The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรโรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ์) ปี 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nachaluai, 2022-02-10 09:51:45

หลักสูตรโรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ์) ปี 2564

หลักสูตรโรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ์) ปี 2564

หลักสูตรโรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ์)
พุทธศักราช 2564

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
(ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาอบุ ลราชธานี เขต 5
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

ประกาศโรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ)์

เรือ่ ง ให้ใช้หลกั สูตรโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ)์ พุทธศกั ราช 2564
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศักราช 2560)

………………………………….

ตามที่โรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ์) ได้ประกาศใช้หลักสูตรโรงเรียนนาจะหลวย (กรป.
กลางอุปถัมภ์) พุทธศักราช 2553 โดยเริ่มใช้หลักสูตรดังกล่าวกับนักเรียนทุกระดับชั้นในปีการศึกษา 2553
ตอ่ มาในปีการศึกษา 2558 โรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ์) ได้เพ่ิมรายวิชาเพิ่มเติมเพื่อให้สอดคล้องรับ
กับนโยบายเร่งด่วนของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะกระบวนการคิด
วิเคราะห์ มเี วลาในการทากิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถและทักษะ การปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม
การสร้างวินัย การมีจิตสานึกรับผิดชอบต่อสังคม ยึดมั่นในสถาบันชาติศาสนา พระมหากษัตริย์ และมีความ
ภาคภูมิใจในความเป็นไทย ตลอดจน การเรียนการสอนในวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง รวมถึงการสอน
ศลี ธรรมแกน่ ักเรยี น โรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ)์ ไดด้ าเนนิ การปรับปรงุ พฒั นา หลักสตู รสถานศึกษา
เป็นหลักสูตรโรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ์) พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) สอดคล้องตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการบริหาร
จดั การเวลาเรยี นและปรบั มาตรฐานและตวั ช้วี ดั สอดคลอ้ งกับคาสั่งสพฐ.ที่ 1239/60 และประกาศ สพฐ. ลงวันท่ี 8
มกราคม 2561 เป็นท่เี รียบรอ้ ยแล้ว

ทัง้ น้ี หลักสตู รโรงเรียนไดร้ ับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน เม่ือวันท่ี 5
เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2564 จงึ ประกาศใหใ้ ช้หลกั สตู รโรงเรยี นตง้ั แตบ่ ัดนีเ้ ปน็ ต้นไป

ประกาศ วนั ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2564

(นายบุญถิน่ พิมพโ์ พธ์ิ) (นางสาวศิรพิ ร ถาวร)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ผู้อานวยการโรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ)์

โรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ์)

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ์) พทุ ธศักราช 2564 ก
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

คานา

กระทรวงศึกษาธิการมีคาสั่งให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2560) เม่ือวันที่ 7 สิงหาคม 2560 และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีคาส่ังให้
เปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ลงวันที่ 5 มกราคม 2561 รวมทั้งประกาศเรื่องการบริหารจัดการหลักสูตร
สถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ .ศ. 2560) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ลงวันท่ี 8 มกราคม 2561 โรงเรียนนาจะหลวย (กรป.
กลางอุปถัมภ์) จึงไดท้ าการปรับปรุงหลกั สตู รสถานศึกษาในกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ
สาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ใช้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้น
ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 เพือ่ นาไปใช้ประโยชน์และเป็นกรอบในการวางแผนและพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและ
จัดการเรียนการสอน อีกทั้งในปีการศึกษา 2564 โรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ์)ได้จัดการเรียนการ
สอนโดยเน้นให้ผู้เรียนเกิดความรู้ มีคุณธรรมและเสริมสร้างทักษะอาชีพ โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรยี น ใหม้ กี ระบวนการนาหลกั สูตรไปสู่การปฏิบตั ิ โดยมกี ารกาหนดวสิ ัยทศั น์ จดุ หมาย สมรรถนะสาคัญของ
ผ้เู รยี น คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การ
วดั ประเมนิ ผล ให้มคี วามสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรู้ เปดิ โอกาสให้โรงเรียนสามารถกาหนดทิศทางในการ
จัดทาหลกั สูตรการเรียนการสอนในแต่ละระดับตามความพรอ้ มและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทางที่
ชัดเจนเพื่อตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ 4.0 มีความพร้อมในการก้าวสู่สังคมคุณภาพ มีความรู้อย่างแท้จริง
และมีทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 การจัดหลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานจะประสบความสาเรจ็ ตามเป้าหมายที่คาดหวัง
ได้ ทุกฝา่ ยที่เกี่ยวข้องทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทางานอย่าง
เป็นระบบ และตอ่ เน่ืองในการวางแผน ดาเนินการ สง่ เสรมิ สนับสนนุ ตรวจสอบ ตลอดจนปรบั ปรุงแก้ไข เพื่อ
พัฒนาเยาวชนของชาตไิ ปสู่คณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ทกี่ าหนดไว้

(นางสาวศริ ิพร ถาวร)
ผอู้ านวยการโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ์)

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถมั ภ)์ พทุ ธศักราช 2564 ข
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560)

สารบัญ

เรื่อง หน้า

ประกาศโรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ)์ ......................................................... ก
คานา ……………………………………………………………………………………………….………….. ข
สารบัญ ……………………………………..…………………………………………………….…….…….. ค
1. ส่วนนา ……………………………..…………………………………………………………..….………….. 1
1
ความนา ............................................................................................................... 1
1
วสิ ัยทัศน์โรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ)์ .............................................. 2
สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น ..………………………………………………………….…….….... 4
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ..……………………………………………………….………….….. 5
2. โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรยี น ....................................................................................... 5
โครงสร้างเวลาเรยี นระดับประถมศกึ ษา ................................................................ 6
โครงสร้างเวลาเรียนระดับชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 .................................................. 7
โครงสรา้ งเวลาเรียนระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2 ..………………………….…………...... 8
โครงสรา้ งเวลาเรยี นระดับช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ..…………………………………………. 9
โครงสรา้ งเวลาเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ..…………………………………………. 10
โครงสร้างเวลาเรยี นระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5 ……………………………………………. 11
โครงสรา้ งเวลาเรยี นระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 ……….………………………………….. 11
3. คาอธบิ ายรายวชิ า …………………………………………..……..………………………………………. 18
คาอธิบายรายวิชากล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ……….………………………………… 26
คาอธบิ ายรายวชิ ากลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ……..………………………..…….. 42
คาอธบิ ายรายวิชากลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ………………… 61
คาอธบิ ายรายวชิ ากลุ่มสาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม …… 69
คาอธบิ ายรายกล่มุ สาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ……………..……………… 79
คาอธิบายรายกลุม่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ ………..…………………………….……………. 86
คาอธบิ ายรายกล่มุ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพ ………………………………..……….
คาอธบิ ายรายกล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ …………………….…………….. ค

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ)์ พุทธศักราช 2564
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560)

สารบญั (ตอ่ )

เร่ือง หน้า

4. กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น …………………..………………………………………………….….……….…. 93
5. การจัดการเรยี นรู้ …………………………………………………………………………….….………….. 94
6. สือ่ การเรยี นรู้ …………………………………………………………………………………….…………… 96
7. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ………………………………………………………….………….. 96
8. เกณฑก์ ารจบการศึกษา …………………………………………………………………….……………… 100
9. การบริหารจดั การหลกั สูตร ………………………………………………………………….…………… 100
บรรณานกุ รม ………………………………………………………………………………………….…………… 101
ภาคผนวก ………………………………………………………….…………………………………………. 102
คาส่ังโรงเรียน …………………………………………………………………………..…………………………… 103
คาสงั่ /ประกาศ ระเบยี บราชการที่เกย่ี วข้อง ……………………………..…………………………………. 108

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ์) พุทธศักราช 2564 ง
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศักราช 2560)

1. สวนนาํ

1.1 ความนาํ
หลักสูตรโรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช 2560) เปน แผนหรือ
แนวทางหรือขอกําหนดของการจัดการศึกษาของโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ)ที่จะใชเปน
แนวทางในการจดั การเรียนการสอน เพ่ือพฒั นาผเู รยี นใหมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานท่ีกําหนด มุงพัฒนา
ผูเรียนใหเปนคนดี คนเกง อยูในสังคมไดอยางมีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาตอและประกอบ
อาชีพโดยมงุ หวงั ใหมคี วามสมบูรณท ัง้ ดานรางกาย จติ ใจ และสติปญ ญา อีกทงั้ มีความรแู ละทักษะที่
จําเปนสําหรับการดํารงชีวิต และมีคุณภาพไดมาตรฐานสากลเพ่ือการแขงขันในยุคปจจุบัน
ดังนั้น หลักสูตรโรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พุทธศกั ราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) จงึ ประกอบดวยวิสัยทัศน
ของโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) สมรรถนะสําคญั ของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค
โครงสรา งหลักสตู ร คําอธบิ ายรายวิชา กจิ กรรมพฒั นาผูเ รียน และเกณฑก ารจบการศกึ ษา
1.2 วิสัยทัศนโ รงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ)
ภายในปการศึกษา 2567 โรงเรียนนาจะหลวย(กรป.กลางอุปถัมภ) จะเปนโรงเรียน
คุณภาพระดบั อาํ เภอ ทีม่ ีสภาพแวดลอ มที่ดี พัฒนาผเู รียนใหเปนคนดี คนเกง มีความสขุ มุงพัฒนา
บคุ ลากรสคู รมู อื อาชพี ผูบ รหิ ารมอื อาชีพ ภายใตก ารมสี ว นรว มท่ียง่ั ยืน
1.3 สมรรถนะสําคญั ของผูเ รียน
หลักสูตรโรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) มุงใหผูเรียน
เกดิ สมรรถนะสาํ คญั 5 ประการ ดังน้ี

1) ความสามารถในการส่ือสาร มุงใหผูเรียนเปนผูที่มีความสามารถในการรับ
และสง สาร มีวัฒนธรรมในการใชภาษาถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะ
ของตนเองเพ่ือแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารและประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเอง
และสงั คม รวมทั้งการเจรจาตอรองเพอ่ื ขจดั และลดปญหาความขดั แยงตาง ๆ การเลือกรับหรือไมร ับ
ขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผลและความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการส่ือสารท่ีมีประสิทธิภาพ
โดยคาํ นึงถึงผลกระทบที่มตี อตนเองและสงั คม

2) ความสามารถในการคิด มุงใหผูเรียนเปนผูมีความสามารถในการคิดวิเคราะห
การคิดสังเคราะห การคิดอยางสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ
เพ่ือนําไปสูการสรางองคความรูหรือสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได
อยางเหมาะสม

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พทุ ธศกั ราช 2564 1
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

3) ความสามารถในการแกปญหา มุงใหผูเรียนเปนผูมีความสามารถในการแกปญหา
และอุปสรรคตาง ๆ ท่ีเผชิญไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูล
สารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู
ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไขปญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธภิ าพโดยคํานึงถึง
ผลกระทบทเี่ กิดข้ึนตอตนเอง สังคม และส่ิงแวดลอ ม

4) ความสามารถในการใชทักษะชีวิต มุงใหผูเรียนเปนผูมีความสามารถในการนํา
กระบวนการตา ง ๆ ไปใชในการดาํ เนนิ ชวี ติ ประจําวัน การเรียนรูด ว ยตนเอง การเรียนรอู ยางตอ เนือ่ ง
การทํางานและการอยูรวมกันในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการ
ปญหาและความขัดแยงตาง ๆ อยางเหมาะสม การปรับตัวใหทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคม
และสภาพแวดลอม และการรจู ักหลกี เลย่ี งพฤตกิ รรมไมพ ึงประสงคที่สง ผลกระทบตอตนเองและผูอ่นื

5) ความสามารถในการใชเทคโนโลยี มุงใหผูเรียนเปนผูมีความสามารถในการเลือก
และใชเทคโนโลยดี านตา ง ๆ และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม
ในดานการเรียนรู การส่ือสาร การทํางาน การแกปญหาอยางสรางสรรค ถูกตอง เหมาะสม
และมคี ุณธรรม

1.4 คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค
หลักสูตรโรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) มุงพัฒนา
ผูเรยี นใหมีคณุ ลักษณะอันพึงประสงค เพ่ือใหสามารถอยูรว มกับผูอื่นในสังคมไดอยางมีความสุข ในฐานะ
เปนพลเมอื งไทยและพลโลก ดงั นี้

1) รกั ชาติ ศาสน กษตั ริย ผูเรียนมคี ุณลักษณะท่แี สดงออกถึงการเปนพลเมืองดี
ของชาติ ธํารงไวซ่ึงความเปนชาติไทย ศรัทธา ยึดม่ันในศาสนา และเคารพเทิดทูนสถาบัน
พระมหากษัตริย ปฏิบัติตนตามหลักศาสนาท่ีตนนับถือ และแสดงความจงรักภักดีตอสถาบัน
พระมหากษัตรยิ 

2) ซือ่ สัตยส ุจริต ผูเรยี นมคี ุณลกั ษณะท่ีแสดงออกถึงการยึดม่ันในความถูกตองประพฤติ
ตรงตามความเปนจริงตอตนเองและผูอื่นทั้งทางกาย วาจา ใจ ประพฤติตรงตามความเปนจริง
ทั้งทางกาย วาจา ใจ และยึดหลักความจริง ความถูกตองในการดําเนินชีวิต มีความละอาย
และเกรงกลวั ตอ การกระทําผิด

3) มีวนิ ัย ผเู รยี นมีคุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงการยดึ มนั่ ในขอตกลง กฎเกณฑ
และระเบียบขอบังคับของครอบครัว โรงเรียน และสังคม ปฏิบัติตนตามขอตกลง กฎเกณฑ
ระเบียบ ขอบงั คับของครอบครัว โรงเรยี น และสงั คมเปน ปกติวสิ ยั ไมละเมดิ สิทธิของผอู ่ืน

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พทุ ธศกั ราช 2564 2
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560)

4) ใฝเรียนรู ผเู รียนมีคุณลกั ษณะทแ่ี สดงออกถงึ ความต้งั ใจ เพียรพยายามในการเรียน
แสวงหาความรูจากแหลงเรียนรูทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน มีความต้ังใจ เพียรพยายาม
ในการเรียน และเขารวมกิจกรรมการเรียนรู แสวงหาความรูจากแหลงเรียนรูท้ังภายใน
และภายนอกโรงเรียนอยางสม่ําเสมอดวยการเลือกใชส่ืออยางเหมาะสม บันทึกความรู วิเคราะห
สรุปเปน องคความรู แลกเปลี่ยนเรยี นรู ถายทอด เผยแพร และนาํ ไปใชใ นชีวติ ประจาํ วนั ได

5) อยูอยางพ อเพี ยง ผูเรียนมีคุณ ลักษ ณ ะที่แสดงออกถึงการดําเนินชีวิต
อยางพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม มีภูมิคุมกันในตัวทด่ี ี และปรับตัวเพอื่ อยใู นสงั คม
ไดอยางมีความสุข ดําเนินชีวิตอยางประมาณตน มีเหตุผล รอบคอบ ระมัดระวัง อยูรวมกับผูอื่น
ดวยความรับผิดชอบ ไมเบียดเบียนผูอ่ืน เห็นคุณคาของทรัพยากรตาง ๆ มีการวางแผนปองกัน
ความเส่ยี งและพรอมรบั การเปล่ยี นแปลง

6) มุงมั่นในการทํางาน ผูเรียนมีคุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจและรับผิดชอบ
ในการทําหนาท่ีการงานดวยความเพียรพยายาม อดทน เพ่ือใหง านสาํ เร็จตามเปาหมายมีความตั้งใจ
ปฏิบตั ิหนาท่ที ่ไี ดรับมอบหมายดว ยความเพียรพยายาม ทุมเทกําลงั กาย กาํ ลังใจ การปฏิบัติกจิ กรรม
ตาง ๆ ใหส ําเรจ็ ลลุ วงตามเปาหมายทก่ี าํ หนดดว ยความรับผิดชอบ และมคี วามภาคภูมิใจในผลงาน

7) รักความเปนไทย ผูเรียนมีคุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงความภาคภูมิใจ เห็นคุณคา
รวมอนุรักษ สืบทอดภูมิปญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ใชภาษาไทย
ในการสื่อสารไดอยางถูกตองและเหมาะสม มีความภาคภูมิใจ เห็นคุณคา ช่ืนชม มีสวนรวม
ในการอนุรกั ษ สืบทอด เผยแพรภ ูมปิ ญญาไทย ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรมไทย
มีความกตญั กู ตเวที ใชภาษาไทยในการสอื่ สารอยางถูกตองเหมาะสม

8) มจี ติ สาธารณะ ผเู รยี นมีคณุ ลกั ษณะทแ่ี สดงออกถงึ การมีสว นรว มในกิจกรรม
หรือสถานการณท่ีกอใหเกิดประโยชนแกผูอื่น ชุมชน และสังคมดวยความเต็มใจ กระตือรือรน
โดยไมหวังผลตอบแทน มีลักษณะเปนผูใหและชวยเหลือผูอ่ืน แบงปนความสุขสวนตน เพื่อทํา
ประโยชนแกสวนรวม เขาใจเห็นใจผูที่มีความเดือดรอน อาสาชวยเหลือสังคม อนุรักษสิ่งแวดลอม
ดวยแรงกาย สติปญญา ลงมือปฏิบัติเพื่อแกปญหา หรือรวมสรางสรรคส่ิงท่ีดีงามใหเกิดในชุมชน
โดยไมหวงั สิ่งตอบแทน

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถมั ภ) พทุ ธศกั ราช 2564 3
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)

2. โครงสรางหลักสูตรโรงเรยี น

โครงสรางหลกั สูตรโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พุทธศกั ราช 2564
สาํ นกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาอุบลราชธานี เขต 5
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช 2560)
เวลาเรียน
กลมุ สาระการเรยี นรู/ กิจกรรม ระดับประถมศกึ ษา
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
 กลมุ สาระการเรียนรู
ภาษาไทย 200 200 200 200 200 200
คณิตศาสตร 200 200 200 200 200 200
วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 120 120 120 120 120 120
สงั คมศึกษา ศาสนา 80 80 80 80 80 80
และวฒั นธรรม
 ประวัติศาสตร (40) (40) (40) (40) (40) (40)
 ศาสนาศลี ธรรม จรยิ ธรรม
 หนา ที่พลเมือง วฒั นธรรม
และการดําเนินชีวติ ในสงั คม (40) (40) (40) (40) (40) (40)
 เศรษฐศาสตร
 ภูมิศาสตร
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 40 40 40 40 40 40
ศิลปะ 40 40 40 40 40 40
การงานอาชพี 40 40 40 40 40 40
ภาษาตา งประเทศ 200 200 200 200 200 200
รวมเวลาเรยี น (พ้ืนฐาน) 920 920 920 920 920 920
 รายวชิ าเพ่ิมเตมิ
 เทคโนโลยี 40 40 40 40 40 40
รวมเวลาเรียน (เพ่ิมเติม) 40 40 40 40 40 40
 กจิ กรรมพฒั นาผูเ รียน
 กจิ กรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40
 กจิ กรรมนักเรยี น 40 40 40 40 40 40
- ลกู เสือ เนตรนารี
 กิจกรรมเพื่อสังคมและ 40 40 40 40 40 40
สาธารณประโยชน
- อบรมคณุ ธรรมจรยิ ธรรม
รวมกิจกรรมพัฒนาผเู รยี น 120 120 120 120 120 120

รวมเวลาทั้งหมด 1,080 ชั่วโมง 1,080 ชั่วโมง

หมายเหตุ 1. วชิ าการปอ งกันการทุจรติ จดั การเรยี นการสอนโดย บรู ณาการเรยี นรูในกลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษาฯ
2. วิชาหนาทีพ่ ลเมอื ง จดั การเรียนการสอน โดยบูรณาการกบั การเรยี นรูใ นกลุม สาระการเรียนรู สังคมศกึ ษาฯ
3. กิจกรรมลดเวลาเรียนเพม่ิ เวลารู จํานวน 120 ช่ัวโมง จดั เปนกจิ กรรมชมุ นุมตามความสนใจของผเู รียน

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พทุ ธศกั ราช 2564 4
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

โครงสรา งเวลาเรียนระดับประถมศึกษา

โครงสรางเวลาเรียน ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี 1

ชั้นประถมศึกษาปท ี่ 1 เวลาเรยี น
(ชม./ป)
รายวชิ า/กิจกรรม 920

รายวชิ าพืน้ ฐาน 200
ท11101 ภาษาไทย 1 200
ค11101 คณิตศาสตร 1 120
ว11101 วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 1 40
ส11101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1 40
ส11102 ประวตั ิศาสตร 1 40
พ11101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 1 40
ศ11101 ศิลปะ 1 40
ง11101 การงานอาชีพ 1 200
อ11101 ภาษาอังกฤษ 1 40
รายวิชาเพมิ่ เติม 40
ว11201 เทคโนโลยี 1 120
กิจกรรมพัฒนาผูเรียน 40
 กิจกรรมแนะแนว 40
 กิจกรรมนักเรียน 40
- ลกู เสือ เนตรนารี 1 1,080
 กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน
- อบรมคุณธรรมจริยธรรม
รวมเวลาเรียนท้ังหมด

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พุทธศกั ราช 2564 5
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

โครงสรางเวลาเรียน ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 2

ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 2 เวลาเรยี น
(ชม./ป)
รายวิชา/กิจกรรม 920

รายวิชาพน้ื ฐาน ภาษาไทย 2 200
ท12101 200
ค12101 คณิตศาสตร 2 120
ว12101 วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 2 40
ส12101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 40
ส12102 ประวตั ศิ าสตร 2 40
พ12101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 2 40
ศ12101 ศลิ ปะ 2 40
ง12101 การงานอาชพี 2 200
อ12101 ภาษาอังกฤษ 2 40
รายวิชาเพมิ่ เติม 40
ว12202 เทคโนโลยี 2 120
กิจกรรมพัฒนาผเู รียน 40
 กิจกรรมแนะแนว 40
 กิจกรรมนกั เรยี น 40
- ลกู เสือ เนตรนารี 2 1,080
 กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน
- อบรมคุณธรรมจรยิ ธรรม
รวมเวลาเรยี นท้ังหมด

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถมั ภ) พุทธศักราช 2564 6
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

โครงสรางเวลาเรยี น ระดับชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 3

ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 3 เวลาเรยี น
(ชม./ป)
รายวิชา/กิจกรรม 920

รายวิชาพน้ื ฐาน ภาษาไทย 3 200
ท13101 200
ค13101 คณิตศาสตร 3 120
ว13101 วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 3 40
ส13101 สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 3 40
ส13102 ประวตั ศิ าสตร 3 40
พ13101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 3 40
ศ13101 ศลิ ปะ 3 40
ง13101 การงานอาชพี 3 200
อ13101 ภาษาอังกฤษ 3 40
รายวิชาเพมิ่ เติม 40
ว13203 เทคโนโลยี 3 120
กิจกรรมพัฒนาผเู รียน 40
 กิจกรรมแนะแนว 40
 กิจกรรมนกั เรยี น 40
- ลกู เสือ เนตรนารี 3 1,080
 กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน
- อบรมคุณธรรมจรยิ ธรรม
รวมเวลาเรยี นท้ังหมด

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พทุ ธศกั ราช 2564 7
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560)

โครงสรางเวลาเรียน ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปที่ 4

ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 4 เวลาเรยี น
(ชม./ป)
รายวิชา/กิจกรรม 920

รายวิชาพน้ื ฐาน ภาษาไทย 4 200
ท14101 200
ค14101 คณิตศาสตร 4 120
ว14101 วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 4 40
ส14101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 4 40
ส14102 ประวตั ศิ าสตร 4 40
พ14101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 4 40
ศ14101 ศลิ ปะ 4 40
ง14101 การงานอาชพี 4 200
อ14101 ภาษาอังกฤษ 4 40
รายวิชาเพมิ่ เติม 40
ว14204 เทคโนโลยี 4 120
กิจกรรมพัฒนาผเู รียน 40
 กิจกรรมแนะแนว 40
 กิจกรรมนกั เรยี น 40
- ลกู เสือ เนตรนารี 4 1,080
 กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน
- อบรมคุณธรรมจรยิ ธรรม
รวมเวลาเรยี นท้ังหมด

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถมั ภ) พุทธศักราช 2564 8
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

โครงสรางเวลาเรยี น ระดับชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 5

ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 5 เวลาเรยี น
(ชม./ป)
รายวิชา/กิจกรรม 920

รายวิชาพน้ื ฐาน ภาษาไทย 5 200
ท15101 200
ค15101 คณิตศาสตร 5 120
ว15101 วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 5 40
ส15101 สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 5 40
ส15102 ประวตั ศิ าสตร 5 40
พ15101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 5 40
ศ15101 ศลิ ปะ 5 40
ง15101 การงานอาชพี 5 200
อ15101 ภาษาอังกฤษ 5 40
รายวิชาเพมิ่ เติม 40
ว15205 เทคโนโลยี 5 120
กิจกรรมพัฒนาผเู รียน 40
 กิจกรรมแนะแนว 40
 กิจกรรมนกั เรยี น 40
- ลกู เสือ เนตรนารี 5 1,080
 กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน
- อบรมคุณธรรมจรยิ ธรรม
รวมเวลาเรยี นท้ังหมด

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พทุ ธศกั ราช 2564 9
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560)

โครงสรางเวลาเรยี น ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี 6

ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 เวลาเรยี น
(ชม./ป)
รายวิชา / กิจกรรม 920

รายวิชาพน้ื ฐาน ภาษาไทย 6 200
ท16101 200
ค16101 คณติ ศาสตร 6 120
ว16101 วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 6 40
ส16101 สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 6 40
ส16102 ประวัติศาสตร 6 40
พ16101 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 6 40
ศ16101 ศลิ ปะ 6 40
ง16101 การงานอาชีพ 6 200
อ16101 ภาษาอังกฤษ 6 40
รายวิชาเพมิ่ เติม 40
ว16206 เทคโนโลยี 6 120
กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น 40
 กจิ กรรมแนะแนว 40
 กิจกรรมนกั เรียน 40
- ลูกเสอื เนตรนารี 6 1,080
 กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน
- อบรมคุณธรรมจรยิ ธรรม
รวมเวลาเรียนท้งั หมด

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถมั ภ) พทุ ธศกั ราช 2564 10
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

3. คําอธบิ ายรายวชิ า

รายวชิ าพนื้ ฐาน กลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย
ระดบั ช้ันประถมศึกษา

รายวชิ าพื้นฐาน จาํ นวน 200 ชัว่ โมง
ท11101 ภาษาไทย 1 จาํ นวน 200 ชวั่ โมง
ท12101 ภาษาไทย 2 จาํ นวน 200 ช่วั โมง
ท13101 ภาษาไทย 3 จํานวน 200 ชว่ั โมง
ท14101 ภาษาไทย 4 จํานวน 200 ช่วั โมง
ท15101 ภาษาไทย 5 จํานวน 200 ช่วั โมง
ท16101 ภาษาไทย 6

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถมั ภ) พุทธศกั ราช 2564 11
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560)

ท11101 ภาษาไทย 1 คาํ อธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย

ช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี 1 เวลา 200 ชัว่ โมง
.............................................................................................................................................................

อานออกเสียงคาํ คําคลองจอง และขอ ความสัน้ ๆ บอกความหมายของคํา และขอความ
ท่ีอาน ตอบคําถามเก่ียวกับเร่ืองท่ีอาน เลาเร่ืองยอจากเรื่องที่อาน คาดคะเนเหตุการณจากเรื่อง
ที่อาน อานหนังสือตามสนใจอยางสม่ําเสมอ และนําเสนอเรื่องที่อาน บอกความหมายของ
เครื่องหมายหรือสัญลักษณสําคัญที่พบเห็นในชีวิตประจําวัน มีมารยาทในการอาน คัดลายมือ
ตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนสื่อสารดวยคําและประโยคงาย ๆ มีมารยาทในการเขียน ฟงคําแนะนํา
คําสั่งงาย ๆ และปฏิบตั ิตาม ตอบคําถาม เลา เรือ่ งที่ฟงและดูท้ังท่ีเปนความรู ความบันเทิง พูดแสดง
ความคิดเห็น และความรูสึกจากเรื่องท่ีฟงและดู พูดส่ือสารไดตามวัตถุประสงค มีมารยาทในการฟง
การดู การพูด บอก และเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต เลขไทย เขียนสะกดคํา และบอก
ความหมายของคํา เรียบเรียงคําเปนประโยคงาย ๆ ตอคําคลองจองงาย ๆ บอกขอคิดท่ีไดจาก
การอานหรือการฟงวรรณกรรมรอยแกว รอยกรองสําหรับเด็ก ทองจําบทอาขยานตามท่ีกําหนด
และบทรอยกรองตามความสนใจ โดยใชกระบวนการคิด ทักษะการสื่อสาร สรุป วิเคราะหขอมูล
จากเรื่องและสื่อตาง ๆ ท่ีอานฟงและดูเพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจสามารถส่ือสารสิ่งที่เรียนรู
มีความสามารถในการแยกแยะ ตัดสินใจนําไปใชชีวิตประจําวันไดอยางภาคภูมิใจ รักความเปนไทย
ชาติ ศาสน กษัตรยิ  ซ่อื สัตย มีวนิ ยั ใฝเ รียนรู อยูอ ยา งพอเพียง มงุ มัน่ ทํางานและมีจิตสาธารณะ

รหสั ตัวช้วี ัด
ท 1.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5, ป.1/6, ป.1/7, ป.1/8
ท 2.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
ท 3.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5
ท 4.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4
ท 5.1 ป.1/1, ป.1/2
รวมท้งั หมด 22 ตัวชีว้ ัด

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พุทธศักราช 2564 12
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

ท12101 ภาษาไทย 2 คาํ อธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน กลุมสาระการเรยี นรูภ าษาไทย

ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 2 เวลา 200 ช่ัวโมง
.............................................................................................................................................................

อานออกเสียงคํา คําคลองจอง ขอความและบทรอยกรองงาย ๆ อธิบายของคํา
และขอความที่อาน ต้ังคําถามและตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่องท่ีอาน ระบุใจความสําคัญ
และรายละเอยี ดจากเร่อื งทีอ่ า น แสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณจากเร่ืองที่อาน
อา นหนงั สอื ตามความสนใจอยางสมา่ํ เสมอและนําเสนอเร่อื งทอ่ี า น อานขอ เขียนเชงิ อธิบาย
และปฏิบัตติ ามคาํ สงั่ หรือขอ แนะนํา มมี ารยาทในการอาน

คดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั เขียนเรื่องสน้ั ๆ เกยี่ วกับประสบการณ เขียนเร่ืองส้นั ๆ
ตามจินตนาการ มมี ารยาทในการเขยี น

ฟงคําแนะนําคําสั่งท่ีซับซอนและปฏิบัติตาม เลาเรื่องที่ฟงและดูทั้งท่ีเปนความรู
และความบันเทิง บอกสาระสําคัญของเรื่องท่ีฟงและดู ต้ังคําถามและตอบคําถามเก่ียวกับเร่ืองท่ีฟง
และดู พูดแสดงความคิดเห็น และความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู พูดสื่อสารไดชัดเจนตรงตาม
วตั ถปุ ระสงค มีมารยาทในการฟง การดู การพดู

บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกตและเลขไทย เขียนสะกดคําและบอกความหมาย
ของคาํ เรียบเรยี งคําเปน ประโยคตรงตามเจตนาของการส่อื สาร บอกลกั ษณะคําคลองจอง
เลอื กใชภ าษาไทยมาตรฐาน และภาษาถิน่ ไดเ หมาะสมกับกาลเทศะ

ระบุขอคิดท่ีไดจากการอานหรอื การฟงวรรณกรรมสําหรับเด็ก เพ่ือนําไปใชในชีวิตประจําวัน
รองบทรอยกรองเลนสําหรับเด็กในทองถ่ิน ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนด และบทรอยกรอง
ท่ีมีคุณคาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการคิด ทักษะการส่ือสาร สรุป วิเคราะหขอมูลจากเร่ือง
และส่ือตา ง ๆ ที่อานฟงและดเู พ่ือใหเ กิดความรูความเขาใจสามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรยี นรู มีความสามารถ
ในการแยกแยะ ตัดสินใจนําไปใชชีวิตประจําวันไดอยางภาคภูมิใจ รักความเปนไทย ชาติ ศาสน
กษตั รยิ  ซื่อสัตยมีวินัย ใฝเรยี นรู อยูอ ยางพอเพยี ง มงุ มนั่ ทํางาน และมีจติ สาธารณะ

รหสั ตัวชีว้ ัด
ท 1.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7, ป.2/8
ท 2.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4
ท 3.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7
ท 4.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5
ท 5.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3
รวมทง้ั หมด 27 ตัวชี้วดั

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พทุ ธศักราช 2564 13
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560)

ท13101 ภาษาไทย 3 คําอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย

ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ 3 เวลา 200 ชวั่ โมง
.............................................................................................................................................................

อานออกเสียงคํา ขอความ เร่ืองส้ัน ๆ และบทรอยกรองอยางงายไดคลองแคลว อธิบาย
ความหมายของคาํ และขอความทอี่ าน ต้งั คําถามและตอบคาํ ถามเชิงเหตุผลเก่ียวกับเรอ่ื งทอี่ าน ลาํ ดับ
เหตุการณและคาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน โดยระบุเหตุผลประกอบ สรุปความรูและขอคิด
จากเรื่องท่ีอานเพ่ือนําไปใชในอานหนังสือตามความสนใจอยางสม่ําเสมอและนําเสนอเร่ืองที่อาน
อานขอเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคําสั่งหรือขอแนะนํา อธิบายความหมายของขอมูลจาก
แผนภาพ แผนที่ แผนภูมิ มมี ารยาทในการอา น

คัดลายมือตังบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยายเก่ียวกับส่ิงใดสิ่งหนึ่งไดอยางชัดเจน
เขยี นบันทึกประจาํ วัน เขยี นจดหมายลาครู เขยี นเรื่องตามจนิ ตนาการ มมี ารยาทในการเขยี น

เลารายละเอียดเกี่ยวกับเร่ืองท่ีฟงและดูทั้งที่เปนความรูและบันเทิง บอกสาระสําคัญ
จากการฟง การดู ตั้งคําถาม และตอบคําถามเก่ียวกับเรื่องท่ีฟงและดู พูดแสดงความคิดเห็น
และความรูสึกจากเรื่องท่ีฟงและดูพูดสื่อสารไดชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค มีมารยาทในการฟง
การดู การพดู

เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคํา ระบุชนิดและหนาที่ของคําในประโยค
ใชพ จนานุกรมคน หาความหมายของคาํ แตงประโยคงาย ๆ แตง คําคลองจองและคาํ ขวัญ
เลอื กใชภ าษาไทยมาตรฐานและภาษาถน่ิ ไดเ หมาะสมกบั กาลเทศะ

ระบุขอคิดท่ีไดจากการอานฟงวรรณกรรม เพ่ือนําไปใชในชีวิตประจําวัน รูจักเพลงพื้นบาน
และเพลงกลอมเด็กเพ่ือปลูกฝงความชื่นชมวัฒนธรรมทองถิ่น แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับวรรณคดี
ที่อาน ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบทรอยกรองท่ีมีคุณคาตามความสนใจ โดยใช
กระบวนการคิด ทักษะการส่ือสาร สรุป วิเคราะหขอมูลจากเร่ืองและสื่อตาง ๆ ที่อานฟงและดู
เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจสามารถสื่อสารส่ิงที่เรียนรู มีความสามารถในการแยกแยะ ตัดสินใจ
นําไปใชชีวิตประจําวันไดอยางภาคภูมิใจ รักความเปนไทย ชาติ ศาสน กษัตริย ซ่ือสัตยมีวินัย
ใฝเรยี นรู อยอู ยา งพอเพียง มงุ ม่นั ทํางานและมีจติ สาธารณะ

รหสั ตัวชว้ี ดั
ท 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9
ท 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6
ท 3.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6
ท 4.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6
ท 5.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4
รวมทัง้ ส้นิ 31 ตัวชี้วัด

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พุทธศักราช 2564 14
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

ท14101 ภาษาไทย 4 คําอธิบายรายวิชาพื้นฐาน กลุมสาระการเรยี นรูภ าษาไทย

ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี 4 เวลา 200 ช่วั โมง
.............................................................................................................................................................

อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอ ยกรอง อธิบายความหมายของคํา ประโยคและสํานวน
อานเรื่องส้ันตามเวลาที่กําหนดและตอบคําถามจากเรื่องที่อาน แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็น
คาดคะเนเหตุการณจากเร่ืองที่อานโดยระบุเหตุผลประกอบ สรุปความรูและขอคิดจากเร่ืองท่ีอาน
เพื่อนําไปใชในชีวิตประจําวันอานหนังสือที่มีคุณคาตามความสนใจอยางสมํ่าเสมอ และแสดง
ความคิดเหน็ เกย่ี วกบั เร่อื งท่อี า น มมี ารยาทในการอาน

คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนส่ือสารโดยใชคําไดถูกตองชัดเจน
และเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิดเพื่อใชพัฒนางานเขียน เขียนยอความ
จากเรื่องสั้นๆ เขียนจดหมายถึงเพ่ือนและบิดามารดา เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษา
คน ควา เขยี นเรอื่ งตามจนิ ตนาการ มมี ารยาทในการเขยี น

จําแนกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องท่ีฟงและดู พูดสรุปความ ตั้งคําถามและตอบ
คําถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟงและดู รายงานเร่ืองหรือประเด็นท่ีศึกษาคนควาจากการฟง การดู
และการสนทนามีมารยาทในการฟง การดู และการพูด สะกดคํา และบอกความหมายของคํา
ในบรบิ ทตาง ๆ

ระบุชนิดและหนาท่ีของคําในประโยคใชพจนานุกรมคนหาความหมายของคํา แตงประโยค
ไดถูกตองตามหลักภาษาแตงบทรอยกรองและคําขวัญ บอกความหมายของสํานวนเปรียบเทียบ
ภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาถ่ิน

ระบุขอคิดจากนิทานพ้ืนบานหรือนิทานคติธรรม อธิบายขอคิดจากการอานเพื่อนําไปใช
ในชีวิตจริง รองเพลงพื้นบาน ทองจําบทอาขยานตามท่ีกําหนด และบทรอยกรองที่มีคุณคา
ตามความสนใจ โดยใชกระบวนการคิด ทักษะการส่ือสาร สรุป วิเคราะหขอมูลจากเร่ืองและสื่อ
ตาง ๆ ท่ีอานฟงและดูเพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจสามารถส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู มีความสามารถ
ในการแยกแยะ ตัดสินใจนําไปใชชีวิตประจําวันไดอยางภาคภูมิใจ รักความเปนไทย ชาติ ศาสน
กษัตรยิ  ซ่ือสัตยมวี ินยั ใฝเรยี นรู อยูอยา งพอเพียง มงุ มั่นทํางานและมีจิตสาธารณะ

รหสั ตัวชวี้ ดั
ท 1.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7, ป.4/8
ท 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7, ป.4/8
ท 3.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6
ท 4.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7
ท 5.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4
รวมท้ังหมด 33 ตัวชีว้ ัด

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พทุ ธศกั ราช 2564 15
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560)

ท15101 ภาษาไทย 5 คาํ อธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน กลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย

ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 5 เวลา 200 ช่วั โมง
.............................................................................................................................................................

การอานเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดถูกตอง อธิบายความหมายของคํา ประโยค
และขอความท่ีเปนการบรรยาย และการพรรณนา อธิบายความหมายโดยนัยจากเรื่องที่อาน
อยางหลากหลาย แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเร่ืองท่ีอาน วิเคราะหและแสดงความคิดเห็น
เก่ียวกับเรื่องท่ีอานเพื่อนําไปใชในการดําเนินชีวิต อานงานเขียนเชิงอธิบาย คําส่ัง ขอแนะนํา
และปฏิบัติตาม อานหนังสือที่มีคุณคาตามความสนใจและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเรื่องท่ีอาน
และมมี ารยาทในการอา น

คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนสื่อสารโดยใชคําไดถูกตอง ชัดเจน
และเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพ่ือใชพัฒนางานเขียน เขยี นยอความ
จากเร่ืองที่อาน เขียนจดหมายถึงผูปกครองและญาติ เขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็นได
ตรงตามเจตนา กรอกแบบรายการตา ง ๆ เขยี นเรอ่ื งตามจนิ ตนาการ มมี ารยาทในการเขยี น

พูดแสดงความรูความคิดเห็นและความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู ต้ังคําถามและตอบคําถาม
เชิงเหตุผลจากเร่ืองที่ฟงและดวู ิเคราะหความนาเชื่อถอื จากเร่ืองท่ีฟงและดูอยางมีเหตผุ ล พูดรายงาน
เรือ่ งหรือประเดน็ ที่ศึกษาคนควาจากการฟง การดู และการสนทนา มมี ารยาทในการฟง การดู และการพูด

บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกตและเลขไทย เขียนสะกดคําและบอกความหมาย
ของคํา เขียนเรียงความเปนประโยคงาย ๆ ตอคําคลองจองงาย ๆ สรุปเร่ืองจากคําพังเพย สุภาษิต
ในทอ งถิ่นและวรรณคดีหรือวรรณกรรมทอี่ า น

ระบุความรูและขอคิดจากการอาน วรรณคดี และวรรณกรรมที่สามารถนําไปใชในชีวิตจริง
อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม ทองจําบทอาขยานตามท่ีกําหนดและบทรอยกรอง
ที่มีคุณคาตามความสนใจโดยใชกระบวนการคิด ทักษะการส่ือสาร สรุปวิเคราะหขอมูลจากเรื่อง
และส่ือตาง ๆ ท่ีอานฟงและดูเพ่ือใหเกดิ ความรคู วามเขาใจสามารถสือ่ สารส่งิ ที่เรียนรู มีความสามารถ
ในการแยกแยะ ตัดสินใจนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางภาคภูมิใจ รกั ความเปนไทย ชาติ ศาสน
กษตั ริย ซื่อสตั ย มีวินยั ใฝเ รยี นรู อยูอยางพอเพยี ง มงุ มัน่ ทาํ งาน และมีจิตสาธารณะ

รหัสตวั ชวี้ ัด
ท 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7, ป.5/8
ท 2.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7, ป.5/8, ป.5/9
ท 3.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5
ท 4.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7
ท 5.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4
รวมทั้งหมด 33 ตวั ชวี้ ัด

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พุทธศักราช 2564 16
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560)

ท16101 ภาษาไทย 6 คาํ อธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย

ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี 6 เวลา 200 ชัว่ โมง
.............................................................................................................................................................

อานออกเสยี งบทรอยแกว รอ ยกรอง อธบิ ายความหมายของคาํ ประโยค และขอ ความ
ทเี่ ปน โวหาร อา นเรอ่ื งส้ัน ๆ อยา งหลากหลายโดยจับเวลาแลว ถามเกย่ี วกับเรอ่ื งท่ีอา น
แยกขอเทจ็ จรงิ ขอ คิดเหน็ จากเรื่องที่อา น อธบิ ายการนําความรแู ละความคดิ จากเรอ่ื งท่ีอา น
ไปตดั สินใจแกปญหาในการดําเนินชีวิต อานงานเขียนเชิงอธิบาย คําส่ัง ขอแนะนาํ และปฏิบัตติ าม
อธิบายความหมายของขอมูลจากการอานแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ อานหนังสือตาม
ความสนใจและอธบิ ายคณุ คา ทไ่ี ดร ับ และมมี ารยาทในการอาน

คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนส่ือสาร เขียนแผนภาพโครงเร่ือง
เขียนเรียงความ เขียนยอความ เขียนจดหมายสวนตัว กรอกแบบรายการตาง ๆ เขียนตาม
จนิ ตนาการ และมีมารยาทในการเขยี น

พูดแสดงความรู ความเขาใจ ต้ังคําถาม ถามตอบเชิงเหตุผล วิเคราะหความนาเชื่อถือ
พูดรายงานประเด็นที่ศึกษาจากเรื่องที่ฟงและดู พูด พูดโนมนาวอยางมีเหตุผลและนาเชื่อถือ
มมี ารยาทในการฟง ดู และพูด

วิเคราะหชนิดและหนาที่ของคํา ใชคําไดเหมาะสมกับกาลเทศะ รวบรวม บอกความหมาย
ของคําภาษาตางประเทศที่ใชในภาษาไทย ระบุลักษณะของประโยค แตงบทรอยกรอง ลักษณะ
ของประโยคของภาษาถนิ่ วิเคราะหเปรียบเทยี บสาํ นวน สภุ าษิต คําพงั เพย

แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดี วรรณกรรม เลานิทานพื้นบานมาประยุกตใชในชีวิตจริง
ทองจาํ บทอาขยานและบทรอ ยกรองไดอยางมคี ุณคา โดยใชกระบวนการคิด ทักษะการสื่อสาร สรุป
วิเคราะหขอมูลจากเร่ืองและส่ือตาง ๆ ที่อาน ฟง และดูเพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ สามารถ
ส่ือสารส่ิงที่เรียนรู มีความสามารถในการแยกแยะ ตัดสินใจนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอยาง
ภาคภูมิใจ รักความเปนไทย ชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตย มีวินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง
มุงม่นั ทํางาน และมจี ติ สาธารณะ

รหัสตวั ช้วี ดั
ท 1.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8, ป.6/9
ท 2.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8, ป.6/9
ท 3.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6
ท 4.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6
ท 5.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4
รวมทง้ั หมด 34 ตัวชว้ี ัด

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถมั ภ) พุทธศกั ราช 2564 17
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

รายวิชาพื้นฐาน กลุมสาระการเรยี นรูคณิตศาสตร
ระดบั ชัน้ ประถมศึกษา

รายวิชาพื้นฐาน จํานวน 200 ช่วั โมง
ค11101 คณิตศาสตร 1 จาํ นวน 200 ชว่ั โมง
ค12101 คณิตศาสตร 2 จํานวน 200 ชว่ั โมง
ค13101 คณติ ศาสตร 3 จํานวน 200 ช่วั โมง
ค14101 คณิตศาสตร 4 จํานวน 200 ชว่ั โมง
ค15101 คณิตศาสตร 5 จาํ นวน 200 ชั่วโมง
ค16101 คณิตศาสตร 6

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พทุ ธศกั ราช 2564 18
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช 2560)

ค11101 คณติ ศาสตร 1 คําอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน กลมุ สาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร

ช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี 1 เวลา 200 ชวั่ โมง
.............................................................................................................................................................

ศึกษา ฝกทักษะการคิดคํานวณ และฝกแกปญ หา จํานวนนับ 1 ถึง 100 และ 0
บอกและแสดงจํานวนส่ิงตาง ๆ ตามจํานวนที่กําหนด อานและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย
การบอกอันดับที่หลัก คาของเลขโดดในแตละหลัก และเขียนแสดงจํานวนในรูปกระจาย
เปรียบเทียบจํานวนนับไมเกิน 100 และ 0 โดยใชเคร่ืองหมาย = ≠ > < เรียงลําดับจํานวนตั้งแต
3 ถึง 5 จํานวน และหาคาของตัวไมทราบคาในประโยคสัญลักษณแสดงการบวก การลบ การแก
โจทยปญหาการบวก การลบ ของจํานวนนับไมเกิน 100 และ 0 ความยาวและนา้ํ หนัก สรา งโจทย
ปญหาพรอมทั้งแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาการบวก การลบของจํานวนนับไมเกิน 100
และ 0 ระบุจํานวนท่ีหายไปในแบบรูปของจํานวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละ 1 ทีละ 10 รูปท่ีหายไป
ในแบบรูปซํา้ ของรปู เรขาคณิตและรูปอ่ืน ๆ ท่สี มาชิกในแตล ะชุดทีซ่ ้าํ มี 2 รปู

วัดและเปรียบเทียบความยาวเปนเซนติเมตร เปนเมตร น้ําหนักเปนกิโลกรัมเปนขีด
และใชหนวยที่ไมใชหนวยมาตรฐาน จําแนกรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม วงกลม วงรี ทรงสี่เหลี่ยม
มุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย ใชขอมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคําตอบของโจทย
ปญ หา เม่ือกาํ หนดรูป 1 รูป แทน 1 หนว ย

ในการจัดการเรียนรูไดกําหนดสถานการณเพ่ือใหผูเรียนไดศึกษา คนควา ฝกทักษะ
โดยการปฏิบัติจริง สรุปเนื้อหา มีเจตคติท่ีดีตอคณิตศาสตร มีความคิดริเริ่มสรางสรรค เพ่ือพัฒนา
ทักษะ และกระบวนการทางคณติ ศาสตรของผูเรียน และนําไปใชในชีวิตประจาํ วนั ได

รหสั ตวั ช้วี ดั
ค 1.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5
ค 1.2 ป.1/1
ค 2.1 ป.1/1, ป.1/2
ค 2.2 ป.1/1
ค 3.1 ป.1/1
รวมทั้งหมด 10 ตัวชี้วดั

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถมั ภ) พุทธศกั ราช 2564 19
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560)

ค12101 คณิตศาสตร 2 คําอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน กลุม สาระการเรียนรูคณติ ศาสตร

ชั้นประถมศึกษาปท ่ี 2 เวลา 200 ช่วั โมง
.............................................................................................................................................................

ศึกษา ฝกทักษะการคิดคํานวณและฝกแกปญหา จํานวนนับ 1 ถึง 1,000 และ 0
บอกและแสดงจํานวนส่ิงตาง ๆ ตามจํานวนท่ีกําหนด อานและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย
การบอกอันดับที่หลัก คาของเลขโดดในแตละหลัก และเขียนแสดงจํานวนในรูปกระจาย
เปรียบเทียบจํานวนนับไมเกิน 1,000 และ 0 โดยใชเครื่องหมาย = ≠ > < เรียงลําดับจํานวนนับ
ไมเกิน 1,000 และ 0 ต้ังแต 3 ถึง 5 จํานวน และหาคาของตัวไมทราบคาในประโยคสัญลักษณแสดง
การบวก การลบ การแกโจทยปญหาการบวก การลบของจํานวนนับไมเกิน 1,000 และ 0
หาคาของตัวไมทราบคาในประโยคสัญลักษณแสดงการคูณของจํานวน 1 หลักกับจํานวนไมเกิน 2
หลัก และประโยคสัญลักษณแสดงการหารที่ตัวต้ังไมเกิน 2 หลัก ตัวหาร 1 หลัก โดยท่ีผลหาร
มี 1 หลัก ท้ังหารลงตัวและหารไมลงตัว หาผลลัพธการบวก ลบ คูณ หารระคนของจํานวนนับ
ไมเกิน 1,000 และ 0 แสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหา 2 ข้ันตอนของจํานวนนับไมเกิน 1,000
และ 0 แสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาเกี่ยวกับเวลาที่มีหนวยเดี่ยวและเปนหนวยเดียว วัดและ
เปรียบเทียบความยาวเปนเมตรและเซนติเมตร พรอมทั้งแสดงวิธีการหาคําตอบของโจทยปญหาการ
บวก การลบความยาวทีม่ ีหนว ยเปนเมตรและเซนติเมตร วัดและเปรยี บเทยี บนา้ํ หนกั เปน กิโลกรัมและ
กรัม กิโลกรัมและขีด พรอมทั้งแสดงวิธีการหาคําตอบของโจทยปญหาการบวก การลบเกี่ยวกับ
นํ้าหนักที่มีหนวยเปนกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด วัดและเปรียบเทียบปริมาตรและความจุเปน
ลิตร จําแนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหล่ียมและวงกลม ใชขอมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหา
คาํ ตอบของโจทยป ญหา เม่ือกาํ หนดรปู 1 รปู แทน 2 หนว ย 5 หนว ย หรือ 10 หนวย

ในการจัดการเรียนรูไดกําหนดสถานการณเพื่อใหผูเรียนไดศึกษา คนควา ฝกทักษะ
โดยการปฏิบัติจริง สรุปเนื้อหา มีเจตคติท่ีดีตอคณิตศาสตร มีความคิดริเริ่มสรางสรรค เพื่อพัฒนา
ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตรของผเู รียน และนาํ ไปใชใ นชวี ิตประจาํ วันได

รหสั ตวั ชีว้ ดั
ค 1.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/6, ป.2/7, ป.2/8
ค 2.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6
ค 2.2 ป.2/1
ค 3.1 ป.2/1
รวมทง้ั หมด 16 ตัวชีว้ ดั

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถมั ภ) พุทธศกั ราช 2564 20
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

ค13101 คณติ ศาสตร 3 คําอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน กลมุ สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร

ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 3 เวลา 200 ชั่วโมง
.............................................................................................................................................................

อานและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจํานวนนับไมเกิน
100,000,000 และ 0 เปรียบเทียบและเรียงลําดับจาํ นวนนับไมเกิน 100,000 และ 0 จากสถานการณ
ตาง ๆ บอก อานและเขียนเศษสวนท่ีแสดงปริมาณสิ่งตาง ๆ และแสดงส่ิงตาง ๆ ตามเศษสวน
ทกี่ าํ หนด เปรียบเทียบเศษสวนทตี่ วั เศษเทา กนั โดยทต่ี ัวเศษนอยกวา หรอื เทา กับตวั สว น

หาคาของตัวไมทราบคาในประโยคสัญลักษณแสดงการบวกและการลบของจํานวนนับไมเกิน
100,000 และ 0 หาคาของตัวไมทราบคาในประโยคสัญลักษณแสดงการคูณของจํานวน 1 หลัก
กับจํานวนไมเกิน 4 หลัก และจํานวน 2 หลักกับจํานวน 2 หลัก หาคาของตัวไมทราบคาในประโยค
สัญลักษณแสดงการหารท่ีตัวตั้งไมเกิน 4 หลัก ตัวหาร 1 หลัก และหาผลลัพธการบวก ลบ คูณ หารระคน
และแสดงวิธีการหาคําตอบของโจทยปญหา 2 ข้ันตอนของจํานวนนับไมเกิน 100,000 และ 0 หาผลบวก
และแสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาการบวกของเศษสวนที่มีตัวสวนเทากัน และผลบวกไมเกิน 1
และหาผลลบพรอมทัง้ แสดงวธิ ีหาคาํ ตอบของโจทยป ญหาการลบของเศษสวนท่ีมีตัวสวนเทา กนั

ระบุจํานวนที่หายไปในแบบรูปของจํานวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละเทา ๆ กัน แสดงวิธีหา
คําตอบของโจทยปญหาเก่ียวกับเงิน เวลา และระยะเวลา เลือกใชเคร่ืองมือความยาวท่ีเหมาะสม
วัดและบอกความยาวของส่ิงตาง ๆ เปนเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร คาดคะเน
ความยาวเปน เมตรและเปน เซนติเมตร เปรยี บเทียบความยาวและแสดงวธิ ีหาคําตอบของโจทยปญ หา
เกี่ยวกับระหวางเซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร จากสถานการณ
ตาง ๆ เลือกใชเคร่ืองชั่งที่เหมาะสม วัด และบอกน้ําหนักเปนกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม
คาดคะเนนํ้าหนักเปนกิโลกรัมและเปนขีด เปรียบเทียบนํ้าหนักและแสดงวิธีหาคําตอบของโจทย
ปญหาเก่ียวกับนํ้าหนักที่มีหนวยเปนกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม จากสถานการณตาง ๆ
เลือกใชเคร่ืองตวงท่ีเหมาะสม วัดและเปรียบเทียบปริมาตร ความจเุ ปนลติ รและมลิ ลิลิตร คาดคะเน
และแสดงวธิ หี าคําตอบของโจทยปญหาเก่ียวกบั ปรมิ าตรและความจเุ ปนลิตรและมิลลเิ มตร

ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกนสมมาตรและจํานวนแกนสมมาตร เขียนแผนภูมิรูปภาพ
และใชขอมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคําตอบของโจทยปญหา เขียนตารางทางเดียวจากขอมูล
ทเ่ี ปนจาํ นวนนบั และใชขอมลู จากตารางทางเดียวในการหาคาํ ตอบของโจทยป ญหา

ในการจัดการเรียนรูไดกําหนดสถานการณเพ่ือใหผูเรียนไดศึกษา คนควา ฝกทักษะ
โดยการปฏิบัติจริง สรุปเน้ือหา มีเจตคติท่ีดีตอคณิตศาสตร มีความคิดริเริ่มสรางสรรค เพื่อพัฒนา
ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรของผูเรยี น และนาํ ไปใชในชวี ิตประจาํ วนั ได

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถมั ภ) พทุ ธศกั ราช 2564 21
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560)

รหัสตวั ชวี้ ดั
ค 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10, ป.3/11
ค 1.2 ป.3/1
ค 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10, ป.3/11, ป.3/12, ป.3/13
ค 2.2 ป.3/1
ค 3.1 ป.3/1, ป.3/2
รวมท้ังหมด 28 ตัวช้วี ดั

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พุทธศกั ราช 2564 22
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

ค14101 คณิตศาสตร 4 อธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน กลุมสาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 เวลา 200 ชั่วโมง
.............................................................................................................................................................

ศึกษา ฝกทักษะการอานและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดง
จํานวนนับที่มากกวา 100,000 พรอมท้ังเปรียบเทียบและเรียงลําดับจํานวนนับท่ีมากกวา 100,000
จากสถานการณตาง ๆ บอก อา นและเขียนเศษสวน จํานวนคละแสดงปรมิ าณสิ่งตาง ๆ และแสดง
สิ่งตา ง ๆ ตามเศษสว น จํานวนคละท่ีกําหนด เปรียบเทียบ เรียงลําดับเศษสวนและจํานวนคละท่ีตัว
สวนตัวหนึ่งเปนพหูคูณของอีกตัวหนึ่ง อานและเขียนทศนิยมไมเกิน 3 ตําแหนง แสดงปริมาณ
ของส่ิงตาง ๆ ตามทศนิยมที่กําหนด เปรียบเทียบและเรียงลําดับทศนิยมไมเกิน 3 ตําแหนง
และประมาณผลลัพธของการบวก การลบ การคูณ การหาร จากสถานการณตาง ๆ อยาง
สมเหตุสมผล หาคาของตัวไมทราบคาในประโยคสัญลักษณ แสดงการบวก การลบของจํานวนนับ
ทม่ี ากกวา 100,000 และ 0 แสดงการคูณของจํานวนหลายหลัก 2 จํานวน ท่ีมีผลคูณไมเ กิน 6 หลัก
และแสดงการหารท่ีตัวต้ังไมเกิน 6 หลัก ตัวหารไมเกิน 2 หลัก หาผลลัพธการบวก ลบ คูณ หาร
ระคนของจํานวนนับ และ 0 แสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหา 2 ข้ันตอนของจํานวนนับท่ีมากกวา
100,000 และ 0 สรางโจทยปญหา 2 ขั้นตอนของจาํ นวนนับ และ 0 พรอมท้ังหาคําตอบ หาคาํ ตอบ
และแสดงวิธีหาคาํ ตอบของโจทยปญหาการบวก การลบของเศษสว นและจํานวนคละท่ีตัวสว นตัวหน่ึง
เปนพหูคูณของอีกตัวหนึ่ง หาผลบวก ผลลบของทศนิยมไมเกิน 3 ตําแหนง และแสดงวิธีหาคําตอบ
ของโจทยป ญหาการบวก การลบ 2 ข้นั ตอนของทศนยิ มไมเ กิน 3 ตําแหนง

แสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาเก่ียวกับเวลา วัดและสรางมุมโดยใชโพรแทรกเตอร
แสดงวิธีหาคําตอบของโจทยป ญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพืน้ ที่ของรูปสเ่ี หลย่ี มมมุ ฉาก จําแนก
ชนิดของมุม บอกชื่อมุม สวนประกอบของมุมและเขียนสัญลักษณแสดงมุม สรางรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
เมอื่ กําหนดความยาวของดาน และใชขอ มูลจากแผนภูมิแทง ตารางสองทางในการหาคําตอบของโจทยปญหา

ในการจัดการเรียนรูไดกําหนดสถานการณเพ่ือใหผูเรียนไดศึกษา คนควา ฝกทักษะ
โดยการปฏิบัติจริง สรุปเนื้อหา มีเจตคติที่ดีตอคณิตศาสตร มีความคิดริเริ่มสรางสรรค เพ่ือพัฒนา
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรข องผูเรียน และนาํ ไปใชในชีวติ ประจาํ วันได

รหัสตัวช้ีวัด
ค 1.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7, ป.4/8, ป.4/9, ป.4/10,

ป.4/11, ป.4/12, ป.4/13, ป.4/14, ป.4/15, ป.4/16
ค 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
ค 2.2 ป.4/1, ป.4/2
ค 3.1 ป.4/1
รวมทงั้ หมด 22 ตัวช้วี ัด

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พทุ ธศกั ราช 2564 23
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

ค15101 คณิตศาสตร 5 คาํ อธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร

ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 5 เวลา 200 ช่ัวโมง
.............................................................................................................................................................

เขียนเศษสวนที่มีตัวสวนเปนตัวประกอบของ 10 หรือ 100 หรือ 1,000 ในรูปทศนิยม
แสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาโดยใชบัญญัติไตรยางศ หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหาร
ของเศษสวนและจํานวนคละ แสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาการบวก การลบ การคูณ
การหารเศษสวน 2 ข้ันตอน หาผลคูณของทศนิยม ที่ผลคูณเปนทศนิยมไมเกิน 3 ตําแหนง
หาผลหารท่ีตัวต้ังเปนจํานวนนับหรือทศนิยมไมเกิน 3 ตําแหนง และตัวหารเปนจํานวนนับ
ผลหารเปนทศนิยมไมเกิน 3 ตําแหนง แสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาการบวก การลบ
การคูณ การหารทศนิยม 2 ข้นั ตอน และแสดงวธิ ีหาคําตอบของโจทยปญ หารอ ยละไมเกนิ 2 ขัน้ ตอน

แสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาเก่ียวกับความยาว น้ําหนัก ที่มีการเปล่ียนหนวย
และเขียนในรูปทศนิยม แสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาเกยี่ วกับปริมาตรของทรงสี่เหล่ียมมมุ ฉาก
และความจุของภาชนะทรงสี่เหล่ียมมุมฉาก ความยาวรอบรูปของรูปส่ีเหล่ียมและพื้นที่ของรูป
สี่เหลี่ยมดานขนานและรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน สรางเสนตรงหรือสวนของเสนตรงใหขนานกับ
เสน ตรงหรอื สวนของเสนตรงทก่ี ําหนดให จําแนกรูปส่เี หล่ียมโดยพิจารณาจากสมบัติของรปู สรางรูป
ส่ีเหล่ียมชนิดตาง ๆ เมื่อกําหนดความยาวของดานและขนาดของมุมหรือเม่ือกําหนดความยาว
ของเสนทแยงมมุ และบอกลักษณะของปริซึม

ใชขอมูลจากกราฟเสนในการหาคําตอบของโจทยปญหา และเขียนแผนภูมิแทงจากขอมูล
ที่เปนจํานวนนบั

ในการจัดการเรียนรูไดกําหนดสถานการณเพื่อใหผูเรียนไดศึกษา คนควา ฝกทักษะ
โดยการปฏิบัติจริง สรุปเน้ือหา มีเจตคติที่ดีตอคณิตศาสตร มีความคิดริเริ่มสรางสรรค เพื่อพัฒนา
ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตรของผเู รยี น และนําไปใชใ นชวี ิตประจําวันได

รหสั ตัวช้วี ดั
ค 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7, ป.5/8, ป.5/9
ค 2.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4
ค 2.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4
ค 3.1 ป.5/1, ป.5/2,
รวมท้งั หมด 19 ตวั ชวี้ ดั

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พทุ ธศักราช 2564 24
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560)

ค16101 คณิตศาสตร 6 คาํ อธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน กลุม สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร

ชัน้ ประถมศึกษาปที่ 6 เวลา 200 ชวั่ โมง
.............................................................................................................................................................

เปรียบเทียบ เรียงลําดับ เศษสวนและจํานวนคละจากสถานการณตาง ๆ เขียนอัตราสวน
แสดงการเปรียบเทียบปริมาณ ๒ ปริมาณจากขอความหรือสถานการณ โดยท่ีปริมาณแตละปริมาณ
เปนจํานวนนับ หาอัตราสวนท่ีเทากับอัตราสวนท่ีกําหนดให หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับ
ไมเกิน ๓ จํานวน แสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาโดยใชความรูเก่ียวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
หาผลลัพธของการบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษสวนและจํานวนคละ แสดงวิธีหาคําตอบของโจทย
ปญหาเศษสวนและจํานวนคละ ๒ – ๓ ข้ันตอน หาผลหารของทศนิยมท่ีตัวหารและผลหารเปน
ทศนิยมไมเกิน ๓ ตําแหนง แสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาการบวก การลบ การคูณ การหาร
ทศนิยม ๓ ขั้นตอน แสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาอัตราสวน ปญหารอยละ ๒ – ๓ ขั้นตอน
แสดงวิธีคิดและหาคําตอบของปญหาเกี่ยวกับแบบรูป แสดงวิธีหาคําตอบของโจทยปญหาเก่ียวกับ
ปรมิ าตรของรปู เรขาคณิตสามมิติที่ประกอบดวยทรงสเ่ี หลีย่ มมุมฉาก และแสดงวิธีหาคําตอบของโจทย
ปญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพ้ืนที่ของรูปหลายเหลี่ยม ความยาวรอบรูปและพ้ืนท่ีของวงกลม
จาํ แนกรูปสามเหล่ยี มโดยพจิ ารณาจากสมบตั ขิ องรูป สรางรปู สามเหล่ียมเมื่อกําหนดความยาวของดา น
และขนาดของมุม บอกลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดตาง ๆ ระบุรูปเรขาคณิตสามมิติ
ท่ีประกอบจากรูปคล่ีและระบรุ ูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ ใชขอมูลจากแผนภูมริ ปู วงกลมในการหา
คาํ ตอบของโจทยปญ หาในการจดั การเรียนรูไดกาํ หนดสถานการณ

เพ่ือใหผูเรียนไดศึกษา คนควา ฝกทักษะโดยการปฏิบัติจริง สรุปเนื้อหา มีเจตคติที่ดีตอ
คณิตศาสตร มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค เพือ่ พัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรของผเู รียน
และนําไปใชใ นชีวิตประจําวันได

รหสั ตัวชว้ี ัด
ค 1.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8, ป.6/9, ป.6/10,

ป.6/11, ป.6/12
ค 1.2 ป.6/1
ค 2.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3
ค 2.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4
ค 3.1 ป.6/1
รวมท้ังหมด 21 ตวั ชีว้ ดั

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พุทธศักราช 2564 25
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศักราช 2560)

รายวิชาพื้นฐานและรายวชิ าเพิ่มเติม กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ระดบั ชนั้ ประถมศึกษา

รายวชิ าพืน้ ฐาน จํานวน 120 ชั่วโมง
ว11101 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 1 จํานวน 120 ชว่ั โมง
ว12101 วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 2 จํานวน 120 ช่ัวโมง
ว13101 วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 3 จํานวน 120 ชัว่ โมง
ว14101 วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 4 จาํ นวน 120 ชว่ั โมง
ว15101 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 5 จาํ นวน 120 ช่ัวโมง
ว16101 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 6

รายวิชาเพ่มิ เตมิ จํานวน 40 ชว่ั โมง
ว11201 เทคโนโลยี 1 จํานวน 40 ช่วั โมง
ว12202 เทคโนโลยี 2 จํานวน 40 ชวั่ โมง
ว13203 เทคโนโลยี 3 จํานวน 40 ชัว่ โมง
ว14204 เทคโนโลยี 4 จาํ นวน 40 ชว่ั โมง
ว15205 เทคโนโลยี 5 จํานวน 40 ชว่ั โมง
ว16206 เทคโนโลยี 6

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พุทธศกั ราช 2564 26
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช 2560)

คาํ อธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน
ว11101 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 1 กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 1 เวลา 120 ชัว่ โมง
.............................................................................................................................................................

ศึกษาการเรียนรูแบบนักวิทยาศาสตร ลักษณะ หนาที่และการดูแลรักษาสวนตาง ๆ
ของรางกายมนุษย ลักษณะและหนาท่ีของสวนตาง ๆ ของสัตวและพืชรอบตัว และสภาพแวดลอม
ในบริเวณท่ีสัตวและพืชอาศัยอยู ชนิดและสมบัติของวัสดุท่ีใชทําวัตถุรอบตัว การเกิดเสียง
และทิศทางการเคลื่อนท่ีของเสียง ลักษณะของหิน และการมองเห็นดาวบนทองฟาในเวลากลางวัน
และกลางคืน การแกปญหาโดยการลองผิดลองถูก การเปรียบเทียบ การเขียนโปรแกรมอยางงาย
โดยใชซ อฟตแวรหรอื สอ่ื การใชง านอุปกรณเทคโนโลยเี บ้อื งตน การใชงานซอฟตแวรเบ้อื งตน

ใชการสืบเสาะหาความรู สังเกต สํารวจตรวจสอบโดยใชเครอื่ งมืออยา งงาย รวบรวมขอ มูล
บันทึก และอธิบายผลการสํารวจตรวจสอบ เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจ มที ักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตรข้ันพื้นฐานและมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารเบ้ืองตน สามารถส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความคิดสรางสรรค สามารถทํางานรวมกับ
ผอู ื่น แสดงข้ันตอนการแกปญหาอยางงาย เขียนโปรแกรมโดยใชส่ือ สราง จัดเก็บและเรียกใชไฟล
ตามวัตถุประสงค

ตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต
ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย ปฏิบัติตามขอตกลงในการใชงาน ดูแลรักษาอุปกรณ
และใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางเหมาะสม มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม
และคานิยมท่เี หมาะสม

รหสั ตัวชว้ี ดั
ว 1.1 ป.1/1, ป.1/2
ว 1.2 ป.1/1, ป.1/2
ว 2.1 ป.1/1, ป.1/2
ว 2.3 ป.1/1
ว 3.1 ป.1/1, ป.1/2
ว 3.2 ป.1/1
ว 4.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5
รวมท้ังหมด 15 ตัวช้วี ัด

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถมั ภ) พทุ ธศกั ราช 2564 27
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560)

คําอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน
ว12101 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2 กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 2 เวลา 120 ชัว่ โมง
.............................................................................................................................................................

ศึกษาการเรียนรูแบบนักวิทยาศาสตร ลักษณะของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต ความจําเปน
ของแสง และนํ้าตอการเจริญเติบโตของพืช วัฏจักรชีวิตของพืชดอก สมบัติการดูดซับนํ้าของวัสดุ
และการนําไปใชป ระโยชน สมบัติของวสั ดุท่ีเกิดจากการนาํ วสั ดมุ าผสมกนั การเลอื กวัสดุมาใชทําวตั ถุ
ตามสมบัติของวัสดุ การนําวัสดุท่ีใชแลวกลับมาใชใหม การเคลื่อนท่ีของแสง การมองเห็นวัตถุ
การปองกันอันตรายจากการมองวัตถุในบริเวณท่ีมีแสงสวางไมเหมาะสม สวนประกอบ
และการจําแนกชนิดของดิน การใชประโยชนจากดิน การแสดงขั้นตอนการแกปญหา การตรวจหา
ขอผิดพลาดของโปรแกรม การใชงานซอฟตแวรเบื้องตน การจัดการไฟลและโฟลเดอร การใชงาน
และดูแลรักษาอุปกรณคอมพิวเตอร เทคโนโลยีในชีวิตประจําวัน การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
อยางปลอดภัย

ใชการสืบเสาะหาความรู สังเกต จําแนกประเภท รวบรวมขอมูล บันทึก และอธิบาย
ผลการสํารวจตรวจสอบ เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
ขัน้ พ้ืนฐานและมีทกั ษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
เบื้องตน สามารถส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความคิดสรางสรรค สามารถทํางานรวมกับผูอ่ืน แสดง
ขั้นตอนการแกปญหาอยางงาย เขียนโปรแกรมแบบมีเง่ือนไขโดยใชบัตรคําสั่งและตรวจหา
ขอ ผิดพลาด ใชงานซอฟตแวร สราง จัดหมวดหมไู ฟลแ ละโฟลเดอร

ตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต
ตระหนักถึงความสําคัญของการปกปองขอมูลสวนตัว ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย ดูแล
รกั ษาอุปกรณค อมพิวเตอร มีจิตวทิ ยาศาสตร จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา นยิ มท่ีเหมาะสม

รหัสตวั ช้ีวดั
ว 1.2 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3
ว 1.3 ป.2/1
ว 2.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4
ว 2.3 ป.2/1, ป.2/2
ว 3.2 ป.2/1, ป.2/2
ว 4.2 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4
รวมท้ังหมด 16 ตัวช้วี ดั

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พทุ ธศกั ราช 2564 28
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

คําอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน
ว13101 วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 3 กลุม สาระการเรยี นรูว ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
ช้ันประถมศึกษาปท ี่ 3 เวลา 120 ชว่ั โมง
.............................................................................................................................................................

ศึกษาวิเคราะห บรรยายส่ิงที่จําเปนตอการดํารงชีวิต และการเจริญเติบโตของมนุษย
และสัตว โดยใชขอมูลที่รวบรวมได การสรางแบบจําลองท่ีบรรยายวัฏจักรชีวิตของสัตว
และเปรียบเทียบวัฏจักรชีวิตของสัตวบางชนิด การประกอบวัตถุขึ้นจากช้ินสวนยอย ๆ ซ่ึงสามารถ
แยกออกจากกันไดและประกอบกันเปนวัตถุช้ินใหมได การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเม่ือทําใหรอนข้ึน
หรือทําใหเย็นลง โดยใชหลักฐานเชิงประจักษ ผลของแรงท่ีมีตอการเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนท่ี
ของวัตถุจากแรงสัมผัสและแรงไมสัมผัสที่มีผลตอการเคลื่อนที่ของวัตถุ การใชการดึงดูดกับแมเหล็ก
ข้ัวแมเหล็ก ผลท่ีเกิดข้ึนระหวางขั้วแมเหล็กเม่ือนํามาเขาใกลกัน การเปล่ียนพลังงานหนึ่งไปเปนอีก
พลังงานหน่ึง การทํางานของเครื่องกําเนิดไฟฟา แหลงพลังงานในการผลิตไฟฟา การขึ้นและตก
ของดวงอาทติ ย สาเหตุการเกดิ ปรากฏการณการขนึ้ และตกของดวงอาทิตย การเกิดกลางวันกลางคืน
และการกําหนดทิศ สวนประกอบของอากาศ ความสําคัญของอากาศ และผลกระทบของมลพิษ
ทางอากาศตอ สง่ิ มีชีวิตประโยชนและโทษของลม การเกิดลม ประโยชนข องอาหาร นํ้า และอากาศ
การดูแลตนเองและสัตวใหไดรับส่ิงเหลาน้ีอยางเหมาะสม คุณคาของชีวิตสัตว โดยไมทําใหวัฏจักร
ชีวิตของสัตวเปล่ียนแปลง ประโยชนและโทษของไฟฟา วิธกี ารใชไฟฟาอยางประหยัดและปลอดภัย
ความสําคัญของดวงอาทิตย ประโยชนของดวงอาทิตยตอสิ่งมีชีวิต ความสําคัญของอากาศ
การปฏิบตั ิตนในการลดการเกดิ มลพิษทางอากาศ

ศึกษาวิเคราะห การแสดงอัลกอริทึมในการทํางาน หรือการแกปญหาอยางงายโดยใชภาพ
สัญลักษณหรือขอความ การเขียนโปรแกรมอยางงายโดยใชซอฟตแวรหรือสื่อ และตรวจหา
ขอผิดพลาดของโปรแกรม การใชอินเทอรเน็ตคนหาความรู การรวบรวม การประมวลผล
และการนําเสนอขอมูลโดยใชซอฟแวรตามวัตถุประสงค การใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย
ปฏบิ ตั ิตามขอ ตกลงในการใช

โดยใชก ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสาํ รวจตรวจสอบ
การสืบคนขอมูล การระบุ การจําแนก การเปรียบเทียบ การพยากรณ แบบจําลอง การบรรยาย
และการอภิปรายเพ่อื ใหเกดิ ความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถส่ือสารส่งิ ท่เี รยี นรู

มีความตระหนัก สามารถในการตัดสินใจ นําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน
มจี ิตวทิ ยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรมและคานิยมท่ีเหมาะสม

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พทุ ธศกั ราช 2564 29
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560)

รหัสตวั ช้วี ดั
ว 1.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4
ว 2.1 ป.3/1, ป.3/2
ว 2.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4
ว 2.3 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
ว 3.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
ว 3.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4
ว 4.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5
รวมทงั้ หมด 25 ตัวช้วี ัด

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถมั ภ) พุทธศกั ราช 2564 30
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

คาํ อธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน
ว14101 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 4 กลุม สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
ชน้ั ประถมศึกษาปที่ 4 เวลา 120 ช่ัวโมง
.............................................................................................................................................................

ศกึ ษาการเรียนรแู บบนักวทิ ยาศาสตร การจําแนกส่ิงมีชีวิตเปนกลุมพืช กลมุ สัตว และกลุม
ท่ีไมใชพืชและสัตว การจําแนกพืชออกเปนพืชดอกและพืชไมมีดอก การจําแนกสัตวออกเปนสัตว
มีกระดูกสันหลังและสัตวไมมีกระดูกสันหลัง ลักษณะเฉพาะของสัตวมีกระดูกสันหลังในกลุมปลา
กลุม สัตวสะเทนิ น้ําสะเทนิ บก กลุมสัตวเ ล้ือยคลาน กลุมนก และกลุมสัตวเลยี้ งลูกดวยน้าํ นม หนาที่
ของราก ลาํ ตน ใบและดอกของพืชดอก สมบัติทางกายภาพ ดานความแข็ง สภาพยดื หยุน การนํา
ความรอน และการนําไฟฟาของวัสดุ การนําสมบัติทางกายภาพของวัสดุไปใชในชีวิตประจําวัน
สมบัติของสสารทั้ง 3 สถานะ ผลของแรงโนมถวงท่ีมีตอวัตถุ การวัดน้ําหนักของวัตถุ มวลของวัตถุ
ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนท่ีของวัตถุ และตัวกลางของแสง การขึ้นและตกและรูปราง
ดวงจนั ทร และองคประกอบของระบบสุริยะ การใชเ หตผุ ลเชิงตรรกะในการแกป ญหา การออกแบบ
และเขียนโปรแกรมอยางงาย การตรวจหาขอผิดพลาดในโปรแกรม การคนหาขอมูลในอินเทอรเน็ต
และการใชคาํ คน การประเมนิ ความนาเช่ือถอื ของขอมลู การรวบรวม นําเสนอขอมูลและสารสนเทศ

ใชการสืบเสาะหาความรู ต้ังคําถาม คาดคะเนคําตอบหรือสรางสมมติฐาน วางแผน
และสํารวจตรวจสอบโดยใชเคร่ืองมืออุปกรณและเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเหมาะสม ประเมิน
ความนาเช่ือถือของขอมูล รวมรวมขอมูล ประมวลผลอยางงาย วิเคราะหขอมูล วิเคราะหผล
และสรา งทางเลอื ก นําเสนอขอมูล ลงความคิดเหน็ และสรุปผลการสํารวจตรวจสอบ เพื่อใหเ กิดความรู
ความเขาใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 ในดานการใช
เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเบ้ืองตน มีความคิดสรางสรรค สามารถทํางานรวมกับผูอ่ืน ใช
เหตุผลเชิงตรรกะในการแกปญหา และอธิบายการทํางานหรือคาดการผลลัพธจากปญหาอยางงาย
ออกแบบและเขยี นโปรแกรม ตรวจหาขอผดิ พลาดจากโปรแกรมของตนเองและผูอ่ืน

ตระหนักถึงคุณ คาของความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และใชความรู
และกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต สามารถสื่อสารอยางมีมารยาทและรูกาลเทศะ
รูจักการปกปองขอ มูลสวนตวั มจี ิตวทิ ยาศาสตร จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคา นยิ มทเ่ี หมาะสม

รหัสตัวช้ีวดั
ว 1.2 ป.4/1
ว 1.3 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4
ว 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4
ว 2.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
ว 2.3 ป.4/1
ว 3.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
ว 4.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5
รวมทงั้ หมด 21 ตัวช้วี ดั

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถมั ภ) พทุ ธศกั ราช 2564 31
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

คําอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ว15101 วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 5 กลุมสาระการเรียนรูว ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 5 เวลา 120 ชวั่ โมง
.............................................................................................................................................................

ศึกษาการเรียนรูแบบนักวิทยาศาสตร โครงสรางและลักษณะของส่ิงมีชีวิตที่เหมาะสม
ในแตละแหลงท่ีอยู ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตและความสัมพันธระหวางส่ิงมีชีวิตกับ
ส่ิงไมมีชีวิต การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของพืช สัตว และมนุษย การเปลี่ยนสถานะของ
สสาร การละลายของสารในนํ้า การเปล่ยี นแปลงทางเคมี การเปล่ยี นแปลงที่ผนั กลับไดและผันกลับ
ไมได แรงลัพธ แรงเสียดทาน การไดยินเสียงผานตัวกลาง ลักษณะและการเกิดเสียงสูง เสียงต่ํา
เสียงดงั และเสียงคอย ระดับเสียงและมลพิษทางเสียง ความแตกตางของดาวเคราะหและดาวฤกษ
การใชแผนท่ีดาว แบบรูปเสนทางการขึ้นและตกของกลุมดาวฤกษบนทองฟาในรอบป ปริมาณนํ้า
ในแตละแหลง ปริมาณนํ้าที่มนุษยสามารถนํามาใชได การใชนํ้าอยางประหยัดและการอนุรักษน้ํา
วัฏจักรน้ํา กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ําคาง และนํ้าคางแข็ง กระบวนการเกิดฝน หิมะ
และลูกเห็บ การใชเหตุผลเชิงตรรกะในการแกปญหา การเขียนรหัสลําลองเพ่ือแสดงวิธีแกปญหา
การออกแบบ และการเขียนโปรแกรมแบบมีเง่ือนไขและการทํางานแบบวนซ้ํา การใชซอฟตแวร
ประมวลผลขอมูล การติดตอส่ือสารผานอินเทอรเน็ต การใชอินเทอรเน็ตคนหาขอมูลและ
การประเมนิ ความนาเชือ่ ถือของขอ มูล อนั ตรายจากการใชง านและอาชญากรรมทางอนิ เทอรเน็ต

ใชก ารสืบเสาะหาความรู สังเกต รวบรวมขอมูล จัดกระทําและส่ือความหมายขอ มูล สราง
แบบจาํ ลอง และอธบิ ายผลการสาํ รวจตรวจสอบ เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ มที กั ษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตรขั้นพนื้ ฐานและทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 ในดา นการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการส่ือสารเบ้ืองตน สามารถสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู มีความคิดสรางสรรค สามารถทํางานรวมกับ
ผูอ่ืน แสดงวิธีแกปญหาโดยใชเหตุผลเชิงตรรกะ ใชรหัสลําลองแสดงวิธีการแกปญหาอยางเปน
ขั้นตอน ออกแบบ และเขียนโปรแกรมแบบมเี งื่อนไขและการทาํ งานแบบวนซํ้า ตรวจหาขอผดิ พลาด
ของโปรแกรม ใชซอฟตแวรชวยในการแกปญหา ใชอินเทอรเน็ตติดตอสื่อสารและคนหาขอมูล
แยกแยะขอ เท็จจริงกับขอคิดเหน็ ประเมนิ ความนาเชื่อถอื ของขอ มูล

ตระหนักถึงคุณ คาของความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และใชความรู
และกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย
และมมี ารยาท มีจติ วทิ ยาศาสตร จรยิ ธรรม คุณธรรม และคานิยมท่เี หมาะสม

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พุทธศักราช 2564 32
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560)

รหสั ตวั ชี้วัด
ว 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4
ว 1.3 ป.5/1, ป.5/2
ว 2.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4
ว 2.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5
ว 2.3 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5
ว 3.1 ป.5/1, ป.5/2
ว 3.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5
ว 4.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5
รวมทง้ั หมด 32 ตัวชี้วดั

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พุทธศักราช 2564 33
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

คําอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ว16101 วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 6 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 6 เวลา 120 ชว่ั โมง
.............................................................................................................................................................

ศึกษา คนควา สารอาหารและประโยชนของสารอาหารแตละประเภทจากอาหารที่ตนเอง
รับประทาน การเลือกรับประทานอาหารใหไดสารอาหารครบถวนในสัดสวนที่เหมาะสมกับเพศ
และวัย รวมทั้ง ความปลอดภัยตอสุขภาพ ความสําคัญของสารอาหาร โดยการเลือกรับประทาน
อาหารท่ีมีสารอาหารครบถวนในสัดสวนท่ีเหมาะสมกับเพศและวัย รวมทั้งปลอดภัยตอสุขภาพ
ระบบยอยอาหาร และหนาที่ของอวัยวะในระบบยอยอาหาร รวมทั้งอธิบายการยอยอาหาร
และการดูดซึมสารอาหาร ความสําคัญของระบบยอยอาหาร แนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะ
ในระบบยอ ยอาหารใหท ํางานเปน ปกติ

ศึกษา คนควา การแยกสารผสมโดยการหยิบออก การรอน การใชแมเหล็กดึงดูด
การรินออก การกรอง และการตกตะกอน วิธีแกปญหาในชีวิตประจําวันเกี่ยวกับการแยกสาร
การเกิด และผลของแรงไฟฟาซึ่งเกิดจากวัตถุท่ีผานการขัดถู สวนประกอบของวงจรไฟฟาอยางงาย
และตอ วงจรไฟฟาอยางงา ย การตอเซลลไฟฟา แบบอนุกรม ประโยชนการตอเซลลไฟฟาแบบอนุกรม
และการประยุกตใชในชีวิตประจําวัน การตอหลอดไฟฟาแบบอนุกรมและแบบขนาน ประโยชน
ขอจํากัด และการประยุกตใชในชีวิตประจําวันของการตอหลอดไฟฟาแบบอนุกรมและแบบขนาน
การเกิดเงามดื เงามวั รงั สีของแสงแสดงการเกิดเงามดื เงามัว

ศึกษา คนควา การเกิดและเปรียบเทียบปรากฏการณสุริยุปราคาและจันทรุปราคา
พัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศ การนําเทคโนโลยีอวกาศมาใชประโยชนในชีวิตประจําวัน การเกิด
หนิ อัคนี หินตะกอน และหินแปร และวัฏจักรหิน การใชประโยชนของหินและแรในชีวิตประจําวัน
การเกิดซากดึกดําบรรพและสภาพแวดลอมในอดีตของซากดึกดําบรรพ การเกิดลมบก ลมทะเล
และมรสุม ผลท่ีมีตอส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดลอม ผลของมรสุมตอการเกิดฤดูของประเทศไทย
ผลกระทบของนํ้าทวมการกัดเซาะชายฝง ดินถลม แผนดินไหว สึนามิผลกระทบของภัยธรรมชาติ
และธรณีพิบัติภัย แนวทางในการเฝาระวังและปฏิบัติตนใหปลอดภัยจากภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติ
ภัยที่อาจเกิดในทองถ่ิน การเกิดปรากฏการณเรือนกระจก และผลของปรากฏการณเรือนกระจก
ตอสิ่งมีชีวิต ผลกระทบของปรากฏการณเรือนกระจก แนวทางการปฏิบัติตนเพ่ือลดกิจกรรม
ท่กี อใหเ กิดแกสเรอื นกระจก

ศึกษา คนควา การใชเหตุผลเชิงตรรกะในการอธิบายและออกแบบวิธีการแกปญหาที่พบ
ในชีวิตประจําวัน การออกแบบและเขียนโปรแกรมอยางงาย เพ่ือแกปญหาในชีวิตประจําวัน
ตรวจหาขอผิดพลาดของโปรแกรมและแกไขการใชอินเทอรเน็ตในการคนหาขอมูลอยางมี
ประสิทธิภาพ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศทํางานรวมกันอยางปลอดภัย เขาใจสิทธิและหนาที่
ของตน เคารพในสิทธิของผอู ื่น แจงผูเกีย่ วของเมือ่ พบขอมลู หรือบุคคลที่ไมเหมาะสม

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พุทธศักราช 2564 34
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การออกแบบการทดลองและทดลอง การระบุ
การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การคาดคะเน การสืบคนขอมูล การสรางแบบจําลอง
การอธิบาย การเปรียบเทียบ การเขียนแผนภาพการบรรยายและการอภิปรายเพื่อใหเกิดความรู
ความคดิ ความเขาใจ สามารถสือ่ สารส่ิงทเ่ี รียนรู
รหสั ตวั ชว้ี ดั
ว 1.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6
ว 2.1 ป.6/1
ว 2.2 ป.6/1
ว 2.3 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8
ว 3.1 ป.6/1, ป.6/2
ว 3.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8, ป.6/9
รวมทงั้ หมด 30 ตัวชวี้ ดั

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พุทธศกั ราช 2564 35
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช 2560)

คาํ อธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเตมิ
ว11201 เทคโนโลยี 1 กลมุ สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
ชน้ั ประถมศึกษาปที่ 1 เวลา 40 ช่วั โมง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

การแกป ญหาโดยการลองผิดลองถูก การเปรียบเทยี บ การเขยี นโปรแกรมอยา งงา ยโดยใช
ซอฟตแวรห รอื ส่ือ การใชงานอปุ กรณเทคโนโลยีเบ้อื งตน การใชง านซอฟตแวรเบื้องตน

ใชการสืบเสาะหาความรู สังเกต สํารวจตรวจสอบโดยใชเ ครื่องมืออยา งงา ย รวบรวมขอมูล
บนั ทกึ และอธิบายผลการสํารวจตรวจสอบ เพอ่ื ใหเ กิดความรูความเขา ใจ มที กั ษะกระบวนการ ทาง
วทิ ยาศาสตรข ัน้ พ้นื ฐานและมีทกั ษะการเรยี นรูในศตวรรษที่ 21 ในดานการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
และการส่ือสารเบ้อื งตน สามารถสอ่ื สารส่ิงที่เรยี นรู มคี วามคิดสรา งสรรค สามารถทางานรว มกบั ผอู น่ื
แสดงขัน้ ตอนการแกปญ หาอยา งงาย เขยี นโปรแกรมโดยใชสื่อ สราง จัดเกบ็ และเรยี กใชไ ฟลต าม
วตั ถปุ ระสงค

ตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดารงชีวิต
ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย ปฏิบัติตามขอตกลงในการใชงาน ดูแลรักษาอุปกรณและใช
งานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางเหมาะสม มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมที่
เหมาะสม

ผลการเรียนรู
1. รวบรวม ประมวลผล และนาํ เสนอขอ มูล โดยใชซอฟแวรต ามวัตถปุ ระสงค
2. ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย ปฏิบัติตามขอตกลงในการใชคอมพิวเตอรรวมกัน ดูแล
รักษาอุปกรณเ บื้องตน
3. แกป ญหาอยา งงายโดยใชการลองผิดลองถกู การเปรียบเทยี บ
4. แสดงลาํ ดับข้ันตอนการทาํ งานหรอื การแกป ญหาอยางงายโดยใชภ าพ
5. เขียนโปรแกรมอยา งงา ยโดยใชซอฟแวรห รือสอ่ื
6. ใชเทคโนโลยใี นการสรางจดั เก็บ เรียกใชขอ มลู ตามวตั ถปุ ระสงค
รวมทง้ั หมด 6 ผลการเรยี นรู

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พทุ ธศกั ราช 2564 36
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560)

คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเตมิ
ว12202 เทคโนโลยี 2 กลุม สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี 2 เวลา 40 ช่วั โมง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

การแสดงขั้นตอนการแกปญหา การตรวจหาขอผดิ พลาดของโปรแกรม การใชงานซอฟตแ วร
เบื้องตน การจัดการไฟลและโฟลเดอร การใชงานและดแู ลรักษาอุปกรณคอมพวิ เตอร เทคโนโลยีใน
ชีวติ ประจาวนั การใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภยั

ใชก ารสบื เสาะหาความรู สังเกต จําแนกประเภท รวบรวมขอ มูล บันทกึ และอธิบายผลการ
สาํ รวจตรวจสอบ เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข ้ันพืน้ ฐานและมี
ทกั ษะ การเรียนรูใ นศตวรรษที่ 21 ในดานการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารเบ้ืองตน
สามารถส่อื สารส่ิงที่เรยี นรู มคี วามคิดสรางสรรค สามารถทางานรว มกับผูอืน่ แสดงข้นั ตอนการ
แกป ญหาอยางงาย เขยี นโปรแกรมแบบมีเงื่อนไขโดยใชบ ัตรคาส่งั และตรวจหาขอผิดพลาด ใชงาน
ซอฟตแวร สราง จัดหมวดหมูไฟลแ ละโฟลเดอร

ตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดารงชีวิต
ตระหนักถึงความสําคัญของการปกปองขอมูลสวนตัว ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย ดูแล
รกั ษาอุปกรณคอมพิวเตอร มจี ิตวทิ ยาศาสตร จริยธรรม คณุ ธรรม และคา นิยมที่เหมาะสม

ผลการเรียนรู
1. รวบรวม ประมวลผล และนาํ เสนอขอ มลู โดยใชซอฟแวรต ามวัตถปุ ระสงค
2. ใชเ ทคโนโลยใี นการสราง จดั หมวดหมู คน หา จัดเก็บ เรียกใชขอมลู ตามวตั ถุประสงค
3. แสดงลาํ ดับขัน้ ตอนการทาํ งานหรือการแกปญหาอยางงายโดยใชภาพ สญั ลักษณ หรือขอความ
4. เขียนโปรแกรมอยางงายโดยใชซ อฟแวรห รือสื่อ และตรวจหาขอ ผดิ พลาดของโปรแกรม
5. ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย ปฏิบัติตามขอตกลงในการใชคอมพิวเตอรรวมกัน ดูแล
รกั ษาอปุ กรณเ บื้องตน ใชงานอยางเหมาะสม
รวมทง้ั หมด 5 ผลการเรียนรู

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถมั ภ) พุทธศักราช 2564 37
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

คาํ อธบิ ายรายวิชาเพิ่มเติม
ว13203 เทคโนโลยี 3 กลุม สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 เวลา 40 ชว่ั โมง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

การแสดงขัน้ ตอนการแกป ญหาโดยใชเ หตุผลเชงิ ตรรกะเบื้องตน การเขยี นโปรแกรมแบบวนซาํ้
โดยใชบ ตั รคาส่งั และการตรวจหาขอผิดพลาด การใชอินเทอรเนต็ และขอ ตกลงในการใชงาน การ
รวบรวมขอ มูล การประมวลผลขอ มูลเบื้องตน การนาเสนอขอมลู เทคโนโลยี ในงานดา นตา ง ๆ ขอ ดี
และขอเสยี ในการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร

ใชก ารสบื เสาะหาความรู สงั เกต รวบรวมขอมูล จดั กระทาและสอ่ื ความหมายขอมูล สรา ง
แบบจาลอง และอธบิ ายผลการสาํ รวจตรวจสอบ เพ่ือใหเ กิดความรคู วามเขาใจ มีทกั ษะกระบวนการ
ทางวทิ ยาศาสตร ขัน้ พนื้ ฐานและมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 ในดานการใชเ ทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอื่ สารเบื้องตน สามารถสอ่ื สารส่ิงทเี่ รยี นรู มีความคดิ สรางสรรค สามารถทางาน
รว มกับผูอน่ื แสดงขน้ั ตอนการแกป ญหา เขยี นโปรแกรมแบบวนซา้ํ โดยใชบ ัตรคาสัง่ ใชอ ินเทอรเนต็ ใน
การคนหาความรู รวบรวม ประมวลผล และนาเสนอขอ มลู ตามวตั ถปุ ระสงค

ตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดารงชีวิต
ตระหนักถึงการใชอินเทอรเน็ตอยางปลอดภัยและอยูในการดูแลของครูหรือผูปกครอง มีจิต
วิทยาศาสตร จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา นยิ มที่เหมาะสม

ผลการเรยี นรู
1. ใชอ ินเตอรเ นต็ คน หาความรู
2. รวบรวมประมวลผลและนาํ เสนอขอ มูลโดยใชซ อฟแวรต ามวตั ถุประสงค
3. ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย ปฏิบัติตามขอตกลงในการใชคอมพิวเตอรรวมกัน ดูแล
รกั ษาอุปกรณเ บอ้ื งตน ใชง านอยา งเหมาะสม
4. แสดงอลั กอรทิ ึมในการทาํ งานหรอื การแกปญ หาอยา งงายโดยใชภ าพสัญลกั ษณ หรือขอ ความ
5. เขยี นโปรแกรมอยางงายโดยใชซอฟแวรห รือสื่อ และตรวจหาขอผดิ พลาดของโปรแกรม
6. ใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย ปฏบิ ตั ิตามขอ ตกลงในการใชค อมพวิ เตอร
รวมทง้ั หมด 6 ผลการเรยี นรู

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พทุ ธศกั ราช 2564 38
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560)

คาํ อธบิ ายรายวิชาเพิ่มเตมิ
ว14204 เทคโนโลยี 4 กลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ช้นั ประถมศึกษาปที่ 4 เวลา 40 ชัว่ โมง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

การใชเ หตผุ ลเชิงตรรกะในการแกป ญ หา การออกแบบและเขียนโปรแกรมอยา งงาย การ
ตรวจหาขอผดิ พลาดในโปรแกรม การคน หาขอมูลในอินเทอรเน็ตและการใชค าคน การประเมินความ
นา เชือ่ ถอื ของขอมูล การรวบรวม นาเสนอขอ มูลและสารสนเทศ

ใชก ารสบื เสาะหาความรู ตัง้ คาถาม คาดคะเนคาตอบหรอื สรา งสมมติฐาน วางแผนและ
สํารวจตรวจสอบโดยใชเครื่องมอื อปุ กรณและเทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีเหมาะสม ประเมินความ
นา เชือ่ ถือ ของขอ มูล รวมรวมขอมูล ประมวลผลอยางงา ย วเิ คราะหขอมลู วเิ คราะหผ ลและสรา ง
ทางเลือก นาเสนอขอมูล ลงความคดิ เหน็ และสรุปผลการสํารวจตรวจสอบ เพ่ือใหเ กดิ ความรูความ
เขาใจ มีทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ ละมีทักษะการเรยี นรูใ นศตวรรษที่ 21 ในดานการใช
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเบ้ืองตน มคี วามคิดสรา งสรรค สามารถทางานรว มกับผอู ื่น ใช
เหตุผลเชิงตรรกะในการแกปญหา และอธิบายการทางานหรอื คาดการผลลัพธจากปญ หาอยางงาย
ออกแบบและเขยี นโปรแกรม ตรวจหาขอ ผิดพลาดจากโปรแกรมของตนเองและผอู ื่น

ตระหนักถึงคุณคาของความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และใชความรูและ
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรในการดารงชีวิต สามารถส่ือสารอยางมีมารยาทและรกู าลเทศะ รูจักการ
ปกปอ งขอ มลู สวนตัว มีจติ วิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคา นิยมที่เหมาะสม

ผลการเรียนรู
1. ใชเทคโนโลยีในการสรางจดั เกบ็ เรยี กใชขอ มลู ตามวัตถปุ ระสงค
2. อภิปรายองคประกอบและหลักการทํางานของระบบคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีการส่ือสาร เพ่ือ
ประยกุ ตใ ชง านหรือแกปญหาเบ้ืองตน
3. ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัยเขาใจสิทธิและหนาท่ีของตนเคารพในสิทธิของผูอ่ืน แจง
ผเู กยี่ วของเม่ือพบขอ มูลหรือบุคคลที่ไมเ หมาะสม
4. ใชเทคโนโลยีในการสรา งจดั หมวดหมู คนหา จัดเกบ็ เรียกใชขอ มลู ตามวตั ถุประสงค
5. รวบรวม ประเมิน นําเสนอขอมูลและสารสนเทศ โดยใชซอฟแวรที่หลากหลายเพ่ือแกปญหาใน
ชีวติ ประจําวัน
6. ใชเหตผุ ลเชิงตรรกะในการแกป ญหา การอธิบายการทาํ งานการคาดการณผลลัพธ จากปญหาอยางงาย
7. ออกแบบและเขียนโปรแกรมอยางงาย โดยใชซอฟแวรหรอื ส่อื และตรวจหาขอผดิ พลาดและแกไ ข
8. ใชอ ินเตอรเน็ตคน หาความรู และประเมินความนาเชอื่ ถอื ของขอมูล
รวมทง้ั หมด 8 ผลการเรยี นรู

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พทุ ธศักราช 2564 39
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560)

คําอธิบายรายวิชาเพ่ิมเตมิ
ว15205 เทคโนโลยี 5 กลุมสาระการเรียนรูว ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ 5 เวลา 40 ช่ัวโมง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

การใชเหตุผลเชิงตรรกะในการแกปญหา การเขียนรหัสลาลองเพื่อแสดงวิธีแกปญหา การ
ออกแบบ และการเขียนโปรแกรมแบบมีเง่ือนไขและการทางานแบบวนซ้ํา การใชซอฟตแวร
ประมวลผลขอมูล การติดตอสื่อสารผานอินเทอรเน็ต การใชอินเทอรเน็ตคน หาขอมูลและการประเมิน
ความนาเชื่อถือของขอมูล อันตรายจากการใชงานและอาชญากรรมทางอนิ เทอรเน็ต

ใชก ารสบื เสาะหาความรู สังเกต รวบรวมขอมลู จดั กระทาและสือ่ ความหมายขอมลู สราง
แบบจาลอง และอธบิ ายผลการสาํ รวจตรวจสอบ เพื่อใหเ กิดความรูความเขาใจ มที ักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร ขั้นพน้ื ฐานและทกั ษะการเรยี นรใู นศตวรรษที่ 21 ในดานการใชเ ทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่อื สารเบ้ืองตน สามารถส่อื สารสิ่งทเ่ี รยี นรู มีความคิดสรางสรรค สามารถทางาน
รว มกบั ผูอ น่ื แสดงวิธีแกปญ หาโดยใชเหตุผลเชิงตรรกะ ใชร หัสลาลองแสดงวธิ ีการแกป ญหาอยา งเปน
ข้นั ตอน ออกแบบ และเขยี นโปรแกรมแบบมเี งื่อนไขและการทางานแบบวนซํา้ ตรวจหาขอ ผดิ พลาด
ของโปรแกรม ใชซ อฟตแวรช วยในการแกป ญหา ใชอนิ เทอรเ น็ตตดิ ตอ สื่อสารและคน หาขอมลู
แยกแยะขอเทจ็ จริงกับขอคดิ เหน็ ประเมินความนา เชอื่ ถือ ของขอมูล

ตระหนักถึงคุณคาของความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และใชความรูและ
กระบวนการ ทางวิทยาศาสตรในการดารงชวี ิต ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัยและมีมารยาท
มจี ติ วทิ ยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคา นยิ มทเ่ี หมาะสม

ผลการเรียนรู
1. ใชอ ินเตอรเ นต็ คน หาขอมูลตดิ ตอสอ่ื สารและทาํ งานรว มกนั ประเมินความนา เชอื่ ถือของขอมูล
2. รวบรวม ประเมิน นําเสนอและสารสนเทศตามวัตถุประสงค โดยใชซอฟแวรหรือบริการบน
อินเทอรเ น็ตท่ีหลากหลายเพ่ือแกปญหาในชวี ิตประจําวัน
3. ใชเ หตผุ ลเชงิ ตรรกะในการแกป ญหา การอธบิ ายการทํางานการคาดการณผลลัพธ จากปญ หาอยางงาย
4. ออกแบบและเขยี นโปรแกรม ทีม่ กี ารใชเ หตผุ ลเชิงตรรกะอยางงา ย ตรวจหาขอผิดพลาดและแกไข
5. ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย มีมารยาท เขาใจสิทธแิ ละหนาที่ของตน เคารพในสิทธิของ
ผอู ่ืน แจง ผูเ กย่ี วขอ งเมื่อพบขอมลู หรอื บุคคลท่ีไมเ หมาะสม
รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พุทธศกั ราช 2564 40
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

คาํ อธิบายรายวิชาเพิ่มเตมิ
ว16206 เทคโนโลยี 6 กลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 6 เวลา 40 ช่วั โมง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

การใชเหตุผลเชิงตรรกะในการอธิบายและออกแบบวิธีการแกปญหา การออกแบบ การ
เขียนโปรแกรมและการตรวจหาขอผิดพลาด การคนหาขอ มูลในอินเทอรเน็ตอยางมปี ระสิทธิภาพ การ
ใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการทางานรว มกัน

ใชการสืบเสาะหาความรู สังเกต รวบรวมขอ มูล จัดกระทาและส่ือความหมายขอมูล สรา ง
แบบจาลอง และอธิบายผลการสาํ รวจตรวจสอบ เพ่ือใหเกิดความรูค วามเขาใจ มที ักษะกระบวนการ
ทางวทิ ยาศาสตรข้นั พื้นฐานและทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 ในดา นการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
และการส่ือสารเบ้ืองตน สามารถส่ือสารสิง่ ท่เี รยี นรู มีความคดิ สรางสรรค สามารถทางานรวมกบั ผอู น่ื
อธิบายและออกแบบวธิ กี ารแกปญหาโดยใชเ หตุผลเชงิ ตรรกะ เขยี นโปรแกรมอยา งงายเพอื่ แกป ญ หา
และตรวจหาขอผดิ พลาดของโปรแกรม คน หาขอ มูลในอนิ เทอรเ นต็ อยา งมปี ระสิทธภิ าพ ใชเทคโนโลยี
สารสนเทศทางานรวมกนั

ตระหนักถึงคุณคาของความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และใชความรูและ
กระบวนการ ทางวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต ใชเทคโนโลยีสารสนเทศรวมกันอยางปลอดภัย เขาใจ
สิทธแิ ละหนาทข่ี องตน เคารพในสทิ ธิของผูอนื่ มจี ติ วิทยาศาสตร จริยธรรม คุ

ผลการเรยี นรู
1. ออกแบบและเขียนโปรแกรมอยางงายเพ่ือแกปญหาในชีวิตประจําวัน ตรวจหาขอผิดพลาดของ
โปรแกรมและแกไ ข
2. ใชอินเทอรเน็ตในการคนหาขอมูลอยางมีประสิทธิภาพ
3. รวบรวม ประเมิน นําเสนอและสารสนเทศตามวัตถุประสงค โดยใชซอฟแวรหรือบริการบน
อนิ เทอรเ น็ตทีห่ ลากหลายเพ่ือแกปญ หาในชวี ติ ประจําวนั
4. ใชเหตุผลเชิงตรรกะในการอธิบายและออกแบบวิธีการแกป ญหาทพี่ บในชวี ติ ประจําวนั
5. ใชเทคโนโลยีสารสนเทศสารสนเทศทํางานรวมกันอยางปลอดภัย เขาใจสิทธิและหนาท่ีของตน
เคารพในสทิ ธิของผูอนื่ แจง ผเู กยี่ วของเมื่อพบขอ มูลหรอื บคุ คลที่ไมเหมาะสม
รวมท้งั หมด 5 ผลการเรียนรู

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พทุ ธศักราช 2564 41
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

รายวชิ าพืน้ ฐาน กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
ระดับชัน้ ประถมศกึ ษา

รายวชิ าพนื้ ฐาน สงั คมศึกษา ฯ 1 จํานวน 40 ชว่ั โมง
ส11101 ประวตั ศิ าสตร 1 จาํ นวน 40 ชัว่ โมง
ส11102 สงั คมศึกษา ฯ 2 จาํ นวน 40 ช่วั โมง
ส12101 ประวตั ศิ าสตร 2 จาํ นวน 40 ชั่วโมง
ส12102 สงั คมศกึ ษา ฯ 3 จํานวน 40 ชัว่ โมง
ส13101 ประวัตศิ าสตร 3 จํานวน 40 ชว่ั โมง
ส13102 สงั คมศกึ ษา ฯ 4 จาํ นวน 40 ชว่ั โมง
ส14101 ประวตั ิศาสตร 4 จํานวน 40 ชั่วโมง
ส14102 สงั คมศึกษา ฯ 5 จาํ นวน 40 ชว่ั โมง
ส15101 ประวตั ศิ าสตร 5 จํานวน 40 ชว่ั โมง
ส15102 สังคมศึกษา ฯ 6 จํานวน 40 ชั่วโมง
ส16101 ประวัตศิ าสตร 6 จํานวน 40 ช่ัวโมง
ส16102

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พทุ ธศักราช 2564 42
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช 2560)

คาํ อธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน
ส11101 สังคมศึกษา ฯ 1 กลมุ สาระการเรียนรูสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
ชั้นประถมศกึ ษาปที่ 1 เวลา 40 ช่วั โมง
................................................................................................................................................................

ศึกษา เก่ียวกับประวัติความเปนมา ความสําคัญ ศาสนา หลักธรรมของพุทธศาสนา
พุทธประวัติ พระรัตนตรัย พุทธศาสนสุภาษิต วันสําคัญ ประวัติสาวก ชาดก ฝกสวดมนต
แผเมตตา การปฏิบัติตนเปนของศาสนิกชนและศาสนาอื่น บุคคลตัวอยางในทองถ่ิน ประเทศ
ปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรม เพื่ออยรู วมกนั อยา งสันติสุข

ศึกษา ปฏิบัติตนเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว ยกตัวอยางความดีของตนเองและผูอื่น
โครงสรางบทบาทหนา ท่ีของสมาชกิ มีสว นรว มในการตัดสนิ ใจ

ศกึ ษา สาํ รวจ เปรยี บเทยี บ สนิ คาและบรกิ ารทใ่ี ชอยูในชีวิตประจําวัน เชน ดนิ สอ สมุด
กระดาษ เสื้อผา การไดมาโดยใชเงินซื้อ หรือไดมาโดยการบริจาค หรือไดมาโดยการแลกเปลี่ยน
สินคาหรือบริการ การใชประโยชนจากสินคาและบริการใหคุมคา มีการวางแผนการใชเงิน
การประหยดั เก็บออม การทาํ งานอยา งสจุ ริต เพือ่ ใหครอบครัวและสังคมอยไู ดอยา งเปนสุข

ศึกษา สํารวจ ส่ิงตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และท่ีมนุษยสรางข้ึน ระบุ
ความสัมพันธ ตําแหนง ระยะทิศทางของที่ตั้ง แผนผังส่ิงตาง ๆ ที่อยูรอบตัวในหองเรียน
สังเกตการณเปล่ียนแปลงสภาพอากาศ บอกสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติท่ีสงผลตอมนุษย
เปรียบเทียบความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมท่ีอยูรอบตัว ท่ีอยูอาศัย อาหาร เคร่ืองแตงกาย
และมีสวนรวมในการจัดระเบียบสภาพแวดลอมท่บี านและชน้ั เรยี น

ศึกษา ความหมายของการแยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม
ความละอายและความไมทนตอการทุจริต STRONG : จิตพอเพียงตานทุจริต และความรับผิดชอบ
ตอ ตนเอง

โดยใชกระบวนการสบื คน กระบวนการขดั เกลาทางสังคม กระบวนการทางจริยธรรม
กระบวนการพัฒนาคานิยม กระบวนการประชาธปิ ไตย กระบวนการแกปญ หา กระบวนการคดิ
วิเคราะห กระบวนการทางภมู ิศาสตร

เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ และปฏิบัติตนเปนพลเมืองดี เปนผูละอายและไมทนตอ
การทุจริตทุกรูปแบบ ปฏิบัติตนเปนผูท่ี STRONG : จิตพอเพียงตานทุจริต ปฏิบัติตนตามหนาที่
พลเมืองและมีความรับผิดชอบตอสังคม และเห็นความสําคัญของการตอตานทุจริตและปองกัน
การทุจริต นําหลักธรรมทางศาสนาและหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงประยุกตใชในการดํารงชีวิต
อยูในสังคมรวมกันอยางสันติสุข เคารพในสิทธิของความเปนมนุษย เห็นคุณคา ชื่นชม วัฒนธรรม
ประเพณีไทย อนรุ กั ษส บื สานภมู ิปญ ญาไทย ภมู ิปญญาทองถิน่

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พุทธศักราช 2564 43
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช 2560)

รหัสตัวชว้ี ดั
ส 1.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4
ส 1.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
ส 2.1 ป.1/1, ป.1/2
ส 2.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
ส 3.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
ส 3.2 ป.1/1
ส 5.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4
ส 5.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
รวมทัง้ หมด 23 ตวั ชวี้ ดั
ผลการเรียนวิชาปองกนั การทุจรติ 9 ขอ
1. มคี วามรู ความเขาใจเกย่ี วกับการแยกแยะแยะวา งผลประโยชนส ว นตน กับผลประโยชนสวนรวม
2. มคี วามรู ความเขาใจเกยี่ วกับความละอายและความไมทนตอ การทจุ ริต
3. มคี วามรู ความเขาใจเกีย่ วกบั STRONG / จติ พอเพียงตอตา นการทจุ ริต
4. มคี วามรู ความเขา ใจเกยี่ วกบั พลเมืองและมีความรับผดิ ชอบตอ สังคม
5. สามารถคิดแยกแยะแยะวางผลประโยชนส ว นตน กบั ผลประโยชนส ว นรวมได
6. ปฏิบตั ิตนเปนผูละอายและไมท นตอการทุจริตทุกรูปแบบ
7. ปฏิบตั ติ นเปน ผทู ี่ STRONG / จิตพอเพยี งตอตานการทุจริต
8. ปฏิบตั ติ นตามหนาทพ่ี ลเมืองและมคี วามรับผิดชอบตอสังคม
9. ตระหนักและเหน็ ความสําคญั ของการตอตานและปองกันการทุจริต
ผลการเรียนวิชาปอ งกนั การทจุ ริต 9 ขอ
รวมทง้ั หมด 32 ขอ

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พุทธศกั ราช 2564 44
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560)

คําอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ส11102 ประวตั ศิ าสตร 1 กลุมสาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 1 เวลา 40 ช่ัวโมง
................................................................................................................................................................

ศึกษา วัน เดือน ป และการนับชวงเวลาตามปฏิทินที่ใชในชีวิตประจําวัน การเรียงลําดับ
เหตุการณในชีวิตประจําวันตามวันเวลาท่ีเกิดข้ึน ประวัติความเปนมาของตนเองและครอบครัว
โดยสอบถามผูเก่ียวของ ลําดับเหตุการณในชีวิตประจําวันตามวันเวลาที่เกิดข้ึนความเปลี่ยนแปลง
ของสภาพแวดลอม ส่ิงของ เคร่ืองใช หรือการดําเนินชีวิตของตนเองกับสมัยของพอแม ปูยา
ตายาย ความหมายและความสําคัญของสัญลักษณสําคัญของชาติไทยไดถูกตอง สถานท่ีสําคัญ
ซึง่ เปน แหลงวัฒนธรรมในชุมชนเปนส่ิงทตี่ นรกั และภาคภูมิใจในทอ งถิน่

โดยใชกระบวนการสืบคน สอบถาม บอก ระบุ อธิบาย ปฏิบัติตนตอสัญลักษณสําคัญ
ของชาติไทย คือ ปฏิบัติตนขณะรองเพลงชาติไทย เพลงสรรเสริญพระบารมีไดอยางเหมาะสม
ถกู ตอง ปฏิบตั ติ นในการแสดงความเคารพ และรว มพฒั นาวัดและโรงเรียน

ตระหนักในความสาํ คญั ของเหตุการณทเี่ กิดขน้ึ ในอดตี ที่มผี ลกระทบตอตนเองในปจจุบัน

รหัสตวั ชว้ี ดั
ส 4.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
ส 4.2 ป.1/1, ป.1/2
ส 4.3 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
รวมทงั้ หมด 8 ตวั ชี้วดั

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พุทธศักราช 2564 45
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)


Click to View FlipBook Version