศ การเคล่ือนท่ีของอากาศ การขึ้น – ตกของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ การเกิดกลางวัน กลางคืน

การกาเนิดทศิ

โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้น

ข้อมูล การอธิบาย และการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสาร

ส่งิ ท่เี รียนรู้ มีความสามารถในการตดั สนิ ใจได้ดยี ิ่งขึน้ เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ แสดงอลั กอรทิ ึม

ในการทางานหรือการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใชภ้ าพ สัญลกั ษณ์ หรอื ข้อความ เขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้

ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ รวบรวม ประมวลผล

และนาเสนอข้อมูล โดยใช้ซอฟต์แวร์ตามวัตถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติตาม

ขอ้ ตกลงในการใช้อนิ เทอรเ์ น็ต

สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ได้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน

ชวี ติ ประจาวัน มจี ิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านยิ มที่เหมาะสม

รหัสตวั ช้ีวัด

ว ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔

ว ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒

ว ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔

ว ๒.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓

ว ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓

ว ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔

ว ๔.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕

รวมตัวชวี้ ัด ๒๕ ตัวชี้วัด

๖๙

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพืน้ ฐำน

ว ๑๔๑๐๑ รำยวชิ ำวิทยำศำสตร์ ๔ กล่มุ สำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ชัน้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๔ เวลำ ๘๐ ชว่ั โมง/ปี จำนวน ๒ หน่วยกิต

**********************************************************************************

ทดลองและอธิบายส่วนต่าง ๆ ของพืชที่ทาหน้าที่แตกต่างกัน ส่ิงมีชีวิตมีหลายชนิด สามารถจัดกลุ่ม

ได้ โดยใช้ความเหมือนและความแตกต่างของลกั ษณะตา่ ง การจาแนกพืช สามารถใช้การมีดอกเป็นเกณฑไ์ ดพ้ ืช

ดอกและพืชไมม่ ีดอก การจาแนกสัตว์ สามารถใช้การมีกระดูกสันหลัง เป็นเกณฑ์ ได้เปน็ สัตว์มกี ระดูกสันหลัง

และสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติทางกายภาพแตกต่างกัน วัสดุเป็นสสารเพราะมีมวล

และต้องการท่ีอยู่ มวล คือ ปริมาณเน้ือของสสารท้ังหมดที่ประกอบกันเป็นวัตถุ แรงโน้มถ่วงของโลกเป็นแรง

ดึงดูดท่ีโลกกระทาต่อวัตถุ มีทิศทางเข้าสู่ศูนย์กลางโลก เม่ือมองสิ่งต่าง ๆ โดยมีวัตถุต่างชนิดกันมาก้ันแสง

จะทาให้ลักษณะการมองเห็นสิ่งนั้น ๆ ชดั เจนต่างกัน ๆ ดวงจนั ทรเ์ ป็นบริวารของโลก โดยดวงจันทร์หมุนรอบ

ตัวเองขณะโคจรรอบโลก ขณะท่โี ลกก็หมุนรอบตัวเองดว้ ยเช่นกัน การหมุนรอบตวั เองของโลกจากทิศตะวันตก

ไปทิศตะวนั ออกในทศิ ทางทวนเขม็ นาฬกิ าเม่ือมองจากข้ัวโลกเหนือ ทาให้มองเห็นดวงจันทรป์ รากฏข้นึ ทางด้าน

ทิศตะวันออกและตกทางด้านทิศตะวันตกหมุนเวียนเป็นแบบรูปซ้า ๆ การใช้เหตุผลเชิงตรรกะเป็นการนา

กฎเกณฑ์ หรือเง่ือนไขที่ครอบคลุมทุกกรณีมาใช้พิจารณาในการแก้ปัญหา อธิบายการทางาน

หรือการคาดการณ์ผลลัพธ์ การออกแบบโปรแกรมอย่างง่าย การเขยี นโปรแกรมเป็นการสร้างลาดับของคาสั่ง

ให้คอมพิวเตอร์ทางาน เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตาม ความต้องการ หากมีข้อผิดพลาดให้ตรวจสอบ การทางาน

ทีละคาสั่ง เม่ือพบจุดท่ีทาให้ผลลัพธ์ไม่ถูกต้อง ให้ทาการแก้ไขจนกว่าจะได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง การใช้คาค้น

ท่ีตรงประเด็น กระชับ จะทาให้ได้ ผลลัพธ์ที่รวดเร็วและตรงตามความต้องการ การประเมินความน่าเชื่อถือ

ของข้อมูล เม่ือได้ข้อมูลท่ีต้องการจากเว็บไซต์ต่าง ๆ รวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ

โดยใช้ซอฟต์แวรท์ หี่ ลากหลาย เพ่ือแก้ปญั หาในชวี ิตประจาวัน

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การสารวจ

ตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การแกป้ ัญหา และการอภิปราย เพอ่ื ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ใช้เหตุผล

เชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จากปัญหาอย่าง่าย ออกแบบ

และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใชซ้ อฟตแ์ วร์หรือสอื่ และตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดและแกไ้ ข ใช้อินเทอรเ์ น็ตค้นหา

ความรู้ และประเมินความน่าเชื่อถอื ของข้อมูล รวบรวมประเมนิ นาเสนอขอ้ มลู และสารสรเทศโดยใช้ซอฟต์แวร์

ทหี่ ลากหลาย เพอื่ แกป้ ัญหาในชีวิตประจาวนั ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั

เข้าใจสทิ ธแิ ละหนา้ ที่ของตน เคารพในสิทธิของผูอ้ น่ื แจง้ ผู้เกี่ยวขอ้ งเมอ่ื พบขอ้ มูลหรอื บคุ คล ที่

ไม่เหมาะสม สามารถส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์

จรยิ ธรรม คณุ ธรรม คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ค่านยิ มท่ีดีตอ่ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอยา่ งสรา้ งสรรค์

๗๐

รหสั ตวั ช้วี ดั
ว ๑.๒ ป.๔/๑
ว ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๒.๓ ป.๔/๑
ว ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕
รวมตวั ชี้วัด ๒๑ ตวั ช้วี ดั

๗๑

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำวทิ ยำศำสตร์พืน้ ฐำน

ว ๑๕๑๐๑ รำยวิชำวทิ ยำศำสตร กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ช้ันประถมศกึ ษำปที ่ี ๕ เวลำ ๘๐ ชวั่ โมง/ปี จำนวน ๒ หนว่ ยกิต

....................................................................................................................................... ............................

ศึกษาส่วนประกอบของดอกและโครงสร้างท่ีเก่ียวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืชดอก การจาแนกพืช

ออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอก พืชดอกที่เป็นพืชใบเล้ียงเดี่ยว และพืชใบเล้ียงคู่ โดยใช้ลักษณะภายนอก

เปน็ เกณฑ์ การขยายพนั ธ์ุพชื วัฏจักรชีวติ ของพืชดอกบางชนดิ การสืบพันธ์แุ ละการขยายพนั ธุ์ของสตั ว์ วัฏจักร

ชีวิตของสัตว์บางชนิด จาแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มโดยใช้ลักษณะภายในบางลักษณะและลักษณะภายนอก

เปน็ เกณฑ์ ลักษณะของตนเองกับคนในครอบครัว การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของส่ิงมชี ีวิตในแต่ละรุ่น

สมบัติของวัสดุชนิดต่างๆ เก่ียวกับความยืดหยุ่น ความแข็ง ความเหนียว การนาความร้อน การนาไฟฟ้า

และความหนาแน่น การนาวัสดุไปใช้ในชีวิตประจาวัน การหาแรงลัพธ์ของแรงสองแรง ซ่ึงอยู่ในแนวเดียวกัน

ท่ีกระทาต่อวัตถุ ความดันอากาศ ความดันของของเหลว แรงพยุงของของเหลว การลอยตัว และการจม

ของวัตถุ แรงเสียดทานและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ การเกิดเสียงและการเคล่ือนท่ีของเสยี ง การเกิดเสียงสูง

เสียงต่า เสียงดัง เสียงค่อย อนั ตรายท่ีเกิดขึ้นเม่ือฟังเสียงดังมากๆ การเกิดเมฆ หมอก น้าค้าง ฝนและลูกเห็บ

การเกิดวัฏจักรน้า การวัดอุณหภูมิความชื้น และความกดอากาศ การเกิดลม การเกิดทิศ และปรากฏการณ์

การข้ึนตกของดวงดาวโดยใช้แผนทดี่ าว

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทดลอง สังเกต จาแนก ระบุ และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบ

เสาะหาความรู้ การแก้ไขปัญหา โดยตั้งคาถาม เก่ียวกับประเด็น หรือเรื่อง หรือสถานการณ์ที่จะศึกษา

ตามที่กาหนดให้และตามความสนใจ เลือกอุปกรณ์ท่ีถูกต้องเหมาะสมในการสารวจตรวจสอบให้ได้ข้อมูล

ที่เช่ือถือได้ บันทึกข้อมูลในเชิงปริมาณและคุณภาพ และตรวจสอบผลกับส่ิงที่คาดคะเนไว้ นาเสนอข้อมูล

และสรุป สร้างคาถามใหม่เพื่อการสารวจตรวจสอบต่อไป แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบาย และสรุป

สิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ บันทึกและอธิบายผลการสารวจตรวจสอบตามความเป็นจริง มีการอ้างอิง นาเสนอ

จัดแสดงผลงานโดยอธิบายดว้ ยวาจา หรือเขียนอธบิ ายแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อ่ืนเข้าใจ เพอ่ื ให้

เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทางาน การคาดการณ์

ผลลัพธ์ จากปัญหาอย่างง่าย ออกแบบ และเขียนโปรแกรมท่ีมีการใช้เหตุผลเชิงตรรกะอย่างง่ายตรวจหา

ข้อผิดพลาดและแก้ไข ใช้อินเตอร์เน็ตค้นหาข้อมลู ตดิ ต่อสอื่ สารและทางานร่วมกัน ประเมนิ ความน่าเชือ่ ถอื ของ

ข้อมูล รวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศตามวัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบน

อนิ เทอร์เน็ตท่ีหลากหลาย

สามารถแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีมารยาทเข้าใจสิทธิ

และหนา้ ทข่ี องตน เคารพในสิทธิของผู้อน่ื แจง้ ผู้เกีย่ วข้องเม่ือพบขอ้ มูลหรอื บุคคลท่ีไม่เหมาะสม สามารถสอื่ สาร

ส่ิงท่ีเรียนรู้ได้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ในชวี ิตประจาวนั มีจิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านยิ มทีเ่ หมาะสม

๗๒

รหสั ตวั ช้วี ัด
ว ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ว ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๒.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ว ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๒.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
รวมตัวชีว้ ดั ๓๒ ตัวชีว้ ดั

๗๓

คำอธิบำยรำยวิชำพน้ื ฐำน

ว ๑๖๑๐๑ รำยวชิ ำวทิ ยำศำสตร์ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรวู้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ช้นั ประถมศกึ ษำปีท่ี ๖ เวลำ ๘๐ ชัว่ โมง/ปี จำนวน ๒ หน่วยกติ

...................................................................................................................................................................

ศึกษาและเข้าใจการเจริญเติบโตของมนุษย์จากวัยแรกเกิ ดจนถึงวัยผู้ใหญ่ การทางานที่สัมพันธ์กัน

ของระบบย่อยอาหาร ระบบหายใจ และระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย์ สารอาหาร และความจาเป็น

ที่ร่างกายต้องได้รับสารอาหารในสัดส่วนท่ีเหมาะสมกับเพศและวัยเพื่อการเจริญเติบโต และการดารงชีวิ ต

ความสัมพันธ์ของกลุ่มส่ิงมีชีวิตในแหล่งที่อยู่ต่าง ๆ ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในรูปแบบของโซ่อาหาร

และสายใยอาหารการถ่ายทอดพลังงาน จากผู้ผลิตสู่ผู้บริโภค การดารงชีวิต ของสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อม

ในท้องถิ่น การปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมเพ่ือหาอาหารและมีชีวิตอยู่รอด ทรัพยากรธรรมชาติ

ในแต่ละท้องถิ่นท่ีเป็นประโยชน์ต่อการดารงชีวิต การเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์ที่มีผลต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ

ผลของส่ิงมีชีวิตจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมท้ังโดยธรรมชาติ และโดยมนุษย์ แนวทางในการดูแลรักษา

ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในท้องถ่ินอย่างย่ังยืน สมบัติของสารในสถานะของแข็ง ของเหลว

และกา๊ ซ การจาแนกสารเป็นกล่มุ โดยใช้สถานะหรือเกณฑท์ ี่กาหนด การแยกสารบางชนิดท่ีผสมกัน โดยวธิ ีการ

ที่เหมาะสม และการจาแนกประเภทของสารตา่ ง ๆ ที่ใช้ในชีวิตประจาวันโดยใช้สมบัติ และการใช้ประโยชน์ ของสาร

เป็นเกณฑ์ สามารถเลือกใช้สารไดอ้ ย่างถูกต้องและปลอดภัย สมบตั ิของสาร เมอ่ื สารเกิดการละลายการเปลย่ี น

สถานะ ทาให้เกดิ สารใหม่ ผลกระทบต่อส่งิ มชี ีวิต และสิ่งแวดลอ้ ม การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ตัวนาไฟฟ้า ฉนวนไฟฟ้า

การต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม การต่อหลอดไฟฟ้า แบบอนุกรมและแบบขนาน การเกิดสนามแม่เหล็กรอบ

สายไฟที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ประเภทของหิน ลักษณะและสมบัติของหิน สี เน้ือหิน ความแข็ง และความ

หนาแน่น การจาแนกหินตามลกั ษณะการเกิด การเปล่ียนแปลงของหิน การเกดิ ธรณพี ิบตั ิภัยที่มผี ลกระทบต่อมนุษย์

และสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น การเกิดฤดูกาล ข้างขึ้นข้างแรม สุริยุปราคา จันทรุปราคา การโคจรของโลก

รอบดวงอาทิตย์ และการโคจรของดวงจันทร์รอบโลก ความก้าวหน้าและประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ

จรวด ดาวเทียม และยานอวกาศ การพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศด้านการสารวจทรัพยากรธรรมชาติด้านการแพทย์

และดา้ นอืน่ ๆ

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ อธิบาย อภิปราย วิเคราะห์ สารวจ สืบค้น

ข้อมูล ทดลอง สร้างแบบจาลอง จัดจาแนก และมีส่วนร่วมในการปฏิบัติเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด

ความเข้าใจ สามารถส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้ และมีความสามารถในการตัดสินใจ ใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในการอธิบาย

และออกแบบวิธีการแกป้ ญั หาทพี่ บในชวี ติ ประจาวัน ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างา่ ย

สามารถแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรมและแก้ไข ใช้อินเตอร์เน็ต

ในการค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางานร่วมกันอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิ

และหน้าท่ีของตน เคารพในสิทธิของผู้อื่น มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยม

ที่พึงประสงค์ แจ้งผู้เก่ียวข้องเม่ือพบข้อมูลหรือบุคคลที่ไม่เหมาะสม สามารถส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้ได้

มีความสามารถในการตัดสนิ ใจ เห็นคณุ ค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์

จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านิยมทเ่ี หมาะสม

๗๔

รหัสตัวชี้วดั
ว ๑.๒ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ป.๖/๔ ป.๖/๕
ว ๒.๑ ป.๖/๑
ว ๒.๒ ป.๖/๑
ว ๒.๓ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ป.๖/๔ ป.๖/๕ ป.๖/๖ ป.๖/๗ ป.๖/๘
ว ๓.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒
ว ๓.๒ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ป.๖/๔ ป.๖/๕ ป.๖/๖ ป.๖/๗ ป.๖/๘ ป.๖/๙
ว ๔.๒ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ป.๖/๔
รวมทง้ั หมด ๓๗ ตวั ชี้วัด

๗๕

รำยวิชำพ้ืนฐำนและเพิ่มเติม กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ระดบั มัธยมศกึ ษำตอนต้น

รำยวิชำพ้ืนฐำน หน่วยกติ เวลำ
ว ๒๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ จานวน ๑.๕ ๖๐ ชว่ั โมง
ว ๒๑๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ จานวน ๑.๕ ๖๐ ชว่ั โมง
ว ๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ จานวน ๑.๕ ๖๐ ชว่ั โมง
ว ๒๒๑๐๒ วิทยาศาสตร์ จานวน ๑.๕ ๖๐ ชั่วโมง
ว ๒๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ จานวน ๑.๕ ๖๐ ช่วั โมง
ว ๒๓๑๐๒ วิทยาศาสตร์ จานวน ๑.๕ ๖๐ ชั่วโมง

รำยวิชำเพิม่ เติม หน่วยกิต เวลำ
๒๐ ชว่ั โมง
ว ๒๑๒๐๑ วิทยาศาสตรก์ บั ชวี ติ ๑ จานวน ๐.๕
๒๐ ชั่วโมง
ว ๒๑๒๐๒ วิทยาศาสตรก์ ับชีวิต ๒ จานวน ๐.๕ ๒๐ ชวั่ โมง
๒๐ ชวั่ โมง
ว ๒๒๒๐๑ วิทยาศาสตรก์ บั ชีวติ ๓ จานวน ๐.๕ ๒๐ ชั่วโมง
๒๐ ชว่ั โมง
ว ๒๒๒๐๒ วิทยาศาสตรก์ ับชวี ิต ๔ จานวน ๐.๕

ว ๒๓๒๐๑ วิทยาศาสตรก์ บั ชีวิต ๕ จานวน ๐.๕

ว ๒๓๒๐๒ วทิ ยาศาสตร์กับชีวติ ๖ จานวน ๐.๕

รำยวิชำเพม่ิ เตมิ หน่วยกติ เวลำ
ว ๒๑๒๐๓ คอมพิวเตอรส์ ารสนเทศ ๑ จานวน ๐.๕ ๒๐ ช่ัวโมง
ง ๒๑๒๐๔ คอมพิวเตอร์สารสนเทศ ๒ จานวน ๐.๕ ๒๐ ชั่วโมง
ง ๒๒๒๐๓ คอมพวิ เตอร์สารสนเทศ ๑ จานวน ๐.๕ ๒๐ ชั่วโมง
ง ๒๒๒๐๔ คอมพวิ เตอร์สารสนเทศ ๒ จานวน ๐.๕ ๒๐ ชว่ั โมง
ง ๒๓๒๐๓ คอมพิวเตอรส์ ารสนเทศ ๑ จานวน ๐.๕ ๒๐ ชวั่ โมง
ง ๒๓๒๐๔ คอมพิวเตอร์สารสนเทศ ๒ จานวน ๐.๕ ๒๐ ชัว่ โมง

๗๖

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพนื้ ฐำน

ว ๒๑๑๐๑ รำยวชิ ำพน้ื ฐำน วิทยำศำสตร์ กล่มุ สำระกำรเรียนรวู้ ทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ชน้ั มธั ยมศึกษำปีที่ ๑ ภำคเรียนที่ ๑ เวลำ ๖๐ ชัว่ โมง จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกิต

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ระบุ บรรยาย อธบิ าย รูปรา่ งและโครงสรา้ งของเซลล์พชื และเซลลส์ ตั ว์ หน้าทีข่ องผนังเซลล์ เย่ือหุ้มเซลล์

ไซโทพลาซึม นิวเคลียส แวคิวโอล ไมโทคอนเดรีย และคลอโรพลาสต์ ความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่าง

กับการทาหน้าที่ของเซลล์ การจัดระบบของส่ิงมีชีวิต โดยเร่ิมจากเซลล์ เนื้อเย่ือ อวัยวะ ระบบอวัยวะ

จนเป็นสิ่งมีชีวิต กระบวนการแพร่และออสโมซิส การสังเคราะห์ด้วยแสงและผลผลิตท่ีเกิดข้ึนจากการ

สังเคราะห์ด้วยแสง ความสาคัญของการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต่อส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม ลักษณะ

และหนา้ ทีข่ องไซเล็มและโฟลเอ็ม ทศิ ทางการลาเลียงสารในไซเล็มและโฟลเอม็ ของพืช การสืบพนั ธุ์แบบอาศัย

เพศและไม่อาศัยเพศของพชื ดอก ลักษณะโครงสรา้ งของดอกทมี่ ีสว่ นทาให้เกิดการถา่ ยเรณู การปฏสิ นธิของพืช

ดอก การเกิดผลและเมล็ด การกระจายเมล็ด และการงอกของเมล็ด ความสาคญั ของธาตุอาหารบางชนิดทีม่ ผี ล

ต่อการเจริญเติบโตและการดารงชีวิตของพืช ความสาคัญของเทคโนโลยีการเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือพืชในการใช้

ประโยชน์ด้านต่างๆ สมบัติทางกายภาพบางประการของธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ การจัดกลุ่มธาตุ

เป็นโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ จุดเดือด จุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารผสม ความหนาแน่นของสาร

บริสุทธ์ิและสารผสม ความสัมพันธ์ระหว่างอะตอม ธาตุ และสารประกอบ โครงสร้างอะตอมท่ีประกอบด้วย

โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน การจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค และการเคล่ือนที่

ของอนุภาคของสสารชนิดเดียวกัน ในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงาน

ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสสาร แนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจาวัน ปัญหา

หรือความต้องการในชีวิตประจาวันโดยมีการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ท่ีได้จากการสังเกตและการทดสอบ

และใชส้ ารสนเทศท่ีได้จากแหล่งข้อมลู ต่างๆ

วิเคราะห์ เปรียบเทียบ เขียนแผนภาพ เลือกวิธีการใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงศึกษาเซลล์และโครงสร้าง

ต่างๆ ภายในเซลล์ เลือกใช้ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารเหมาะสมกับพืชในสถานการณ์ที่กาหนด วิธีการขยายพันธ์ุพืช

ให้เหมาะสมกับความต้องการของมนุษย์ โดยใช้ความรู้เก่ียวกับการสืบพันธุ์ของพืช ผลจากการใช้ธาตุโลหะ

อโลหะ และก่ึงโลหะ และธาตุกัมมันตรังสี ท่ีมีต่อสิ่งมีชีวิต สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคม จากข้อมูล

ท่ีรวบรวมได้ การวัดอุณหภูมิ เขียนกราฟ แปลความหมายข้อมูลจากกราฟหรือสารสนเทศ ความหนาแน่น

ของสารบริสุทธิ์และสารผสม ใช้เคร่ืองมือเพื่อวัดมวลและปริมาตรของสารบริสุทธ์ิและสารผสม การจัดเรียง

อนุภาค แรงยดึ เหนย่ี วระหว่างอนุภาค และการเคล่ือนที่ของอนุภาคของสสารชนดิ เดียวกัน ในสถานะของแข็ง

ของเหลว และแก๊ส การใช้แบบจาลองและสารสนเทศ สาเหตุหรือปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง

ของเทคโนโลยี การรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เก่ียวข้องกับปัญหา การออกแบบวิธีการแก้ปัญหา

โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลท่ีจาเป็น การนาเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ

การวางแผนและดาเนินการแก้ปญั หา การทดสอบ ประเมินผล และระบุข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น การหาแนวทาง

การปรับปรุง แก้ไข และนาเสนอผลการแก้ปัญหา การใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ

กลไก ไฟฟ้า หรืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เพ่ือแกป้ ญั หาไดอ้ ย่างถกู ต้อง เหมาะสมและปลอดภัย

๗๗

ตระหนักในคุณค่าของพืชท่ีมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ความสาคัญของสัตว์ที่ช่วยในการถ่ ายเรณู
ของพืชดอก ประโยชน์ของการขยายพันธ์ุพืช นาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน คุณค่าของการใช้ธาตุโลหะ
อโลหะ กงึ่ โลหะ ธาตกุ มั มันตรงั สี มจี ติ วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคานยิ มทีเ่ หมาะสม

รหัสตัวช้ีวดั
ว ๑.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙, ม.๑/๑๐, ม.๑/๑๑,
ม.๑/๑๒, ม.๑/๑๓, ม.๑/๑๔, ม.๑/๑๕, ม.๑/๑๖, ม.๑/๑๗, ม.๑/๑๘
ว ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙, ม.๑/๑๐
ว ๔.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕
รวมทัง้ หมด ๓๓ ตัวช้ีวัด

๗๘

คำอธิบำยรำยวชิ ำพนื้ ฐำน

ว๒๑๑๐๒ รำยวิชำพ้ืนฐำน วทิ ยำศำสตร์ กลุม่ สำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ช้นั มัธยมศึกษำปที ่ี ๑ ภำคเรียนท่ี ๒ เวลำ ๖๐ ชัว่ โมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความดันอากาศกับความสูงจากพ้ืนโลก ปริมาณความร้อนที่ทาให้สสาร

เปลี่ยนอุณหภูมิและเปลี่ยนสถานะ การหดและขยายตัวของสสารเนื่องจากความร้อน การถ่ายโอนความร้อน

การถ่ายโอนความร้อนโดยการนาความร้อน การพาความร้อน การแผ่รังสีความร้อน การแบ่งช้ันบรรยากาศ

ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ กระบวนการเกิดพายุ ฝนฟ้าคะนอง

และพายหุ มุนเขตร้อนและผลที่มีตอ่ สิ่งมีชีวติ และส่ิงแวดล้อม การพยากรณ์อากาศ สถานการณ์และผลกระทบ

การเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศโลก

เปรียบเทยี บ ออกแบบอัลกอริทมึ เขียนโปรแกรมอย่างง่าย เลือกใช้และสร้างอุปกรณ์ สร้างแบบจาลอง

วเิ คราะห์ แปลความหมายข้อมูล คานวณ เสนอแนะวิธกี ารนาความรู้มาแก้ปัญหา การรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ

ประมวลผล ประเมินผล นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศตามวัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบน

อินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ใช้ส่ือและแหล่งข้อมูลตามข้อกาหนด

และข้อตกลง การใช้เทอรม์ อมิเตอร์ในการวดั อุณหภมู ิของสสาร การถ่ายโอนความร้อน ปริมาณความรอ้ นท่ีถา่ ย

โอนระหว่างสสารจนเกิดสมดุลความร้อน การแบ่งช้ันบรรยากาศ ประโยชน์ของบรรยากาศ การพยากรณ์

อากาศอยา่ งงา่ ยจากข้อมลู ท่รี วบรวม แนวทางการปฏิบัติตนใหเ้ หมาะสมและปลอดภัยการแกป้ ญั หาหรืออธิบาย

การทางานทีพ่ บในชีวติ จรงิ ปญั หาทางคณติ ศาสตร์ หรอื วิทยาศาสตร์ กระบวนการ

เทคโนโลยีและระดับของเทคโนโลยี มีความคิดสรา้ งสรรค์ในการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ สร้างสิ่งของ

เครื่องใช้หรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างถูกต้องและปลอดภัย การประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่ง

จากวัสดุในท้องถ่ิน และการเลอื กใช้เทคโนโลยีอยา่ งสร้างสรรค์ตอ่ ชีวติ สงั คม สง่ิ แวดล้อม เข้าใจหลกั การทางาน

บทบาทและประโยชนข์ องคอมพิวเตอร์

ตระหนักถึงคุณค่าของการพยากรณ์อากาศโดยนาเสนอแนวทางการปฏิบัติตนและการใช้ประโยชน์

จากคาพยากรณ์อากาศ ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกโดยนาเสนอแนวทางการปฏิบัติตน

ภายใต้การเปล่ียนแปลงภูมอิ ากาศโลก มจี ิตวทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคานิยมทเ่ี หมาะสม

รหัสตัวช้ีวัด
ว ๒.๒ ม.๑/๑
ว ๒.๓ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ม.๑/๔ , ม.๑/๕ ,ม.๑/๖ , ม.๑/๗

ว ๓.๒ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗
ว ๔.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ , ม.๑/๓
ว ๔.๒ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒ ,ม.๑/๓ ,ม.๑/๔
รวมทงั้ หมด ๒๒ ตัวช้ีวัด

๗๙

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพนื้ ฐำน

ว๒๒๑๐๑ รำยวิชำวทิ ยำศำสตร์ ๓ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ชน้ั มัธยมศกึ ษำปที ี่ ๒ ภำคเรยี นที่ ๑ เวลำ ๖๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกิต

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

อธิบายโครงสร้างและการทางานของระบบย่อยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ ระบบ

ขับถ่าย ระบบสืบพันธุ์ ของมนุษย์และสัตว์ รวมทั้งระบบประสาทของมนุษย์ ความสัมพันธ์ของระบบต่างๆ

ของมนษุ ย์พฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอกและภายในหลักการและผลของการใช้

เทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ และเพิ่มผลผลิตของสัตว์ในท้องถิ่น สารอาหารในอาหาร

มีปริมาณพลังงานและสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศ วัย ผลของสารเสพติดต่อระบบต่าง ๆ ของร่างกาย

และแนวทางในการป้องกันตนเองจากสารเสพติด องค์ประกอบ สมบัตขิ องธาตุและสารประกอบ เปรียบเทียบ

สมบัติของธาตุโลหะ ธาตุอโลหะ ธาตุกึ่งโลหะและธาตุกัมมันตรังสี หลักการแยกสารด้วยวิธีการกรอง การตก

ผลึก การสกัด การกลนั่ และโครมาโทกราฟี การเปลีย่ นแปลงสมบัติ มวล และพลังงานเมอ่ื สารเกดิ ปฏิกิริยาเคมี

ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี เขียนสมการเคมีของปฏิกิริยาของสารต่าง ๆ ผลของสารเคมีผลกระทบ

ของสารเคมีจากแหลง่ เกษตรกรรมท่ีมผี ลต่อสิ่งมชี ีวติ และสง่ิ แวดลอ้ ม ปฏิกิริยาเคมีต่อส่ิงมีชีวติ และสิ่งแวดล้อม

การใช้สารเคมอี ย่างถูกต้อง ปลอดภัย วธิ ีป้องกันและแก้ไขอันตรายทเ่ี กิดขน้ึ จากการใชส้ ารเคมี

ทดลองสารอาหารในอาหารมปี ริมาณพลังงานและสัดส่วนทเี่ หมาะสมกบั เพศ วัย หลักการแยกสารด้วย

วธิ ีการกรอง การตกผลึก การสกดั การกลัน่ และโครมาโทกราฟกี ารเปลย่ี นแปลงสมบัติ มวล และพลังงานเม่ือ

สารเกิดปฏิกิริยาเคมี ปจั จัยท่มี ผี ลต่อการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี เขยี นสมการเคมีของปฏิกิรยิ าของสารต่าง ๆ สืบค้น

ขอ้ มูลเปรยี บเทียบสมบตั ิของธาตโุ ลหะ ธาตุอโลหะ ธาตุก่ึงโลหะและธาตกุ ัมมันตรังสี ผลของสารเคมี ปฏิกริ ิยา

เคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม การใช้สารเคมีอย่าถูกต้อง ปลอดภัย วิธีป้องกันและแก้ไขอันตราย

ท่ีเกิดข้ึนจากการใช้สารเคมี พิจารณาสาเหตุ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี คาดการณ์

แนวโน้มเทคโนโลยี ท่ีจะเกิดข้ึน วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยี ผลกระทบท่ีเกิดขึ้น

ต่อชีวิต สังคมและสิ่งแวดล้อม ระบุปัญหาหรือความต้องการในชุมชนหรือท้องถิ่น รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล

และแนวคดิ ท่ีเกยี่ วขอ้ งกับปัญหาออกแบบวิธกี ารแก้ปญั หา โดยวเิ คราะหเ์ ปรียบเทยี บ และตดั สนิ ใจเลือกข้อมูล

ที่จาเป็นภายใต้เง่ือนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ นาเสนอแนวทางการแก้ปัญหา วางแผนข้ันตอน

การทางานและดาเนินการแก้ปัญหาอย่างเป็นข้นั ตอน ใช้ความรู้ และทักษะเก่ียวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ

กลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนกิ ส์ เพือ่ แก้ปัญหาหรือพัฒนางานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย ทดสอบ

ประเมินผล และอธิบายปัญหาหรือข้อบกพร่องท่ีเกิดขึ้นภายใต้กรอบเงื่อนไข หาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข

และนาเสนอผลการแก้ปัญหาหรือพฒั นางาน

เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการดารงชีวิตและดูแลสิ่งแวดล้อมมีคุณธรรม จริยธรรม

ค่านิยมท่ีเหมาะสม มีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ ม่งุ ม่ันในการทางาน มีจิตสาธารณะ มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตรแ์ ละเข้าใจ

ว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คม และส่ิงแวดล้อมเก่ียวข้องสมั พันธ์กัน

๘๐

รหัสตวั ช้ีวดั
ว ๑.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓ ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘, ม.๒/๙, ม.๒/๑๐ ม.๒/๑๑,

ม.๒/๑๒, ม.๒/๑๓, ม.๒/๑๔, ม.๒/๑๕, ม.๒/๑๖, ม.๒/๑๗
ว ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔ ม.๒/๕, ม.๒/๖
ว ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒ , ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕
รวมทง้ั หมด ๒๘ ตัวชี้วดั

๘๑

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพน้ื ฐำน

ว๒๑๑๐๒ รำยวชิ ำวิทยำศำสตร์ ๔ กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ชัน้ มธั ยมศึกษำปีที่ ๒ ภำคเรยี นที่ ๒ เวลำ ๖๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

อธิบายการหาแรงลัพธ์ของแรงหลายแรงในระนาบเดียวกันท่ีกระทาต่อวัตถุ แรงลัพธ์ท่ีกระทาต่อวัตถุ

ท่ีหยุดนิ่งหรือวัตถุเคล่ือนท่ีด้วยความเร็วคงตัว การสะท้อนของแสง การหักเหของแสง ผลของความสว่าง

ที่มีต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ การดูดกลืนแสงสี การมองเห็นสีของวัตถุ ลักษณะของชั้นหน้าตัดดิน สมบัติ

ของดิน และกระบวนการเกิดดิน การใช้ประโยชน์และการปรับปรงุ คุณภาพของดิน กระบวนการเกดิ และลักษณะ

องค์ประกอบของหิน สมบัติของหิน ลักษณะทางกายภาพของแร่ กระบวนการเกิด ลักษณะและสมบัติ

ของปิโตรเลียม ถ่านหิน หินน้ามัน แหล่งน้าธรรมชาติ การใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์แหล่งน้าใน ท้องถ่ิน

การเกิดแหล่งน้าบนดิน แหลง่ น้าใต้ดนิ กระบวนและผลของการผพุ ังอยู่กบั ที่ การกร่อน การพัดพา การทับถม

และการตกผลกึ โครงสรา้ งและองค์ประกอบของโลก

ทดลองการหาแรงลัพธ์ของแรงหลายแรงในระนาบเดียวกันท่ีกระทาต่อวัตถุ การสะท้อนของแสง

การหักเหของแสง การดูดกลืนแสงสี การมองเห็นสีของวัตถุ ลักษณะของชั้นหน้าตัดดิน สมบัติของดิน

และกระบวนการเกิดดิน การปรับปรุงคุณภาพของดิน กระบวนการเกิดและลักษณะองค์ประกอบของหิน สมบัติ

ของหิน จาแนกประเภทของหิน ลักษณะทางกายภาพของแร่ การเกิดแหลง่ นา้ บนดนิ แหล่งน้าใต้ดิน กระบวน

และผลของการผุพังอยู่กบั ท่ี การกร่อนการพัดพา การทับถมและการตกผลึก สารวจลกั ษณะของช้ันหน้าตดั ดิน

สมบัติของดิน และกระบวนการเกิดดิน การใช้ประโยชน์และการปรับปรุงคุณภาพของดิน แหล่งน้าธรรมชาติ

สืบค้นข้อมูลกระบวนการเกิด ลักษณะและสมบัติของปิโตรเลียม ถ่านหิน หินน้ามัน โครงสร้าง

และองค์ประกอบของโลก การใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหา หรือการทางานในชีวิตจริง ออกแบบ

อัลกอริทึม ออกแบบและเขยี นโปรแกรมทีใ่ ชต้ รรกะและฟังก์ชันในการแกป้ ัญหา อภิปรายองค์ประกอบ

และหลักการทางาน ของระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี การส่ือสาร เพื่อประยุกต์ใช้งานหรือแก้ปัญหา

เบอ้ื งต้น ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั มคี วามรับผดิ ชอบ สรา้ งและแสดงสทิ ธใิ นการเผยแพร่ผลงาน

เห็นคุณค่าของการนาความร้ไู ปใช้ประโยชนใ์ นการดารงชีวิตและดแู ลส่ิงแวดลอ้ มมคี ุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม

ท่ีเหมาะสม มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการทางาน มีจิตสาธารณะ มีเจตคติท่ีดีต่อวิทยาศาสตร์ และเข้าใจว่า

วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คม และสง่ิ แวดล้อมเกี่ยวข้องสมั พนั ธ์กัน

รหัสตัวชี้วดั

ว ๒.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘, ม.๒/๙, ม.๒/๑๐ ม.๒/๑๑,

ม.๒/๑๒, ม.๒/๑๓, ม.๒/๑๔, ม.๒/๑๕

ว ๒.๓ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔ ม.๒/๕, ม.๒/๖

ว ๓.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘, ม.๒/๙, ม.๒/๑๐

ว ๔.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒ , ม.๒/๓, ม.๒/๔,

รวมทง้ั หมด ๓๕ ตวั ช้ีวัด

๘๒

คำอธิบำยรำยวิชำพน้ื ฐำน

ว๒๓๑๐๑ รำยวิชำวทิ ยำศำสตร์ ๕ กลุม่ สำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ช้นั มธั ยมศึกษำปที ี่ ๓ ภำคเรยี นที่ ๑ เวลำ ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต

............................................................................................................................. ......................................

อธิบายลักษณะของโครโมโซมที่มีหน่วยพันธุกรรมหรือยีนในนิวเคลียส สารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ

กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม โรคทางพันธุกรรมท่ีเกิดจากความผิดปกติของยีนและโครโมโซม

ความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถ่ินท่ที าให้สิง่ มีชีวติ ดารงชีวติ อยู่ได้อยา่ งสมดลุ ผลของความหลากหลายทาง

ชีวภาพท่ีมีต่อมนุษย์ สัตว์ พืช และสิ่งแวดล้อม ผลของเทคโนโลยีชีวภาพต่อการดารงชีวิตของมนุษย์

และสงิ่ แวดล้อม ระบบนเิ วศต่าง ๆ ในท้องถ่ิน ความสัมพันธ์ขององคป์ ระกอบภายในระบบนิเวศ ความสมั พนั ธ์

ของการถ่ายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิตในรูปของโซ่อาหารและสายใยอาหาร วัฏจักรน้า วัฏจักรคาร์บอน

ความสาคัญที่มีต่อระบบนิเวศ ปัจจยั ที่มีผลตอ่ การ เปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรในระบบนิเวศ สภาพปัญหา

สิง่ แวดล้อม ทรพั ยากรธรรมชาติในท้องถิ่นและแนวทางในการแก้ไขปัญหา การใช้ทรพั ยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน

การใช้ทรัพยากรธรรมชาติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปัญหาสิ่งแวดล้อมและเสนอแนะแนวทา ง

การแก้ปัญหาและมสี ว่ นร่วมในการดแู ลและอนรุ ักษ์สง่ิ แวดลอ้ มในท้องถิ่นอยา่ งย่ังยืน

สังเกตลักษณะของโครโมโซมที่มีหน่วยพันธุกรรมหรือยีนในนิวเคลียส สารวจความหลากหลาย

ทางชีวภาพในท้องถ่ินท่ีทาให้สิ่งมีชีวิตดารงชีวิตอยู่ได้อย่างสมดุล ระบบนิเวศต่าง ๆ ในท้องถ่ิน ความสัมพันธ์

ขององค์ประกอบภายในระบบนิเวศ วิเคราะห์สาเหตุ ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี

ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ ระบุปัญหาหรือความต้องการ

ของท้องถิ่น รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เก่ียวข้องกับปัญหา ความถูกต้องดา้ นทรัพย์สินทางปัญญา

ให้เหตุผลของปัญหา หรือข้อบกพร่อง ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา ตัดสินใจเลือกข้อมูลท่ีจาเป็นภายใต้เง่ือนไข

และทรัพยากรที่มีอยู่ ใช้ความรู้ และทักษะเก่ียวกับวัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ท่ี

ถกู ตอ้ งกับลักษณะของงาน นาเสนอแนวทางการแกป้ ัญหาโดยใชว้ ิธกี ารที่หลากหลาย วางแผนกาหนดขนั้ ตอน

การทางานและดาเนินการแก้ปัญหาอยา่ งเป็นขัน้ ตอน ทดสอบ ประเมินผล กาหนดแนวทางการปรับปรุงแก้ไข

และนาเสนอผลการแก้ปญั หาหรือพฒั นางาน

เหน็ คณุ ค่าของการนาความรู้ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการดารงชีวติ และดูแลส่งิ แวดลอ้ มมีคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ มที่

เหมาะสม มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการทางาน มีจิตสาธารณะ มีเจตคติท่ีดีต่อวิทยาศาสตร์ และเข้าใจว่า

วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คม และสิ่งแวดลอ้ มเกี่ยวข้องสมั พันธก์ ัน

รหสั ตวั ชี้วดั

ว ๒.๓ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘

ม.๓/๙, ม.๓/๑๐, ม.๓/๑๑, ม.๓/๑๒, ม.๓/๑๓, ม.๓/๑๔, ม.๓/๑๕, ม.๓/๑๖

ม.๓/๑๗, ม.๓/๑๘, ม.๓/๑๙, ม.๓/๒๐, ม.๓/๒๑

ว ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔

ว ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕

รวมทั้งหมด ๓๐ ตัวชี้วดั

๘๓

คำอธิบำยรำยวชิ ำพนื้ ฐำน

ว๒๓๑๐๒ รำยวชิ ำวิทยำศำสตร์ ๖ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ชั้นมธั ยมศกึ ษำปที ี่ ๓ ภำคเรียนท่ี ๒ เวลำ ๖๐ ชัว่ โมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต

…………………………………...……………………………………………………………………………………………………………

อธิบายความเร่งและผลของแรงลัพธ์ที่ทาต่อวัตถุ แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาระหว่างวัตถุ แรงพยุง

ของของเหลวท่ีกระทาตอ่ วัตถุ ความแตกต่างระหวา่ งแรงเสียดทานสถิตกับแรงเสียดทานจลน์ วิเคราะห์โมเมนต์

ของแรง การเคล่ือนที่ของวัตถุท่ีเป็นแนวตรงและแนวโค้ง งานพลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง

กฎการอนุรักษ์พลังงาน ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า ความต้านทาน คานวณพลังงาน

ไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้า การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้านอย่างถูกต้องปลอดภัย และประหยัด ตัว ต้านทาน

ไดโอด ทรานซสิ เตอร์ ความสัมพันธ์ระหว่างดวงอาทิตย์ โลก ดวงจันทร์และดาวเคราะห์อ่นื ๆ และผลท่ีเกดิ ขึ้น

ต่อส่งิ แวดล้อมและส่ิงมีชีวิตบนโลก องค์ประกอบของเอกภพ กาแล็กซี และระบบสุริยะ ระบุตาแหน่งของกลุ่ม

ดาว ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศท่ีใช้สารวจอวกาศ วัตถุท้องฟ้า สภาวะอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ

การเกษตรและการสื่อสาร

ทดลองแรงกริ ิยาและแรงปฏิกริ ิยาระหว่างวัตถุ แรงพยงุ ของของเหลวทีก่ ระทาตอ่ วัตถุ ความแตกต่าง

ระหว่างแรงเสียดทานสถิตกับแรงเสียดทานจลน์ โมเมนต์ของแรง ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์

กระแสไฟฟ้า ความต้านทาน ต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์เบ้ืองต้นท่ีมีทรานซิสเตอร์ สืบค้นความสัมพันธ์ระหว่าง

ดวงอาทิตย์ โลก ดวงจันทร์และดาวเคราะห์อื่น ๆ และผลท่ีเกิดขึ้นต่อส่ิงแวดล้อมและส่ิงมีชีวิตบนโลก

องค์ประกอบของเอกภพ กาแล็กซี และระบบสุริยะความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศท่ีใช้สารวจอวกาศ

วัตถุท้องฟ้า สภาวะอากาศทรัพยากรธรรมชาติ การเกษตรและการสื่อสาร รวบรวมข้อมูล ประมวลผล

ประเมินผล นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศตามวัตถุประสงค์ พัฒนาแอปพลิเคชันท่ีบูรณาการกับวิชาอื่นอย่าง

สร้างสรรค์ ใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลายและการใช้งานอย่างรู้เท่าทัน การประเมิน

ความน่าเชือ่ ถอื ของขอ้ มูล วเิ คราะหส์ ่อื และผลกระทบจากการให้ข่าวสารที่ผดิ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

อย่างปลอดภัย มคี วามรับผิดชอบตอ่ สังคม ปฏบิ ัติ ตามกฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และ ใชล้ ขิ สิทธิ์ของผู้อื่น

โดยชอบธรรม

เห็นคณุ ค่าของการนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ในการดารงชีวติ และดูแลส่งิ แวดล้อมมคี ุณธรรม จริยธรรม

คา่ นิยมทเ่ี หมาะสม มีวนิ ัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมน่ั ในการทางาน มีจิตสาธารณะ มีเจตคติท่ีดีต่อวิทยาศาสตร์ และเข้าใจ

ว่าวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คม และสิง่ แวดลอ้ มเกีย่ วข้องสัมพนั ธ์กัน

รหัสตัวชี้วดั

ว ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖

ว ๑.๓ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐, ม.๓/๑๑

ว ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘

ว ๔.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔

รวมทัง้ หมด ๒๙ ตัวชี้วัด

๘๔

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำเพม่ิ เติม

ว ๒๑๒๐๑ รำยวชิ ำวทิ ยำศำสตร์ (เซลล์พชื เซลล์สัตว)์ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ชั้นมธั ยมศกึ ษำปีที่ ๑ ภำคเรยี นท่ี ๑ เวลำ ๒๐ ชัว่ โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต

....................................................................................................................................................... ............

ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเซลล์ของสิ่งมีชีวิต เช่น เย่ือหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม นิวเคลียส ผนังเซลล์

คลอโรพลาสต์ ทง้ั ของพืชและสัตว์ และ กระบวนการทาหน้าทีข่ องเซลล์

โดยสังเกต รูปร่าง ลักษณะ โครงสร้างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ บอกหน้าที่ของผนังเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซ

โทรพลาสซึม นิวเคลียส แวคิวโอล ไมโทรคอนเดรีย และคลอโรพลาสต์ ใช้กล้องจุลทรรศน์ แบบใช้

แสงศกึ ษาเซลล์และโครงสร้างตา่ ง ๆ ภายในเซลล์ ระบุความสมั พนั ธ์ระหว่างรูปร่างกบั การทาหนา้ ทขี่ องเซลล์

รกู้ ระบวนการ การจัดระบบของสิ่งมีชีวิต และนาเสนอได้

มุ่งหวังให้ผู้เรียนตระหนักในคุณค่าของความรู้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีเกี่ยวข้อง

ในชีวิตประจาวัน ใช้ความรู้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดารงชีวิต การประกอบอาชีพ

แสดงความช่ืนชม ยกย่อง เคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น เข้าใจผลกระทบท้ังด้านบวกและด้านลบ

ของการพฒั นาทางวิทยาศาสตร์ต่อสิ่งแวดล้อม ต่อบริบทอื่นๆ ศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติมตามความสนใจ มีวินัย

ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการทางาน มีความซ่ือสัตย์ รับผิดชอบ และใช้วัสดุ อุปกรณอ์ ย่างคุ้มค่า เพอื่ การดาเนนิ ชีวิต

และเปน็ พื้นฐานของการทางานที่ดี

ผลกำรเรยี นรู้
๑. นักเรยี นสามารถจาแนก เปรียบเทยี บรูปร่าง ลักษณะ และโครงสรา้ งของเซลล์พชื และเซลล์สตั ว์
๒. นักเรียนสามารถบอกหนา้ ท่ีของผนงั เซลล์ เยือ่ หมุ้ เซลล์ ไซโทรพลาสซึม นวิ เคลียส แวคิวโอล

ไมโทรคอนเดรยี และคลอโรพลาสต์
๓. นกั เรียนสามารถใชก้ ลอ้ งจุลทรรศน์ใช้แสงศกึ ษาเซลลแ์ ละโครงสรา้ งต่าง ๆ ภายในเซลล์
๔. นกั เรียนสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรปู ร่างกบั การทาหน้าที่ของเซลล์
๕. นกั เรียนสามารถอธิบายการจดั ระบบของส่ิงมชี ีวิต โดยเร่ิมจากเซลล์ เน้อื เยื่อ อวยั วะ ระบบอวยั วะ

จนเป็นส่งิ มีชวี ิต
รวมท้งั หมด ๕ ผลกำรเรียนรู้

๘๕

คำอธิบำยรำยวชิ ำเพมิ่ เติม

ว ๒๑๒๐๒ รำยวิชำวิทยำศำสตร(์ กำรขยำยพนั ธพุ์ ชื ) กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ชั้นมธั ยมศกึ ษำปีที่ ๑ ภำคเรียนที่ ๒ เวลำ ๒๐ ชวั่ โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต

................................................................................................... ................................................................

ความรู้ความเข้าใจเร่ืองการสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ การขยายพันธุ์ การเพาะเมล็ด

การตอนกิ่ง การปักชา การต่อกิ่ง การติดตา การทาบก่ิง การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็นการนาความรู้เรื่อง

การสบื พนั ธุ์แบบไม่อาศยั เพศของพืชมาใช้ในการขยายพันธ์ุ ขน้ั ตอนการขยายพันธุ์พืช เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยง

เนอื้ เยือ่ พชื เป็นการเพ่ิมจานวนพืช การอนรุ ักษ์พนั ธุกรรมพืช ปรับปรงุ พันธพ์ุ ืชท่มี คี วามสาคัญทางเศรษฐกจิ การ

ผลิตยาและ สารทส่ี าคญั ในพชื และอ่นื ๆ

โดยเลือกวิธีการขยายพันธ์ุพืชให้เหมาะสมกับความต้องการของมนุษย์ บอกเก่ียวกับการสืบพันธุ์

ของพืช อธิบายความสาคัญของเทคโนโลยีการเพาะเล้ียงเนื้อเยื่อพืชในการใช้ประโยชน์ด้านต่าง ๆ

บอกประโยชนข์ องการขยายพันธุ์พชื โดยการนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวนั

มงุ่ หวังใหผ้ ู้เรียนตระหนกั ในคณุ ค่าของความรูก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยที เ่ี กี่ยวขอ้ ง

ในชีวิตประจาวัน ใช้ความรู้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดารงชีวิต การประกอบอาชีพ

แสดงความช่ืนชม ยกย่อง เคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น เข้าใจผลกระทบท้ังด้านบวกและด้านลบ

ของการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ต่อส่ิงแวดล้อม ต่อบริบทอื่นๆ ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมตามความสนใจ มีวินัย

ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมั่นในการทางาน มีความซื่อสัตย์ รับผิดชอบ และใช้วัสดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า เพื่อการดาเนนิ ชีวิต

และเปน็ พนื้ ฐานของการทางานท่ีดี

ผลกำรเรยี นรู้
๑. นกั เรียนสามารถเลือกวธิ ีการขยายพนั ธุ์พชื ให้เหมาะสมกับความต้องการของมนุษย์ โดยใช้ความรู้
เก่ยี วกับการสบื พันธข์ุ องพชื

๒. นกั เรียนสามารถอธิบายความสาคญั ของเทคโนโลยกี ารเพาะเลีย้ งเนือ้ เยื่อพชื ในการใช้ประโยชน์
ดา้ นต่าง ๆ
๓. นักเรยี นสามารถบอกถึงประโยชน์ของการขยายพันธพุ์ ืช โดยการนาความรไู้ ปใช้ในชวี ติ ประจาวนั

๔. นกั เรียนสามารถขยายพันธพุ์ ชื ได้อยา่ งน้อยคนละ ๑ วิธี
๕. นักเรียนสามารถดแู ลรกั ษาพันธุ์พชื ให้เจรญิ เตบิ โตและนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้
รวมท้งั หมด ๕ ผลกำรเรียนรู้

๘๖

คำอธิบำยรำยวชิ ำเพิม่ เตมิ

ว ๒๒๒๐๑ รำยวิชำวิทยำศำสตร์(ปฏิกริ ิยำเคมีนำ่ ร้)ู กลุ่มสำระกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ช้นั มัธยมศึกษำปีที่ ๒ ภำคเรยี นที่ ๑ เวลำ ๒๐ ชวั่ โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต

………………………………………………………………………………………....………………………………….……………………

ความรู้ความเขา้ ใจเร่ืองการเกิดปฏกิ ิริยาเคมีของสาร การดดู พลังงานความรอ้ นหรือคายพลังงานความร้อน

อุณหภูมิ ความเข้มข้น ธรรมชาติของสารและตัวเร่งปฏิกิริยา การเขียนสมการเคมีแสดงการเกิดปฏิกิริยาเคมี

ของสารทั้งสารต้ังต้นและสารผลิตภัณฑ์ ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับออกซิเจน โลหะกับน้า โลหะกับกรด กรด

กับเบส และกรดกับคาร์บอเนต การเลือกใช้วัสดุและสารรอบตัวในชีวิตประจาวันอย่างเหมาะสมปลอดภัย

สารเคมีและปฏิกิริยาเคมี มีทั้งประโยชน์และโทษต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมท้ังทางตรงและทางอ้อมการใช้

สารเคมีและการป้องกันอันตรายต่อตนเองและผู้อื่นจากการใช้สารเคมี ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี สัญลักษณ์

เตอื นภยั วิธีการแก้ไขบนฉลาก และการปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้ เม่ือไดร้ ับอนั ตรายจากสารเคมี

โดยทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวล และพลังงานเมื่อสารเกิดปฏิกิริยาเคมี ปัจจัย

ที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี เขียนสมการเคมีของปฏิกิริยาของสารต่าง ๆ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

สืบคน้ ข้อมลู และอภิปรายผลของสารเคมี ปฏิกิรยิ าเคมีต่อสงิ่ มชี ีวติ และส่ิงแวดล้อม การใช้สารเคมอี ย่างถูกต้อง

ปลอดภยั วธิ ีปอ้ งกันและแกไ้ ขอนั ตรายที่เกดิ ขนึ้ จากการใชส้ ารเคมี

มุ่งหวังให้ผู้เรียนตระหนักในคุณค่าของความรู้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เก่ียวข้องใน

ชีวิตประจาวัน ใช้ความรู้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดารงชีวิต การประกอบอาชีพ

แสดงความช่ืนชม ยกย่อง เคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น เข้าใจผลกระทบท้ังด้านบวกและด้านลบ

ของการพฒั นาทางวิทยาศาสตร์ต่อส่ิงแวดล้อม ต่อบริบทอ่ืนๆ ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมตามความสนใจ มีวินัย

ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งม่ันในการทางาน มีความซ่ือสัตย์ รับผิดชอบ และใช้วัสดุ อุปกรณอ์ ย่างคุ้มค่า เพอ่ื การดาเนนิ ชีวิต

และเปน็ พน้ื ฐานของการทางานทด่ี ี

ผลกำรเรยี นรู้
๑. นกั เรยี นสามารถทดลองและอธบิ ายการเปลย่ี นแปลงสมบตั ิ มวล และพลงั งานเมือ่ สารเกิดปฏิกิรยิ า
เคมี รวมทง้ั อธิบายปจั จัยทีม่ ีผลตอ่ การเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี

๒. นักเรียนสามารถทดลอง อธบิ ายและเขียนสมการเคมีของปฏิกริ ิยาของสารต่าง ๆ และนา
ความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์
๓. นกั เรยี นสามารถสืบค้นขอ้ มูลและอภิปรายผลของสารเคมี ปฏกิ ิริยาเคมตี ่อสิง่ มชี ีวติ และสิง่ แวดล้อม
๔. นักเรยี นสามารถสืบค้นขอ้ มูลและอธบิ ายการใชส้ ารเคมอี ย่างถกู ตอ้ ง ปลอดภัย วธิ ีป้องกันและแกไ้ ขอันตราย
ทเ่ี กดิ ข้นึ จากการใช้สารเคมี
รวมท้ังหมด ๔ ผลกำรเรยี นรู้

๘๗

คำอธบิ ำยรำยวิชำเพ่ิมเติม

ว ๒๒๒๐๒ รำยวชิ ำวทิ ยำศำสตร(์ พลงั งำนทดแทนกบั กำรใช้ประโยชน)์

กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ชน้ั มัธยมศกึ ษำปีท่ี ๒ ภำคเรียนท่ี ๒ เวลำ ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต

…………………………………………………………..………………………………………………………………………………………

ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพลงั งานนา้ พลังงานลม พลงั งานแสงอาทิตย์ พลงั งานชีวมวลและพลังงานนิวเคลยี ร์

การใช้ประโยชน์จากพลังงานทดแทน บทบาท และผลกระทบของพลังงานเหล่านั้นที่มีต่อมนุษย์

และสงิ่ แวดล้อม

อธิบายความสาคัญของพลังงานทดแทน สรุปหลักการทางวิทยาศาสตร์ ในการนาพลังงานน้า พลังงานลม

พลังงานพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานชีวมวลและพลังงานนิวเคลียร์ ไปใช้ประโยชน์รวมท้ัง อธิบาย

และยกตวั อย่างการใช้ประโยชนจ์ ากพลังงานดงั กลา่ ว ในประเทศไทย เขียนสรุปข้อดี ข้อจากัดและแนวทางการ

พฒั นาในการนาพลังงานทดแทน ไปใช้ประโยชน์

มุ่งหวังให้ผู้เรียนตระหนักในคุณค่าของความรู้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีเก่ียวข้องใ น

ชีวิตประจาวัน ใช้ความรู้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดารงชีวิต การประกอบอาชีพ

แสดงความช่ืนชม ยกย่อง เคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น เข้าใจผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบ

ของการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ต่อสิ่งแวดล้อม ต่อบริบทอ่ืนๆ ศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติมตามความสนใจ มีวินัย

ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการทางาน มีความซ่ือสัตย์ รับผิดชอบ และใช้วัสดุ อุปกรณอ์ ย่างคุ้มค่า เพ่ือการดาเนนิ ชีวิต

และเป็นพ้นื ฐานของการทางานทดี่ ี

ผลกำรเรียนรู้
๑. นักเรยี นสามารถอธบิ ายและยกตวั อย่างความสาคญั ของพลงั งานทดแทน
๒. นักเรียนสามารถสรุปหลักการทางวิทยาศาสตร์ ในการนาพลังงานน้า พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์
พลงั งานชวี มวลและพลงั งานนิวเคลยี ร์ ไปใช้ประโยชน์
๓. นักเรียนสามารถอธิบายและยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์จากพลังงานน้า พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์
พลงั งานชวี มวลและพลังงานนิวเคลียร์ ในประเทศไทย
๔. นักเรียนสามารถสรุปข้อดี ข้อจากัดและแนวทางการพัฒนาในการนาพลังงานน้า พลังงานลม พลังงาน
แสงอาทิตย์ พลังงานชีวมวลและพลังงานนวิ เคลยี ร์ ไปใช้ประโยชน์
รวมทง้ั หมด ๔ ผลกำรเรียนรู้

๘๘

คำอธบิ ำยรำยวิชำ เพม่ิ เติม

ว ๒๓๒๐๑ รำยวิชำวิทยำศำสตร(์ ไฟฟ้ำนำ่ รู)้ กลุ่มสำระกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ช้นั มธั ยมศึกษำปที ่ี ๓ ภำคเรียนท่ี ๑ เวลำ ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า ความสัมพันธ์กันตามกฎของโอห์ม การนากฎ

ของโอห์มไปใช้วิเคราะห์วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย การคานวณพลังงานไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้า การคิดค่าไฟฟ้า

และ แนวทางในการประหยัดพลังงานไฟฟ้าในบ้าน การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน การออกแบบวงจร ติดตั้งเครื่องใช้ไฟฟ้า

อุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างถูกต้อง โดยการต่อสวิตช์แบบอนุกรม ต่อเต้ารับแบบขนาน และเพ่ือความปลอดภัย

ตอ้ งต่อสายดนิ และฟวิ ส์ และการใช้ไฟฟา้ อย่างประหยดั

ทดลองและอธิบายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งความต่างศกั ย์ กระแสไฟฟ้า ความต้านทานและนาความร้ไู ปใช้

ประโยชน์ คานวณพลังงานไฟฟ้าของเคร่ืองใช้ไฟฟ้า และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ สังเกตและอภิปราย

การต่อวงจรไฟฟา้ ในบา้ นอย่างถกู ตอ้ งปลอดภัย และประหยัด

มุ่งหวังให้ผู้เรียนตระหนักในคุณค่าของความรู้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ท่ีเกี่ยวข้องในชีวิตประจาวัน ใช้ความรู้กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดารงชีวิต

การประกอบอาชพี แสดงความชนื่ ชม ยกยอ่ ง เคารพสิทธิ ในผลงานของผู้คิดคน้ เข้าใจผลกระทบท้ังด้านบวก

และด้านลบของการพฒั นาทางวิทยาศาสตร์ต่อสง่ิ แวดล้อม ต่อบรบิ ทอื่นๆ ศึกษาหาความรู้เพิ่มเตมิ ตามความ

สนใจ มวี ินยั ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ มนั่ ในการทางาน มีความซื่อสตั ย์ รับผดิ ชอบ และใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์อย่างคุ้มค่า เพ่อื การ

ดาเนนิ ชีวิตและเป็นพน้ื ฐานของการทางานทด่ี ี

ผลกำรเรียนรู้
๑. นักเรียน สามาร ถทดลองและอ ธิบายความสัมพัน ธ์ ระ หว่ างความต่างศัก ย์ กร ะ แสไฟ ฟ้า
ความตา้ นทานไฟฟา้
๒. นกั เรยี นสามารถนาความรู้เกี่ยวกับความตา่ งศกั ย์ กระแสไฟฟา้ ความตา้ นทานไปใช้ประโยชน์
๓. นักเรียนสามารถคานวณพลงั งานไฟฟ้าของเครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้า และนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์
๔. นกั เรยี นสามารถสงั เกตและอภิปรายการตอ่ วงจรไฟฟา้ ในบ้านอยา่ งถกู ต้องปลอดภยั และประหยดั
๕. นกั เรียนสามารถระบสุ ญั ลักษณ์ตา่ งๆในวงจรไฟฟา้ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
รวมท้ังหมด ๕ ผลกำรเรยี นรู้

๘๙

คำอธิบำยรำยวิชำเพิม่ เตมิ

ว ๒๓๒๐๒ รำยวิชำวิทยำศำสตร(์ ดำรำศำสตร์และอวกำศ)

กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปที ่ี ๓ ภำคเรยี นที่ ๒ เวลำ ๒๐ ชัว่ โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต

............................................................................................................................. ......................................

ดวงอาทติ ย์ โลก และดวงจนั ทร์ แรงโน้มถ่วงระหว่างโลกกับดวงจันทร์ แรงโน้มถ่วงระหว่างดวงอาทิตย์

กับบริวาร ระบบสุริยะ แรงโน้มถ่วงที่ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์กระทาต่อโลก ทาให้เกิดปรากฏการณ์น้าข้ึน น้าลง เอกภพ

กาแลก็ ซีทางช้างเผือก ดาวฤกษ์ กลุ่มดาวฤกษ์ การบอกทิศและเวลา

โดยสืบค้นและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างดวงอาทิตย์ โลก ดวงจันทร์และดาวเคราะห์อ่ืน ๆ

และผล ที่เกิดขึ้นต่อส่ิงแวดล้อมและสง่ิ มีชีวิตบนโลก องค์ประกอบของเอกภพ กาแล็กซี และระบบสุริยะ ระบุ

ตาแหน่งของกล่มุ ดาว และนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์

มุ่งหวังให้ผู้เรียนตระหนักในคุณค่าของความรู้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ท่ีเก่ียวข้องในชีวิตประจาวัน ใช้ความรู้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดารงชีวิต

การประกอบอาชีพ แสดงความช่ืนชม ยกย่อง เคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น เข้าใจผลกระทบท้ังด้านบวก

และด้านลบของการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ต่อส่ิงแวดล้อม ต่อบริบทอ่ืนๆ ศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติมตามความ

สนใจ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการทางาน มีความซื่อสัตย์ รับผิดชอบ และใช้วั สดุ อุปกรณ์อย่างคุ้มค่า

เพอ่ื การดาเนินชีวติ และเป็นพืน้ ฐานของการทางานท่ดี ี

ผลกำรเรยี นรู้
๑. นักเรยี นสามารถสืบคน้ และอธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหว่างดวงอาทิตย์ โลก และดวงจนั ทร์
๒. นักเรียนสามารถอธิบายเกี่ยวกบั ดาวเคราะห์อน่ื ๆ และผลทีเ่ กิดขึ้นต่อสง่ิ แวดลอ้ มและส่ิงมชี ีวิต
บนโลก
๓. นกั เรยี นสามารถ สบื คน้ และอธบิ ายองค์ประกอบของเอกภพได้
๔. นักเรยี นสามารถอธบิ ายเกยี่ วกบั กาแลก็ ซี และระบบสรุ ิยะได้
๕. นกั เรียนสามารถระบตุ าแหนง่ ของกลุ่มดาว และนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
๖. นกั เรยี นสามารถอา่ นแผนท่ดี าวได้
รวมทัง้ หมด ๖ ผลกำรเรยี นรู้

๙๐

คำอธิบำยรำยวชิ ำเพ่มิ เติม

ว ๒๑๑๐๓ รำยวิชำคอมพวิ เตอร์ ๑ กลุ่มสำระกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชั้นมัธยมศกึ ษำปที ่ี ๑ ภำคเรยี นที่ ๑ เวลำ ๒๐ ช่วั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต

**********************************************************************************

มคี วามรู้ ความเขา้ ใจกระบวนการคิด การสบื คน้ ข้อมูลสารสนเทศ นาเสนองานดว้ ยโปรแกรมนาเสนอ

ใช้ส่วนประกอบ ของโปรแกรม Flip Album สร้างหนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์

โดยใช้กระบวนการคดิ และการสบื ค้นขอ้ มูลสารสนเทศ นาเสนองานด้วยโปรแกรมนาเสนอ

ใช้เครอื่ งมอื เทคโนโลยีมาประยกุ ตส์ ร้างหนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส์ ด้วยโปรแกรม Flip Album ในชวี ติ ประจาวนั

ไดอ้ ย่างเหมาะสม

ผเู้ รยี นตระหนัก มจี ติ สานกึ รบั ผิดชอบ ใฝเ่ รียนรู้ อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง รกั ความเป็นไทย รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์

มจี ิตสาธารณะ มสี ัมมาคารวะ มเี จตคตทิ ่ีดี เหน็ ความสาคัญของของเทคโนโลยกี ับชวี ิตประจาวนั กับการเรยี น

การศึกษานาไปสูก่ ารประกอบอาชีพตอ่ ไป

ผลกำรเรียนรู้
๑. อธิบายความร้ทู ่วั ไปเก่ียวกบั หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ได้
๒. อธบิ ายความหมายของหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ได้
๓. อธิบายววิ ฒั นาการของหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ได้
๔. อธิบายประเภทของหนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกสไ์ ด้
๕. อธิบายสว่ นประกอบและใชเ้ ครือ่ งมือ โปรแกรม Flip Album ได้
๖. สามารถใชโ้ ปรแกรม Flip Album สรา้ งหนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส์ได้เหมาะสมอย่างมีคุณค่า
๗. มีเจตคติท่ีดีตอ่ การใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจาวัน

รวมทั้งหมด ๗ ผลกำรเรียนรู้

๙๑

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำเพ่ิมเตมิ

ว ๒๑๑๐๔ รำยวิชำคอมพวิ เตอร์ ๒ กลุม่ สำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ชน้ั มัธยมศกึ ษำปที ี่ ๑ ภำคเรยี นที่ ๒ เวลำ ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ

**********************************************************************************

มีความรู้ ความเขา้ ใจในส่วนประกอบ หน้าที่การใชง้ าน ประโยชน์ของเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ การมี
บคุ ลิกภาพในการใช้งานเครือ่ งคอมพิวเตอรท์ ถ่ี กู ต้อง การบารุงรกั ษาเคร่อื งคอมพวิ เตอร์และการแก้ไขอยา่ งง่าย
การสรา้ งเทคนคิ ท่ีดใี นการพิมพ์สมั ผัส การเรียนรู้แปน้ พิมพ์ การพมิ พส์ มั ผสั การสรา้ งเอกสาร และเรียนร้รู ะบบ
อนิ เทอร์เนต็ เบื้องตน้ โดยใช้คอมพวิ เตอร์ในการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศ ใช้ฮาร์ดแวร์ ซอฟตแ์ วร์
สร้างเอกสารโดยใชก้ ารพมิ พส์ มั ผัส และใช้เครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ตสืบค้นงานตามความเหมาะสม

ผ้เู รียนตระหนัก มจี ิตสานึก รบั ผดิ ชอบ ใฝ่เรียนรู้ อยอู่ ย่างพอเพยี ง รกั ความเป็นไทย รักชาติ ศาสน์
กษตั ริย์ มจี ติ สาธารณะ มสี มั มาคารวะ มเี จตคติที่ดี เห็นความสาคัญของของเทคโนโลยกี บั ชวี ิตประจาวนั
กับการเรยี น การศกึ ษานาไปสกู่ ารประกอบอาชีพตอ่ ไป

ผลกำรเรยี นรู้
๑. สามารถสบื ค้นขอ้ มูลสารสนเทศทางอินเทอร์เน็ต และนาเสนอขอ้ มูลสารสนเทศได้เหมาะสมกับวัย
๒. อธิบายเกี่ยวกบั โปรแกรมการสร้างเอกสารได้
๓. แก้ไขขอ้ ความและตกแตง่ งานเอกสารได้
๔. อธิบายเกีย่ วกบั โปรแกรมนาเสนอข้อมลู ได้
๕. ใส่ขอ้ ความตกแตง่ ขอ้ ความและตกแต่งแผ่นสไลด์ได้
๖. แทรกรูปภาพและวัตถตุ ่างๆ ได้

๗. สร้างแผนภมู ิ สง่ั ฉายสไลด์ กาหนดรูปแบบและเตรียมงานนาเสนอได้
๘. สร้างชนิ้ งานอย่างมจี ิตสานึกและมีความรับผิดชอบ
๙. มีเจตคตทิ ี่ดตี ่อการใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจาวนั
รวมทง้ั หมด ๙ ผลกำรเรียนรู้

๙๒

คำอธิบำยรำยวชิ ำเพิม่ เตมิ Q

ว ๒๒๑๐๓ รำยวิชำคอมพวิ เตอร์ ๑ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ช้นั มธั ยมศกึ ษำปีที่ ๒ ภำคเรียนท่ี ๑ เวลำ ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต

**********************************************************************************

มคี วามรู้ ความเข้าใจระดบั ของเทคโนโลยีทีใ่ ช้เป็น ๓ ระดับ คอื ระดับพืน้ บา้ นหรือพ้ืนฐาน

ระดับกลาง และระดบั สงู การสรา้ งสง่ิ ของเคร่ืองใช้หรอื วิธกี าร ตามกระบวนการเทคโนโลยี จะทาให้ผเู้ รยี น

ทางานอยา่ งเปน็ ระบบ สามารถย้อนกลับมาแกไ้ ขไดง้ ่าย การหางานด้วยวิธีท่ีหลากหลายและการเลือกงาน

ทีเ่ หมาะสม Q
q
โดยสร้างสิ่งของเครือ่ งใช้ ตามกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบ ถ่ายทอดความคดิ เป็นภาพฉาย ๆ

สรา้ งต้นแบบและแบบจาลองของสง่ิ ของเครือ่ งใช้ หรือถา่ ยทอดความคิดของวธิ กี ารเปน็ แบบจาลองความคดิ ๆ

และการรายงานผล

ผเู้ รยี นตระหนกั มีจิตสานกึ รบั ผิดชอบ ใฝเ่ รียนรู้ อยู่อย่างพอเพยี ง รกั ความเป็นไทย รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ มี

จิตสาธารณะ มีสัมมาคารวะ มีเจตคตทิ ่ีดี เห็นความสาคัญของของเทคโนโลยี กบั ชีวติ ประจาวัน

กบั การเรยี น การศึกษานาไปสู่การประกอบอาชพี ต่อไป

ผลกำรเรยี นรู้
๑. อธิบายความหมาย และความสาคญั ของการใชเ้ ครอื่ งมือพนื้ ฐานในการออกแบบผลติ ภัณฑ์
๒. นักเรียนมคี วามรคู้ วามเข้าใจด้านการใชโ้ ปรแกรม Pro/Desktop ในการออกแบบผลติ ภัณฑ์
๓. นกั เรียนปฏบิ ตั ิงานออกแบบโครงร่างชิ้นงาน จากโปรแกรม Pro/Desktop
๔. นักเรยี นปฏิบตั งิ านทารปู ทรง ๓ มติ ิ ตา่ งๆ จากโปรแกรม Pro/Desktop
๕. นกั เรียนปฏิบัติงานออกแบบผลิตภัณฑ์ จากโปรแกรม Pro/Desktop
๖. มเี จตคตทิ ่ีดีต่อการใช้เทคโนโลยีในชวี ิตประจาวนั

รวมทั้งหมด ๖ ผลกำรเรยี นรู้

๙๓

คำอธิบำยรำยวชิ ำเพิม่ เตมิ

ว ๒๒๒๐๔ รำยวชิ ำคอมพิวเตอร์ ๒ กลุ่มสำระกำรเรยี นรูว้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ช้นั มธั ยมศกึ ษำปีที่ ๒ ภำคเรียนท่ี ๒ เวลำ ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต

**********************************************************************************

มีความรู้ ความเข้าใจหลักการเบอ้ื งต้นของกลมุ่ เครอ่ื งมอื ต่าง ๆ ในการตกแต่งรูปภาพ สร้างรปู ภาพ

กรอบรปู ปรบั แสงเงาของภาพ รวมถึงการซ่อมรูปภาพ ตัดต่อภาพ และการวางการภาพลงบนพ้นื ผิววัตถุ

จากโปรแกรมกราฟกิ

ตกแตง่ รปู ภาพให้สวยงาม และประยกุ ตใ์ ช้โปรแกรมกราฟกิ ในการผลติ ช้นิ งาน โดยใช้งานโปรแกรม

ภาพเคลือ่ นไหว นาเสนอผลงานด้วยคาส่งั เบือ้ งตน้ ในโปรแกรมภาพเคลอ่ื นไหว สร้างไฟล์นาเสนอ ไฟลเ์ มนู

โดยใช้องคป์ ระกอบจาก Object ทก่ี าหนดให้การเชื่อมโยง การสร้างไฟล์ ไตเติ้ล (Title) การสรา้ งเมนู (Menu)

การสรา้ งไฟล์เนอ้ื หา การสรา้ งไฟลน์ าเสนอ ใชเ้ ทคนิคการโหลด Movie หลายระดับ

ผู้เรียนตระหนกั มีจิตสานึก รบั ผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้ อยอู่ ย่างพอเพยี ง รักความเปน็ ไทย รกั ชาติ ศาสน์

กษัตริย์ มีจติ สาธารณะ มีสมั มาคารวะ มเี จตคติท่ีดี เห็นความสาคัญของของเทคโนโลยกี บั ชีวติ ประจาวนั

กบั การเรยี น การศกึ ษานาไปสกู่ ารประกอบอาชพี ต่อไป

ผลกำรเรียนรู้
๑. มคี วามร้คู วามเข้าใจโครงสร้างการทางานของโปรแกรม Flash
๒. สร้างแอนิเมชัน่ ของการ์ตูนได้
๓. สร้างป่มุ เชอื่ มโยงได้
๔. แทรกเสยี งได้
๕. เขยี น Action Script ได้
๖. นาเสนองานได้
๗. มีเจตคตทิ ี่ดีต่อการใชเ้ ทคโนโลยใี นชีวติ ประจาวัน
รวมท้ังหมด ๗ ผลกำรเรียนรู้

๙๔

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำเพม่ิ เตมิ

ว ๒๓๒๐๓ รำยวิชำคอมพวิ เตอร์ กลุ่มสำระกำรเรยี นรวู้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี

ชั้นมธั ยมศึกษำปีที่ ๓ ภำคเรียนที่ ๑ เวลำ ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต

**********************************************************************************

มีความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกับการเขยี นเว็บเพจด้วย โปรแกรมในการสรา้ งเวบ็ เพจในรปู แบบ web
editor โดยศึกษาเรยี นรู้ถงึ โครงสร้างพนื้ ฐานของการเขยี นและกาหนดสว่ นต่าง ๆ ของเว็บเพจ

โดยสามารถสรา้ งหนา้ ตาของหน้าต่างออกแบบเว็บเพจ ส่วนประกอบของหนา้ จอหลกั การสรา้ ง Site
กาหนดคุณสมบัตขิ อง Site สร้าง Static Page กาหนดคุณสมบัติของหน้าเพจ ตง้ั ช่อื เพจ จัดรปู แบบตัวอกั ษร
ใสร่ ปู ภาพ ปรบั รูปพนื้ หลงั การแกไ้ ขโค้ด ตรวจสอบโค้ด พิมพโ์ คด้ การสร้างลิงคแ์ ละตรวจหนา้ เพจบน
Browser และ Publish เพจ ศกึ ษาการทางานและสรา้ ง Web Applications สร้างหน้าเพจรับข้อมูล
ตดิ ต้งั Web Server ดว้ ย Internet Information Server ทดสอบการสร้างเว็บเพจ อย่างง่ายได้

ผเู้ รียนตระหนัก มีจิตสานึก รับผดิ ชอบ ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง รักความเป็นไทย รักชาติ ศาสน์
กษัตริย์ มีจิตสาธารณะ มีสัมมาคารวะ มีเจตคติที่ดี เห็นความสาคัญของของเทคโนโลยีกับชีวิตประจาวัน
กบั การเรยี น การศึกษานาไปสกู่ ารประกอบอาชีพตอ่ ไป

ผลกำรเรยี นรู้
๑. บอกโครงสร้างของภาษา html ได้
๒. บอกลกั ษณะคุณสมบัติของภาษา html ได้
๓. ใช้คาสั่งภาษา html เบ้ืองตน้ ได้
๔. เขยี นโปรแกรมภาษา html เบ้ืองตน้ ได้
๕. กาหนดค่าภาษา html เบอ้ื งตน้ ได้
๖. มีเจตคติที่ดีตอ่ การใชเ้ ทคโนโลยใี นชวี ิตประจาวนั

รวมทงั้ หมด ๖ ผลกำรเรยี นรู้

๙๕

คำอธิบำยรำยวิชำเพมิ่ เติม

ว ๒๓๒๐๔ รำยวชิ ำคอมพวิ เตอร์ กลมุ่ สำระกำรเรียนร้วู ทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ช้ันมธั ยมศกึ ษำปีที่ ๓ ภำคเรยี นท่ี ๒ เวลำ ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ

**********************************************************************************

มีความรู้ ความเขา้ ใจ มีทกั ษะพนื้ ฐานที่จาเปน็ ในการค้นคว้า หาขอ้ มูลจาก แหลง่ เรียนร้ตู ่าง ๆ

ตลอดจนทาการสบื คน้ ข้อมลู จากอินเทอรเ์ น็ต อันจะนาไปสู่การระบุเร่อื ง หัวขอ้ หรอื ปัญหาสาหรับการจัดทา

โครงงานคอมพวิ เตอร์ ความหมาย วธิ กี าร ประเภท ขน้ั ตอนการทา การออกแบบ การวางแผน เขยี น

และนาเสนอ เค้าโครง เทคนคิ การนาเสนอโครงงาน การเผยแพร่ผลงาน โครงงานตามขน้ั ตอนการเขยี น

รายงานและนาเสนอโครงงานได้ โดยเทคโนโลยไี ปใชใ้ นการทาโครงงาน ค้นคว้าเอกสารทางด้านทฤษฎี

และเทคนิคการปฏิบตั กิ ารเกยี่ วกับการทาโครงงานท่จี ะรวบรวมขอ้ มลู เบอ้ื งตน้

โดยออกแบบวางแผน เขยี นและนาเสนอ เคา้ โครง โดยใช้เทคนิคการนาเสนอโครงงาน เผยแพร่

ผลงาน จัดทาโครงงานตามข้ันตอนการเขียนรายงานและนาเสนอโครงงานได้

ผู้เรียนตระหนัก มีจิตสานกึ รับผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้ อยูอ่ ยา่ งพอเพียง รักความเป็นไทย รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์

มีจติ สาธารณะ มสี ัมมาคารวะ มเี จตคตทิ ี่ดี เหน็ ความสาคัญของของเทคโนโลยกี ับชีวติ ประจาวัน

กบั การเรยี น การศึกษานาไปสกู่ ารประกอบอาชีพต่อไป

ผลกำรเรียนรู้
๑. สามารถแกป้ ัญหาดว้ ยกระบวนการเทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างมปี ระสิทธิภาพ
๒. พฒั นาโครงงานคอมพิวเตอรไ์ ด้
๓. มคี วามรู้ในการติดต่อสื่อสาร ค้นหาขอ้ มลู ผ่านอนิ เทอรเ์ น็ต
๔. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนาเสนองานในรปู แบบท่ีเหมาะสม ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ของงาน

๕. ใชค้ อมพวิ เตอรช์ ว่ ยสรา้ งช้ินงานหรอื โครงงานอย่างมจี ิตสานกึ และความรบั ผดิ ชอบ
๖. มเี จตคตทิ ดี่ ตี ่อการใชเ้ ทคโนโลยใี นชีวติ ประจาวัน
รวมทัง้ หมด ๕ ผลกำรเรยี นรู้

๙๖

รำยวิชำพ้นื ฐำนกลมุ่ สำระกำรเรียนรู้สงั คมศกึ ษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม

ระดับประถมศึกษำ

รำยวิชำพื้นฐำน หนว่ ยกติ เวลำ
ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา จานวน ๒.๐ ๘๐ ชั่วโมง
ส ๑๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ จานวน ๑.๐ ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๒๑๐๑ สังคมศึกษา จานวน ๒.๐ ๘๐ ชั่วโมง
ส ๑๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ จานวน ๑.๐ ๔๐ ชว่ั โมง
ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศึกษา จานวน ๒.๐ ๘๐ ชั่วโมง
ส ๑๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ จานวน ๑.๐ ๔๐ ช่วั โมง
ส ๑๔๑๐๑ สังคมศกึ ษา จานวน ๒.๐ ๘๐ ชว่ั โมง
ส ๑๔๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ จานวน ๑.๐ ๔๐ ชั่วโมง
ส ๑๕๑๐๑ สงั คมศกึ ษา จานวน ๒.๐ ๘๐ ชั่วโมง
ส ๑๕๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ จานวน ๑.๐ ๔๐ ช่ัวโมง
ส ๑๖๑๐๑ สังคมศึกษา จานวน ๒.๐ ๘๐ ชั่วโมง
ส ๑๖๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ จานวน ๑.๐ ๔๐ ชวั่ โมง


Click to View FlipBook Version