The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือปฏิบัติงานธุรการโรงเรียน2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือปฏิบัติงานธุรการโรงเรียน2562

คู่มือปฏิบัติงานธุรการโรงเรียน2562

Keywords: คู่มือปฏิบัติงานธุรการโรงเรียน2562

m

iJiix

vgSi-:

<>

ถู่มือทารบกบิ ถ้ งิ า่ น

รรุ กไรโรงเรยี น

ความ [พ้นื ฐาน X เ

1 ค'!' " งานการเงิน
และพัสดุ

งานธรุ การ

Yข้อมูลสารสนเทศ

สํานพักัฌนาระบบบริทไรงานบคุ คลแล:นิถกิ ไร

๒1 IIสํานกังานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พั๋นาไน

M



I* £k

ร:.'- :-. ะ--.

2ร

ค่มู ือการปฏบิ ตั ิงานธรุ การโรงเรียน

สานกั พัฒนาระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนติ ิการ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน

คํานํา

ดวยกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ไดมนี โยบายลดภาระงานทีไ่ มเกีย่ วของกบั การจดั การเรยี นการสอนของครู
โดยกาํ หนดใหโรงเรยี นในสังกดั สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน มผี ูปฏบิ ัตงิ านธุรการ โรงเรยี น
ครบทุกโรงเรยี น โรงเรยี นละ 1 คน เพือ่ ใหสอดคลองกบั นโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สํานกั งานคณะ
กรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานไดจ ดั สรรผปู ฏบิ ตั ิงานธุรการโรงเรยี นใหส ํานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา ใหสถานศึกษา
ในสงั กดั ตามแนวทางบรหิ ารอตั รากําลงั และแนวทางการสรรหาและการจางผปู ฏบิ ัติงานธรุ การโรงเรยี น เพอื่ ใหครู
ไดปฏิบตั ิหนาทหี่ ลกั ดา นการจัดการเรยี นรูแ ละการพัฒนาคณุ ภาพผเู รียน

สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ไดก ําหนดแนวทางการพฒั นาผูปฏิบัตงิ านธุรการ
โรงเรยี นและจดั ทําคูมอื การปฏบิ ตั งิ านธุรการโรงเรยี น ทีม่ ขี อบขายสาระเก ียวกบั ความรพู ืน้ ฐานในการปฏบิ ตั ิ
งานธุรการโรงเรียน งานธรุ การ งานพสั ดุ งานขอ มูลสารสนเทศ

เพ่อื ใหก ารพฒั นาผูปฏิบัตงิ านธุรการโรงเรยี นเปนไปอยางมปี ระสิทธภิ าพ จึงไดจ ดั ทําคูมอื การปฏบิ ัติ
งานธรุ การโรงเรยี น สงั กดั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน เพื่อใชประกอบการพฒั นา และ
เปน คมู อื การปฏิบัตงิ านธรุ การโรงเรยี นตอ ไป

สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

1พฤศจกิ ายน 2561
I

สารบญั หนา

คาํ นํา 1
สารบญั 1
บทท่ี 1 ความรพู น้ื ฐานในการปฏบิ ตั งิ านธรุ การโรงเรียน 2
21
1. โครงสรางการบรหิ ารงานของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน 26
2. กฎหมายและระเบียบท่ีเก่ียวของ 33
3. พระราชบญั ญตั ิประกันสังคม พ.ศ.2533 และทแ่ี กไขเพ่ิมเตมิ 36
4. ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งตามแนวพระราชดาํ ริ
5. คณุ ธรรมทีใ่ ชในการปฏบิ ตั งิ าน
6. การประสานงาน การสอ่ื ความหมาย มนษุ ยสัมพนั ธ

และการบริหารกิจการบา นเมอื งที่ดี

บทท่ี 2 งานธรุ การ 41
1. ความสําคญั และขอบขายของงานธรุ การ 41
2. ระเบียบสํานกั นายกรฐั มนตรวี า ดวยงานสารบรรณ 42
-ความหมายของงานสารบรรณ
101
-ความหมายของหนังสอื ราชการ
-ชนดิ ของหนงั สือราชการ
-การรับ- สงหนงั สือ
-การเก็บและทาํ ลายหนังสอื ราชการ

1 I-หลกั การเขียนหนังสอื ตดิ ตอ ราชการ

-การรางหนังสือ
-รายงานการประชมุ
-การเสนอหนังสือและเลขทห่ี นังสือ

-การบรหิ ารงานเอกสารหรอื การจดั การเอกสาร
-การจัดเก็บเอกสาร
3. ระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนิกส

สารบญั (ตอ ) หนา
107
บทที่ 3 งานการเงนิ และพัสดุ 107
1. งานบญั ชี 107
2. งานการเงนิ 115
3. งานพสั ดุ
145
บทท่ี 4 งานขอมูลและสารสนเทศ 146
1. ระบบสาํ นกั งานอิเลก็ ทรอนิกส (Smart OBEC) 146
2. ระบบบริหารจัดการศกึ ษา (Schoolmis) 146
3. ระบบจดั เกบ็ ขอ มูลนักเรยี นรายบุคคล (DMC) 146
4. ระบบสารสนเทศเพ่อื บริหารการศกึ ษา (EMIS) 147
5. ระบบติดตามและประเมินผล
การดาํ เนนิ งานตามนโยบาย สพฐ. (e-MES) 147
6. ระบบการจดั ซื้อจดั จางภาครัฐ (e-GP) 147
7. โปรแกรม Microsoft Office 148
8. โปรแกรมจดั การสอบ (NT Access) 148
9. ระบบรายงานการรับนักเรยี น
149
บทที่ 5 ความรทู ั่วไปเกี่ยวกับ NEW DLTV 150
1. ปจ จยั สคู วามสาํ เร็จของการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
151
1 Iทางไกลผา นดาวเทยี ม (DLTV))
158
2. แนวทางการดําเนินการพฒั นาคุณภาพการศึกษา
ดวยการศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทียม (DLTV)

3. ขอควรรูเ ก่ยี วกับ NEW DLTV

เอกสารอางองิ
ภาคผนวก

บทท่ี 1
ความรพู ื้นฐานในการปฏิบัติหนาทีธ่ ุรการโรงเรียน
1. โครงสรางการบรหิ ารงานของสํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีภารกิจเก่ียวกับการจัดและสงเสริมการจัดการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน มีโรงเรียนในความรับผิดชอบ 30,112 โรงเรียน 76 ศูนยการศึกษาพิเศษ สํานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษา 225 แหง มีอาํ นาจหนาท่ี ดงั น้ี

1. จัดทําขอเสนอนโยบาย แผนพัฒนาการศึกษา มาตรฐานการจัดการศึกษา และหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน

2. กําหนดหลักเกณฑ แนวทาง และดําเนินการเก่ียวกับการสนับสนุนทรัพยากร การจัดต้ัง จัดสรร
ทรัพยากร และบริหารงบประมาณอุดหนนุ การจัดการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน

3. พัฒนาระบบการบริหาร และสงเสริมประสานงานเครือขายขอมูลสารสนเทศ การนําเทคโนโลยี
สารสนเทศไปใชใ นการเรยี นการสอน รวมท้ังสง เสรมิ การนิเทศการบริหารและการจดั การศกึ ษา

4. ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานของเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา
5. พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา ประสาน สงเสริม สนับสนุน และกํากับดูแลการจัดการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน การศึกษาเพ่ือคนพิการ ผูดอยโอกาสและผูมีความสามารถพิเศษและประสาน สงเสริมการจัด
การศึกษาขั้นพื้นฐานของเอกชน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน บุคคล ครอบครัว องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ
สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สังคมอื่นของเขตพนื้ ท่ีการศึกษา
6. ดําเนนิ การเกี่ยวกบั งานเลขานกุ ารของคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
7. ปฏิบัติงานอื่นใดตามท่ีกฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของสํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน หรือตามทีร่ ัฐมนตรีหรอื คณะรฐั มนตรมี อบหมาย
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานแบงสวนราชการตามกฎกระทรวงได 10 สวนราชการ
ดังน้ี
1. สาํ นกั อํานวยการ
2. สาํ นกั การคลงั และสนิ ทรัพย

1 I3. สาํ นกั ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

4. สํานักทดสอบทางการศกึ ษา
5. สาํ นักเทคโนโลยีเพ่อื การเรยี นการสอน
6. สํานักนโยบายและแผนการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน
7. สํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
8. สํานักพัฒนานวตั กรรมการจดั การศึกษา
9. สาํ นกั พฒั นาระบบบรหิ ารงานบคุ คลและนติ กิ าร
10. สํานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา

2

รายละเอียดภารกิจ หนาที่ บทบาท สามารถศึกษาเพิ่มเติมไดจากกฎกระทรวงแบงสวนราชการภายใน
สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน

สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามีภารกิจในการประสาน สงเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษา
ในเขตพ้ืนที่การศึกษา มีอาํ นาจหนาที่ตามกฎหมาย ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร และกฎหมาย
อื่น ๆ โดยมีผูอํานวยสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเปนผูบังคับบัญชาขาราชการ และรับผิดชอบการปฏิบัติ
ราชการ สาํ นกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาแบง สว นราชการออกเปน กลุม ดังนี้

1. กลุมอาํ นวยการ
2. กลุมนโยบายและแผน
3. กลุม สง เสรมิ การศกึ ษาทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร
4. กลุม บริการงานการเงนิ และสินทรพั ย
5. กลุมบรหิ ารงานบุคคล
6. กลุมพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
7. กลมุ นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา
8. กลุมสง เสรมิ การจดั การศกึ ษา
9. หนวยตรวจสอบภายใน
10. กลุมกฎหมายและคดี
สถานศึกษามีการแบงโครงสรางภายในตามกฎกระทรวง และเปน ไปตามระเบียบทคี่ ณะกรรมการ
เขตพื้นที่การศึกษากําหนด (ตามคําสั่ง คสช.ท่ี 19/2560 ลงวันที่ 19 เมษายน 2560 ซ่ึงไดกําหนดให
อํานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการเขตพน้ื ท่ีการศึกษา เปนอาํ นาจหนา ทขี่ องคณะกรรมการศกึ ษาธกิ ารจังหวัด)
ซึ่งจะตองแบงสวนราชการเปนกลุม ซ่ึงจะตองสอดคลองกับการกระจายอํานาจทางการศึกษา คือ ครอบคลุม
4 งาน คือ งานวชิ าการ งานงบประมาณ งานบริหารงานบคุ คล และงานบริหารทวั่ ไป
สามารถศึกษาเพ่ิมเติมไดจากประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบงสวนราชภายในสํานักงาน
เขตพนื้ ที่การศกึ ษา

2. กฎหมายและระเบยี บที่เก่ยี วของ

1 Iกฎหมายระเบียบท่ีเก่ยี วของในการปฏิบัติงานราชการโดยเฉพาะการปฏิบัติงานของสวนราชการสังกัด

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและสถานศึกษา มีกฎหมาย
ระเบยี บท่ีเก่ียวของหลายฉบบั คูมือฉบับนจ้ี ะนําเสนอสาระสําคญั ของกฎหมายทเ่ี ก่ยี วของ ดังนี้

2.1 พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไ ขเพมิ่ เติม
1.ประกาศใชเมอื่ วนั ที่ 19 สงิ หาคม 2542 มผี ลบงั คบั ใชเ มื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2542
2.มกี ารแกไ ขแลว (ฉบับที่ 2) เมื่อวันที่ 19 ธนั วาคม 2545
3.ขอบขา ย มี 9 หมวด 1 บทเฉพาะกาล 78 มาตรา

3
หมวด 1 บททั่วไป ความมงุ หมายและหลกั การ

1. สว นที่เปน หวั ใจหรือปรัชญาการศึกษาของไทย (ม.6)
การศึกษาตองเปนไปเพอ่ื พัฒนาคน ใหเปนมนษุ ยท่สี มบูรณ ท้งั ทางดานรางกาย จิตใจ ความรู
และคุณธรรม มีจรยิ ธรรมและวฒั นธรรมในการดาํ รงชวี ติ สามารถอยูรวมกบั ผูอืน่ ไดอ ยางมีความสุข
2. หลักการในการจัดการศกึ ษาประกอบดวย (ม.8)

1) เปนการศึกษาตลอดชวี ติ สําหรบั ประชาชน
2) สงั คมมีสวนรวมในการจดั การศึกษา
3) พฒั นาสาระและกระบวนการเรยี นรใู หเปนไปอยา งตอเนื่อง
3. การจดั ระบบ โครงสรา ง และกระบวนการจัดการศกึ ษายึดหลัก 6 ประการคอื (ม.9)
1) มคี วามเปนเอกภาพในนโยบาย แตหลากหลายในการปฏิบัติ
2) กระจายอํานาจสเู ขตพื้นทก่ี ารศึกษาและสถานศกึ ษา
3) กําหนดมาตรฐานการศกึ ษา และระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษา
4) สงเสรมิ มาตรฐานวิชาชพี
5) ระดมทรัพยากรมาใชใ นการจดั การศกึ ษา
6) การมสี วนรว มของบุคคล และชุมชน องคกรและสถานบนั ตา ง ๆ
หมวด 2 สิทธิและหนาทที่ างการศกึ ษา
1. ประชาชนมสี ทิ ธแิ ละโอกาสไดร บั การจัดการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ตอ งไมน อ ยกวา 12 ป โดย (ม.10)
1) อยางท่วั ถึง

1 I2) มีคุณภาพ

3) ไมเกบ็ คาใชจ า ย
2. สทิ ธปิ ระโยชนของบดิ า มารดา หรือผปู กครองในการจัดการศึกษา และอบรมเลยี้ งดูไดแ ก (ม.13)

1) ความรู
2) เงินอดุ หนุน
3) ลดหยอ นภาษหี รือยกเวน ภาษี
หมวด 3 ระบบการศึกษา
1. การจดั ระบบการศกึ ษาตามพระราชบัญญัตนิ ้ีแบงออกเปน 3 ระบบคอื (ม.15)
1) การศึกษาในระบบ ถือจุดมุงหมาย วิธีการ หลักสูตร ระยะเวลา การวัดและประเมิน

เปนเงือ่ นไขแหงความสําเร็จท่แี นน อน
2) การศึกษานอกระบบ เปนการศึกษาท่ีมีความยืดหยุนในการกําหนดจุดมุงหมาย

รูปแบบ วิธีการ ระยะเวลา การวัดผล ซึ่งเปนเงื่อนไขในการสําเร็จการศึกษา
โดยเน้ือหาและหลักสูตรจะตองมีความเหมาะสมกับสภาพปญหา และความตองการ
ของผเู รียนแตล ะกลมุ
3) การศึกษาตามอัธยาศัย เปนการเรียนรูตามความสนใจ ตามศักยภาพ ความพรอม
และโอกาสโดยศกึ ษาจากบุคคล ประสบการณ สงั คม สภาพแวดลอม สื่อ ฯลฯ

4
2. การจัดการศกึ ษาแบง ออกเปน 2 ระดบั คอื (ม.16)

1) ระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
2) การศึกษาระดบั อุดมศกึ ษา แบงเปน

- การศึกษาตา่ํ กวา ปรญิ ญา
- การศึกษาตัง้ แตร ะดับปรญิ ญาขนึ้ ไป
3. การศึกษาภาคบงั คบั 9 ป ถืออายแุ ละการสอบไดช้นั ปที่ 9 คอื (ม.17)
1) อายยุ างเขา ปท่ี 7 ถึงอายุยา งเขา ปท่ี 16 หรอื
2) การจบการศึกษา สอบไดชนั้ ปที่ 9
4. สถานที่จัดการศกึ ษาปฐมวยั และการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ไดแก (ม.18)
1) สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั
2) โรงเรยี น
3) ศูนยการเรียน
หมวด 4 แนวทางการจัดการศกึ ษา
1. การจดั การศึกษาตอ งยึดหลกั วา (ม.22 สําคัญทส่ี ดุ )
1) ผเู รยี นทุกคนมีความสามารถเรียนรู และพฒั นาตนเองได
2) ถอื วาผเู รยี นมีความสาํ คัญที่สดุ
2. การจัดการศึกษา เนนความสําคัญทั้งความรู คุณธรรม ในเรื่องตาง ๆ ดังนี้ (ม.23) ความรู
เกีย่ วกบั

1 I1) ตนเอง

2) วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
3) ศาสนา ศิลปวฒั นธรรม การกฬี า
4) คณติ ศาสตร ภาษา เนนการใชภาษาไทยอยา งถกู ตอง
5) การประกอบอาชพี และการดาํ รงชีวติ อยางมีความสุข
3. การจัดการเรยี นการสอน สถานศกึ ษาจะตองดําเนนิ การ ดังตอไปนี้ (ม.24)
1) จัดเน้ือหาสาระ และกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจ ความถนัด และความ

แตกตา ง
2) ฝกทักษะ การคิด การจดั การ เผชญิ กับสภาพทแ่ี ทจ รงิ
3) การจัดการเรียนรจู ากประสบการณจริง คิดเปน ทําเปน รกั การอา น
4) จดั โดยผสมผสาน
5) จดั สภาพแวดลอ มใหเ อือ้ ตอการจดั การเรียนการสอน
6) จดั ใหสามารถเรียนรูไดท กุ เวลาทุกสถานท่ี
4. การประเมินผลการเรียนพจิ ารณาจาก (ม.26)
พัฒนาการของผูเรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรม การรวมกิจกรรมและการทดสอบ
ควบคไู ปในกระบวนการเรยี นการสอน

5
5. การจัดทําหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (ม.27) ใหคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กําหนดหลักสูตรแกนกลาง เพ่ือความเปนไทย ความเปนพลเมืองดีของชาติ การดํารงชีวิต การประกอบอาชีพ
และเพื่อการศึกษาตอ ใหสถานศึกษาจัดทํา และกําหนดหลักสูตรทองถ่ินที่เก่ียวกับสภาพในชุมชนและสังคม
ภมู ปิ ญ ญาทองถิ่น และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค
6. การจัดการและสงเสริมใหดําเนินการวจิ ยั (ม.30) ใหดําเนนิ การในทุกระดับชั้น
หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา
1. อาํ นาจของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ม.31)

1) การสง เสรมิ และกํากบั ดแู ลการศึกษาทุกระดบั ทุกประเภท
2) กําหนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศกึ ษา
3) สนบั สนนุ ทรพั ยากรเพอื่ การศึกษา
4) สงเสริมและประสานงานการศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และการกฬี าเพือ่ การศึกษา
5) ติดตามตรวจสอบและประเมินการจัดการศึกษา และราชการอื่นตามท่ีกฎหมาย

กําหนด
2. การจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวงศึกษาธิการในรูปของคณะกรรมการ
แบงออกเปน 4 องคกรหลัก (ม.32)

1) สภาการศกึ ษา
2) คณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
3) คณะกรรมการการอาชีวศึกษา
4) คณะกรรมการการอุดมศึกษา
3. คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน มีหนาท่ี (ม.34)
พิจารณาเสนอนโยบายแผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ท่ีสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และแผนการศึกษาแหงชาติ การสนับสนุนทรัพยากร
การตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
4. องคป ระกอบของคณะกรรมการเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา จํานวน 15 คน (ม.38)
1) ประธานกรรมการ

1 I2) กรรมการโดยตําแหนง 1 คน คือ ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
เปน กรรมการและเลขานุการ
3) ผูแทนองคกรชมุ ชน 1 คน
4) ผแู ทนองคกรเอกชน 1 คน
5) ผแู ทนองคก รปกครองสวนทองถ่ิน 1 คน
6) ผูแ ทนสมาคมผปู ระกอบวิชาชีพครู 1 คน
7) ผูแทนสมาคมผปู ระกอบวชิ าชพี บริหารการศกึ ษา 1 คน
8) ผแู ทนสมาคมผปู กครองและครู 1 คน
9) ผทู รงคุณวฒุ ิ 7 คน (เปน ประธานกรรมการ 1 คน)

6

5. อาํ นาจหนา ทขี่ องสํานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาและคณะกรรมการเขตพนื้ ที่การศึกษา (ม.38)
1) กาํ กบั ดแู ลและจดั ตงั้ ยบุ รวม หรอื เลิกสถานศกึ ษา ในสํานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษานนั้
2) ประสาน สงเสริม และสนับสนนุ การจัดการศกึ ษาของเอกชน
3) ประสาน สง เสริม การจัดการศกึ ษาขององคกรปกครองสวนทอ งถิน่
4) สงเสริม สนับสนุน การจดั การศกึ ษาของบุคคล องคก ร หรอื หนว ยงาน

6. กระทรวงศกึ ษาธิการกระจายอาํ นาจบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาไปใหคณะกรรมการ
และสํานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา และสถานศกึ ษาในเขตพนื้ ที่การศกึ ษา 4 ดา น (ทําเปน กฎกระทรวง)

1) ดานวชิ าการ
2) งบประมาณ
3) การบรหิ ารงานบคุ คล
4) การบรหิ ารท่วั ไป
7. ใหมีคณะกรรมการสถานศึกษา เรียกวา คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ทําหนาท่ี
และมีองคประกอบ (เปน แบบพหภุ าค)ี
องคประกอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
1) ประธานกรรมการ
2) กรรมการโดยตําแหนง 1 คน คอื ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา
3) ผแ ู ทนองคก ร 2 คน คอื ผแ ู ทนองคก รชุมชน และผแ ู ทนองคก รปกครองสว นทอ งถ่ิน

1 I4) ผูแ ทน 4 หรือ 5 คน คอื ผแู ทนผปู กครอง ผูแทนครู ผแู ทนศิษยเกา และผูแทนผูน ําศาสนา

5) ผทู รงคณุ วุฒิ กําหนด 1 หรอื 6 คน ตามขนาดของโรงเรยี น (300 คนลงมา หรอื ตงั แต 301 คน)
จาํ นวนของคณะกรรมการ (ตามกฎกระทรวง)

โรงเรียนท่ีมีนักเรียน ไมเกิน 300 คน มี 9 คน
โรงเรียนทม่ี ีนกั เรยี น ตัง้ แต 301 คน มี 15 คน
หนา ท่ีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
กํากับ ดูแล สง เสรมิ การจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา
คณะกรรมการฯ มีทั้งระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ระดับอุดมศึกษา ระดับต่ํากวาปริญญาและ
สถานศึกษาอาชวี ศึกษา

1. องคกรปกครองสวนทองถ่ิน มีสิทธิจัดการศึกษาในระดับใดระดับหน่ึงหรือทุกระดับตาม
ความพรอ ม ความเหมาะสม และความตอ งการภายในทอ งถ่นิ (ม.41)

2. กระทรวงศึกษาธกิ ารกับองคก รปกครองสว นทองถน่ิ (ม.42)
1) กําหนดหลักเกณฑและวิธีการประเมินความพรอมในการจัดการศึกษาขององคกร
ปกครองสวนทอ งถิน่
2) มีหนาที่ประสานและสงเสริมใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหสามารถจัดการศึกษา
สอดคลองกับนโยบายและไดม าตรฐานการศกึ ษา
3) เสนอแนะการจัดสรรงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนการจัดการศึกษาขององคกร
ปกครองสว นทอ งถิน่

7
3. การบริหารและการจดั การศกึ ษาของเอกชน

1) ใหมีความเปนอิสระ โดยการกํากับ ติดตาม การประเมินคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาของรัฐ และเขาสูระบบการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
เชน เดยี วกบั รัฐ

2) สถานศึกษาเอกชนที่เปนโรงเรียนเปนนิติบุคคล และมีคณะกรรมการบริหาร
ประกอบดว ย ผูบริหารสถานศึกษาเอกชน, ผูรับใบอนุญาต, ผูแทนผูปกครอง, ผูแทน
องคกรชมุ ชน, ผูแทนคร,ู ผแู ทนศษิ ยเ กา และผทู รงคุณวฒุ ิ (เปนไปตามกฎกระทรวง)

3) สถานศึกษาเอกชน จัดการศึกษาไดทุกระดับและทุกประเภทการศึกษาตามที่
กฎหมายกาํ หนด

4) การกําหนดนโยบายและแผนการจัดการศึกษาของรัฐ ของเขตพื้นที่การศึกษา หรือ
องคก ร

5) ปกครองสวนทองถิ่นใหคํานึงถึงผลกระทบตอการจัดการศึกษาของเอกชน
โ ด ย ห น ว ย ง า น ดั ง ก ล า ว จ ะ ต อ ง รั บ ฟ ง ค ว า ม คิ ด เห็ น ข อ ง เอ ก ช น แ ล ะ ป ร ะ ช า ช น
ประกอบการพิจารณาดว ย

6) สถานศึกษาเอกชนที่จัดการศึกษาระดับปริญญา ดําเนินการไดโดยอิสระ มีความ
คลองตัวมีเสรีภาพทางวิชาการภายใตการกํากับดูแลของสถานศึกษาตามกฎหมายวา
ดวยสถาบนั อดุ มศกึ ษาของเอกชน

7) รัฐตองใหการสนับสนุนดานเงินอุดหนุนการลดหยอน หรือยกเวนภาษี หรือสิทธิ
ประโยชนอยางอ่ืน แกสถานศึกษาเอกชนตามความเหมาะสม รวมท้ังสงเสริมและ
สนับสนุนดา นวชิ าการใหส ถานศกึ ษาเอกชนมมี าตรฐานและสามารถพึ่งตนเองได

หมวด 6 มาตรฐานและการประกนั คุณภาพการศึกษา (ม.47-51)
1. ระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาเพือ่ พฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดบั

ประกอบดวยระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก ซ่ึงจะตองออก
กฎกระทรวง

2. การจัดระบบการประกันคุณภาพภายใน เปนหนาท่ีของสถานศึกษาและตนสังกัด และ

1 Iใหถอื วาการประกนั คุณภาพภายในเปนสว นหนง่ึ ของการบริหารการศึกษาทต่ี องดําเนนิ การอยา งตอเนื่อง
3. วตั ถปุ ระสงคของการประเมินภายใน (ม.47)
1) เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานใหเทา เทียมกัน
2) เพือ่ รองรบั การประกนั คณุ ภาพภายนอก

8
4. การจัดทํารายงานการจัดการศึกษาประจําป (SSR) ใหดําเนินการรายงาน เสนอตอ
หนวยงานตน สงั กดั หนวยงานท่ีเก่ียวขอ ง และเปด เผยตอสาธารณชน (ม.48)

1) ใหมีสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) มีฐานะเปน
องคการมหาชน ทําหนาที่ พัฒนาเกณฑ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทํา
การประเมินผลการจัดการศึกษา เพ่ือใหมีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา
โดยคาํ นึงถงึ ความมุงหมาย หลกั การ และแนวทางการจดั การศกึ ษาในแตล ะระดับ

2) การประเมนิ ภายนอกหากสถานศกึ ษาใดไมไดมาตรฐานใหด ําเนนิ การดงั น้ี (ม.51)
(1) ให (สมศ.) จัดทําขอเสนอแนะใหสถานศึกษาปรับปรุง ตอหนวยงานตนสังกัด
ภายในเวลาทกี่ ําหนด
(2) สถานศึกษาดําเนินการปรบั ปรุงดาํ เนินการภายในเวลาท่ีกําหนด ถา หากไมส ามารถ
ท่จี ะปรับปรงุ ไดท ัน หรอื ไมด ําเนินการปรบั ปรุงตามที่ (สมศ.) เสนอแนะ
(3) ให (สมศ.) ดําเนินการรายงานตอคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน

3) การกําหนดระยะเวลาในการประเมินภายในและภายนอก
(1) การประเมนิ ภายในใหด ําเนนิ การประจําทกุ ป
(2) การประเมินภายนอก ประเมินโดย (สมศ.) โดยจะประเมินไมนอย 1 ครั้งในรอบ
5 ป

หมวด 7 ครูอาจารยและบุคลากรทางการศึกษา
1. ใหมีองคกรวิชาชีพครู ผูบริหารสถานศึกษา และผูบริหารการศึกษา มีฐานะเปนองคกร

อิสระภายใตการบริหารของสภาวิชาชีพในกํากับของกระทรวงศึกษาธิการ มีอํานาจหนาท่ี กําหนดมาตรฐาน
วชิ าชีพ ออกและเพกิ ถอนใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพ กาํ กบั ดูแล การปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของ
วชิ าชพี รวมทงั้ พัฒนาวิชาชีพครู ผบู รหิ ารสถานศึกษา และผูบริหารการศึกษา

2. การจัดทําใบประกอบวิชาชีพสําหรับ ครู ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา และ
บุคลากรทางการศึกษาอืน่ (ม.53)

3. การจัดระบบครู กระบวนการผลิตพัฒนาครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษาใหมี
คณุ ภาพและมาตรฐาน ใหเ ปนอาํ นาจหนาทข่ี องกระทรวงศกึ ษาธิการ

1 I4. รัฐพึงจัดสรรงบประมาณและจัดต้ังกองทุนพัฒนาครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษาอยาง

เพยี งพอ
5. มาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณวิชาชพี กําหนดไวด งั ตอไปนี้
1) มาตรฐานวชิ าชพี ประกอบดว ย
(1) มาตรฐานดานความรแู ละประสบการณวชิ าชีพ
(2) มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน
(3) มาตรฐานการปฏิบัตติ น
2) จรรยาบรรณวชิ าชีพประกอบดว ย
(1) จรรยาบรรณ ตอ ตนเอง
(2) จรรยาบรรณ ตอวิชาชพี
(3) จรรยาบรรณ ตอผรู ับบรกิ าร
(4) จรรยาบรรณ ตอ ผรู วมประกอบวชิ าชีพ
(5) จรรยาบรรณ ตอ สงั คม

9
6. ใหมีองคกรกลางบริหารงานบุคคลของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาท้ังของ
หนวยงานทางการศึกษา ในระดับสถานศึกษาของรัฐและระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เปนขาราชการในสังกัด
องคกรกลางบริหารงานบุคคลของขาราชการครู โดยยึดหลักการกระจายอํานาจ การบริหารงานบุคคลสู
เขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาและสถานศึกษา (ม.54)
7. ใหมีกฎหมายวาดวยเงินเดือน คาตอบแทน สวัสดิการและสิทธิประโยชนอ่ืนสําหรับ
ขา ราชการครูฯ
หมวด 8 ทรพั ยากรและการลงทนุ เพ่ือการศึกษา (มี 5 มาตรา 58-62)
1. การระดมทรัพยากรและการลงทนุ ดานงบประมาณ การเงนิ และทรพั ยสนิ ทัง้ ของรัฐ องคก ร
ปกครองสว นทองถ่นิ บุคคล และครอบครวั ฯลฯ มาใชจ ัดการศกึ ษาดงั นี้ (ม.58)

1) รัฐ องคกรปกครองสว นทองถิน่ โดยเก็บภาษีเพื่อการศึกษาตามกฎหมาย
2) ใหบุคคล ครอบครัว ชุมชน ฯลฯ เปนผูจัดและสวนรวมในการจัดการศึกษา บริจาค

ทรพั ยส นิ และมีสวนรวมกบั ภาระคา ใชจ าย
2. สถานศกึ ษาสามารถจัดหารายไดและผลประโยชนไ ดจากแหลงตา ง ๆ ดงั ตอไปน้ี (ม.59)
ผลประโยชนจากการปกครองดูแลทรัพยสินของสถานศึกษาท่ีเปนที่ราชพัสดุจัดหาจากการบริการของ
สถานศึกษา จดั เก็บคาธรรมเนียมการศึกษาอสังหาริมทรัพยจากผอู ุทิศให หรือ จากการแลกเปล่ียน จากรายได
ของสถานศึกษา ผลประโยชนจากท่ีราชพัสดุ เบี้ยปรบั จากผิดสัญญาศึกษาตอสัญญาเชาซื้อ/จางทําของ โดยใช
งบประมาณ
3. การจดั สรรงบประมาณรัฐไดดําเนินการจดั สรรไดโดย (ม.60)

1 I1) เงนิ อุดหนนุ ท่ัวไปจัดใหการศึกษาภาคบังคับและการศึกษาข้ันพื้นฐานของรัฐและของ
เอกชนเทา เทียมกัน
2) กองทุนกูยืม สําหรับทุนการศึกษา จัดใหสําหรับผูมีรายไดนอย ใหตามความ

เหมาะสมและจําเปนงบประมาณ สาํ หรบั การศกึ ษาพเิ ศษ
3) งบดําเนินการ งบลงทนุ จัดสรรตามนโยบายและแผนพัฒนาการศึกษา และกําลังของ

สถานศกึ ษาโดยคาํ นงึ ถงึ คุณภาพและความเสมอภาค
4) เงินอุดหนุนทั่วไป จัดสําหรับอุดมศึกษาของรัฐท่ีเปนนิติบุคคลและสถานศึกษาใน

กํากับของรฐั หรอื องคก ารมหาชน
5) กองทุนเพอ่ื การศึกษา จัดเพือ่ พัฒนาการศึกษาของรัฐและเอกชน
4. การจัดสรรงบประมาณเงินอุดหนุนใหกับ บุคคล ครอบครัว องคกรชุมชน องคประชาชน
องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันอ่ืน ใหคํานึงถึงความเหมาะสมและความจําเปน
(ม.61)
5. ระบบการตรวจสอบติดตามงบประมาณ และประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผล
การใชจ ายงบประมาณใหค าํ นึงถึง (ม.62) หลักการศกึ ษา แนวทางการจดั การศึกษา และมาตรฐานการศึกษา

10
หมวด 9 เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา (ม.63-69)

1. การจัดสรรคลื่นความถี่จากรัฐ (ม.63) ใหดําเนินการโดย การจัดสรรเพื่อประโยชนสําหรับ
การศกึ ษา การทํานบุ ํารุงศาสนาและวฒั นธรรม

2. การผลิตและพัฒนาแบบเรยี นตาํ ราสอื่ (ม.64) ดาํ เนนิ การโดย : ใหม ีการเปดเสรี
3. ใหมีการพัฒนาบุคลากรทั้งดานผูผลิตและผูใชเทคโนโลยีทางการศึกษาเพ่ือใหมีความรู
ความสามารถและทกั ษะในการผลิตรวมทงั้ การใชเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมมคี ุณภาพและประสิทธภิ าพ (ม.65)
4. วัตถุประสงคของการพัฒนาขีดความสามารถในการใชเทคโนโลยี มีวัตถุประสงค : อันดับ
แรกเพอื่ ใหผูเ รียนไดแ สวงหาความรูไดอ ยา งตอเน่ืองและตลอดชวี ิต (ม.66)
5. รัฐตองสงเสริมใหมีการวิจัยและพัฒนา การผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อการศึกษา
รวมท้ังการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการใชเทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา (ม.67)
6. ใหมีการระดมทุน จัดต้ังกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งลดอัตราคาบริการ
เปน พเิ ศษในการใชเ ทคโนโลยดี งั กลาว เพอื่ การพฒั นาคนและสงั คม (ม.68)
7. รัฐตอ งจัดใหมีหนวยงานกลาง ทําหนาที่พจิ ารณาเสนอนโยบาย แผน สง เสรมิ และประสาน
การวิจยั การพัฒนา และการใช รวมทงั้ การประเมนิ คุณภาพและประสทิ ธิภาพของการผลติ และการใชเ ทคโนโลยี
เพื่อการศึกษา
สามารถศึกษาเพิ่มเติมไดที่พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546
(ฉบับเต็ม)
2.2 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2546

1 I1. ประกาศใชเมือ่ วนั ที่ 6 กรกฎาคม 2549 มีผลบงั คบั ใชเม่ือวนั ที่ 7 กรกฎาคม 2546

2. ขอบขาย แบง ออกเปน 5 หมวด 1 บทเฉพาะกาล 82 มาตรา
หมวด 1 การจัดระเบยี บบรหิ ารราชการในสวนกลาง

1. การจดั ระเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ แบงออกเปน
1) สวนกลาง
2) เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา
3) สถานศึกษาของรฐั ทจี่ ดั การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรีทเี่ ปน นติ ิบคุ คล

2. สว นราชการสว นกลาง ใหม ีหัวหนา สว นราชการข้ึนตรงตอรัฐมนตรี ไดแ ก
1) สาํ นกั งานรฐั มนตรี
2) สํานกั งานปลัดกระทรวง
3) สาํ นักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา
4) สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
5) สํานักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา
6) สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ทุกสวนราชการ มีฐานะเปน นิติบุคคล ยกเวน สํานักงานรัฐมนตรี
3. คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน มีหนาที่
1) เสนอนโยบาย แผนพัฒนามาตรฐานและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
2) สนับสนนุ ทรพั ยากร
3) การตดิ ตามตรวจสอบและประเมนิ ผลการจัดการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
4) เสนอแนะในการออกระเบียบหลักเกณฑและประกาศท่ีเก่ียวของกับการบริหารของ
สาํ นักงาน

11
4. คณะกรรมการอนื่ ๆ ท่ีควรจะรู

1) คณะกรรมการอุดมศกึ ษา จํานวน 28 คน วาระละ 4 ป
2) คณะกรรมการอาชวี ศกึ ษาจํานวน 32 คน วาระละ 4 ป
3) คณะกรรมการสภาการศึกษา จาํ นวน 59 คน วาระละ 4 ป
5. กระทรวงศึกษาธิการนอกจากมีหนาที่เปนผูกําหนดหลักเกณฑและวิธีการประเมิน
ความพรอมในการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถ่ินและยังมีหนาที่ตอองคกรปกครองสวนทองถ่ิน
คือ
1) ประสานสง เสรมิ ใหอ งคกรปกครองสว นทองถ่ินสามารถจดั การศกึ ษาได
2) เสนอแนะการจัดสรรงบประมาณอุดหนุนการจัดการศึกษาขององคกรปกครอง

สวนทองถนิ่
หมวด 2 การจดั ระเบยี บบริหารราชการเขตพืน้ ท่ีการศึกษา

1. การบริหารและการจดั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานใหยดึ เขตพน้ื ที่ แบง เปนเขตพน้ื ที่โดยยดึ
1) ปริมาณสถานศกึ ษา
2) จาํ นวนประชากร
3) วฒั นธรรม
4) ความเหมาะสมอน่ื

โดยใหรฐั มนตรมี ีอํานาจในราชกจิ จานเุ บกษา โดยคําแนะนาํ ของสภาการศึกษา
2. การจัดระเบยี บของสว นราชการ

1) การจัดระเบียบของเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา
ก า ร กํ า ห น ด ก ลุ ม ภ า ร กิ จ ใ ห ก ร ะ ท ร ว ง จั ด ทํ า เป น ป ร ะ ก า ศ โ ด ย คํ า แ น ะ นํ า ข อ ง

คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
การกําหนดกลุมงาน ใหจัดทําเปนประกาศของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา โดย

ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
2) สถานศึกษา
การกําหนดกลุมงาน ตามระเบียบของคณะกรรมการเขตพื้นท่ีการศึกษาแตละเขต

1 Iพืน้ ท่กี ารศึกษา
3) สถานศกึ ษาท่เี ปนโรงเรียนมฐี านะเปนนิตบิ ุคคล และสนิ้ สุดเมอื่ ยุบเลิกสถานศกึ ษา
3. คณะกรรมการเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาและสาํ นักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา
1) กํากบั ดูแล จดั ตงั้ ยบุ รวมหรือเลกิ ลมสถานศึกษา
2) ประสาน สง เสรมิ และสนับสนนุ สถานศึกษาเอกชน
3) ประสาน สงเสรมิ องคก รปกครองสว นทองถ่ิน
4) สง เสริม และสนับสนุน การจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว องคก รเอกชน องคกร
5) ชุมนุม องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่นท่ีจัด
การศึกษา
6) ปฏบิ ตั ิงานอน่ื ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ ง

12
4. อํานาจหนา ทขี่ องสํานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา (ม.37)

1) บริหารและการจดั การศึกษาและพฒั นาสาระของหลกั สูตรสถานศกึ ษา
2) พัฒนางานวิชาการและจัดระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษารวมกับ

สถานศกึ ษา
3) พจิ ารณาแบงสวนราชการภายในสถานศึกษาของสถานศึกษา และของสํานักงานเขต

พ้นื ท่ีการศึกษา
4) ปฏิบตั งิ านอื่น ๆ ที่กฎหมายกาํ หนด
5) คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีอํานาจหนาที่กํากับ สงเสริม และสนับสนุน

กิจการของสถานศึกษา
2.3 พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 และที่แกไข
เพ่ิมเติม

1. ประกาศใชเ มอื่ วนั ท่ี 23 ธนั วาคม 2547 มีผลบังคับใชเม่อื วนั ท่ี 24 ธันวาคม 2547
2. มีการแกไขแลว (ฉบบั ที่ 2) เม่อื วันท่ี 20 กมุ ภาพนั ธ 2551
3. ขอบขาย มี 9 หมวด 1 บทเฉพาะกาล 140 มาตรา
หมวด 1 คณะกรรมการบรหิ ารงานบุคคลของขา ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
1. อํานาจหนาท่ีของ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นท่ีการศึกษา (ม.23) ปจจุบันเปนอํานาจหนาท่ีของ
ศึกษาธกิ ารจังหวัดตามคาํ สัง่ คสช.ที่ 19/2560 ลงวนั ท่ี 3 เมษายน 2560

1) พิจารณากําหนดนโยบายการบริหารงานบุคคล กําหนดจํานวนอัตราตําแหนงและ

1 Iเกล่ียอัตราตําแหนง พิจารณาดําเนินการทางวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณ

และการรองทุกข
2) พิจารณาใหความเห็นชอบการบรรจุแตงตั้ง และการบริหารงานบุคคลของสํานักงาน

เขตพืน้ ท่กี ารศึกษา
3) ใหค วามเหน็ ชอบพจิ ารณาความดคี วามชอบ
4) สง เสรมิ สนับสนนุ การพัฒนาสรา งขวัญกําลงั ใจ
5) กํากับ ดแู ล ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการบริหารงานบคุ คล
6) จัดทําฐานขอ มูล และรายงานประจําปเ กยี่ วกับการบริหารงานบุคคล
7) ปฏิบัติงานอื่นตามท่ีบัญญัติไวในพระราชบัญญัติน้ี กฎหมายอื่น หรือตามท่ี ก.ค.ศ.

มอบหมาย

13
2. อํานาจหนาท่ีของผูอํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา (ม.24) เปนผูบังคับบัญชา
ของขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา

1) รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการท่ีเปนอํานาจของ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา และ
ตามที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามอบหมาย

2) เสนอแนะการบรรจุแตงตั้ง และการบริหารงานบุคคลในเรื่องที่อยูในอํานาจหนาท่ี
ของ อ.ก.ค.ศ.เขตพน้ื ท่ีการศึกษา

3) พิจารณาความดีความชอบของผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษาในหนวยงาน
ทางการศึกษาในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาใน
สํานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา

4) จัดทําแผนและสงเสริมการพัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน
หนว ยงานทางการศึกษาในสํานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา

5) จดั ทาํ ทะเบียนประวัติขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในเขตพ้ืนที่การศึกษา
6) จัดทํามาตรฐานคุณภาพงาน กําหนดภาระงานขั้นตํ่าและเกณฑการประเมินผลงาน

สําหรบั ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
7) ประเมินคุณภาพการบริหารงานบุคคลและจัดทํารายงานเสนอ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่

การศกึ ษา เพอื่ เสนอ ก.ค.ศ. ตอไป
8) ปฏิบัตหิ นา ที่อ่ืนตามท่บี ญั ญตั ิไวในพระราชบญั ญัตนิ ้ี กฎหมายอนื่ หรอื ตามที่ ก.ค.ศ.
3. อาํ นาจหนาที่ของคณะกรรมการสถานศึกษา (ม.26)

1 I1) กํากับดูแลการบรหิ ารงานบุคคลในสถานศกึ ษาใหสอดคลองกบั นโยบาย กฎ ระเบียบ
ขอบังคับ หลักเกณฑและวิธีการตามที่ ก.ค.ศ. และ อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนที่การศึกษา
กาํ หนด
2) เสนอความตองการจํานวน และอัตราตําแหนงของขาราชการครูและบุคลากร

ทางการศกึ ษาในสถานศึกษา เพื่อเสนอ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นท่กี ารศกึ ษาพิจารณา
3) ใหขอคิดเห็นเก่ียวกับการบริหารงานบุคคลของขาราชการครูและบุคลากรทางการ

ศกึ ษาในสถานศึกษาตอ ผบู ริหารสถานศึกษา
4) ปฏิบัติหนาท่ีอ่ืนตามท่ีบัญญัติไวในพระราชบัญญัติน้ี กฎหมายอ่ืน หรือตามท่ี อ.ก.ค.ศ.

เขตพนื้ ที่การศึกษามอบหมาย

14
4. อาํ นาจหนาทขี่ องผอู ํานวยการสถานศกึ ษา (ม.27) เปนผูบงั คบั บญั ชาของขาราชการครูและ
บคุ ลากรทางการศึกษา

1) ควบคุม ดูแลใหการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาสอดคลองกับนโยบาย กฎ
ระเบียบ ขอบังคับ หลักเกณฑและวิธีการตามท่ี ก.ค.ศ. และ อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษากาํ หนด

2) พิจารณาความดีความชอบของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน
สถานศึกษา

3) สงเสริม สนับสนุนขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาใหมีการ
พัฒนาอยางตอเนอื่ ง

4) จัดทํามาตรฐาน ภาระงานสําหรับขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน
สถานศึกษา

5) ประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานของขาราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาเพอ่ื เสนอ อ.ก.ค.ศ. เขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา

6) ปฏบิ ตั ิหนาท่ีอนื่ ตามท่ีบญั ญตั ไิ วในพระราชบัญญตั นิ ้ี กฎหมายอ่ืนหรือตามที่ อ.ก.ค.ศ.
เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาหรอื คณะกรรมการสถานศึกษามอบหมาย

หมวดท่ี 2 บทท่ัวไป
1. การดําเนนิ งานตาม พ.ร.บ. นี้ใหดําเนินการตามหลกั การบริหารกจิ การบา นเมืองทด่ี ี โดยยึด

หลักระบบคุณธรรม ความเสมอภาคระหวางบุคคล และหลักการไดรับการปฏิบัติและการคุมครองสิทธิอยาง
เสมอภาคเทาเทยี มกัน

2. การเปนผูประกอบอาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา จะตองมีคุณสมบัติท่ัวไปภายใต
พ.ร.บ. สภาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา

3. ขา ราชครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาตอ งมคี ุณสมบตั ทิ ส่ี ําคัญคือ (ม.30) มีสญั ชาตไิ ทย
3.1 มอี ายไุ มต่าํ กวา สบิ แปดปบริบูรณ
3.2 เลอื่ มใสการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
3.3 ไมเ ปนผดู าํ รงตาํ แหนงทางการเมือง

1 I3.4 ไมเ ปนผไู รความสามารถหรอื จิตฟน เฟอ นหรือโรคตามที่กําหนดในกฎ ก.ค.ศ.

3.5 ไมอ ยใู นระหวางถกู ส่งั พักราชการ ส่ังใหอ อกจากราชการไวกอ น หรือถกู สัง่ พัก
หรือเพิกถอนใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพ

3.6 ไมบกพรองในศลี ธรรมอนั ดี
3.7 ไมเปนกรรมการพรรคการเมือง หรือเจา หนาทีพ่ รรคการเมอื ง
3.8 ไมเปนบคุ คลลม ละลาย
3.9 ไมเคยตอ งโทษจาํ คุกโดยคาํ พิพากษาถึงทส่ี ดุ เวน แตการกระทําโดยประมาทหรือ

ลหุโทษ
3.10 ไมเ คยถกู ลงโทษใหออก ปลดออก หรือไลอ อก
3.11 ไมเคยถูกลงโทษใหอ อก ปลดออก หรอื ไลอ อกเพราะกระทําผิดวนิ ัย
3.12 ไมเคยทุจรติ ในการสอบเขารับราชการ

15
4. การใหไดร ับเงินเดือน เงนิ วิทยฐานะ และเงินประจาํ ตําแหนง ใหไดรับตามกฎหมายวาดวย
เงินเดือน เงินวทิ ยฐานะ และเงนิ ประจําตําแหนง ของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ยกเวนบุคลากร
ทางการศึกษาตามมาตรา 38 ค (2) ใหนําบัญชีอัตราเงินเดือน และเงินประจําตําแหนงของขาราชการพลเรือน
มาบังคับใชโดยอนโุ ลม
5. คณะรัฐมนตรีอาจวางระเบียบและวิธีการใหกระทรวงการคลังหักเงินเดือนของขาราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา เปน เงินสะสมโดยคิดดอกเบ้ียเงนิ สะสมใหในอัตราไมต ่ํากวาดอกเบ้ียเงนิ ฝากประจํา
ของธนาคารพาณิชย เงินสะสมและดอกเบ้ียจะจายคืนใหกูยืมตามโครงการสวัสดิการสําหรับขาราชการครูและ
บคุ คลากรทางการศกึ ษา ตามระเบียบที่กระทรวงกําหนดโดยความเหน็ ขอบของคณะรัฐมนตรี
6. การไดรับเงินเพ่ิมสําหรับตําแหนงท่ีมีเหตุพิเศษ ตามระเบียบท่ี ก.ค.ศ. กําหนดโดยความ
เห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
7. การไดเงินเพิ่มคา ครองชีพช่ัวคราวตามภาวะเศรษฐกิจ ตามหลักเกณฑและวิธีการทก่ี ําหนด
ในพระราชกฤษฎกี า
8. ก.ค.ศ. กําหนดเก่ียวกับวันเวลาทํางาน วันหยุดราชการตามประเพณี วันหยุดราชการ
ประจาํ ป และการลาหยดุ ราชการ (ถา ยังไมกําหนดใหนาํ หลักเกณฑที่ใชกบั ขาราชการพลเรือนมาใชก อ น)
9. เครื่องแบบและระเบยี บการแตงเคร่อื งแบบใหเ ปนไปตามกฎหมายวา ดว ยการน้ัน
10. บาํ เหนจ็ บํานาญใหเปนไปตามกฎหมายวา ดวยการน้นั
หมวด 3 การกาํ หนดตําแหนง
1. พ.ร.บ.ไดก าํ หนดตาํ แหนง ขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา มี 3 ประเภท คอื

1 I1) ตาํ แหนงซึ่งมหี นาทเ่ี ปนผสู อนในหนวยงานการศกึ ษา

2) ตําแหนงผูบรหิ ารสถานศึกษาและผบู รหิ ารการศึกษา
3) ตําแหนงบุคลากรทางการศกึ ษาอนื่
โดยกําหนดตาํ แหนงซึ่งมีหนา ทเ่ี ปน ผสู อนในหนว ยงานการศึกษา (ม.38 ก.) ไดแก
1) ครูผชู วย
2) ครู
3) อาจารย
4) ผูช ว ยศาสตราจารย
5) รองศาสตราจารย
6) ศาสตราจารย
ตําแหนง ใน (3) ถึง (6) มใี นหนว ยงานการศึกษาทส่ี อนระดบั ปริญญา

16
ตําแหนงผบู รหิ ารสถานศึกษาและผบู รหิ ารการศึกษา (ม.38 ข.) ไดแก

1) รองผูอํานวยการสถานศกึ ษา
2) ผอู ํานวยการสถานศึกษา
3) รองผอู าํ นวยการสํานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา
4) ผูอ ํานวยการสาํ นกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา
5) รองอธิการบดี
6) อธกิ ารบดี
7) ตําแหนงทีเ่ รยี กชื่ออยา งอน่ื ตามท่ี ก.ค.ศ. กาํ หนด
ตําแหนง (1) และ (2) มใี นสถานศกึ ษาและหนว ยงานการศึกษาตามประกาศกระทรวง
ตาํ แหนง (3) และ (4) ใหม ีในสาํ นกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา
ตําแหนง (5) และ (6) มีในหนว ยงานการศกึ ษาที่สอนระดบั ปรญิ ญา
ตาํ แหนงบุคลากรทางการศึกษาอน่ื (ม.38 ค.) ไดแก
1) ศึกษานเิ ทศก
2) ตําแหนงท่ีเรียกชื่ออยางอื่นตามที่ ก.ค.ศ. กําหนด หรือตําแหนงของขาราชการที่

ก.ค.ศ. นํามาใชกําหนดใหเปนตาํ แหนงขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตาม
พระราชบัญญตั ิน้ี
2. ใหตําแหนงขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใหม วี ทิ ยฐานะดังตอไปน้ี (ม.39)
ก. ตําแหนงครู มีวิทยฐานะ ดงั ตอ ไปน้ี

1 I1) ครชู ํานาญการ

2) ครชู ํานาญการพิเศษ
3) ครูเชี่ยวชาญ
4) ครเู ช่ยี วชาญพเิ ศษ
ข. ตําแหนง ผบู ริหารสถานศึกษา มวี ทิ ยฐานะ ดงั ตอ ไปนี้
1) รองผอู าํ นวยการชาํ นาญการ
2) รองผอู าํ นวยการชาํ นาญการพเิ ศษ
3) รองผอู ํานวยการเช่ียวชาญ
4) ผอู ํานวยการชาํ นาญการ
5) ผูอาํ นวยการชํานาญการพิเศษ
6) ผอู าํ นวยการเชย่ี วชาญ
7) ผอู ํานวยการเชย่ี วชาญพิเศษ
ค. ตําแหนง ผูบริหารการศึกษา มวี ทิ ยฐานะ ดังตอไปน้ี
1) รองผอู าํ นวยการสาํ นักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาชํานาญการพิเศษ
2) รองผอู ํานวยการสํานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาเชีย่ วชาญ
3) ผูอาํ นวยการสํานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาเชย่ี วชาญ
4) ผูอาํ นวยการสาํ นกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาเชี่ยวชาญพิเศษ

17
ง. ตาํ แหนง ศึกษานิเทศก มวี ทิ ยฐานะ ดงั ตอไปนี้

1) ศึกษานิเทศกชํานาญการ
2) ศึกษานิเทศกช ํานาญการพิเศษ
3) ศกึ ษานเิ ทศกเช่ียวชาญ
4) ศกึ ษานิเทศกเชยี่ วชาญพิเศษ
จ. ตําแหนง ทีเ่ รยี กชอื่ อยา งอ่ืนท่ี ก.ค.ศ. กําหนดใหมีวทิ ยฐานะ
3. ใหต าํ แหนง คณาจารยเ ปนตําแหนงทางวิชาการ
ก. อาจารย
ข. ผชู ว ยศาสตราจารย
ค. รองศาสตราจารย
ง. ศาสตราจารย
4. ก.ค.ศ. จะตองกําหนดวาตําแหนงขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาจะมีหนายงาน
การศกึ ษาใด จํานวนเทาใด และจะตองมีคุณสมบัตเิ ฉพาะตาํ แหนง สาํ หรับตําแหนง อยา งไร (ม.41)
5. การจัดทํามาตรฐานการกําหนดตําแหนงวิทยฐานะและมาตรฐานตําแหนงทางวิชาการให
คาํ นงึ ถงึ (ม.42)
5.1 มาตรฐานวิชาชีพ
5.2 คณุ วฒุ ิการศึกษา
5.3 การอบรมประสบการณ
5.4 ระยะเวลาการปฏบิ ัติงาน
5.5 คณุ ภาพการปฏิบัตงิ าน หรอื ผลงานทเี่ กิดขนึ้ จากการปฏบิ ัติหนา ที่
6. องคประกอบของมาตรฐานตําแหนงประกอบดวย ช่ือตําแหนง ความรับผิดชอบ ปริมาณงาน
และคุณภาพงานของตําแหนง ขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
2.4 พระราชบญั ญตั ขิ อมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540
1. มผี ลบังคับใช 9 ธ.ค. 2540
2. ของขา ยของ พ.ร.บ. 7 หมวด 1 บทเฉพาะกาล 43 มาตรา

1 I3. คําศพั ทเ ฉพาะท่สี าํ คัญในพระราชบัญญัตนิ ้ี

ขอมูลขาวสาร หมายความวา สิ่งที่ส่ือความหมายใหรูเร่ืองราวขอเท็จจริง ขอมูล หรือส่ิงใด ๆ ไมวา
การสื่อสารความหมายนั้นจะทําไดโดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผานวิธีการใด ๆ และไมวาจะไดจัดทําไวใน
รูปของเอกสาร แฟม รายงาน หนังสือ แผนผับ แผนที่ ภาพวาด ภาพถาย ฟลม การบันทึกภาพหรือเสียง
การบันทกึ โดยเครอ่ื งคอมพิวเตอร หรอื วธิ อี ่ืนใดท่ีทาํ ใหส ง่ิ ทีบ่ ันทึกไวปรากฏได

ขอมูลขาวสารของราชการ หมายความวา ขอมูลขาวสารที่อยูในความครอบครองหรือควบคุมดูแล
ของหนวยงานของรฐั ไมว า จะเปนขอ มลู ขาวสารเกี่ยวกับการดําเนินงานของหนวยงานของรฐั หรอื ขอมลู ขาวสาร
เกย่ี วกับเอกชน

ขอ มูลขาวสารสวนบุคคล หมายความวา ขอ มูลขา วสารเกยี่ วกับส่ิงเฉพาะตัวของบุคคล เชน การศึกษา
ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือประวัติการทํางาน บรรดาท่ีมีช่ือของผูน้ันหรือมี
เลขหมาย รหัส หรือสง่ิ ของลักษณะอื่นที่ทําใหร ูตัวผูนนั้ ได เชนลายพิมพน้ิวมือ แผนบันทึกลักษณะเสียงของคน
หรือรูปถาย และใหห มายความรวมถึงขอมลู ขาวสารเก่ียวกบั สิ่งเฉพาะตวั ของผูท ถี่ งึ แกกรรมแลวดวย

18
หมวด 1 การเปด เผยขอ มลู ขา วสาร
1. หนาท่ขี องหนวยงานของรัฐ ในการเปดเผยขอ มลู ขา วสาร (ม. 7)
ตอ งสงขอ มลู ขาวสาร ดงั ตอไปน้ีพิมพใ นราชกจิ จานเุ บกษาเพ่ือเปด เผย ดงั น้ี

1) โครงสรางและการจดั องคก รในหนว ยงาน
2) สรปุ อํานาจหนา ทที่ ่สี ําคัญและวธิ ีการดาํ เนนิ งาน
3) สถานท่ีรบั หรอื ตดิ ตอ ขอ มลู ขาวสารหรือการตดิ ตอ กบั หนว ยงานรฐั
4) กฎ มติคณะรัฐมนตรี ขอบังคับ คําสั่ง หนังสือเวียน ระเบียบ แบบแผน ฯลฯ ท่ีเพ่ือใหมีผล

บริการท่วั ไปตอเอกชนทเี่ ก่ียวของ
5) ขอ มลู อ่ืน ๆ ทคี่ ณะกรรมการกําหนด
2. สิทธขิ องประชาชน (ม. 9)
1) เขาตรวจดู ขอสาํ เนาหรือสาํ เนาท่ีมีคํารบั รอง (ม. 9 วรรคสอง)
2) รองเรียนตอคณะกรรมการ กรณีท่ีเห็นวาหนวยงานของรัฐไมจัดพิมพขอมูลขาวสาร หรือ

เปดเผยขอ มูลขาวสารชา (ม. 13)
3. หนาทขี่ องเจา หนา ทข่ี องหนว ยงานของรัฐ ในการเปด เผยขอมูลทปี่ ระชาชนขอดู (ม.9)

1) ใหลบหรือตัดทอนสวนท่ีตองหามตามมาตรา 14 หรือ 15 เพ่ือไมใหมีการเปดเผยขอมูล
ขา วสารน้ันกาํ หนดหลักเกณฑหรอื คาธรรมเนยี มในการสาํ เนาขอ มูลขาวสาร

2) สงคําขอใหหนวยงานท่ีจัดทําขอมูลอนุญาต กรณที ี่ขอ มลู ท่มี ีผรู องขอเปนขอ มูลของหนวยงานอ่ืน
และไดระบหุ า มการเปดเผย (ม.12 วรรค 2)

4. หนาท่ีของคณะกรรมการขอมูลขาวสารเม่ือไดรับคํารองเรียนคณะกรรมการจะตองพิจารณา
ใหแลวเสรจ็ ภายใน 30 วัน (ถามคี วามจาํ เปน ขยาย สามารถขยายไดไ มเ กิน 60 วัน)

หมวดที่ 2 ขอ มลู ขา วสารท่ีไมตองเปดเผย
1. ขอมูลทีไ่ มต องเปด เผย มี 2 อยาง คือ

1) ขอ มลู ขาวสารของราชการทอี่ าจกอ ใหเกิดความเสยี หายตอสถาบันพระมหากษัตรยิ  (ม.14)
2) ขอมูลทีเ่ จา หนา ท่ีของรัฐมิใหเ ปดเผยเนอ่ื งจาก (ม.15)

ก. เกิดความเสยี หายตอความม่ันคงของประเทศ

1 Iข. เมือ่ เปด เผยแลวทําใหการบังคับใชเกดิ ความเส่ือมประสทิ ธิภาพ

ค. ขอมูลท่ีเปนความเห็นหรือคําแนะนําในหนวยงานของรัฐ แตไมรวมถึงรายงานทาง
วชิ าการ รายงานขอเท็จจริง หรือขอมูลท่ีนํามาใชใ นการทําความเห็น หรือคําแนะนํา
ภายใน

ง. การเปด เผยทาํ ใหเกิดอันตรายตอ ชีวติ หรือความปลอดภัยของบุคคลหนึง่ บุคคลใด
จ. รายงานการแพทยห รือขอมลู ขาวสารทีเ่ ปน การรุกล้าํ สิทธสิ วนบคุ คลโดยไมสมควร
ฉ. ขอมูลที่มีการคุมครองไมใหเปดเผย หรือขอมูลขาวสารท่ีมีผูใหมาโดยไมประสงคให

เปด เผย
ช. อ่ืน ๆ ตามที่กาํ หนดในพระราชกฤษฎีกา

19
2. การเปดเผยขอมูลสวนบุคคล ท่ีอาจกระทบกระเทือนตอผูหน่ึงผูใด ใหเจาหนาที่ของรัฐดําเนินการ

ดงั ตอ ไปนี้ กอนเปด เผยขอมลู คือ (ม.17)
2.1 แจงใหเจาของขอมูลทําการคัดคานภายในเวลาที่กาํ หนด แตไมน อยกวา 15 วนั นบั แตวนั ทีไ่ ดรบั แจง
2.2 เจา ของขอ มลู ตองดาํ เนนิ การคัดคานโดยทําเปน หนังสือ
2.3 เม่อื เจา ของขอมูลคัดคานแลว หากเจา หนา ที่ของรฐั ไมฟง คําคัดคา น เจา หนาที่จะตองรอ

1) จนกวาลว งเลยระยะเวลาอทุ ธรณข อ มลู ตอ คณะกรรมการวินจิ ฉยั คือภายใน 15 วัน
2) พน ระยะเวลาคณะกรรมการวนิ จิ ฉัยแลวจงึ จะเปด เผยขอมูลไดใ หแลวเสรจ็ คือ 60 วนั
3. เจาหนาที่ของรฐั เปดเผยขอ มูลไมตองรบั ผิดหากวา ไดดําเนินการถกู ตองตามระเบยี บและกฎหมาย คือ
1) เปด เผยตามระเบยี บท่ีคณะรฐั มนตรกี าํ หนด
2) เจาหนาท่ีดําเนินการเปดเผยตามกฎกระทรวงเพ่ือการทั่วไป หรือเฉพาะแกบุคคล

เพ่ือประโยชนสาธารณะ หรือชีวิต รางกาย สุขภาพ หรือประโยชนอ่ืนของบุคคล
และคําส่งั น้นั ไดกระทําโดยสมควรแกเหตุ กฎกระทรวงกําหนดผูเปดเผยใหเปน ขาราชการ
ต้ังแตร ะดับ 6 ขึน้ ไป (ม.16)
หมวดท่ี 3 ขอมลู ขาวสารสวนบุคคล
1. ขอมูลสวนบุคคลคือขอมูลบุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติไทยหรือบุคคลตางดาวที่มีถ่ินท่ีอยูใน
ประเทศไทย
2. หนว ยงานของรฐั จะตอ งปฏบิ ตั เิ กีย่ วกบั ขอมลู ขาวสารของบุคคลไวเ พ่ือกาลในหนว ยงาน ดังนี้ (ม.23)
1) มีขอมูลสว นบคุ คลเทา ทีเ่ ก่ียวของและจาํ เปน

1 I2) เก็บขอมลู ขา วสารโดยตรงจากเจา ของขอ มูล

3) จัดใหม ีการพมิ พใ นราชกจิ จานเุ บกษาและแกไขใหถูกตอ งอยเู สมอ
4) จัดระบบรักษาความปลอดภัยใหแกระบบขอมูลขาวสารสวนบุคคลตามความเหมาะสมเพ่ือ

ปองกันมิใหมกี ารนําไปใชโดยไมเหมาะสมหรือเปน ผลรายตอ เจาของขอ มูล
3. หนวยงานของรัฐเปดเผยขอมูลสวนบุคคลโดยปราศจากความยินยอมของเจาของขอมูลไมได

ยกเวน (ม. 24)
1) เพ่ือการนําไปใชต ามอํานาจหนา ท่ขี องหนวยงานของรัฐแหงนนั้
2) นาํ ไปใชตามปกตภิ ายในวัตถุประสงคของการจัดใหม ีระบบขอ มูลขาวสารสว นบุคคลนน้ั
3) นาํ ไปวางแผนหรือการสถิตหิ รอื สาํ มะโนตา ง ๆ
4) เพอ่ื ประโยชนในการศกึ ษาวจิ ยั โดยไมร ะบุชอ่ื หรอื สวนท่ที าํ ใหรวู าเปน ขอมูลขาวสารสวนบุคคล

ทีเ่ ก่ียวกับบคุ คลใด
5) ตอหอจดหมายเหตแุ หงชาติเพือ่ การตรวจดคู ุณคา ในการเกบ็ รักษา
6) ตอ เจาหนา ท่ีของรฐั เพอ่ื การปองกนั การฝา ฝนหรอื ไมป ฏิบัตติ ามกฎหมาย
7) เปน การใหซึง่ จําเปนเพ่อื การปอ งกนั หรือระงบั อนั ตรายตอชีวติ หรือสุขภาพของบุคคล
8) ตอศาล และเจาหนาท่ีของรัฐหรือหนวยงานของรัฐหรือบุคคลท่ีมีอํานาจตามกฎหมาย

ทจ่ี ะขอขอ เทจ็ จรงิ
9) กรณีอน่ื ตามท่ีกาํ หนดในพระราชกฤษฎีกา
4. เจาของขอ มูลสวนบุคคล มีอาํ นาจดาํ เนนิ การเกยี่ วกับขอ มลู สวนบคุ คลดงั นี้ (ม.25 วรรค 2)
1) ยื่นขอใหมีการแกไขเปล่ียนแปลงหรือลบขอมูลขาวสารสวนที่ไมถูกตองได หากเจาหนาท่ีของรัฐ

ไมดําเนินการแกไขใหตามคําขอ เจาของขอมูลย่ืนตอคณะกรรมการวินิจฉัยเปดเผยขอมูล
ภายใน 30 วัน โดยย่นื ตอคณะกรรมการขอ มูลขาวสารของราชการ

20
หมวดที่ 4 เอกสารประวตั ศิ าสตร
1. ขอมลู ขา วสารท่ไี มประสงคเก็บรกั ษาหรอื หมดอายุครบกาํ หนดแลว ใหหนวยงานของรัฐดําเนนิ การดงั น้ี

1.1 สงมอบใหแ กหอจดหมายเหตุแหง ชาติ กรมศิลปากร
1.2 หนว ยงานอนื่ ของรฐั ตามที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกา เพอ่ื ใหประชาชนไดศ ึกษาคนควา
2. ระยะเวลาในการเกบ็ รกั ษาขอมูลขาวสาร (ม.26 วรรค สอง)
2.1 ขอมูลขาวสารทเี ก่ยี วขอ งกบั พระมหากษตั ริย ตาม ม. 14 เม่ือครบ 75 ป
2.2 ขอมลู ขาวสารของรฐั ที่เจา หนาทไี่ มเ ปด เผย ตาม ม. 15 เม่ือครบ 20 ป
3. แตถาหนวยงานของรัฐมีความประสงคจะขอขยายเวลาในการเก็บก็สามารถที่จะขยายได
โดยกาํ หนดขยายไมเกนิ คราวละ 5 ป และใหด าํ เนินขยายภายใน 3 เดือนกอ นครบกาํ หนด
4. ผทู ี่กาํ หนดใหสว นราชการหรือหนวยงานของรัฐใหทําลายหรืออาจทาํ ลายโดยไมตองเก็บรักษา คือ
คณะรัฐมนตรี (ม.26 วรรค สาม)
หมวด 5 คณะกรรมการขอ มูลขาวสารของราชการ
1. คณะกรรมการขอ มลู ขาวสารของราชการ ประกอบดว ย
• คณะกรรมการโดยตาํ แหนง มรี ัฐมนตรที ่นี ายกมอบหมายเปน ประธาน
• คณะกรรมการที่เปน ผทู รงคณุ วุฒิ โดยคณะรฐั มนตรีแตง ตงั้ 9 คน วาระคราวละ 3 ป
• ขาราชการในสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรีซึ่งปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี คนหน่ึงเปนเลขา

อกี 2 คน เปน ผูชว ยเลขา
2. อํานาจหนา ทขี่ องคณะกรรมการทสี่ ําคญั

1 I1) ทํารายงานเสนอคณะรัฐมนตรี ปละ 1 คร้ัง

2) วินิจฉัยเก่ียวกับการเปดเผยขอ มลู
2.1 เมื่อมีการรองขอใหหนวยงานของรัฐเปดเผยแตหนวยงานของรัฐไมยอมเปดเผยหรือ
ดาํ เนนิ การเปดเผยลา ชา (ตาม ม.11)
2.2 เม่ือมีการขอใหแกไขขอมูลสวนตัวท่รี ัฐมีไวใ หถ ูกตองแตรัฐไมยอมแกไขให

3) รบั คําอุทธรณและสงคําอุทธรณใหคณะกรรมการวินิจฉัยขอมูลขา วสารภายใน 7 วันนบั แตว ันท่ี
ไดร บั แจงการอทุ ธรณ

4) รับคํารองจากประชาชน และเขาดําเนินการตรวจสอบขอมูลขาวสารของทางราชการ กรณีที่
หนว ยงานปฏเิ สธแกป ระชาชนวาไมมีขอ มลู ขา วสาร แตป ระชาชนไมเช่ือวามี (ม.33)

หมวดท่ี 6 คณะกรรมการวินจิ ฉัยขอ มูลขาวสาร
1. คณะกรรมการวนิ จิ ฉยั ขอมูลขา วสาร

• แตงตั้งโดยรัฐมนตรีตามขอเสนอของคณ ะกรรมการขอมูลขาวสารฯ จํานวน
ไมน อ ยกวา 3 คน

• ใหข าราชการทคี่ ณะกรรมการฯ แตงต้ังเปนเลขานุการ

21
2. หนาที่ของคณะกรรมการวนิ ิจฉัยขอมูลขาวสาร

1) วินิจฉัยเกยี่ วกับการขอเปดเผยขอมลู
1.1 ขอ มูลที่เกย่ี วกับพระมหากษัตรยิ  (ตามมาตรา 14)
1.2 ขอ มูลขา วสารทเ่ี จา หนา ทขี่ องรฐั ไมเปด เผยเนือ่ งจากความม่นั คงหรอื อืน่ ๆ
1.3 เมอ่ื มกี ารขอแกไขขอมูลสวนตวั ทรี่ ฐั มีไวใ หถ กู ตองแตเ จา หนา ท่ีของรฐั ไมย อมแกไ ขให
1.4 กรณีเจา หนา ทข่ี องรฐั ไมฟ งคําคัดคา นจะเปด เผยขอมูล แตเจาของขอ มูลไมย อมใหเปด

2) ดาํ เนินการวินิจฉัยขอมูลใหแ ลว เสร็จภายใน 30 วัน ถามีความจาํ เปนที่จะตอ งขยายใหข ยายได
แตขยายแลวไมเกนิ 60 วัน

3) ประกาศวิธีพิจารณ าและวินิจฉัยและองคคณ ะในการพิจารณ าและวินิจฉัยไวใน
ราชกิจจานุเบกษา

หมวดท่ี 7 บทกาํ หนดโทษ
1. ผใู ดฝา ฝนไมม าใหถ อยคาํ หรอื สงวตั ถุเอกสารหรือพยานใหคณะกรรมการฯ เม่อื คณะกรรมการฯ
รอ งขอ มีโทษจําคุกไมเ กิน 3 เดอื น ปรับไมเกนิ 5,000 บาท หรอื ทง้ั จาํ ทงั้ ปรบั
2. เจาหนาท่ีที่ไมมีอาํ นาจไปเปดเผยขอมูลขาวสาร มีโทษจําคุกไมเกนิ 1 ป ปรบั ไมเกิน 20,000 บาท
หรือทั้งจาํ ท้งั ปรบั

3. พระราชบญั ญตั ปิ ระกนั สงั คม พ.ศ. 2533 และทีแ่ กไขเพิ่มเติม

ความเปน มา
กฎหมายประกันสังคมมีการประกาศใชครั้งแรกเม่ือป พ.ศ. 2497 โดยการตราพระราชบัญญัติ
ประกันสังคม พ.ศ. 2497 ตอมามีการดําเนินการในการสรางหลักประกันใหแกลูกจางและบุคคลอื่น โดยจัดต้ัง
กองทุนประกนั สังคมขึ้น เพ่ือใหการสงเคราะหแกลูกจางและบุคคลอื่นซ่งึ ประสบอันตราย เจ็บปวย ทุพพลภาพ
หรือตาย อันมิใชเน่ืองจากการทํางาน รวมทั้งกรณีคลอดบุตร กรณีสงเคราะหบุตร กรณีชราภาพ และสําหรับ
กรณีวา งงาน ซ่ึงใหหลกั ประกันเฉพาะลูกจาง จงึ จําเปนตองตราพระราชบัญญัตปิ ระกันสงั คม พ.ศ.๒๕๓๓ ข้ึนใช
บังคับ
นยิ ามศพั ท
"ลูกจาง" หมายความวา ผูซึ่งทํางานใหนายจางโดยรับคาจางไมวาจะเรียกชื่ออยางไร แตไมรวมถึง

1 Iลูกจา งซง่ึ ทาํ งานเก่ยี วกับงานบา น อันมไิ ดมกี ารประกอบธุรกจิ รวมอยดู วย
"นายจาง" หมายความวา ผูซึ่งรับลูกจางเขาทํางานโดยจายคาจาง และใหหมายความรวมถึงผูซ่ึงไดรับ
มอบหมายใหทํางานแทนนายจาง ในกรณีท่ีนายจางเปนนิติบุคคลให หมายความรวมถึงผูมีอํานาจกระทําการ
แทนนิตบิ ุคคล และผซู ่ึงไดร ับมอบหมายจากผูมอี ํานาจกระทาํ การแทนนติ ิบุคคลใหทําการแทนดว ย

"คาจาง" หมายความวา เงินทุกประเภทท่ีนายจางจายใหแกลูกจางเปนคาตอบแทนการทํางานในวัน
และเวลาทํางานปกติไมวาจะคํานวณตามระยะเวลาหรือคํานวณตามผลงานท่ีลูกจางทําได และใหหมายความ
รวมถึงเงินที่นายจางจายใหในวันหยุดและวันลาซึ่งลูกจางไมไดทํางานดวย ท้ังนี้ ไมวาจะกําหนดคํานวณหรือ
จา ยในลักษณะใดหรอื โดยวธิ กี ารใด และไมวาจะเรียกชือ่ อยางไร

"วันทํางาน" หมายความวา วันที่กาํ หนดใหลูกจา งทาํ งานตามปกติ
"ผูประกันตน" หมายความวา ผูซึ่งจายเงินสมทบอันกอใหเกิดสิทธิไดรับประโยชนทดแทนตาม
พระราชบัญญัตินี้ (พระราชบญั ญัตปิ ระกนั สงั คม พ.ศ. 2533)

22
"การคลอดบุตร" หมายความวา การท่ีทารกออกจากครรภมารดา ซ่ึงมีระยะเวลาตั้งครรภไมนอยกวา
ย่สี บิ แปดสปั ดาหไ มวา ทารกจะมชี วี ติ รอดอยูหรอื ไม
"ทุพพลภาพ" หมายความวา การสูญเสียอวัยวะหรือสูญเสียสมรรถภาพของอวัยวะหรือของรางกาย
หรือสูญเสียสภาวะปกติของจิตใจ จนไมสามารถทํางานได ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑท่ีคณะกรรมการการแพทย
กาํ หนด
"วางงาน" หมายความวา การที่ผูประกันตนตองหยุดงานเนื่องจากนิติสัมพันธระหวางนายจางและ
ลกู จางตามสัญญาจา งแรงงานส้นิ สุดลง
ขอบขายการใชบังคับและการคมุ ครองผปู ระกันตนตามกฎหมายประกันสังคม
กฎหมายประกนั สังคมทใี่ ชอยใู นปจจุบัน ไมใชบงั คบั แก

(1) ขาราชการ ลูกจางประจํา ลูกจางชั่วคราวรายวัน และลูกจางช่ัวคราวรายชั่วโมง
ของราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค และราชการสวนทองถิ่น ยกเวนลูกจาง
ช่ัวคราวรายเดือน

(2) ลูกจางของรัฐบาลตา งประเทศหรอื องคการระหวางประเทศ
(3) ลกู จางของนายจา งที่มสี ํานักงานในประเทศ และไปประจําทํางานในตางประเทศ
(4) ครูหรอื ครูใหญของโรงเรยี นเอกชนตามกฎหมายวาดว ยโรงเรยี นเอกชน
(5) นักเรียน นักเรียนพยาบาล นิสิตหรือนักศึกษา หรือแพทยฝกหัด ซึ่งเปนลูกจางของ

โรงเรยี น มหาวทิ ยาลยั หรือโรงพยาบาล
(6) กจิ การหรือลูกจา งอ่ืนตามที่กาํ หนดในพระราชกฤษฎีกา
สําหรับการคุมครองผปู ระกนั ตนตามกฎหมายประกนั สังคม จําแนกเปน 7 กรณี ดังนี้
(1) กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บปวยอันมิใชเน่ืองจากการทํางาน ผูประกันตนมีสิทธิไดรับ
ประโยชนทดแทนภายในระยะเวลา 15 เดือนกอนวันรับบริการทางการแพทย ผูประกันตนไดจายเงินสมทบ
มาแลว ไมนอยกวา 3 เดือน
(2) กรณีคลอดบุตร ผูประกันตนมีสิทธิไดรับประโยชนทดแทนในกรณีคลอดบุตรสําหรับ
ตนเองหรือภริยา หรือสําหรับหญิงซึ่งอยูกินดวยกันฉันสามีภริยากับผูประกันตนโดยเปดเผยตามระเบียบ
ที่เลขาธิการสํานักงานประกันสังคมกําหนด ถาผูประกันตนไมมีภริยา ท้ังน้ี ตอเมื่อภายในระยะเวลา 15 เดือน
กอนวนั รับบริการทางการแพทย ผูประกันตนไดจ ายเงินสมทบมาแลวไมน อยกวา 7 เดือน ประโยชนทดแทนใน
กรณคี ลอดบตุ ร ใหผูประกันตนแตละคนมสี ทิ ธไิ ดร บั สําหรบั การคลอดบุตรไมเ กินสองครง้ั
(3) กรณีทุพพลภาพอันมิใชเนื่องจากการทํางาน ผูประกันตนมีสิทธิไดรับประโยชนทดแทน
ตอ เม่ือภายในระยะเวลา 15 เดอื นกอ นทุพพลภาพ ผูประกันตนไดจ ายเงนิ สมทบมาแลว ไมน อยกวา 3 เดือน
(4) กรณีถึงแกความตายโดยมิใชประสบอันตรายหรือเจ็บปวยเน่ืองจากการทํางาน ถาภายใน
ระยะเวลา 6 เดือนกอนถึงแกความตาย ผปู ระกนั ตนไดจ ายเงินสมทบมาแลว ไมน อยกวา 1 เดอื น
(5) กรณีสงเคราะหบุตร ผูประกันตนมีสิทธิไดรับประโยชนทดแทนตอเม่ือภายในระยะเวลา
36 เดือนกอ นเดอื นทีม่ ีสิทธิไดร ับประโยชนท ดแทน ผูประกันตนไดจ า ยเงินสมทบมาแลวไมนอยกวา 12 เดอื น
(6) กรณีชราภาพ ผูประกันตนมีสิทธิไดรับประโยชนทดแทนในกรณีชราภาพตอเม่ือ
ผูประกันตนไดจายเงินสมทบมาแลวไมนอยกวา 180 เดือน ไมวาระยะเวลา 180 เดือนจะติดตอกันหรือไม
กต็ าม

23
(7) กรณีวางงาน ลูกจางซ่ึงเปนผูประกันตนมีสิทธิไดรับประโยชนทดแทนในกรณีวางงาน
ตอ เมื่อผูประกันตนไดจา ยเงินสมทบมาแลว ไมนอ ยกวา 6 เดือนและตอ งอยูภายในระยะเวลา 15 เดือนกอนการ
วางงานและจะตอ งเปน ผทู ีอ่ ยใู นเงอื่ นไขดังตอ ไปนี้

ก. เปนผูมีความสามารถในการทํางาน พรอมท่ีจะทํางานท่ีเหมาะสมตามที่จัดหาให
หรือตองไมปฏิเสธการฝกงานและไดขึ้นทะเบียนไวที่สํานักจัดหางานของรัฐ
โดยตองไปรายงานตัวไมน อยกวา เดือนละหน่ึงครง้ั

ข. การท่ีผูประกันตนวางงานตองมิใชถูกเลิกจางเน่ืองจากทุจริตตอหนาท่ีหรือ
กระทําความผิดอาญาโดยเจตนาแกนายจาง หรือจงใจทําใหนายจางไดรับความ
เสียหายหรือฝาฝนขอบังคับ หรือระเบียบเก่ียวกับการทํางาน หรือคําส่ังอันชอบ
ดวยกฎหมายในกรณีรายแรง หรือละทิ้งหนาท่ีเปนเวลาเจ็ดวันทํางานติดตอกัน
โดยไมมีเหตุอันสมควร หรือประมาทเลินเลอเปนเหตุใหนายจางไดรับความ
เสียหายอยางรายแรง หรือไดรับโทษจําคุกตามคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก
เวนแตเ ปน โทษสําหรับความผิดที่ไดก ระทาํ โดยประมาทความผิดลหโุ ทษ

ค. ตองมใิ ชผ มู สี ทิ ธิไดร ับประโยชนทดแทนในกรณชี ราภาพ
กองทนุ ประกนั สังคมและการออกเงินสมทบ
กฎหมายประกันสังคม กําหนดใหจัดต้ังกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในสํานักงานประกันสังคมเรียกวา
กองทุนประกันสังคม เพ่ือเปนทุนใชจายใหผูประกันตนไดรับประโยชนทดแทน ตลอดจนเปนคาใชจายในการ
ปฏิบัติหนาท่ีของกรรมการ ที่ปรึกษา อนุกรรมการท่ีเก่ียวของ และคาใชจายในการบริหารงานของสํานักงาน
ประกนั สงั คม
กองทุนดังกลาวประกอบดวยเงินสมทบจากรัฐบาล นายจาง และผูประกันตนตามมาตรา 33 ออกเงิน
สมทบเขากองทุนเพื่อการจายประโยชนทดแทนในกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บปวย กรณีทุพพลภาพ
กรณีตายและกรณีคลอดบุตร ฝายละเทากันตามอัตราที่กําหนดในกฎกระทรวง แตตองไมเกินอัตราเงินสมทบ
ทายพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 นอกจากนี้ยังไดกําหนดใหรัฐบาล นายจาง และผูประกันตน
ตามมาตรา 33 ออกเงินสมทบเขากองทุนเพ่ือการจายประโยชนทดแทนในกรณีสงเคราะหบุตร กรณีชราภาพ
และกรณีวางงานตามอตั ราที่กาํ หนดในกฎกระทรวง แตต องไมเกินอตั ราสมทบทายพระราชบญั ญัติดงั กลา ว

1 Iสิทธิของผูอยใู นสัญญาจางเหมาบรกิ ารใหเปนไปตามขอบเขตการจางงานและเอกสารแนบทายสัญญา

จา งงานของแตล ะสถานศึกษา

24

อัตราเงินสมทบทา ยพระราชบัญญัตปิ ระกนั สงั คม พ.ศ. 2533 อตั ราเงินสมทบเปน รอยละ
ของคาจางของผูประกันตน
ผูอ อกเงนิ สมทบ

1. เงินสมทบเพ่ือการจายประโยชนทดแทนกรณีประสบอันตรายหรือ
เจ็บปว ย ทุพพลภาพ ตาย และคลอดบุตร
(1) รัฐบาล 1.5
(2) นายจาง 1.5
(3) ผปู ระกันตน 1.5
2. เงินสมทบเพื่อการจา ยประโยชนท ดแทนกรณสี งเคราะหบ ุตรและชราภาพ
(1) รฐั บาล
(2) นายจาง 3
(3) ผปู ระกนั ตน 3
3. เงินสมทบเพอ่ื การจา ยประโยชนทดแทนกรณีวา งงาน 3
รัฐบาล
นายจา ง 5
ผูประกันตน 5
5

หมายเหตุ:-
1. ตามกฎหมายประกันสังคม กําหนดใหลูกจางชั่วคราวรายเดือนของราชการสวนกลาง ราชการสวน
ภูมิภาคและราชการสวนทองถ่ินตองเขาระบบประกันสังคม โดยสวนราชการ (นายจาง) จะตองหักเงินจาก
ลูกจา งชว่ั คราวรายเดอื นตามอตั ราท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง แตตองไมเกนิ อัตราเงินสมทบทายกฎหมายดังกลา ว
เพื่อนําสงสมทบในสวนของผปู ระกันตน สวนราชการจะจายสมทบในสวนของนายจางเขากองทุนประกันสังคม
และรัฐบาลจะจายสมทบตามอตั ราที่กําหนด
2. สิทธิประโยชนทดแทนที่ไดรับจากกองทุนประกันสังคมมี 7 กรณี ตามหลักเกณฑ วิธีการ หรือ
เง่ือนไขท่ีกฎหมายประกันสังคมไดกาํ หนด

4. ความรเู ก่ียวกับลูกจางชั่วคราว

การจางบุคลากรทางการศึกษาอื่นเปนการจางลูกจางชั่วคราวตามโครงการคืนครูใหนักเรียนของ
สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ในการดาํ เนนิ การจา งลูกจา งชวั่ คราวน้ีตอ งถือปฏิบตั ิตามระเบียบ
วาดวยการจายคา จา งลูกจา งของสวนราชการ พ.ศ. 2526 ซึ่งมีสาระสําคัญท่ีเกี่ยวของ ดงั น้ี

ลูกจางช่ัวคราว หมายถึง ลูกจางรายเดือน รายวัน และรายช่ัวโมงที่จางไวปฏิบัติงานท่ีมีลักษณะ
ช่ัวคราวและหรือมีกําหนดเวลาจาง แตทั้งนี้ระยะเวลาการจางตองไมเกินปงบประมาณและไมมีการเพ่ิมคาจาง
ประจาํ ป

25
ประเภทของการจางลูกจางชวั่ คราว
การจา งลูกจา งชั่วคราวแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก

1) การจางลกู จางชว่ั คราวจากเงนิ งบประมาณ
2) การจา งลูกจา งชั่วคราวจากเงนิ นอกงบประมาณ
1. การเบิกจา ยคาจางชว่ั คราว
การเบิกจายคาจางชั่วคราวรายเดอื น โดยเบิกจายคา จางในวันทํางานปกติ กาํ หนดจายเดือนละ 1 คร้ัง
โดยกําหนดเวลาทาํ งานใหเปนไปตามเวลาทาํ งานของทางราชการ
2. การเบกิ จา ยคา จางระหวา งลา
ลกู จา งชว่ั คราวทจ่ี างจากเงินงบประมาณมีสทิ ธไิ ดร บั คา จางระหวางลา ดังนี้
2.1 การลาปวย ลูกจางชั่วคราวลาไดไมเ กนิ 8 วันทาํ การ สาํ หรับปแรกที่เขาปฏิบัตงิ านและใน
ปถัดไป ลาไดปละไมเกิน 15 วันทําการ สําหรับลูกจางซึ่งจางไวปฏิบัติงานตอเน่ือง เวนแตลูกจางท่ีเขา
ปฏบิ ัติงานในปแรกไมครบ 6 เดอื น ไมม สี ทิ ธิไดรับคาจางระหวา งลา
ลูกจางชั่วคราวท่ีประสพอันตรายหรือไดรับบาดเจ็บเพราะเหตุปฏิบัติงานในหนาท่ีหรือถูก
ประทุษรายเพราะเหตุกระทําการตามหนาที่ ถาลาปวยธรรมดาแลวยังไมหาย หัวหนาสวนราชการระดับกรม
มีอํานาจใหลาปายไมเกิน 60 วัน โดยนํากฎหมายวาดวยการสงเคราะหขาราชการผูไดรับอันตรายหรือการ
เจบ็ ปวยเพราะเหตปุ ฏิบัติหนา ทร่ี าชการมาบังคับโดยอนุโลม
2.2 การลาเขารบั การฝก วชิ าการทหาร ใหไ ดร บั คา จา งอตั ราปกติไดเ กิน 2 เดือน
2.3 การลาเพื่อรับการระดมพล หรือเขารับการทดลองความพร่ังพรอม ใหไดรับคาจางอัตรา
ปกติไมเกนิ 30 วนั
2.4 การลาคลอดบุตร ลูกจางชั่วคราวรายเดือนท่ีจางไวปฏิบัติงานตอเน่ือง และเร่ิมเขา
ปฏิบัติงานในปแรกครบ 7 เดือน มีสิทธิคลอดบุตรปหนึ่งไมเกิน 90 วัน โดยรับคาจางระหวางลาจากสวน
ราชการไมเกิน 45 วัน อีก 45 วัน ใหรับจากประกันสังคม ลูกจางช่ัวคราวรายวันและรายชั่วโมงไมมีสิทธิรับ
คา จางเนือ่ งจากการลาคลอดบตุ ร
2.5 การลาไปรับการตรวจคัดเลือก เพ่ือรับราชการทหารตามกฎหมายวาดวยการรับราชการทหาร
ลาไดตามความจําเปน ลูกจางช่ัวคราวรายวัน และรายช่ัวโมง ไมมสี ิทธิไดรับคาจางในวันหยุดประจําสัปดาห ใน
กรณีลาเขารับการฝกวิชาทหาร ลาเขารบั การระดมพล หรอื เขา รับการทดลองความพร่ังพรอ ม และการลาไปรับ
การตรวจคดั เลือกเพื่อรับราชการทหาร
ขอบขา ยภารกจิ และหนา ทขี่ องบุคลากรทางการศกึ ษาอ่นื
1. งานธุรการ สารบรรณ จัดเก็บเอกสารหลักฐานทะเบียนและหนังสือราชการตาง ๆ รวมท้ังระบบ
E-Office
2. งานพัสดุ จดั ลงทะเบียน คุมการเบิกจาย การจดั เกบ็ รักษาดูแล ความเปน ระเบยี บเรยี บรอย
3. งานขอมูลสารสนเทศ จัดระบบทะเบียน ระเบียนขอมูล การสํารวจและบันทึกขอมูล การจัดทํา
รายงานขอ มลู จดั สงและรบั ขอ มลู ในระบบ ICT
4. งานการประสานงาน การติดตอส่ือสารกับหนวยงานสวนราชการอื่น ๆ ชุมชน และทองถ่ิน
การใหบรกิ ารแกป ระชาชนหรือผูม าขอรับบริการหรือตดิ ตอราชการ
5. งานอน่ื ๆ ที่ผบู งั คับบญั ชามอบหมาย

26
คณุ สมบัติของบุคลากรทางการศึกษาอน่ื
1. วุฒกิ ารศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรีทกุ สาขา
2. มีความสามารถเหมาะสมในการปฏบิ ตั งิ านในหนา ท่ี
หมายเหตุ : การจางเหมาบรกิ ารจะไมไดส ิทธิประโยชนตาม พ.ร.บ.น้ี

5. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาํ ริ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนแนวทางการดําเนินชีวิตและวิถีปฏิบัติที่พระบาทสมเด็จ
พระเจาอยูหัวรัชกาลที่ 9 พระราชทานพระราชดําริชี้แนะแกพสกนกิ รชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา 30 ป และ
ทรงเนนย้ําแนวทางพัฒนาท่ีตั้งอยูบนพื้นฐานของทางสายกลางและความไมประมาท โดยคํานึงถึงความ
พอประมาณ ความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันในตัว ตลอดจนใชความรูและคุณธรรมเปนพ้ืนฐานในการ
ดํารงชีวิต การปองกันใหรอดพนจากวิกฤต และใหสามารถดํารงอยูไดอยางม่ันคงและยั่งยืนภายใตกระแส
โลกาภวิ ัตนและความเปล่ยี นแปลงตาง ๆ

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาช้ีถึงแนวการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต
ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนินไปในทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกจิ เพื่อใหกาวทนั ตอโลกยคุ โลกาภิวัตน ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนท่ีจะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควร ตอการกระทบใด ๆ อันเกิด
จากการเปล่ียนแปลงท้ังภายในภายนอก ทั้งน้ี จะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวัง
อยางยิ่งในการนําวิชาการตาง ๆ มาใชในการวางแผนและการดําเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน
จะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาท่ีของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ
ใหมีสํานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต และใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทน
ความเพียร มีสติ ปญญา และความรอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการรองรับการเปลี่ยนแปลงอยาง
รวดเร็วและกวา งขวาง ทงั้ ดานวตั ถุ สงั คม สิ่งแวดลอ ม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเ ปนอยา งดี
กลาวโดยสรุป ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนหลักคิด และหลักปฏิบัติในการดําเนินชีวิตเพ่ือ
นําไปสูความพอเพียง เปนปรัชญาท่ีชี้แนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติของคนไทย สังคมไทย เพื่อใหกาวทันตอ

1 Iยคุ โลกาภิวัตน เพ่ือใหเกิดความกาวหนาไปพรอ มกับความสมดุลและพรอมรับตอการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว

และกวางขวาง ทั้งดานวัตถุ ดานสังคม ดานสิ่งแวดลอม และดานวัฒนธรรม ถาใชหลักความพอเพียงเปนหลักคิด
และหลกั ปฏิบัติในการดําเนนิ ชีวิต ก็จะสามารถอยไู ดอยางรูเทา ทนั การเปลยี่ นแปลงตาง ๆ ปรับตัวและพรอ มรับ
ตอการเปล่ยี นแปลงได

ท่ีนาสนใจคือ เศรษฐกิจพอเพียงเปนแนวคิดท่ีชี้แนวทางการดํารงอยู และปฏิบัติตน การดํารงอยู
แปลวาเราอยูอยางน้ีอยูแลว มีผลงานวิจัยที่ศาสตราจารย ดร.ฉัตรทิพย นาถสุภา ทําเสนอสํานักงานกองทุน
สนับสนุนการวิจัย (สกว.) พูดถึงการวิจัยหมูบานในประเทศไทยมีชุดหนังสอื ออกมา 20 กวาเลม พบวาหมูบาน
สวนใหญในประเทศไทยยังคงอยูอยา งพอมีพอกิน มีการดํารงอยูอยางพอเพียงอยูแลวในชนบท ชนบทของไทย
ที่ตองพ่ึงพิงระบบนิเวศวิทยาเขายังอยูอยางพอเพียง มีการพึ่งตนเอง มีการชวยเหลือซ่ึงกัน และกันและน้ําใจ
เปนพื้นฐานของชีวติ แบงกันอยูแบงกันกินปจจุบันก็มีการแลกเปล่ียนอยางแพรหลาย โดยวัตถุประสงคของการ
แลกเปล่ียนคือ เพ่ือความพอเพียงย่ิงขึ้น ไมใชกําไร ชาวบานเรียกวา “เปล่ียนกันกิน” ตลาดในชุมชนสวนใหญ
ไมไดขับเคลื่อนโดยกฎแหงระบบทุนนิยม กลาวไดวาเศรษฐกิจพอเพียงเปนแนวคิดท่ีสอดคลองกับสังคม
วัฒนธรรม การดาํ รงอยู และประวัติศาสตรค วามเปนมาของคนไทย สังคมไทย

27
คดิ และปฏบิ ัติตนอยางไรจึงจะเรียกวาพอเพียง
มีพระราชดํารัสองคหนี่งกลาวไววา “พูดจาก็พอเพียง ปฏิบัติตนก็พอเพียง” คํานิยามบอกหลักการไว
วา ความพอเพียง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสรางภูมิคมุ กันทีด่ ีในตัว จากผลกระทบท่ี
จะเกิดข้ึนจากทั้งภายนอกและภายใน ภายนอกกระทบเขามา ภายในก็เปลี่ยนแปลงดวย จะพอเพียงได
ตองคํานึงถึง 3 หลักการ คือคิดและทําอะไรอยางพอประมาณ มีเหตุมีผล และมีภูมิคุมกันในตัวที่ดี
ถาครบ 3 หลกั การนี้ ถึงจะบอกไดวา พอเพียง ถาไมครบก็ไมพอเพียง และการจะสรางความพอเพียงใหเกิดข้ึน
ไดต อ งใชค วามรคู วบคไู ปกับคณุ ธรรม
พอประมาณคือ การทําอะไรท่ีพอเหมาะ พอควร สมดุลกับอัตภาพ ศักยภาพของตนเอง และสภาวะ
แวดลอม พอประมาณของแตละคน ในแตละชวงเวลาก็ตางกัน อยางเชน บางคนในบางวันทานขาวจานเดียวอ่ิม
แตบางวันก็ไมอิ่ม ตอง 2 จานถึงจะอิ่ม แลวแตเหตุปจจัยท่ีเก่ียวของในชวงขณะเวลาน้ัน ๆ ความพอประมาณ
สามารถพิจารณาไดจาก 2 ปจจัย คือ ปจจัยภายใน พอเหมาะกับความชอบ ศักยภาพและความสามารถของ
แตละคนหรือไม และปจจัยภายนอก คือพอประมาณกับ ภูมิสังคม สิ่งแวดลอม และสถานการณในแตละขณะ
หรือไม ในหลักสัปปุริสธรรม 7 สอนไววา จะสรางความพอดีใหเกิดข้ึนไดจะตอง รูเหตุ รูผล รูตน รูประมาณ
รกู าล รูชมุ ชน รูบุคคล ความพอประมาณ จงึ ครอบคลุมความพอเหมาะ พอควรกบั ทุก ๆ เรอ่ื ง
แลวจะรูไดอยางไรวาพอประมาณหรือไม ก็ตองรอบรูในขอมูล ปจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของ มีสติ และคิด
พิจารณาอยางรอบคอบ ซื่อสัตยตอตนเอง ตอความจริง ตอหนาที่ ตอผูอื่น ตองใชหลักเหตุหลักผลในการ
ตัดสินใจ และตองคํานึงถึงการเปล่ียนแปลงในมิติตาง ๆ ที่จะทําลายความพอดี ความพอเพียงดวย จึงตองมี
การสรางภูมคิ มุ กนั ในตวั ทีด่ ีใหเกิดข้นึ
ยกตัวอยาง จะดูหนังสือสอบ หรือเตรียมการสอบอยางพอเพียงไดอยางไร เตรียม 1 ช่ัวโมงกอนสอบ
พอไหม อยางเราเรียนมาท้ังเทอม สมุดโนตมี 5 เลม ตองใชเวลาพอประมาณกับส่ิงที่มี ถึงจะสมเหตุสมผล
ถาใชเวลานอยเกินไป หรือไมมีความขยันอดทนในการดูหนังสือ ก็ไมมีภูมิคุมกันในตัวท่ีดี อาจสอบตกได
กลาวคือ จะดูหนังสืออยางพอประมาณก็ตองพอดีกับศักยภาพของตนเองท่ีมีอยู ประกอบกับเนื้อหาที่เรียนมา
มีเหตุมผี ล ดูหนังสือท่ีเปนเรือ่ งหลักสอดคลองกับวิชาท่ีเรยี น การมีภูมิคุมกนั ในตวั ทีด่ ีทําอยา งไร คือดหู นังสือให
สอบผานไดดวย สุขภาพก็ตองไมทรุดโทรม ไมทะเลาะเบาะแวงหรือเอาเปรียบเพ่ือนฝูง ไมคดโกงในการสอบ
เพราะฉะน้ันตองมีความขยนั อดทน ตอ งใชคุณธรรมเปน พืน้ ฐานของความคิดและการกระทาํ ตลอดเวลา

1 Iแลวทําไมเราตองใชชีวิตอยางพอเพียง หรือลองคิดในคําถามตรงกันขามวา ถาเราใชชีวิตอยาง

ไมพอเพียงแลวจะเปนอยางไร เชน ใชจายไมพอเพียง ดูแลสุขภาพอยางไมพอเพียง บริโภคอยางไมพอเพียง
ทาํ งานอยา งไมพอเพยี ง มากไป นอ ยไป หรือนักศกึ ษาดูหนังสืออยางไมพอเพียง การใชชีวิต การปฏบิ ัตติ นอยาง
ไมพอเพียง นอยเกินไป มากเกินไป ไมพอดี พอเหมาะ พอควรกับความสามารถของเรา กับสถานการณ
ส่ิงแวดลอม มันสงผลกระทบอะไรบางใหกับตัวเราเอง สงผลกระทบอะไรบางใหกับคนรอบขาง กระทบกับ
สังคม กระทบกบั สิ่งแวดลอม สงผลถึงอนาคตของตนเองและสังคม

ยกตัวอยาง การทานขาวแบบพอเพียงเปนอยางไร คือ ใหอ่ิมพอประมาณ เพราะเรารูวา ถาอ่ิมมาก
เกินไป อึดอัด ถาอ่ิมนอยเกินไป ก็ยังหิวอยู แตวาอ่ิมอยางเดียว เปนเรื่องเพียงแคปริมาณ ยังไมพอเพียง
ไมส มดุล ตองสมดลุ ดานคณุ ภาพดวย บริโภคอยางไมพอเพียง เชน รับประทานไขมัน มากเกนิ ไป หรือวา อาจจะ
บริโภคสิ่งท่ีไมเปนประโยชนกับรางกาย เชน ยาเสพติด เหลา บุหร่ี ตาง ๆ เพราะฉะน้ันความพอเพียงในการ
บริโภค ไมใชเ ฉพาะปริมาณเทานัน้ คณุ ภาพดว ย ถึงจะบอกไดวา เราใชช ีวติ อยางพอเพยี ง สมดุลจรงิ ๆ

28
หรือยกตวั อยา ง สนิ คาท่ีสุภาพสตรใี นกรงุ เทพมหานคร ตองการอยากซื้อมากเปนอันดับหน่งึ คอื ทีวจี อ
แบน เราจะลองเปรียบเทียบระหวางผูบริโภคที่ซื้อทีวีจอแบนแบบพอเพียง กับผูบริโภคที่ซื้อทีวีจอแบนแบบ
ไมพอเพียง จะซื้อทีวีจอแบนแบบพอเพียงไดอยางไร สมมุติวา สุภาพสตรีทานหน่ึง คุณวิไล ที่บานคุณวิไลทีวี
เคร่ืองเกาเสีย จอเส่ือม ดูไมได หรือพอดูไดบางแตจอเสื่อม ดูแลวเสียสายตา คุณวิไลมีรายไดเพียงพอที่จะ
สามารถซอื้ ได ไมตองผอ น หรือผอนไดแตไมถ ึงกับเดือดรอ น กระเหม็ดกระแหม คุณวไิ ลมีความสามารถท่ีจะทํา
ความเขาใจรีโมทตาง ๆ ของทีวีจอแบนได ซ้ือมาเสร็จ ก็อาจจะยกทีวีเคร่ืองเกาใหญาติพี่นองหรือก็อาจจะไป
บริจาคที่วัดเปนการกุศล คนเอาไปใชตอได อยางนพี้ อเพียง เพราะไมไ ดเบยี ดเบียนตัวเอง ไมไดเ บยี ดเบียนผูอื่น
ของท่เี คยใชอยกู เ็ อาไปบรจิ าค เกดิ ประโยชนก บั ผูอื่นได มกี ารแบง ปนเพราะวา มีเคร่อื งใหมเ ครือ่ งเดยี วก็พอแลว
แตถาเกิดสมมุติวา เพ่ือนคุณวิไลชื่อคุณพิไร คิดวา เอะ! เพื่อนเรามีทีวีจอแบน เรายังไมมี ทําอยางไรดีละ
เงินเก็บ เงินออม ก็ไมมี ทีวีทบี่ านก็ยังดีอยู แตไมได เดี๋ยวกลัวนอยหนา ก็เลยไปรูดเครดิตการด แลวก็ตอ งมานั่ง
ผอ นสง 6 เดือน แลวตองกระเหม็ดกระแหมในการใชเงินแตละเดือน เพราะวาตองไปผอนทีวี เพียงเพ่ือใหมีทีวี
จอแบน ใหคุยกับคุณวิไลได สวนทีวี ที่มีอยูก็ยังใชได ในบานเลยมีทีวี 2 เครื่อง เลยกลายเปน เกินพอ
จนเกะกะ และถาเปด ทวี ีพรอ มกัน 2 เครื่อง กต็ อ งเสียคาไฟเพมิ่ และไมประหยดั พลังงานดวย
เพราะฉะน้ัน จะวิเคราะห ความพอเพียงไมพอเพียง รายจายพอประมาณไหมกับรายได มีขาวของ
เพียงพอไหมกับการใชสอย การใชจายมีเหตุมีผลหรือเปลา ซ้ือเพราะอะไร เพราะจําเปนหรือเพราะเอาอยาง
ผูอื่น แลวมีภูมิคุมกันไหม เงินทองก็ไมมี ตองไปผอนสงอีก ซ้ือมาเสร็จแลวไดใชหรือไม ในระยะยาว
คมุ คาหรือไม สามารถนําหลกั พอเพียงไปใชเ บ้อื งตน ในการวิเคราะหพฤตกิ รรมตาง ๆ ได
เชน การผลิตสินคา OTOP แบบพอเพียง กับ OTOP แบบไมพอเพียง ก็สามารถใชหลัก 3 หวงในการ
วิเคราะห การพัฒนาสินคา OTOP นั้น พอประมาณไหมกับศักยภาพของคนในชุมชน เปนการตอยอดจากภูมิ
ปญญาทองถิ่นทม่ี ีอยูหรือเปลา หรือวาคนในชุมชนตองมาเรียนรูใหมหมดในการผลิต แลว ที่ผลิตน้ีมีเหตผุ ลอะไร
ผลิตเพราะวาเจาหนาท่ีสวนกลางบอกใหผลิต หรือผลิตเพราะวามีของดีอยูแลวอยากตอยอดออกมาพัฒนาให
เปนสินคาเพื่อสรางรายไดเพิ่มข้ึน สําหรับการสรางภูมิคุมกันของการผลิตสินคานั้น มีการวางแผนเรื่องวัตถุดิบ
อยางรอบคอบหรือไม มีการวางแผนเรื่องตลาดอยางดีไหม ไมใชวาผลิตออกมา เสร็จแลว ขายก็ไมได
ผลิตออกมาเสร็จแลว ขายได แตไมมีวัตถุดิบ ไมมีการวางแผนจัดการท่ีดี ก็ไมมีภูมิคุมกันที่ดี เพราะฉะนั้น การ
ผลิตสินคา OTOP ก็มีทั้งแบบพอเพียงและ ไมพอเพียง ใชหลัก 3 หวง พอประมาณ มีเหตุมีผล มีภูมิคุมกันใน

1 Iตัวที่ดีในการวิเคราะหไดเชน กนั
เงือ่ นไขสรางความพอเพยี ง
เงื่อนไขและปจจัยท่ีจะทําใหการวางแผน การตัดสินใจ การดําเนินการแตละอยาง นําไปสูความ
พอเพยี งหรอื ไมพ อเพียง ในคํานยิ ามซ่ึงไดพระราชทานมากร็ ะบุชดั เจนวาตองอาศัยความรคู กู ับคุณธรรม

เง่อื นไขความรู คือความรอบรู ความรอบคอบและระมัดระวงั ในการนําเอาหลกั วิชาการมาใช กลาวคือ
จะเอาหลักวิชาการมาใช ตองรูจริง รอบรู ไมเอามาทดลองใชอยางงู ๆ ปลา ๆ เพราะจะมีโอกาสพลาดสูง
ถารูจริงแตไมรอบคอบ ก็ไมไดอีก หลายคร้ังท่ีเกิดปญหาไมพอเพียง มาจากความไมรอบคอบ ยกตัวอยางเชน
เร่ือง OTOP การวางแผนการผลิต ถาไมรอบคอบตั้งแตตนทางคือเร่ืองวัตถุดิบ จนกระทั่งถึงปลายทาง คือการ
ทําการตลาด และจัดสง สินคา มโี อกาสท่ีจะนําไปสคู วามไมพอเพียงไดอยางมาก

29
แตความรูอยางเดียวไมพอที่จะสรางความพอเพียงใหเกิดขึ้นได ตองมีคุณธรรมดวย คนท่ีคิดวาตัวเอง
ฉลาดแตไมมีคุณธรรม ไมใชคนที่ฉลาดจริง เพราะผลของการกระทําของเขาท่ีอาจจะเห็นแกตัว เอารัดเอา
เปรียบผูอ่ืน คดโกง ไมซ่ือสัตยสุจริต ฉอราษฎรบังหลวง เวลาทําการงานภารกิจ จิตแสสายไมต้ังมั่น ไมมีสมาธิ
ทาํ อะไรก็ไมร อบคอบ ไมใชป ญญาคิดพิจารณาแยกแยะเหตแุ ละผลตาง ๆ ใหถ ่ีถว น สดุ ทา ยก็สงผลทางลบกับตัว
เขาเองในท่ีสุด เพราะฉะน้ันคนท่ีมีสติปญญาจริง จะตองเปนคนท่ีมีคุณธรรม รูผิดถูกชอบช่ัวดี ไมเบียดเบียน
ตนเองและผูอ่ืน มีการแบงปน เอ้ือเฟอเผ่ือแผ มีศีลท้ังทางกาย วาจา และทางความคิด และจิตตองต้ังมั่นเปน
หนึ่ง เปนสมาธิจดจออยูกบั ภารกิจการงานที่ทํา งานจึงจะออกมามีคุณภาพ และนําไปสูการสรา งความพอเพียง
ไดอยา งแทจรงิ
คุณธรรมนี้ มี 2 ชวง เร่ิมจากการตอ งเสริมสรางพ้ืนฐานจิตใจใหม ีคุณธรรม แตละบุคคลจะตอ งมีสํานึก
ในคุณธรรม คิดละชั่ว ประพฤติดี ซื่อสัตยสุจริต ซื่อสัตยตอตนเอง ซ่ือสัตยตอผูอ่ืน ซื่อสัตยตอหนาที่ความ
รับผิดชอบ ซ่อื สัตยส ุจรติ ไมใ ชหมายความแตเ พียงไมคอรปั ชนั่ เทา นั้น ยกตวั อยางเชน เวลาจะซือ้ ของ ถา ซอื่ สตั ย
ตอ ตัวเอง ก็จะรูวาจริง ๆ แลวจาํ เปนหรือเปลา มีรายไดเพียงพอไหม จะซ่ือสัตยตอตัวเองได ก็ตองรูจกั ตัวเองกอน
รวู าเรามีรายไดแคไหน สถานะอยา งเราทําอะไรไดบาง อันนี้จําเปนไหม แลวก็มีความรอบรูท่ีเหมาะสมเก่ียวกับ
สินคาน้ัน ๆ
อยางที่สอง คือการมีคุณธรรมเปนหลักปฏิบัติและการดําเนินชีวิต คือตองมีความอดทน ความเพียร
มสี ติปญญา และความรอบคอบ คณุ ธรรมขอน้ีเปนขอ ยนื ยันวา เมื่อนําหลักพอเพียงไปใช จะไมเปนการย่าํ อยูกับ
ท่ี แตกลับจะนําไปสูความกาวหนาพรอมกับความสมดุลเปนขั้นเปนตอน เชน ในการบริหารธุรกิจ ถามีความ
ขยันหมั่นเพียร อดทน พัฒนาองคกร พัฒนาบุคลากรอยางตอเนื่อง มีความรอบคอบในการดําเนินการธุรกิจ
การงาน ชีวิตก็จะกา วหนาอยา งเปน ข้นั ตอน
เปา หมายของเศรษฐกิจพอเพยี ง
เปาหมายของเศรษฐกิจพอเพียงในคํานิยามคืออะไร พระปฐมบรมราชโองการ “เพ่ือประโยชนสุข
แหงมหาชนชาวสยาม” การจะทําอะไรก็ตามประโยชนก็ตองเกิด ความสุขก็ตองมี แตเวลาพูดถึงการที่จะสราง
ประโยชนใหเกิดข้ึน จะสรางความสุขใหเกิดข้ึน กับครอบครัว กับชุมชน กับองคกร กับประเทศชาติ บางคร้ัง
คํานิยามก็อาจจะตางกัน แลวประโยชนสุขตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง จะวัดไดจากที่ไหน ก็ตองพิจารณาจาก
เปาหมายของเศรษฐกิจพอเพียง คือมุงใหเกิดความกาวหนาไปอยางสมดุลและพรอมรับตอการเปล่ียนแปลง

1 Iในดา นตาง ๆ กลาวคอื ตองกาวหนาอยา งสมดุล ม่นั คงและย่ังยนื
ทําไมเราจําเปนตองมีพรอมรับตอการเปล่ียนแปลง หรือมีภูมิคุมกัน หลักพุทธมองโลกวา ทุกอยาง
เปนอนิจจัง มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา จะรูไดอยางไรวา ถาเราออกจากหองน้ีเดินออกไปขางนอกจะไมถูก
รถชน ถาเราไมมีเงินเก็บออมหรือการทําประกันสุขภาพเตรียมไวในยามจําเปน ก็จะเกิดปญหาจนถึงกับเกิด
วกิ ฤตในชวี ิตได ฉะน้ันการสรา งภูมคิ มุ กันในตวั ที่ดี คอื ตองพรอ มรบั ตอการเปลี่ยนแปลง ไมป ระมาท มีสติในการ
ดําเนินชีวิต ใชปญญาในการคาดการณความเปลี่ยนแปลงตาง ๆ เพื่อวางแผนรองรับ และรักษาสมดุล
ไดทั้งในปจ จุบันและในอนาคตดวย สมดุลแปลวาสมดลุ ทงั้ ปจจุบนั และอนาคต วันน้ีพอเพียงยังไมพอ พรุงนี้ตอง
พอเพียงดวย คือ ตองมีความเพียรอยางตอเนื่อง ที่จะรักษาความสมดุลใหไดอยางสมํ่าเสมอ ความเพียรในขอ
ปฏิบัติมรรค 8 นั้น หมายถึง ความเพียรท่ีจะแกไขขอบกพรอง เพียรท่ีจะละความชั่วที่เคยทํา หรือทําอยูแลว
หรือยังไมเคยทําใหนอยลงจนหมดไป เพียรท่ีจะทําความดีที่เคยทํา หรือทําอยูแลว หรือยังไมเคยทําใหดียิ่ง ๆ
ข้นึ

30
สมดุลในดานไหนบาง คํานิยาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบอกวาตองสมดุลทั้งทางดานวัตถุ/
เศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดลอม วัฒนธรรม/คานิยม ประโยชนสุขของคนสวนใหญจะเกิดขึ้นไดอยางแทจริง หรือ
ความพอเพียงอยา งสมบูรณจริง ๆ จะเกิดขึ้นได ก็ตอเม่ือเราสรางความสมดุลและพรอมรับตอการเปล่ียนแปลง
ใน 4 ดาน คือทางดานวัตถุหรือเศรษฐกิจ ดานสังคม ดานส่ิงแวดลอม และดานวัฒนธรรม/คานิยม/ความเช่ือ
การกาวหนา ไปพรอมกับความสมดุลในแตล ะยางกาว จะทาํ ใหเกดิ ความพอเพียงในที่สดุ
แมแตหลักการในการบริหารจัดการธรุ กิจสมัยใหม บริษัทกต็ องมกี ารบริหารจัดการท่ีดี มีความโปรงใส
ของการทําบัญชี ภาษาอังกฤษเรียกวา Corporate Good Governance หรือ CG มีการตรวจสอบภายใน
มีการดูแลผูถือหุนทุกรายอยางเสมอภาคเทาเทียมกัน อันนี้เปนเพียงแคเรื่องเศรษฐกิจ หรือการมีความ
รับผิดชอบขององคกรตอสิ่งแวดลอมและสังคม หรือ CESR (Corporate Environmental and Social
Responsibility) ซึ่งเปนส่ิงที่ทุกบริษัทควรมี แต CESR ก็ยังแคบกวาพอเพียง เพราะถาเอาหลักเศรษฐกิจ
พอเพียงไปใชในการบริหารจัดการองคกร ก็ตองคํานึงถึงอีก 4 ดานพรอม ๆ กันอยางสมดุล คือ ดานวัตถุ
หรอื เศรษฐกจิ ดา นสงั คม ดา นสงิ่ แวดลอม และดา นวฒั นธรรม
หลายองคกรธุรกิจเอกชนไดทํา CESR โดยบอกวา กําไรกอนแลว จะคนื กําไรสสู ังคม แตถ ามีการบริหาร
จัดการธุรกจิ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ในระหวางการจดั ซ้อื การผลิต การทํางาน การหากาํ ไร ตองเปนไป
อยางสมดุล คือไมเบียดเบียนสังคม ไมสงผลกระทบทางลบตอผูอื่นในสังคม ถาแบงปน ชวยเหลือสังคมดวยก็ย่ิงดี
และท่ีสําคัญตองคํานึงถึงผลกระทบทางส่ิงแวดลอม ทําอยางไรจะแสวงหากําไรทางเศรษฐกิจโดยไมสงผล
กระทบตอ สงั คม และสิ่งแวดลอม ยกตัวอยางเชน การผลิตสินคา ต้ังราคาเอาเปรยี บผูบรโิ ภคหรือไม สินคาเปน
ภัยตอผูบริโภคหรือไม เชน มีขาวออกมาแลววา มีสารโลหะตกคางในเครื่องสําอางท่ีมีช่ือเสียง ท่ีพิสูจนไดแลว
ประมาณ 5 ย่ีหอ ระหวางการผลิต ถาไมมีความรอบคอบ ท้ิงสารตะกอนตกคางเอาไว ก็ถือวาไมดําเนินธุรกิจ
อยางพอเพียง เพราะไมกาวหนาไปอยางสมดุล แตเอาเปรียบผูบริโภค ไมมีความรอบคอบ ระหวางการผลิต
ท้งิ สารตะกอนตกคางเอาไว ไมค าํ นงึ ถึงความปลอดภยั ของผบู ริโภค กถ็ อื วา ไมพ อเพยี ง
สมดุลทางดานเศรษฐกิจ ในระดับบุคคล ก็หมายถึงการดํารงชีวิตโดยรายไดสมดุลกับรายจาย เราจะ
ใชจายอยางพอเพียงไดอยางไร รายจายพอประมาณกับรายไดไหม มีเหตุมีผลคือวาใชของ เพราะจําเปน
หรือฟุมเฟอย การใชเงินอยางสมดุล ตองมีภูมิคุมกันดวยคือออมบาง การซื้อประกันชีวิต ประกันสุขภาพ
หรือสวัสดิการในบริษัทก็เปนภูมิคุมกัน เพราะฉะนั้นสมดุลทางเศรษฐกิจ คือ ทําอยางไรจะรักษาสมดุลรายรับ

1 Iรายจาย มีเงินออม มีประกันดวย เพราะฉะน้ันอยาง กทม. ธ.ก.ส. และองคกรอื่น ๆ อีกมากมายเขาสนับสนุน

การทําบัญชีรายรับรายจาย เขาบอกวาเพื่อชีวิตที่พอเพียง อันนั้นเปนเคร่ืองมือ การทําบัญชีรายรับรายจาย
คุณจะไดรูวา แตละเดือนคุณใชเงินอยางไร พอเพียงไหม การทําบัญชีรายรับรายจาย เปนเครื่องมือเพื่อให
คณุ ใชชีวิตอยางพอเพียงหรอื วาสมดุล

ยกตัวอยาง การสรางความสมดุลและพรอมรับตอการเปล่ียนแปลงในการใชจาย ก็อาจจะตองทํา
บันทึกรายรับรายจาย บัญชีรายรบั รายจายเปนเครื่องมือ เพ่ือใหดูวา การใชจา ยสมดุลไหม ใชจายมากเกินกวา
รายรับหรือไม และตองคํานึงถึงความเปล่ียนแปลงในอนาคตดวย หมายความวา ตองมีเงินออม มีหลักประกัน
ตาง ๆ ในหลายโรงเรียน ครูฝกใหเด็กเร่ิมทําบัญชีรายรับรายจาย เพราะอยากใหเด็กไดรูวา พอแมมีรายไดมา
จากไหน เวลาจะใชเงินแตละบาท แตละสลึง จะไดตระหนักถึงความเหนื่อยยากของพอแมในการหาเงินมา
เรื่องนตี้ อ งปลกู ฝงตงั้ แตเ ด็ก

31
แตความสมดุลดานเศรษฐกิจ ความพอเพียงในการใชเงินทอง ไมเพียงแตดูสมดุลของบัญชี รายรับ
รายจายเทานั้น การใชจายอยางพอเพียง คือตองคุมคา สรางประโยชนและความสุขใหเกิดข้ึน บางทานบอกวา
พอเพียงคือประหยัด แตประหยัดไมไดบอกวา ตระหน่ีถ่ีเหนียว คําวา ทางสายกลาง หมายความวา ไมฟุงเฟอ
ไมใชเงินเกินตัว แตก็ไมใชวาประหยัด จนไมใชจายเงินเลย ก็ไมถูกตอ งอีก การใชจายแบบทางสายกลางก็คือวา
การใชเงินอยางเหมาะสมกับอัตภาพของเรา ศักยภาพของเรา รายไดของเรา และเหมาะสมกับสถานการณ
ความจําเปน สิง่ แวดลอมดว ย
การพรอมรับกับการเปล่ียนแปลงซึ่งเกิดขึ้นในชวงทุกขณะ เชน ทางดานเศรษฐกิจ เราไมรูวาพรุงนี้
ดอกเบย้ี จะขนึ้ เทา ไร ราคานํา้ มันข้นึ ลงตลอดเวลา รายไดข องเราก็อาจจะขึน้ ลงดวย เราอาจจะตองออกจากงาน
เศรษฐกิจพอเพียงบอกวา ไมใชสมดุลหรือคิดเฉพาะวันน้ีเทาน้ัน พรุงน้ี มะรืนนี้ เดือนขางหนา ปขางหนา มีการ
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพราะฉะน้ันตองพรอมรับตอการเปล่ียนแปลง ก็นํามาสูเรื่องกลยุทธเร่ืองการออม
เร่ืองการสรา งหลักประกันทางสังคมตา ง ๆ
สมดุลทางดานสังคม ถาจะบอกไดวาเราใชชีวิตอยางพอเพียง เราก็ตองมีความสมดุลทางดานสังคม
ดวย เชน ตองไมใ ชคนเหน็ แกต ัว เศรษฐกิจพอเพยี งนําไปสูค วามรูรักสามัคคี ความสามคั คจี ะเกิดขึ้นได ในสังคม
ตองไมมีใครเอารัดเอาเปรียบกัน ทุกคนชวยเหลือกัน แบงปนกันทั้งกําลังทรัพย กําลังกาย กําลังใจ และกําลัง
ความรู การใชจายเงินทองเม่ือสมดุลทางเศรษฐกิจ ก็ตองคํานึงถึงการใชจายเพ่ือสรางสมดุลทางสังคม
ใหเกิดขี้นดวย ถึงจะอยูร วมกันไดอยา งมคี วามสุข ความสมดุลทางสังคมตองเร่ิมจากการให คนทพี่ อแลว จะรูจัก
การให รูจักเอ้ือเฟอเผื่อแผ ชวยเหลือ มีนํ้าใจ แบงปน คนท่ีไดรับการแบงปนก็จะนึกถึงบุญคุณของผูให
มีความรูสึกเปนมิตร หากขัดสนจนคิดจะแยงชิงจากผูอื่นในสังคมก็จะระงับยับย้ังช่ังใจไวได ผูใหก็จะมีความสุข
จากการให สิ่งตาง ๆ เหลานี้ สรางความสมดุล ใหเกิดขึ้นในสังคม สรางภูมิคุมกันใหเกิดข้ึนไดในสังคม ชุมชน
เขมแข็งจะเกิดขึ้นได ในชุมชนจึงตองมีความสามัคคี ความสามัคคีจะเกิดขึ้นได ชุมชนตองมีการแบงปนกัน
ชว ยเหลอื กันเวลาตกทกุ ขไ ดยาก
สมดุลดานส่ิงแวดลอมเปน อยางไร การจดั การทรัพยากรทางธรรมชาตใิ หสามารถใขประโยชนไ ดอยาง
ยงั่ ยืน เชน ไมตัดไมทําลายปา เราจําเปนตองรักษาสมดุลทางส่ิงแวดลอม เพราะทุกอยางท่ีเราเปน เราใช เรามี
มาจากธรรมชาติสิง่ แวดลอม ถา เราไมรักษาไวใ หใชไดนาน ๆ เราจะอยอู ยางไร เราตองเห็นความจําเปนของการ
อยูรวมกับระบบนิเวศวิทยาอยางสมดุล ไมทําราย ไมทําลาย ไมเบียดเบียน องคการสหประชาชาติรณรงคให

1 Iเกิดการพัฒนาอยางย่ังยืน หมายความวาการพัฒนาตองสามารถทําใหคนรุนตอไปดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพใน

ระดับเดียวกันกับคนรุนปจจุบัน แตในความเปนจริงเราทําไดไหม ในป พ.ศ.2504 ประเทศไทยเรมิ่ มีแผนพฒั นา
ฯ เรามีปาไมครอบคลุมทั่วประเทศประมาณ 74 เปอรเซ็นต ในการประเมินแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 ตอนน้ันปา
ไมเ หลือเพยี ง 23 เปอรเซ็นต เขาทาํ ลายปา ไปหมดแลวประมาณ 50 เปอรเซ็นต

หลักเศรษฐกิจพอเพียงช้ีใหคํานึงถึงวา ในการใชจาย หรือดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจในดานตาง ๆ
ของแตละคน แตละองคกรน้ัน ใหพยายามรักษาสมดุลทางส่ิงแวดลอม ใหเกิดขึ้นในคราวเดียวกันดวย จึงจะ
เรียกไดวา พอประมาณกับทรพั ยากรที่มีอยู บนพื้นฐานของความรอบคอบตามหลักวิชาการ และเปนการสราง
ภูมิคุมกันดวย ระหวางการผลิต ถาทําลายส่ิงแวดลอม ก็ถือวาไมมีการผลิตอยางพอเพียง จะรอบอกวากําไรกอน
คอยคืนกําไรน้ันสูการปลูกปา อนุรักษสิ่งแวดลอมไดไหม ไมได ระหวางการผลิตก็ตองรักษาสมดุลดาน
ส่ิงแวดลอ มไปพรอม ๆ กนั

32
ยกตัวอยางในระดับบุคคล ในชีวิตของเราจนกระทั่งเราเรียนจบหรือแมแตออกไปทํางานแลว เราเคย
คิดบางไหมวา การใชชีวิตของเราใชกระดาษจํานวนมาก กระดาษมาจากตนไม เราใชตนไมไปก่ีตน และในทาง
กลับกัน เราเคยปลูกตนไมกี่ตนในชีวิตของเรา หลายองคกร หลายโรงเรียน มีกิจกรรมปลูกตนไมเพ่ือพอ
เพ่ือรวมรักษาดูแลสิ่งแวดลอม แตที่สําคัญคือตองสรางจิตสํานึกใหรูกอนวาทําไมตองปลูกตนไม ตองเขาใจกอน
วา ตนไมใหอะไรกับมนุษยบาง ออกซิเจนที่เราสูดอากาศมาจากไหน เบื้องตนก็มาจากตนไม ทุกคนเคยเรียน
จากวิชาชีววทิ ยาเบอ้ื งตน
เร่ืองสุดทายสมดุลดานวัฒนธรรม หากศึกษาพระราชดํารัสและพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จ
พระเจาอยูหัวรัชกาลที่ 9 ในเรื่องวัฒนธรรมจะพบวา พระองคทรงเนนยํ้ามาโดยตลอดใหปลูกฝงเด็กและ
เยาวชนไทยใหเห็นคุณคาในความเปนไทย เอกลักษณไทย เห็นประโยชนและคุณคาของภูมิปญญาไทย
ภูมิปญญาทองถิ่น ที่เปนองคความรูที่มีประโยชนท่ีสืบทอดตอกันมา โดยเฉพาะในยุคปจจุบันท่ีมีกระแส
โลกาภิวัตนถาโถมเขามา การเสริมสรางความพอเพียงทางวัฒนธรรม จะเปนเสมือนภูมิคุมกันทางวัฒนธรรม
ที่จะทําใหเด็กไทย คนไทย มีจุดยืนในชีวิต มีหลักคิด หลักปฏิบัติที่เปนที่ยึดเหน่ียวจิตใจ และพัฒนาตนเอง
มีความแกรงในความเปนไทย เขาใจในความเปนสากล เพื่อใหอยูรอดไดในยุคโลกาภิวัตน ดํารงตนอยูไดอยาง
มีศักด์ิศรี ทา มกลางความเปล่ียนแปลงตาง ๆ
การปลูกฝงใหเด็กเยาวชน โดยเฉพาะเด็กรุนใหม ๆ มีภูมิคุมกันท่ีดี และพรอมรับการเปลี่ยนแปลง
ตาง ๆ ทางดานวัฒนธรรม ภายใตโลกยุคโลกาภิวัตนได มีความภูมิใจในความเปนไทย เด็กควรจะตอง
รูจักรากเหงา ประวัติศาสตร และความเปนมาของตนเอง ของครอบครัว ของสังคมไทย และของชาติ
ของประเทศ รูที่มาทไ่ี ป เหตผุ ลของการมวี ัฒนธรรม ประเพณี คา นยิ มตาง ๆ ที่ยึดเหนี่ยวจติ ใจคนไทยใหมีความ
สามัคคี จะไดรักชาติ เห็นคุณคาของวัฒนธรรมในชาติตน คิดถึงบุญคุณของผืนแผนดินไทย ตลอดจนรูจัก
แยกแยะและเลือกรับวัฒนธรรมอืน่ ๆ ที่ไหลเขา มาสตู นในยคุ โลกาภวิ ตั นไดวาอะไรเปน ประโยชน อะไรเปนโทษ
อะไรเหมาะสมพอประมาณกบั การใชช วี ติ ของแตละคนในสังคมไทย อะไรควรทําตาม อะไรควรละเวน
หลักคิดเรื่องวัฒนธรรมพอเพียงจะทําใหคนไทย ชาติไทย สามารถยืนอยูไดอยางมั่นคง ภายใตกระแส
โลกาภิวัตน ท่ีมีสื่อขอมูลตาง ๆ ถาโถมเขามาอยางรวดเร็วและกวางขวาง ทามกลางการเปล่ียนแปลงตาง ๆ
ในโลกท่ีเกิดขึ้น เราจะอยูไดอยางมีศักด์ิศรี เราตองมีรากเหงา ตนไมที่จะสามารถตานรับลมที่พัดมาแรง ๆ ได
โดยไมลม รากแกว ตองหยั่งรากลึกลงไป ถาเปนตนหญาตนออ ลมพัดมาแรงทีเดียวก็ลมเลยเพราะมีแคร ากฝอย

1 Iประเทศชาติจะอยูได เราตองมีราก รากเหงา รากแกว รากฝงลึกลงไป ซึ่งส่ิงน้ีก็คือความเปนไทย

วัฒนธรรมไทย

33

6. คุณธรรมทใ่ี ชใ นการปฏิบตั งิ าน

คณุ ธรรม หมายถึง สภาพคุณงานความดี ความประพฤติที่ดี การทําใหเกิดคุณงามความดี อุปนิสัยอัน
ดงี าม ซึ่งเปนคุณสมบัตทิ ีอยูภายในจิตใจของบุคคล ไดแก ความเมตตากรณุ า ความซือ่ สตั ยสุจรติ ความเสยี สละ
ความเอื้อเฟอ ความกตัญู ความพากเพียร ความเห็นอกเห็นใจ ความละอายตอความชั่ว และความมุงมั่นกลาหาญ
ที่จะกระทําความดีในการกระทําความดีน้ันจะตองมุงกระทําท้ังกายและใจ เพ่ือใหเกิดความสุขแกตนเองและ
ผูรวมงาน เน่ืองจากคุณธรรมเปนเรื่องท่ีเกี่ยวของกับสภาพคุณงามความดี คนที่ดีจึงตองเขาใจหลักการพื้นฐาน
ของคุณงามความดี หลักการพ้ืนฐานของความจริงเปนสัจธรรม และหลักการประพฤติปฏิบัติของมนุษยที่
เกยี่ วขอ งกับคุณคาของความดีงาม เพอื่ จะไดใ ชด ุลยพินิจในการปฏิบตั ติ น

คุณธรรมท่ใี ชในการพัฒนาตนเอง พฒั นาคน และพัฒนางาน ทจ่ี ะนําเสนอทีส่ ําคญั ดงั นี้
1. โลกบาลธรรม หมายถึง ธรรมท่ีคุมครองโลก เปนธรรมท่ีใชปกครอง ควบคุมจิตใจมนุษยไวให
อยูในความดี มิใหละเมิดศีลธรรม ใหอยูรว มกนั ดวยความสงบสุข ไมเดอื นรอ น สับสน วนุ วาย
ซึ่งประกอบดวย 2 ประการ คือ
1.1 หริ ิ ไดแ ก ความละอายแกใจตนเองในการทาํ ความชว่ั
1.2 โอตตัปปะ ไดแก ความเกรงกลัวบาป เกรงกลัวตอการทําความช่ัวและผลของกรรมช่ัวที่
ไดก ระทาํ ขึน้
2. ธรรมที่ทาํ ใหง าม ประกอบดว ย 2 ประการ คือ
2.1 ขันติ ไดแก ความอดทน คือ อดทนตอความทุกข อดทนตอความลําบาก อดทนตอ
ความโกรธ ความหนักเอาเบาสู เพ่อื ใหบรรลจุ ดุ หมายทดี่ ีงาม

1 I2.2 โสรัจจะ ไดแก ความสงบเสงี่ยม ความมีอัธยาศัยงดงาม รักความประณีต และรักษา
ความประณีต และรักษาอากัปกิรยิ าใหเหมาะสมเรียบรอย เปนลักษณะอาการที่ตอเน่ือง
จากความมีขันติ
3. ธรรมทีท่ ําใหงานสําเรจ็ คืออทิ ธิบาท 4 ประกอบดว ย 4 ประการ ดงั น้ี
3.1 ฉันทะ ไดแ ก การสรา งความพอใจในการทาํ งาน
3.2 วิรยิ ะ ไดแก ความเพียรพยายามทํางานตามบทบาทหนาท่ี
3.3 จติ ตะ ไดแ ก การเอาใจฝก ใฝ ไมทอดทิ้งธุระ
3.4 วิมงั สา ไดแ ก การหมัน่ ตริตรอง พิจารณาแกไ ข ปรับปรงุ งานทตี่ องปฏิบตั อิ ยูเสมอ
4. สังคหวัตถุ เปนหลักธรรมแหงการสงเคราะหชวยเหลือ เปนคุณธรรมในการยึดเหนี่ยวจิตใจ
ของผูอ่ืนไว หลกั การสงเคราะหชวยเหลือ 4 ประการ ไดแก
4.1 ทาน ไดแก การแบงปน เอื้อเฟอ เผื่อแพกนั
4.2 ปย วาจา ไดแก การพดู จาดวยถอยคําทส่ี ภุ าพ เปน ทีน่ ิยมนับถือ
4.3 อัตถจรยิ า ไดแ ก การประพฤติทีเ่ ปนประโยชนแ กผ ูอ ืน่
4.4 สมานัตตา ไดแก ความีตนเสมอ ไมถ ือตวั รว มทกุ ข รวมสุข
5. พรหมวิหาร เปนหลักธรรมของพรหม ธรรมประจําใจอันประเสริฐของผูใหญธรรมประจําใจ
ของผมู ีคุณความดยี ิ่งใหญ ประกอบดวย
5.1 เมตตา ไดแก ความตอ งการทจ่ี ะใหผ อู น่ื เปนสขุ
5.2 กรุณา ไดแก ความตอ งการท่ีจะใหผ ูอืน่ พน ทุกข
5.3 มุทติ า ไดแ ก ความพลอยยนิ ดีเมือ่ ผอู ่ืนไดด ี เหน็ ผูอื่นประสบความสาํ เรจ็ กย็ นิ ดี
5.4 อุเบกขา ไดแ ก ความวางใจเปน กลาง ไมเ อนเอียงดวยความชอบหรือชัง ความวางใจเฉย

ได ไมย นิ ดียินรา ย เพื่อใชปญ ญาพจิ ารณาเห็นผลอนั เกดิ ข้นึ อันสมควรแกเหตุ

34
6. สัปปรุ ิสธรรม เปนธรรมของคนดี ประกอบดว ย 7 ประการ คอื

6.1 ธมั มญั ู ความเปน ผูรูจักเหตุ
6.2 อตั ถัญู ความเปน ผรู ูจกั ผล
6.3 อัตตญั ู ความเปนผรู จู กั ตน
6.4 มัตตัญู ความเปน ผรู จู ักประมาณ
6.5 กาลัญู ความเปน ผรู ูจักกาล
6.6 ปรสิ ญั ู ความเปนผูรูจักชุมชน
6.7 ปคุ คลญั ู ความเปน ผูรจู ักบุคคล
7. ฆราวาสธรรม เปนธรรมของผูครองเรือน ประกอบดวย
7.1 สัจจะ ความซ่ือสตั ยต อกัน
7.2 ทมะ ความฝก ฝนปรบั ปรุงใหรูขมใจ ควบคุมอารมณ ควบคุมตนเอง และปรับตัวให

เขา กับงาน และสงิ่ แวดลอ ม
7.3 ขนั ติ อดทนตอการปฏบิ ตั งิ านตามหนา ที่
7.4 จาคะ ความเสียสละ เผอ่ื แผ แบง ปน มีน้ําใจ
8. กาลามสูตร เปนสูตรหนึ่งในคัมภีรติกนิบาตรอังคุตตรนิกาย ท่ีพระพุทธเจาตรัสสอนแก
ประชาชนชาวกาลามะ แหงเกสปุตตนิคม ในแควนโกศล ไมใหเชื่องมงายไรเหตุผล ตามหลัก
10 ประการ คอื
8.1 อยาเช่อื โดยไดยนิ ไดฟงตามกนั มา
8.2 อยาโดยเหน็ เปน ของเกา เลา สืบกนั มา
8.3 อยาเชอ่ื โดยมีขา วลือ
8.4 อยาเชื่อโดยอางตาํ รา
8.5 อยา เชอ่ื โดยนกึ เอาเอง
8.6 อยา เช่ือโดยนยั คาดคะเน
8.7 อยาเชื่อโดยตรกึ ตรองตามอาการ
8.8 อยาเช่อื โดยเพราะเหน็ วา เขากับทฤษฎขี องตน

1 I8.9 อยาเชอ่ื เพราะเหน็ วา ผูพดู ควรเชอื่

8.10 อยา เช่อื เพราะเห็นวาเปนครขู องเขา
การจะเช่อื ในสง่ิ ใดนนั้ ตองพิจารณาใหเ ห็นดว ยปญญาธรรมแลว จึงถือปฏบิ ตั ิตามนน้ั
9. คุณธรรม 4 ประการ ท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชทรงมีพระ
ราชดํารัสแกพลเอก เปรม ติณสูญลานนท อดีตนายกรัฐมนตรี เนื่องในงานเฉลิมฉลองสมโภช
กรงุ รตั นโกสนิ ทร 200 ป เมอ่ื พ.ศ. 2525 ความวา
8.1 การรักษาความสัตย ความจริงใจตอตนเองที่จะประพฤติปฏิบัติแตสิ่งที่เปนประโยชน

และเปน ธรรม
8.2 การรจู ักขอ มใจตนเองฝก ใจตนเองใหป ระพฤติอยใู นความสตั ยค วามดนี ้ัน
8.3 ความอดทน อดกลนั้ และอดออมท่ีจะไมป ระพฤติปฏิบตั ลิ ว งความสตั ยส ุจรติ ไมว าจะดวย

เหตุประการใด
8.4 การรูจักละวางความช่ัว ความทุจริต และรูจักสละประโยชนสวนนอยของตน

เพือ่ ประโยชนส ว นใหญข องบา นเมือง

35
10. คุณธรรมเก่ยี วกับความสามัคคี
สามัคคี คือ ความพรอมเพรียงกัน ความกลมเกลียวกัน ความปรองดองกัน รวมใจกันปฏิบัติงานให
บรรลุผลตามความตองการ เกิดงานการอยางสรางสรรค ปราศจากการทะเลาะวิวาท ไมเอารัดเอาเปรียบกัน
เปนการยอมรับความมเี หตุผล ยอมรับความแตกตางหลากหลายทางความคิด ความหลากหลายในเรอื่ งเชอื้ ชาติ
ความกลมเกลียวกันในลักษณะเชนน้ี เรียกอีกอยางวาความสมานฉันท ผูท่ีมีความสามัคคี คือ ผูที่เปดใจกวาง
รับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืนรูบทบาทของตน ท้ังในฐานะผูนําและผูตามท่ีดี มีความมุงม่ันตอการรวมพลัง
ชว ยเหลือเก้ือกูลกันเพ่ือใหการงานสําเร็จลุลวง แกปญหาและขจัดความขัดแยง ได เปนผูมเี หตุผล ยอมรับความ
แตกตางหลากหลายทางวัฒนธรรม ความคดิ ความเชอื่ พรอ มทจ่ี ะปรับตัวเพือ่ อยูรวมกันอยางสนั ติ
ในการดําเนินชีวิตของเรา ยอมตองมีความสัมพันธกับผูอื่น ไมวาจะเปนเพ่ือนรวมหอง เพ่ือนรวมงาน
รวมชุมชน ตลอดจนพี่นองรวมครอบครัว จะเกิดเปนความสัมพันธอันดีหรือท่ีเรียกวา ความสามัคคี ไดน้ัน
ตองอาศัยเหตุที่เรียกวา สาราณียธรรม หรือธรรมเปนเหตุใหระลึกถึงกัน กระทําซึ่งความเคารพระหวางกัน
อยูรวมกนั ในสงั คมดวยดี มคี วามสขุ ความสงบ ไมทะเลาะเบาะแวง ทํารา ยทาํ ลายกัน มี 6 ประการ นนั่ คอื
1. เมตตากายกรรม หรือ ทําตอกันดวยเมตตา คือ แสดงไมตรีและความหวังดีตอเพื่อน ตอผูอื่นดวย
การชว ยเหลอื ธุระตาง ๆ โดยเต็มใจ แสดงอาการกริ ยิ าสุภาพ เคารพนบั ถือกัน ทัง้ ตอหนาและลบั หลัง
2. เมตตาวจีกรรม หรือ พูดตอกันดวยเมตตา คือ ชวยบอกสิ่งที่เปนประโยชน ส่ังสอนหรือแนะนํา
ตักเตอื นกนั ดว ยความหวังดี กลา ววาจาสุภาพ แสดงความเคารพนับถือกนั ท้ังตอหนา และลับหลัง
3. เมตตามโนกรรม หรือ คิดตอกันดวยเมตตา คือ ตั้งจิตปรารถนาดี คิดทําแตสิ่งที่เปนประโยชน
แกกนั มองกนั ในแงด ี มีหนาตายิ้มแยม แจม ใสตอกัน
4. สาธารณโภคี หรือ ไดมาแบงกันกินใช คือ แบงปนลาภผลท่ีไดมาโดยชอบธรรม แมเปนของ
เลก็ นอย กแ็ จกจา ยใหไ ดม ีสว นรว มใชสอยบริโภคทว่ั กนั
5. สีลสามัญญตา หรือ ประพฤติใหดีเหมือนเขา คือ มีความประพฤติสุจริต ดีงาม รักษาระเบียบวินัย
ของสวนรวม ไมทาํ ตนใหเ ปน ท่ีนารังเกียจ หรือทําความเสอื่ มเสยี แกหมูคณะ
6. ทิฏฐิสามัญญตา หรือ ปรับความเห็นเขากันได คือ เคารพรับฟงความคิดเห็นกัน มีความเห็นชอบ
รว มกนั ตกลงกันไดใ นหลักการสําคัญ ยดึ ถอื อุดมคติหลักแหง ความดีงาม หรอื จดุ หมายอันเดียวกัน
ธรรมท้งั 6 ประการนี้ อันไดแ ก ทํา-พดู -คิดตอกนั ดวยเมตตา มีนาํ้ ใจ แบง ปน ประพฤติสุจรติ รบั ฟง ความคดิ เห็น

1 Iซ่ึงกันและกัน สามารถเคารพนับถือกัน ชวยเหลือดูแลกัน มีความพรอมเพรียง มีความรวมมือ ผนึกกําลังกัน

เปนน้ําหนึ่งใจเดียวกัน หากเราทุกคนไดปฏิบัติ ก็จะเกิดเปนคุณคาที่จะกอใหเกิดความสามัคคีในการอยูรวมกัน
ในสงั คมดวยดแี ละมคี วามสงบสขุ ปลอดภัย อนั เปน ส่ิงทีเ่ ราทกุ คนลวนปรารถนา

36

7. การประสานงานการสื่อความหมาย มนุษยสมั พันธ และการบริหารกิจการบา นเมืองทดี่ ี

การประสานงาน หมายถึง การกระทําหรือการนําวิธีการตาง ๆ มาใชเพื่อใหบุคคลหรือหนวยงาน
รวมมือปฏิบัติดวยความสามัคคี แบงหนาที่กันทํา ไมมีการกาวกายซํ้าซอนกัน ใหทุกคนรับผิดชอบ ขจัดความ
ขัดแยงหรืออุปสรรคตาง ๆ ในหนวยงานเพื่อใหการดําเนินงานเปนไปดวยความเรียบรอย ราบร่ืนและบรรลุผล
สาํ เรจ็

รูปแบบการประสานงานมี 2 รูปแบบ คอื
1. การประสานงานแบบเปนทางการ
2. การประสานงานแบบไมเปน ทางการ

ลกั ษณะการประสานงานทด่ี ีคือ
1. การส่อื สารระบบเปด เปนการสอื่ สารแบบ 2 ทาง
2. บรรยากาศในการทาํ งานเปน แบบสมานฉนั ท
3. มีลกั ษณะการทาํ งานที่สอดคลอ งกัน
4. เปน ไปตามเปาหมายและทนั เวลา

วิธกี ารประสานงาน มขี ้นั ตอนดงั ตอ ไปน้ี
1. จัดใหมผี ัง กาํ หนดหนา ทข่ี องคนทกุ คนอยา งชัดเจน
2. จัดระบบการทํางานคาํ นึงถึงสายบังคับบญั ชา
3. จัดคูมือการปฏิบัติงาน
4. กาํ หนดวธิ ีเลอื กการสอ่ื สารไดช ดั เจน
5. กําหนดงบประมาณไวใชจา ยฃ
6. ถามคี วามจาํ เปน อาจจัดใหม ีเจา หนา ที่เฉพาะขึ้นได
7. จดั ใหม กี ารประชุมปรึกษาหารือ
8. จัดใหมีนเิ ทศ กํากับ และตดิ ตามผลในระหวา งการปฏิบัติ เปนระยะ ๆ

จุดเนน : การประสานงานมขี อจาํ กดั ท่.ี .... งบประมาณ และเวลา
ประโยชนข องการประสานงาน คือ

1. งานบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค

1 I2. งานไมซํา้ ซอนกัน

3. ลดความขดั แยง ในการทํากิจกรรม
จุดเนน : ประโยชนส ูงสดุ ของการประสานงานคือ งานบรรลุวตั ถุประสงคอยา งมีประสทิ ธภิ าพ
การประสานงานทําในขน้ั ตอนและกจิ กรรมใดจึงจะดีทสี่ ดุ

1. การประสานงานจะตองทาํ ทุกขั้นตอนและทกุ กิจกรรมของการดาํ เนินงาน
2. การประสานงานจะตองทําตงั้ แตเ ริ่มแรกของการทํางานนั้น ๆ
การประสานงานทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพจะตอ งอาศยั ปจ จัย 2 อยา ง คือ
1. อํานาจเพยี งพอที่ไดรบั มอบหมายจากผูทม่ี ีอํานาจหรือไม
2. ผลประโยชนเทา เทยี มกันหรือไม
ก า ร ป ร ะ ส า น ง า น เป น เรื่ อ ง ท่ี เกี่ ย ว ข อ งกั บ ห ล า ย อ ง ค ป ร ะ ก อ บ แ ต อ ง ป ร ะ ก อ บ ท่ี สํ า คั ญ ข อ ง ก า ร
ประสานงานเปน เรื่องที่เกย่ี วกับ.. คน .. มากท่ีสุดเพราะการประสานงานเปน การใหค นทาํ งานไมซ้าํ ซอนกัน

37
ลกั ษณะของการประสานงานท่ีดีจะทําใหเกิดสง่ิ ใด

การประสานงานท่ดี ที าํ ใหเกดิ ความรวมมอื รวมใจ และงานสําเรจ็ ตามวัตถุประสงคท่กี าํ หนดไว
ลกั ษณะของการประสานงานไดดี คือ

1. จะตอ งเปน บุคคลท่ีมคี วามรูเรอ่ื งขน้ั ตอนทั้งหมดของงานหรือโครงการ
2. มีวฒุ ภิ าวะ คอื มีความนาเชื่อถือ ความเปนผูใ หญ
3. มีความรับผิดชอบสงู
4. มคี วามสามารถเชิงมนุษยส ัมพนั ธ
5. มีทักษะในการพูด และศลิ ปะในการโนม นาวจติ ใจคน
การสื่อความหมาย หมายถึง การท่ีบุคคลหนึ่งส่ือความหรือขอมูลใหบุคคลหนึ่งหรือกลุมบุคคลหนึ่ง
หรือกลมุ บุคคลหนงึ่ ใหรบั ทราบเพ่ือสนองตอบความตองการ
ความสําคญั ของการสื่อความหมาย
บุคคลจะตองส่ือสารเพื่อรวบรวมขอมูล จัดระบบขอมูล สงขอมูล เพ่ือดําเนินงานขององคการใหเปนไป
ดว ยดี การสอื่ สารมหี ลายวิธกี าร บคุ คลจะตอ งพจิ ารณาความตอ การจําเปนของผรู วมงานหวั หนา งานและสมาชิกทีม
การวิเคราะหการส่ือสารระหวางบุคคล Transaction Analysis (TA) เปนรูปแบบที่สรางความเขาใจ
และปรบั ปรุงความสัมพันธร ะหวางบุคคล และการสื่อสารเปนวิธีการวเิ คราะหที่จะชวยพจิ ารณาฐานะของแตละ
บุคคลในการสื่อสารการปฏิสัมพันธและการตอบสนองเปนเครื่องมือท่ีมีคุณคาที่ใชไดในทุกสถานการณ
การปฏสิ มั พนั ธกับคนอ่นื การฝก อบรมและการประชุม
รปู แบบของ TA เปนการแสดงออกถงึ พฤติกรรมทเ่ี กิดจากการส่ือสารทแ่ี ตกตาง สภาวะจิตทงั้ 3 แบบ คือ
1. สภาวะจิตแบบเด็ก (Child : C) เปนการแสดงสภาวะที่แสดงออกมาใน 2 ลักษณะคือ
เปนเด็กที่ยอมตาม คือยอมรับการวินิจฉัยของผูอื่น รูสึกไมดี รูสึกอึดอัดและหัวเสีย อีกชนิดหน่ึงคือเปนแบบ
เด็กดื้อ คอื เด็กแสดงอารมณ โกรธ ปองกนั ตนเอง ชอบโตเ ถยี ง
2. สภาวะจิตใจแบบพอแม (Parent : P) เปนการแสดงสภาวะจิตใจท่ีแสดงออกมาใน 2
ลักษณะ คือ เปนการแสดงแบบเมตตากรุณา คือชวยเหลือจุนเจือ เอ้ืออาทรตอผูอื่น ไวตอความรูสึกและเขาใจ
บคุ ลิกภาพของตัวเรา อีกประการหนึ่ง เปนการแสดงแบบวพิ ากษวิจารณ คอื การท่ีเนน จะแสดงความคิดเห็นเชิง
วจิ ารณผ อู ่ืน

1 I3. สภาวะจิตแบบผูใหญ (Adult : A) เปนบุคลิกภาพท่ีเนนในเรื่องความคิด ไรอารมณ เราใช

บุคลิกภาพสวนน้ีเนนการแกปญหา การใหขาวสาร ขอเท็จจริง เราเรียกวาสภาวะจิตแบบผูใหญ เปนสวนหน่ึง
ของบุคลิกภาพของเรา เราใชสวนนีบ้ อยทีส่ ุดในฐานะท่ีเราเปนผูใหญ

ลักษณะการสอ่ื สาร
1. การส่ือสารแบบเปด
2. การสอื่ สารแบบปด หรือขดั แยง

การประยกุ ตการสอ่ื สารไปใชใ นการปฏิบัตหิ นาที่ในตําแหนง
1. ฝกทกั ษะเก่ยี วกับการฟงและการพูดเปนองคป ระกอบในการสื่อสาร
2. การสื่อสารท่ีดีจะตองเปนการส่ือสารอยางตรงไปตรงมา เพ่ือการส่ือความหมายที่

สะดวกสบาย
3. การสื่อสารควรใชวิธีการสื่อสารแบบเดียวกันและเปนการสื่อสารแบบเปด มากกวาการ

สอื่ สารแบบปด
4. จะใชการส่ือสารแบบใด เราจะตองคํานึงถึงผูที่เราจะส่ือสาร เพื่อใหการสื่อสารประสบ

ความสาํ เร็จในการส่ือสาร

38
มนุษยสัมพันธในการทํางาน หมายถึง ความสัมพันธร ะหวางบุคคล ซึ่งนําไปสูก ารสรางมิตร การจูงใจคน
และสรางคนใหอยูรวมกันในสังคมอยา งมคี วามสขุ
ความสาํ คญั ของมนุษยสมั พนั ธ

1. กอ ใหเ กดิ ความเขา ใจอันดรี ะหวา งมนุษย อนั กอ ใหเกิดความราบร่ืนในการคบหาสมาคม
2. กอ ใหเ กิดความเลือ่ มใส ศรัทธา เช่ือถือ ไววางใจ เขา ใจอันดีตอกัน
3. กอใหเ กดิ ความรกั ใคร สามัคคี อนั จะชวยปอ งกันความขดั แยง
4. กอ ใหเ กิดความสมั พนั ธอนั ดีตอ กันในการรวมมือรวมใจในการทํางานรวมกนั
5. กอใหเ กดิ ความสําเรจ็ ในการทํางานท่ีมวี ตั ถุประสงครวมกัน
ศิลปะในการสรางมนุษยสัมพันธ ผูท ี่มีมนุษยสมั พันธดี จะตองมีลักษณะเดนตาง ๆ ดังตอไปนี้ คือการ
รจู ักตนเอง รูจักคน รูจักงาน จรงิ ใจ เขาใจในธรรมชาติของคน เห็นใจตอผูรวมงาน ใหความชวยเหลือ ใหความ
เสมอภาคตอผูรวมงาน ใหการยอมรับความคิดเห็นและคารวะธรรม รักษาน้ําใจ รักษาสัจจะ ประสานงานใหเปน
วิเคราะหสถานการณ วิเคราะหสิ่งแวดลอม ใหความรวมมือตอผูรวมงาน ตองเขาสังคมไดทุกระดับ
ใหค วามยุตธิ รรมตอ ทกุ ๆ คน ตองมอี ารมณข นั
ลักษณะของผูมมี นษุ ยส มั พนั ธที่ดี
1. มที ักษะในการสอ่ื สารและสอื่ ความหมายทด่ี ี
2. มีทกั ษะในการรบั รู
3. มที กั ษะในการใชอาํ นาจโดยตําแหนง
4. มที กั ษะในการใชอ ํานาจบารมหี รอื อํานาจแฝง
5. มภี าวะผูนาํ
6. มีทกั ษะในการจูงใจ
7. มีทักษะในการตดั สนิ ใจสงั่ การ
8. มีทักษะในการบาํ รงุ ขวญั
การบริหารกิจการบานเมืองที่ดี (Good Governance) มีวัตถุประสงคเพ่ือใหหนวยงานของรัฐ
นําระบบน้ีมาใชเพื่อสรางหลักประกัน และการสรางประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ทั้งน้ีไดมีพระราชกฤษฎีกา
วาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี และระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการ

1 Iสรางระบบบริหารกิจการบานเมืองที่ดีเปนหลักในการนําไปใชในการปฏิบัติงาน ซ่ึงจะไดนําสาระสําคัญ

ท่ีเก่ยี วขอ งนาํ เสนอดงั นี้
1. หลักการพ้ืนฐานการสรางระบบการบริหารกิจการบานเมืองและสังคมที่ดี (Good Governance)

เกิดจากระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการสรางระบบบริหารกิจการบานเมืองและสังคมท่ีดี พ.ศ. 2542
ไดกาํ หนดหลกั 6 ประการ

1.1 หลักนติ ธิ รรม ไดแ ก การตรากฎหมาย กฎ ขอบงั คบั ตาง ๆ ใหท ันสมยั และเปนธรรมเปน ท่ี
ยอมรับของสังคมและสังคมนิยมพรอมใจปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ขอบังคับเหลาน้ีโดยถือวาเปนการปกครอง
ภายใตกฎหมาย มใิ ชต ามอาํ เภอใจหรอื อํานาจของตวั บุคคล

1.2 หลักคุณธรรม ไดแก การยึดม่ันในความถูกตองดีงาม โดยรณรงคใหเจาหนาที่ของรัฐ
ยึดหลักนี้ในการปฏิบัติหนาที่ใหเปนตัวอยางแกสังคม และสงเสริมสนับสนุนใหประชาชนพัฒนาตนเอง
ไปพรอมกันเพ่ือใหคนไทยมีความซ่ือสัตย จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบวินัยประกอบอาชีพสุจริตจนเปนนิสัย
ประจําชาติ

39
1.3 หลักความโปรงใส ไดแก การสรางความไววางใจซ่ึงกันและกันของคนในชาติ
โดยปรับปรุงกลไกการทํางานขององคกรทุกวงการใหมีความโปรงใส มีการเปดเผยขอมูลขาวสาร ที่เปน
ประโยชนอยางตรงไปตรงมาดวยภาษาท่ีเขาใจงาย ประชาชนเขาถึงขอมูลขาวสารไดสะดวก และมี
กระบวนการใหป ระชาชนตรวจสอบความถูกตองชัดเจน
1.4 หลกั การมสี วนรว ม ไดแก การเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมรับรู และเสนอความเห็น
ในการตัดสินใจปญหาสาํ คัญของประเทศ ไมวาดวยการแจงความเห็น การไตสวนสาธารณะการประชาพิจารณ
การแสดงประชามติหรืออน่ื ๆ
1.5 หลักความสํานึกรับผิดชอบ ไดแก การตระหนักในสิทธิหนาที่ ความสํานึกในความ
รับผิดชอบตอสังคม การใสใจปญหาของบานเมืองและกระตือรือรนในการแกปญหา ตลอดจนการเคารพใน
ความเหน็ ทีแ่ ตกตาง และความกลาที่จะยอมรับผลจากการกระทาํ ของตน
1.6 หลักความคุมคา ไดแก การบริหารจัดการและใชทรัพยากรท่ีมีจํากัดเพ่ือใหเกิดประโยชน
สูงสุดแกสวนรวม โดยรณรงคใหคนไทยมีความประหยัดใชของอยางคุมคา สรางสรรคสินคาและบริการท่ีมี
คณุ ภาพ สามารถแขง ขนั ไดใ นเวทโี ลกและรกั ษาทรัพยากรธรรมชาตใิ หส มบรู ณย่ังยนื
2. พระราชกฤษฎีกาวา ดว ยหลกั เกณฑแ ละวิธกี ารบริหารกจิ การบานเมอื งท่ีดี พ.ศ. 2546
ที่มาหลักการและแนวคิด เกิดจากพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534
แกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 และมาตรา 71/10 (5) ความวา การบริหารราชการตาม
พ.ร.บ. น้ี จะตองเปนไปเพ่ือประโยชนสุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ
ความคุมคาในเชิงภารกิจแหงรัฐ การลดข้ันตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจและยุบเลิกหนวยงานที่ไมจําเปน
การกระจายภารกิจและทรัพยากรใหแกทองถนิ่ การกระจายอํานาจตัดสินใจ การอํานวยความสะดวก และการ
ตอบสนองความตองการของประชาชน โดยให ก.พ.ร. เสนอความเห็นตอคณะรัฐมนตรีในการตราพระราช
กฤษฎีกาและกฎที่ออกตามพระราชบัญญัติสวนราชการที่จะตองปฏิบัติ ทุกสวนราชการ ยกเวน องคกร
ปกครองสว นทองถนิ่
การบรหิ ารกิจการบานเมอื งทด่ี ีมีเปา หมายการดาํ เนนิ การ 7 ประการ คือ
(1) เกดิ ประโยชนสขุ ของประชาชน
(2) เกดิ ผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ

1 I(3) มปี ระสทิ ธิภาพและเกิดความคมุ คา ในเชิงภารกจิ ของรัฐ

(4) ไมมีข้นั ตอนการปฏบิ ัตงิ านเกินความจําเปน
(5) มกี ารปรับปรงุ ภารกจิ ของสวนราชการใหทนั ตอ สถานการณ
(6) ประชาชนไดรบั การอํานวยความสะดวกและไดร ับการตอบสนองความตองการ
(7) มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอยางสมา่ํ เสมอ

40

บทท่ี 2
งานธรุ การ

การปฏิบัติงานในสํานักงานของบุคลากรระดับปฏิบัติการนั้น เปนการปฏิบัติงานที่ตองเกี่ยวของกับ
บุคคลและเอกสาร จึงตองอาศัยความอดทน ความขยัน และความจําสวนตัวพอสมควร เปนหลักสําคัญในการ
ปฏิบัติหนาที่ เพราะการทํางานที่เก่ียวของกับเอกสารน้ันจะเก่ียวกับหนังสือราชการ ท้ังท่ีเปนหนังสือราชการ
ภายในและหนังสือราชการภายนอก ซ่ึงมีหลายรูปแบบที่ตองดําเนินการ เชน การโตตอบหนังสือราชการ
การรางหนังสือขอความอนุเคราะห ขอความรวมมือ การรางหนังสือเชิญประชุมและวาระการประชุม
การนําเสนอ การจัดเก็บเอกสารเปนหมวดหมูทั้งท่ีเปนกระดาษและเปนไฟลในระบบคอมพิวเตอร ฯลฯ จงึ ตอง
มกี ารจัดระบบงานเอกสารทด่ี จี ึงจะประสบความสําเรจ็ ในการบริหารงานเอกสารและเปนการชวยจาํ ไดอกี ดว ย

ความสําคัญและขอบขา ยของงานธรุ การ
1. ขอบขา ยของงานธุรการ
1.1 รับ-สง หนังสอื
1.2 รางหนังสือ
1.3 พมิ พหนงั สอื
1.4 ผลิตสําเนาเอกสาร
1.5 จัดเก็บเอกสาร/แฟม เสนอ
1.6 บันทึกเสนอหนังสอื
1.7 ตรวจทานหนังสือ
1.8 การทําลายหนงั สอื I
2. ความสําคญั ของงานธรุ การ
2.1 เปนดา นหนาของหนว ยงาน
2.2 เปน หนวยสนบั สนุน
2.3 เปน หนว ยบริการ
3. บทบาทของเจา หนาที่ธุรการ

13.1 ตองรรู ะเบียบทเ่ี กีย่ วของ
3.2 ตอ งมมี นุษยสมั พนั ธ
3.3 ตอ งมีนาํ้ ใจ เกือ้ กูล
3.4 ตอ งมคี วามรอบคอบ
3.5 ตอ งมกี ารพัฒนาอยางตอเนื่อง
4. ควรมคี วามรเู ก่ยี วกับงานสารบรรณ ไดแ ก
4.1 ความรเู รื่องระเบยี บงานสารบรรณของสาํ นักนายกรฐั มนตรวี าดว ยงานสารบรรณ
พ.ศ. 2526 และ พ.ศ. 2548
4.2 ความรเู ร่อื งรหัส อักษรยอประจาํ หนวยงานตาง ๆ
4.3 ความรเู รอ่ื งธรรมชาติของหนังสอื ราชการคือระบบการนาํ เสนอหนงั สือ
4.4 ความรเู รื่องโครงสรางหนว ยงานภายในสามารถเกษยี นหนังสือเสนอใหหนว ยงาน
รับผดิ ชอบไดอยางถูกตอง

42

ระเบียบสํานกั นายกรัฐมนตรีวาดว ยงานสารบรรณ
ระเบยี บทเ่ี กี่ยวของ

ปจจุบันงานสารบรรณ มีระเบียบท่ีเก่ียวของ 2 ฉบับ ไดแก ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี
วาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. 2548 ซ่ึงเปน
การเพิ่มเตมิ คํานยิ ามเก่ียวกับเอกสาร “อิเลก็ ทรอนกิ ส” และคาํ วา “ระบบสารบรรณอิเลก็ ทรอนกิ ส”
ความหมายของงานสารบรรณ

ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ขอ 6 ใหความหมายของคําวา
“งานสารบรรณ” ไววา หมายถึง “งานท่ีเก่ียวของกับการบริหารงานเอกสารเร่ิมต้ังแต การจัดทํา การรับ
การสง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทําลาย” ซ่ึงเปนการกําหนดขั้นตอนและขอบขายของงานสารบรรณ
วาเก่ียวของกับเรื่องอะไรบาง แตในทางปฏิบัติการบริหารงานเอกสารทั้งปวง จะเริ่มตั้งแตการคิด อาน ราง
เขียน แตง พิมพ จด จํา ทําสําเนา สงหรือสื่อขอความ รับ บันทึก จดรายงานการประชุม สรุป ยอเรื่อง เสนอ
สั่งการ ตอบ ทํารหัส เก็บเขาที่ คนหา คิดตามและทําลาย ท้ังน้ีตองทําเปนระบบท่ีใหความสะดวก รวดเร็ว
ถูกตองและมีประสิทธิภาพ เพื่อประหยัดเวลา แรงงาน และคาใชจาย และในป พ.ศ. 2548 มีการประกาศ
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ โดยเพิ่มคํานิยามของเอกสารอิเล็กทรอนิกสของ
งานสารบรรณดังน้ี “อิเล็กทรอนิกส” หมายความวา การประยุกตใชวิธีการทางอิเล็กตรอนไฟฟา
คลื่นแมเหล็กไฟฟา หรือวิธีอ่ืนใดในลักษณะคลายกัน และใหหมายความรวมถึงการประยุกตใชวิธีตาง ๆ
เชนวานั้น และ “ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส” หมายความวา การรับสงขอมูลขาวสารหรือหนังสือ
ผา นระบบสอ่ื สาร ดว ยวธิ ีการทางอิเล็กทรอนิกส”
ความหมายของหนังสือราชการ

หนงั สอื ราชการ คือ เอกสารที่เปน หลักฐานในราชการ ไดแก
1) หนังสอื ทีม่ ไี ปมาระหวางสวนราชการ
2) หนังสือที่สว นราชการมีไปถงึ หนวยงานอน่ื ทีม่ ิใชร าชการหรือบคุ คลภายนอก
3) หนงั สอื ท่หี นวยงานอื่นทม่ี ใิ ชส ว นราชการหรือบคุ คลภายนอกมมี าถึงสว นราชการ
4) หนังสือทห่ี นว ยงานจัดทาํ ขนึ้ เพอื่ เปนหลกั ฐานในราชการ
5) เอกสารท่ที างราชการจัดทาํ ขึน้ ตามกฎหมาย ระเบียบ หรอื ขอบงั คบั

1 I6) ขอมูลขาวสารหรือหนังสือท่ีไดรับจากระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส (ระเบียบ

สํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2548 แกไขเพ่ิมเติม(ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี
วาดวยงานสารบรรณ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2548 ขอ 4 ใหเพ่ิมคํานิยามวา “อิเล็กทรอนิกส” และคําวา “ระบบ
สารบรรณอิเล็กทรอนิกส” ระหวางนิยามคําวา “หนังสือ” และสวนราชการ” ในขอ 6 แหงระเบียบ
สํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 “อิเล็กทรอนิกส” หมายความวา การประยุกตใชวิธีการ
ทางอิเล็กตรอน ไฟฟา คลื่นแมเหล็กไฟฟา หรือวิธีอ่ืนใดในลักษณะคลายกัน และใหหมายความรวมถึง
การประยุกตใชวิธีการทางแสง วิธีการทางแมเหล็ก หรืออุปกรณที่เกี่ยวของกับการประยุกตใชวิธีตางๆ
เชนวานั้น “ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส” หมายความวา การรับสงขอมูลขาวสารหรือหนังสือ
ผานระบบสอื่ สารดว ยวิธีการทางอิเล็กทรอนกิ ส”

43

ชนิดของหนงั สอื หนงั สือราชการ
1) หนังสอื ภายนอก คือหนังสอื ตดิ ตอ ราชการท่ีเปนแบบพธิ ี ใชก ระดาษตราครุฑ
1.1 ใชต ดิ ตอ ระหวา งสว นราชการ
1.2 สว นราชการมถี ึงหนว ยงานอื่น ซึ่งมิใชสว นราชการ หรอื ที่มีถงึ บคุ คลภายนอก
2) หนงั สอื ภายใน คือ หนงั สือติดตอราชการท่เี ปนแบบพิธนี อยกวาหนังสือภายนอก
2.1 ใชตดิ ตอ ภายในกระทรวง ทบวง กรม หรอื จงั หวัดเดยี วกบั ใชก ระดาษบนั ทึกขอความ

ขอแตกตาง หนังสอื ภายใน กับ หนังสือภายนอก หนังสอื ภายใน
หนังสอื ภายนอก
1. ไป – มา เปนทางราชการ 1. ไป – มา ในเรอื่ งราชการ
2. ตดิ ตอ ระหวา งตาํ แหนงตอตําแหนง 2. ตดิ ตอ กับบุคคลผดู ํารงตาํ แหนง
3. ใชก ระดาษตราครุฑ 3. ใชกระดาษบันทึกขอ ความ
4. สภาพหนงั สือผกู มดั ถาวรตลอดไป 4. ไมผกู มดั เปลี่ยนแปลงได
5. รูปแบบหนังสอื เปน แบบหนังสอื ลงนามเต็มฉบบั และ 5. ใชบนั ทกึ แทน
แบบประทบั ตรา 6. คําข้ึนตนใชเ รียน อางถงึ หนงั สือ
6. คําข้นึ ตน ประกอบดวย เร่ือง เรยี น อางถึง สิ่งทส่ี งมา ใสในขอ ความ
7. หา มใชอักษรยอ ตองใชคําเต็มทั้งชือ่ สวนราชการ 7. ใชค าํ ยอ ของตําแหนงหรอื สวนราชการ
วนั เดอื น ป วัน เดือน ป ได
8. คาํ ลงทายใชขอแสดงความนบั ถอื หรืออนื่ ๆ แลว แตกรณี 8. ไมม ีคําลงทา ย
3) หนังสือประทับตราแทนการลงชื่อ คือหนังสือท่ีใชประทับตราแทนการลงช่ือของหัวหนา
สวนราชการระดับกรมขึ้นไป โดยใหหัวหนาสวนราชการระดับกอง หรือผูที่ไดรับมอบหมายจากหัวหนา
สวนราชการระดับกรมข้ึนไป เปนผูรับผิดชอบลงชื่อยอกํากับตรา ใชกระดาษครุฑ ใชไดทั้งระหวางสวนราชการ
กบั สว นราชการ และระหวา งสว นราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณที ี่ไมใ ชเ ร่อื งสําคัญ ไดแ ก
3.1 การขอรายละเอียดเพ่มิ เตมิ
3.2 การสง สาํ เนาหนงั สือ สง่ิ ของ เอกสาร หรอื บรรณสาร
3.3 การตอบรบั ทราบที่ไมเก่ียวกบั ราชการสาํ คญั หรอื การเงนิ
3.4 การแจง ผลงานทไี่ ดดําเนินการไปแลวใหสวนราชการท่เี ก่ียวขอ งทราบ
3.5 การเตือนเรอ่ื งทค่ี า ง
3.6 เรื่องซ่ึงหัวหนาสวนราชการระดับกรมขึ้นไปกําหนด โดยทําเปนคําสั่งใหใชหนังสือ
ประทับตรา w\

4) หนังสือสั่งการ ใหใชตามแบบท่ีกําหนดไวในระเบียบ เวนแตจะมีกฎหมายกําหนดแบบไว
โดยเฉพาะมี 3 ชนดิ ไดแก
4.1 คําส่ัง คือ บรรดาขอความท่ีผูบังคับบัญชาส่ังการใหปฏิบัติโดยชอบดวยกฎหมาย
ใชก ระดาษตราครุฑ
4.2 ระเบียบ คือ บรรดาขอความที่ผูมีอํานาจหนาท่ีไดวางไว โดยจะอาศัยอํานาจของ
กฎหมายหรือไมก ไ็ ด เพื่อถือเปน หลักปฏบิ ัติงานเปนการประจํา ใชกระดาษครุฑ
4.3 ขอบังคับ คือ บรรดาขอความที่ผูมีอํานาจกําหนดใหใช โดยอาศัยอํานาจของกฎหมายท่ี
บัญญตั ิใหกระทําได ใชกระดาษครุฑ

44

5) หนังสือประชาสัมพันธ ใชตามแบบที่กําหนดไวในระเบียบนี้ เวนแตจะมีกฎหมายกําหนดแบบไว
โดยเฉพาะมี 3 ชนดิ ไดแ ก

5.1 ประกาศ คือ บรรดาขอความที่ทางราชการประกาศหรือแจงใหทราบ หรือแนะแนวทาง
ปฏิบตั ิ ใชกระดาษครฑุ ในกรณีทีก่ ฎหมายกาํ หนดใหทําเปนแจง ความ ใหเปล่ยี นคําวาประกาศเปน แจงความ

5.2 แถลงการณ คือ บรรดาขอความที่ทางราชการแถลงเพื่อทําความเขาใจในกิจการ
ของราชการ หรือเหตกุ ารณ หรือกรณใี ด ๆ ใหทราบชัดเจนโดยทว่ั กนั ใชกระดาษครฑุ

5.3 ขา ว คือ บรรดาขอความทท่ี างราชการเห็นควรเผยแพรใ หท ราบ
6) หนังสือที่เจาหนาที่ทําขึ้นหรือรับไวเปนหลักฐานในราชการ คือหนังสือที่ทางราชการจัดทําขึ้น
นอกเหนอื จากท่ีกลาวมาแลว หรือท่ีหนวยงานอื่นใดซ่ึงมิใชสว นราชการ หรอื บคุ คลภายนอกมีมาถึงสวนราชการ
และสว นราชการรับไว มี 4 ชนิด ไดแก

6.1 หนังสือรับรอง คือ หนังสือที่สวนราชการออกใหเพ่ือรับรองแก บุคคล นิติบุคคล หรือ
หนวยงาน เพื่อวัตถุประสงคอยางใดอยางหน่ึง ใหปรากฏแกบุคคลทั่วไป ไมจําเพาะเจาะจง ใชกระดาษครุฑ
โดยลงชอ่ื คาํ ข้ึนตนวา “หนังสอื รบั รองฉบบั น้ใี หไวเ พือ่ รบั รองวา .............”

6.2 รายงานการประชุม คือ การบันทึกความคิดเห็นของผูมาประชุม ผูเขารวมประชุม และ
มติทป่ี ระชุมไวเ ปนหลกั ฐาน

6.3 บันทึก คือขอความที่ผูใตบ ังคับบัญชาเสนอตอผูบังคับบัญชา หรือ ผูบังคับบัญชา ส่งั การ
แกผ ูใตบงั คบั บัญชา หรือขอความท่ีเจา หนา ท่ีหรือหนวยงานระดบั ตํ่ากวาสว นราชการระดับกรมติดตอกนั ในการ
ปฏบิ ตั ริ าชการ ใชก ระดาษบนั ทกึ ขอ ความ

6.4 หนังสืออื่น คือ เอกสารที่เกิดข้ึนเน่ืองจากการปฏิบัติงานของเจาหนาที่เพื่อเปนหลักฐาน
รวมถึง ภาพถาย ฟลม แถบบันทึกเสียง/ภาพ หรือหนังสือของบุคคลภายนอกที่ยื่นตอเจาหนาท่ี โดยลงรับเขา
ทะเบียนรับไวแลว มรี ูปแบบตามท่ีกฎกระทรวง ทบวง กรม กําหนดขน้ึ ใช เวน แตจะมีแบบตามกฎหมายเฉพาะ
เรือ่ ง เชน โฉนด แผนท่ี แบบ แผนผัง สญั ญา หลักฐานการสืบสวน/สอบสวน และคาํ รอ ง เปนตน

6.4 หนังสือเวียน คือหนังสือท่ีมีถึงผูรับจํานวนมาก มีใจความอยางเดียวกัน โดยใหเพิ่ม
พยัญชนะ ว หนา เลขทะเบียนหนงั สอื สง เริ่มตั้งแตเลข 1 เรยี งเปน ลําดับไปถงึ ส้ินปป ฏทิ ิน
ช้นั ความเรว็ ของหนงั สือ

1 I1) ดวนท่ีสดุ ใหเจา หนา ที่ปฏิบัตทิ นั ทที ่ีไดรบั หนงั สอื นัน้

2) ดว นมาก เจา หนาทปี่ ฏบิ ตั โิ ดยเรว็
3) ดว น เจา หนา ท่ปี ฏบิ ัติเร็วกวา ปกติ เทาทีจ่ ะทําได
หนังสือท่ีจัดทําขึ้นโดยปกติใหมี สําเนาคูฉบับ เก็บไวที่ตนเร่ือง ๑ ฉบับ และใหมีสําเนาเก็บไว
ทห่ี นว ยงานสารบรรณกลาง ๑ ฉบบั
สําเนาคฉู บับ ใหผ ูลงช่อื ลงลายมอื ชอ่ื หรือ ลายมือช่ือยอ และใหผ ูรา ง ผูพิมพ ผูตรวจลงลายมือช่ือหรือ
ลายมอื ช่ือยอไวท่ีขอบลางดา นขวามอื ของหนงั สือ
ถาเปนเรื่องไมสําคัญมากนักการสงเอกสารดวยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกสเพียงอยางเดียวโดย
ไมตองเปนเอกสารยืนยันตามไปก็ไดตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีขอ 7 วาดวยงานสารบรรณท่ีใหยกเลิก
ความในขอ 29 แหง ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรีวาดวยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 และใหใ ชค วามตอไปนแี้ ทน
“ขอ 29 การติดตอราชการนอกจากการจะดําเนินการโดยหนงั สือทเ่ี ปนเอกสารสามารถดาํ เนนิ การดว ย
ระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนิกส ไดในกรณีท่ตี ิดตอราชการดว ยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส ใหผูสงตรวจสอบ
ผลการสง ทุกครัง้ และใหผรู ับแจงตอบรับ เพื่อยืนยนั วา หนังสือไดจัดสง ไปยังผูรับเรยี บรอ ยแลว และสวนราชการ
ผูสงไมตองจัดสงหนังสือเปนเอกสาร เวนแตกรณีเปนเร่ืองสําคัญจําเปนตองยืนยันเปนเอกสาร ใหทําเอกสาร ยืนยัน
ตามไปทนั ที

45

การส งขอ ค วาม ท างเค รื่อ งมื อส่ื อส าร เชน โท รเล ข วิท ยุโท รเล ข โท รพิ ม พ โท รศั พ ท
วิทยุส่ือสาร วิทยุกระจายเสียง หรือ วิทยุโทรทัศน เปนตน ใหผูรับปฏิบัติเชนเดียวกับไดรับหนังสือในกรณีท่ี
จาํ เปนตอ งยืนยันเปน หนงั สือใหท ําหนงั สือยืนยนั ตามไปทันที
ชั้นของหนงั สอื ลับ

1) ลับที่สุด ไดแก ความลับที่มีความสําคัญท่ีสุดเกี่ยวกับขาวสาร วัตถุหรือบุคคลซึ่งหากความลับ
ดังกลาวท้ังหมดหรือเพียงบางสวนร่ัวไหลไปถึงบุคคลผูไมมีหนาท่ีไดทราบ จะทําใหเกิดความเสียหายหรือ
เปนภยันตรายตอความมั่นคง คงความปลอดภัย หรือความสงบเรียบรอยของประเทศชาติ หรือพันธมิตร
อยางรา ยแรงท่ีสุด

2) ลับมาก ไดแก ความลับที่มีความสําคัญมากเกี่ยวกับขาวสารวัตถุหรือบุคคล ซึ่งถาหากความลับ
ดังกลาวหรอื เพียงบางสว นรว่ั ไหลไปถงึ บุคคลท่ีไมมหี นาทีไ่ ดทราบ จะทาํ ใหเกิดความเสียหายหรือเปนภยนั ตราย
ตอความม่ันคง ความปลอดภัยของประเทศชาติหรือพันธมิตรหรือความเรียบรอยภายในราชอาณาจักรอยาง
รายแรง

3) ลับ ไดแก ความลับที่มีความสําคัญเก่ียวกับขาวสาร วัตถุหรือบุคคล ซึ่งถาหากความลับดังกลาว
หรือเพียงบางสวนร่ัวไหลไปถึงบุคคลท่ีไมมีหนาที่ไดทราบ จะทําใหเกิดความเสียหายตอทางราชการหรือ
เกียรติภูมขิ องประเทศชาติหรอื พนั ธมติ รได

4) ปกปด ไดแ ก ความลับซงึ่ ไมพ งึ เปดเผยใหผ ไู มมีหนาทไ่ี ดท ราบโดยสงวนไวใ หทราบเฉพาะบุคคลที่
มีหนาทต่ี อ งทราบเพือ่ ประโยชนในการปฏิบตั ริ าชการเทา น้ัน
การรับ – สงหนังสอื

หนงั สอื รบั รบั เขามาจากภายนอก
1. การรับหนงั สือ จากไปรษณยี  และหนวยงานภายนอก ทั้งหนังสอื ทางราชการ และหนงั สืออ่นื ๆ
2. จัดลําดับความสําคัญและความเรงดวนของหนังสือเพ่ือดําเนินการกอนหลังและใหผูเปดซองตรวจ
เอกสาร หากไมถ กู ตอ งใหติดตอ ราชการเจาของเร่อื ง หนว ยงานท่เี ก่ียวของ แลวจงึ ดําเนินการตอ
3. ประทบั ตราหนังสือ ที่มมุ บนดา นขวา กรอกรายละเอยี ด เลขทีร่ ับ วันท่ี เวลา
4. ลงทะเบยี นรับหนงั สือในทะเบียนรับหนงั สอื
5. จัดแยกหนังสือท่ีลงทะเบียนรบั แลว สง ใหหนวยงานท่เี กย่ี วขอ งลงชือ่ รับเอกสาร

1 I6. เสนอผบู งั คบั บญั ชาทราบและสัง่ การ


Click to View FlipBook Version