The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by happy Kruoil, 2020-05-24 09:48:38

CS_TeacherGuide_M3

CS_TeacherGuide_M3

ส�ำ หรบั ครู เทา่ น้นั ลิขสทิ ธิ์ สสวท. หา้ มเผยแพรห่ รอื แจกจา่ ยบนสื่อสาธารณะ ห้ามจ�ำ หนา่ ย

คำ�น�ำ


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) มีหน้าที่ในการพัฒนาหลักสูตร วิธีการเรียนรู้ การ
ประเมินผล การจัดทำ�หนังสือเรียน คู่มือครู แบบฝึกทักษะ กิจกรรม และสื่อการเรียนรู้เพื่อใช้ประกอบการเรียนรู้ในกลุ่ม
สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ของการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

คู่มอื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ นีจ้ ดั ท�ำ
ตามสาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู ร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีเน้ือหาเกี่ยวกับหลักสูตรเทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) ตาราง
วิเคราะห์การจัดทำ�หน่วยการเรียนรู้ รวมทั้งตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๓ ที่ตอ้ งใชค้ วบคกู่ ัน

สสวท. หวังเป็นอย่างย่ิงว่า คู่มือครูเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้และเป็นส่วนสำ�คัญในการพัฒนา
คณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา ขอขอบคณุ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ บคุ ลากรทางการศกึ ษาและหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทม่ี สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งใน
การจัดท�ำ าไว้ ณ โอกาสน้ี


(ศาสตราจารย์ชกู ิจ ลิมปิจ�ำ นงค)์
ผ้อู ำ�นวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำ�ช้ีแจง


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ ได้พัฒนาหลักสูตรวิชา
คอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง โดยมีการประกาศใช้หลักสูตรครั้งแรกในปี พ.ศ ๒๕๒๘ ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
และมีการประกาศใช้ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย ในปี พ.ศ. ๒๕๓๒ และมีการปรับปรุง
หลกั สตู รอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ตอ่ มา มกี ารประกาศใชห้ ลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
และก�ำ หนดใหร้ ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี กลุม่ สาระ
การเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ซงึ่ เป็นสาระการเรียนรพู้ ้ืนฐานส�ำ หรบั นกั เรียนทุกช่วงชน้ั

คู่มือครูเล่มนี้เป็นคู่มือประกอบรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)
ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ซ่ึงมีจุดประสงค์ให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการพัฒนาแอปพลิเคชัน สร้างสรรค์ผลงาน
ด้วยภาษาไพทอน สร้างสรรคผ์ ลงานดว้ ย Scratch การประมวลผลข้อมูล อนิ เทอรเ์ นต็ ของสรรพสิง่ และการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอยา่ งรเู้ ทา่ ทนั ซง่ึ เปน็ พน้ื ฐานทสี่ �ำ คญั ตอ่ การน�ำ ไปใชช้ วี ติ ประจ�ำ วนั โดยการจดั การเรยี นรแู้ บง่ เปน็ กจิ กรรมตา่ ง ๆ
เพอื่ เปน็ แนวทางใหค้ รผู สู้ อนใชใ้ นการวางแผนการจดั การเรยี นรใู้ หบ้ รรลจุ ดุ ประสงคท์ ต่ี ง้ั ไว้ และสามารถน�ำ ไปจดั การเรยี นรู้
โดยใช้เวลา ๔๐ ชั่วโมง ใน ๑ ภาคเรียน หรือขึ้นอยกู่ ับความเหมาะสมและความพร้อมของโรงเรียน

สสวท. หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)
เล่มน้ี จะเป็นประโยชน์แก่ผู้สอน และผู้ที่เก่ียวข้องทุกฝ่าย ที่จะช่วยให้การจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์มีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผล หากมีข้อเสนอแนะใดที่จะทำ�ให้คู่มือครูเล่มน้ีมีความสมบูรณ์ย่ิงขึ้น โปรดแจ้ง สสวท. ทราบด้วย
จะขอบคุณย่ิง

สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศกึ ษาธิการ

คำ�แนะน�ำ การใช้ค่มู อื ครู

รายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

คมู่ อื ครูเล่มนีป้ ระกอบดว้ ย 14 กิจกรรม ซง่ึ แตล่ ะกจิ กรรมมีจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ทกั ษะกระบวนการ ความรู้เดิม
ที่นักเรียนต้องมี สาระสำ�คัญ สื่อและอุปกรณ์ แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ใบกิจกรรม แบบทดสอบ การวัด
และประเมินผล สื่อและแหล่งข้อมูลเพิ่มเติม และข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ รวมถึงภาคผนวกซ่ึงมีแบบประเมินและเกณฑ์
การประเมินแต่ละกิจกรรม ทั้งน้ีผู้สอนจะเป็นผู้ดำ�เนินการจัดการเรียนรู้ และเพื่อให้การเรียนรู้มีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน
ควรใชค้ กู่ ับหนงั สอื เรยี น รายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ) ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3
สาระการเรียนรู้เทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ในระดับชั้นท่ีสูงขึ้นได้ และสามารถบรรลุ
4 ตวั ชีว้ ดั คอื

1. พฒั นาแอปพลเิ คชันท่มี ีการบูรณาการกับวชิ าอืน่ อย่างสร้างสรรค์
2. รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นำ�เสนอข้อมูลและสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์
หรือบริการบนอนิ เทอรเ์ นต็ ทหี่ ลากหลาย
3. ประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูล วิเคราะห์สื่อและผลกระทบจากการให้ข่าวสารที่ผิด เพ่ือการใช้งานอย่าง
รู้เทา่ ทนั
4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติตามกฎหมายเก่ียวกับ
คอมพวิ เตอร์ ใชล้ ิขสทิ ธ์ขิ องผู้อ่นื โดยชอบธรรม

กิจกรรมในคู่มือครนู ้มี คี วามสอดคล้องกบั ตัวชวี้ ดั โดยกำ�หนดเวลาในการเรียนรจู้ ำ�นวน 40 ชว่ั โมง การจัดกิจกรรม
การเรียนรู้จะด�ำ เนนิ ตามลำ�ดับต้ังแตก่ ิจกรรมที่ 1 ถงึ 14 รายละเอยี ดดังตารางตอ่ ไปน ้ี

กจิ กรรมท ี่ เร่ือง ตัวชว้ี ดั ใชก้ บั หนังสอื เรยี น เวลา หมายเหตุ
บทท่ี (ชว่ั โมง)

1 การประเมินความน่าเชือ่ ถอื ของขอ้ มูล 3 6 2
2 6 2
3 เหตผุ ลวิบตั ิ 4 6 2
4 6 2
5 รูเ้ ทา่ ทัน ฉนั ปลอดภัย 4 6 2
6 1 2
7 กฎหมายนา่ รู้ 4 2 4 เลือกสอน
8 2 4 กจิ กรรมที่ 7-8
9 การใชง้ านลิขสทิ ธท์ิ ี่เปน็ ธรรม 4 3 4 หรอื 9-10 ตาม
10 3 4 ความเหมาะสม
การพัฒนาแอปพลิเคชนั 1 4 6
11 4 4
12 จัดการขอ้ มลู เบ้ืองตน้ 1 5 4
13 1-6 6
14 โมดลู tkinter 1 - 8
-
รายการข้อมูล 1

สนุกกบั Scratch 1

ประมวลผลข้อมูล 2

ดาตา้ ทท่ี า้ ทาย 2

อนิ เทอรเ์ น็ตของสรรพส่งิ 1

การสรา้ งแอปพลเิ คชัน 1 - 4

แนวทางจดั การเรียนรู้ เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) 1
Coding with KidBright https://www.kid-
bright.org/kidbright/update-เอกสารเผยแพร่/

หมายเหตุ
1. สำ�หรบั ด้านการเขยี นโปรแกรมน้นั ในคมู่ ือครูเล่มนีจ้ ะน�ำ เสนอ 3 สว่ น คอื ภาษาไพทอน กจิ กรรมท่ี 7 – 8 โปรแกรม
Scratch กจิ กรรมท่ี 9 - 10 และ KidBright ซงึ่ ผ้สู อนสามารถเลือกสอนได้ตามความเหมาะสมของผเู้ รยี น
2. ส่วนท้ายเล่มมีภาคผนวกซ่ึงประกอบไปด้วยแบบประเมินต่าง ๆ ให้ผู้สอนใช้ในการประเมินนักเรียนระหว่างเรียน
และเมือ่ สิ้นสุดการดำ�เนินกจิ กรรมการเรียนรู้
3. กิจกรรมภายในคู่มือครูเล่มน้ีเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและศึกษาความรู้ด้วยตนเองก่อนทำ�ใบกิจกรรม ทั้งน้ีผู้สอน
ควรสงั เกตอย่างใกลช้ ดิ หากผู้เรยี นไม่สามารถท�ำ ความเขา้ ใจ ควรรว่ มกนั สรุปความร้กู อ่ นด�ำ เนนิ กจิ กรรมต่อไป
4. ผสู้ อนสามารถประยกุ ต์การจดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ ห้เขา้ กบั บริบทของโรงเรยี น
5. แนวคำ�ตอบและสื่อประกอบการเรียนรู้ สามารถดาวน์โหลดได้ที่ http://oho.ipst.ac.th/TG-CSM3 ผู้สอน
ควรศกึ ษาค�ำ ชแ้ี จงกอ่ นการใช้งาน ทงั้ น้ีหากมีการแกไ้ ข ระบบจะมีการปรบั ปรุงไฟลใ์ ห้ทันสมยั อยา่ งสม่�ำ เสมอ

สารบญั

กิจกรรมท่ี การประเมนิ ความน่าเช่ือถอื ของขอ้ มลู 2
ใบกจิ กรรมท ่ี 1.1 เช็คให้ชัวร ์ 6
1
8
กิจกรรมที่ เหตผุ ลวบิ ตั ิ 12
ใบกิจกรรมที ่ 2.1 ร่วมด้วยชว่ ยกันพิจารณา 13
2 ใบกิจกรรมท ่ี 2.2 เหตผุ ลวิบตั ิในโลกออนไลน ์
14
กิจกรรมท่ี รเู้ ทา่ ทัน ฉันปลอดภยั 22
ใบกิจกรรมท่ี 3.1 รู้เท่าทนั  ฉนั ปลอดภยั 24
3 ใบกิจกรรมที่ 3.2 ปลอดภยั  ไดต้ รงปก
26
กจิ กรรมที่ กฎหมายนา่ รู้ 31
ใบกิจกรรมท่ ี 4.1 ทำ�แบบนผี้ ดิ หรอื ไม่ 33
4 ใบกิจกรรมท ่ี 4.2 ผดิ หรอื ถกู
34
กิจกรรมท่ี การใช้งานลิขสิทธ์ิทเี่ ปน็ ธรรม 39
ใบกิจกรรมที่ 5.1 ลขิ สิทธิใ์ ช้อย่างไร ให้ถูกตอ้ ง
5 40
45
กจิ กรรมท่ี การพฒั นาแอปพลเิ คชนั
ใบกิจกรรมท ่ี 6.1 สรรสร้างของขวญั 48
6 52
54
กจิ กรรมที่ จัดการขอ้ มูลเบือ้ งตน้ 56
ใบกิจกรรมที่ 7.1 ตามหาขอ้ มลู 58
7 ใบกิจกรรมที่ 7.2 ประมวลผลข้อมูล
ใบกจิ กรรมที่ 7.3 ทำ�ขอ้ มูลให้เป็นภาพ 60
ใบกิจกรรมที่ 7.4 หาคา่ ดัชนีมวลกาย 64
67
กจิ กรรมที่ โมดลู tkinter 70
ใบกิจกรรมท ่ี 8.1 เครอื่ งคิดเลข
8 ใบกิจกรรมท ี่ 8.2 tkinter สรา้ งส่วนตอ่ ประสานกราฟิกกบั ผใู้ ช้
ใบกจิ กรรมที ่ 8.3 แอปชนแอป

กิจกรรมท่ี รายการข้อมลู 72
ใบกิจกรรมท่ ี 9.1 คูห่ รือค่ ี 76
9 ใบกจิ กรรมที่ 9.2 สนุกกบั รายการ 78

กจิ กรรมท่ี สนกุ กบั  Scratch 80
ใบกจิ กรรมท ่ี 10.1 Don’t Move 84
10 ใบกจิ กรรมท่ ี 10.2 เกมสอยดาว 86
ใบกจิ กรรมที่ 10.3 The Maze 87

กิจกรรมที่ ประมวลผลข้อมลู 90
ใบกจิ กรรมท ่ี 11.1 ปัญหาคืออะไร 98
11 ใบกิจกรรมท่ ี 11.2 รวบรวมข้อมูล 100
ใบกจิ กรรมท ่ี 11.3 ประมวลผลข้อมลู 101
กจิ กรรมที่ ใบกิจกรรมท่ ี 11.4 ขอ้ มูลน้ี มีความหมาย 105

12 ดาตา้ ที่ทา้ ทาย 108
ใบกจิ กรรมท ่ี 12.1 ดาตา้ ทที่ ้าทาย 111

กจิ กรรมท่ี อนิ เทอรเ์ นต็ ของสรรพส่ิง 114
ใบกิจกรรมท ่ี 13.1 กระดานข่าว  120
13 ใบกจิ กรรมท ่ี 13.2 MQTT-Bingo 121
ใบกจิ กรรมท่ี 13.3 ฤาษแี ปลงสารผา่ น MQTT 122
กิจกรรมท่ี ใบกจิ กรรมท ี่ 13.4 IoT Smart Home 123
ใบกจิ กรรมท ี่ 13.5 IoT for Life 125
14 ใบความรู้ท ี่ 13 การใชง้ าน MQTTlens 126

ภาคผนวก การสรา้ งแอปพลิเคชัน 128
ใบกจิ กรรมที่ 14.1 การศกึ ษาความต้องการ 132
ใบกิจกรรมท ่ี 14.2 การออกแบบและการสร้างแอปพลิเคชนั 134

แบบประเมิน 136

กจิ กรรมท ่ี การประเมนิ ความนา่ เชอ่ื ถอื ของขอ้ มลู

1 1. ตวั ช้ีวัด
ประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูล วิเคราะห์สื่อและผลกระทบจากการให้ข่าวสาร
เวลา 2 ช่ัวโมง ท่ีผิด เพ่อื การใช้งานอย่างรเู้ ทา่ ทนั
2. สาระการเรียนรู้
การประเมนิ ความนา่ เชอ่ื ถอื ของขอ้ มลู  เชน่  ตรวจสอบและยนื ยนั ขอ้ มลู  โดยเทยี บเคยี ง
จากข้อมูลหลายแหล่ง แยกแยะข้อมูลท่ีเป็นข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น หรือใช้ 
PROMPT
3. จดุ ประสงค ์ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถ
3.1 บอกวิธีการประเมินความนา่ เช่อื ถอื ของขอ้ มลู
3.2 ประเมนิ ความน่าเช่อื ถือของขอ้ มูลจากแหลง่ ต่าง ๆ

กิจกรรมที่ 1 | การประเมนิ ความน่าเชือ่ ถือของขอ้ มูล 3
คมู่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)

4. ทกั ษะและกระบวนการ (ทเ่ี ปน็ จุดเนน้  ทักษะในศตวรรษท ี่ 21)
ทักษะการท�ำ งานรว่ มกนั
ทกั ษะการคิดวิเคราะห์
ทกั ษะการสือ่ สาร
5. ความรูเ้ ดมิ ทีน่ กั เรียนต้องม ี ซึ่งจะสอดคลอ้ งกบั ส่วน “ทบทวนความรู้เดมิ /ส�ำ รวจความรู้กอ่ นเรียน”
-
6. สาระส�ำ คัญ
ถ้าข้อมูลที่นำ�มาใช้ในการเรียนรู้และการทำ�งาน มีความถูกต้อง เหมาะสม และน่าเช่ือถือ จะทำ�ให้เกิดการเรียนรู้
และทำ�งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ก่อนการนำ�ข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ต้องผ่านกระบวนการประเมิน
ความน่าเช่ือถือด้วยการตรวจสอบและยืนยันข้อมูล โดยอาจใช้หลักการ PROMPT ซ่ึงได้แก่ การนำ�เสนอ
ความสัมพันธ์ วัตถุประสงค์ วิธีการ แหล่งที่มา และเวลา (Presentation, Relevance, Objectivity, Method,
Provenance, Timeliness: PROMPT)
7. ส่ือและอปุ กรณ์
7.1 ใบกิจกรรม

ใบกิจกรรมที่ เรื่อง เวลา (นาท)ี
1.1 เช็คให้ชัวร์่  60

7.2 อื่น ๆ
เครือ่ งคอมพิวเตอร์ทีเ่ ชอ่ื มตอ่ อนิ เทอร์เน็ต
สลากประเภทของขอ้ มูล
แบบประเมนิ ใบกจิ กรรมท่ ี 1.1
แบบประเมนิ การทำ�งานกลมุ่
แบบสงั เกตพฤติกรรมการมสี ่วนรว่ มในช้ันเรียน
แบบสงั เกตพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยอี ย่างร้เู ท่าทนั
หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 
เทคโนโลย ี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที  ่ี 3 สถาบนั
สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

4 กจิ กรรมท่ี 1 | การประเมนิ ความนา่ เช่ือถอื ของขอ้ มูล
คมู่ ือครูรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

8. แนวทางการจดั การเรียนรู้

8.1 การจัดเตรียม

8.1.1 ใบกจิ กรรมที่ 1.1 ตามจำ�นวนกล่มุ

8.1.2 สลากที่เกยี่ วกับลักษณะของข้อมูล 3 ประเภท ได้แก ่ บทความ รปู ภาพ วดิ โี อ ตามจำ�นวนกลมุ่

8.1.3 แบบประเมินใบกจิ กรรมท่ ี 1.1 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการมสี ่วนร่วมในช้ันเรยี น 

แบบประเมินการทำ�งานกลุ่ม และแบบสังเกตพฤติกรรมการใชเ้ ทคโนโลยีอย่างรเู้ ท่าทนั  

8.2 ขัน้ ตอนการด�ำ เนนิ การ 

8.2.1 ผูส้ อนถามผูเ้ รยี นวา่  

1) ขอ้ มลู ท่นี ำ�มาจากอนิ เทอร์เน็ตเพ่ือทำ�รายงานหรอื สรา้ งชิน้ งานในรายวชิ าต่าง ๆ เช่อื ถือได้หรอื ไม่

2) เราทราบไดอ้ ยา่ งไรว่าข้อมลู ท่นี �ำ มาท�ำ รายงานนา่ เชือ่ ถอื

8.2.2 ผู้สอนตั้งคำ�ถามในประเด็นสำ�คัญหรือประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับผู้เรียน เช่น จังหวัดท่ีมีประชากร

น้อยท่ีสุดคือจังหวัดอะไร และมีประชากรจำ�นวนก่ีคน แล้วให้ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลเพ่ือหาคำ�ตอบ

โดยใช้แหล่งขอ้ มูลทน่ี า่ เชื่อถือทีส่ ดุ  โดยกำ�หนดให้แต่ละกลุ่มตอ้ งใชแ้ หล่งขอ้ มลู ทไ่ี มซ่ ำ้�กัน

8.2.3 ผู้เรียนแต่ละกลุ่มตอบคำ�ถาม พร้อมระบุแหล่งข้อมูลลงในเอกสารออนไลน์ท่ีผู้สอนแชร์ไว้ เช่น

Google Docs, Padlet พรอ้ มบอกเหตผุ ลวา่ เพราะเหตุใด ขอ้ มูลที่ตนเองคน้ หามาจงึ มคี วามนา่ เชอ่ื ถอื

ช่อื กลมุ่ ค�ำ ตอบ URL เหตผุ ลที่คิดว่าข้อมูลน่าเชื่อถือ

8.2.4 ผเู้ รียนศึกษาหวั ข้อ 6.1 การประเมินความนา่ เชอ่ื ถือของข้อมลู  จากหนังสือเรียนในบทที ่ 6 

8.2.5 ผู้สอนสมุ่ ผู้เรียนตอบค�ำ ถามเพือ่ ประเมินความรขู้ องผ้เู รียนจากการศึกษาด้วยตนเอง ดังนี้

1) ขอ้ มูลท่ดี ตี อ้ งมีลักษณะอยา่ งไรบ้าง

2) ประเมนิ ความนา่ เชอ่ื ถือของขอ้ มูลได้อยา่ งไร

  3) ประเมินวา่ ข้อมูลมีความทนั สมยั ไดอ้ ย่างไร

4) ประเมินวา่ แหล่งทมี่ าของขอ้ มูลมีความน่าเชื่อถือได้อย่างไร

8.2.6 ผู้สอนให้ผ้เู รียนร่วมกันตอบค�ำ ถามกจิ กรรมท ่ี 6.1 ขอ้  1 จากหนังสอื เรยี น 

8.2.7 ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำ�เสนอข้อมูลของตนเองหน้าช้ันเรียนโดยการเข้าไปท่ี URL ที่เป็นแหล่งข้อมูล

ทรี่ ะบุไวใ้ นขอ้  8.2.3 แลว้ ใหเ้ พ่อื นในช้ันเรียนร่วมกันอภปิ รายตามหลักการ PROMPT ดงั น้ี

1) ข้อมูลชัดเจนหรือไม่

2) ขอ้ มูลหรือคำ�ตอบตรงกับความความต้องการหรือไม่

3) ข้อมลู ตรงตามวตั ถุประสงค์หรอื ไม่

4) ขอ้ มูลเป็นขอ้ เท็จจรงิ หรือความคดิ เห็นของบคุ คล

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กิจกรรมท่ี 1 | การประเมนิ ความน่าเช่ือถือของขอ้ มูล 5
คมู่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

5) แหล่งข้อมูลมคี วามน่าเช่อื ถือหรอื ไม่

6) ข้อมูลมคี วามทนั สมัยหรอื เป็นปจั จบุ นั หรือไม่

8.2.8 ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันพิจารณาว่าข้อมูลของกลุ่มใดน่าเช่ือถือ และกลุ่มใดไม่น่าเชื่อถือ พร้อมทั้ง

ใหเ้ หตุผลประกอบ

8.2.9 ผู้สอนให้ตัวแทนผู้เรียนแต่ละกลุ่มออกมาจับสลากที่เก่ียวกับลักษณะของข้อมูล 3 ประเภท ได้แก่

บทความ รูปภาพ วิดโี อ 

8.2.10 ผู้เรยี นแตล่ ะกลุ่มศึกษาและท�ำ ใบกิจกรรมท ่ี 1.1 เชค็ ให้ชัวร ์

8.2.11 ผู้เรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนำ�เสนอผลท่ีได้จากการทำ�ใบกิจกรรมท่ี 1.1 หน้าช้ันเรียน โดยนำ�เสนอ

เว็บไซต์ท่ีอ้างถึง หลังจากการนำ�เสนอเสร็จสิ้นในแต่ละกลุ่ม ผู้สอนเปิดโอกาสแสดงความคิดเห็น

หรือขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม

8.2.12 ผู้สอนสุ่มผู้เรียนให้อภิปรายถึงประโยชน์และความสำ�คัญของการประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล

และการนำ�ข้อมลู ทีไ่ ดไ้ ปใชง้ าน

9. การวดั และประเมนิ ผล

9.1 ตรวจคำ�ตอบจากการทำ�ใบกจิ กรรม 

9.2 ประเมนิ การทำ�ใบกจิ กรรมท ี่ 1.1

9.3 สงั เกตพฤตกิ รรมการมสี ่วนรว่ มในช้ันเรยี น

9.4 ประเมนิ การท�ำ งานกลมุ่

9.5 แบบสงั เกตพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยอี ย่างรู้เท่าทนั  ซึง่ จะสังเกตภาพรวมทง้ั ภาคเรียน

10. ส่อื และแหลง่ ข้อมลู

-

11. ข้อเสนอแนะ

11.1 ประเด็นคำ�ถามในการนำ�เข้าสู่บทเรียนสามารถเปลี่ยนแปลงได้ 

อาจเป็นเรื่องใกล้ตัวหรือเรื่องท่ีมีความสำ�คัญต่อการใช้ชีวิต

ประจ�ำ วนั ของผู้เรยี น

11.2 การตอบคำ�ถามในชั่วโมงท่ี 1 ผู้สอนต้องเน้นยำ้�การให้เหตุผล

ประกอบการตัดสินใจว่าทำ�ไมข้อมูลท่ีผู้เรียนเลือกมาจึงมีความ

น่าเชื่อถอื  และให้ผ้เู รียนทำ�งานรว่ มกนั ผ่านเอกสารออนไลน์

11.3 กิจกรรมนี้เน้นให้ผู้เรียนได้ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่อยู่

ในลักษณะต่าง ๆ ท้ังที่เป็นบทความ รูปภาพ วิดีโอ และลักษณะ

อน่ื  ๆ ผู้สอนควรยกตัวอยา่ งให้ครอบคลุม 

11.4 ผู้สอนควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ร่วมอภิปราย แสดงความคิดเห็น 

เพอ่ื ตรวจสอบความตระหนกั ในการประเมนิ ความนา่ เชอ่ื ถอื ของขอ้ มลู

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

6 กิจกรรมที่ 1 | การประเมินความน่าเชอ่ื ถอื ของข้อมูล
ค่มู อื ครรู ายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

ใบกจิ กรรมที่ 1.1  เช็คให้ชัวร์

1. ช่ือ-สกุล ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขท ่ี ................
2. ช่อื -สกุล ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขที่ ................
3. ชอ่ื -สกุล ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขท่ี ................
4. ชอ่ื -สกลุ  ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขท่ี ................

ให้นักเรียนศึกษาหัวข้อ 6.1 การประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูล แล้วสืบค้นข้อมูลในประเด็นสำ�คัญหรือประเด็น
ท่ีเก่ียวข้องกับนักเรียน หรือสิ่งที่นักเรียนสนใจ ตามประเภทของข้อมูลที่จับสลากได้ จากแหล่งข้อมูลท่ีนักเรียนคิดว่า
น่าเชื่อถอื มากที่สดุ
1. ประเภทของข้อมลู ท่ีจับสลากได ้ คอื    บทความ   รปู ภาพ   วิดโี อ
2. แหลง่ ขอ้ มลู ทเ่ี ลอื กมา คอื  (ใหร้ ะบ ุ URL) …………………………………………………………………………….…………………
……………………………………………………………………………………………………………………..……………......................
3. นักเรียนคิดว่าข้อมูลที่พบในแหล่งข้อมูลที่เลือกมาเป็นข้อเท็จจริงหรือความคิดเห็นส่วนตัวของบุคคลใด
บคุ คลหนงึ่  เพราะเหตุใด
 ขอ้ เทจ็ จรงิ  เพราะ …………………………………………………………………..……………………...……..........................
 ขอ้ คดิ เหน็  เพราะ …………………………………………………………..……………………………………...........................
4. ตรวจสอบรายการย่อยและประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล ว่าแต่ละประเด็นผ่านการประเมินตามหลักการ
PROMPT หรอื ไม่ พร้อมทั้งบอกเหตผุ ล

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมท่ี 1 | การประเมนิ ความน่าเชื่อถือของข้อมลู 7
คูม่ ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)

ประเด็น ตรวจสอบรายการยอ่ ย ผลการประเมิน เหตผุ ล
ผา่ น ไมผ่ ่าน
4.1 การนำ�เสนอ ชดั เจน ไมค่ ลุมเครือ
(Presentation) ใชภ้ าษาถกู ตอ้ ง
ตรงกับความต้องการ
4.2 ความสมั พนั ธ์ เน้ือหากระชบั
(Relevance)
4.3 วตั ถปุ ระสงค์ สอดคล้องกับส่งิ ที่ต้องการ
(Objectivity) น�ำ ไปใช้ไดท้ นั ที
4.4 วธิ ีการ (Method)
เป็นข้อเทจ็ จรงิ
4.5 แหล่งที่มา ไมม่ ีเจตนาอ่นื แอบแฝง
(Provenance)
4.6 เวลา  สอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์
(Timeliness) เปน็ ระบบ

ชัดเจน
เชอ่ื ถือได้

ระบชุ ่วงเวลา
เป็นปัจจุบัน

จากการประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล พบว่า   ผ่าน   ไม่ผ่าน การประเมิน เน่ืองจาก .......…………...
.…...…………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………..……………...…………………………..……………...............
………………………………………………………………………..……………...…………………………..……………...............
………………………………………………………………………..……………...…………………………..……………...............
นักเรียนมีวิธีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลอย่างไร …………………….....………………………………
………………………………………………………………………..……………...…………………………..……………...............
………………………………………………………………………..……………...…………………………..……………...............
………………………………………………………………………..……………...…………………………..……………...............
………………………………………………………………………..……………...…………………………..…………….......................
………………………………………………………………………..……………...…………………………..…………….......................

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมท ่ี เหตผุ ลวบิ ตั ิ

2 1. ตัวชว้ี ัด
ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล วิเคราะห์สื่อและผลกระทบจากการให้ข่าวสาร
ที่ผดิ  เพอื่ การใช้งานอย่างรู้เทา่ ทัน
2. สาระการเรียนรู้
เหตผุ ลวบิ ัต ิ (logical fallacy)
3. จดุ ประสงค ์ ให้ผู้เรยี นสามารถ
3.1 บอกลกั ษณะข้อมูลทีเ่ ปน็ เหตุผลวบิ ัติ
3.2 อภิปรายขอ้ มูลทีเ่ ป็นเหตุผลวบิ ัติ

เวลา 2 ชัว่ โมง

กิจกรรมที่ 2 | เหตุผลวบิ ัติ 9
คู่มอื ครูรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

4. ทกั ษะและกระบวนการ (ท่เี ปน็ จุดเนน้  ทกั ษะในศตวรรษท ่ี 21)
ทักษะการทำ�งานร่วมกนั
ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์
ทกั ษะการส่ือสาร
5. ความร้เู ดิมท่นี กั เรยี นต้องม ี ซึง่ จะสอดคลอ้ งกับสว่ น “ทบทวนความรูเ้ ดมิ /ส�ำ รวจความรู้กอ่ นเรยี น”
การใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งปลอดภยั  เช่น ข้อมูลสว่ นตวั  ผลกระทบของการเผยแพรข่ อ้ มูลทไ่ี มเ่ หมาะสม
6. สาระส�ำ คญั
เหตุผลวิบัติ (logical fallacy) เป็นการโต้แย้งโดยใช้เหตุผลท่ีไม่ถูกต้องหรือไม่สอดคล้องกับประเด็นที่กำ�ลัง
โต้แย้ง เพื่อนำ�มาสนับสนุนความคิดเห็นของตนเอง เหตุผลวิบัติสามารถจำ�แนกได้เป็น 2 แบบ คือ แบบเป็นทางการ
และไม่เป็นทางการ ซึ่งเหตุผลที่นำ�มาใช้ไม่ได้นำ�ไปสู่ข้อสรุปที่ถูกต้องหรือได้ข้อสรุปท่ีขัดแย้งกับความเป็นจริง
เหตุผลวิบัติอาจเกิดข้ึนในหลายลักษณะ เช่น การให้เหตุผลโดยละเว้นข้อเท็จจริง การกล่าวถึงสิ่งท่ีอยู่นอกประเด็น
การมองไม่รอบด้าน 
7. สอื่ และอปุ กรณ์
7.1 ใบกิจกรรม

ใบกิจกรรมท่ี เรื่อง เวลา (นาที)
2.1 รว่ มด้วยชว่ ยกันพิจารณา 30
2.2 เหตุผลวิบัติในโลกออนไลน์ 60

7.2 อืน่  ๆ
เคร่อื งคอมพิวเตอรท์ ่ีเชอ่ื มต่ออินเทอรเ์ นต็
สลากตามสถานการณใ์ นกิจกรรมท ี่ 6.2 ในหนงั สอื เรยี น
แบบสงั เกตพฤติกรรมการมสี ่วนร่วมในชน้ั เรียน
แบบประเมินการท�ำ งานกลุ่ม
หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 
เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3
สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

10 กิจกรรมที่ 2 | เหตุผลวิบตั ิ
คมู่ อื ครูรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

8. แนวทางการจดั การเรียนรู้

8.1 การจัดเตรยี ม

8.1.1 ใบกจิ กรรมท่ ี 2.1-2.2 ตามจ�ำ นวนกล่มุ

8.1.2  สลากตามสถานการณใ์ นกิจกรรมท่ี 6.2 ในหนังสือเรยี น

8.1.3  แบบสงั เกตพฤติกรรมการมสี ่วนร่วมในชัน้ เรียน และแบบ

ประเมนิ การท�ำ งานกล่มุ

8.2 ข้นั ตอนการด�ำ เนนิ การ 

8.2.1 ผู้สอนนำ�เข้าสู่บทเรียนโดยเปิดวิดีโอท่ีเป็นสถานการณ์เกี่ยวกับเหตุผลวิบัติให้ผู้เรียนชม อย่างน้อย

2 เรื่อง จากตัวอยา่ งสถานการณต์ ่อไปน้ี

  https://www.youtube.com/watch?v=B3BAh086sYs (สบื คน้ เมอื่  วนั ท ี่ 19 สงิ หาคม 2562)

https://www.youtube.com/watch?v=d1YDrL9bEh0 (สบื คน้ เมอื่  วนั ท ่ี 19 สงิ หาคม 2562)

  https://www.youtube.com/watch?v=iyCZnj9Z6jg (สบื คน้ เมอื่  วนั ท ่ี 19 สงิ หาคม 2562)

  https://www.youtube.com/watch?v=eTLeg2Rfjho (สบื คน้ เมอื่  วนั ท ่ี 19 สงิ หาคม 2562)

  https://www.youtube.com/watch?v=ajRkGzjBatI (สบื คน้ เมอื่  วนั ท ่ี 19 สงิ หาคม 2562)

8.2.2 ผู้สอนต้งั ค�ำ ถามแล้วส่มุ ให้ผูเ้ รยี นตอบค�ำ ถามดงั นี้

1) จากตวั อย่างผู้เรียนสังเกตเห็นพฤติกรรมอะไรบ้าง

2) ผู้เรยี นเห็นด้วยและไมเ่ หน็ ด้วยกับอะไรบา้ ง อยา่ งไร 

8.2.3 ผูเ้ รยี นศกึ ษาหวั ข้อ 6.2 เหตผุ ลวบิ ตั ิ จากหนงั สอื เรยี นในบทที่ 6 

8.2.4 ผูส้ อนแบ่งผเู้ รียนเป็นกลุ่ม กลมุ่ ละ 3-4 คน จบั สลากเพือ่ เลือกสถานการณต์ ามหนงั สือเรียน 

กจิ กรรมที ่ 6.2 จากนน้ั ท�ำ ใบกิจกรรมท่ ี 2.1 ร่วมดว้ ยช่วยกันพจิ ารณา

8.2.5 ตวั แทนแตล่ ะกลมุ่ น�ำ เสนอผลทไ่ี ด้จากการทำ�ใบกิจกรรมท่ ี 2.1 หน้าช้ันเรยี น

8.2.6 ผู้เรียนร่วมกันยกตัวอย่างสถานการณ์ของเหตุผลวิบัติที่เคยพบในชีวิตประจำ�วัน ท่ีแตกต่าง

จากสถานการณใ์ นใบกจิ กรรม และร่วมกันอภปิ รายว่าทำ�ไมผู้เรยี นจึงคิดวา่ เป็นเหตุผลวบิ ตั ิ

8.2.7 ผ้เู รียนแต่ละกล่มุ ทำ�ใบกิจกรรมท ่ี 2.2 เหตุผลวิบตั ใิ นโลกออนไลน์ 

8.2.8 ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำ�เสนองาน โดยเปิด URL แหล่งข้อมูลท่ีเลือกมา แล้วให้เพ่ือนในชั้นเรียนร่วมกัน

วพิ ากษ์ว่าเป็นเหตผุ ลวิบัตจิ ริงหรอื ไม่ 

8.2.9 ผู้เรียนร่วมกันอภิปรายว่า เหตุผลวิบัติส่งผลเสียต่อสังคมอย่างไร และมีวิธีการป้องกันหรือแก้ไข

ไม่ให้เกดิ เหตผุ ลวิบตั ไิ ดอ้ ยา่ งไรบ้าง

9. การวดั และประเมินผล

9.1 ตรวจคำ�ตอบจากการทำ�ใบกจิ กรรม 

9.2 สังเกตพฤตกิ รรมการมสี ว่ นร่วมในช้ันเรยี น

9.3 ประเมนิ การทำ�งานกลุม่

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กิจกรรมท่ี 2 | เหตผุ ลวิบตั ิ 11
คู่มือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)

10. สอื่ และแหลง่ ข้อมูล
-
11. ขอ้ เสนอแนะ
11.1 การนำ�เสนอตัวอย่างวิดีโอสถานการณ์ท่ีเก่ียวกับเหตุผลวิบัติ ผู้สอนอาจหา
สถานการณ์ปจั จุบนั หรือเหตุการณใ์ กลต้ ัวผ้เู รียนอ่ืน ๆ เพมิ่ เติม 
11.2 ผู้สอนแนะนำ�ให้ผู้เรียนพิจารณาอย่างมีวิจารณญาณ รู้จักสังเกต ไม่คล้อยตาม
เนอื้ เรอื่ ง และตอ้ งหาประเดน็ ทเ่ี ปน็ เหตผุ ลวบิ ตั จิ ากสถานการณต์ า่ ง ๆ โดยผสู้ อน
อาจจะแนะน�ำ ในชว่ งแรก
11.3 การทำ�ใบกิจกรรมที่ 2.1 เป็นการให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นต่อสถานการณ์ ผู้สอนต้องเน้นเรื่องการให้
เหตผุ ลเพอ่ื สนับสนุนความคิดของตนเองอยา่ งเหมาะสม
11.4 การทำ�ใบกิจกรรมที่ 2.2 เป็นการหาตัวอย่างสถานการณ์ที่เกิดข้ึนจริงในสังคม ผู้สอนควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียน
ได้สืบค้นอย่างอิสระ ไม่ปิดก้ันตัวอย่างเร่ืองการใช้ภาษาที่ไม่เหมาะสม เพราะกิจกรรมนี้มีจุดประสงค์
ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ เรื่อง เหตุผลวิบัติ แต่ถ้าสถานการณ์มีการใช้ภาษาท่ีไม่เหมาะสม ผู้สอนควรสอดแทรก
มารยาทและการใชส้ ื่อสงั คมออนไลน์ท่เี หมาะสมดว้ ย

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

12 กจิ กรรมท่ี 2 | เหตผุ ลวบิ ตั ิ
คมู่ อื ครูรายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

ใบกจิ กรรมท ี่ 2.1  รว่ มด้วยชว่ ยกนั พิจารณา

1. ชอ่ื -สกุล ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขที่ ................
2. ชอื่ -สกุล ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขท ่ี ................
3. ชอ่ื -สกลุ  ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขท ่ี ................
4. ชื่อ-สกุล ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขท่ี ................

ให้นักเรียนศึกษาหัวข้อ 6.2 เหตุผลวิบัติ แล้วพิจารณาสถานการณ์ในกิจกรรมท่ี 6.2 ข้อ 1 ในหนังสือเรียน แล้วตอบ
คำ�ถามใหถ้ กู ตอ้ ง ครบถ้วน

1. สถานการณ์ที่กลุ่มนักเรียนได้รับ คือ ………………………………………………………….…………………………………………
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
2. นักเรยี นเหน็ ดว้ ยกับขอ้ ความในสถานการณ์ดงั กลา่ วหรือไม ่ เพราะเหตุใด 
 เห็นด้วย เพราะ …………………………………………………………………………….……………………………………………
 ไม่เห็นด้วย เพราะ …………………………………………………………………………………………………….………………
3. นักเรียนคิดว่า สถานการณ์ดังกล่าวเป็นเหตุผลวิบัติอย่างไร ให้อธิบายพร้อมยกเหตุผลที่ถูกต้องและเหมาะสม
ประกอบ ……………......…....……………………………………………..……………………...……..........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....………………………
…………..……………………………………...................
............................................................................
…………………….............………....………………………
…………..……………………………………....................
............................................................................
…………………….............………....………………………
…………..……………………………………....................
............................................................................
............................................................................

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กิจกรรมท่ี 2 | เหตุผลวบิ ัติ 13
คมู่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

ใบกิจกรรมที่ 2.2  เหตผุ ลวบิ ัติในโลกออนไลน์

1. ช่ือ-สกุล ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขที่ ................

2. ช่ือ-สกลุ  ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขที่ ................

3. ชื่อ-สกลุ  ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขที่ ................

4. ชอ่ื -สกลุ  ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขท ่ี ................

1. ให้นักเรียนค้นหาตัวอย่างสถานการณ์ท่ีแสดงถึงเหตุผลวิบัติในโลกออนไลน์มา 1 ตัวอย่าง อาจจะอยู่ในรูปของ
กระดานข่าว คลปิ วดิ โี อ โพสต์ หรืออน่ื  ๆ 
สถานการณ์ท่ีกลุ่มนักเรียนเลือก คือ ………………………………………………………….…………………………………………
แหล่งข้อมูล .....…………………………………………………………………………….……………………………………………
...……..........................…………………….............………....…………………………………..……………………………………...
สถานการณ์แสดงถึงเหตุผลวิบัติ เน่ืองจาก ……………......…....……………………………………………..……………………
...……..........................…………………….............………....…………………………………..……………………………………...
........................…………………….............………....…………………………………..……………………………………..............
.............…………………….............………....…………………………………..…………………………………….........................
2. นกั เรยี นมวี ธิ กี ารป้องกันหรอื แกไ้ ขไมใ่ หเ้ กิดเหตผุ ลวบิ ตั กิ ับตนเองได้อย่างไรบา้ ง
...……..........................…………………….............………....…………………………………..……………………………………..
........................…………………….............………....…………………………………..……………………………………..............
.............…………………….............………....…………………………………..…………………………………….........................
.............…………………….............………....…………………………………..…………………………………….........................
3. ขณะท่ีตัวแทนแต่ละกลมุ่ นำ�เสนอสถานการณ์ตวั อยา่ ง ให้นกั เรยี นสรปุ ประเด็นท่ีแสดงถึงเหตผุ ลวิบตั ิของทุกกลุ่ม
...……..........................…………………….............………....…………………………………..……………………………………..
........................…………………….............………....…………………………………..……………………………………..............
.............…………………….............………....…………………………………..…………………………………….........................
.............…………………….............………....…………………………………..…………………………………….........................
........................…………………….............………....…………………………………..……………………………………..............
.............…………………….............………....…………………………………..…………………………………….........................
.............…………………….............………....…………………………………..…………………………………….........................
.............…………………….............………....…………………………………..…………………………………….........................
.............…………………….............………....…………………………………..…………………………………….........................

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมท ่ี รเู้ ทา่ ทนั  ฉนั ปลอดภยั

3 1. ตัวชว้ี ัด
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติตาม
เวลา 2 ช่ัวโมง กฎหมายเกย่ี วกบั คอมพิวเตอร์ ใชล้ ขิ สทิ ธิข์ องผูอ้ ื่นโดยชอบธรรม
2. สาระการเรยี นรู้
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เช่น การทำ�ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส ์
การซอ้ื สินคา้  ซื้อซอฟตแ์ วร์ คา่ บรกิ ารสมาชกิ  ซ้อื ไอเท็ม
การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งมคี วามรบั ผดิ ชอบ เชน่  ไมส่ รา้ งขา่ วลวง ไมแ่ ชรข์ อ้ มลู
โดยไม่ตรวจสอบขอ้ เท็จจริง
3. จุดประสงค ์ ใหผ้ ้เู รยี นสามารถ
3.1 อธิบายผลกระทบ แนวทางป้องกัน และวธิ ีการแกป้ ัญหาขา่ วลวง
3.2. เลือกวิธปี ฏบิ ัตเิ ม่อื พบขา่ วลวง
3.3. บอกขอ้ ควรค�ำ นงึ และแนวทางปฏิบัตใิ นการท�ำ ธรุ กรรมอิเล็กทรอนิกส์

กจิ กรรมท่ี 3 | รเู้ ทา่ ทัน ฉนั ปลอดภัย 15
คูม่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

4. ทกั ษะและกระบวนการ (ท่ีเปน็ จุดเน้น ทักษะในศตวรรษท ี่ 21)
ทักษะการท�ำ งานรว่ มกัน
ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์
ทักษะการสื่อสาร
5. ความรเู้ ดมิ ท่นี กั เรียนตอ้ งม ี ซ่ึงจะสอดคลอ้ งกบั ส่วน “ทบทวนความรูเ้ ดมิ /สำ�รวจความรกู้ ่อนเรยี น”
แนวทางการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย
แนวทางปฏิบตั ิเม่ือพบเน้อื หาท่ไี มเ่ หมาะสม
การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างมคี วามรับผิดชอบ
6. สาระสำ�คญั
การรู้เท่าทันในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศซ่ึงจะช่วยให้ผู้ใช้รู้ว่าควรปฏิบัติอย่างไรในการใช้งานเทคโนโลยี
สารสนเทศในชีวิตประจำ�วัน รวมท้ังการปฏิบัติเมื่อพบกับข่าวลวงหรือเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม ซึ่งจะช่วยให้การใช้งาน
เทคโนโลยีสารสนเทศมีความปลอดภัยย่ิงข้ึน ในขณะท่ีการใช้งานอย่างมีความรับผิดชอบจะช่วยให้ปัญหาต่าง ๆ
ทีจ่ ะเกิดขนึ้ จากการใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศลดนอ้ ยลง 
7. ส่อื และอุปกรณ์
7.1 ใบกิจกรรม

ใบกจิ กรรมท่ี เร่อื ง เวลา (นาท)ี
3.1 รู้เท่าทนั  ฉนั ปลอดภัย 30
3.2 ปลอดภยั  ได้ตรงปก 30

7.2 อนื่  ๆ
เครื่องคอมพวิ เตอร์ทเี่ ชอื่ มตอ่ อนิ เทอร์เนต็
บตั รสถานการณ์ใบกิจกรรมท่ ี 3.1
แบบประเมนิ ใบกจิ กรรมท ่ี 3.1
แบบสังเกตพฤติกรรมการมสี ว่ นรว่ มในชั้นเรยี น
แบบประเมินการท�ำ งานกลุม่
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 
เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) ชน้ั มัธยมศึกษาปที  ี่ 3 
สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

16 กิจกรรมที่ 3 | รเู้ ท่าทัน ฉนั ปลอดภยั
คู่มือครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)

8. แนวทางการจัดการเรยี นรู้

8.1 การจัดเตรียม

8.1.1 ใบกิจกรรมท ่ี 3.1-3.2 ตามจำ�นวนกลุ่ม

8.1.2 บตั รสถานการณ์ใบกจิ กรรมท่ี 3.1

8.1.3  แบบประเมนิ ใบกิจกรรมท่ ี 3.1 แบบสงั เกตพฤตกิ รรม

การมีสว่ นรว่ มในชน้ั เรียน และแบบประเมนิ การทำ�งานกล่มุ

8.2 ข้นั ตอนการด�ำ เนนิ การ 

8.2.1 ผู้สอนยกตัวอย่างสถานการณ์ 2 สถานการณ์ เพื่อให้ผู้เรียนพิจารณาว่าสถานการณ์ใดเป็นข่าวลวง 

หรือเป็นข้อเทจ็ จริง เชน่  

สถานการณ์ที่ 1 “ส้ินตำ�นานนักบู๊ไทย โทน่ี จา ทัชชกรยีรัมย์ เคล่ือนย้ายกลับสุรินทร์ทำ�พิธี ผู้กำ�กับ 

Fast9 แถลงเยน็ น้”ี

สถานการณท์ ี่ 2 “การใหเ้ ดก็ ต�ำ่ กวา่  2 ขวบเลน่ อนิ เทอรเ์ นต็  แทบ็ เลต็  หรอื โซเชยี ลมเี ดยี ตา่ ง ๆ จะท�ำ ให้

เดก็ สมาธิสัน้ ”

ถา้ มสี ถานการณ์ท่เี ป็นขา่ วลวง ใหผ้ ู้เรยี นรว่ มกันอภิปรายเพอื่ ตอบคำ�ถามต่อไปน้ี

  ผู้สร้างหรอื ผเู้ ผยแพร่ขา่ วนั้นหวงั ผลอะไร

  มบี ุคคลใดทีไ่ ดร้ ับผลกระทบจากสถานการณน์ ี้บ้าง อย่างไร

  ผเู้ รยี นมีแนวทางปฏบิ ัตเิ พือ่ แกไ้ ขปญั หานีอ้ ยา่ งไร

8.2.2 ผสู้ อนสุม่ ผเู้ รยี นเพอ่ื ตอบค�ำ ถามว่ามีหลักการพจิ ารณาข้อเท็จจริงหรือข่าวลวงอยา่ งไร

8.2.3 ผู้เรียนศึกษาหัวข้อ 6.3.2 การรู้เท่าทันส่ือ และ 6.3.3 ข่าวลวงและผลกระทบ จากหนังสือเรียน

ในบทที่ 6

8.2.4 ผู้สอนแบง่ ผ้เู รียนเป็นกลุ่ม กลุม่ ละ 4 คน แลว้ แจกบตั รสถานการณ์ใบกจิ กรรมที ่ 3.1

8.2.5 ผสู้ อนให้ผู้เรียนค้นหาข้อมูลท่เี กย่ี วข้องกับสถานการณท์ ี่ไดร้ บั  แล้วท�ำ ใบกิจกรรมท ่ี 3.1 

รู้เท่าทนั  ฉันปลอดภัย

8.2.6 ผสู้ อนส่มุ ผูเ้ รยี นนำ�เสนอผลที่ได้จากการทำ�ใบกจิ กรรมท ี่ 3.1

8.2.7 ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายสรุป การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ เช่น

ไม่สร้างข่าวลวง ไม่แชร์ข้อมูลโดยไม่ตรวจสอบข้อเท็จจริง 

และแนวทางการป้องกันตนเองจากการถูกโน้มน้าวด้วยเนื้อหา

ที่เป็นเท็จและมีผลกระทบต่อผู้อื่น เพ่ือไม่ให้ตกเป็นเครื่องมือ

ทางการตลาดหรือท�ำ ใหเ้ กดิ ผลประโยชนก์ บั บุคคลใดบคุ คลหนึ่ง 

8.2.8 ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาหัวข้อ 6.3.1 การทำ�ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์

อย่างปลอดภัย จากหนังสือเรียนในบทท ี่ 6

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กิจกรรมที่ 3 | รู้เท่าทนั ฉนั ปลอดภยั 17
คมู่ ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

8.2.9 ผู้สอนและผู้เรียนร่วมอภิปรายเก่ียวกับการทำ�ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในชีวิตประจำ�วัน ซ่ึงจะต้อง

ระมัดระวังและมีความรอบคอบ เช่น การซื้อสินค้าออนไลน์ ผู้ซ้ือสินค้าไม่เห็นสินค้าจริง และไม่ได้รับ

สินค้าทันทีหลังจากชำ�ระเงิน ซึ่งอาจเป็นช่องทางให้เกิดการฉ้อโกง นอกจากนี้สินค้าท่ีได้รับมาไม่ตรง

ตามขอ้ มลู ทโี่ ฆษณา และไมม่ คี ณุ ภาพ โดยยกตวั อยา่ งสถานการณท์ มี่ ปี ญั หา เชน่  “สาวโวยถกู โกง 3,000

ซื้อของออนไลน์แต่ไม่ได้ของ ไลน์ไปก็บล็อก โทรไปก็ไม่รับ” โดยให้ผู้เรียนร่วมกันอภิปรายว่า ก่อนการ

สง่ั ซื้อสนิ คา้ ออนไลน์ ผ้เู รยี นตอ้ งพจิ ารณาประเด็นใดบ้างเพ่อื ประกอบการตัดสนิ ใจ

8.2.10 ผเู้ รียนทำ�ใบกจิ กรรมท ่ี 3.2 ปลอดภยั  ได้ตรงปก

8.2.11 ผู้สอนสุ่มผู้เรียนออกมานำ�เสนอผลที่ได้จากการทำ�ใบกิจกรรมที่ 3.2 พร้อมกับสรุปแนวคิดในการ

พจิ ารณารายละเอยี ดสินคา้ และร้านคา้ กอ่ นการส่งั ซอ้ื สนิ คา้  รวมทงั้ การติดตามผลหลังการสัง่ ซื้อ 

8.2.12 ผสู้ อนและผเู้ รยี นรว่ มกนั อภปิ รายสรปุ  การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั  เชน่  การท�ำ ธรุ กรรม

อิเลก็ ทรอนิกส ์ การซอื้ สนิ คา้  ซื้อซอฟต์แวร ์ ซื้อไอเท็ม และการชำ�ระค่าบริการสมาชิก

9. การวดั และประเมินผล

9.1 ตรวจค�ำ ตอบจากการท�ำ ใบกิจกรรม

9.2 ประเมนิ ใบกจิ กรรมท่ ี 3.1

9.3 สังเกตพฤตกิ รรมการมสี ว่ นรว่ มในชน้ั เรยี น

9.4 ประเมินการทำ�งานกลุ่ม

10. ส่ือและแหล่งขอ้ มูล

-

11. ข้อเสนอแนะ

11.1 การตอบคำ�ถามในใบกิจกรรมท่ี 3.1 - 3.2 ผู้สอนอาจให้แต่ละกลุ่มเขียนคำ�ตอบลงในเว็บไซต์หรือบริการต่าง ๆ 

ท่ีผู้เรียนสามารถแสดงความคิดเหน็ หรือใชง้ านรว่ มกันได ้ เช่น Google Docs, Padlet

11.2 กิจกรรมน้ีเน้นให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ เช่น ไม่สร้างข่าวลวง ไม่แชร์ข้อมูล

โดยไม่ตรวจสอบข้อเท็จจริงและการใช้เทคโนโลยีอย่างปลอดภัย เช่น การทำ�ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ซื้อสินค้า 

ซ้ือซอฟต์แวร์ ซ้ือไอเท็ม ชำ�ระค่าบริการสมาชิก ท้ังน้ีผู้สอนควรให้ความสำ�คัญ คอยดูแลให้คำ�ปรึกษาอย่าง

ใกลช้ ดิ  

11.3 ผู้สอนอาจยกตัวอย่างสถานการณ์ที่เป็นปัจจุบันให้ผู้เรียนพิจารณาถึงข่าวลวง การตรวจสอบข้อเท็จจริง

ก่อนแชร์ข้อมูล และแนวทางการป้องกันตนเองจากการถูกโน้มน้าวด้วยเนื้อหาที่เป็นเท็จและมีผลกระทบต่อ

ผรู้ บั เพอื่ ไมใ่ หต้ กเป็นเคร่อื งมือทางการตลาด และอาจยกตวั อยา่ งเวบ็ ไซต์ท่พี สิ ูจน์ขา่ วลวง เชน่  

ทาง Youtube 

รายการชัวรน์ ะแม่ อยา่ แชรม์ ่ัว 

รายการชวั รก์ อ่ นแชร์ 

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

18 กจิ กรรมท่ี 3 | รู้เทา่ ทัน ฉันปลอดภยั
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

ทางเว็บไซต์

https://www.khaosod.co.th/monitor-news 

https://www.thairath.co.th/tags/แชรม์ ่ัว

https://news.kapook.com/topics/ข่าวปลอม 

ทาง facebook 

https://www.facebook.com/DramaAdd 

https://www.facebook.com/SureAndShare

11.4 ผสู้ อนควรระมดั ระวงั ในการยกตวั อยา่ งสถานการณ ์ เพราะบางกรณี

อาจเปน็ การชี้น�ำ ใหผ้ เู้ รียนท�ำ ตาม

11.5 หากมีเวลาเพียงพอ ผู้สอนควรให้ผู้เรียนอภิปรายประเด็นในแบบ

ฝึกหัดท้ายบทจากหนังสือเรียน หรือแทรกไปในกิจกรรมอื่น

เพ่ือให้ผู้เรียนตระหนักและมีจิตสำ�นึกในการใช้เทคโนโลยีอย่างมี

ความรบั ผิดชอบ

11.6 น�ำ คำ�ถามชวนคิดมาอภิปรายระหว่างการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กิจกรรมที่ 3 | รเู้ ท่าทนั ฉันปลอดภยั 19
คูม่ อื ครรู ายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

บตั รสถานการณใ์ บกจิ กรรมท ่ี 3.1

สถานการณท์ ่ี 1 สถานการณท์ ี่ 2

มกี ารเผยแพรข่ อ้ มลู ในเครอื ขา่ ยสงั คม แถบสดี า้ นลา่ ง มีการเผยแพร่ข้อมูลในเครือข่ายสังคม “ดาวเคราะห์
หลงั หลอดยาสฟี ันน้ันมีความหมาย ดงั นี้ นิ บิ รุ   ห รื อ   P l a n e t   X   จ ะ พุ่ ง ช น โ ล ก   2 3   กั น ย า ย น
เขยี ว...  วัสดุธรรมชาติ  จะสง่ ผลใหส้ นิ้ โลก”
น้�ำ เงนิ ... วสั ดุธรรมชาติ และ ยา
แดง...  วัสดธุ รรมชาต ิ และ สว่ นผสมเคมภี ณั ฑ์
ด�ำ ...  เคมีภณั ฑ์ล้วน ๆ
ฉะนน้ั  ถา้ เปน็ ไปได้ ควรเลือกสีเขยี วหรอื สนี �้ำ เงนิ  
แตใ่ นท้องตลาดส่วนใหญ่เปน็ สดี ำ�

สถานการณท์ ี ่ 3 สถานการณท์ ี่ 4

นาซา เร่งหาทางสกัดก่อนสาย ดาวเบนนู ชนโลก “NASA พยากรณ์ว่าปีน้ี กระแสนำ้�อุ่นเอลนีโญ่
ถึงขัน้ คิดใช ้ นิวเคลียร์ทำ�ลาย จะไหลย้อนสู่เอเชีย ทำ�ให้ไทยมีฝนตกชุกเป็นพิเศษ
และคาดการณ์อีกว่า กลางเดือนกันยายน 2560 นำ้�จะ
ท่วมใหญ่กรุงเทพ เมืองชายฝั่งของไทย ระดับน้ำ�จะสูง
ขนาดทว่ มตกึ  4 ชนั้  ไฟจะดบั ไปทว่ั เปน็ เวลา 7 เดอื นกวา่  
น้ำ�จะลด จะเกิดมหาพายุ Super Tornado ถล่มไทย
นำ้�เหนือไหล น้ำ�ทะเลหนุนสูง กรุงเทพกลายเป็นเมือง
บาดาล”

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

20 กิจกรรมที่ 3 | รู้เท่าทัน ฉนั ปลอดภยั
คู่มอื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)

สถานการณ์ท่ี 5

นายพลขา้ งกายทา่ นนายกคนหน่ึง คือคนอนมุ ัตใิ หพ้ าราควอต
ต่ออายุ ตัวแทนบริษัทสารพิษไปย่ืนหนังสือ มีการออกมารับ
หนังสือเอง ตอนผู้บริโภคไปย่ืนไม่มีใครออกมารับหนังสือเลย
คนไทยทุกคนต้องทราบเรื่องนี้ การต่ออายุให้ใช้สารเคมีพิษ
ฆา่ คนไทย ฆา่ เดก็ ไทยทจี่ ะเกดิ มา มใี บสง่ั จากรฐั บาลมตกิ รรมการ
วัตถุอันตราย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คำ�สั่งมาจากบริษัท
สารพิษยงั จะบอกมันดีหรือ

สถานการณ์ที่ 6 สถานการณ์ที่ 7

มกี ารเผยแพรข่ อ้ มลู ในเครอื ขา่ ยสงั คม “รา่ งกฎหมาย มีการเผยแพร่ข้อมูลในเครือข่ายสังคม “เปิดบัญชี
ใหม่ทหารเกณฑเ์ ป็น 4 ปเี ตม็  ไม่มผี ลัด ไมม่ กี ลับบา้ น” ออมสนิ  รัฐแจก 3,000 บาท”

สถานการณ์ท่ี 8
“เคยได้มีโอกาสคุยกับอาจารย์หมอท่ีผ่าตัดด้วยวิธีการส่องกล้อง
ท่านกำ�ชับว่า ให้งดบริโภคหอยแครงเนื่องจากเป็นอาหารท่ีเช้ือมะเร็ง
ชอบและเป็นอาหารต้องห้ามสำ�หรับเพศหญิงทุกวัย เพราะจะทำ�ให้
เกิดก้อนเน้ืองอกแล้วสามารถพัฒนาเป็นก้อนโต ๆ ข้ึนได้อย่างรวดเร็ว
จงึ ขอแชรม์ าด้วยความปรารถนาด”ี  

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมท่ี 3 | รูเ้ ท่าทัน ฉันปลอดภัย 21
คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

สถานการณ์ที ่ 10 สถานการณท์ ี่ 9
“เป็นกรดไหลยอ้ น หา้ มนอนตะแคงขวา” 
การออกกำ�ลังกายกลางแจ้ง ลดความเส่ยี งโรคหัวใจ
จึ ง ไ ม่ แ ป ล ก เ ล ย ท่ี เ ร า จ ะ เ ห็ น ผู้ สู ง อ า ยุ ท่ี ว่ิ ง ห รื อ เ ดิ น
ออกกำ�ลังกายตอนเช้าเป็นประจำ�มีสุขภาพร่างกายท่ี
แข็งแรงมาก เพราะฉะน้ันหากใครไม่อยากเส่ียงเป็น
โรคหวั ใจใหม้ าออกก�ำ ลงั กายกลางแจ้งกัน

ตัวอย่างคลิป

ชวั รก์ อ่ นแชร์ : เลือกซ้อื ยาสฟี นั ใหด้ ูแถบสีตรงปลายหลอด เผยแพรเ่ มือ่  22 พ.ย. 2015 
https://www.youtube.com/watch?v=a-YXNS6tDOw

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

22 กจิ กรรมที่ 3 | รูเ้ ท่าทัน ฉันปลอดภัย
ค่มู อื ครูรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

ใบกิจกรรมท ี่ 3.1  รเู้ ท่าทนั  ฉันปลอดภัย

สมาชกิ กลมุ่ ที ่ ……...… 1. ชอ่ื -สกลุ  ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…
2. ชอื่ -สกลุ  ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…..
3. ชอื่ -สกลุ  ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…..
4. ชอื่ -สกลุ  ……………………………….…………………………………….…..…………………………….…...

1. ให้นักเรียนศึกษาหวั ขอ้  6.3.2 การร้เู ท่าทนั สอ่ื  และ 6.3.3 ข่าวลวงและผลกระทบ จากหนังสือเรยี น
2. สถานการณ์ท่ีกลุ่มนักเรียนได้รับ คือ ……....…………………………………..…………………....…………………………………
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
3. จากสถานการณ์ในข้อ 2 นักเรียนคาดว่าผู้ให้ข้อมูลมีวัตถุประสงค์อะไร มีบุคคลใดที่ได้รับผลกระทบจาก
สถานการณน์ ้บี า้ ง อย่างไร 
ผู้ให้ข้อมูลมีวัตถุประสงค์ ……………......…...................................……………………………………………..………
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
บุคคลท่ีได้รับผลกระทบ ...……………......….................................……………………………………………..………
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
ผลกระทบที่ได้รับ คือ ……………......…..........................................……………………………………………..………
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมท่ี 3 | รู้เทา่ ทนั ฉันปลอดภัย 23
คูม่ ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

4. จากสถานการณ์ หากมีผู้อื่นโพสต์ข้อมูลน้ีในเครือข่ายสังคมและแท็กนักเรียนด้วย นักเรียนจะปฏิบัติอย่างไร 
ให้ท�ำ เครื่องหมาย   หนา้ ขอ้ ความ (เลือกได้มากกวา่  1 ขอ้ )

 ไม่เผยแพร ่  เผยแพรต่ อ่  บันทึกเก็บไว ้  กดไลค์ (Like) 

 คอมเมนตต์ ่อโพสต์  บล็อกผโู้ พสต์  แจ้งผู้โพสต์ให้แกไ้ ขขอ้ ความ  แจง้ ผ้โู พสตใ์ ห้ลบออก

 แจ้งผู้ปกครองหรือคร ู  แจง้ เจ้าหนา้ ทีร่ ัฐหรอื ตำ�รวจ  รายงานปญั หากับผู้ใหบ้ ริการ

 ลบแทก็  ตงั้ คา่ ไม่ใหแ้ ทก็ ถา้ ไมไ่ด้รับอนุญาต 

 อ่นื  ๆ โปรดระบุ ………………………………………………………………………..........................................................

5. ให้นักเรียนยกตัวอย่างสถานการณ์ข่าวลวง แล้ววิเคราะห์ถึงวัตถุประสงค์ ผลกระทบท่ีอาจเกิดข้ึนหากมีการแชร์สู่สังคม 
และแนวทางปฏิบตั เิ พือ่ แก้ปญั หาน้ี
ตัวอย่างสถานการณ์ ……………......…...................................……............………………………………………..………
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
แหล่งข้อมูล ……………......…...................................……………...................………………………………..………
…………………….............………....…………………………………..……………...……………………...........................
…………………….............………....…………………………………..………………...……………………...........................
…………………….............………....…………………………………..………………....……………………...........................
ผู้สร้างหรือผู้เผยแพร่ส่ือน้ันมีวัตถุประสงค์อะไร …......…........................................………………………………………
…………………….............………....…………………………………..……………………….
…………………….............………....…………………………………..………………………
…………………….............………....…………………………………..………………………
มีบุคคลใดที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์น้ีบ้าง อย่างไร ...........................
…………………….............………....…………………………………..…......………………
…………………….............………....…………………………………..…….......……………
…………………….............………....………………………………….......…………………
นกั เรยี นมีแนวทางปฏบิ ตั เิ พ่ือแกป้ ญั หานีอ้ ย่างไร ................................................
…………………….............………....………………………………...…..………………….…
…………………….............………....………………………...………….....…………………
…………………….............………....……………………………….......…..…………………

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

24 กิจกรรมที่ 3 | รเู้ ทา่ ทัน ฉันปลอดภัย
คู่มือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

ใบกจิ กรรมท่ ี 3.2  ปลอดภยั  ไดต้ รงปก

สมาชิกกลุม่ ท ี่ ……...… 1. ชอ่ื -สกลุ  ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…

2. ชอื่ -สกลุ  ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…..

3. ชอื่ -สกลุ  ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…..

4. ชอ่ื -สกลุ  ……………………………….…………………………………….…..…………………………….…...

1. ให้นกั เรยี นศึกษาหวั ข้อ 6.3.1 การท�ำ ธรุ กรรมอิเลก็ ทรอนกิ สอ์ ย่างปลอดภยั  จากหนงั สือเรยี น
2. หากผู้ปกครองนักเรียนต้องการส่ังซื้อสินค้าออนไลน์ โดยเลือกชำ�ระค่าสินค้าผ่านบัตรเครดิต นักเรียนจะแนะนำ�
ผปู้ กครองในการท�ำ ธรุ กรรมอเิ ลก็ ทรอนกิ ส ์ ใหป้ ลอดภยั ไดอ้ ยา่ งไร ……....…………………………………..…………………
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....……………………….....…………..……………………………………...........................

…………………….............………....…………………………………..…………………
…………………...........................…………………….............………....……………
……………………..……………………………………...........................………………
…….............………....…………………………………..…………………………………
…...........................…………………….............………....……………………………
……..……………………………………...........................……………………...........
..………....…………………………………..…………………………………….............


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมท่ี 3 | ร้เู ท่าทัน ฉันปลอดภัย 25
คมู่ อื ครูรายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกสินค้าที่ต้องการซ้ือมา 1 อย่าง แล้วให้ค้นหาว่าถ้านักเรียนจะส่ังซื้อสินค้าผ่านช่องทาง
ออนไลน์จะเลือกสั่งผ่านช่องทางใด จากร้านค้าหรือเว็บไซต์ใด พร้อมอธิบายเหตุผลประกอบว่าทำ�ไมจึงเลือก
เช่นนั้น
สินค้าท่ีต้องการสั่งซ้ือ คือ .......……........................................…………………………………..…………………
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
ช่องทางออนไลน์ที่จะส่ังซื้อสินค้า คือ ……………......…...................................…………………………………………….
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
เพราะ …………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
ร้านค้าหรือเว็บไซต์ท่ีต้องการซ้ือ คือ ...……………......….................................…………………………………………….
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
วิธีการส่ังซื้อ คือ …………………….............………....…………………………………..……………………………………............
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
ช่องทางการชำ�ระเงิน คือ …………………….............………....…………………………………..…………………………………
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
เลือกสั่งซ้ือร้านน้ี เพราะ ……………………………………………………………………………………………………………………
………………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………
………………...........................…………………….............………....…………………
………………..……………………………………...........................……………………...
..........………....…………………………………..……………………………………..........
.................…………………….............………....…………………………………..………
……………………………...........................…………………….............………....……
……………………………..……………………………………...........................…………
………….............………....…………………………………..………………………………

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมท ่ี กฎหมายนา่ รู้

4 1. ตวั ชว้ี ดั
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติตาม
เวลา 2 ช่ัวโมง กฎหมายเกีย่ วกบั คอมพวิ เตอร์ ใชล้ ขิ สทิ ธิ์ของผอู้ นื่ โดยชอบธรรม
2. สาระการเรยี นรู้
กฎหมายเกยี่ วกบั คอมพิวเตอรแ์ ละการใช้คอมพวิ เตอร์
3. จดุ ประสงค ์ ให้ผู้เรียนสามารถ
3.1 อภิปรายแนวปฏบิ ัติในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศทถ่ี กู กฎหมาย
3.2. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศตามสทิ ธิและหน้าที่ของตนเอง และไมล่ ะเมิดสทิ ธ์ขิ องผู้อื่น

กจิ กรรมที่ 4 | กฎหมายนา่ รู้ 27
คู่มือครูรายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

4. ทักษะและกระบวนการ (ท่เี ป็นจุดเน้น ทักษะในศตวรรษท ี่ 21)
ทักษะการท�ำ งานรว่ มกัน
ทักษะการคดิ วิเคราะห์
ทักษะการสื่อสาร
5. ความรู้เดิมทีน่ กั เรยี นตอ้ งมี ซ่ึงจะสอดคลอ้ งกับสว่ น “ทบทวนความรู้เดิม/ส�ำ รวจความร้กู ่อนเรียน”
แนวทางการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั
แนวทางปฏิบัตเิ มือ่ พบเน้อื หาทไี่ มเ่ หมาะสม
การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งมคี วามรบั ผดิ ชอบ
6. สาระสำ�คัญ
ข้อกำ�หนด ระเบียบ และกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ประเทศไทยมีพระราชบัญญัติ
ที่เก่ียวข้องกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ และมีการปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่สมำ่�เสมอ โดยสามารถ
ศกึ ษารายละเอยี ดตา่ ง ๆ ไดจ้ ากพระราชบญั ญัตดิ งั นี้
พระราชบัญญัตกิ ารพัฒนาดจิ ิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. 2560
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) 
พ.ศ. 2560
7. สื่อและอุปกรณ์
7.1 ใบกจิ กรรม

ใบกจิ กรรมท่ี เร่ือง เวลา (นาท)ี
4.1 ทำ�แบบน้ผี ดิ หรอื ไม่ 30
4.2 30
ผิดหรือถูก

7.2 อื่น ๆ
เครื่องคอมพวิ เตอร์ท่ีเชอื่ มตอ่ อนิ เทอร์เนต็
แบบประเมนิ ใบกิจกรรมที่ 4.1
แบบสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในช้นั เรียน
แบบประเมินการทำ�งานกลมุ่
หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 
เทคโนโลย ี (วิทยาการคำ�นวณ) ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 
สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

28 กจิ กรรมท่ี 4 | กฎหมายนา่ รู้
คมู่ อื ครูรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

8. แนวทางการจดั การเรียนรู้

8.1 การจดั เตรียม

8.1.1 ใบกจิ กรรมท่ ี 4.1-4.2 ตามจ�ำ นวนกลุ่ม

8.1.2  แบบประเมินใบกิจกรรมท่ ี 4.1 แบบสงั เกตพฤติกรรม

การมีส่วนรว่ มในชัน้ เรยี น และแบบประเมินการทำ�งานกลุ่ม

8.2 ขน้ั ตอนการดำ�เนนิ การ 

8.2.1 ผู้สอนร่วมสนทนากับผู้เรียน เร่ือง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างไรให้ถูกกฎหมาย ยกตัวอย่าง

การกระทำ�ทม่ี ีความผิดตามพระราชบญั ญัตวิ า่ ดว้ ยการกระท�ำ ความผดิ เก่ียวกบั คอมพวิ เตอร ์

  เช่น ผบช.น. เตรียมเรียกสอบผู้โพสต์ภาพ ตึกโรงแรมหรูโรดวู้ด บริเวณแยกเพลินจิตเอียง เหมือนจะ

พังถล่มลงมา ชี้หากมีเจตนาทำ�ให้เกิดความวุ่นวาย ปชช.แตกตื่น เจอเอาผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์

หวงั เชอื ดใหด้ ูเปน็ ตัวอย่าง อยา่ โพสตด์ ้วยความคึกคะนอง

(ทม่ี า https://www.thairath.co.th/news/local/bangkok/1040567)

แล้วให้ผู้เรยี นร่วมกนั อภปิ รายเพื่อตอบค�ำ ถามตอ่ ไปนี้

  ผ้สู รา้ งหรอื ผ้เู ผยแพร่ขา่ วนน้ั หวังผลอะไร

  มบี ุคคลใดท่ไี ด้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์นี้บ้าง อยา่ งไร

  การกระทำ�ดงั กลา่ วมีความผิดตาม พ.ร.บ.ว่าดว้ ยการกระทำ�ความผิดเกย่ี วกบั คอมพิวเตอร ์ หรอื ไม่

เพราะเหตใุ ด

8.2.2 ผสู้ อนใหผ้ เู้ รยี นศึกษาหัวขอ้  6.4 กฎหมายเก่ียวกบั คอมพวิ เตอร์ จากหนงั สือเรยี นในบทที ่ 6

8.2.3 ผู้สอนแบ่งผู้เรียนเปน็ กลมุ่  กลมุ่ ละ 4 คน แล้วใหท้ ำ�ใบกิจกรรมที ่ 4.1 ท�ำ แบบนี้ผิดหรอื ไม่

8.2.4 ผสู้ อนสุ่มตวั แทนแตล่ ะกล่มุ ออกมานำ�เสนอผลทไ่ี ดจ้ ากการทำ�ใบกิจกรรมท่ี 4.1 

8.2.5 ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายสรุป การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ เช่น

ไมส่ รา้ งขา่ วลวง ไมแ่ ชร์ขอ้ มูลโดยไมต่ รวจสอบข้อเทจ็ จรงิ  

8.2.6 ผู้สอนเปิดคลิปสถานการณ์ตัวอย่าง การกระทำ�ท่ีมีความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำ�

ความผดิ เกย่ี วกับคอมพิวเตอร ์ เชน่  คลปิ โพสตด์ า่ คนอน่ื บนโซเชียลเส่ยี งตดิ คุก (ชัวรห์ รอ?) 

(ที่มา: https://www.youtube.com/watch?v=gHemSPnyC8o)

8.2.7 ผเู้ รยี นแต่ละกล่มุ ท�ำ ใบกจิ กรรมที่ 4.2 ผิดหรอื ถูก

8.2.8 ผู้สอนสุ่มผเู้ รยี นออกมานำ�เสนอผลที่ได้จากการทำ�ใบกจิ กรรมที ่ 4.2 

8.2.9 ผสู้ อนและผเู้ รยี นรว่ มกนั อภปิ รายสรปุ  ขอ้ ก�ำ หนด ระเบยี บ และกฎหมายตา่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การใชง้ าน

เทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือใหส้ ามารถใชง้ านได้อยา่ งปลอดภัยและเปน็ ไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กิจกรรมที่ 4 | กฎหมายน่ารู้ 29
คมู่ อื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

9. การวดั และประเมนิ ผล
9.1 ตรวจคำ�ตอบจากการทำ�ใบกิจกรรม
9.2 ประเมนิ ใบกจิ กรรมท ่ี 4.1
9.3 สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในชัน้ เรยี น
9.4 ประเมินการทำ�งานกลุม่
10. สอื่ และแหล่งขอ้ มลู
กฎหมายการกระทำ�ความผิดเกยี่ วกบั คอมพวิ เตอร ์ https://ictlawcenter.etda.or.th/laws
11. ขอ้ เสนอแนะ
11.1 การตอบคำ�ถามในใบกิจกรรมท่ี 4.1 - 4.2 ผู้สอนอาจให้แต่ละกลุ่มเขียนคำ�ตอบลงในเว็บไซต์หรือบริการต่าง ๆ 
ทผี่ ้เู รยี นสามารถแสดงความคิดเหน็ หรือใช้งานร่วมกันได ้ เชน่  Google Docs, Padlet
11.2 กิจกรรมน้ีเน้นให้ผู้เรียนใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างถูกต้องตามระเบียบและกฎหมาย ทั้งน้ีผู้สอน
ควรให้ความสำ�คัญ คอยดแู ลให้คำ�ปรึกษาอย่างใกล้ชดิ  
11.3 ผู้สอนอาจยกตัวอย่างสถานการณ์ปัจจุบันให้ผู้เรียนพิจารณาว่า ผิดพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์หรือไม่ เพราะเหตุใด 
แล้วมใี ครได้รบั ผลกระทบจากเหตกุ ารณน์ ้ีบ้าง อย่างไร
11.4 ผสู้ อนควรระมัดระวังในการยกตัวอยา่ งสถานการณ ์ เพราะบางกรณีอาจเป็นการชี้นำ�ให้ผู้เรียนทำ�ตาม
11.5 ผู้สอนให้ผู้เรียนอภิปรายประเด็นในแบบฝึกหัดท้ายบทจากหนังสือเรียน หรือแทรกไปในกิจกรรมอื่น เพื่อให้
ผ้เู รยี นตระหนกั และมีจิตสำ�นึกในการใช้เทคโนโลยีอยา่ งมคี วามรบั ผดิ ชอบ หากมเี วลาเพยี งพอ
11.6 ระหวา่ งการจดั กจิ กรรมการเรยี นรผู้ ้สู อนอาจนำ�ค�ำ ถามชวนคิดมาอภปิ รายในชัน้ เรยี น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

30 กจิ กรรมท่ี 4 | กฎหมายนา่ รู้
คู่มือครูรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

ตัวอย่างคลิป พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์
คลิปเรื่องควรรู้ พ.ร.บ.คอมฯ 60 เผยแพรเ่ มอื่  3 ก.ค. 2017 
https://www.youtube.com/watch?v=HLs-nS2cH1U
กฎทอ่ งโลกออนไลน์ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร ์ ปี 2560 เผยแพร่เม่ือ 22 พ.ค. 2017 
https://www.youtube.com/watch?v=KEe5BmUsXx4
รายงาน พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ กับการเผยแพร่ข้อมลู ลามกอนาจาร เผยแพรเ่ มอ่ื  12 ม.ค. 2018 
https://www.youtube.com/watch?v=8Y9Iu1-2PQU
แชร ์ ตอ้ งคดิ  พ.ร.บ.คอมพิวเตอร ์ เผยแพรเ่ มื่อ 4 มิ.ย. 2018 
https://www.youtube.com/watch?v=GeVfpj6VF0s
แชร์ขอ้ มลู บดิ เบือนผ่านโซเซียลมีความผิด พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ เผยแพร่เมื่อ 3 ม.ิ ย. 2018 
https://www.youtube.com/watch?v=LWjC3lBSAJU

ตวั อย่างการกระท�ำ ที่มคี วามผดิ ตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์
คลปิ โพสต์ดา่ คนอน่ื บนโซเชยี ลเสีย่ งติดคุก (ชัวร์หรอ?) | ชัวรน์ ะแม ่ อย่าแชรม์ ่วั  | วนั ท ่ี 28 ก.ย. 60 
https://www.youtube.com/watch?v=gHemSPnyC8o
คลิปภยั ออนไลน!์  เพจร้านค้าตดั ต่อภาพรายการทีวดี ังหลอกขายของ ทมี งานเตรยี มเอาผดิ  
เผยแพรเ่ มอื่  24 ม.ค. 2018 https://www.youtube.com/watch?v=Gj8f3mKfIEw
คลปิ ตร.ยันเบอร์โทรฉกุ เฉนิ เมอื งไทยยัง 191 เหมอื นเดิม ใครโพสตม์ ่ัวระวังโดน พ.ร.บ.คอมฯ 
เผยแพร่เมื่อ 23 ธ.ค. 2018 https://www.youtube.com/watch?v=nj3ZJVVNLLY
คลิปนักข่าวโดนความผดิ ฐาน พ.ร.บ.คอมฯ หลงั ทวติ เตือนภยั สงกรานต ์ เผยแพร่เม่อื  4 พ.ค. 2017
https://www.youtube.com/watch?v=eZv2OekLick
สัง่ ฟอ้ งผบู้ ริหารบริษัทพนั ปฯี  คดีฉ้อโกงประชาชน-พ.ร.บ.คอมฯ เผยแพร่เมือ่  1 พ.ย. 2018
https://www.youtube.com/watch?v=aHaUp3bHIv4 

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมท่ี 4 | กฎหมายนา่ รู้ 31
คู่มอื ครูรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

ใบกจิ กรรมที ่ 4.1  ท�ำ แบบนผี้ ิดหรอื ไม่

สมาชกิ กลมุ่ ที่ ……...… 1. ชอื่ -สกลุ  ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…
2. ชอ่ื -สกลุ  ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…..
3. ชอื่ -สกลุ  ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…..
4. ชอ่ื -สกลุ  ……………………………….…………………………………….…..…………………………….…...

1. ให้นักเรยี นศึกษาหัวข้อ 6.4 กฎหมายเกย่ี วกบั คอมพิวเตอร์
2. วิเคราะหเ์ หตกุ ารณ์ต่อไปน้ีว่าขอ้ ใดผิด พ.ร.บ.วา่ ด้วยการกระทําความผดิ เก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์ 
แล้วใหท้ �ำ เครื่องหมาย   ในชอ่ งมีความผดิ

ที่ เหตกุ ารณ์ มีความผดิ

1 หญิงคอมเมนตฝ์ ากรา้ นขายเส้อื ผ้าใน IG ของกงุ้  ทำ�ใหก้ ้งุ เกดิ ความรำ�คาญ

2 แคทกดไลค ์ (Like) Youtube เกย่ี วกบั การหมิน่ สถาบนั พระมหากษตั ริย์

3 ม้ินตโ์ พสต์ชื่นชมนักเรยี นทีไ่ ด้รบั รางวัลเหรยี ญทองจากการแขง่ ขันตัดตอ่ ภาพยนตร ์
โดยไมป่ ิดบงั ใบหน้า 

4 กอ้ ยโพสตฝ์ ากรา้ นขายเสอ้ื ผา้ ออนไลน์ใน Facebook กลุ่มตลาดนัดแมแ่ ละเด็ก

5 กสั โพสตค์ ลิปท่ีแอบถา่ ยเด็กนกั เรยี นผูห้ ญงิ และผูช้ ายเดินจบั มือกันใน Facebook 
โดยไมป่ ดิ บังใบหนา้

6 เจ๊ยี บน�ำ เพลงทีก่ ำ�ลังเป็นที่นิยมมาตัดตอ่ มิวสคิ ใหมแ่ ลว้ เผยแพรใ่ น Youtube

7 ตอ่ น�ำ ภาพพน้ื หลังจากเว็บไซตท์ แ่ี จกฟรมี าตัดตอ่ ทำ� ปกแฟม้ ประวัตผิ ลงาน (portfolio) 
ใสแ่ ฟม้ วิชาแนะแนว

8 หยกเป็นผู้ดูแลเพจขายรองเท้ามือสอง พบวา่ มกี ารโพสตฝ์ ากร้านขายของปลอม
แลว้ ไม่ลบข้อความออกจากเพจ

9 กัว้ กดแชรข์ ่าวประชาสัมพันธ์การดาวนโ์ หลดค่มู ือครจู าก Facebook IPST Thailand

10 แนนโพสต์ข้อความถงึ เพอ่ื นในห้องดว้ ยถ้อยคำ�ทแ่ี สดงความเกลียดชงั ใน Facebook 

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

32 กจิ กรรมท่ี 4 | กฎหมายน่ารู้
คู่มือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

3. ใหน้ กั เรยี นเลอื กเหตกุ ารณจ์ ากขอ้  2 ทเ่ี ลอื กตอบผดิ  แลว้ อธบิ ายวา่ ผดิ เพราะเหตใุ ด มบี ทลงโทษผกู้ ระท�ำ ผดิ อยา่ งไร 
แลว้ มีใครท่ไี ดร้ บั ผลกระทบจากเหตกุ ารณน์ บ้ี ้าง พรอ้ มใหเ้ หตุผลประกอบ
เหตกุ ารณข์ อ้  ...........................................……........................................…………………………………..…………………
เหตุผลท่ีมีความผิด ...................……............................................…………………………………..…………………
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………......................................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
บทลงโทษสำ�หรับผู้กระทำ�ความผิด .....……………......…...................................…………………………………………….
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
.....……………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
ผู้ท่ีได้รับผลกระทบ และเหตุผลประกอบ ...……………......…................................………………………………………….

…………………….............………....…………………………………..………………………………
……...........................………………………….............………....……………………………....
.……..……………………………………...........................…………………….............………..
..…………………….......……………..……………………………………...........................
…………………….............………....………………......…………………..…………………………
…………………….............………....………………......…………………..…………………………
…………………….............………....………………......…………………..…………………………
…………………….............………....………………......…………………..…………………………

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กิจกรรมท่ี 4 | กฎหมายนา่ รู้ 33
คูม่ อื ครรู ายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

ใบกจิ กรรมท ่ี 4.2  ผิดหรอื ถูก

สมาชกิ กล่มุ ท่ ี ……...… 1. ชอ่ื -สกลุ  ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…
2. ชอื่ -สกลุ  ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…..
3. ชอื่ -สกลุ  ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…..
4. ชอื่ -สกลุ  ……………………………….…………………………………….…..…………………………….…...

ให้นกั เรียนอา่ นสถานการณต์ ่อไปนี้

สถานการณ์
เจ๊ียบโพสตท์ วงหนกี้ งุ้ จ�ำ นวน 2,000 บาท ผ่านทาง Facebook แตใ่ นความเป็นจรงิ ก้งุ ยมื เงินไปเพยี ง 
200 บาท โดยมีเพอื่ นกดถูกใจ 10 คน และต๋อมแชร์โพสตจ์ ำ�นวน 1 ครั้ง 

จากสถานการณข์ า้ งต้น ให้นักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายและตอบค�ำ ถามตอ่ ไปน้ี
1. กุ้งสามารถแจง้ ความดำ�เนนิ คดีทางกฎหมายกบั เจย๊ี บได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
…………………….............………....…………………………………..……....………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..…....…………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..…....…………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
2. เจี๊ยบมคี วามผิดหรือไม่ อย่างไร ……....…………………………………..…………………...................................................
…………………….............………....…………………………………..……………….......……………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………........………………...........................
…………………….............………....…………………………………..………………........……………………...........................
…………………….............………....…………………………………..…………………....…………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
3. จากสถานการณ์มีบุคคลอนื่ ท่ีมคี วามผิดตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ อกี หรอื ไม่ เพราะเหตุใด 
…………………….............………....…………………………………..…………………....…………………...........................
…………………….............………....…………………………………..………………………...……………...........................
…………………….............………....…………………………………..…………………………………............…..........................
…………………….............………....…………………………………..…………………………………............…..........................

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมท ่ี การใชง้ านลขิ สทิ ธท์ิ เ่ี ปน็ ธรรม

5 1. ตวั ช้วี ดั
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติตาม
กฎหมายเก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์ ใชล้ ิขสิทธข์ิ องผู้อื่นโดยชอบธรรม
2. สาระการเรียนรู้
การใชล้ ขิ สทิ ธ์ิของผอู้ ืน่ โดยชอบธรรม (fair use)
3. จดุ ประสงค์ ใหผ้ ูเ้ รียนสามารถ
3.1 อภิปรายลกั ษณะการใช้งานลขิ สทิ ธ์ทิ ่ีเป็นธรรม
3.2. ใช้งานลิขสิทธทิ์ ่เี ปน็ ธรรม

เวลา 2 ช่ัวโมง

กิจกรรมที่ 5 | การใช้งานลขิ สทิ ธิท์ ี่เป็นธรรม 35
คู่มือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ)

4. ทักษะและกระบวนการ (ที่เป็นจุดเน้น ทกั ษะในศตวรรษที ่ 21)
ทกั ษะการท�ำ งานรว่ มกัน
ทักษะการคิดวเิ คราะห์
ทกั ษะการสือ่ สาร
5. ความรู้เดิมที่นกั เรียนตอ้ งม ี ซงึ่ จะสอดคล้องกับส่วน “ทบทวนความรูเ้ ดิม/สำ�รวจความรกู้ อ่ นเรียน”
ลิขสทิ ธ์ิ
6. สาระสำ�คัญ
เจ้าของผลงานท่ีมีลิขสิทธ์ิสามารถดัดแปลง แก้ไข ทำ�ซ้ำ� เผยแพร่ และอนุญาตให้ผู้อ่ืนใช้ผลงานของตนเองได้
การใช้ผลงานลิขสิทธ์ิของผู้อื่นจะต้องขออนุญาตก่อนเสมอ อย่างไรก็ตามกฎหมายก็มีข้อยกเว้นในบางกรณีท่ีสามารถ
ใชผ้ ลงานท่ีมลี ขิ สทิ ธไ์ิ ดโ้ ดยไมต่ อ้ งขออนุญาต
7. สอ่ื และอุปกรณ์
7.1 ใบกจิ กรรม

ใบกิจกรรมท่ี เรือ่ ง เวลา (นาท)ี
5.1 ลขิ สทิ ธิใ์ ชอ้ ยา่ งไร ให้ถูกต้อง 40

7.2 อื่น ๆ

เคร่ืองคอมพิวเตอรท์ เ่ี ช่อื มตอ่ อนิ เทอร์เนต็

บตั รสถานการณใ์ บกจิ กรรมที่ 5.1

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการมีส่วนร่วมในชัน้ เรยี น

แบบประเมนิ การท�ำ งานกลมุ่

หนงั สือเรยี นรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย ี

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ) ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 

สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

8. แนวทางการจัดการเรียนรู้

8.1 การจัดเตรยี ม

8.1.1 ใบกจิ กรรมที ่ 5.1 ตามจำ�นวนกลุม่

8.1.2  บัตรสถานการณ์ใบกจิ กรรมท่ี 5.1

8.1.3 แบบสังเกตพฤติกรรมการมีสว่ นร่วมในชัน้ เรยี น 

และแบบประเมินการทำ�งานกลมุ่

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

36 กจิ กรรมท่ี 5 | การใชง้ านลิขสทิ ธท์ิ เ่ี ป็นธรรม
คู่มือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

8.2 ขน้ั ตอนการด�ำ เนินการ 

8.2.1 ผู้สอนถามผู้เรยี นวา่  

1) ลิขสทิ ธิห์ มายถึงอะไร

2) งานสรา้ งสรรค์อะไรบ้างท่มี ีลขิ สทิ ธิ์

8.2.2 ผู้สอนตั้งคำ�ถามที่เป็นประเด็นสำ�คัญหรือประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับผู้เรียน เช่น นักเรียนมีวิธีศึกษาข้อมูล

ก่อนนำ�รูปภาพมาใช้งานอย่างไร เพื่อไม่ให้ละเมิดลิขสิทธ์ิ หลังจากนั้นอาจให้ผู้เรียนดูคลิปวิดีโอ

ที่เกี่ยวกับลิขสิทธิ์ เช่น รู้ทันลิขสิทธิ์จาก https://www.youtube.com/watch?v=XPRrvR69Iyc 

แล้วรว่ มกันสรุปสง่ิ ท่ีได้ 

8.2.3 ผู้สอนนำ�อภิปรายว่าผู้เรียนอาจนำ�งานที่มีลิขสิทธ์ิมาใช้ได้ แต่ต้องใช้อย่างเป็นธรรมกับเจ้าของ

ผลงานน้ัน โดยให้ผู้เรียนศึกษาหัวข้อ 6.5 การใช้งานลิขสิทธิ์ท่ีเป็นธรรม จากหนังสือเรียนในบทท่ี 6 

พร้อมร่วมกันสรุปเน้ือหาลงในเอกสารออนไลน์ท่ีผู้สอนแชร์ไว้ เช่น Google Docs, Padlet แล้วให้

ผู้เรยี นร่วมกันอภปิ รายสรปุ

8.2.4 ผู้สอนแบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน และให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาจับสลากเพ่ือ

เลอื กบตั รสถานการณ์

8.2.5 ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาเน้ือหาจากหนังสือเรียนและศึกษาเพ่ิมเติมจากอินเทอร์เน็ตในเนื้อหาที่เก่ียวข้อง

กบั บตั รสถานการณท์ ไี่ ดร้ บั  แล้วทำ�ใบกจิ กรรมท่ี 5.1 ลขิ สทิ ธิ์ใช้อยา่ งไร ใหถ้ กู ตอ้ ง

8.2.6 ผู้สอนสมุ่ ตวั แทนกลมุ่ ออกมาสรปุ ค�ำ ตอบจากการทำ�ใบกิจกรรมท่ ี 5.1 

8.2.7 ผู้สอนตั้งค�ำ ถามเพือ่ ประเมินความรูข้ องผู้เรียน ดงั นี้

1) ข้อยกเวน้ การละเมิดลขิ สิทธ์ทิ ก่ี �ำ หนดต้องไมข่ ดั กบั ส่งิ ใดบา้ ง

2) การน�ำ รูปภาพจากอนิ เทอร์เน็ตมาใช้งานในลักษณะใดท่ีจ�ำ เป็นต้องขออนญุ าต

และลักษณะใดไมจ่ �ำ เป็นตอ้ งขออนุญาต จากเจ้าของลขิ สิทธ์ิ

  3) หากนักเรยี นซ้ือซีดีเพลงมาอย่างถกู ต้อง เมื่อใชแ้ ลว้ นักเรียนสามารถน�ำ ไปขายตอ่ ไดห้ รอื ไม่

4) นกั เรียนสามารถส�ำ เนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ไว้ใช้งานส�ำ หรบั ป้องกันต้นฉบบั สูญหายได้หรอื ไม่

8.2.8 ผู้สอนแและผเู้ รียนรว่ มกันอภปิ รายสรปุ การใชผ้ ลงานลขิ สิทธขิ์ องผอู้ ่ืนโดยชอบธรรม

9. การวดั และประเมินผล

9.1 ตรวจค�ำ ตอบจากการท�ำ ใบกิจกรรม 

9.2 สงั เกตพฤตกิ รรมการมีสว่ นร่วมในชั้นเรียน

9.3 ประเมนิ การท�ำ งานกลุ่ม

10. สอื่ และแหล่งข้อมลู

กรมทรพั ย์สินทางปญั ญา http://www.ipthailand.go.th/

11. ข้อเสนอแนะ

11.1 ประเด็นคำ�ถามในการน�ำ เข้าสู่บทเรยี นสามารถเปล่ยี นแปลงได้ อาจเป็นเรื่องใกล้ตัว

หรือเร่ืองท่มี คี วามส�ำ คญั ตอ่ การใชช้ ีวิตประจำ�วันของผู้เรียน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมที่ 5 | การใช้งานลิขสทิ ธทิ์ ่เี ปน็ ธรรม 37
คมู่ ือครูรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ)

บตั รสถานการณใ์ บกจิ กรรมท ่ี 5.1 สถานการณท์ ่ี 2

สถานการณท์  ่ี 1 ตองเขียนรีวิวแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับลิปสติก
ริทโพสต์คลิปมิวสิควิดีโอของศิลปินลงใน Youtube รนุ่ ใหมข่ องย่ีหอ้ หนึ่ง ลงในสื่อสังคมออนไลนข์ องตนเอง
ของตนเอง โดยให้เครดิตกับเจา้ ของลิขสิทธิ์

สถานการณ์ท ่ี 3 สถานการณ์ท ี่ 4

บิวอัดคลิปวิดีโอเล่าถึงเนื้อหาสำ�คัญของภาพยนตร์ ร้านถ่ายเอกสารหน้าโรงเรียนทำ�สำ�เนาหนังสือเรียน
ที่กำ�ลงั เขา้ ฉาย ลงในสื่อสังคมออนไลนข์ องตนเอง รายวิชาเพ่ิมเติมคณิตศาสตร์ไว้สำ�หรับจำ�หน่ายแก่
นักเรียน

สถานการณ์ท่ี 5 สถานการณ์ที่ 6

กุ้งซ้ือโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำ�หรับใช้ลงในคอม- เนสดาวนโ์ หลดรปู ภาพจากอนิ เทอรเ์ นต็ มาใชป้ ระกอบ
พิวเตอร์ของตนเองได้เพียงเคร่อื งเดียว ต่อมาเจ๊ยี บอยาก รายงานของตนเองจำ�นวน 1 รูป และมีการอ้างอิง
ใ ช้ โ ป ร แ ก ร ม ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ น้ั น   จึ ง ใ ห้ กุ้ ง ล ง โ ป ร แ ก ร ม แหลง่ ทม่ี าโดยเจ้าของภาพมีรูปภาพท้งั หมด 10 รปู
คอมพวิ เตอรท์ ี่ซื้อมาให้ตนเองด้วย

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

38 กจิ กรรมท่ี 5 | การใช้งานลขิ สิทธิ์ทีเ่ ปน็ ธรรม
คูม่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

สถานการณท์  ่ี 7 สถานการณ์ท ี่ 8

จัมโบ้เปิดเพลงจากแผ่น อาทนำ�รูปถ่ายท่ีออฟโพสต์ลงในส่ือสังคมออนไลน์
ซี ดี ท่ี ต น เ อ ง ซ้ื อ ม า ส ลั บ กั บ มารวบรวมเปน็ เลม่  แล้วจำ�หน่ายใหก้ ับผอู้ ื่น
เปิดจากใน Youtube ให้
ลกู คา้ ทมี่ ารบั ประทานอาหาร
ในร้านของตนเองฟัง

สถานการณ์ท่ ี 9 สถานการณ์ท ี่ 10

ฟิวตัดต่อเพลงสากลที่กำ�ลังเป็นที่นิยมในขณะนี้ อาเธอร์เสียค่าบริการ
จำ�นวน 8 เพลงมาเรียงต่อกัน โดยแต่ละเพลงใช้เวลา ให้กับเว็บไซต์ท่ีให้บริการ
10 วินาที เพ่ือประกอบการเต้นเข้าจังหวะงานวันขึ้น ด า ว น์ โ ห ล ด เ พ ล ง  โ ด ย
ปใี หม่ อาเธอร์ดาวน์โหลดเพลง
ไ ว้ ใ น มื อ ถื อ ข อ ง ต น เ อ ง
และแชร์เพลงต่อใหเ้ พอ่ื น

สถานการณท์ ี ่ 11 สถานการณ์ที ่ 12

ก๊ิบแชร์ลิงก์คลิปวิดีโอการทำ�อาหารของผู้อ่ืนลงใน ต้าร์คัดลอกข้อความ
สอ่ื สงั คมออนไลนข์ องตนเอง พรอ้ มทง้ั เขยี นค�ำ บรรยาย ในหนังสือเรียน 1 หน้า 
ไปใส่ในสื่อนำ�เสนอเพื่อ
นำ � เ ส น อ ห น้ า ชั้ น เ รี ย น
ในรายวชิ าประวตั ศิ าสตร์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมท่ี 5 | การใชง้ านลขิ สทิ ธท์ิ ีเ่ ปน็ ธรรม 39
คู่มอื ครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

ใบกิจกรรมท่ี 5.1  ลขิ สิทธ์ใิ ช้อย่างไร ให้ถกู ตอ้ ง

1. ช่ือ-สกุล ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขท ่ี ................
2. ช่อื -สกุล ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขท่ี ................
3. ชื่อ-สกุล ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขท ี่ ................
4. ช่ือ-สกลุ  ………………………………….…………………………………….…..…………………………….…... เลขที่ ................

ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มรว่ มกนั พจิ ารณาบตั รสถานการณท์ ไ่ี ดร้ ับแล้วตอบค�ำ ถามตอ่ ไปน้ี

1. บัตรสถานการณ์ที่กลุ่มตนเองได้รับ คือ ...……………......….................................………………………………………….

…………………….............………....………………………………….......……......………………………………...........................

………………………….............………....………………………..…………..…...…………………………………...........................

…………………….............………....……………………....……………..……...………………………………...........................

…………………….............………....…………………………………..…….....………………………………...........................

…………………….............………....………………………………….....…….....………………………………...........................

…………………….............………....…………………………………......…………………….......………………...........................

…………………….............………....…………………………………..……………………………………......................................

2. การกระทำ�ของตวั ละครในบัตรสถานการณ์ทีไ่ ดร้ ับ มลี ักษณะใดบา้ ง

ตวั ละครในสถานการณ ์ คอื  ………………………………………………….....................………………………….…………………

หารายไดจ้ ากการกระทำ�ดงั กลา่ ว  ใช ่  ไม่ใช่  ไม่ระบุ

เจา้ ของผลงานสญู เสียรายได ้  ไม่มีผลกระทบ  สูญเสยี รายได้ 

ปริมาณท่นี ำ�มาใช ้  เหมาะสม  มากเกินไป  ไมร่ ะบุ

การอ้างองิ  มี  ไมม่ ี 

3. จากสถานการณ์นักเรยี นคดิ ว่าเปน็ การใชง้ านลขิ สทิ ธ์ิท่เี ป็นธรรม หรือเปน็ การละเมดิ ลิขสทิ ธ ์ิ เพราะเหตใุ ด
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..……………………………………...........................
…………………….............………....…………………………………..…………………………………….....................................

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมท ่ี การพฒั นาแอปพลเิ คชนั

6 1. ตัวชว้ี ัด
พฒั นาแอปพลเิ คชนั ทีม่ ีการบรู ณาการกับวิชาอืน่ อย่างสรา้ งสรรค์
2. สาระการเรยี นรู้
ข้ันตอนการพฒั นาแอปพลเิ คชัน
3. จดุ ประสงค์ ใหผ้ ู้เรยี นสามารถ
3.1 อธิบายขั้นตอนการพัฒนาแอปพลิเคชนั
3.2. ใชเ้ คร่อื งมือช่วยวางแผนและตดิ ตามความกา้ วหน้าในการพฒั นาแอปพลเิ คชัน
ได้อย่างถกู ต้อง

เวลา 2 ช่ัวโมง

กิจกรรมท่ี 6 | การพฒั นาแอปพลเิ คชนั 41
ค่มู อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

4. ทักษะและกระบวนการ (ท่เี ปน็ จุดเนน้  ทกั ษะในศตวรรษที่ 21)
ทักษะการทำ�งานรว่ มกนั
ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์
ทักษะการส่อื สาร
5. ความรเู้ ดิมทน่ี กั เรียนตอ้ งม ี ซ่งึ จะสอดคลอ้ งกบั ส่วน “ทบทวนความรู้เดมิ /ส�ำ รวจความร้กู ่อนเรียน”
แนวคดิ เชิงคำ�นวณ และขนั้ ตอนการแกป้ ญั หา
6. สาระสำ�คัญ
ในการพัฒนาแอปพลิเคชันหรือซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ถ้าเรามีการวางแผนพัฒนาอย่างเป็นระบบ โดยใช้
เคร่ืองมือมาช่วยวางแผนและติดตามความก้าวหน้าของงานที่ทำ� จะช่วยให้พัฒนาซอฟต์แวร์ได้ตรงตามความ
ต้องการของผู้ใช้ได้อย่างครบถ้วนและลดความผิดพลาดที่อาจเกิดข้ึน รวมถึงช่วยลดต้นทุนในการพัฒนา ซึ่งข้ันตอน
การพฒั นาแอปพลเิ คชัน ได้แก่ การศกึ ษาความตอ้ งการ การออกแบบ การสร้างแอปพลเิ คชนั และการทดสอบ
7. ส่อื และอุปกรณ์
7.1 ใบกจิ กรรม

ใบกิจกรรมที่ เรอ่ื ง เวลา (นาท)ี
6.1 สรรสรา้ งของขวัญ 60

7.2 อ่ืน ๆ
การด์ คมั บัง (Kanban Card) หรือ กระดาษ Post-it 
กระดานคมั บัง (Kanban Board) หรอื  บอร์ด
กระดาษสีสำ�หรบั พบั เป็นรูปตา่ ง ๆ 
เครือ่ งคอมพิวเตอรท์ ่ีเชื่อมตอ่ อินเทอร์เน็ต
แบบสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในชน้ั เรยี น
แบบประเมินการท�ำ งานกลุ่ม
หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 
เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 
สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

42 กิจกรรมท่ี 6 | การพัฒนาแอปพลเิ คชัน
ค่มู ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

8. แนวทางการจดั การเรยี นรู้

8.1 การจัดเตรยี ม

8.1.1 ใบกจิ กรรมที ่ 6.1 ตามจำ�นวนกลมุ่

8.1.2 การ์ดคัมบงั  หรือ กระดาษ Post-it ตามจ�ำ นวนกลมุ่

8.1.3 กระดานคมั บัง หรอื บอรด์  ตามจำ�นวนกลุม่

8.1.4 กระดาษสีสำ�หรับพับเป็นรูปต่าง ๆ ทั้ง 3 แบบ และกรรไกร ตามจำ�นวนกลุ่ม และขวดโหลใส่ของขวัญ

จ�ำ นวน 5 ขวด

8.1.5 แบบสังเกตพฤติกรรมการมีสว่ นรว่ มในช้ันเรียน และแบบประเมนิ การทำ�งานกลมุ่  

8.2 ข้นั ตอนการดำ�เนนิ การ 

8.2.1 ผสู้ อนและผเู้ รยี นรว่ มกนั อภปิ รายวา่  หากไดร้ บั มอบหมายใหท้ �ำ งานกลมุ่  นกั เรยี นจะท�ำ อยา่ งไรใหง้ านนน้ั

ประสบความส�ำ เรจ็  เชน่  มกี ารวางแผนการท�ำ งาน แบง่ หนา้ ท ่ี และตดิ ตามความกา้ วหนา้ ของแตล่ ะงาน

ได้อย่างไร โดยยกตัวอย่าง หากผู้เรียนทั้งห้องต้องการวางแผนการทำ�ของขวัญวันเกิดให้เพ่ือนที่เกิด

ในเดอื นน ้ี จะมีวธิ กี ารอยา่ งไรบา้ ง

8.2.2 ผู้สอนให้ผู้เรียนร่วมกันนำ�เสนอคำ�ตอบ โดยให้ตอบลงในเอกสารออนไลน์ที่ผู้สอนแชร์ไว้ให้ เช่น

Google Docs, Padlet โดยให้ผูเ้ รยี นระบงุ านท่ตี อ้ งทำ�พร้อมระบุช่ือผรู้ บั ผิดชอบแตล่ ะงาน

8.2.3 ผู้สอนให้ผู้เรียนศึกษาหัวข้อ 1.1 การพัฒนาแอปพลิเคชัน จากหนังสือเรียนในบทที่ 1 และร่วมกัน

อภิปรายสรุปส่ิงท่ีได้จากการศึกษา แล้วผู้สอนถามผู้เรียนว่าหากต้องการวางแผนการทำ�ของขวัญ

วันเกิดให้เพื่อน จะมีวิธีการอย่างไรบ้างและดำ�เนินการตามข้ันตอนการพัฒนาแอปพลิเคชันได้หรือไม่ 

อยา่ งไร

8.2.4 ผสู้ อนและผเู้ รยี นรว่ มสรปุ กระบวนการวางแผนการท�ำ ของขวญั วนั เกดิ ใหเ้ พอ่ื น (ผสู้ อนแนะน�ำ ผเู้ รยี นวา่  

ขั้นตอนในการวางแผนอาจมมี ากกว่าหรือน้อยกว่าน้)ี

8.2.5 ผู้เรียนศึกษาหัวข้อ 1.2 การวางแผนการพัฒนา จากหนังสือเรียน แล้วผู้สอนสุ่มผู้เรียนสรุปความรู้

ทไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษา แลว้ ยกตวั อยา่ งงาน 1 งาน ใหผ้ เู้ รยี นรว่ มกนั ตอบ เชน่  งานตดั กระดาษมคี วามส�ำ คญั

ระดับใด ประเภทงานเป็นอย่างไร การพบั กระดาษเป็นรปู ตามก�ำ หนดใชเ้ วลาเท่าใด

8.2.6 ผสู้ อนจ�ำ ลองสถานการณก์ บั ผเู้ รยี นวา่  “หากนกั เรยี นทง้ั หอ้ งตอ้ งการรว่ มกนั ท�ำ ของขวญั ใหก้ บั เพอ่ื น 5 คน

โดยการพับกระดาษออกมาเป็นรูปต่าง ๆ อย่างน้อย 3 รูปแบบ นักเรียนจะมีข้ันตอนการพับกระดาษ

เพ่อื ท�ำ ของขวัญส�ำ หรบั เพือ่ นทง้ั  5 คนอยา่ งไร” 

8.2.7 ผู้สอนแบ่งผ้เู รียนออกเปน็ กลมุ่  กลุ่มละ 6 คน แลว้ แจกใบกจิ กรรมที ่ 6.1 และการ์ดคัมบัง

8.2.8 ผู้สอนและผ้เู รียนร่วมกันสนทนาในประเด็นตอ่ ไปน้ี

1) แต่ละกลุ่มจะพบั กระดาษเป็นรปู อะไรบา้ ง และจำ�นวนเท่าใด

2) แต่ละกลุ่มต้องท�ำ งานอะไรบา้ ง และใครเป็นผรู้ ับผดิ ชอบ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กจิ กรรมที่ 6 | การพฒั นาแอปพลเิ คชัน 43
คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ)

3) แตล่ ะกลุ่มมกี ารจดั ล�ำ ดบั ความสำ�คญั ของงานท่ีทำ�อยา่ งไร

4) เวลาท่ใี ช้ในการทำ�งานแต่ละงาน

8.2.9 ผสู้ อนใหผ้ เู้ รยี นท�ำ ใบกจิ กรรมท ่ี 6.1 สรรสรา้ งของขวญั ขอ้  1-2 ใหเ้ สรจ็ ครบทกุ กลมุ่  จากนน้ั ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่

ส่งตัวแทนนำ�การ์ดคัมบังมาติดที่กระดานคัมบังหน้าชั้นเรียน ในช่อง ส่ิงท่ีต้องทำ� (To do) แล้วทำ�

ใบกจิ กรรมท่ี 6.1 ข้อ 3

8.2.10 ผู้สอนเริ่มจำ�ลองสถานการณ์การทำ�ของขวัญ โดยเริ่มจับเวลาและตรวจสอบว่าผู้เรียนปฏิบัติงาน

ตามรายละเอยี ดของงานที่ได้รบั มอบหมายได้ถูกตอ้ งหรือไม่ โดยสังเกตดงั นี้

ลำ�ดับการ รายละเอียด เร่ิมต้นตรวจสอบ ตรวจสอบ ตรวจสอบ
ท�ำ งาน ของงานท่ที �ำ กอ่ นการท�ำ งาน
ระหว่างการท�ำ งาน หลงั การท�ำ งานเสรจ็ แล้ว

1 ตดั กระดาษสำ�หรับพบั การ์ดคัมบงั อยใู่ นช่อง  การ์ดคัมบังอยใู่ นชอ่ ง  การ์ดคัมบงั อยใู่ นชอ่ ง 

ทัง้  3 แบบ สิ่งที่ต้องท�ำ สงิ่ ที่ก�ำ ลังทำ� สิ่งทท่ี ำ�เสรจ็ แลว้

2 พับกระดาษเปน็ รูป……. การด์ คัมบังอยู่ในชอ่ ง  การ์ดคัมบังอย่ใู นช่อง  การ์ดคัมบังอยูใ่ นชอ่ ง 
สง่ิ ท่ตี ้องท�ำ
สง่ิ ทก่ี ำ�ลังทำ� สิ่งที่ทำ�เสรจ็ แลว้

พับกระดาษเป็นรูป……. การ์ดคัมบังอย่ใู นช่อง  การด์ คัมบงั อยู่ในชอ่ ง  การด์ คมั บังอย่ใู นช่อง 
ส่งิ ที่ต้องทำ�
สง่ิ ทกี่ ำ�ลงั ทำ� สง่ิ ทท่ี �ำ เสร็จแลว้

พบั กระดาษเปน็ รปู ……. การด์ คัมบงั อยู่ในชอ่ ง  การ์ดคัมบงั อยู่ในชอ่ ง  การ์ดคมั บังอยใู่ นชอ่ ง 
ส่ิงทต่ี อ้ งทำ�
สงิ่ ทกี่ ำ�ลังท�ำ สิง่ ทท่ี ำ�เสรจ็ แล้ว

3 รวบรวมสิ่งท่พี ับ การด์ คมั บังอย่ใู นชอ่ ง  การด์ คัมบงั อยู่ในชอ่ ง  การด์ คัมบงั อยู่ในช่อง 

ใสข่ วดโหลสำ�หรับเพอ่ื น สงิ่ ที่ต้องท�ำ สง่ิ ทก่ี �ำ ลงั ทำ� ส่ิงท่ที �ำ เสร็จแลว้

ทง้ั  5 คน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

44 กิจกรรมท่ี 6 | การพัฒนาแอปพลิเคชนั
คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี | เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ)

8.2.11 ผสู้ อนและผเู้ รยี นร่วมกันอภปิ ราย สรปุ ผลและความรทู้ ีไ่ ดจ้ ากการท�ำ ใบกจิ กรรมท่ี 6.1

8.2.12 ผู้เรียนศึกษาหัวข้อ 1.3 เคร่ืองมือช่วยวางแผนและติดตามความก้าวหน้า จากหนังสือเรียน และให้

แต่ละกลุ่มทดลองสร้างงาน 1 งานในเทรลโล พร้อมกำ�หนดรายละเอียดของงาน ซ่ึงในส่วนนี้

จะเป็นการทดลองสรา้ งงาน ซ่งึ จะอยใู่ นชอ่ งทจี่ ะทำ� (Things To Do)

8.2.13 ผู้สอนตัง้ ค�ำ ถามเพ่ือประเมนิ ความรขู้ องผเู้ รยี น ดังนี้

1) กระบวนการพฒั นาแอปพลเิ คชันประกอบด้วยอะไรบา้ ง

2) ขอ้ ความทีเ่ ขยี นในการด์ คัมบงั  ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง

3) กระดานคัมบงั ประกอบด้วยกี่ช่อง และแตล่ ะชอ่ งมคี วามหมายอยา่ งไร

4) กระดานคมั บังมีประโยชนก์ บั เราอยา่ งไร

8.2.15 ผสู้ อนและผเู้ รียนช่วยกนั สรุปเนือ้ หาทง้ั หมดอีกครง้ั  

9. การวัดและประเมนิ ผล

9.1 ตรวจค�ำ ตอบจากการทำ�ใบกิจกรรม 

9.2 สงั เกตพฤติกรรมการมสี ว่ นรว่ มในชนั้ เรยี น

9.3 ประเมินการท�ำ งานกลมุ่

10. สื่อและแหล่งขอ้ มลู

เวบ็ ไซต์ เทรลโล trello.com

11. ข้อเสนอแนะ

11.1 ประเด็นคำ�ถามในการนำ�เข้าสู่บทเรียนสามารถเปลยี่ นแปลงได ้ อาจเป็นเรอ่ื งใกล้ตัว

หรือเรือ่ งทม่ี ีความสำ�คัญต่อการใชช้ ีวิตประจ�ำ วนั ของผู้เรยี น

11.2 ผสู้ อนแนะนำ�รูปทีผ่ เู้ รียนในชนั้ เรียนจะพับกระดาษออกมาเป็นรปู ต่าง ๆ ได้หมดทกุ คน

11.3 ผู้สอนอาจสมุ่ ผูเ้ รยี นออกมา 2 คนเพ่ือช่วยผู้สอนตรวจสอบการท�ำ งานของทกุ กลุ่ม ในระหว่างที่ทำ�กิจกรรม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


Click to View FlipBook Version