The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by happy Kruoil, 2020-05-24 09:48:38

CS_TeacherGuide_M3

CS_TeacherGuide_M3

กจิ กรรมที่ 11 | ประมวลผลขอ้ มูล 95
คมู่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)

บตั รสถานการณใ์ บกจิ กรรมท ่ี 11

สถานการณ์ท่ ี 1

โรงเรียนแห่งหนึ่งมีครูจำ�นวน 50 คน นักเรียนจำ�นวน 
1,200 คน เปิดสอนในระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ี ่ 1-6 ตอ้ งการ
กำ�หนดรายช่ือชุมนุมที่จะเปิดในปีการศึกษานี้ให้ตรงตาม
ความต้องการของนักเรียนแต่ละระดับช้ันมากที่สุด โดย
จำ�นวนชุมนุมที่สามารถเปิดได้ต้องไม่เกินจำ�นวนครูท่ีมี 
เนื่องจากครูแต่ละคนสามารถเปิดชุมนุมได้เพียง 1 ชุมนุม 
แต่ละชุมนุมสามารถรับนักเรียนได้ไม่เกิน 30 คน นักเรียน
ทกุ คนตอ้ งมีชุมนมุ และสามารถเลือกได้เพียง 1 ชุมนุมเท่าน้นั  

สถานการณท์  ี่ 2

พรรคกล้าคิด กล้าทำ� ต้องการลงสมัครเลือกตั้งประธาน
นักเรียนในปีการศึกษานี้ และต้องการกำ�หนดนโยบายท่ีตรง
กับความต้องการของนักเรียนในโรงเรียน โดยสมาชิกพรรค
มีข้อตกลงร่วมกันว่านโยบายหลักของพรรคจะมีจำ�นวน 3 ข้อ 
จึงได้มีแนวคิดในการสำ�รวจความต้องการของนักเรียนแต่ละ
ระดบั ชัน้ เพือ่ น�ำ มากำ�หนดเป็นนโยบายหลักของพรรค 

สถานการณท์ ่ ี 3

โรงเรียนแห่งหนึ่งได้ปรับปรุงโรงอาหารโดยการขยายร้าน
อาหารเพิ่มเติมอีกจำ�นวน 3 คูหาเพื่อรองรับจำ�นวนนักเรียน
ที่เพ่ิมข้ึน ทางโรงเรียนต้องการจัดหาร้านอาหารมาเพิ่ม
ซ่ึงต้องตรงกับความต้องการของนักเรียน และมีคุณค่าทาง
โภชนาการ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

96 กจิ กรรมที่ 11 | ประมวลผลข้อมูล
คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)

สถานการณท์  ่ี 4
โรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งหนึ่งต้องการจัดกิจกรรมในวัน
ข้ึ น ปี ใ ห ม่   โ ด ย มี กิ จ ก ร ร ม ห ลั ก คื อ ก า ร จั บ ส ล า ก เ พ่ื อ แ ล ก
ของขวัญระหว่างนักเรียน โดยหลายปีที่ผ่านมานักเรียนมี
ข้อเสนอว่า ควรกำ�หนดราคาของขวัญแยกตามระดับช้ัน
โ ด ย นั ก เ รี ย น ชั้ น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ป ล า ย ค ว ร มี ร า ค า ข อ ง
ของขวัญสูงกว่านักเรียนในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น 
โรงเรียนจึง นำ�ข้อเสนอดงั กลา่ วมาปรบั ปรงุ การก�ำ หนด ราคา
ของของขวญั ใหเ้ หมาะสมกบั ระดบั ชน้ั

สถานการณท์  ี่ 5
ในปีการศึกษานี้ โรงเรียนมีนโยบายท่ีจะพานักเรียน
ระดับช้ัน ม.3 ไปทัศนศึกษานอกสถานที่ โดยจัดให้เดินทาง
วันละ 1 ห้อง ให้นักเรียนเป็นผู้เลือกสถานที่ท่ีต้องการจาก
ตัวเลือกที่กำ�หนดให้ไม่น้อยกว่า 3 สถานที่ เพื่อให้สอดคล้อง
กับความต้องการของนักเรียนแต่ละห้องมากที่สุด ซ่ึงสถานที่
เหล่านั้นสามารถเดินทางไป-กลับได้ภายใน 1 วัน และมีค่า
ใช้จา่ ยไม่เกิน 350 บาทตอ่ คน 

สถานการณ์ท่ี 6
ในเดือนมีนาคม โรงเรียนจัดงานตลาดอาชีพ ซึ่งนักเรียน
ระดับชั้น ม.3 ในแต่ละห้อง ได้รับมอบหมายให้เปิดร้าน
เพื่อจำ�หน่ายสินค้าประเภทขนมหวานที่สนองต่อความ
ต้องการของนักเรียนในโรงเรยี น โดยโรงเรียนใหก้ ารสนับสนุน
ตน้ ทนุ หอ้ งละ 2,000 บาท 

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กิจกรรมท่ี 11 | ประมวลผลขอ้ มลู 97
คมู่ อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

สถานการณ์ท่ี 7

โรงเรียนต้องการสำ�รวจความคิดเห็นในกิจกรรมการเข้าค่ายลูกเสือ
ของนักเรียนชั้น ม.3 เพ่ือนำ�ผลการประเมินมาใช้ปรับปรุงการจัด
ค่ายลกู เสือในปถี ดั ไป

สถานการณท์ ี ่ 8

โรงเรียนแห่งหนึ่งต้องการกำ�หนดนโยบายเกี่ยวกับสวัสดิภาพ
และความปลอดภัยในการเดินทางมาโรงเรียนของนักเรียน และ
ต้องการนำ�เสนอข้อมูลเกี่ยวกับการเดินทางมาโรงเรียนของนักเรียน
แยกตามระดับชัน้ ตอ่ ผู้อำ�นวยการ 

สถานการณ์ท่ ี 9

คณะกรรมการนักเรียนของโรงเรียนแห่งหนึ่งพบว่า มีนักเรียน
บางส่วนมาโรงเรียนสายเป็นประจำ�และไม่ทันร่วมกิจกรรมหน้าเสาธง 
ทำ�ให้นักเรียนกลุ่มน้ีไม่ทราบข้อมูลข่าวสารบางอย่างของโรงเรียน
คณะกรรมการนักเรียนต้องการแก้ไขปัญหาและออกแบบกติกาเพ่ือ
ใหน้ กั เรยี นมาโรงเรยี นทนั เวลา เชน่  นกั เรยี นทมี่ าสายเกนิ  5 ครงั้ /เดอื น
จะถกู หักคะแนนความประพฤติ 10 คะแนน เปน็ ตน้  

สถานการณท์ ี ่ 10

คณะกรรมการนักเรียนของโรงเรียนแห่งหนึ่งต้องการจัดลาน
กิจกรรมเพื่อให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมท่ีตนสนใจ โดยแบ่งกิจกรรม
ออกเป็นประเภทศิลปะ-ดนตรี กีฬา และวิชาการ ซ่ึงแต่ละประเภท
อาจมีนักเรียนสนใจแตกต่างกัน คณะกรรมการนักเรียนต้องการ
ออกแบบกิจกรรมแต่ละประเภทอย่างหลากหลายและเพียงพอ
ส�ำ หรบั รองรบั นักเรยี นตามความสนใจ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

98 กิจกรรมที่ 11 | ประมวลผลขอ้ มลู
ค่มู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

ใบกิจกรรมที่ 11.1  ปญั หาคอื อะไร

สมาชกิ กลมุ่ ท ่ี ……...… 1. ชอื่ -สกลุ  ….……………………….…..…....................................……......….…... เลขท ่ี ................
2. ชอื่ -สกลุ  ….……………………….…..…...........................................…………... เลขท ่ี ................
3. ชอ่ื -สกลุ  ….……………………….…..…....................................…....……….…... เลขท ี่ ................
4. ชื่อ-สกลุ  ….……………………….…..…..........……….................................…... เลขที่ ...............

1. ศกึ ษาเน้ือหาบทที ่ 4 เรื่อง การนิยามปัญหา และการวิเคราะห์ปัญหา จากหนงั สอื เรยี น
2. รบั บตั รสถานการณจ์ ากคร ู สถานการณท์ ไ่ี ดร้ บั มอบหมาย คอื  สถานการณท์  ี่ ……………………....................…………
3. จากสถานการณ์ท่ีกลมุ่ ไดร้ บั  
3.1 ปญั หาจากสถานการณ ์ คอื  ……………………………………………….........……………………………………....…………
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
3.2 เง่อื นไข/ข้อก�ำ หนด ตามสถานการณ ์ คือ ………………...........…………………………………………………….....…...
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
4. จากปญั หาในขอ้  3 นักเรยี นสามารถวเิ คราะห์ปญั หาได ้ ดงั น้ี
4.1 นกั เรียนตอ้ งการขอ้ มูลอะไรบา้ งเพื่อแกป้ ญั หาขา้ งต้น
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………

………………………..……………………..........…………………………………………………………………………
……………………………………………..……………………..........……………………………………………………
…………………………………………………………………..……………………..........………………………………
……………………………………………………………………………………….................................................

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมที่ 11 | ประมวลผลขอ้ มลู 99
คู่มือครรู ายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

4.2 นักเรียนจะออกแบบการเกบ็ ข้อมูลอย่างไรใหค้ รอบคลุมสาเหตทุ ั้งหมด

ข้อมลู ชนิดของข้อมลู รปู แบบของข้อมลู
(เชน่  ตัวเลข ขอ้ ความ) (เชน่  ตวั เลข อาจมีรูปแบบ

เปน็ จ�ำ นวนเต็มหรอื
ทศนยิ ม วนั ที่ มรี ูปแบบ

วว/ดด/ปปปป หรอื  
ดด/วว/ปปปป)

4.3 เพื่อให้การเก็บรวบรวมข้อมูลเพียงพอสำ�หรับการวิเคราะห์ปัญหา นักเรียนจะกำ�หนดขอบเขตในประเด็น
ตอ่ ไปนอ้ี ยา่ งไร
1) ปริมาณข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บ ………………………………………………………………………......……………
2) ระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูล …………………………..…………………………………….......……………
3) ช่วงเวลาในจัดเก็บข้อมูล ……………………………………………………………………………….........……………
4) แหล่งกำ�เนิดข้อมูล หรือสถานที่ท่ีจะไปเก็บข้อมูล …………………………………………………......…………..
5) ผู้ให้ข้อมูล ……………………………………………………………………………………………………………….............

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

100 กจิ กรรมท่ี 11 | ประมวลผลขอ้ มลู
คมู่ อื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

ใบกจิ กรรมท ี่ 11.2  รวบรวมข้อมลู

สมาชิกกลมุ่ ท ่ี ……...… 1. ชอ่ื -สกลุ  ….……………………….…..…....................................……......….…... เลขท ่ี ................
2. ชอื่ -สกลุ  ….……………………….…..…...........................................…………... เลขท ี่ ................
3. ชอ่ื -สกลุ  ….……………………….…..…....................................…....……….…... เลขท ่ี ................
4. ชื่อ-สกลุ  ….……………………….…..…..........……….................................…... เลขท ี่ ...............

1. ศึกษาเนอ้ื หาบทท ่ี 4 เร่อื ง รวบรวมขอ้ มูล จากหนังสอื เรียน

2. จากสถานการณใ์ นใบกจิ กรรมที ่ 11.1 ท่นี กั เรียนแต่ละกลมุ่ ได้รบั  นักเรยี นจะเกบ็ ข้อมลู จากใคร 

หรอื แหล่งข้อมลู ใด 

………………………………………………..……………………………………………........…………………………………………………

………………………………………………..………………………………………………........………………………………………………

………………………………………………..…………………………………………........……………………………………………………

ขอ้ มูลทนี่ ักเรียนจะเก็บเปน็ ข้อมลู ประเภท (เลอื กไดม้ ากกวา่  1 ประเภท)

 ข้อมลู ปฐมภมู ิ   ข้อมลู ทตุ ยิ ภมู ิ

3. จากแหล่งข้อมูล/กลุ่มผู้ให้ข้อมูลในข้อ 2 นักเรียนใช้วิธีการใดในการเก็บรวบรวมข้อมูล และเก็บรวบรวมข้อมูล

อย่างไร อธบิ ายพร้อมทัง้ ให้เหตผุ ลประกอบ (เลือกไดม้ ากกว่า 1 วธิ )ี

การสงั เกต 

การสำ�รวจ

การสอบถาม

การสมั ภาษณ ์

อื่น ๆ (โปรดระบุ) …………………………………….........................................

เพราะ ....................................................................................................

……………………..........……………………………………………………………………

…………………………………………………..……………………..........………………

………………………………………………………………………………………………………..............................................

……………………..........…………………………………………………………………………………………………………………

……………………..........…………………………………………………………………………………………………………………

……………………..........…………………………………………………………………………………………………………………

……………………..........…………………………………………………………………………………………………………….....

……………………..........………………………………………………………………………………………………………………...

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กิจกรรมท่ี 11 | ประมวลผลขอ้ มูล 101
คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

ใบกิจกรรมท ่ี 11.3  ประมวลผลข้อมูล 

สมาชิกกลุ่มท่ ี ……...… 1. ชอื่ -สกลุ  ….……………………….…..…....................................……......….…... เลขท ี่ ................
2. ชอื่ -สกลุ  ….……………………….…..…...........................................…………... เลขท ่ี ................
3. ชอื่ -สกลุ  ….……………………….…..…....................................…....……….…... เลขท ่ี ................
4. ชอ่ื -สกุล ….……………………….…..…..........……….................................…... เลขท่ ี ...............

1. ศกึ ษาเนื้อหาบทท ี่ 4 เรอื่ ง การเตรยี มขอ้ มลู  จากหนังสอื เรียน
2. ให้นกั เรยี นตอบค�ำ ถามในกิจกรรมท ่ี 4.1 ข้อ 1 จากหนังสอื เรียน แล้วตรวจสอบค�ำ ตอบกับเพอื่ น
………………………………………………..……………………………………………........…………………………………………………
3. ให้นักเรยี นศึกษาขอ้ มลู ตามลงิ กใ์ นกจิ กรรมท ี่ 4.1 ข้อ 2 จากหนังสอื เรยี น แล้ววิเคราะหค์ วามผดิ ปกติของข้อมูล
ตามตารางต่อไปนี้

ตำ�แหนง่ ความผดิ ปกตทิ พี่ บ ประเภทของความผิดปกติ

ความสมบูรณ์ รูปแบบเดยี วกัน ความครบถว้ น ความทนั สมัย
(validity) (uniformity) (completeness) (timeliness)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

102 กิจกรรมท่ี 11 | ประมวลผลขอ้ มูล
คู่มือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

4. จากข้อ 3 ให้นกั เรยี นปรับ/แกไ้ ขขอ้ มลู ใหถ้ กู ต้อง โดยมกี ารปรับปรุงหรือลบขอ้ มลู ใดบา้ ง 
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
5. จากข้อมูลที่กำ�หนด ให้นกั เรยี นใสเ่ ครือ่ งหมาย / ในช่องวิธีการประมวลผลที่เหมาะสมกับข้อมลู ท่กี �ำ หนด 
(สามารถเลอื กใชไ้ ด้มากกกวา่  1 รูปแบบ)

ขอ้ มลู ความถ่ี รอ้ ยละ วธิ ีการประมวลผล มธั ยฐาน คา่ เฉลยี่
พิสัย ฐานนิยม
เพศ
อายุ
น้�ำ หนัก
สว่ นสงู
เกรดเฉลย่ี
วิชาท่ชี อบ

6. จากข้อมลู ให้นักเรยี นใช้โปรแกรมตารางท�ำ งาน ในการหาค�ำ ตอบตอ่ ไปนแี้ ละระบุสตู รในการคำ�นวณ

ข้อมลู สารสนเทศ สูตรในการคำ�นวณ
จำ�นวนนักเรียนชาย/หญิง 1. จำ�นวนนักเรยี นชาย

2. จ�ำ นวนนักเรยี นหญิง

3. ร้อยละของนักเรยี นชาย

4. รอ้ ยละของนกั เรียนหญิง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมท่ี 11 | ประมวลผลขอ้ มูล 103
คู่มอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

ข้อมลู สารสนเทศ สตู รในการค�ำ นวณ
อาย ุ (ป)ี
น�้ำ หนัก (กิโลกรัม) 5. อายเุ ฉลย่ี
6. คำ�นวณอาย ุ ณ ปีปจั จบุ นั ของนักเรียน
ส่วนสงู  (เซนติเมตร) จากวนั เดอื นปเี กดิ
7.  น้ำ�หนกั สงู สดู
เกรด
8.  น�ำ้ หนักต�่ำ สุด

9.  น�้ำ หนกั เฉลย่ี
10. นักเรยี นทม่ี นี �้ำ หนกั นอ้ ยกวา่  50 กก.

มจี �ำ นวนกคี่ น
11. นกั เรยี นที่มนี ำ้�หนักมากกวา่  50 กก. 
มีจ�ำ นวนกค่ี น
12. สว่ นสงู สูงสดุ

13. ส่วนสงู ต่ำ�สดุ

14. สว่ นสูงเฉลย่ี
15. นักเรียนทม่ี สี ว่ นสงู น้อยกว่า 160 ซม. 
มจี ำ�นวนก่คี น
16. นกั เรียนทีม่ สี ว่ นสงู มากกว่า 160 ซม. 
มจี ำ�นวนกคี่ น
17. เกรดเฉลี่ยสงู สดุ

18. เกรดเฉลี่ยต่ำ�สุด

19. เกรดเฉลี่ยแยกตามเพศชาย

20. เกรดเฉลย่ี แยกตามเพศหญิง

21. เกรดเฉล่ียของเพศใดสงู กว่ากัน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

104 กจิ กรรมที่ 11 | ประมวลผลขอ้ มลู
คู่มอื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

ข้อมูล สารสนเทศ สตู รในการค�ำ นวณ
วิชาที่ชอบ 22. วชิ าที่ชอบอันดับ 1
23. วิชาทชี่ อบอันดับ 2
ดัชนีมวลกาย 24. วชิ าทช่ี อบอันดับ 3
25. รายการวิชาท่ชี อบของเพศชาย
26. รายการวชิ าท่ีชอบของเพศหญงิ
27. หาคา่ ดชั นมี วลกายของนกั เรยี นแต่ละคน

7. ใหน้ กั เรียนท�ำ ข้อมลู ตอ่ ไปนีใ้ หเ้ ปน็ ภาพ (data visualization) 
7.1 สดั สว่ นของเพศชายและเพศหญงิ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมท่ี 11 | ประมวลผลขอ้ มูล 105
คมู่ อื ครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

7.2 ความสมั พันธ์ของอาย ุ (ป)ี  และคา่ น�ำ้ หนักเฉลย่ี จำ�แนกตามอายุ (กิโลกรัม)

7.3 ความสมั พันธ์ของเพศและเกรดเฉลี่ยจ�ำ แนกตามเพศ 

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

106 กจิ กรรมที่ 11 | ประมวลผลขอ้ มูล
คมู่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

ใบกิจกรรมท ี่ 11.4  ข้อมลู น้ ี มคี วามหมาย 

สมาชิกกลมุ่ ท ี่ ……...… 1. ชอื่ -สกลุ  ….……………………….…..…....................................……......….…... เลขท ี่ ................
2. ชอื่ -สกลุ  ….……………………….…..…...........................................…………... เลขท ่ี ................
3. ชอื่ -สกลุ  ….……………………….…..…....................................…....……….…... เลขท ่ี ................
4. ชอ่ื -สกุล ….……………………….…..…..........……….................................…... เลขที่ ...............

1. จากการวิเคราะห์ข้อมลู การใชส้ มารต์ โฟนจากลิงก์ในกิจกรรมท้ายบทท ี่ 4 ในหนงั สือเรียน 
นักเรยี นจะนำ�ข้อมูลใด ไปใชป้ ระโยชนด์ ้านใดได้บา้ ง
ตวั อย่างเช่น ต้องการทราบขอ้ มลู นกั เรยี นระดบั ชนั้ ใด ภาคใด ใชส้ มารต์ โฟนมากทส่ี ดุ และใชง้ านโดยเฉลีย่ กชี่ ัว่ โมง
ตอ่ วนั
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
2. เพื่อใหท้ ราบขอ้ มลู ในขอ้  1 นักเรียนใชค้ า่ สถิตใิ ดบา้ งในการวเิ คราะห์
ตวั อยา่ งเชน่  ร้อยละ ความถ ี่ ค่าเฉลย่ี
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมที่ 11 | ประมวลผลขอ้ มูล 107
คู่มือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

3. จากขอ้  1 ให้นกั เรียนน�ำ เสนอข้อมลู ด้วยภาพ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมท ่ี ดาตา้ ทท่ี า้ ทาย

12 1. ตัวช้ีวัด
รวบรวมขอ้ มลู  ประมวลผล ประเมนิ ผล น�ำ เสนอขอ้ มลู และสารสนเทศ ตามวตั ถปุ ระสงค ์
เวลา 4 ช่ัวโมง โดยใชซ้ อฟต์แวร์หรอื บรกิ ารบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย
2. สาระการเรยี นรู้
การรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิและทุตยภูมิ ประมวลผล สร้างทางเลือก 
ประเมินผล จะทำ�ให้ได้สารสนเทศเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาหรือการตัดสินใจได้อย่าง
มีประสิทธภิ าพ
การประมวลผลเปน็ การกระท�ำ กบั ข้อมลู เพ่ือให้ได้ผลลัพธท์ ่ีมีความหมายและ
มปี ระโยชนต์ อ่ การนำ�ไปใชง้ าน
การใชซ้ อฟตแ์ วรห์ รอื บรกิ ารบนอนิ เทอรเ์ นต็ ทหี่ ลากหลายในการรวบรวม ประมวลผล 
สร้างทางเลือก ประเมินผล นำ�เสนอ จะช่วยให้แก้ปัญหาได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง
และแมน่ ย�ำ  
3. จุดประสงค์ ให้ผู้เรียนสามารถ
3.1 รวบรวมขอ้ มลู โดยใชซ้ อฟต์แวร์หรือบรกิ ารบนอินเทอรเ์ น็ต
3.2. ประมวลผลข้อมลู ด้วยวธิ กี ารที่เหมาะสม
3.3. ทำ�ขอ้ มลู ใหเ้ ปน็ ภาพโดยใช้ซอฟตแ์ วร์หรือบริการบนอนิ เทอรเ์ นต็ ทีห่ ลากหลาย

กิจกรรมท่ี 12 | ดาตา้ ท่ที า้ ทาย 109
คู่มอื ครรู ายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

4. ทักษะและกระบวนการ (ที่เป็นจุดเนน้  ทกั ษะในศตวรรษท ่ี 21)
ทกั ษะการท�ำ งานรว่ มกนั
ทักษะการคิดวิเคราะห์
ทกั ษะการสื่อสาร
5. ความร้เู ดิมทีน่ ักเรยี นต้องม ี ซง่ึ จะสอดคล้องกับส่วน “ทบทวนความรู้เดมิ /สำ�รวจความรู้กอ่ นเรยี น”
การนิยามปญั หา การวิเคราะห์ปญั หา และการเก็บรวบรวมข้อมลู
การประมวลผลข้อมลู  และการทำ�ข้อมลู ให้เปน็ ภาพ
เครอ่ื งมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล
6. สาระสำ�คัญ
การเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ต้องวิเคราะห์วัตถุประสงค์ของการนำ�ข้อมูลไปใช้ เพ่ือนำ�ไปสู่การเลือก
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเหมาะสม เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ การสอบถาม การสำ�รวจ การสนทนากลุ่ม
หลังจากนั้นจึงออกแบบเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และดำ�เนินการเก็บข้อมูลตามที่ได้วางแผนไว้ เมื่อได้
ข้อมูลมาแล้วต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องและครบถ้วน เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เหมาะสมสำ�หรับการนำ�ไปประมวลผล 
การใช้ซอฟต์แวร์ในการประมวลผลจะทำ�ให้ได้สารสนเทศที่ถูกต้องและรวดเร็ว นอกจากน้ันการใช้ซอฟต์แวร์
เพ่ือช่วยนำ�เสนอข้อมูลหรอื ทางเลือกในการแกป้ ญั หาจะทำ�ให้ประเมินผลและตัดสนิ ใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
7. สอื่ และอุปกรณ์
7.1 ใบกจิ กรรม

ใบกิจกรรมที่ เร่อื ง เวลา (นาที)
12.1 ดาตา้ ทีท่ า้ ทาย 240

7.2 อื่น ๆ

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการมสี ่วนร่วมในชน้ั เรียน

แบบประเมนิ การท�ำ งานกล่มุ

หนงั สอื เรียนรายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) 

ชั้นมธั ยมศึกษาปที  ่ี 3 สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

8. แนวทางการจดั การเรยี นรู้

8.1 การจัดเตรียม

8.1.1 ใบกจิ กรรมท่ี 12.1 ตามจำ�นวนกลุ่ม

8.1.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมการมสี ว่ นรว่ มในช้ันเรยี น 

และแบบประเมินการท�ำ งานกลุ่ม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

110 กิจกรรมท่ี 12 | ดาต้าท่ที า้ ทาย
คูม่ อื ครูรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

8.2 ขัน้ ตอนการดำ�เนินการ 

ชว่ั โมงท ่ี 1 - 2

8.2.1 ผู้สอนรว่ มสนทนากับผู้เรยี นเกีย่ วกบั ตัวอย่างการกำ�หนดปัญหาโรงเรียนมขี ยะจำ�นวนมาก

ในหนงั สอื เรียน โดยใหผ้ ู้เรียนพจิ ารณาวา่ โรงเรียนของเรามีปญั หาดงั กล่าวหรอื ไม ่ อยา่ งไร

8.2.2 ผู้สอนแบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน ร่วมกันศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาท่ีเกิดข้ึนในโรงเรียน

หรือในชุมชนท่ีมีผลกระทบกับผู้เรียน และตอบคำ�ถามลงในใบกิจกรรมที่ 12.1 ดาต้าท่ีท้าทาย

ข้อ 1-3

8.2.3 ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำ�เสนอปัญหาท่ีตนสนใจ และให้เพ่ือนในช้ันเรียนและผู้สอนร่วมกันอภิปราย

ถงึ ความเหมาะสมและความเป็นไปไดใ้ นการไปเก็บรวบรวมขอ้ มลู

8.2.4 ผ้เู รียนแตล่ ะกลุ่มออกแบบวิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมูลแลว้ ตอบค�ำ ถามลงในใบกจิ กรรมท ่ี 12.1 ขอ้  4-5 

8.2.5 ผู้เรียนแต่ละกลุ่มสร้างเคร่ืองมือสำ�หรับนำ�ไปเก็บรวบรวมข้อมูล โดยผู้สอนแนะนำ�ให้ใช้เคร่ืองมือ

ทเ่ี หมาะสม เช่น แบบสอบถามออนไลน์ แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ 

8.2.6 ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำ�เสนอเคร่ืองมือที่สร้าง แล้วผู้สอนและเพ่ือนในช้ันเรียนร่วมกันอภิปรายถึง

ความเหมาะสมและความสะดวกในการน�ำ ไปใช้

8.2.7 ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มไปเก็บรวบรวมข้อมูลนอกเวลาเรียน เพ่ือนำ�ข้อมูลมาใช้ใน

การเรียนในครัง้ ถัดไป

ชัว่ โมงที่ 3-4

8.2.8 ผสู้ อนร่วมสนทนากับผ้เู รียนถึงปญั หาในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู  และมกี ารแกป้ ัญหาอย่างไร

8.2.9 ผู้เรยี นแตล่ ะกลุม่ ร่วมกันตรวจสอบข้อมูลวา่ มคี วามผิดปกตหิ รอื ไม่ อย่างไร 

8.2.10 ผู้เรยี นแต่ละกลมุ่ ประมวลผลข้อมูล โดยผ้สู อนกำ�ชบั วา่ ผลทไี่ ดต้ อ้ งสอดคลอ้ งกับปัญหาทก่ี ำ�หนดไว้

8.2.11 ผู้เรียนแต่ละกลุ่มสร้างงานนำ�เสนอ โดยทำ�ข้อมูลให้เป็นภาพ และเผยแพร่ผลงานนำ�เสนอบนสื่อ

สงั คมออนไลน์ท่ีเหมาะสม ใหเ้ พื่อนเขา้ ชมและแสดงความคดิ เห็น

9. การวดั และประเมินผล

9.1 ตรวจคำ�ตอบจากการทำ�ใบกจิ กรรม 

9.2 สงั เกตพฤติกรรมการมีส่วนรว่ มในชนั้ เรยี น

9.3 ประเมินการทำ�งานกลมุ่

10. สื่อและแหลง่ ข้อมลู

-

11. ข้อเสนอแนะ

-

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กิจกรรมที่ 12 | ดาตา้ ท่ที ้าทาย 111
คู่มอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

ใบกิจกรรมท ่ี 12.1  ดาต้าท่ที ้าทาย

1. ชอ่ื -สกุล ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขท่ ี ................

2. ชื่อ-สกุล ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขที ่ ................

3. ชื่อ-สกลุ  ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขท่ ี ................

4. ช่อื -สกุล ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขท ่ี ................

ให้นักเรยี นร่วมกนั ก�ำ หนดปัญหาทสี่ นใจในโรงเรยี นหรอื ชมุ ชน 

1. ปัญหา คือ ...……………......…....................................................................
…………………….............………....………………………………….......……......……
……………………….............………....………………………..…………..…...………
…………………….............………....……………………....……………..……...………
…………………….............………....…………………………………..…….....…………
…………………….............………....………………………………….....…….....……
…………………….............………....…………………………………......…………………….......………………...........................
2. เงอื่ นไข / ขอ้ จำ�กดั ของปัญหา คือ ………………………………………………….....................…………….…………….………
………………………….............………....………………………..…………..…...…………………………………...........................
…………………….............………....……………………....……………..……...………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..…….....………………………………...........................
…………………….............………....………………………………….....…….....………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………......…………………….......………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………......................................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………......................................
3. ผลลพั ธท์ ีต่ อ้ งการจากการแก้ปัญหา
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..………………………………...........……...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

112 กจิ กรรมที่ 12 | ดาตา้ ท่ีทา้ ทาย
คมู่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)

4. ข้อมูลทีจ่ ำ�เป็นต่อการแกป้ ัญหา ชนิดของข้อมูล รูปแบบของขอ้ มูล
ขอ้ มลู

เพอ่ื ใหก้ ารจดั เกบ็ ขอ้ มลู เพยี งพอส�ำ หรบั การวเิ คราะหป์ ญั หา นกั เรยี นจะก�ำ หนดขอบเขตในประเดน็ ตอ่ ไปนอ้ี ยา่ งไร
1) ปรมิ าณขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการจดั เกบ็  ……………………………….....…………………………………………………………….......
2) ระยะเวลาในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู  …………………………..…………………………….....…………………………….......
3) ช่วงเวลาในจัดเก็บข้อมูล ………………………………………………………………………….....………………………..........
4) แหลง่ ก�ำ เนดิ ขอ้ มลู  หรอื สถานทที่ จี่ ะไปเกบ็ ขอ้ มลู  ………………………………….………...........………………….........
5) ผู้ให้ข้อมูล ……………………………………………………………………….......……………………………………………........
  5. นักเรียนจะเลือกวิธีการใดในการเก็บรวบรวมข้อมูล พร้อมท้ังออกแบบและสร้างเคร่ืองมือสำ�หรับเก็บข้อมูลที่
ต้องการ
……………………………..………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………..………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………..……………………………………………………………………
………………………………………………………………………………..…………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………..……………………………………………………………………
………………………………………………………………………………..…………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………..……………………………………………………………………
………………………………………………………………………………..…………………
……………………………………………………………………………………………………

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กิจกรรมที่ 12 | ดาต้าท่ีท้าทาย 113
คู่มือครูรายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

6. ขอ้ มูลทไี่ ดจ้ ากการเก็บรวบรวม มีความผิดปกตหิ รือไม ่

6.1  ม ี  ไม่มี

6.2 ความผิดปกติท่ีพบคืออะไร และมิีวิธีทำ�ความสะอาด

ขอ้ มลู ที่ผดิ ปกติอยา่ งไร

......……………………………..……………………………………………

….........………………………………………………………………………

………….........…………………..……………………………………………

………………………………………………………………………….........

……………………………..……………………………………………….........………………………………………………………………

……………………………..………………………………………………….........……………………………………………………………

……………………………..…………………………………………………….......…………………………………………………………

……………………………..……………………………………………………….........……………………………………………………....

……………………………..…………………………………………………………........…………………………………………………....

……………………………..…………………………………………………………….......…………………………………………………

……………………………..………………………………………………………………........………………………………………………

……………………………..………………………………………………………………….........…………………………………………....

……………………………..…………………………………………………………………….....…………………………………………

……………………………..……………………………………………………………………........………………………………………

7. ค่าสถติ ิที่ใช้ประมวลผลมีอะไรบ้าง เพอ่ื ตอบค�ำ ถามในข้อ 3 

……………………………..………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………..………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………..………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………..………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………..………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………..………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………..………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………..………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………..………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………..………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………..………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………..……………………………………………………………………………………………………………………….

8. ทำ�ข้อมลู ให้เปน็ ภาพ แลว้ สรา้ งงานน�ำ เสนอ ใหส้ อดคล้องกับผลลัพธ์ที่ตอ้ งการในขอ้  3

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมท ่ี อนิ เทอรเ์ นต็ ของสรรพสง่ิ

13 1. ตัวชว้ี ัด
พฒั นาแอปพลเิ คชันท่มี กี ารบูรณาการกบั วชิ าอน่ื อยา่ งสร้างสรรค์
2. สาระการเรียนรู้
Internet of Things (IoT)
3. จดุ ประสงค์ ให้ผู้เรียนสามารถ
3.1 อธบิ ายองค์ประกอบและข้ันตอนการท�ำ งานของ IoT ผ่านโพรโทคอล MQTT 
3.2 ใช้โพรโทคอล MQTT รบั -ส่งขอ้ มูล
3.3 สร้างระบบจำ�ลองการเชอ่ื มต่อระหว่างอปุ กรณท์ ม่ี กี ารใช้งาน IoT 

เวลา 4 ชวั่ โมง

กจิ กรรมที่ 13 | อนิ เทอร์เนต็ ของสรรพสงิ่ 115
คมู่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

4. ทกั ษะและกระบวนการ (ทเี่ ป็นจุดเนน้  ทักษะในศตวรรษท ่ี 21)
ทักษะการทำ�งานร่วมกัน
ทกั ษะการส่ือสาร
ทักษะดา้ นคอมพวิ เตอร ์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
5. ความรู้เดิมทน่ี กั เรียนต้องม ี ซึ่งจะสอดคล้องกับสว่ น “ทบทวนความรู้เดมิ /สำ�รวจความรู้ก่อนเรียน”
-
6. สาระส�ำ คัญ
อินเทอร์เน็ตของสรรพส่ิง หรือไอโอที (Internet of Things: IoT) เป็นการเช่ือมโยงอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น
อุปกรณ์ไฟฟ้า ตัวตรวจวัด เข้ากับโครงข่ายอินเทอร์เน็ต ทำ�ให้สามารถส่งข้อมูลตรวจวัดจากสภาพแวดล้อมไปยัง
เคร่อื งคอมพิวเตอรแ์ ละอปุ กรณ์อ่นื  ๆ ท่ีเชื่อมอยกู่ ับระบบอินเทอรเ์ นต็ ได้
MQTT (Message Queuing Telemetry Transport) เป็นโพรโทคอลที่นำ�มาใช้ในงาน IoT เพื่อแลกเปล่ียน
ข้อมูลระหว่างอุปกรณ์โดยผ่านเซิร์ฟเวอร์ตัวกลาง (broker) ประกอบด้วยฝ่ังที่แจ้งข้อมูล (publisher) และฝ่ังท่ี
ขอรับข้อมูล (subscriber) โดยจะต้องระบตุ ัวอา้ งอิงที่เปน็ หวั ขอ้  (topic) ของขอ้ มลู ท่ีจะรบั ส่งใหต้ รงกนั
7. สือ่ และอปุ กรณ์
7.1 ใบกิจกรรม

ใบกจิ กรรมท่ี เรือ่ ง เวลา (นาที)
13.1 กระดานขา่ ว  30
13.2 MQTT-Bingo 30
13.3 ฤาษแี ปลงสารผา่ น MQTT 30
13.4 IoT Smart Home 30
13.5 IoT for Life 60

7.2 ใบความรู้
ใบความรู้ท ี่ 13 เรือ่ ง MQTTlens
7.3 อ่ืน  ๆ
เครื่องคอมพวิ เตอรท์ เี่ ชื่อมตอ่ อนิ เทอรเ์ นต็  
แอปพลเิ คชนั  MQTTlens และ IoT MQTT Panel 
แบบสังเกตพฤติกรรมการมสี ่วนรว่ มในช้ันเรียน
แบบประเมินการท�ำ งานกลุม่
หนงั สือเรยี นรายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี  (วทิ ยาการค�ำ นวณ) ช้นั มัธยมศกึ ษา
ปที  ี่ 3 สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

116 กิจกรรมท่ี 13 | อินเทอรเ์ นต็ ของสรรพสิ่ง
คมู่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

8. แนวทางการจดั การเรียนรู้

8.1 การจดั เตรยี ม

8.1.1 ใบกจิ กรรมท ่ี 13.1 - 13. 5 ตามจำ�นวนกล่มุ

8.1.2 ติดตั้ง MQTTlens สำ�หรับระบบปฏบิ ติั ิการวนิ โดวส์

IoT MQTT Panel สำ�หรบั สมาร์ตโฟนทใ่ี ช้ระบบปฏบิ ัตกิ ารแอนดรอยด์

8.1.3 กระดาษสำ�หรบั ทำ�บัตรแจง้ ข่าวสาร และบตั รขอแจง้ ข่าวสาร

8.1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการมีสว่ นรว่ มในช้นั เรียน และแบบประเมินการทำ�งานกลุ่ม 

8.2 ข้นั ตอนการด�ำ เนนิ การ 

ชว่ั โมงท ่ี 1 - 2

8.2.1 ผู้สอนยกตัวอย่างนวัตกรรมสำ�หรับร้านซักผ้าท่ีลูกค้าสามารถจองคิว ส่ังงาน และติดตามการซักผ้า

ผ่านแอปพลิเคชันสมาร์ตโฟน และเจ้าของร้านตรวจสอบข้อมูลผ่านเว็บไซต์ได้ (washeasy.me)

จากสถานการณด์ งั กล่าว ให้ผู้เรียนร่วมกนั อภิปรายเพือ่ ตอบคำ�ถามต่อไปนี้

เครอ่ื งซักผา้  สมารต์ โฟน และเครอื่ งเซริ ฟ์ เวอรข์ องเวบ็ ไซต์ ติดต่อสื่อสารกันได้อย่างไร

นักเรียนรจู้ กั ระบบอื่นที่มีการทำ�งานเหมือนระบบท่ียกตวั อยา่ งหรอื ไม ่

8.2.2 ผูเ้ รยี นศึกษาหัวข้อ 5.1 องค์ประกอบของระบบไอโอที จากหนงั สือเรยี นในบทท่ี 5 

8.2.3 ผู้สอนแบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน แล้วแจกใบกิจกรรมที่ 13.1 กระดานข่าว พร้อมกับบัตร

แจ้งข่าวสารและบัตรขอรับข่าวสาร โดยผู้สอนและผู้เรียนจะแสดงบทบาทสมมติเพื่อจำ�ลองการ

ทำ�งานของ MQTT 

8.2.4 ผู้สอนแจ้งหัวข้อหลัก ตัวอย่างเช่น england, china, japan, thailand, korea และหัวข้อย่อย

ตัวอย่างเช่น food, song, sport, city แล้วให้แต่ละกลุ่มช่วยกันคิดหัวข้อตามรูปแบบและกรอก

ลงในใบกิจกรรมท่ี 13.1 ข้อ 1

8.2.5 ผู้สอนแบ่งกลุ่มผู้เรียนให้รับหน้าที่เป็นฝ่ายแจ้งข่าวสาร และฝ่ายขอรับข่าวสารในรอบท่ี 1 โดยให้

จำ�นวนกลุ่มของทงั้ สองฝา่ ยมีจำ�นวนเทา่ กนั หรือใกล้เคียงกันทส่ี ดุ

8.2.6 ผู้เรียนกลุ่มท่ีเป็นฝ่ายขอรับข่าวสารหรือซับสไครบ์ (subscriber) เลือกหัวข้อจากข้อ 1 ที่ต้องการ

เพื่อไปส่งบัตรขอรับข่าวสารท่ีคนกลาง (ผู้สอน หรือตัวแทนผู้เรียน) แล้วคนกลางจะแจ้งถ้ามีหัวข้อ

ตรงกับทร่ี ้องขอ โดยกรอกขอ้ มลู ลงบัตรขอรับขา่ วสาร 

8.2.7 ผู้เรียนในกลุ่มแจ้งข่าวสารหรือพับบลิช (publisher) เลือกหัวข้อ 1 หัวข้อเขียนลงในบัตรแจ้งข่าวสาร

มาส่งผู้สอนทท่ี ำ�หน้าท่ีเป็นคนกลางหรือโบรกเกอร์ (broker)

8.2.8 ผู้สอนสรุปกลุ่มขอรับข่าวสารท่ีสามารถเลือกหัวข้อตรงกับท่ีมีผู้แจ้งไว้ แล้วสุ่มผู้เรียนออกมา 2-3 กลุ่ม

ถามข้อมูลท่ีกลุ่มน้ัน ๆ ได้รับ จากน้ันให้กลุ่มแจ้งข่าวสารและขอรับข่าวสารสลับบทบาทกันแล้วทำ�

กจิ กรรมอีกครงั้ ในรอบท ี่ 2 

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมท่ี 13 | อนิ เทอรเ์ น็ตของสรรพส่ิง 117
คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

8.2.9 ผู้สอนให้ผู้เรียนทำ�กิจกรรมท่ี 5.1 จากหนังสือเรียนในบทท่ี 5 แล้วผู้สอนสุ่มผู้เรียนเพ่ือตอบ

คำ�ถาม

8.2.10 ผู้สอนแนะนำ�โปรแกรมแอปพลิเคชัน MQTTlens ใน Chrome web store แล้วให้ผู้เรียน

ศึกษาใบความรทู้  ่ี 13 เร่ือง MQTTlens หลังจากนนั้ ให้ผเู้ รยี นตดิ ตงั้ โปรแกรม

8.2.11 ผู้สอนแจ้งท่อี ยโู่ บรกเกอรส์ าธารณะและหัวขอ้ ท่ใี ช้พับบลิชผา่ น MQTT broker ตวั อย่างเช่น 

รายละเอยี ดท่ีผ้สู อนกำ�หนด hostname : broker.hivemq.com port : 1883 (tcp)
ใน MQTTlens  publish (topic) : ipst/m301/test 
(ให้ผสู้ อนเปลี่ยน ipst เปน็ อักษรย่อของโรงเรยี นแทน)
และแจง้ ใหน้ ักเรียนทราบ

ขอ้ มูลทพ่ี ับบลชิ message : วทิ ยาการค�ำ นวณ ม.3
(ไม่แจ้งผเู้ รยี นโดยตรง)

8.2.12 ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเปิดแอปพลิเคชัน MQTTlens เชื่อมต่อโบรกเกอร์ แล้วซับสไครบ์ตามรายละเอียด

ท่ีผู้สอนแจ้ง เม่ือได้รับข้อมูลกลับแล้ว ให้บอกว่าข้อมูลท่ีได้คืออะไร หลังจากน้ันผู้สอนทดลอง

พับบลิชขอ้ มลู อนื่  ๆ ตามต้องการ แลว้ สอบถามผูเ้ รยี นวา่ ได้รบั ข้อมลู ใดบา้ ง

8.2.13 ผู้เรียนแต่ละกลุ่มรับใบกิจกรรมที่ 13.2 MQTT-Bingo แล้วเลือกเขียนเลข 1- 100 ลงในตาราง 16

ช่องของกิจกรรมที่ 13.2 ข้อ 2 ท้ัง 2 ตาราง ช่องละ 1 ตัวเลขจนครบ 16 ช่อง โดยตารางเดียวกัน

ห้ามใชต้ ัวเลขซำ้�กนั

8.2.14 ผสู้ อนแจ้งรายละเอยี ดของ MQTT Broker และหัวข้อท่ใี ช้ในการเลน่ บิงโก ตัวอย่างเชน่

รายละเอยี ดทผ่ี ู้สอนพับบลิช hostname : broker.hivemq.com port : 1883 (tcp)
publish (topic) : ตัวอกั ษรยอ่ ชอื่ โรงเรยี น/m301/bingo

8.2.15 ผู้เรียนแตล่ ะกลุ่มใช้ MQTTlens เชือ่ มตอ่  MQTT Broker แล้วซับสไครบห์ วั ข้อท่ผี ูส้ อนก�ำ หนด

8.2.14 ผู้สอนเลือกสมุ่ เลข 1-100 แล้วพับบลชิ ผา่ น MQTTlens ไปเรือ่ ย ๆ จนกว่าจะมีกลมุ่  ผเู้ รียนบงิ โก

8.2.15 ผู้เรียนแต่ละกลุ่มรอรับข้อมูลท่ีผู้สอนพับบลิช ถ้ามีตัวเลขในตารางที่เขียนไว้ตรงกับข้อมูลที่ได้รับ

ให้ผู้เรียนกากบาทที่ตัวเลขนั้น เม่ือกากบาทครบ 4 ตัวเลขเรียงกันในแนวนอน แนวต้ัง แนวทแยง

ใหย้ กมอื ทงั้ กลุ่มแลว้ ร้องบิงโก

               
       
               

               

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

118 กจิ กรรมท่ี 13 | อินเทอรเ์ น็ตของสรรพสง่ิ
ค่มู ือครรู ายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)

8.2.16 ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปการแลกเปล่ียนข้อมูลผ่าน MQTT จากการทำ�กิจกรรมที่ 13.1

และกิจกรรมที่ 13.2 และสรุปรายละเอียดที่ใช้การติดต่อผ่าน MQTT ได้แก่ ท่ีอยู่โบรกเกอร์ พอร์ต

โพรโทคอล (ในกิจกรรมใช ้ TCP) และหัวข้อสำ�หรบั พับบลิชหรอื ซับสไครบ์

ช่ัวโมงท ่ี 3-4 

8.2.17 ผสู้ อนแบง่ ผเู้ รยี นเปน็ กลมุ่  กลมุ่ ละ 4-5 คน โดยก�ำ หนดหมายเลขแตล่ ะกลมุ่ เปน็  1-10 (ขน้ึ อยกู่ บั จ�ำ นวน

กล่มุ ) เพื่อใช้ในการเรยี งลำ�ดับส่งข้อความตามลำ�ดบั หมายเลขกล่มุ

8.2.18 ผู้สอนและผู้เรียนช่วยกันทบทวนข้ันตอนพร้อมกับทดสอบการรับ-ส่งข้อมูลผ่าน MQTT โดยใช้

MQTTlens จากบทเรยี นชัว่ โมงทผ่ี า่ นมา

8.2.19 ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันตกลงรายละเอียดในการเช่ือมต่อ MQTT และรูปแบบหัวข้อของแต่ละกลุ่ม

แลว้ ทำ�ใบกจิ กรรมที ่ 13.3 ฤาษีแปลงสารผ่าน MQTT

8.2.20 ผู้เรียนกลุ่มแรกเร่ิมพับบลิชข้อความไม่เกิน 5 พยางค์ เมื่อกลุ่มถัดไปที่ซับสไครบ์รอไว้ได้รับข้อความให้

แต่งเพ่ิมจากข้อความท่ีได้มาอีก 5 พยางค์แล้วพับบลิช (แนะนำ�ให้ผู้เรียนเลือกข้อความแล้วกดปุ่ม 

Ctrl-C เพื่อคัดลอกไปวางในกล่อง Message ด้วยปุ่ม Ctrl-V แทนการพิมพ์ข้อความใหม่ทั้งหมด)

ทำ�ต่อไปเร่ือย ๆ จนกระทั่งถึงกลุ่มสุดท้ายให้พับบลิชข้อความท้ังหมด โดยกลุ่มเริ่มต้นซับไครบ์รอไว้

อยแู่ ลว้ จะได้รับข้อความทท่ี ุกกลุ่มแตง่ เพิ่มกลับมา

ตัวอย่างเชน่

กลุ่มผู้เรียน รบั ข้อความ แจ้งข้อความ
-
กล่มุ  1 publish: ipst/class3-1/group1/
(กลมุ่ เริม่ ต้น) message
message: วนั หน่ึงฉนั เดินอยู่

กลุม่  2 subscribe: ipst/class3-1/group1/ publish: ipst/class3-1/
message group2/message
message: วนั หนึ่งฉนั เดินอยู่ message: วันหน่งึ ฉนั เดินอยู่
  หนา้ ร้านสะดวกซอ้ื

หวั ขอ้ ทผี่ สู้ อนจะซับสไครบ ์ คอื  สถาบัน/ชั้นเรยี น/+/message

ตัวอย่างเชน่  ipst/class3-1/+/message (เคร่อื งหมายบวก หมายถงึ  ขอ้ ความใด ๆ กไ็ ด)้

หมายเหต ุ ทกุ กล่มุ สามารถซบั สไครบห์ ัวขอ้ ของกล่มุ ก่อนหนา้ รอได้เลย

8.2.21 เม่ือส่งขอ้ ความครบ 1 รอบจนมาสนิ้ สดุ ท่กี ลมุ่ เรมิ่ ตน้ ได้รบั ขอ้ ความแล้ว ให้สมาชิกในกลุ่มเรมิ่ ต้น

อ่านขอ้ ความ แล้วแต่ละกลมุ่ ชว่ ยกันตรวจสอบความถูกตอ้ ง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมที่ 13 | อินเทอร์เนต็ ของสรรพสงิ่ 119
คูม่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

8.2.22 ผเู้ รยี นศกึ ษาเนอื้ หาหวั ขอ้  5.2 กรณศี กึ ษาการพฒั นาแอปพลเิ คชนั ไอโอท ี “ระบบรดน�ำ้ ตน้ ไมอ้ ตั โนมตั ”ิ  

จากหนังสือเรียน

8.2.23 ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายถึงส่วนประกอบของระบบรดน้ำ�ต้นไม้อัตโนมัติ และถ้าจะต้อง

เพม่ิ เตมิ หรือปรับปรุง ผูเ้ รยี นจะเพม่ิ ส่วนใด และมีการทำ�งานอยา่ งไร

8.2.22 ผสู้ อนแนะน�ำ แอปพลเิ คชนั  IoT MQTT Panel ในสมารต์ โฟนระบบแอนดรอยด ์ และสาธติ การใชง้ าน

เชื่อมต่อ MQTTlens กบั  IoT MQTT Panel 

8.2.23 ผู้เรียนทุกกลุ่มจับคู่ระหว่างกลุ่ม 2 กลุ่ม แล้วทำ�ใบกิจกรรมที่ 13.4 IoT Smart Home แล้วใช้

แอปพลิเคชัน IoT MQTT Panel สร้างแผงควบคุม Smart Home หลังเดียวกัน โดยแผงควบคุม

ของทั้งสองกลุ่มจะต้องควบคุมและแสดงผลค่าท่ีปรับปรุงได้แบบเรียลไทม์ เช่น กลุ่ม A เลื่อนสวิตช์

ส่งั ปิดไฟ จะสง่ ผลให้สวติ ชข์ องกลุ่ม B เปลยี่ นเป็นสถานะปดิ ด้วย

8.2.24 ผู้เรียนกลุ่มท่ีจับคู่ทั้งสองกลุ่มร่วมกันกำ�หนดชื่อหัวข้อที่ใช้ในการควบคุมผ่าน MQTT แล้วบันทึกใน

ใบกจิ กรรมที่ 13.4 ข้อ 1 และรายละเอียดของพาเนลทใ่ี ชใ้ นใบกจิ กรรมท ี่ 13.4 ข้อ 2

8.2.25 ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเร่ิมทดสอบกับกลุ่มคู่ของตนเองว่า สามารถส่ังงานจากกลุ่มหน่ึงไปปรับปรุงค่า

ในแผงควบคมุ ของอีกกลุ่มหน่ึงได้หรอื ไม่ หลังจากนั้นให้อภิปรายในกลมุ่ ถงึ การน�ำ ไปประยุกต์

8.2.26 ผู้เรียนแต่ละกลุ่มทำ�ใบกิจกรรมที่ 13.5 IoT for Life แล้วนำ�เสนอผลงานและอภิปรายร่วมกันถึง

ขอ้ ดีและขอ้ เสีย และสิ่งทีค่ วรปรับปรงุ ของแอปพลิเคชนั ทผ่ี ู้เรียนได้ออกแบบ

8.2.27 ผสู้ อนและผเู้ รียนชว่ ยกนั สรุปการนำ�ความรู้เกี่ยวกับระบบไอโอทไี ปประยุกต์ใชง้ าน

9. การวัดและประเมินผล

9.1 ตรวจคำ�ตอบจากการทำ�ใบกจิ กรรม 

9.2 สงั เกตพฤตกิ รรมการมีสว่ นร่วมในชัน้ เรยี น

9.3 ประเมนิ การทำ�งานกล่มุ

10. สือ่ และแหล่งข้อมูล

-

11. ขอ้ เสนอแนะ

11.1 ผู้สอนควรตรวจสอบการเช่ือมต่อโบรกเกอร์ MQTT ที่ใช้งาน

ได้จริงโดยใช้รายช่ือโบรกเกอร์จาก https://github.com/mqtt/

mqtt.github.io/wiki/public_brokers ก่อนเริ่มคาบเรยี น

11.2 ใบกิจกรรมที่ 13.4 ต้องมีสมาร์ตโฟนประกอบการสอน ดังน้ันถ้าโรงเรียนไม่มีสมาร์ตโฟน ให้ผู้สอนอธิบาย

และยกตวั อย่างประกอบแทน

11.3 ใบกจิ กรรมที ่ 13.5 หากเวลาไมเ่ พยี งพออาจใหผ้ ูเ้ รียนทำ�เปน็ รายงานสง่

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

120 กจิ กรรมท่ี 13 | อนิ เทอร์เน็ตของสรรพสง่ิ
ค่มู อื ครูรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

ใบกิจกรรมท่ี 13.1  กระดานข่าว

สมาชิกกล่มุ ท ่ี ……...… 1. ชอ่ื -สกลุ  ….……………………….…..…....................................……......….…... เลขท ่ี ................
2. ชอื่ -สกลุ  ….……………………….…..…...........................................…………... เลขท ี่ ................
3. ชอื่ -สกลุ  ….……………………….…..…....................................…....……….…... เลขท ่ี ................
4. ช่อื -สกุล ….……………………….…..…..........……….................................…... เลขท่ ี ...............

ค�ำ สัง่  ให้นักเรียนเลอื กใชห้ วั ขอ้ หลักและหัวขอ้ ยอ่ ยต่อไปน้ี

หัวขอ้ หลัก 1. Thailand 2. China 3. Japan 

หวั ขอ้ ยอ่ ย 1. food 2. city

1. เขียนหวั ขอ้  (topic) และข้อมูลตามหัวข้อท่เี ลือกมา 3 หวั ขอ้  โดยใชห้ วั ขอ้ ท่ีก�ำ หนดให ้

หวั ข้อ ขอ้ มลู

ตวั อย่าง China/food ซาลาเปา

2. ใหเ้ ลอื กหวั ขอ้ จากขอ้  1 แล้วกรอกลงในบัตรแจ้งขา่ วสารหรือบตั รขอรบั ข่าวสารตามบทบาทที่ไดร้ บั

รอบท ี่ 1  Publisher (ผ้แู จ้งขา่ วสาร)  Subscriber (ผู้ขอรับข่าวสาร)
บทบาทของกลุ่ม

หัวข้อทใ่ี ช้

ขอ้ มูลทีแ่ จ้ง/ไดร้ ับ

รอบที ่ 2  Publisher (ผแู้ จ้งข่าวสาร)  Subscriber (ผู้ขอรบั ข่าวสาร)
บทบาทของกลุ่ม

หัวข้อทใี่ ช้
ข้อมูลที่แจง้ /ไดร้ บั

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กิจกรรมท่ี 13 | อนิ เทอรเ์ น็ตของสรรพสิ่ง 121
คู่มอื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)

ใบกิจกรรมที่ 13.2  MQTT-Bingo

สมาชกิ กลมุ่ ท่ ี ……...… 1. ชอื่ -สกลุ  ….……………………….…..…....................................……......….…... เลขท ี่ ................
2. ชอ่ื -สกลุ  ….……………………….…..…...........................................…………... เลขท ี่ ................
3. ชอ่ื -สกลุ  ….……………………….…..…....................................…....……….…... เลขท ่ี ................
4. ชื่อ-สกลุ  ….……………………….…..…..........……….................................…... เลขท่ี ...............

1. ขอ้ มลู ท่ีใชใ้ นแอปพลเิ คชนั  MQTTlens สำ�หรับขอรับตวั เลขจากครู

Hostname …………………………………………………………………………….....…………………Port …………....………….

วิธีการที่ใช้   Publish   Subscribe

หวั ขอ้  (topic) …………………………………………………………………………...........…………………………………………….

2. ให้นักเรียนเลือกเขียนตัวเลข 1 - 100 ลงในช่องตารางต่อไปนี้ให้เต็มทุกช่อง เม่ือครูพับบลิชตัวเลขมาตรงกับท่ี

นักเรียนเขียนไว้ในตาราง ให้ทำ�เครื่องหมายกากบาททับตัวเลขน้ัน และหากกากบาทตัวเลขในตารางครบ 4 ตัว

ในแนวตัง้  แนวนอน หรอื ทแยงมุม จะถือว่าเป็นผชู้ นะในเกมบิงโกรอบน้นั

ตารางบิงโกรอบที ่ 1 ตารางบงิ โกรอบท ่ี 2

3. บันทึกเลขทีไ่ ด้รบั จากครูตามล�ำ ดับ
ลำ�ดบั #1 #2 #3 #4 #5 #6 #7 #8 #9 #10 #11 #12 #13 #14 #15 #16
รอบที ่
1
รอบที ่
2

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

122 กิจกรรมที่ 13 | อินเทอร์เนต็ ของสรรพสงิ่
คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

ใบกิจกรรมท ่ี 13.3  ฤาษแี ปลงสารผา่ น MQTT

สมาชิกกลมุ่ ท ี่ ……...… 1. ชอื่ -สกลุ  ….……………………….…..…....................................……......….…... เลขท ี่ ................
2. ชอื่ -สกลุ  ….……………………….…..…...........................................…………... เลขท ี่ ................
3. ชอ่ื -สกลุ  ….……………………….…..…....................................…....……….…... เลขท ี่ ................
4. ช่ือ-สกลุ  ….……………………….…..…..........……….................................…... เลขที่ ...............

1. ข้อมลู  MQTT Broker ที่เลอื กใช้ในแอปพลิเคชัน MQTTlens

Hostname …………………………………………………………………………….....………………… Port …………....………….

2. ใหเ้ ขยี นรายละเอยี ดในการขอรบั ข้อมูล

วธิ กี ารท่ีใช้   Publish   Subscribe

รูปแบบหัวขอ้ สถาบนั /ช้นั เรยี น/ชอ่ื กลุ่ม/message 

ตวั อยา่ งหัวข้อ  ipst/class3-1/group1/message

หวั ขอ้  (topic) …………………………………………………………………………...........………………………………………….….

ขอ้ ความ (message)

……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..

……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..

……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..

……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..

……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..

……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..

3. ให้เขียนรายละเอียดในการแจง้ ข้อมูล

วิธกี ารทใ่ี ช้   Publish   Subscribe

หวั ขอ้  (topic) …………………………………………………………………………...........…………………………………………….

ข้อความ (message)

……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..

……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..

……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..

……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..

……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..

……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมที่ 13 | อนิ เทอรเ์ นต็ ของสรรพส่งิ 123
ค่มู อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)

ใบกิจกรรมท ่ี 13.4  IoT Smart Home

สมาชกิ กลุม่ ท ่ี ……...… 1. ชอ่ื -สกลุ  ….……………………….…..…....................................……......….…... เลขท ่ี ................
2. ชอ่ื -สกลุ  ….……………………….…..…...........................................…………... เลขท ่ี ................
3. ชอื่ -สกลุ  ….……………………….…..…....................................…....……….…... เลขท ่ี ................
4. ช่ือ-สกลุ  ….……………………….…..…..........……….................................…... เลขที่ ...............

สถานการณ์

กล่มุ นกั เรียนได้รับมอบหมายให้จ�ำ ลองการควบคมุ  Smart Home ที่ใช้งานระบบไอโอที ด้วยแอปพลเิ คชนั  
IoT MQTT Panel โดยใช้แผนผงั และแบบร่างแผงควบคุมไอโอทตี อ่ ไปน้ี

แผงควบคุม IoT

ไฟหอ้ งนอน  ประตสู มาร์ตล็อค  ระบบไฟฟ้าในครัว
Switch  Switch  Switch 
on=เปิด off=ปดิ on=เปิด off=ลอ็ ค on=เปิด off=ปิด

เครอื่ งปรับอากาศ ตวั ปรับอณุ หภูมิเครื่องปรบั อากาศ
Vertical Meter Slide
ช่วงอณุ หภมู  ิ 0-50 ช่วงส่ังงาน 16-30 
หนว่ ย °C หนว่ ย °C

แผนผัง IPST Smart Home ดดั แปลงมาจาก

www.cubi.casa/floor-plans-smart-homes-iot/

1. จากแผนผัง Smart Home ใหก้ ำ�หนดหัวขอ้ ท่ใี ชใ้ น MQTT 
รปู แบบหวั ขอ้ สถาบัน/ชั้นเรียน/ชอ่ื กลุม่ ท้งั คู่/บริเวณในบ้าน/อุปกรณ์ 
ตวั อย่างหวั ข้อ  ipst/class3-1/group12/bedroom/light

บรเิ วณในบ้าน อปุ กรณ์ หัวข้อ (topic)

door smart lock
bedroom light
living room
kitchen air conditioner
power

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

124 กจิ กรรมที่ 13 | อินเทอรเ์ น็ตของสรรพสง่ิ
คูม่ อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

2. ใหใ้ ช้แอปพลเิ คชนั  IoT MQTT Panel เชอ่ื มต่อ MQTT Broker แลว้ สร้างแผงควบคมุ ตามตวั อยา่ งท่กี ำ�หนดให้

2.1 ข้อมลู โบรกเกอร์

Broker web/ IP Address ……………………..........…………………………………………………………………..…

Port …………………...................................................................……………… Network protocol TCP

2.2 ข้อมูลพาเนลควบคมุ

ช่ือพาเนล ชนดิ Payload วธิ กี ารแลกเปลีย่ น

ประตูสมาร์ตลอ็ ค Switch on= ...................................  topic (publish)
off= ..................................  subscribe

ไฟห้องนอน Switch on= ...................................  topic (publish)
off= ..................................  subscribe

ระบบไฟฟ้าในครัว Switch on= ...................................  topic (publish)
off= ..................................  subscribe

เคร่ืองปรบั อากาศ Vertical Meter max= ................................  topic (publish)
min= .................................  subscribe

ตวั ปรบั อณุ หภมู ิ Slide max= ................................  topic (publish)
min= .................................  subscribe

3. จากกจิ กรรม Smart Home ทนี่ ักเรียนไดท้ ดลองสามารถนำ�ไปพัฒนาต่อยอดไดอ้ ยา่ งไร
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กิจกรรมท่ี 13 | อนิ เทอรเ์ น็ตของสรรพสง่ิ 125
ค่มู อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

ใบกิจกรรมท่ี 13.5  IoT for Life

สมาชิกกลุม่ ที่ ……...… 1. ชอื่ -สกลุ  ….……………………….…..…....................................……......….…... เลขท ี่ ................

2. ชอื่ -สกลุ  ….……………………….…..…...........................................…………... เลขท ่ี ................

3. ชอื่ -สกลุ  ….……………………….…..…....................................…....……….…... เลขท ่ี ................

4. ชื่อ-สกลุ  ….……………………….…..…..........……….................................…... เลขท ี่ ...............

ใหน้ กั เรียนรว่ มกันออกแบบแอปพลเิ คชันทใี่ ช้ประโยชน์จากไอโอทใี นชวี ิตประจ�ำ วัน ในประเดน็ ต่อไปนี้
1. ชื่อแอปพลิเคชนั  ……………………….……………….....................................……………………………………………………........
……………………..........……………………………………………………………………………………………………………………….......
2. จดุ ประสงคข์ องแอปพลเิ คชนั  
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..……
………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..…………
…………..........………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……..........………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
..........………………………………………………………………………………………………………………………..………………….........
3. สว่ นประกอบของแอปพลเิ คชันมีอะไรบา้ ง และใช้งานอย่างไร
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..……
………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..…………
…………..........………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……..........………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
..........………………………………………………………………………………………………………………………..………………….........
4. ประโยชนท์ จ่ี ะได้รับจากการใช้แอปพลิเคชัน
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..……
………………..........………………………………………………………………………………………………………………………..…………
…………..........………………………………………………………………………………………………………………………..………………
……..........………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
..........………………………………………………………………………………………………………………………..………………….........

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

126 กจิ กรรมที่ 13 | อินเทอรเ์ น็ตของสรรพส่งิ
คมู่ ือครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)

ใบความรู้ท่ี 13
การใชง้ าน MQTTlens
ขนั้ ตอนการใชง้ านมดี งั นี้
1. ติดตัง้ แอปพลเิ คชนั MQTTLens บน Google Chrome โดยเข้าไปท่ี oho.ipst.ac.th/mqttlens แล้วคลิกท่ีป่มุ
Add to Chrome

2. เปิดแอปพลิเคชนั MQTTLens จะปรากฏหนา้ ตา่ ง MQTTlens ใหค้ ลิกเครื่องหมาย + ที่ Connections

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กิจกรรมที่ 13 | อนิ เทอร์เนต็ ของสรรพสงิ่ 127
ค่มู อื ครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

3. จะปรากฏหน้าต่าง Add a new Connection ดังนี้

1) ให้เติมช่ือ Connection Name ท่ี
ต้องการ
2) เติมช่ือโบรกเกอร์ เช่น broker.hive
mq.com, test.mosquitto.org
3) คลกิ ปุม่ Save

4. จะปรากฏหนา้ ตา่ งดงั นี้

วธิ ใี ชง้ าน
• เมอ่ื ทำ�หน้าท่ีเปน็ ผูซ้ ับสไครบ์ ใหพ้ ิมพ์หวั ข้อที่ตอ้ งการท่ีชอ่ ง topic หมายเลข 1 แลว้ คลกิ ป่มุ SUBSCRIBE
• เมื่อทำ�หน้าท่ีเป็นผู้พับบลิช ให้พิมพ์หัวข้อท่ีต้องการที่ช่อง topic หมายเลข 2 และใส่ข้อความที่ต้องการส่ง
ในชอ่ ง Message หมายเลข 3 แลว้ คลกิ ปุม่ PUBLISH
• ขอ้ ความทเ่ี กิดจากการด�ำ เนนิ การต่าง ๆ จะแสดงท่ี Subscriptions หมายเลข 4

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมท ่ี การสรา้ งแอปพลเิ คชนั

14 1. ตัวชว้ี ดั
พฒั นาแอปพลเิ คชันทม่ี กี ารบรู ณาการกบั วิชาอน่ื อยา่ งสรา้ งสรรค์
เวลา 6 ชว่ั โมง 2. สาระการเรยี นรู้
ขนั้ ตอนการพัฒนาแอปพลเิ คชนั
ซอฟต์แวร์ท่ีใช้ในการพัฒนาแอปพลิเคชัน เช่น Scratch, python, java, c,
AppInventor
3. จดุ ประสงค ์ ให้ผเู้ รยี นสามารถ
3.1 พฒั นาแอปพลิเคชนั ตามท่ีวางแผนไว้
3.2 แกป้ ัญหาท่ีเกิดข้ึนระหว่างการลงมอื พฒั นาแอปพลิเคชัน
3.3 ทำ�งานร่วมกับผูอ้ ่นื

กิจกรรมท่ี 14 | การสร้างแอปพลเิ คชัน 129
คู่มอื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

4. ทักษะและกระบวนการ (ทเี่ ปน็ จุดเน้น ทกั ษะในศตวรรษท ี่ 21)
ทักษะการทำ�งานร่วมกัน
ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์
ทักษะการสอ่ื สาร
ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
5. ความรเู้ ดิมท่นี ักเรยี นตอ้ งม ี ซึ่งจะสอดคล้องกบั สว่ น “ทบทวนความรู้เดิม/สำ�รวจความร้กู ่อนเรยี น”
กระบวนการพัฒนาแอปพลิเคชัน
การวางแผนการพฒั นาแอปพลิเคชนั
การใชง้ านซอฟต์แวร์ท่ชี ว่ ยในการพฒั นาแอปพลิเคชนั
การประมวลผลขอ้ มลู
6. สาระส�ำ คัญ
การดำ�เนินการพัฒนาแอปพลิเคชันเป็นการลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนของกระบวนการพัฒนาแอปพลิเคชัน
ซึ่งประกอบด้วย การศึกษาความต้องการ การออกแบบ การสร้างแอปพลิเคชัน และการทดสอบการทำ�งาน และยัง
ต้องมีการกำ�กับติดตามและตรวจสอบความคืบหน้าตามระยะเวลาท่ีกำ�หนด รวมท้ังแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
ท่ีเกิดข้ึนเพอ่ื ใหแ้ อปพลเิ คชนั สำ�เร็จตามเปา้ หมาย โดยอาศัยการทำ�งานและตดั สนิ ใจร่วมกัน
7. ส่อื และอุปกรณ์
7.1 ใบกจิ กรรม

ใบกิจกรรมท่ี เร่อื ง เวลา (นาที)
14.1 การศกึ ษาความต้องการ 60
14.2 การออกแบบและการสรา้ งแอปพลิเคชนั 300

7.2 อืน่  ๆ
เคร่ืองคอมพวิ เตอรท์ ี่เช่ือมตอ่ อินเทอรเ์ นต็  
แบบประเมนิ การน�ำ เสนอแอปพลเิ คชนั
แบบสังเกตพฤติกรรมการมสี ว่ นร่วมในชนั้ เรียน
แบบประเมินการท�ำ งานกลุ่ม
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 
เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3
สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

130 กจิ กรรมที่ 14 | การสรา้ งแอปพลเิ คชัน
คู่มือครรู ายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

8. แนวทางการจดั การเรียนรู้

8.1 การจดั เตรยี ม

8.1.1 ใบกจิ กรรมท่ี 14.1-14.2 ตามจ�ำ นวนกลมุ่

8.1.2 แบบประเมนิ การน�ำ เสนอแอปพลเิ คชนั แบบสงั เกต

พฤตกิ รรมการมสี ว่ นรว่ มในชน้ั เรยี น และแบบประเมนิ

การท�ำ งานกลมุ่

8.2 ขน้ั ตอนการด�ำ เนนิ การ

ชว่ั โมงท่ี 1-2

8.2.1 ผู้สอนร่วมสนทนากับผู้เรียนเก่ียวกับแอปพลิเคชันท่ีผู้เรียนนิยมใช้ในชีวิตประจำ�วัน โดยพิจารณาว่า

แอปพลิเคชันเหล่าน้ันถูกสร้างข้ึนเพ่ือวัตถุประสงค์ใด มีประโยชน์หรือช่วยอำ�นวยความสะดวก

ในชีวิตประจำ�วันอย่างไร เหตุใดบางแอปพลิเคชันได้รับความนิยมมาก เช่น แอปพลิเคชัน ViaBus

เป็นแอปพลิเคชันนำ�ทางและติดตามรถโดยสารประจำ�ทางแบบเรียลไทม์ ถูกพัฒนาข้ึนโดย

คนไทยเพ่ือตอบสนองความต้องการและอำ�นวยความสะดวกให้ผู้ใช้ในด้านการวางแผนและการ

เดนิ ทาง

8.2.2 ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันทบทวนข้ันตอนการพัฒนาแอปพลิเคชัน และการประมวลผลซ่ึงจะนำ�

มาใชใ้ นการหาขอ้ สรปุ ในการพฒั นาแอปพลเิ คชนั

8.2.2 ผู้สอนแบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน และให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา

และความต้องการในการพัฒนาแอปพลิเคชัน แล้วบันทึกผลการปรึกษาลงในใบกิจกรรมท่ี 14.1

ศกึ ษาความตอ้ งการ แลว้ ใหผ้ เู้ รยี นแตล่ ะกลมุ่ น�ำ เสนอผลการศกึ ษาความตอ้ งการกบั ผสู้ อน

8.2.3 ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันออกแบบโครงสร้างและแนวทางการพัฒนาแอปพลิเคชัน แล้วบันทึกลง

ในใบกจิ กรรมท่ี 14.2 การออกแบบและการสรา้ งแอปพลเิ คชนั

ชว่ั โมงท่ี 3-6

8.2.4 ผู้เรียนแต่ละกลุ่มลงมือสร้างแอปพลิเคชันตามท่ีได้ออกแบบไว้ พร้อมทดสอบการทำ�งานของ

แอปพลเิ คชนั ใหเ้ ปน็ ไปตามความตอ้ งการของผใู้ ช้

8.2.5 ผู้เรียนแต่ละกลุ่มสร้างกระดานคัมบังให้สมาชิกในกลุ่มและผู้สอนสามารถติดตามความก้าวหน้า

ของงานได้

8.2.5 ผ้เู รยี นแตล่ ะกล่มุ เปดิ ใหผ้ ้ใู ช้รว่ มทดสอบโปรแกรม พรอ้ มบันทกึ ผลการทดสอบลงใน Google Forms

ทผ่ี เู้ รยี นสรา้ งขน้ึ ในใบกจิ กรรมท่ี 14.2 ขอ้ 6

ชว่ั โมงท่ี 7-8

8.2.7 ผเู้ รยี นแตล่ ะกลมุ่ ก�ำ หนดรปู แบบการน�ำ เสนอแอปพลเิ คชนั เพอ่ื สรา้ งความนา่ สนใจใหผ้ ลงานกลมุ่

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมที่ 14 | การสร้างแอปพลิเคชัน 131
ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

8.2.8 ผู้เรียนนำ�เสนอผลงานแอปพลิเคชันภายในเวลาท่ีกำ�หนดจนครบทุกกลุ่ม ระหว่างการนำ�เสนอ

ผู้เรียนกลุ่มอ่ืนท่ีเป็นผู้ฟังช่วยกันประเมินแอปพลิเคชันของกลุ่มเพ่ือนท่ีนำ�เสนอ โดยใช้แบบประเมิน

การนำ�เสนอแอปพลิเคชัน กลุ่มละ 1 ชุดหรือใช้ไฟล์แบบประเมินท่ีเป็น Google Forms ท่ีผู้สอน

เตรยี มไว้

8.2.9 ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำ�เสนอผลงาน โดยครูเปิดโอกาสให้กลุ่มอ่ืนซักถาม และระหว่างการนำ�เสนอให้

ผเู้ รยี นทกุ กลมุ่ ไดป้ ระเมนิ ผลงานของเพอ่ื นกลมุ่ อน่ื

8.2.10 ผสู้ อนและผเู้ รยี นรว่ มกนั สรปุ เกย่ี วกบั การพฒั นาแอปพลเิ คชนั

9. การวัดและประเมินผล

9.1 ตรวจค�ำ ตอบจากการท�ำ ใบกจิ กรรม

9.2 ประเมนิ การน�ำ เสนอแอปพลเิ คชนั

9.3 สงั เกตพฤตกิ รรมการมสี ว่ นรว่ มในชน้ั เรยี น

9.4 ประเมนิ การท�ำ งานกลมุ่

10. สอ่ื และแหลง่ เรียนรู้

-

11. ข้อเสนอแนะ

11.1 ผสู้ อนควรเชญิ ทป่ี รกึ ษารว่ ม (ถา้ ม)ี เขา้ ฟงั การน�ำ เสนอและเผยแพรแ่ อปพลเิ คชนั และควรมสี ว่ นในการประเมนิ

การน�ำ เสนอแอปพลเิ คชนั รว่ มกบั ผสู้ อน

11.2 ผสู้ อนแนะน�ำ ผเู้ รยี นใหเ้ ผยแพรแ่ อปพลเิ คชนั ทพ่ี ฒั นาเรยี บรอ้ ยแลว้ ผา่ นสอ่ื ทเ่ี หมาะสม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

132 กจิ กรรมท่ี 14 | การสร้างแอปพลเิ คชัน
คมู่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

ใบกิจกรรมท่ี 14.1   การศึกษาความตอ้ งการ

1. ชื่อ-สกุล ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขที่ ................
2. ชือ่ -สกลุ  ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขที่ ................
3. ชอ่ื -สกลุ  ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขท ่ี ................
4. ชอ่ื -สกลุ  ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขท่ี ................

1. ปัญหา คือ ………………………………………………………………………………………………………………………..……………..
...........………………………………………………………………………………………………………………………..……………........
2. สาเหตุของปัญหา

สาเหตุของปญั หา ลำ�ดบั ความสำ�คัญ

3. เลือกสาเหตุของปญั หาในขอ้ 2 เพอื่ สร้างแอปพลเิ คชนั

...........………………………………………………………………………………………………………………………..……………........

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………....………………………...................................
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………....………………………...................................
……………………………………………………………………………………………....………………………...................................

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กิจกรรมที่ 14 | การสร้างแอปพลิเคชัน 133
คู่มือครูรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

4. จากสาเหตุของปัญหาข้อ 3 ให้นักเรียนระบุขอบเขตงานเพื่อเป็นแนวทางในการนำ�ไปพัฒนาแอปพลิเคชัน
เช่น นักเรียนต้องการสร้างแอปพลิเคชันช่วยน้อง ๆ ฝึกทักษะการคำ�นวณ นักเรียนอาจระบุขอบเขตว่า
แอปพลิเคชนั นี้ทำ�งานอะไรไดบ้ า้ ง ทำ�ได้แค่ไหน และแตล่ ะงานมีลักษณะอยา่ งไร

...........………………………………………………………………………………………………………………………..……………........

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………....………………………...................................
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………....………………………...................................
……………………………………………………………………………………………....……………………….................................
5. ให้นักเรียนนำ�ประเด็นในข้อ 4 มาทำ�แบบสอบถามซึ่งอาจทำ�ใน Google Forms เพื่อถามความต้องการ
ของเพื่อน ครู ผู้ปกครอง หรือผู้ที่จะเป็นผู้ใช้แอปพลิเคชันน้ี ว่าต้องการให้แอปพลิเคชันที่นักเรียนจะออกแบบ
มีลักษณะอย่างไร


6. ประมวลผลความตอ้ งการของผู้ใช้จากข้อ 5 แล้วสรปุ เพื่อน�ำ มาเปน็ ข้อมูลในการสร้างแอปพลิเคชัน ดงั น้ี
1. …………………………………………………………………………………….…………………………….……………………………..
2. …………………………………………………………………………………………………………………………..……………………..
3. …………………………………………………………………………………………………………………………………..……………..
4. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
5. ……………………..…………………………………………………………………………………………………………………………..

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

134 กจิ กรรมที่ 14 | การสรา้ งแอปพลเิ คชนั
คูม่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)

ใบกิจกรรมที่ 14.2   การออกแบบและการสรา้ งแอปพลเิ คชัน

1. ชอ่ื -สกุล ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขท ่ี ................
2. ชอ่ื -สกุล ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขที่ ................
3. ช่อื -สกุล ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขที่ ................
4. ชื่อ-สกุล ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขท่ี ................

1. ชือ่ แอปพลิเคชัน คือ …………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………..…………………………………………………………………………………………………………………………
2. การวางแผนการพฒั นาแอปพลิเคชนั

ล�ำ ดบั ท ี่ รายละเอียดของงาน ระดบั ความสำ�คัญ ผรู้ บั ผิดชอบ ระยะเวลา

3. น�ำ รายละเอยี ดในขอ้ 2 ไปสรา้ งกระดานคมั บัง (Kanban board)
4. ให้นักเรียนสรา้ งแอปพลเิ คชนั ตามท่ีไดว้ างแผนไว้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กิจกรรมท่ี 14 | การสร้างแอปพลิเคชนั 135
คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

5. เมื่อสร้างแอปพลิเคชันเรียบร้อยแล้ว ให้ผู้ใช้ได้ทดสอบการทำ�งานพร้อมประเมินผล (อาจนำ�ข้อมูลที่ได้จากการ
ประมวลผลความต้องการของผใู้ ชใ้ นใบกิจกรรมท่ี 14.1 ข้อ 6 มาเปน็ รายการในการประเมนิ ด้วย)

ที่ รายการ ระดับการประเมนิ ข้อเสนอแนะ

1 ผ่าน ไม่ผ่าน ในการปรบั ปรุงแกไ้ ข
2
3
4
5
6
7
8
9
10

6. ผเู้ รยี นสร้าง Google Forms การประเมนิ ตามรายการขา้ งตน้ ให้ผ้ใู ช้ใชป้ ระกอบการทดสอบแอปพลเิ คชัน
7. ผเู้ รียนเตรียมสอ่ื หรือโปรแกรมส�ำ หรบั นำ�เสนอผลงาน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แบบประเมนิ

ภาคผนวก 137
คู่มือครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

แบบสงั เกตและแบบประเมนิ

แบบสงั เกต/แบบประเมิน กิจกรรมที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมการมสี ่วนร่วมในช้นั เรียน ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

2. แบบประเมนิ การทำ�งานกลุ่ม ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการใช้เทคโนโลยีอยา่ งรูเ้ ทา่ ทนั ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

4. แบบประเมินการทำ�ใบกจิ กรรมท่ี 1.1 ✓

5. แบบประเมนิ การท�ำ ใบกจิ กรรมที่ 3.1 ✓

6. แบบประเมินการทำ�ใบกจิ กรรมที่ 4.1 ✓

7. แบบประเมนิ การแกป้ ญั หาและการเขยี นโปรแกรม ✓ ✓ ✓

8. แบบประเมินการนยิ ามและการวเิ คราะหป์ ัญหา ✓

9. แบบประเมินการออกแบบการเก็บรวบรวมข้อมลู ✓

10. แบบประเมนิ การประมวลผลข้อมลู ✓

11. แบบประเมนิ การน�ำ เสนอแอปพลิเคชัน ✓

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

138 ภาคผนวก
คมู่ ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการมสี ว่ นรว่ มในชน้ั เรยี น

ค�ำ ชีแ้ จง ให้ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมการมีสว่ นรว่ มในชั้นเรยี น ตามรายการประเมนิ และเกณฑ์ท่กี �ำ หนด

(แบบประเมนิ น้ใี ชส้ ำ�หรับกิจกรรมท่ี 1-14 ) รายการสงั เกต สรปุ ผลการ

ที ่ ชอื่ - สกุล การซกั ถาม การตอบ ความ รวม ระดับ ประเมิน
และรว่ มแสดง ค�ำ ถาม
ความคิดเหน็ ร่วมมือในการ (9

ทำ�กจิ กรรม คะแนน) ผ่าน ไม่ผา่ น

3 2 1 3 2 1 3 2 1

ลงชอื่ .................................................................. ผ้ปู ระเมิน
(................................................................)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ภาคผนวก 139
คมู่ ือครูรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

รายการสงั เกต 3 (ดี) ระดับคะแนน 1 (ปรับปรงุ )
2 (พอใช)้
ไม่ซักถาม
1. การซกั ถามและรว่ ม มีการซักถามปัญหา มีการซักถามปัญหา และไมร่ ว่ มแสดงความ
แสดงความคิดเหน็ และรว่ มแสดงความ หรอื ร่วมแสดงความคดิ เหน็
คิดเห็นอย่างสม�ำ่ เสมอ คิดเห็น
2. การตอบคำ�ถาม ตอบค�ำ ถามอย่างสม�ำ่ เสมอ เปน็ ครงั้ คราว ไม่มีการตอบค�ำ ถาม
3. ความรว่ มมือในการท�ำ ตอบค�ำ ถามแต่ไม่สม�ำ่ เสมอ ไม่ให้ความรว่ มมอื
กจิ กรรม ใหค้ วามรว่ มมือ ในการท�ำ กิจกรรม
ในการท�ำ กิจกรรม ใหค้ วามรว่ มมือ
ท่ีครกู ำ�หนดอยา่ งสมำ่�เสมอ ในการท�ำ กจิ กรรม ท่ีครกู �ำ หนด
ที่ครกู ำ�หนดเปน็ ครงั้ คราว

ระดบั คุณภาพ คะแนนรวม ระดบั
8-9 ด ี
5-7
3-4 พอใช้
ปรับปรุง


สรุปผลการประเมนิ
ผา่ น มีระดบั คณุ ภาพ พอใช้ ข้ึนไป
ไมผ่ ่าน มีระดบั คุณภาพ ปรับปรุง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

140 ภาคผนวก
ค่มู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)

แบบประเมนิ การท�ำ งานกลมุ่

ค�ำ ชแ้ี จง ใหผ้ ูส้ อนประเมินการท�ำ งานกลมุ่ ตามรายการประเมินและเกณฑ์ทก่ี �ำ หนด

(แบบประเมินนใ้ี ชส้ ำ�หรับกจิ กรรมท่ี 1-14 )

รายการประเมิน สรุปผลการ

ท ่ี ชือ่ - สกลุ การแสดง การให้ความ ความ รวม ระดับ ประเมนิ
และรบั ฟงั ร่วมมือ รับผิดชอบ (9 ผา่ น ไม่ผา่ น
ความคิดเห็น
คะแนน)

3 2 1 3 2 1 3 2 1

ลงชอ่ื .................................................................. ผูป้ ระเมนิ
(................................................................)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ภาคผนวก 141
คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ระดบั คะแนน

รายการประเมิน 3 (ดี) 2 (พอใช)้ 1 (ปรบั ปรงุ )

1. การแสดงและรับฟัง แสดงความคดิ เห็น แสดงความคิดเหน็ ไมแ่ สดงความคดิ เหน็
ความคดิ เห็น และรับฟังความคดิ เห็น แต่ไม่รบั ฟงั ความคดิ เห็น
ไมใ่ หค้ วามร่วมมือ
2. การใหค้ วามรว่ มมือ ของผูอ้ ่นื ของผู้อืน่ ในการทำ�งานกล่มุ
ให้ความรว่ มมอื ใหค้ วามร่วมมือ ไม่ท�ำ งานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย
และกระตอื รอื ร้นในการ ในการทำ�งานกลมุ่
3. ความรบั ผดิ ชอบ ตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย
ทำ�งานกลุ่ม ทำ�งานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
ท�ำ งานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย เสร็จไมท่ ันเวลา

เสรจ็ ทันเวลา

ระดับคณุ ภาพ คะแนนรวม ระดบั
8-9 ด ี
5-7
3-4 พอใช้
ปรบั ปรงุ


สรุปผลการประเมิน
ผา่ น มีระดบั คณุ ภาพ พอใช้ ข้ึนไป
ไมผ่ า่ น มีระดับคุณภาพ ปรบั ปรงุ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

142 ภาคผนวก
คู่มอื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งรเู้ ทา่ ทนั

คำ�ช้ีแจง ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมการนำ�ข้อมูลไปใช้ การนำ�เสนอข้อมูล และการเผยแพร่ข้อมูล ตามรายการประเมิน
และเกณฑ์ทก่ี ำ�หนด โดยสังเกตทงั้ ภาคเรยี น

(แบบประเมนิ นใี้ ช้สำ�หรับกจิ กรรมท่ี 1-5)

การสังเกตพฤตกิ รรม รวม ระดับ สรุปผลการ
(10 ประเมนิ
ที่ ชอื่ - สกุล
ขอ้ ขอ้ ขอ้ ข้อ ข้อ ขอ้ ข้อ ข้อ ข้อ ขอ้ คะแนน)
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ผ่าน ไม่ผา่ น

ลงชอ่ื .................................................................. ผปู้ ระเมนิ
(................................................................)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ภาคผนวก 143
คมู่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

รายการสำ�หรับการสงั เกตพฤตกิ รรมมดี ังนี้
1. ผเู้ รยี นนำ�สอ่ื จากอนิ เทอร์เน็ตมาใช้แล้วมีการอ้างองิ ที่มาครบถ้วน
2. ผเู้ รียนใช้ส่ือตา่ ง ๆ อย่างถกู กฎหมาย
3. ผู้เรียนแชรข์ ้อมูลที่นา่ เช่ือถือ
4. ผูเ้ รยี นโพสตห์ รือแสดงความคดิ เหน็ อยา่ งมีเหตผุ ล
5. ผเู้ รยี นโพสต์หรอื คอมเมนต์อยา่ งสรา้ งสรรค์และเป็นประโยชน์ต่อผูอ้ น่ื
6. ผูเ้ รยี นโพสต์ แสดงความคดิ เหน็ หรอื โตแ้ ย้งโดยใชเ้ หตผุ ลทไ่ี มถ่ กู ตอ้ งหรือไมน่ �ำ ข้อเท็จจริงมาพิจารณา
7. ผู้เรียนโพสตห์ รือแสดงความคิดเหน็ ดว้ ยถ้อยค�ำ หยาบคาย
8. ผู้เรยี นเผยแพร่ข้อมลู ทเ่ี ปน็ ข่าวลวง
9. ผู้เรียนแชรข์ อ้ มลู ท่ีไม่ใช่ข้อเท็จจริง โดยไมไ่ ด้มกี ารตรวจสอบความถูกต้องก่อน
10. ผู้เรยี นกดไลค์ข้อมูลหรือโพสตท์ ไ่ี มเ่ หมาะสม หลอกลวง หรือขอ้ มูลท่ตี รวจสอบข้อเท็จจริงไมไ่ ด้

เกณฑก์ ารให้คะแนน
สังเกตพฤตกิ รรมส่วนใหญ่ท่ีพบ แลว้ ให้คะแนนดังนี้

ถ้าพบพฤตกิ รรม ขอ้ 1-5 ให้ข้อละ 1 คะแนน
ถา้ ไมพ่ บพฤติกรรม ข้อ 6-10 ให้ขอ้ ละ 1 คะแนน

ระดบั คุณภาพ คะแนนรวม ระดบั
9-10 ด ี
6-8
1-5 พอใช้
ปรับปรุง


สรุปผลการประเมิน
ผา่ น มรี ะดับคณุ ภาพ พอใช้ ข้นึ ไป
ไม่ผา่ น มีระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

144 ภาคผนวก
คู่มอื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

แบบประเมนิ ใบกจิ กรรมท่ี 1.1

คำ�ชี้แจง ให้ผู้สอนตรวจคำ�ตอบในใบกิจกรรมท่ี 1.1 โดยใชเ้ กณฑ์การประเมินที่กำ�หนด

(แบบประเมินนี้ใช้ส�ำ หรับกิจกรรมท่ี 1)

ท ี่ กลุ่ม การสืบค้น รายการประเมนิ การประเมนิ รวม ระดบั สรุปผล
ขอ้ มูล ตามหลกั การ การประเมิน
การวิเคราะห์ PROMPT (9 คะแนน)
ข้อมลู ที่ไดจ้ าก
ผา่ น ไมผ่ า่ น
การสืบค้น

ลงชอื่ .................................................................. ผู้ประเมนิ
(................................................................)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


Click to View FlipBook Version