The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรโรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ์) ปี 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nachaluai, 2022-02-10 09:51:45

หลักสูตรโรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ์) ปี 2564

หลักสูตรโรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ์) ปี 2564

คําอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน
ส12101 สงั คมศึกษา ฯ 2 กลุมสาระการเรียนรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ 2 เวลา 40 ชัว่ โมง
................................................................................................................................................................

ศึกษา ประวัติและความสําคัญของพระพุทธศาสนา พุทธประวัติ ประสูติ ประวัติ
พุทธสาวก พุทธสาลิกา และชาดก ศึกษาขอมูลเด่ียวกับพระไตรปฎก และหลักธรรมโอวาท 3
พุทธศาสนสุภาษิตและบุคคลตัวอยางในการทําความดี ฝกปฏิบัติมารยาทของชาวพุทธ การเขารวม
กิจกรรมเก่ียวกับศาสนพิธี พิธีกรรม วันสําคัญทางศาสนา เร่ืองการบชู าพระรัตนตรัย ฝกบริหารจิต
เพื่อใหการดําเนินชีวิตของมนุษย การอยูรวมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดลอม
นําหลักธรรมคําสอนไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเองเปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีคุณธรรม
และคานิยมท่เี หมาะสม เกดิ ความภาคภมู ใิ จในการกระทาํ ความดขี องตนเองและผูอ ่ืน

ศึกษา สังเกต ความเปน พลเมืองดีตามวิถปี ระชาธิปไตยของตนเองและผูอืน่ ในสังคมปจจุบัน
การยอมรับกฎกติกา กฎระเบียบ หนาที่ความแตกตางและความหลากหลายทางดานวัฒนธรรม
คานิยม ความเชื่อปลูกฝงคานิยม สิทธิ หนาท่ี เสรีภาพการดําเนินชีวิตอยางสันติสุขในสังคมไทย
และการชวยเหลือการเขา รวมกจิ กรรมของชมุ ชน

ศึกษา อภิปราย บริหารจัดการทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพและคุมคาท้ังท่ีบาน
และโรงเรียนใหเกิดประโยชนสูงสุด รายรับจายของตนเองการทํางานที่กอใหเกิดรายไดในการผลิต
การช้ือขายสินคา วิเคราะหอภิปรายและจําแนกขอดีขอเสียการใชจายการช้ือขายแลกเปลี่ยน
และการบริโภคสินคาและการบริการอยางมีประสิทธิภาพในการดําเนินชีวิตอยางมีดุลภาพ
และการนําหลกั เศรษฐกิจพอเพียงไปใชใ นชวี ิตประจําวัน

ศึกษาคนควา อภิปราย สรุป ส่ิงตาง ๆ ที่เปนธรรมชาติกับที่มนุษยสรางขึ้น ซ่ึงปรากฏ
ระหวางโรงเรียนกับบาน ลักษณะของโลกทางกายภาพ การใชแผนที่ แผนผัง และภาพถาย เชน
ภูเขา ท่ีราบ แมนํ้า ตนไม อากาศ และทะเล ความสัมพันธของปรากฏการณระหวางโลก
ดวงอาทติ ยและดวงจนั ทร

ศึกษา ความหมายของการแยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม
ความละอายและความไมทนตอการทุจริต STRONG : จิตพอเพียงตานทุจริต และความรับผิดชอบ
ตอ ตนเอง

โดยใชกระบวนการสืบคน กระบวนการคิดวิเคราะห กระบวนการแกปญหา วิธีการ
ทางประวตั ศิ าสตร กระบวนการกลมุ กระบวนการทางภมู ิศาสตร กระบวนการประชาธปิ ไตย

เพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจ เปนพลเมืองดีของสังคม รูขาวเหตุการณสําคัญของชุมชน
ภาคภูมิใจในความเปนไทย มีจิตสาธารณะ อยูรวมกันในสังคมอยางเปนสุข ปฏิบัติตนเปนผูละอาย
และไมทนตอการทุจริตทุกรูปแบบ ปฏิบัติตนเปนผูท่ี STRONG : จิตพอเพียงตานทุจริต ปฏิบัติตน
ตามหนาท่ีพลเมืองและมีความรับผิดชอบตอสังคม และเห็นความสําคัญของการตอตานทุจริต
และปอ งกันการทจุ รติ

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พุทธศักราช 2564 46
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560)

รหัสตัวชว้ี ัด
ส 1.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7
ส 1.2 ป.2/1, ป.2/2
ส 2.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4
ส 2.2 ป.2/1, ป.2/2
ส 3.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4
ส 3.2 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3
ส 5.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3
ส 8.2 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4
รวมทั้งหมด 29 ตัวชีว้ ดั

ผลการเรียนวิชาปองกันการทุจริต 9 ขอ
1. มีความรู ความเขาใจเกย่ี วกับการแยกแยะแยะวางผลประโยชนส ว นตน กบั ผลประโยชนสวนรวม
2. มีความรู ความเขา ใจเก่ียวกบั ความละอายและความไมทนตอการทจุ รติ
3. มีความรู ความเขา ใจเกีย่ วกับ STRONG / จิตพอเพียงตอตานการทจุ รติ
4. มีความรู ความเขา ใจเก่ยี วกับพลเมืองและมีความรบั ผิดชอบตอ สงั คม
5. สามารถคดิ แยกแยะแยะวางผลประโยชนสว นตน กบั ผลประโยชนสวนรวมได
6. ปฏบิ ตั ติ นเปนผลู ะอายและไมท นตอการทุจริตทุกรปู แบบ
7. ปฏบิ ตั ติ นเปนผทู ่ี STRONG / จิตพอเพยี งตอ ตานการทุจรติ
8. ปฏบิ ตั ิตนตามหนา ที่พลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบตอสังคม
9. ตระหนักและเห็นความสาํ คัญของการตอตานและปองกันการทุจรติ
ผลการเรียนวชิ าปองกนั การทุจรติ 9 ขอ
รวมทัง้ หมด 38 ขอ

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พุทธศักราช 2564 47
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560)

คาํ อธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ส12102 ประวัตศิ าสตร 2 กลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 2 เวลา 40 ชว่ั โมง
................................................................................................................................................................

ศึกษา รูและเขาใจความหมาย ความสําคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร
สามารถใชวิธีการทางประวัติศาสตรมาวิเคราะหเหตุการณตาง ๆ อยางเปนระบบ อธิบายผลกระทบ
ของการเปล่ียนแปลงท่ีมีตอวิถีชีวิตของคนในชุมชน ระบุบุคคล ผูทําประโยชนตอทองถิ่น
หรือประเทศชาติ อธบิ ายความสัมพนั ธข องฤดูกาลกับการดาํ เนนิ ชวี ติ ของมนุษย

ใชกระบวนการทางประวัตศิ าสตรใ นการศึกษา สืบคนคาํ ทรี่ ะบุเวลาทีแ่ สดงเหตุการณในอดีต
ปจจุบันและอนาคต การลําดับเหตุการณที่เกิดข้ึนในครอบครัวหรือในชีวิตของตนเองโดยใชหลักฐาน
ที่เกี่ยวของ การเปล่ียนแปลงในวิถีชีวิตประจําวันของคนในชุมชนของตนจากอดีตถึงปจจุบัน
มสี ว นรว มในการฟนฟูปรับปรงุ สงิ่ แวดลอ มในโรงเรียนและชุมชน

เห็นความสําคัญ ภาคภูมิใจ วัฒนธรรม ประเพณีและภูมิปญญาไทย ดานการทําขนมไทย
การปลูกผักสวนครัว ทภ่ี าคภูมิใจและควรอนุรักษไ ว

รหัสตวั ชีว้ ดั
ส 4.1 ป.2/1, ป.2/2
ส 4.2 ป.2/1, ป.2/2
ส 4.3 ป.2/1, ป.2/2
รวมทัง้ หมด 6 ตวั ช้ีวดั

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถมั ภ) พุทธศกั ราช 2564 48
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)

คําอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ส13101 สงั คมศกึ ษา ฯ 3 กลมุ สาระการเรียนรสู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
ชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี 3 เวลา 40 ชั่วโมง
................................................................................................................................................................

ศึกษา วิเคราะห อภิปราย สรุป ความสําคัญของพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ
พุทธประวัติหรือประวัติของศาสนาท่ีตนนับถือ แบบอยางการดําเนินชีวิตและขอคิดจากประวัติสาวก
ชาดก เร่ืองเลา และศาสนิกชนตวั อยา ง ความหมาย ความสาํ คญั ของประไตรปฎก คมั ภรี ข องศาสนา
ที่ตนนับถือ พระรัตนตรัย หลักธรรมโอวาท 3 การสวดมนตไหวพระ แผเมตตา สรรเสริญ
คุณพระรัตนตรัย การฝกปฏิบัติมารยาทชาวพุทธและความสําคัญของศาสนวัตถุ ศาสนสถาน
และศาสนบุคคล

ศึกษา วิเคราะห อธิบาย อภิปราย สรุป ประเพณีวัฒนธรรมในครอบครัวและทองถ่ิน
พฤติกรรมการดําเนินชีวิตของตนเองและผูอื่น ความสําคัญของวันหยุดราชการ บุคคลที่มีผลงาน
เปนประโยชนแกชุมชนและทอ งถน่ิ บทบาทหนาที่ของสมาชิกในชมุ ชนความแตกตางของกระบวนการ
การตดั สินใจในช้นั เรียน โรงเรยี นและชุมชน และผลท่ีเกิดจากการตัดสินใจของบุคคลและกลุม

ศึกษา วิเคราะห อภิปราย สรุป จําแนก อธิบายความตองการและความจําเปนในการใช
สนิ คา และบริการ การใชจายของตนเอง ทรพั ยากรทมี อี ยูจํากดั มีผลตอการผลิต การบริโภคและบรกิ าร
สินคาและบริการที่รัฐจัดบริการแกประชาชน ปญหาพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจความสําคัญของภาษีและ
บทบาทของประชาชนในการเสียภาษี การแขง ขนั ทางการคา

ศึกษา วิเคราะห อธิบาย อภิปราย ตระหนัก เปรียบเทียบการใชแผนที่ แผนผัง
และภาพถายในการหาขอมูลทางภูมิศาสตร เขียนแผนผังงาย ๆ ของสถานที่สําคัญในโรงเรียน
และชุมชน ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมในชุมชนจากอดีต
จนถึงปจจุบัน การพ่ึงพาสิ่งแวดลอมในการดํารงชีวิตของมนุษย มลพิษท่ีเกิดจากการกระทํา
ของมนุษย ความแตกตา งของเมืองและชนบท การเปลยี่ นแปลงของสิง่ แวดลอ มในชุมชน

ศึกษา ความหมายของการแยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม
ความละอายและความไมทนตอ การทจุ ริต STRONG : จิตพอเพียงตา นทจุ ริต และความรับผิดชอบตอ ตนเอง

โดยใชกระบวนการสืบคน กระบวนการขัดเกลาทางสังคม กระบวนการทางจริยธรรม
กระบวนการพัฒนาคานิยม กระบวนการประชาธิปไตย กระบวนการแกปญหา กระบวนการคิด
วเิ คราะห วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร กระบวนการทางภมู ิศาสตร

เพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจ และปฏิบัติตนเปนพลเมืองดี เปนผูละอายและไมทนตอ
การทุจริตทุกรูปแบบ ปฏิบัติตนเปนผูท่ี STRONG : จิตพอเพียงตานทุจริต ปฏิบัติตนตามหนาที่
พลเมืองและมีความรับผิดชอบตอสังคม เห็นความสําคัญของการตอตานทุจริตและปองกัน
การทุจริต นําหลักธรรมทางศาสนาและหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงประยุกตใชในการดํารงชีวติ อยู
ในสังคมรวมกันอยางสันติสุข เห็นคุณคา ชื่นชม วัฒนธรรมประเพณีไทย สืบสานภูมิปญญาไทย
ภูมปิ ญญาทองถิ่น มีจติ สาธารณะ

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พทุ ธศกั ราช 2564 49
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช 2560)

รหัสตัวชีว้ ดั
ส 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7
ส 1.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
ส 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4
ส 2.2 ป.3/1, ป.3/2 ,ป.3/3
ส 3.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
ส 3.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
ส 5.1 ป.3/1, ป.3/2,
ส 5.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3,

ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6
รวมทัง้ หมด 31 ตัวชีว้ ัด

ผลการเรยี นวิชาปองกนั การทจุ รติ 9 ขอ
1. มคี วามรู ความเขาใจเกย่ี วกับการแยกแยะแยะวา งผลประโยชนสวนตน กบั ผลประโยชนส ว นรวม
2. มคี วามรู ความเขาใจเกยี่ วกบั ความละอายและความไมทนตอการทุจริต
3. มคี วามรู ความเขาใจเกยี่ วกับ STRONG / จติ พอเพยี งตอตานการทุจรติ
4. มีความรู ความเขา ใจเกีย่ วกบั พลเมืองและมีความรับผิดชอบตอสังคม
5. สามารถคดิ แยกแยะแยะวา งผลประโยชนส วนตน กับผลประโยชนสว นรวมได
6. ปฏบิ ัตติ นเปนผลู ะอายและไมท นตอการทุจรติ ทุกรูปแบบ
7. ปฏิบัติตนเปน ผูที่ STRONG / จิตพอเพยี งตอ ตานการทุจริต
8. ปฏบิ ัตติ นตามหนาท่พี ลเมืองและมคี วามรับผิดชอบตอ สังคม
9. ตระหนกั และเห็นความสําคัญของการตอตานและปองกันการทุจรติ
ผลการเรยี นวชิ าปอ งกันการทจุ รติ 9 ขอ
รวมทง้ั หมด 40 ขอ

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พทุ ธศักราช 2564 50
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

คําอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน
ส13201 ประวตั ศิ าสตร 3 กลุม สาระการเรยี นรสู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
ช้ันประถมศึกษาปที่ 3 เวลา 40 ชั่วโมง
................................................................................................................................................................

ศึกษา รู เขาใจ ศักราชท่ีสําคัญตามปฏิทินท่ีใชในชีวิตประจําวัน ปจจัยที่มีอิทธิพล
ตอการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน พระนามและพระราชกรณียกิจโดยสังเขปของ
พระมหากษัตริยไทยที่เปนผูสถาปนาอาณาจักรไทย พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ
ของพระมหากษัตริยในรัชกาลปจจุบันโดยสังเขป วีรกรรมของบรรพบุรุษไทยที่มีสวนปกปอง
ประเทศชาติ

ใชกระบวนการทางประวัติศาสตร การวิเคราะห การอธิบาย บอก ระบุ สรุป
เปรียบเทียบ แสดงลําดับเหตุการณสําคัญของโรงเรียนและชุมชนโดยระบุหลักฐานและแหลงขอมูล
ท่ีเกี่ยวของ ลักษณะที่สําคัญของขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชน ความเหมือน
และความตา งทางวฒั นธรรมของชุมชนตนเองกบั ชมุ ชนอ่ืน ๆ

ตระหนักในคุณคา ความสําคัญของประวตั ิศาสตรท ่ีมตี อ ตนเองและสงั คม

รหสั ตวั ช้วี ดั
ส 4.1 ป.3/1, ป.3/2
ส 4.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
ส 4.3 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
รวมทัง้ หมด 8 ตวั ช้วี ัด

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พุทธศักราช 2564 51
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)

คาํ อธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ส14101 สงั คมศึกษา ฯ กลุมสาระการเรียนรสู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
ช้ันประถมศึกษาปท ี่ 4 เวลา 40 ชัว่ โมง
................................................................................................................................................................

ศึกษา รู เขาใจ ความสําคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือในฐานะเปนศูนย
รวมจิตใจของศาสนิกชน พุทธประวัติต้ังแตบรรลุธรรมจนถึงประกาศธรรม หรือประวัติศาสดาท่ีตน
นับถือตามที่กําหนด ประวัติศาสดาของศาสนาอ่ืน ๆ โดยสังเขป ความสําคัญและมีสวนรวม
ในการบํารุงรักษาศาสนสถานของศาสนาที่ตนนับถือ สิทธิพื้นฐานที่เด็กทุกคนพึงไดรับตามกฎหมาย
ความแตกตางทางวัฒนธรรมของกลุมคนในทองถ่ิน เสนอวิธีการท่ีจะอยูรวมกันอยางสันติสุข
ในชีวิตประจําวัน อธิบายอํานาจอธิปไตยและความสําคัญของระบอบประชาธิปไตย อธิบายบทบาท
หนาท่ีของพลเมืองในกระบวนการเลือกตั้ง ความสําคัญของสถาบันพระมหากษัตริยตามระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ปจจัยที่มีผลตอการเลือกซื้อสินคาและบริการ
บอกสิทธิพ้ืนฐานและรักษาผลประโยชนของตนเองในฐานะผูบริโภค หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง
และนําไปใชในชีวติ ประจําวันของตนเอง ความสัมพันธทางเศรษฐกิจของคนในชุมชน หนาที่เบื้องตน
ของเงิน แหลงทรัพยากรและสิ่งตาง ๆ ในจังหวัดอุบลราชธานีดวยแผนที่ สภาพแวดลอม
ทางกายภาพของชุมชนที่สงผลตอการดําเนินชีวิตของคนในจังหวัดอุบลราชธานี การใชภาษาถิ่น
สื่อสารกับคนในทองถ่ินไดถูกตอง การเปล่ียนแปลงสภาพ แวดลอมในจังหวัดอุบลราชธานี
และผลทเี่ กดิ จากการเปล่ยี นแปลงนั้น

ศึกษา ความหมายของการแยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม
ความละอายและความไมทนตอ การทุจริต STRONG : จิตพอเพยี งตา นทุจริต และความรบั ผดิ ชอบ ตอ ตนเอง

ใชกระบวนการวิเคราะห แยกแยะ สรุป อธิบาย อภิปราย ระบุ และปฏิบัติ การแสดง
ความเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรมโอวาท 3 ในพระพุทธศาสนา
หรือหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือตามที่กําหนด ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ
เพื่อการอยูรวมกันเปนชาติไดอยางสมานฉันท มีมรรยาทของความเปนศาสนิกชนที่ดีตามท่ีกําหนด
ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรมและวันสําคัญทางศาสนา ตามท่ีกําหนดไดถูกตอง ปฏิบัติตนเปน
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยในฐานะสมาชิกที่ดีของชุมชน ปฏิบัติตนในการเปนผูนําและผูตามที่ดี
ปฏิบัติตนเปนผูละอายและไมทนตอการทุจริตทุกรูปแบบ ปฏิบัติตนเปนผูท่ี STRONG : จิตพอเพียง
ตานทุจริต ปฏิบัติตนตามหนาท่ีพลเมืองและมีความรับผิดชอบตอสังคม ใชแผนที่ ภาพถาย ระบุ
ลักษณะสําคัญทางกายภาพของจังหวัดอุบลราชธานี ตนเอง ใชแผนที่อธิบายความสัมพันธของ
ส่ิงตางๆ ท่ีมอี ยใู นจงั หวัดอบุ ลราชธานี มีสวนรวมในการอนุรักษสิ่งแวดลอ มในจงั หวดั

เห็นคณุ คา ความสําคัญของปฏิบัตติ นตามแบบอยา งการดําเนินชวี ติ และขอคิดจากประวัติ
สาวก ชาดก/เร่ืองเลาและศาสนกิ ชนตวั อยา งตามที่กําหนด เห็นความสาํ คัญของการตอ ตา นทจุ รติ
และปอ งกันการทจุ รติ ช่ืนชมการทําความดีของตนเอง บคุ คลในครอบครัว โรงเรียนและชุมชน

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถมั ภ) พทุ ธศักราช 2564 52
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560)

ตามหลกั ศาสนา พรอมทง้ั บอกแนวปฏิบัติในการดาํ เนินชีวิต การสวดมนต แผเ มตตา การมีสติทเ่ี ปน
พน้ื ฐานของสมาธใิ นพระพุทธศาสนา หรอื การพัฒนาจติ ตามแนวทางของศาสนาทต่ี นนบั ถือตามที่กาํ หนด

รหัสตวั ชี้วดั
ส 1.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7, ป.4/8
ส 1.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
ส 2.1 ป.4/1,ป.4/2,ป.4/3,ป.4/4,ป.4/5
ส 2.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
ส 3.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
ส 3.2 ป.4/1, ป.4/2
ส 5.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
ส 5.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
รวมทั้งหมด 30 ตวั ชว้ี ดั

ผลการเรยี นวิชาปอ งกนั การทุจริต 9 ขอ
1. มีความรู ความเขาใจเกยี่ วกับการแยกแยะแยะวางผลประโยชนส วนตน กับผลประโยชนสว นรวม
2. มคี วามรู ความเขา ใจเกี่ยวกับความละอายและความไมทนตอการทุจริต
3. มคี วามรู ความเขาใจเกย่ี วกบั STRONG / จิตพอเพยี งตอตานการทุจรติ
4. มีความรู ความเขาใจเก่ยี วกับพลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบตอสงั คม
5. สามารถคิดแยกแยะแยะวางผลประโยชนส วนตน กับผลประโยชนสว นรวมได
6. ปฏบิ ัติตนเปน ผูละอายและไมท นตอการทุจริตทุกรูปแบบ
7. ปฏิบตั ติ นเปน ผทู ่ี STRONG / จติ พอเพียงตอ ตานการทุจรติ
8. ปฏิบัตติ นตามหนาทพี่ ลเมืองและมคี วามรบั ผิดชอบตอ สังคม
9. ตระหนักและเหน็ ความสาํ คญั ของการตอตานและปองกันการทจุ ริต
ผลการเรียนวิชาปอ งกนั การทุจรติ 9 ขอ
รวมท้งั หมด 39 ขอ

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถมั ภ) พทุ ธศกั ราช 2564 53
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560)

ส14201 ประวัตศิ าสตร 4 คาํ อธิบายรายวิชาพื้นฐาน
กลุมสาระการเรยี นรูส ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 4 เวลา 40 ชั่วโมง
................................................................................................................................................................

ศึกษา รู เขาใจการนับชวง เวลา เปนทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ ยุคสมัย
ในการศึกษาประวัติของมนุษยชาติโดยสังเขป ประเภทหลักฐานท่ีใชในการศึกษาความเปนมา
ของทองถ่ิน การต้ังหลักแหลงและพัฒนาการของมนุษยยุคกอนประวัติศาสตรและยุคประวัติศาสตร
โดยสังเขป ยกตัวอยางหลักฐานทางประวัติศาสตรที่พบในทองถ่ินจังหวัดอุบลราชธานี ปราสาท
หินพิมาย แหลงโบราณคดีบานปราสาท เปนตน ที่แสดงพัฒนาการของมนุษยชาติ พัฒนาการ
ของอาณาจักรสุโขทัยโดยสังเขป ประวัติและผลงานของบุคคลสําคัญสมัยสุโขทัย ภูมิปญญาไทย
ท่สี าํ คญั สมัยสโุ ขทยั ทนี่ าภาคภูมิใจ และควรคา แกการอนรุ กั ษ

ใชกระบวนการทางประวัติศาสตร สืบคน วิเคราะหแยกแยะ สรุป อธิบาย อภิปราย
ระบุ บอก เรอื่ งราวทางประวัติศาสตรใ นทองถ่นิ และประวตั ิศาสตรสมยั สุโขทยั

ตระหนักในคุณ คาและความสําคัญ มีความภ าคภูมิใจ ประวัติศาสตรทองถิ่น
และประวตั ศิ าสตรสมัยสุโขทัย

รหัสตวั ชีว้ ดั
ส 4.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
ส 4.2 ป.4/1, ป.4/2
ส 4.3 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
รวมทงั้ หมด 8 ตัวชว้ี ัด

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถมั ภ) พุทธศักราช 2564 54
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560)

ส15101 สังคมศึกษา ฯ 5 คาํ อธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
กลุมสาระการเรียนรสู ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 5 เวลา 40 ช่ัวโมง
................................................................................................................................................................

ศึกษา วิเคราะห อภิปราย สรุป มรดกทางวฒั นธรรมทไี่ ดร ับจากพทุ ธศาสนา
พุทธประวัติ พุทธศาสนา พุทธศาสนิกชน ชาดกพระไตรปฎก พระรัตนตรัย ไตรสิกขา
โอวาท 3 พุทธศาสนสุภาษิต ฝกพัฒนาจิต ทําสมาธิ สวดมนต แผเมตตา หลักธรรม ปฏิบัติตน
ของศาสนิกชนทีด่ ขี องศาสนสถานตาง ๆ

ศึกษา วิเคราะห อภิปราย สรุป การปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิเสรีภาพ
ในการเปนพลเมืองดี เคารพเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย อนุรักษ เผยแพร
ภูมิปญญาทองถ่ินของชุมชน โครงสราง อํานาจ บทบาท หนาท่ี ความสําคัญ ของผูบริหาร
ในการปกครองสวนทอ งถิ่นกบั การบรกิ ารสาธารณะประโยชนใ นชุมชน

ศึกษา วิเคราะห อภิปราย สรุป เก่ียวกับความหมายและประเภทของปจจัยการผลิต
เทคโนโลยีในการผลิตสินคาและบริการ พฤติกรรมของผูบริโภค หลักการปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ประเภทของสหกรณ การประยุกต หลักการของสหกรณมาใชในชีวิตประจําวัน บทบาท
หนาท่ีของธนาคารดอกเบ้ียเงินฝากและดอกเบี้ยกูยืม การฝากเงิน ผลดีและผลเสียของการกูยืมเงิน
ทัง้ นอกระบบและในระบบท่ีมีตอเศรษฐกิจ

ศึกษา วิเคราะห อภิปราย สรุป ตําแหนง ระยะ ทิศทาง ภูมิลักษณ ความสัมพันธ
ของลักษณะทางกายภาพ สังคมในภูมิภาคของตนเอง สภาพแวดลอมทางกายภาพ อิทธิพล
ของสภาพแวดลอมทางธรรมชาติที่มีอิทธิพลตอการต้ังถ่ินฐาน การยายถ่ิน ที่กอใหเกิดวิถีชีวิต
การสรางสรรควัฒนธรรมในภูมิภาค ผลจากการรักษาทําลายสภาพแวดลอม และแนวทาง
ในการอนุรักษสภาพแวดลอมในภมู ิภาค

ศึกษา ความหมายของการแยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม
ความละอายและความไมทนตอการทุจริต STRONG : จิตพอเพียงตานทุจริต และความรับผิดชอบ
ตอ ตนเอง

โดยใชกระบวนการสืบคน การคิดวิเคราะห กระบวนการพัฒนาคานิยม กระบวนการ
แกปญหา วิธีการทางประวัติศาสตร

เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ และปฏิบัติตามหลักธรรมทางพุทธศาสนา เปนศาสนิกชน
ท่ีดี เปนผูละอายและไมทนตอการทุจริตทุกรูปแบบ ปฏิบัติตนเปนผูท่ี STRONG : จิตพอเพียง
ตานทุจริต ปฏิบัติตนตามหนาท่ีพลเมืองและมีความรับผิดชอบตอสังคม เห็นความสําคัญของ
การตอตานทุจริตและปองกันการทุจริต เปนพลเมืองดีในการปกครองประชาธิปไตยท่ีมี
พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ดําเนินชีวิตตามหลักประมุขดวยเศรษฐกิจพอเพียง เห็นคุณคา
ภูมใิ จในความเปน ไทย รวมอนรุ กั ษท รพั ยากรและส่ิงแวดลอ ม

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พุทธศักราช 2564 55
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560)

รหสั ตวั ชี้วดั
ส 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7
ส 1.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3
ส 2.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3
ส 2.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3
ส 3.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3
ส 3.2 ป.5/1, ป.5/2
ส 5.1 ป.5/1, ป.5/2
ส 5.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3
รวมทั้งหมด 27 ตัวชีว้ ัด

ผลการเรียนวชิ าปอ งกันการทจุ ริต 9 ขอ
1. มีความรู ความเขา ใจเกยี่ วกับการแยกแยะแยะวา งผลประโยชนส วนตน กับผลประโยชนสวนรวม
2. มคี วามรู ความเขา ใจเกี่ยวกับความละอายและความไมทนตอการทุจรติ
3. มคี วามรู ความเขาใจเก่ยี วกับ STRONG / จติ พอเพียงตอตา นการทจุ รติ
4. มคี วามรู ความเขา ใจเก่ียวกบั พลเมืองและมีความรับผิดชอบตอสังคม
5. สามารถคดิ แยกแยะแยะวางผลประโยชนส ว นตน กบั ผลประโยชนส วนรวมได
6. ปฏบิ ตั ิตนเปน ผลู ะอายและไมทนตอการทจุ ริตทุกรูปแบบ
7. ปฏิบตั ิตนเปน ผูที่ STRONG / จิตพอเพียงตอตานการทุจริต
8. ปฏบิ ตั ติ นตามหนาท่ีพลเมืองและมีความรับผดิ ชอบตอสังคม
9. ตระหนักและเห็นความสําคญั ของการตอตา นและปองกันการทจุ รติ
ผลการเรียนวิชาปองกนั การทุจรติ 9 ขอ
รวมทงั้ หมด 36 ขอ

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถมั ภ) พทุ ธศกั ราช 2564 56
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

คาํ อธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน
ส15102 ประวตั ิศาสตร 5 กลมุ สาระการเรยี นรูส ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปท่ี 5 เวลา 40 ชัว่ โมง
................................................................................................................................................................

ศึกษา รู เขาใจ ความเปนมาของทองถิ่นโดยใชหลักฐานที่หลากหลายรวบรวมขอมูลจาก
แหลงตาง ๆ เพ่ือตอบคําถามทางประวัติศาสตรอยางมีเหตุผล ความแตกตางระหวางความจริงกับ
ขอเท็จจริงเก่ียวกับเรื่องราวในทองถ่ิน อิทธิพลของอารยธรรมอินเดียและจีนที่มีตอไทยและเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใตโดยสังเขป อิทธิพลของวัฒนธรรมตางชาติที่มีตอสังคมไทยปจจุบันโดยสังเขป
พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาและธนบุรีโดยสังเขป ปจจัยท่ีสงเสริมความเจริญรุงเรืองทาง
เศรษฐกิจและการปกครองของอาณาจักรอยุธยา ประวัติและผลงานของบุคคลสําคัญสมัยอยุธยา
และธนบุรีที่นาภาคภูมิใจ ภูมิปญญาไทยท่ีสําคัญสมัยอยุธยาและธนบุรีท่ีนาภาคภูมิใจ และควรคา
แกการอนรุ กั ษไ ว

โดยใชกระบวนการทางประวัติศาสตร การสืบคน อธิบาย อภิปราย บอก ระบุ ในการศึกษาและ
เรียนรปู ระวัตศิ าสตรในทองถนิ่ ระดับภมู ภิ าคและความเปน มา ความเจริญรงุ เรือง
ของอาณาจักรอยธุ ยาและอาณาจักรธนบรุ ี

ตระหนักในความสําคัญ เหน็ คุณคา ของการเรียนรูประวตั ศิ าสตรเ พื่ออนรุ ักษและสืบทอดตอไป

รหสั ตวั ชวี้ ดั
ส 4.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3
ส 4.2 ป.5/1, ป.5/2
ส 4.3 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4
รวมทง้ั หมด 9 ตัวชว้ี ัด

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถมั ภ) พทุ ธศกั ราช 2564 57
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

คําอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน
ส16101 สังคมศึกษา ฯ กลมุ สาระการเรียนรูส ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี 6 เวลา 40 ชัว่ โมง
................................................................................................................................................................

ศึกษา คนควา วิเคราะห อธิบาย อภิปราย รวบรวมขอมูล สรุป และเห็นคุณคา
เก่ียวกับความสําคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะเปนศาสนาประจําชาติ และศาสนาที่ตนนับถือ
พุทธประวัติ และประวัติศาสดาของศาสนาที่ตนนับถือ ความสําคัญของพระรัตนตรัย หลักธรรม
ท่ีสําคัญของศาสนา ไตรสิกขา โอวาท 3 พุทธศาสนสุภาษิต หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ
ศาสนพธิ ี วันสําคญั ทางศาสนา มารยาทท่ีดีของพระพุทธศาสนิกชน

ปฏิบัติตามกฎหมายท่ีเก่ียวของกับชีวิตประจําวัน ประโยชนของการปฏิบัติตามกฎหมาย
ความหมายและประเภทของวัฒนธรรม เรียนรเู กย่ี วกบั ระบบการเมือง การปกครองในสงั คมปจจุบัน
การปกครองระบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข ลักษณะและความสําคัญ
ของการเปนพลเมืองท่ีดี ตลอดจนความแตกตางและความหลากหลายทางวัฒนธรรม คานิยม
ความเช่ือ ปลูกฝงคานิยมดานประชาธิปไตย สิทธิ หนาที่ เสรีภาพ การดําเนินชีวิตอยางสันติสุข
ในสังคมไทยและสังคมโลก แยกแยะระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม
ความละอายและความไมทนตอการทุจริต STRONG : จิตพอเพียงตานทุจริต และความรับผิดชอบ
ตอตนเอง

อธิบายบทบาทของผูผลิต ผูบริโภค ทรัพยากร หลักการใชทรัพยากร หลักการ
และประโยชน ความสัมพันธระหวางผูผลิต ผูบริโภค ธนาคาร และรัฐบาล การดํารงชีวิต
อยางมีดุลยภาพ และการไทย และภูมิภาคตางๆ ของโลก การใชแผนท่ี และเครื่องมือทางภูมิศาสตร
ความสมั พนั ธกนั ของสิ่งตา งๆ ในนาํ หลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใชใ นชีวิตประจําวัน

บอกลกั ษณะของโลกทางกายภาพ และสรปุ ลักษณะทางกายภาพ แหลง ทรพั ยากร
และภูมิอากาศของประเทศระบบธรรมชาติ ความสัมพันธข องมนษุ ย กบั สภาพแวดลอ ม
ทางธรรมชาติ และสิ่งทม่ี นุษยสรางข้ึน การนาํ เสนอขอ มลู ภมู สิ ารสนเทศ การอนรุ ักษส ่ิงแวดลอ ม
เพือ่ การพฒั นาท่ีย่งั ยนื

โดยใชกระบวนการคิดวิเคราะห กระบวนการแกปญหา กระบวนการขัดเกลาทางสังคม
กระบวนการกลมุ กระบวนการประชาธปิ ไตย

เพ่ือใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ มีคานิยมท่ีดีงาม เปนผูละอายและไมทนตอการทุจริต
ทุกรูปแบบ ปฏิบัติตนเปนผูท่ี STRONG : จิตพอเพียงตานทุจริต ปฏิบัติตนตามหนาท่ีพลเมืองและมี
ความรับผิดชอบตอสังคม และเห็นความสําคัญของการตอตานทุจริตและปองกันการทุจริต มีทักษะ
กระบวนการและมีความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู มีจิตสาธารณะ มีคุณธรรม ภาคภูมิใจ
ในระบอบการปกครองประชาธิปไตย

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พุทธศักราช 2564 58
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560)

รหัสตวั ชวี้ ัด
ส 1.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8, ป.6/9
ส 1.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4
ส 2.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5
ส 2.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3
ส 3.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3
ส 3.2 ป.6/1, ป.6/2
ส 5.1 ป.6/1, ป.6/2
ส 5.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3
รวมทั้งหมด 31 ตัวช้วี ดั

ผลการเรียนวิชาปอ งกันการทจุ ริต 9 ขอ
1. มคี วามรู ความเขาใจเกย่ี วกับการแยกแยะแยะวา งผลประโยชนส ว นตน กบั ผลประโยชนส ว นรวม
2. มคี วามรู ความเขาใจเกี่ยวกบั ความละอายและความไมทนตอการทจุ ริต
3. มคี วามรู ความเขาใจเกี่ยวกับ STRONG / จติ พอเพียงตอตา นการทุจรติ
4. มีความรู ความเขา ใจเกย่ี วกับพลเมืองและมีความรับผดิ ชอบตอ สังคม
5. สามารถคิดแยกแยะแยะวางผลประโยชนส ว นตน กบั ผลประโยชนส วนรวมได
6. ปฏิบัตติ นเปน ผูละอายและไมทนตอการทุจริตทุกรปู แบบ
7. ปฏบิ ตั ิตนเปน ผทู ี่ STRONG / จติ พอเพยี งตอ ตา นการทุจรติ
8. ปฏบิ ตั ิตนตามหนาทพี่ ลเมืองและมีความรับผิดชอบตอสังคม
9. ตระหนกั และเหน็ ความสําคญั ของการตอตา นและปองกันการทจุ รติ
ผลการเรียนวชิ าปองกนั การทุจริต 9 ขอ
รวมทงั้ หมด 40 ขอ

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พุทธศกั ราช 2564 59
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560)

ส16201 ประวตั ิศาสตร คําอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
กลุมสาระการเรยี นรูสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 เวลา 40 ช่ัวโมง
................................................................................................................................................................

อธิบายความสําคัญของวิธีการทางประวัติศาสตรในการศึกษาเร่ืองราวทางประวัติศาสตร
อยางงาย ๆ นําเสนอขอมูลจากหลักฐานท่ีหลากหลายในการทําความเขาใจเร่ืองราวสําคัญในอดีต
อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของประเทศเพ่ือนบานในปจจุบัน บอกความสัมพันธ
ของกลุมอาเซียนโดยสังเขป อธิบายพัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสินทรโดยสังเขป อธิบายปจจัย
ท่ีสงเสริมความเจริญรุงเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครองของไทยสมัยรัตนโกสินทร ยกตัวอยาง
ผลงานของบคุ คลสําคัญดานตาง ๆ สมยั รัตนโกสินทร อธิบายภมู ิปญญาไทยทีส่ ําคญั สมัยรตั นโกสินทร
ทน่ี า ภาคภมู ใิ จ และควรคา แกการอนุรักษไ ว

โดยใชกระบวนการทางประวัติศาสตร การสืบคน อธิบาย อภิปราย บอก ระบุ
ในการศึกษาและเรียนรูประวัติศาสตรในระดับประเทศและประเทศเพ่ือนบาน และความเปนมา
ความเจรญิ รงุ เรืองของกรงุ รัตนโกสินทร

ตระหนักในความสําคัญ เห็นคุณคา ช่ืนชมสิ่งที่เรียนรูจากประวัติศาสตรเพื่อการอนุรักษ
และสบื ทอดตอไป

รหัสตวั ชวี้ ดั
ส 4.1 ป.6/1, ป.6/2
ส 4.2 ป.6/1, ป.6/2
ส 4.3 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4
รวมท้งั หมด 8 ตวั ชวี้ ดั

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถมั ภ) พทุ ธศักราช 2564 60
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

รายวชิ าพนื้ ฐาน กลมุ สาระการเรยี นรสู ุขศกึ ษาและพลศึกษา
ระดบั ช้นั ประถมศึกษา

รายวิชาพื้นฐาน จํานวน 40 ชว่ั โมง
พ11101 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 1 จาํ นวน 40 ช่วั โมง
พ12101 สุขศึกษาและพลศกึ ษา 2 จาํ นวน 40 ชั่วโมง
พ13101 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 3 จาํ นวน 40 ช่ัวโมง
พ14101 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 4 จาํ นวน 40 ชัว่ โมง
พ15101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 5 จาํ นวน 40 ชัว่ โมง
พ16101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 6

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พุทธศกั ราช 2564 61
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศักราช 2560)

พ11101 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 1 คาํ อธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน
กลมุ สาระการเรียนรูสขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา
ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ 1 เวลา 40 ชัว่ โมง
................................................................................................................................................................

ศึกษา ลักษณะ หนาที่ และการดูแลรักษา อวัยวะภายนอก ตา หู คอ จมูก ผม มือ
เทา เล็บ ผิวหนัง อวัยวะภายในชองปากท่ีมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการไปตามวัย สมาชิก
และความรักความผูกพนั ของสมาชิกในครอบครัว จุดเดน จุดดอยของตนเอง ลักษณะความแตกตา ง
ของเพศชาย และเพศหญิง ธรรมชาติของการเคล่ือนไหวรางกายในชีวิตประจําวันแบบอยูกับที่
แบบเคล่ือนที่ แบบใชอุปกรณประกอบ การเคลื่อนไหวรางกายดวยการเลนเกมพ้ืนบานและพ้ืนเมือง
อยางงาย และกิจกรรมทางกายที่ใชการเคล่ือนไหวตามธรรมชาติ เชน การเลนเกมเบ็ดเตล็ด
การออกกําลังกาย การเลนเกมเบ็ดเตล็ดและการปฏิบัติตามกฎ กติกา ขอตกลงในการเลนเกม
เบ็ดเตล็ดการปฏิบัติตนตามหลักสุขบญั ญัติแหงชาติ การบอกลักษณะอาการเจ็บปวยและวธิ ีปฏิบัติตน
เมื่อมีอาการเจ็บปวยเกิดข้ึนกับตนเอง การระบุสิ่งที่ทําใหเกิดอันตรายท่ีบาน โรงเรียนและวิธีการ
ปองกัน การบอกสาเหตุท่ีทําใหเกิดอันตรายจากการเลนและการปองกัน การแสดงคําพูด
หรือทา ทาง ขอความชวยเหลอื จากบุคคลท่ีควรขอความชวยเหลอื เมื่อเกิดเหตรุ า ยทบ่ี านและโรงเรียน

โดยใชทักษะกระบวนการ คิดวิเคราะห สังเคราะห อภิปรายสรุป เพ่ือใหเกิดความรู
ความเขาใจ และสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวัน ตลอดจนทําใหมีทักษะในดานการเคล่ือนไหว
อยา งสมดลุ

เพ่ือใหเห็นคุณคาของการรักษาสุขภาพ ใฝเรียนรู มีความซ่ือสัตยตอกฎ กติกาตาง ๆ
มีวินัยในตนเองในการดูแลรักษาสุขภาพ ตลอดจนรักความเปนไทยโดยเขารวมกิจกรรมทางกาย
และกีฬาที่เหมาะสมกับเพศและวัยตามประเพณีและวัฒนธรรมไทย มีนํ้าใจเปนนักกีฬา อยูรวมกับ
ผอู ื่นไดอยางมีความสุข

รหสั ตัวชีว้ ดั
พ 1.1 ป.1/1, ป.1/2
พ 2.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
พ 3.1 ป.1/1, ป.1/2
พ 3.2 ป.1/1, ป.1/2
พ 4.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
พ 5.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
รวมทง้ั หมด 15 ตัวชีว้ ัด

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พุทธศกั ราช 2564 62
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560)

คาํ อธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
พ12101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 2 กลุมสาระการเรียนรูส ุขศึกษาและพลศกึ ษา
ช้ันประถมศึกษาปที่ 2 เวลา 40 ชัว่ โมง
................................................................................................................................................................

ศึกษาลกั ษณะหนาท่ีและการดแู ลรักษาอวัยวะภายใน เชน สมอง หัวใจ ตับ ไต ปอด
กระเพาะอาหาร ลําไส ท่ีมีการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการไปตามวัย การระบุบทบาทหนาท่ีของตนเอง
และสมาชิกในครอบครัว ความสําคญั ของเพือ่ น การระบุพฤตกิ รรมท่ีเหมาะสมกับเพศ ความภาคภมู ิใจ
ในตนเอง (ในความเปนเพศหญิงหรือเพศชาย) การควบคุมการเคล่ือนไหวรางกายแบบอยูกับท่ี
แบบเคลื่อนที่ และแบบใชอุปกรณประกอบการเลนเกมเบ็ดเตล็ดและเขารวมกิจกรรมทางกาย
ที่วิธีเลนอาศัยการเคลื่อนไหวเบื้องตนทั้งแบบอยูกับท่ี เคลื่อนที่ และ การเคล่ือนไหวรางกายดวยเกม
พ้ืนบานประกอบอุปกรณ การบอกลักษณะของการมีสุขภาพดี การเลือกกินอาหารท่ีมีประโยชน
การระบุ ของใชและของเลนที่มีผลเสียตอสุขภาพ การอธิบายอาการ และวิธีปองกัน ตลอดจน
การปฏิบัติตามคําแนะนําเมื่อมีอาการเจ็บปวยและบาดเจ็บสาเหตุและวิธีปองกันอุบัติเหตุทางนํ้า
และทางบก ช่ือยาสามัญประจําบาน และการใชยาตามความจําเปนและตามลักษณะอาการ การใช
สมุนไพรไทยตามความจําเปนและรักษาโรค การระบุโทษของสารเสพติด และสารอันตรายใกลตัว
และวิธีปองกันสัญลักษณ ปายเตือน และความหมายของสัญลักษณ ปายเตือนของสิ่งของหรือสถานที่
ที่เปน อนั ตราย การระบสุ าเหตุ อนั ตราย และวิธปี องกนั อันตรายจากอคั คีภัย

โดยใชท ักษะกระบวนการ คิด วิเคราะห สังเคราะห อภปิ ราย ปรบั ปรุง แกไ ข เพ่ือใหเ กดิ
ความรู ความเขา ใจ และสามารถนําไปปฏบิ ตั ิตนในการดแู ลรักษาสขุ ภาพไดอ ยา งถูกตอ ง

เพือ่ ใหเห็นความสําคญั ของการดูแลรักษาสุขภาพ ใฝเ รียนรู มีวนิ ัยในตนเอง เขา รวม
กิจกรรมทางกายและกีฬารวมกับผอู นื่ ไดอ ยางมีความสุข

รหสั ตวั ช้ีวดั
พ 1.1 ป.2/1, ป.2/2
พ 2.1 ป.2/3, ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4
พ 3.1 ป.2/1, ป.2/2
พ 3.2 ป.2/1, ป.2/2
พ 4.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5
พ 5.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5
รวมทง้ั หมด 21 ตัวชว้ี ัด

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พุทธศกั ราช 2564 63
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

พ13101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 3 คาํ อธิบายรายวชิ าพื้นฐาน
กลุม สาระการเรียนรูส ุขศกึ ษาและพลศึกษา
ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 3 เวลา 40 ช่วั โมง
................................................................................................................................................................

ศึกษาการเจริญเติบโตของรางกาย ความแตกตางระหวางบุคคล เกณฑมาตรฐาน และปจจัย
ที่มีผลตอการเจริญเติบโต อาหาร การออกกําลังกาย การพักผอน ความสําคัญและความแตกตาง
วิธีการสรางสัมพันธภาพในครอบครัวและกลุมเพื่อน การปองกันตนจากการลวงละเมิดทางเพศ
การเคลื่อนไหวแบบอยูกับท่ี เคลื่อนท่ี ควบคุมการเคล่ือนไหวรางกายแบบตาง ๆ อยางมีทิศทาง
และการเคล่ือนไหวรางกายดวยเกมพื้นบานโดยการบังคับทิศทาง การเลนเกมเบ็ดเตล็ด
แนวทางการเลือกออกกําลังกาย การละเลนพ้ืนเมือง การเลนเกมที่เหมาะสม การใชขอมูลเพ่ิมทักษะ
กลไก ระเบียบ กฎ กติกา ในการเขารวมกิจกรรมการออกกําลังกาย การเลนเกมและการละเลน
พ้ืนเมือง การติดตอและวิธีปองกันการแพรกระจายของโรค อาหารหลัก 5 หมู การแปรงฟน
สรางเสริมสมรรถภาพทางกาย เพื่อสุขภาพ วิธีปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภัยจากอุบัติเหตุในบาน
โรงเรียน การเดินทาง การขอความชวยเหลือจากบุคคลและแหลงตาง ๆ เมื่อเกิดเหตุราย
หรืออุบตั เิ หตุการบาดเจ็บจากการเลน และวิธกี ารปฐมพยาบาล

โดยใชท กั ษะกระบวนการ คิด วเิ คราะห สงั เคราะห อภิปราย ปรบั ปรุง แกไ ข เพ่ือใหเกดิ
ความรู ความเขาใจ และสามารถนําไปปฏิบตั ติ นในการดแู ลรกั ษาสุขภาพไดอ ยางถูกตอ ง

เห็นคุณคาของการเรียนรสู ุขศกึ ษา ใฝเ รยี นรูในการแสวงหาความรู มีความซอ่ื สัตยสจุ รติ ตอ
กฎ ระเบียบ กติกา ตาง ๆ มีวินัยในการปฏิบัติตนในการดูแลรักษาสุขภาพอยางสม่ําเสมอ ตลอดจน
รกั ความเปน ไทยในการเขารวมกิจกรรมทางกายและกีฬาที่เหมาะสมกับเพศและวัยตามวัฒนธรรมไทย
มีน้ําใจเปน นักกฬี า และสามารถปฏบิ ัตกิ ิจกรรมทางกายและกีฬารว มกบั ผูอืน่ อยางมีความสขุ

รหัสตัวชีว้ ดั
พ1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
พ2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
พ3.1 ป.3/1, ป.3/2
พ3.2 ป.3/1, ป.3/2
พ4.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5
พ5.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3

รวมท้งั หมด 18 ตัวชว้ี ดั

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พุทธศักราช 2564 64
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

คาํ อธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน
พ14101 สุขศึกษาและพลศึกษา 4 กลมุ สาระการเรียนรสู ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา
ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 4 เวลา 40 ชัว่ โมง
.............................................................................................................................................................

การศึกษาการเจริญเติบโตและการพัฒนาการของรางกายและจิตใจตามวัย ความสําคัญ
วิธีดูแลรักษากลามเน้ือกระดูก และขอท่ีมีผลตอสุขภาพการเจริญเติบโต และพัฒนาการใหทํางาน
อยา งมปี ระสิทธิภาพ คุณลกั ษณะของความเปน เพ่อื นและสมาชกิ ทีด่ ขี องครอบครวั การมพี ฤตกิ รรม
ทเ่ี หมาะสมกับเพศของตนตามวฒั นธรรมไทย วิธีการปฏิเสธการกระทําที่เปนอันตรายและไมเหมาะสม
ในเรอ่ื งเพศ การเคล่อื นไหวรางกายแบบผสมผสานทง้ั แบบอยูก ับท่ี แบบเคลอ่ื นที่และ
การใชอุปกรณประกอบ การบริหารรางกายดวยทามือเปลาประกอบจังหวะ โดยเนนเอกลักษณไทย
เกมเลียนแบบและกิจกรรมแบบผลัด กีฬาพื้นฐานการออกกําลงั กาย เลนเกมตามความชอบของตนเอง
และเลนกีฬาพ้ืนฐานรวมกับผูอื่น การวิเคราะหผลพัฒนาการของตนเองในการออกกําลังกาย เลนเกม
และเลนกีฬาตามตัวอยาง และแบบปฏิบัติของผูอ่ืนคุณคาของการออกกําลงั กาย เลน เกมและเลนกีฬา
ทมี่ ตี อ สุขภาพ การปฏบิ ัติตามกฎ กติกาการเลน กีฬาพ้ืนฐานตามชนดิ กีฬาทเ่ี ลน ความสมั พันธระหวาง
ส่ิงแวดลอมกับสุขภาพ การจัดส่ิงแวดลอมท่ีถูกสุขลักษณะ และเอ้ือตอสุขภาพ สภาวะ อารมณ
และความรูสึก ผลที่มีตอสุขภาพในทางบวกและทางลบ การวิเคราะหขอมูลบนฉลากอาหาร
และผลิตภัณฑสุขภาพ การทดสอบการปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบสมรรถภาพ
ทางกาย ความสําคัญ หลักการใชยา วิธีปฐมพยาบาล ผลเสียของการสูบบุหรี่ การดื่มสุรา และวิธีการ
ปอ งกัน

โดยใชทกั ษะกระบวนการคดิ วิเคราะห อภิปราย ปรบั ปรุง แกไ ข เพือ่ ใหเกดิ ความรู
ความเขาใจ สามารถส่ือสารส่งิ ทเี่ รยี นรู และมคี วามสามารถในดา นทกั ษะการเคลอื่ นไหวอยา งสมดลุ

เหน็ คุณคา ของการเรยี นรสู ขุ ศกึ ษา ใฝเ รยี นรใู นการแสวงหาความรู มีความซื่อสตั ยส จุ รติ
ตอกฎ ระเบยี บ กติกา ตาง ๆ มวี ินัยในการปฏบิ ตั ิตนในการดูแลรักษาสขุ ภาพอยางสม่ําเสมอ ตลอดจน
รกั ความเปน ไทยในการเขารวมกจิ กรรมทางกายและกีฬาท่ีเหมาะสมกบั เพศและวัยตามวัฒนธรรมไทย
มนี ํ้าใจเปน นกั กฬี า และสามารถปฏิบตั ิกจิ กรรมทางกายและกีฬารวมกบั ผอู ืน่ อยา งมีความสุข

รหสั ตัวชีว้ ัด
พ 1.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
พ 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
พ 3.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4
พ 3.2 ป.4/1, ป.4/2
พ 4.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4
พ 5.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
รวมท้งั หมด 19 ตัวชีว้ ัด

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พทุ ธศกั ราช 2564 65
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560)

พ15101 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 5 คาํ อธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน
กลุมสาระการเรียนรูสขุ ศึกษาและพลศึกษา
ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ 5 เวลา 40 ช่ัวโมง
.............................................................................................................................................................

ศึกษาความสําคญั ของระบบยอยอาหาร และระบบขบั ถายทีม่ ีผลตอสุขภาพการเจรญิ เติบโต
และพัฒนาการ และวิธีการดูแลรักษาใหทํางานตามปกติ การเปล่ียนแปลงทางเพศ การดูแลตนเอง
และการปฏิบัติตนไดเหมาะสมตามวัฒนธรรมไทย ลักษณะครอบครัวท่ีอบอุนตามวัฒนธรรมไทย
และพฤตกิ รรมที่พึงประสงคและไมพึงประสงคใ นการแกไขปญหาความขดั แยง ในครอบครวั
การจัดรูปแบบการเคลื่อนไหวรางกายแบบผสมผสานและการปฏิบัติกิจกรรมทางกายท้ังแบบอยูกับที่
เคล่ือนท่ีและการใชอุปกรณประกอบตามแบบท่ีกําหนด เกมนําไปสูกีฬาและกิจกรรมการเคล่ือนไหว
แบบผลัดที่มีการตี เขี่ย รับ-สงส่ิงของ ขวางและวิ่ง การเคลื่อนไหวในเรื่องการรับแรง การใชแรง
และความสมดุล การใชทักษะกลไกที่สงผลตอการปฏิบัติกิจกรรมทางกายและเลนกีฬา การเลนกีฬา
ไทยประเภทบุคคล/ทีม กฎกติกา มารยาท สิทธิของตนเองในการเลนกีฬาไทยหลักการและรปู แบบ
การออกกําลังกายและการเลนเกม การเลนกีฬาไทยและกีฬาสากลที่เหมาะสมกับวัย และการสราง
ทางเลือกในวิธีปฏิบัติในการเลนกีฬาอยางหลากหลาย การปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติแหงชาติ วิธีการ
คนหาขอมูลขาวสารทางสุขภาพจากแหลงตาง ๆ หลักการเลือกซ้ืออาหาร และผลิตภัณฑสุขภาพ
หลักการปฏิบัติตนในการปองกันโรคท่ีพบบอยในชีวิตประจําวัน สมุนไพรไทยเพ่ือการปองกันโรค
การทดสอบและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามมาตรฐานท่ีกําหนด ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการใชสาร
เสพติดและผลกระทบตอรางกาย การปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภัยจากการใชยาและการหลีกเล่ียง
สารเสพติดอิทธพิ ลของสอ่ื ทมี่ ีตอ พฤติกรรมสุขภาพ การปฏิบตั ิตนเพ่ือปอ งกนั อนั ตรายจากการเลน กีฬา

โดยใชท กั ษะกระบวนการคิด วเิ คราะห อภปิ ราย ปรับปรงุ แกไข เพ่อื ใหเกิดความรู
ความเขาใจ สามารถส่ือสารสิ่งทเี่ รยี นรู และมคี วามสามารถในดานทักษะการเคลือ่ นไหวอยา งสมดุล

เหน็ คณุ คา ของการเรียนรสู ุขศึกษา ใฝเ รียนรูใ นการแสวงหาความรู มีความซอื่ สัตยส จุ รติ
ตอ กฎ ระเบยี บ กติกา ตา ง ๆ มีวนิ ยั ในการปฏิบตั ติ นในการดแู ลรักษาสขุ ภาพอยางสมํ่าเสมอ ตลอดจน
รกั ความเปนไทยในการเขารวมกิจกรรมทางกายและกีฬาท่ีเหมาะสมกบั เพศและวยั ตามวัฒนธรรมไทย
มีนํ้าใจเปน นกั กฬี า และสามารถปฏบิ ตั ิกิจกรรมทางกายและกฬี ารว มกบั ผูอ่ืนอยา งมีความสขุ

รหัสตัวชีว้ ัด
พ 1.1 ป.5/1, ป.5/2
พ 2.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3
พ 3.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6
พ 3.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4
พ 4.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5
พ 5.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5
รวมทงั้ หมด 25 ตัวช้วี ดั

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พทุ ธศกั ราช 2564 66
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

พ16101 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 6 คําอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน
กลมุ สาระการเรียนรสู ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 เวลา 40 ช่วั โมง
.............................................................................................................................................................

ศึกษาเก่ียวกับความสําคัญของระบบสืบพันธุ ระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจ
ทม่ี ีผลตอ สุขภาพ การเจรญิ เติบโต และพัฒนาการดแู ลรกั ษาระบบสืบพนั ธุ การสรา งและรักษาสัมพันธ
ภาพกับผูอ่ืน ปจจัยที่ชวยใหการทํางานกลุมประสบความสําเร็จ ความสามารถสวนบุคคล หนาท่ี
ของสมาชิกในกลุม การยอมรับความคิดเห็น ความแตกตา งระหวางบุคคล ความรับผิดชอบ พฤติกรรม
เสี่ยงนําไปสูการมีเพศสัมพันธ การติดเชื้อเอดส การต้ังครรภกอนวัยอันควร การเคล่ือนไหวรวมกับ
ผูอ่ืนแบบผลัดในลักษณะผสมผสานในการรวมกิจกรรมทางกาย การเคลื่อนไหวในเรื่องการรับแรง
การใชแรงและความสมดุลกับการเสริมทักษะการเคลื่อนไหวในการเลนเกมและกีฬา การเลนกฬี าไทย
กีฬาสากล ประเภทบุคคลและประเภททีม การใชขอมูลดานทักษะกลไกเพื่อปรับปรุงและเพ่ิมพูน
ความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมทางกายและเลนกีฬา การนําความรูและหลักการของกิจกรรม
นันทนาการไปใชเปนพื้นฐานการศึกษาหาความรู ประโยชนและหลักการออกกําลังกายเพ่ือสุขภาพ
สมรรถภาพทางกายและการสรางเสริมบุคลิกภาพ การเลนเกมที่ใชทักษะการวางแผน การเพิ่มพูน
ทักษะออกกําลังกายและการเคลื่อนไหวอยางเปนระบบ การเลนกีฬาประเภทบุคคลและประเภททีม
ที่ช่ืนชอบ การประเมินทักษะการเลนกีฬาของตน กฎ กติกาในการเลนกีฬาไทยประเภทบุคคล/ทีม
กีฬาสากลตามชนิดกีฬาท่ีเลน ความสําคัญของสิ่งแวดลอมที่มีผลตอสุขภาพ ปญหาของสิ่งแวดลอม
ที่มีผลตอสุขภาพ การปองกันและแกปญหาสิ่งแวดลอมที่มีผลตอสุขภาพ โรคติดตอสําคัญท่ีระบาด
ในปจจุบัน ผลกระทบท่ีเกิดจากการระบาดของโรค การปองกันการระบาดของโรค พฤติกรรม
ทแ่ี สดงออกถึงความรับผดิ ชอบตอสุขภาพของสวนรวม วิธีทดสอบสมรรถภาพทางกาย การสรางเสริม
และปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ภัยธรรมชาติ ลักษณะของ
ภัยธรรมชาติ ผลกระทบจากความรุนแรงของภัยธรรมชาติท่ีมีตอรางกาย จิตใจและสังคม การปฏิบัติ
ตนเพื่อความปลอดภัยจากธรรมชาติ สาเหตุของการติดสารเสพติด ทกั ษะการส่ือสารใหผูอืน่ หลกี เล่ียง
สารเสพติด

โดยใชทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห อภิปราย ปรับปรุง แกไข เพ่ือใหเกิดความรู
ความเขา ใจ สามารถสือ่ สารส่งิ ท่เี รียนรู และมีความสามารถในดา นทักษะการเคลือ่ นไหวอยา งสมดลุ

เห็นคุณคา ของการเรียนรูส ุขศกึ ษา ใฝเ รยี นรใู นการแสวงหาความรู มคี วามซ่อื สัตยสจุ ริต
ตอ กฎ ระเบยี บ กติกา ตาง ๆ มวี ินยั ในการปฏิบตั ิตนในการดแู ลรักษาสขุ ภาพอยางสม่าํ เสมอ ตลอดจน
รกั ความเปนไทยในการเขารวมกิจกรรมทางกายและกฬี าท่ีเหมาะสมกบั เพศและวยั ตามวัฒนธรรมไทย
มนี ้าํ ใจเปน นักกีฬา และสามารถปฏิบตั กิ จิ กรรมทางกายและกีฬารวมกับผอู น่ื อยา งมีความสุข

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พุทธศกั ราช 2564 67
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช 2560)

รหัสตัวชีว้ ดั
พ 1.1 ป.6/1, ป.6/2
พ 2.1 ป.6/1, ป.6/2
พ 3.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5
พ 3.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6
พ 4.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4
พ 5.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3
รวมทั้งหมด 22 ตวั ชว้ี ัด

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พุทธศกั ราช 2564 68
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560)

รายวชิ าพื้นฐาน กลุมสาระการเรยี นรูศลิ ปะ
ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษา

รายวิชาพนื้ ฐาน จาํ นวน 40 ช่วั โมง
ศ11101 ศิลปะ 1 จํานวน 40 ช่วั โมง
ศ12101 ศิลปะ 2 จํานวน 40 ช่ัวโมง
ศ13101 ศลิ ปะ 3 จํานวน 40 ชวั่ โมง
ศ14101 ศลิ ปะ 4 จํานวน 40 ชว่ั โมง
ศ15101 ศิลปะ 5 จาํ นวน 40 ช่ัวโมง
ศ16101 ศิลปะ 6

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พทุ ธศักราช 2564 69
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560)

ศ1101 ศลิ ปะ 1 คาํ อธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน กลุมสาระการเรียนรูศลิ ปะ

ช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี 1 เวลา 40 ชั่วโมง
…………………………………………………….…………………………………………………………………………………………

รูและเขาใจเก่ียวกับรูปราง ลักษณะ และขนาดของส่ิงตางๆรอบตัวและสิ่งที่มนุษยสรางข้ึน
บอกความรูสึกที่มีตอธรรมชาติและส่ิงแวดลอมรอบตัว มที ักษะพ้นื ฐานการใชวสั ดุ อุปกรณใ นการสราง
งานวาดภาพระบายสี การปน สรางงานทัศนศิลปดวยการทดลองสีดวยเทคนิคงาย ๆ และวาดภาพ
ระบายสีภาพธรรมชาติท่ีตนช่ืนชอบตามความรูสึกของตนเอง รูและเขาใจเกี่ยวกับงานทัศนศิลป
ในชีวิตประจําวัน รูเขาใจและเลียนแบบการเคล่ือนไหวลักษณะตางๆ แบบธรรมชาติ คน สัตว
ส่ิงของ ประดิษฐทาทางประกอบเพลง แสดงทาทางงายๆ การรองเพลงงาย ๆ และบทเพลง
ในทองถ่ิน การเขารวมกิจกรรมดนตรี การรองเพลง การเคาะจังหวะ การเคลื่อนไหวประกอบเพลง
การบอกเพลงทใี่ ชใ นชีวติ ประจําวัน

โดยใชกระบวนการอภิปราย กระบวนการกลุม การสืบคนขอมูลและการบันทึกขอมูล
เพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจ ความสามารถในการสื่อสาร และเห็นคุณคางานทัศนศิลป ดนตรี
นาฏศิลปท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภู มิปญญาไทย การช่ืนชมและการนําไป
ประยุกตใชใ นชีวิตประจําวัน

รหสั ตวั ชีว้ ัด
ศ 1.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5
ศ 1.2 ป.1/1
ศ 2.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5
ศ 2.2 ป.1/1, ป.1/2
ศ 3.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
ศ 3.2 ป.1/1, ป.1/2
รวมทั้งหมด 18 ตัวชวี้ ดั

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พุทธศักราช 2564 70
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560)

ศ12101 ศิลปะ 2 คําอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน กลุมสาระการเรยี นรูศ ิลปะ

ชน้ั ประถมศึกษาปที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง
………………………………………………………….………………………………………………………………………………….

ศึกษา วิเคราะห การบรรยาย รูปราง รูปทรงท่ีพบในธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทัศนธาตุ
และงานทัศนศลิ ป เร่อื งเสน สี รูปรา ง และรูปทรง เรื่องราว การเลือก สรา งงานทัศนศลิ ปตา ง ๆ
โดยใช เสน เชน งานวาด งานปนและงานพิมพภาพ รูปแบบงานโครงสรางเคล่ือนไหว การฝกทักษะ
การใชวัสดุ อุปกรณ การสรางงานทัศนศิลป 3 มิติ การสรางภาพปะติดโดยการตัดหรือ ฉีกกระดาษ
การวาดภาพ เพ่ือถายทอดเร่ืองราวเก่ียวกับครอบครัวของตนเองและเพ่ือนบาน การบอกความสําคัญ
ของงานทัศนศลิ ปทพ่ี บเหน็ ในชีวิตประจําวนั การอภปิ รายเก่ียวกับงานทัศนศลิ ปป ระเภทตา ง ๆ
ในทองถ่ินโดยเนนถึงวิธกี ารสรางงานและวสั ดอุ ุปกรณ ที่ใช ศกึ ษาการจาํ แนกแหลง กาํ เนิดของเสยี ง
ทีไ่ ดยิน คุณสมบตั ิของเสียง สูงต่าํ - ดังเบา ยาวสั้น ของดนตรี สงิ่ ตาง ๆ ท่กี อกําเนิดเสยี งท่แี ตกตางกัน
ลักษณะของเสียงดังเบา และความชาเร็วของจังหวะ ความเก่ียวของของเพลงที่ใชในชีวิตประจําวัน
การเคาะจงั หวะหรือการเคล่ือนไหวรา งกายใหสอดคลอ งกับเนื้อหาของเพลง
การรอ งเพลงงาย ๆ ท่ีเหมาะสมกับวยั

โดยใชกระบวนการคิดวิเคราะห การอภิปราย กระบวนการกลุม การสืบคนขอมูล
และการบันทึกขอมูล เพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจ ความสามารถในการส่ือสาร และเห็นคุณคา
ของการนําความรูไปใชใหเกิดประโยชนในการดําเนินชีวิตประจําวันศึกษา วิเคราะหการบอก
ความหมายและความสําคัญของเพลงปลุกใจ เพลงสอนใจ ความสัมพันธของเสียงรอง เสียงเครื่อง
ดนตรีในเพลงทองถ่ินโดยใชคํางาย ๆ การระบุมารยาทในการชมการแสดง การเลน การละเลน
การเคลื่อนไหวขณะอยูกับท่ีและการเคลื่อนที่อยางมีรูปแบบ การเคล่ือนไหวท่ีสะทอนอารมณ
ของตนเองอยางอิสระ ทาทาง เพ่ือส่ือความหมายแทนคําพูด ทาทางประกอบจังหวะอยางสรางสรรค
การใชภาษาทาและนาฏยศัพทประกอบจังหวะ การแสดงและการเขารวมกิจกรรมทางดนตรี
ของทองถิ่นในโอกาสพิเศษ การละเลนพ้ืนบาน การเช่ือมโยงการละเลนพ้ืนบานกับการดํารงชีวิต
ของคนไทย การระบุสิ่งท่ีช่นื ชอบและภาคภูมิใจในการละเลนพื้นบาน โดยใชกระบวนการคดิ วิเคราะห
การอภิปราย กระบวนการกลุม การสืบคนขอมูลและการบันทึกขอมูล เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ
ความสามารถในการสือ่ สารและเหน็ คณุ คาของการนําความรไู ปใชใหเ กดิ ประโยชนในการดําเนนิ ชวี ิตประจําวัน

รหัสตวั ชี้วัด
ศ 1.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7, ป.2/8
ศ 1.2 ป.2/1, ป.2/2
ศ 2.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5
ศ 2.2 ป.2/1, ป.2/2
ศ 3.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5
ศ 3.2 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3
รวมทงั้ หมด 25 ตวั ชี้วดั

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พุทธศักราช 2564 71
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560)

ศ13101 ศลิ ปะ 3 คาํ อธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน กลมุ สาระการเรียนรูศ ิลปะ

ช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 เวลา 40 ชั่วโมง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ศึกษา วิเคราะห การบรรยาย รูปราง รูปทรงในธรรมชาติส่ิงแวดลอม และงานทัศนศิลป
ระบุ วัสดุ อุปกรณท่ีใชสรางผลงานเม่ือชมงานทัศนศิลป การบรรยายเหตุผลและวิธีการในการสราง
งานทัศนศิลป โดยเนนถึงเทคนิคและวัสดุ อุปกรณ การจําแนกทัศนธาตุของสิ่งตาง ๆ ในธรรมชาติ
ส่ิงแวดลอมและงานทัศนศิลป โดยเนนเร่ือง เสน สี รูปราง รูปทรง และพื้นผิว มีทักษะพ้ืนฐาน
ในการใชวัสดุอุปกรณสรางสรรคงานปน การวาดภาพ การระบายสีสิ่งของรอบตัว การถายทอด
ความคิดความรสู ึกจากเหตุการณชีวติ จริง โดยใชเสน รูปราง รูปทรง สี และพ้ืนผิว การระบุสิ่งที่ชื่นชม
และสิ่งที่ควรปรับปรุงในงานทัศนศิลปของตนเอง การระบุ และการจัดกลุมของภาพตามทัศนธาตุ
ทเี่ นน ในงานทัศนศลิ ปน ั้น ๆ การบรรยายลักษณะรูปรา ง รปู ทรงในงานการออกแบบสง่ิ ตา ง ๆ
ท่ีมีในบานและโรงเรียน การเลาถึงที่มาของงานทัศนศิลปในทองถ่ิน การอธิบายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ
และวิธีการสรางงานทัศนศิลปในทองถิ่น โดยใชกระบวนการคิดวิเคราะหการอภิปรายกระบวนการ
กลุม การสืบคนขอมูลและการบันทึกขอมูล เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ และเห็นคุณคาของการนํา
ความรูไปใชใ หเกิดประโยชนในการดําเนินชีวิตประจําวัน

ศึกษา วิเคราะห การระบุรูปรางลักษณะของเครื่องดนตรี ที่เห็นและไดยินในชีวิตประจําวัน
ลักษณะเดนและเอกลักษณของดนตรีในทองถิ่น ความสําคัญและประโยชนของดนตรีตอการดําเนิน
ชีวิตของคนในทองถิ่นใชรูปภาพหรือสัญลักษณแทนเสียง และจังหวะเคาะ การบอกบทบาทหนาท่ี
ของเพลงท่ีไดยิน การขับรองและบรรเลงดนตรีงาย ๆ การเคลื่อนไหวทาทางสอดคลองกับอารมณ
ของเพลงที่ฟง การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี เสียงขับรองของตนเองและผูอื่น การนํา
ดนตรีไปใชในชีวิตประจําวันหรือโอกาสตาง ๆ ไดอยางเหมาะสมโดยใชกระบวนการคิดวิเคราะห
การอภิปราย กระบวนการกลุม การสืบคนขอมูลและการบันทึกขอมูล เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ
ความสามารถในการสื่อสาร และเห็นคุณคาของการนําความรูไปใชใหเกิดประโยชนในการดําเนิน
ชีวิตประจําวันศึกษา วิเคราะห การสรางสรรคการเคล่ือนไหวในรูปแบบตาง ๆ รําวงมาตรฐาน เพลง
พระราชนิพนธ สถานการณสั้น ๆ สถานการณที่กําหนด การแสดงทาทางประกอบเพลงตามรูปแบบ
นาฏศิลป การเปรียบเทียบบทบาทหนา ท่ีของผแู สดงและผูชม การมีสว นรว มในกิจกรรมการแสดง
ท่ีเหมาะสมกับวัย การบอกประโยชนของการแสดงนาฏศิลปในชีวิตประจําวัน การเลาการแสดง
นาฏศิลปที่เคยเห็นในทองถ่ิน การระบุสิ่งท่ีเปนลักษณะเดนและเอกลักษณของการแสดงนาฏศิลป
การอธิบายความสาํ คญั ของการแสดงนาฏศลิ ป

โดยใชกระบวนการคิดวิเคราะห การอภิปราย กระบวนการกลุม การสืบคนขอมูล
และการบันทึกขอมูล เพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจ ความสามารถในการส่ือสารและเห็นคุณคา
ของการนาํ ความรไู ปใชใ หเกิดประโยชนในการดาํ เนินชีวติ ประจาํ วนั

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พุทธศักราช 2564 72
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560)

รหสั ตัวช้ีวัด
ศ 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6 , ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10
ศ 1.2 ป.3/1, ป.3/2
ศ 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7
ศ 2.2 ป.3/1, ป.3/2
ศ 3.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5
ศ 3.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
รวมท้งั หมด 29 ตวั ช้วี ดั

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พุทธศักราช 2564 73
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560)

ศ14101 ศลิ ปะ 4 คําอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน กลมุ สาระการเรียนรูศลิ ปะ

ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี 4 เวลา 40 ชวั่ โมง
…………………………………………………………………….……………………………………………………………………….

สังเกตธรรมชาติ ส่ิงแวดลอมและงานทัศนศิลป เปรียบเทียบลักษณะรูปราง รูปทรง ศึกษา
องคประกอบศิลป จําแนกทัศนธาตุโดยเนนเรื่อง เสน สี รูปราง รูปทรง พื้นผิวและพ้ืนที่วาง อภิปราย
อิทธพิ ลของสีวรรณะอุนและสีวรรณะเย็นท่ีมีตออารมณของคน บรรยายลักษณะของภาพโดยเนนการ
จดั ระยะความลกึ นา้ํ หนักและแสงเงา มีทักษะพื้นฐานการใชวัสดุ อุปกรณในการพิมพภาพและการวาด
ภาพระบายสี โดยใชสีวรรณะอุนและสีวรรณะเย็นถายทอดความรูสึกและจินตนาการ นําความรูและ
วิธีการทางทัศนศิลปไปใชในชีวิตประจําวันอยางสรางสรรค จําแนก ระบุ อภิปรายงานทัศนศิลปท่ีมา
จากวัฒนธรรม ในทองถ่ิน สืบทอดงานเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีที่เปนภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญา
ไทยและสากล

ศึกษาโครงสรางของบทเพลง บอกประโยคเพลงงายๆ จําแนกประเภทของเคร่ืองดนตรี
ระบุทิศทางการเคลอื่ นทีข่ ึน้ ลงงาย ๆ ของทาํ นอง รปู แบบจงั หวะและความเร็ว ของจงั หวะในเพลง
ท่ีฟง อาน เขียนโนตดนตรีไทยและสากล รองเพลงโดยใชชวงเสียงท่ีเหมาะสมกับตนเอง ใชและเก็บ
เคร่ืองดนตรีอยางถูกตองและปลอดภัย บอกวาดนตรีสามารถใชในการส่ือเร่ืองราว ศึกษาและสํารวจ
บอกแหลงท่ีมาและความสัมพันธของวิถีชีวิตไทยที่สะทอนในดนตรี เพลงทองถ่ิน ระบุความสําคัญ
การอนุรักษสงเสรมิ วฒั นธรรม ภมู ปิ ญ ญาทอ งถ่ิน ภูมิปญ ญาไทยและสากล

ศึกษา องคประกอบนาฏศิลป เพ่ือใหมีความรู ความเขาใจ มีทักษะพ้ืนฐานทางนาฏศิลป
และการละครท่ีใชสื่อความหมาย อารมณ การใชภาษาทาและนาฏยศัพท การประดิษฐทาทาง
หรือทารําประกอบจังหวะพื้นเมือง อยางสรางสรรค การรําวงมาตรฐาน ระบํา การเลาเร่ือง โดยเนน
จุดสําคัญ ลักษณะเดนของตัวละคร ศึกษาประวัติความเปนมาของนาฏศิลป หรือชุดการแสดง
อยางงาย ๆ ชมการแสดงเปรียบเทียบการแสดงนาฏศิลปกับการแสดงของทองถิ่น เนนความสําคัญ
ของการแสดงความเคารพในการเรียนและการแสดงนาฏศลิ ป

เพ่ือรูและเขาใจ สามารถสรางผลงานทางทัศนศิลป ดนตรีและนาฏศิลปอยางสรางสรรค
นําความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน โดยใชกระบวนการทางศิลปะในการสรางผลงาน
การวเิ คราะห การวพิ ากษว จิ ารณ ใหเ หน็ คณุ คาของการจดั กิจกรรมศิลปะ

รหสั ตวั ช้ีวัด
ศ 1.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7, ป.4/8, ป.4/9
ศ 1.2 ป.4/1, ป.4/ 2
ศ 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7
ศ 2.2 ป.4/1, ป.4/2
ศ 3.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5
ศ 3.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4
รวมทง้ั หมด 29 ตวั ช้ีวัด

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พุทธศกั ราช 2564 74
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

ศ15101 ศิลปะ 5 คําอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน กลุมสารการเรียนรูศ ิลปะ

ชั้นประถมศึกษาปท่ี 5 เวลา 40 ชั่วโมง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ศึกษาเกี่ยวกับองคประกอบหลักงานทัศนศิลป บรรยาย เปรียบเทียบความแตกตางระหวาง
งานศิลปท่ีสรางสรรคดวยวัสดุ อุปกรณและวิธีการที่แตกตางกัน วาดภาพโดยใชเทคนิคของแสงเงา
น้ําหนักและวรรณะสี ปนดินนํ้ามันหรือดินเหนียวจากจินตนาการ พิมพภาพโดยเนนการจัดภาพ
วิเคราะห วิพากษวิจารณในการจัดองคประกอบหลักงานทัศนศิลปและการสื่อความหมายในงาน
ทัศนศิลปของตนเอง อภิปรายงานทัศนศิลปที่สะทอนวัฒนธรรมและภูมิปญญาในทองถิ่น บรรยาย
ประโยชนและคุณคาของงานทัศนศิลปที่มีผลตอชีวิตของคนในสังคม นําความรูและวิธีการทาง
ทศั นศิลปไปใชใ นชวี ติ ประจําวนั อยา งสรา งสรรค

โดยเลือกเทคนิค วิธีการ วัสดุอุปกรณในการสรางสรรคอยางเหมาะสม ใชกระบวนการคิด
วิเคราะห การอภิปราย เพ่ือแสดงออกถึงความงาม ความประณีต สะทอนวัฒนธรรม ประเพณี
ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมิปญญาไทยและสากลและเห็นคุณคาของการนําความรูไปใชใหเกิดประโยชน
ในการดาํ เนนิ ชวี ติ ประจําวัน

ศึกษา องคประกอบดนตรีเกี่ยวกับการส่ืออารมณ ลักษณะของเสียงขับรองและเครื่องดนตรี
ประเภทตางๆ อาน เขียนโนตดนตรีไทยและสากล เลนเคร่ืองดนตรีเปนทํานอง จังหวะ รองเพลงไทย
รองเพลงสากลหรือไทยสากล ดนสดงายๆ โดยใชประโยคเพลงถาม- ตอบ ใชดนตรีรวมกับกิจกรรม
ในการแสดงออกตามจินตนาการ อธบิ ายความเกี่ยวขอ งระหวา งดนตรี กบั งานประเพณใี นทองถน่ิ

โดยการฝกปฏิบัติ การแสดงออกตามจินตนาการเพื่อสื่อความคิด จินตนาการ ความรูสึก
ประทับใจและเห็นคุณคา อธิบายความสัมพันธระหวางดนตรีกับประเพณีในวัฒนธรรมตาง ๆ
ใหสัมพันธกัน เพ่ือนําไปสรางสรรคระหวางดนตรีกับประเพณีในวัฒนธรรมทองถิ่น เห็นคุณคา
ของดนตรีทม่ี าจากวฒั นธรรมท่ีตางกนั

ศึกษาองคป ระกอบของนาฏศิลป บรรยายเก่ียวกบั จังหวะ ทํานอง คาํ รองภาษาทา นาฏยศัพท
อุปกรณ การประดิษฐทาทางประกอบเพลงหรือทารําประกอบเร่ืองราว แสดงทาทางประกอบเพลง
หรือเรื่องราวตามความจินตนาการ การแสดงนาฏศิลป ระบํา ฟอน รําวงมาตรฐาน โดยเนนการใช
ภาษาทาและนาฏยศัพทในการสื่อความหมายและการแสดงออก ศึกษาองคประกอบของละคร
การเลือกและเขียนเคาโครงเรื่อง บทละครส้ันๆ มีสวนรวมในกลุมกับการเขียนเคาโครงเรื่อง
หรือบทละครส้ัน ๆ ท่ีมาของการแสดงนาฏศิลปเปรียบเทียบการแสดงนาฏศิลปชุดตาง ๆ หลักการ
ชมการแสดง การถายทอดความรูสึกและคุณคาของการแสดงบอกประโยชนที่ไดรับจากการชม
การแสดงนาฏศิลป เปรียบเทียบการแสดงการแสดงพ้ืนบานในแตละทองถิ่นท่ีสะทอนถึงวัฒนธรรม
และประเพณี

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พุทธศักราช 2564 75
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)

โดยแสดงนาฏศิลป ละครสรางสรรค การแสดงออก การถายทอดความรูสึก เพ่ือนําความรู
และหลักการทางดานนาฏศิลปมาใชบูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืน ๆ และชีวิตประจําวัน
สัมพันธกับการแสดงนาฏศิลปพ้ืนบานท่ีสะทอนถึงวัฒนธรรมและประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น
ภมู ิปญญาไทยและสากล
รหัสตัวชวี้ ดั
ศ 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7
ศ 1.2 ป.5/1, ป.5/2
ศ 2.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7
ศ 2.2 ป.5/1, ป.5/2
ศ 3.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6
ศ 3.2 ป.5/1, ป.5/2
รวมทั้งหมด 26 ตวั ช้วี ดั

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถมั ภ) พทุ ธศักราช 2564 76
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

ศ16101 ศิลปะ 6 คําอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน กลมุ สารการเรียนรูศิลปะ

ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 6 เวลา 40 ชวั่ โมง
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………….

ศึกษา สรางสรรคงานทัศนศิลป สื่อความคิด ถายทอดจินตนาการ ใชสีคูตรงขาม แสงเงา
นํา้ หนักงานปน รูปแบบ เทคนิค และวิธกี ารตา ง ๆ แสดงเปนแผนภาพ แผนผัง ภาพประกอบ อธิบาย
หลักการจัดขนาด สัดสวน ความสมดุลในการสรางงานทัศนศิลป จากรูปแบบ 2 มิติ เปน 3 มิติ
บทบาทของงานทัศนศิลปทสี่ ะทอ นชีวิตและสังคม อภิปรายเก่ยี วกบั อทิ ธพิ ลของความเช่ือ
ความศรัทธาในศาสนาที่มีผลตองานทัศนศิลปในทองถ่ินอันเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญา
ทอ งถ่ิน ภมู ิปญญาไทยและสากล

โดยใชกระบวนการคดิ วิเคราะห การสรางสรรคงาน กระบวนการกลุม และรายบคุ คล
เพอ่ื ถา ยทอดความคดิ หรือเรอื่ งราวเกี่ยวกับเหตุการณตาง ๆ ใหเ กิดความรู ความเขา ใจ และเหน็ คุณคา
ของการนําความรไู ปใชใ หเ กดิ ประโยชนในการดาํ เนินชวี ิตประจําวัน

ศึกษาวิเคราะหองคประกอบดนตรี เพลงที่ฟงและศัพทสังคีต จําแนกประเภทเครื่องดนตรี
ใชเ ครื่องดนตรแี ละเคร่อื งดนตรที ี่มาจากวฒั นธรรมตาง ๆ อาน เขยี นโนต ไทยและโนต สากล
รองเพลง ดนสด สรางสรรครูปแบบจังหวะและทํานองดวยเคร่ืองดนตรีไทยหรือเครอ่ื งดนตรีท่ีมาจาก
วัฒนธรรมตาง ๆ สืบทอดดนตรีไทย จําแนกดนตรีท่ีมาจากยุคสมัยที่ตางกัน อิทธิพลของวัฒนธรรม
ตอดนตรีในทองถิ่น บรรยายความรูสึกและแสดงความคิดเห็นที่มีตอบทเพลง ความไพเราะ
ของเสยี งดนตรี

โดยใชกระบวนการคิดวิเคราะห กระบวนการกลุม เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ ตลอดจน
นาํ ความรแู ละหลกั การทางดนตรีมาประยุกตใชใ หเ กดิ ประโยชนและเหน็ คุณคา ในการสรา งสรรค
นาํ ความรูไปใชใ นชีวิตประจําวนั

ศึกษาพื้นฐานความรู ความเขาใจ นาฏศิลปเบ้ืองตน แสดงออกอยางอิสระในการประดิษฐ
ทาทางประกอบเพลงปลุกใจหรือเพลงพ้ืนเมืองหรือทองถ่ิน การแสดงนาฏศิลปและละครสรางสรรค
การใชเร่ืองแตง จินตนาการ ประสบการณ ละครสรางสรรค ระบํา ฟอน รําวงมาตรฐาน การอธิบาย
ความสัมพันธระหวางนาฏศิลปและการละครกับสิ่งที่ประสบในชีวิตประจําวัน ใชหลักสุนทรีทาง
นาฏศิลป การบอกความหมาย ความเปนมา ความสําคัญพรอมทั้งระบุประโยชนที่ไดร ับจากการแสดง
หรือการชมการแสดงนาฏศิลป สรางสรรคการเคลื่อนไหวและการถายทอดลีลา อารมณ ศึกษาเพลง
พ้ืนเมืองหรือทองถ่ินระบุที่มาและประโยชนท่ีไดรับจากการแสดง สิ่งที่มีความสําคัญตอการแสดง
นาฏศลิ ปแ ละละคร ระบุประโยชนที่ไดร บั จากการแสดงหรือการชมการแสดงนาฏศลิ ปแ ละละคร

โดยใชกระบวนการคิดวิเคราะห การอภิปราย กระบวนการกลุม เพ่ือใหเกิดความรู
ความเขาใจ และเหน็ คณุ คา ของการนาํ ความรไู ปใชใหเ กิดประโยชนใ นการดาํ เนนิ ชวี ิตประจาํ วนั

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พทุ ธศักราช 2564 77
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช 2560)

รหสั ตัวชีว้ ัด
ศ 1.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7
ศ 1.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3
ศ 2.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6
ศ 2.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3
ศ 3.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6
ศ 3.2 ป.6/1, ป.6/2
รวมทง้ั หมด 27 ตัวชวี้ ดั

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พุทธศักราช 2564 78
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

รายวิชาพ้ืนฐาน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชพี
ระดับประถมศกึ ษา

รายวิชาพืน้ ฐาน จาํ นวน 40 ชว่ั โมง
ง11101 การงานอาชพี 1 จํานวน 40 ชั่วโมง
ง12101 การงานอาชพี 2 จํานวน 40 ชวั่ โมง
ง13101 การงานอาชีพ 3 จํานวน 40 ชวั่ โมง
ง14101 การงานอาชพี 4 จาํ นวน 40 ชวั่ โมง
ง15101 การงานอาชพี 5 จํานวน 40 ชัว่ โมง
ง16101 การงานอาชพี 6

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พุทธศักราช 2564 79
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

คาํ อธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน
ง11101 การงานอาชีพ 1 กลมุ สาระการเรยี นรูการงานอาชีพ
ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 1 เวลา 40 ช่วั โมง
………………………………………………………………………………………………………………………………………

อธิบายวธิ ีการแตงกายการจัดเก็บส่ิงของเครอ่ื งใชบนโตะ ตู ชั้น การหยิบจับและใชของใช
สวนตวั การแตงกายดวยตนเอง การใชอุปกรณในการประกอบอาหาร การใชอปุ กรณในการดแู ล
รักษาพืช การใชอุปกรณวัดระยะและตัดกระดาษ การพับกระดาษเปนของเลน บอกขอมูลท่ีสนใจ
และแหลง ขอมูลใกลตวั

ฝกปฏิบัติใชวัสดุอุปกรณในการประกอบอาหาร ใชอุปกรณในการดูแลรักษาพืช ใชอุปกรณ
วดั ระยะและตัดกระดาษ พับกระดาษเปน ของเลน โดยใชทักษะกระบวนการทาํ งานอยา งเปน ข้ันตอน
การจัดการกระบวนการแกปญหา การทํางานรวมกัน การแสวงหาความรู มีความรูความเขาใจ
ในการทํางานเพอ่ื ชว ยเหลอื ตนเอง และรูจกั สรางองคค วามรดู วยตนเอง

เพื่อใหผูเรียนเกิดเจตคติที่ดีตอการทํางาน มีความกระตือรือรนและตรงเวลาในการทํางาน
ตลอดจนนําความรูไปใชในชวี ติ ประจาํ วันได

รหสั ตัวช้ีวัด
ง 1.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
รวมทั้งหมด 3 ตวั ชี้วัด

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พทุ ธศกั ราช 2564 80
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช 2560)

ง12101 การงานอาชพี 2 คําอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน
กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ
ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี 2 เวลา 40 ช่วั โมง
………………………………………………………………………………………………………………………………………

อธบิ ายบทบาทและหนาท่ีของสมาชกิ ในบาน อธิบายวิธีการและประโยชนของการกวาดบาน
การลางจาน การจัดวางเสื้อผา การเก็บเส้ือผา การเก็บรองเทา การชวยครอบครัวเตรียม
และประกอบอาหาร การเพาะเมล็ด การดูแลแปลงเพาะกลา การทําของเลนและประดิษฐของใช
สวนตัว

ฝกปฏิบัติกวาดบาน ลางจาน จัดวางเส้ือผา เก็บเส้ือผา เก็บรองเทา ชวยครอบครัวเตรียม
และประกอบอาหาร เพาะเมล็ด ดูแลแปลงเพาะกลา ทําของเลนและประดิษฐของใชสวนตัวโดยใช
ทักษะกระบวนการทํางานอยางเปนขั้นตอน การจดั การกระบวนการแกปญหา การทํางานรว มกัน การแสวงหาความรู
ใหมีความรูความเขาใจในการทํางานเพ่ือชวยเหลือตนเองและครอบครัว เลือกใชวัสดุอุปกรณและเคร่ืองมือ
ในการทาํ งานอยา งเหมาะสมกบั งาน ตลอดจนรูจกั สรา งองคความรูดว ยตนเอง

เพ่ือใหผูเรียนเกิดเจตคติที่ดีตอการทํางาน มีความประหยัดและปลอดภัยในการทํางาน
ตลอดจนนําความรูไปใชใ นชวี ิตประจาํ วัน

รหัสตวั ช้ีวัด
ง 1.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3
รวมทั้งหมด 3 ตัวช้วี ดั

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พุทธศกั ราช 2564 81
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

คําอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน
ง13101 การงานอาชพี 3 กลมุ สาระการเรยี นรกู ารงานอาชพี
ชั้นประถมศึกษาปท ่ี 3 เวลา 40 ชั่วโมง
………………………………………………………………………………………………………………………………………

อธบิ ายวิธีการและประโยชนของการจัดเตรียมอุปกรณการเรียน การทําความสะอาดกระเปา
นักเรียน การทําความสะอาดรองเทา การปด กวาด เช็ด ถู บานเรือน การกรอกนํ้าใสขวด
การทําความสะอาดหองเรียน การเลือกใชเส้ือผา การซอมแซมเส้ือผาดวยการเนา การประกอบ
อาหาร การเก็บรกั ษาอาหาร การปลูกผกั สวนครัวในภาชนะ การบํารงุ รักษาของเลน และซอมแซม
ของใชสว นตัว การประดิษฐของใชใ นโอกาสตาง ๆ โดยใชวัสดุในทองถิ่น การเลอื กใชสิง่ ของเครื่องใช
ในชีวิตประจําวันอยางสรางสรรค การจัดการสิ่งของเคร่ืองใชดวยการนํากลับมาใชซํ้า การคนหา
ขอมูลอยางมีขั้นตอนและนําเสนอขอมูลลักษณะตาง ๆ รวมท้ังบอกวิธีดูแลรักษาอุปกรณเทคโนโลยี
สารสนเทศ

ฝกปฏิบัติทําความสะอาดกระเปานักเรียน ทําความสะอาดรองเทา ปด กวาด เช็ด ถู
บานเรือน กรอกนํ้าใสขวด ทําความสะอาดหองเรียน เลือกใชเส้ือผา ซอมแซมเส้ือผาดวยการเนา
ประกอบอาหาร เก็บรักษาอาหาร ปลูกผักสวนครัวในภาชนะ บํารุงรักษาของเลนและซอมแซม
ของใชสวนตัว ประดิษฐของใชในโอกาสตาง ๆ โดยใชวัสดุในทองถิ่น เลือกใชสิ่งของเครื่องใช
ในชีวิตประจําวันอยางสรางสรรค จัดการส่ิงของเคร่ืองใชดวยการนํากลับมาใชซํ้า การจัดการ
กระบวนการแกปญ หา การทํางานรวมกัน ทาํ งานเพื่อชวยเหลอื ตนเอง ครอบครวั และสว นรวม

เพื่อใหผูเรียนเกิดเจตคติท่ีดีตอการทํางาน มีความสะอาด รอบคอบ และอนุรักษ
สิ่งแวดลอมในการทํางาน ตลอดจนนําความรูไปใชในชวี ติ ประจําวันได

รหัสตัวช้ีวดั
ง 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
รวมทั้งหมด 3 ตัวชว้ี ดั

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พุทธศักราช 2564 82
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560)

ง14101 การงานอาชีพ 4 คําอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน กลมุ สาระการเรยี นรูก ารงานอาชพี

ชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ 4 เวลา 40 ชั่วโมง
………………………………………………………………………………………………………………………………………

อธิบายเหตุผลในการดูแลรักษาของใชสวนตัว การจัดโตะเขียนหนังสือ การจัดกระเปา
นักเรียน การจัดตูเสื้อผา การขจัดรอยเปอนบนเส้ือผา การซอมแซมเส้ือผาดวยการดน การ
ประกอบอาหารและเคร่ืองดื่ม การซอมแซมอุปกรณ เคร่ืองมือและเครื่องใช การประดิษฐของใช
ของตกแตงจากใบตองและกระดาษ การจัดเก็บเอกสารสวนตัว การปลูกไมดอกไมประดับ อธิบาย
ความหมายและความสําคญั ของอาชพี

ฝกปฏิบัติดูแลรักษาของใชสวนตัว จัดโตะเขียนหนังสือ จัดกระเปานักเรียน จัดตูเสื้อผา
ขจัดรอยเปอนบนเสื้อผา ซอมแซมเสื้อผาดวยการดน ประกอบอาหารและเคร่ืองดื่ม ซอมแซม
อุปกรณ เครื่องมือและเคร่ืองใช ประดิษฐของใช ของตกแตงจากใบตองและกระดาษ จัดเก็บ
เอกสารสวนตัว ปลูกไมดอกไมประดับ โดยใชทักษะกระบวนการทํางานอยางเปนขั้นตอน
การจัดการกระบวนการแกปญหา การทํางานรวมกัน และการแสวงหาความรู มีความรูความเขาใจ
ในการทางาน และรจู กั สรา งองคค วามรดู ว ยตนเอง

เพื่อใหผูเรียนเกิดเจตคติท่ีดีตอการทํางาน มีมารยาท ขยัน อดทน รับผิดชอบ
และซื่อสัตยในการทํางาน รูจักใชพลังงานและทรัพยากรในการทางานอยางประหยัดและคุมคา
ตลอดจนนาํ ความรูไปใชในชวี ติ ประจําวนั ได

รหัสตวั ชี้วัด
ง 1.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4
ง 4.1 ป.4/1
รวมทั้งหมด 5 ตวั ชว้ี ัด

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พุทธศักราช 2564 83
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

คาํ อธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ง15101 การงานอาชพี 5 กลุม สาระการเรยี นรกู ารงานอาชีพ
ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี 5 เวลา 40 ช่ัวโมง
………………………………………………………………………………………………………………………………………

อธบิ ายเหตุผลในการจัดหองครวั การจัดตูอาหาร การจัดโตะอาหาร การจัดตูเย็น การทํา
ความสะอาดหองนาและหองสวม การซักเสื้อผา การตากเสื้อผา การเก็บเสื้อผา การพับเสื้อผา
การรีดเส้ือผา การซอมแซมเสื้อผาดวยการสอย การเย็บเครื่องเกาะเก่ียว การเลือกซ้ืออาหาร
และเคร่ืองดื่ม การปลูกพืชในแปลง การซอมแซมอุปกรณของใชในบาน การทําบัญชีครัวเรือน
การจัดเก็บเอกสารสําคัญ การดูแลรักษาและใชสมบัติสวนตัว สมาชิกในครอบครัวและสวนรวม
การประดิษฐของใช ของตกแตงจากวัสดุเหลือใชที่มีอยูในทองถ่ินโดยใชกระบวนการเทคโนโลยี
อาชพี ตา ง ๆ ในชมุ ชน และความแตกตางของอาชพี

ฝกปฏิบัติจัดหองครัว จัดตูอาหาร จัดโตะอาหาร จัดตูเย็น ทําความสะอาดหองนํ้า
และหอ งสวม ซกั เสือ้ ผา ตากเสื้อผา เก็บเสอ้ื ผา พบั เสอ้ื ผา รีดเสื้อผา ซอมแซมเสือ้ ผาดว ยการสอย
เย็บเครื่องเกาะเก่ยี ว เลอื กซื้ออาหารและเคร่ืองดื่ม ปลูกพชื ในแปลง ซอ มแซมอุปกรณข องใชในบาน
ทําบัญชีครัวเรือน จัดเก็บเอกสารสําคัญ ดูแลรักษาและใชสมบัติสวนตัว สมาชิกในครอบครัว
และสวนรวม ประดิษฐของใช ของตกแตงจากวัสดุเหลือใชที่มีอยูในทองถ่ินโดยใชกระบวนการ
เทคโนโลยี สำรวจขอมูลเกี่ยวกับอาชีพตาง ๆ ในชุมชน และระบุความแตกตางของอาชีพโดยใช
ทักษะกระบวนการทํางานอยางเปนขั้นตอน การจัดการกระบวนการแกปญหาการทํางานรวมกัน
การแสวงหาความรู

เพือ่ ใหม คี วามรูความเขาใจในการทาํ งาน และรูจกั สรางองคความรูด ว ยตนเอง เกิดเจตคติ
ทีด่ ตี อการทาํ งาน มีมารยาทในการทาํ งานกับสมาชกิ ในครอบครวั มีความประณีตในการทํางาน
มีจติ สาํ นกึ ในการใชพลังงานและทรพั ยากรในการทาํ งานอยางประหยัดและคมุ คา ตลอดจนนาํ
ความรูไปใชในชวี ิตประจาํ วันได

รหสั ตวั ชี้วดั
ง 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4
ง 4.1 ป.5/1, ป.5/2
รวมท้ังหมด 6 ตวั ชวี้ ัด

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พทุ ธศกั ราช 2564 84
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560)

คําอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน
ง16101 การงานอาชีพ 6 กลมุ สาระการเรียนรกู ารงานอาชีพ
ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 6 เวลา 40 ช่ัวโมง
………………………………………………………………………………………………………………………………………

อภิปรายแนวทางในการดูแลรักษาสมบัติภายในบาน การซอมแซมเสื้อผาดวยการปะ
และการชุน การจัดอาหารใหสมาชกิ ในครอบครัว การเตรียมประกอบอาหารและเคร่ืองดม่ื ใหส มาชิก
ในครอบครัว การเล้ียงปลาสวยงาม การติดต้ัง ประกอบของใชในบาน การสรางของใช
ของตกแตงใหสมาชิกในครอบครัวหรือเพื่อนในโอกาสตาง ๆ โดยใชกระบวนการเทคโนโลยี แผนที่
ความคิด และทักษะการสรางชิ้นงาน อธิบายสวนประกอบของระบบเทคโนโลยี หลักการเบ้ืองตน
ของการแกปญหา การใชคอมพิวเตอรในการคนหาขอมูล การเก็บรักษาขอมูลท่ีเปนประโยชน
ในรูปแบบตาง ๆ การนําเสนอขอมูลในรูปแบบท่ีเหมาะสมโดยเลือกใชซอฟตแวรประยุกต การใช
คอมพิวเตอรสรางชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานท่ีทําในชีวิตประจําวัน การวางแผนในการเลือก
อาชีพ การระบคุ วามรคู วามสามารถ และคณุ ธรรมที่สัมพันธกบั อาชีพทสี่ นใจ

ฝกปฏิบัติดูแลรักษาสมบัติภายในบาน ซอมแซมเส้ือผาดวยการปะและการชุน จัดอาหาร
ใหสมาชิกในครอบครัว เตรียมประกอบอาหารและเครื่องด่ืมใหสมาชิกในครอบครัว เล้ียงปลา
สวยงาม ติดต้ัง ประกอบของใชในบาน สรางของใช ของตกแตงใหสมาชิกในครอบครัวหรือเพ่ือน
ในโอกาสตาง ๆ วางแผนในการเลือกอาชีพ ระบุความรูความสามารถ และคุณธรรมที่สัมพันธกับ
อาชีพท่สี นใจ

เพ่ือใหผูเรียนเกิดเจตคติที่ดีตอการทํางาน มีมารยาทในการทางานกับครอบครัวและผูอื่น
มีจิตสานึกและความรับผิดชอบ มีคุณธรรมในการประกอบอาชีพ ตลอดจนนําความรูไปใชใน
ชวี ติ ประจาํ วนั ได

รหัสตัวช้วี ดั
ง 1.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3
ง 4.1 ป.6/1, ป.6/2
รวมทั้งหมด 5 ตัวช้วี ดั

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พทุ ธศกั ราช 2564 85
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

รายวิชาพน้ื ฐาน กลุมสาระการเรยี นรูภาษาตางประเทศ
ระดบั ชั้นประถมศกึ ษา

รายวชิ าพืน้ ฐาน ภาษาองั กฤษ 1 จาํ นวน 200 ชวั่ โมง
อ11101 ภาษาอังกฤษ 2 จาํ นวน 200 ชว่ั โมง
อ12101 ภาษาองั กฤษ 3 จํานวน 200 ชั่วโมง
อ13101 ภาษาอังกฤษ 4 จํานวน 200 ชว่ั โมง
อ14101 ภาษาองั กฤษ 5 จาํ นวน 200 ชั่วโมง
อ15101 ภาษาองั กฤษ 6 จํานวน 200 ช่วั โมง
อ16101

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พุทธศักราช 2564 86
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560)

คาํ อธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน
อ11101 ภาษาอังกฤษ 1 กลุม สาระการเรยี นรภู าษาตางประเทศ
ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี 1 เวลา 200 ชั่วโมง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

เขาใจ คําสั่งในหองเรียน ระบุตัวอักษรภาษาอังกฤษ (letter names) เสียงอักษร
ภาษาองั กฤษ (letter sounds) สะกดคําถูกตองตามหลักการอาน อานออกเสียงในระดับคํา (stress)
ประโยค (intonation) ถูกตองตามหลักการอาน เลือกภาพ ภาพเทศกาลของไทย คําศัพทเกี่ยวกับ
เทศกาล คํา กลุมคํา บทอาน นิทานงาย ๆที่มีภาพประกอบตรงตามความหมายท่ีฟง สนทนาส่ือสาร
โตตอบดวย ภาษางาย ๆ สั้น ๆ เพื่อแสดงความสัมพันธระหวางบุคคล และความตองการของตน
ใชทักษะภาษาอังกฤษเพื่อส่ือความเก่ียวกับ ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน ส่ิงแวดลอมใกลตัว อาหาร
เครื่องด่ืมและนันทนาการ ภายในวงคําศัพทประมาณ 150-200 คํา (คําศัพทท่ีเปนรูปธรรม) พูดให
ขอ มูลเก่ียวกับตนเอง บุคคลใกลตัว เร่ืองใกลต ัว เขาใจความแตกตาง ระหวางวัฒนธรรมของเจาของ
ภาษากับวัฒนธรรมไทย เขาใจคํา กลุมคําท่ีเก่ียวของกับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืน ออกเสียง สระ
กลุมคํา และประโยคคําถาม คําตอบงาย ๆ ไดถูกตองตามหลักภาษา เขาใจภาษาทาทาง การส่ือสาร
ของเจาของภาษาขอมูลเกี่ยวกับเทศกาลสําคัญและวัฒนธรรมของเจาของภาษา รวมกิจกรรม
ทางภาษาและวัฒนธรรมตามความเหมาะสม แสวงหาความรู ความเพลิดเพลินจากภาษาอังกฤษ
ใชภาษาอังกฤษเพื่อรวบรวมคําศัพทที่เกี่ยวของใกลตัว มีเจตคติท่ีดี เห็นประโยชนและคุณคา
ในการเรียนรภู าษาองั กฤษ

รหัสตัวชวี้ ดั
ต 1.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4
ต 1.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4
ต 1.3 ป.1/1
ต 2.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
ต 2.2 ป.1/1
ต 3.1 ป.1/1
ต 4.1 ป.1/1
ต 4.2 ป.1/1
รวมทั้งหมด 16 ตัวชว้ี ดั

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พทุ ธศกั ราช 2564 87
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

อ12101 ภาษาอังกฤษ 2 คาํ อธิบายรายวชิ าพื้นฐาน
กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาตางประเทศ
ช้ันประถมศึกษาปท ี่ 2 เวลา 200 ชั่วโมง
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………

เขาใจ คําสั่ง คําขอรองที่ใชในหองเรียน ระบุตัวอักษรภาษาอังกฤษ (letter names)
และสียงอักษรภาษาอังกฤษ (letter sounds) อานออกเสียง สะกดคําและประโยคงาย ๆ ถูกตอง
ตามหลักการอานเลือกภาพ ภาพเทศกาล ประเพณีทองถิ่น ตรงตามความหมายของคํา กลุมคํา
และประโยค(simple sentence)ที่ฟง ตอบคําถามจากการฟงประโยค บทสนทนาหรือ นิทานท่ีมี
ภาพประกอบใชทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือส่ือความเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัวโรงเรยี น สิง่ แวดลอ มใกลต ัว
อาหารเครื่องดื่ม และนันทนาการ ในวงคําศัพทสะสมประมาณ 250-300 คํา (คําศัพทท่ีเปนรูปธรรม)
พูดโตตอบดวยคําสั้น ๆ งาย ๆ ในการแนะนําตนเอง ทักทาย กลาวลา ขอบคุณ ขอโทษในการสื่อสาร
ระหวางบุคคลเพ่ือแสดงความตองการของตนเอง พูดใหขอมูลเกี่ยวกับตนเอง บุคคลและเรื่องตาง ๆ
ใกลตัว พูดแสดงความรูสึกของตนไดเหมาะสมตามมรรยาททางสังคม พูดและทําทาทางประกอบ
ตามวัฒนธรรมของเจาของภาษา บอกชื่อและคําศัพทเกี่ยวกับเทศกาลสําคัญของเจาของภาษา
รวมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมท่ีเหมาะสมกับวัย เขาใจความแตกตางระหวางภาษาอังกฤษ
และภาษาไทยในเรื่อง เสียง สระ พยัญชนะ คํา วลี ประโยค เขาใจคํากลุมคําที่เกี่ยวของกับกลุมสาระ
การเรียนรอู นื่ ใชภ าษาอังกฤษเพ่ือรวบรวมคาํ ศัพทท ่เี กี่ยวของใกลต วั แสวงหาความรูความเพลดิ เพลิน
จากภาษาอังกฤษ มเี จตคตทิ ่ีดี เหน็ ประโยชนแ ละคณุ คาในการเรยี นรูภ าษาอังกฤษ

รหสั ตัวชวี้ ดั
ต 1.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4
ต 1.2 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4
ต 1.3 ป.2/1
ต 2.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3
ต 2.2 ป.2/1
ต 3.1 ป.2/1
ต 4.1 ป.2/1
ต 4.2 ป.2/1
รวมท้งั หมด 16 ตวั ช้ีวัด

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พุทธศักราช 2564 88
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

อ13101 ภาษาอังกฤษ 3 คําอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
กลมุ สาระการเรียนรภู าษาตางประเทศ
ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 3 เวลา 200 ช่ัวโมง
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………

เขาใจ คําส่ัง คําขอรองท่ีใชในหองเรียน อานออกเสียงสะกดคํา กลุมคํา ประโยคและบทพูด
เขาจังหวะ(chant)งายๆ ถูกตองตามหลักการอาน พัฒนาทักษะการใชพจนานุกรม เลือก/ระบุ ภาพ
หรือสัญลักษณตรงตามความหมายของกลุมคําและประโยคที่ฟง ภาพประเพณีทองถ่ิน เทศกาล
ตอบคําถามจากการฟง/การอานประโยค บทสนทนาหรือนิทานงายๆใชทักษะภาษาอังกฤษ
เพื่อสอื่ ความเกี่ยวกับ ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน ส่งิ แวดลอมใกลตวั อาหารเคร่ืองดืม่ และนันทนาการ
ในวงคําศัพทสะสมประมาณ 350-450คํา (คําศัพทท่ีเปนรูปธรรม) พูดโตตอบดวยคําสั้น ๆ งาย ๆ
ในการแนะนําตนเอง ทักทาย กลาวลา ขอบคุณ ขอโทษ ในการส่ือสารระหวางบุคคล บอกความ
ตองการงาย ๆ พูดใหขอมูลเกี่ยวกับตนเองและเร่ืองใกลตัว ระบุหมวดหมูคําตามประเภทของบุคคล
สัตว และส่ิงของตามท่ีฟงหรืออาน ใชกริยาทาทางประกอบการพูด/สนทนาตามมรรยาทสังคม
/วัฒนธรรม ของเจาของภาษา บอกชื่อและคําศัพทงายๆเกี่ยวกับเทศกาล/วันสําคัญ/งานฉลอง
และชีวิตความเปนอยูของเจาของภาษา รวมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมท่ีเหมาะสมกับวัย
บอกความแตกตางของเสียง ตัวอักษร คํา กลุมคํา และประโยคงายๆของภาษาอังกฤษและภาษาไทย
เขาใจคํา กลุมคําที่เก่ียวของกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น ใชภาษาอังกฤษในสถานการณงาย ๆ
ที่เกิดขึ้นในหองเรียน รวบรวมคําศัพทที่เก่ียวของใกลตัวจากส่ือตาง ๆ แสวงหาความรู
ความเพลิดเพลนิ จากภาษาอังกฤษ มีเจตคตทิ ี่ดี เหน็ ประโยชน และ คุณคา ในการเรียนรภู าษาองั กฤษ

รหสั ตวั ชี้วัด
ต 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4
ต 1.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5
ต 1.3 ป.3/1, ป.3/2
ต 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
ต 2.2 ป.3/1
ต 3.1 ป.3/1
ต 4.1 ป.3/1
ต 4.2 ป.3/1
รวมทั้งหมด 18 ตัวชวี้ ดั

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พุทธศกั ราช 2564 89
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

คาํ อธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน
อ14101 ภาษาอังกฤษ 4 กลุมสาระการเรียนรภู าษาตางประเทศ
ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 เวลา 200 ชั่วโมง
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………

เขาใจคําสั่ง คําขอรอง คําแนะนําในการเลนเกม การวาดภาพ หรือการทําอาหาร
และเคร่ืองดื่ม คําอนุญาตงายๆ อานออกเสียงคํา สะกดคํา อานกลุมคํา ประโยค ขอความงาย ๆ
และบทพูดเขาจังหวะ (chant) ถูกตองตามหลักการอาน พัฒนาทักษะการใชพจนานุกรม เลือก/ระบุ
ภาพหรือสัญลักษณหรือเคร่ืองหมายวรรคตอนตรงตามความหมายของประโยค และขอความสั้น ๆ
ที่ฟงหรืออาน ตอบคําถามจากการฟงและอานประโยค บทสนทนาและนิทานงาย ๆ ใชทักษะ
ภาษาอังกฤษเพ่ือส่ือความเกย่ี วกับ ตนเอง ครอบครวั โรงเรียน อาหาร เคร่ืองดมื่ เวลาวางนนั ทนาการ
การซื้อขาย ลมฟาอากาศ เปนวงคําศัพทสะสมประมาณ 550-700คํา (คําศัพทท่ีเปนรูปธรรม
และนามธรรม) พูด/เขียนโตตอบในการสื่อสารระหวางบุคคล พูด/เขียนแสดงความตองการ
และขอความชวยเหลือ พูด/เขียนใหขอมูลเก่ียวกับตนเอง เพ่ือน และครอบครัว พูดแสดงความรูสึก
เก่ียวกับเร่ืองตาง ๆ ใกลตัวและกิจกรรมตาง ๆ พูด/วาดภาพแสดงความสัมพันธของส่ิงตางๆใกลตัว
ตามท่ีฟง หรืออาน พูดแสดงความความคิดเหน็ งาย ๆ เกย่ี วกับเรอื่ งใกลตัว พูดและทําทาทางประกอบ
อยางสุภาพตามมรรยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจาของภาษา ตอบคําถามเกี่ยวกับเทศกาล/วัน
สําคัญ/งานฉลอง และชวี ิตความเปน อยูงาย ๆ ของเจาของภาษารวมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม
ที่เหมาะสมกับวัย บอกความแตกตางของเสียง ตัวอักษร คํากลุมคํา ประโยคและขอความของ
ภาษาอังกฤษและภาษาไทย บอกความเหมือน/ความแตกตางระหวางเทศกาลและงานฉลองตาม
วัฒนธรรมของเจาของภาษากับของไทย เทศกาล ประเพณี ความเช่ือ งานฉลองในทองถิ่น นําเสนอ
ขอมูลโดยการพูดและการเขียนจากการคนควารวบรวมคําศัพทท่ีเกี่ยวของกับกลุมสาระการเรยี นรูอ ื่น
ฟงและพูด/อานในสถานการณตาง ๆ ที่เกิดข้ึนในหองเรียนและสถานศึกษา ใชภาษาอังกฤษ
ในการสืบคนและรวบรวม ขอมูลตาง ๆ มีเจตคติที่ดี เห็นประโยชน และคุณคาของการเรียนรู
ภาษาอังกฤษ

รหสั ตัวชี้วดั ต 1.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5
ต 1.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4 ต 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3
ต 1.3 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3 ต 3.1 ป.4/1
ต 2.2 ป.4/1, ป.4/2 ต 4.2 ป.4/1
ต 4.1 ป.4/1
รวมทง้ั หมด 20 ตัวชว้ี ดั

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พุทธศักราช 2564 90
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560)

คาํ อธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน
อ15101 ภาษาอังกฤษ 5 กลมุ สาระการเรียนรูภ าษาตา งประเทศ
ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 5 เวลา 200 ช่ัวโมง
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………

เขาใจคําส่ัง คําขอรอง คําแนะนํางายๆท่ีฟงและอานในการเลนเกม การวาดภาพ
หรือการทําอาหารและเครื่องดื่ม อานออกเสียงประโยค ขอความและบทกลอนสั้น ๆ ถูกตอง
ตามหลักการอานพัฒนาทักษะการใชพจนานุกรม ระบุ/วาดภาพ สัญลักษณ หรือเคร่ืองหมายวรรค
ตอนตรงตามความหมายของประโยค และขอความสั้น ๆ ที่ฟงหรืออาน บอกใจความสําคัญและตอบ
คําถามจากการฟงและอานบทสนทนา และนิทานงาย ๆ หรือเรื่องสั้นใชทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือสื่อ
ความเกี่ยวกับ ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน อาหาร เครื่องดื่ม เวลาวางและนันทนาการ การซ้ือขาย
ลมฟาอากาศ เปนวงคําศัพทสะสมประมาณ 750 – 950 คํา (คําศัพทที่เปนรูปธรรมและนามธรรม)
พดู /เขียนโตตอบส่ือสารระหวางบุคคล ในการทักทาย กลา วลา ขอบคุณ ขอโทษ ชมเชย การพูดแทรก
อยางสุภาพ ตามมรรยาททางสังคมเพ่ือสรางความสัมพันธระหวางบุคคล พูด/เขียนแสดงความตอง
ขอความชวยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการใหความชวยเหลือในสถานการณงายๆพูด/เขียนเพ่ือขอ
และใหขอมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน ครอบครวั และเรื่องใกลตัว พูด/เขียนแสดงความรูสึกเกย่ี วกับเรื่อง
ตาง ๆ ใกลตัว และกิจกรรมตาง ๆ พรอมท้ังใหเหตุผลส้ันๆประกอบ พูดขอและใหขอมูลเก่ียวกับ
ตนเองและเร่อื งใกลต ัว เขียนภาพ แผนผงั และแผนภูมิ แสดงขอมูลตาง ๆ ตามท่ีฟง หรอื อา น พูดแสดง
ความคิดเห็นเก่ียวกับเรื่องตาง ๆ ใกลตัวเขารวมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ
ใชถอยคาํ น้ําเสยี งและกริยาทา ทางอยางสภุ าพตามมรรยาททางสงั คมและวัฒนธรรมของเจาของภาษา
ตอบคําถาม/บอกความสําคัญของเทศกาล/วันสําคัญ/งานฉลองและชีวิตความเปนอยูงาย ๆ
ของเจาของภาษา วิถีชีวิตของคนในชุมชน เทศกาลงานฉลองในทองถ่ิน บอกความเหมือน/
ความแตกตางระหวางการออกเสียงประโยคชนิดตาง ๆ การใชเครื่องหมายวรรคตอน และการลําดับ
คํา ( order) ตามโครงสรางประโยคภาษาอังกฤษและภาษาไทย บอกความเหมือน/ความแตกตาง
ระหวางเทศกาลและงานฉลองของเจาของภาษากับของไทย พูด/เขียนเพื่อนําเสนอขอมูลจาก
การคนควา รวบรวมคําศัพทที่เกี่ยวของกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น ฟงและพูด/อานในสถานการณ
ตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในหองเรียนและสถานศึกษา ใชภาษาอังกฤษในการสืบคนและรวบรวมขอมูลตาง ๆ
มีเจตคตทิ ดี่ ี เหน็ ประโยชน และคุณคาในการเรยี นรภู าษาองั กฤษ

รหสั ตวั ชี้วดั ต 1.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5
ต 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4 ต 2.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3
ต 1.3 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3 ต 3.1 ป.5/1
ต 2.2 ป.5/1, ป.5/2 ต 4.2 ป.5/1
ต 4.1 ป.5/1
รวมทัง้ หมด 20 ตัวชว้ี ัด

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พุทธศกั ราช 2564 91
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

คาํ อธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
อ16101 ภาษาอังกฤษ 6 กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาตางประเทศ
ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 6 เวลา 200 ช่ัวโมง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

เขาใจคําสั่ง คําขอรอง ภาษาทาทาง และคําแนะนําท่ฟี งและอา นในการเลนเกม การวาดภาพ
หรือการทําอาหารและเคร่ืองดื่มและการประดิษฐ อานออกเสียงขอความ นิทานและบทกลอนส้ัน ๆ
ถูกตองตามหลักการอาน พัฒนาทักษะการใชพจนานุกรม เลือก/ระบุประโยคหรือขอความสั้น ๆ
ตรงตามภาพสัญลักษณห รอื เคร่ืองหมายที่อาน บอกใจความสําคัญและตอบคําถามจากการฟงและอาน
ประโยค บทสนทนา นิทานงาย ๆ และเรื่องเลาใชทักษะภาษาอังกฤษเพื่อส่ือความเก่ียวกับ ตนเอง
ครอบครัว โรงเรียน อาหาร เคร่ืองด่ืม เวลาวางนันทนาการ การซ้ือขาย ลมฟาอากาศ เปนวงคําศัพท
สะสมประมาณ 1,050 – 1,200คาํ (คําศัพทท เ่ี ปนรปู ธรรมและนามธรรม) บอกใจความสาํ คญั และตอบ
คําถามจากการฟงและอานประโยค บทสนทนานิทานงาย ๆ และเรื่องเลา พูด/เขียนโตตอบ
ในการสื่อสารระหวางบุคคล ในการทักทาย กลาวลา ขอบคุณ ขอโทษ การพูดแทรกอยางสุภาพ
ตามมรรยาททางสังคม พูด/เขียนแสดงความตองการ ขอความชวยเหลือตอบรับและปฏิเสธการให
ความชว ยเหลอื ในสถานการณง ายๆ พูดและเขยี นเพ่ือขอและใหข อมูลเกีย่ วกับตนเอง เพอ่ื น ครอบครัว
และเร่ืองใกลตัว พดู และเขียนแสดงความรสู กึ เกี่ยวกับเรื่องตา งๆใกลตัวพรอมใหเหตุผลสน้ั ๆ ประกอบ
พูด/เขียนใหขอมูลเก่ียวกับตนเอง เพื่อน และส่ิงแวดลอมใกลต ัว เขียนภาพ แผนผงั และแผนภูมิ แสดง
ขอมลู ตางๆตามที่ฟงหรืออาน พูด/เขยี นแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกับเรื่องตา งๆใกลตวั ใชถอ ยคํา นํา้ เสียง
และกริยาทาทางอยางสุภาพ เหมาะสม ตามมรรยาททางสังคมและวัฒนธรรมของเจาของภาษา ให
ขอมูลเกี่ยวกับเทศกาล/วันสําคัญ/งานฉลองและชีวิตความเปนอยูของเจาของภาษาเขารวมกิจกรรม
ทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ สํานวน สุภาษิต ขั้นตอน พิธีกรรม ของประเพณีทองถ่ิน
วิถีชีวิต การแตงกาย บอกความเหมือน/ความแตกตางระหวางการออกเสียงประโยคชนิดตาง ๆ
การใชเ ครื่องหมายวรรคตอน และการลําดับคําตามโครงสรางประโยคของภาษาอังกฤษและภาษาไทย
เปรียบเทยี บความเหมอื น/ความแตกตา งระหวางเทศกาล งานฉลองและประเพณวี ฒั นธรรม
ของเจาของภาษากับของไทย นําเสนอขอมูลดวยการพูดและการเขียนจากการคนควา รวบรวม
คําศพั ททเี่ กยี่ วขอ งกบั กลุม สาระการเรียนรอู น่ื ใชภาษาเพอื่ ส่ือสารตามสถานการณต า ง ๆ ท่ีเกดิ ขนึ้
ในหองเรยี นและสถานศกึ ษา ใชภาษาองั กฤษในการสืบคนและรวบรวมขอมูลตา ง ๆ มเี จตคตทิ ่ีดี
เหน็ ประโยชน และคณุ คาในการเรียนรูภาษาองั กฤษ

รหัสตัวชีว้ ัด ต 1.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5
ต 1.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4 ต 2.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3
ต 1.3 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3 ต 3.1 ป.6/1
ต 2.2 ป.6/1, ป.6/2 ต 4.2 ป.6/1
ต 4.1 ป.6/1
รวมทงั้ หมด 20 ตัวชวี้ ัด

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พุทธศักราช 2564 92
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560)

4. กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน

กิจกรรมพัฒนาผูเรียนเปนกิจกรรมท่ีมุงใหผูเรียนพัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนา
อยางรอบดานเพื่อความเปน มนษุ ยท ี่สมบรู ณ ทั้งรางกาย สติปญญา อารมณ และสังคม เสริมสราง
ใหเปน ผมู ศี ลี ธรรม จริยธรรม มีระเบยี บวนิ ัย ปลกู ฝง และสรางจิตสาํ นกึ ของการทาํ ประโยชน
เพ่ือสงั คมสามารถจดั การตนเองไดแ ละอยรู วมกับผูอน่ื อยางมีความสขุ

โรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
อบุ ลราชธานี เขต 5 ไดจัดกิจกรรมพฒั นาผเู รยี น โดยแบงออกเปน 3 ลกั ษณะ ดงั น้ี

1. กิจกรรมแนะแนว เปนกิจกรรมที่สงเสริมและพัฒนานักเรียนใหมีทักษะในการตัดสินใจ
การปรับตัว และการวางแผนเพ่ือเลือกศึกษาตอ เลือกอาชีพ นักเรียนทุกคนตองเขารวมกิจกรรมแนะแนว
40 ชว่ั โมงตอปการศึกษา

แนวการจดั กจิ กรรมแนะแนว
1. จัดกจิ กรรมใหครไู ดร ูจกั และชว ยเหลือผูเ รียนมากขน้ึ โดยใชกระบวนการ

ทางจิตวิทยา การจัดบริการสนเทศ โดยจัดใหมีเอกสารเพ่ือใชสํารวจขอมูลเก่ียวกับตัวผูเรียน
ดวยการสังเกต การสัมภาษณ การใชแบบสอบถาม การเขียนประวัติ การพบผูปกครองกอน
และระหวางเรียน การเย่ียมบานนักเรียน การใหความชวยเหลือผูเรียนในเร่ืองสุขภาพจิต เศรษฐกิจ
การจัดทําระเบยี นสะสม สมดุ รายงานประจาํ ตวั นกั เรียน และบัตรสขุ ภาพ

2. จดั บรกิ ารใหค ําปรกึ ษาแกผ ูเรียนเปนรายบุคคลและรายกลุม ในดา นการศกึ ษา
อาชีพ และสวนตัว โดยมีผูใหคําปรึกษาท่ีมีคุณวุฒิ และมีความเช่ียวชาญในเร่ืองการใหคําปรึกษา
ตลอดจนมหี อ งใหคําปรึกษาที่เหมาะสม

2.1 ชว ยเหลือผเู รียนทีป่ ระสบปญ หาดานการเงิน โดยการใหทนุ การศกึ ษาแกผ เู รยี น
2.2 ติดตามเกบ็ ขอมูลของนกั เรียนท่ีสําเรจ็ การศึกษา
2. กิจกรรมนักเรียน เปนกิจกรรมท่ีสงเสริมและพัฒนานักเรยี นใหไดรวมกิจกรรมที่ตนเอง
สนใจ เพ่ือสงเสริมหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข สงเสริม
และพฒั นาความมีระเบียบวนิ ยั ความรับผิดชอบ ความสามคั คี และบําเพ็ญประโยชนต อ สังคม
กิจกรรมนกั เรยี นประกอบดวย
กิจกรรมลูกเสือ และเนตรนารี นักเรียนทุกคนตองเขารวมกิจกรรมลูกเสือ
เนตรนารี 40 ชัว่ โมงตอ ปก ารศึกษา
แนวการจัดกจิ กรรมลูกเสอื เนตรนารี

1) จัดกิจกรรมลูกเสอื สาํ รองสาํ หรับนักเรยี นในระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี 1 – 3
2) จดั กิจกรรมลกู เสือสามญั สาํ หรับนกั เรยี นชายในระดบั ชั้นประถมศึกษา
ปท ี่ 4 -6 และจัดกจิ กรรมเนตรนารี สําหรับนกั เรียนหญิงในระดับชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 4 – 6
3. กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน เปนกิจกรรมท่ีสง เสรมิ และพฒั นานกั เรียน
ไดทําประโยชนตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึง
ความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละตอสังคม มีจิตใจมุงทําประโยชนตอครอบครัว ชุมชน
และสังคม กิจกรรมสําคัญ ไดแ ก กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน กิจกรรมสรา งสรรคสังคม กิจกรรม
ดํารงรักษา สืบสานศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม กิจกรรมพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อสังคม
นกั เรยี นทกุ คนตองเขา รวมกจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน 40 ชว่ั โมงตอปการศกึ ษา

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พทุ ธศักราช 2564 93
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช 2560)

แนวการจดั กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน
การจัดกิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน ในระดับประถมศกึ ษาปท ี่ 1 – 6
โดยนาํ ไปสอดแทรกในกจิ กรรมลกู เสือ เนตรนารี ทัง้ นี้ การทํากิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณ
ประโยชนไดใหผูเรียนรายงานแสดงการเขารวมกิจกรรมลงในสมุดบันทึก และมีผูรับรองผล
การเขา รวมกจิ กรรมทกุ คร้งั หรือภาพถา ยทั้งกิจกรรมในสถานศึกษาและกจิ กรรมนอกสถานศกึ ษา

5. การจัดการเรยี นรู

การจัดการเรียนรูเปนกระบวนการสําคัญในการนําหลักสูตรสูการปฏิบัติ หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปนหลักสูตรท่ีมีมาตรฐานการเรียนรู สมรรถนะสําคัญ
และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคข องผเู รียน เปน เปาหมายสาํ หรับพัฒนาเด็กและเยาวชน

ในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณสมบัติตามเปาหมายหลักสูตร ผูสอนพยายามคัดสรร
กระบวนการเรียนรู จัดการเรียนรูโดยชวยใหผูเรียนเรียนรูผานสาระที่กําหนดไวในหลักสูตร 8 กลุม
สาระการเรียนรู รวมทั้งปลูกฝงเสริมสรางคุณลักษณะอันพึงประสงค พัฒนาทักษะตาง ๆ อันเปน
สมรรถนะสําคญั ใหผ ูเ รยี นบรรลตุ ามเปาหมาย

5.1 หลกั การจัดการเรียนรู
การจัดการเรียนรูเพื่อใหผูเรียนมีความรูความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู สมรรถนะ
สําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงคตามท่ีกําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โดยยึดหลักวา ผูเรียนมีความสําคัญที่สุด เชื่อวาทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได
ยึดประโยชนท่ีเกิดกับผูเรียน กระบวนการจัดการเรียนรูตองสงเสริมใหผูเรียน สามารถพัฒนา
ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลและพัฒนาการทางสมอง
เนน ใหความสาํ คญั ทัง้ ความรู และคณุ ธรรม
5.2 กระบวนการเรยี นรู
การจัดการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ ผูเรียนจะตองอาศัยกระบวนการเรียนรู
ทหี่ ลากหลาย เปนเครอื่ งมือที่จะนาํ พาตนเองไปสูเ ปา หมายของหลกั สตู ร กระบวนการเรียนรทู ี่จําเปน
สําหรับผูเรียน อาทิ กระบวนการเรียนรูแบบบูรณาการ กระบวนการสรางความรู กระบวนการคิด
กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณและแกปญหา กระบวนการเรียนรูจาก
ประสบการณจริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทําจริง กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย
กระบวนการเรยี นรูการเรยี นรูของตนเอง กระบวนการพฒั นาลักษณะนสิ ัย
กระบวนการเหลาน้ีเปนแนวทางในการจัดการเรียนรูที่ผูเรียนควรไดรับการฝกฝน พัฒนา
เพราะจะสามารถชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดดี บรรลุเปาหมายของหลักสูตร ดังน้ัน ผูสอน
จึงจําเปนตองศึกษาทําความเขาใจในกระบวนการเรียนรูตาง ๆ เพ่ือใหสามารถเลือกใชในการจัด
กระบวนการเรยี นรูไ ดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพ

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถมั ภ) พทุ ธศักราช 2564 94
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช 2560)

5.3 การออกแบบการจดั การเรยี นรู
ผูสอนตองศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาใหเขาใจถึงมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ
สําคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค และสาระการเรียนรูท่ีเหมาะสมกับผูเรียน แลวจึง
พจิ ารณาออกแบบการจัดการเรยี นรูโดยเลือกใชวิธีสอนและเทคนิคการสอน ส่ือ/แหลง เรียนรู การวัด
และประเมนิ ผล เพื่อใหผ เู รียนไดพัฒนาเตม็ ตามศกั ยภาพและบรรลตุ ามเปาหมายทีก่ ําหนด
5.4 บทบาทของผสู อนและผเู รยี น
การจัดการเรียนรูเพ่ือใหผูเรียนมีคุณภาพตามเปาหมายของหลักสูตร ทั้งผูสอนและผูเรียน
ควรมบี ทบาท ดังนี้
5.5 บทบาทของผูสอน

1) ศึกษาวิเคราะหผ เู รยี นเปนรายบคุ คล แลว นําขอมลู มาใชใ นการวางแผนการจัด
การเรียนรูทท่ี า ทายความสามารถของผูเรยี น

2) กําหนดเปาหมายท่ีตองการใหเกิดขึ้นกับผูเรียน ดานความรูและทักษะกระบวนการ
ที่เปนความคดิ รวบยอด หลักการ และความสัมพนั ธ รวมทงั้ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค

3) ออกแบบการเรียนรูและจัดการเรียนรูที่ตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคล
และพฒั นาการทางสมอง เพือ่ นาํ ผเู รยี นไปสูเ ปา หมาย

4) จดั บรรยากาศท่ีเอื้อตอ การเรยี นรู และดูแลชวยเหลอื ผเู รียนใหเ กดิ การเรยี นรู
5) จัดเตรียมและเลือกใชสื่อใหเหมาะสมกับกิจกรรม นําภูมิปญญาทองถิ่นเทคโนโลยี
ท่เี หมาะสมมาประยกุ ตใ ชใ นการจัดการเรยี นการสอน
6) ประเมินความกาวหนาของผูเรียนดวยวิธีการท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติ
ของวิชาและระดบั พฒั นาการของผูเรยี น
7) วิเคราะหผลการประเมินมาใชในการซอมเสริมและพัฒนาผูเรียน รวมทั้งปรับปรุง
การจดั การเรียนการสอนของตนเอง
5.6 บทบาทของผูเรียน
1) กาํ หนดเปาหมาย วางแผน และรบั ผดิ ชอบการเรียนรขู องตนเอง
2) เสาะแสวงหาความรู เขา ถึงแหลง การเรียนรู วเิ คราะห สังเคราะหข อความรู ตัง้ คําถาม
คดิ หาคาํ ตอบหรือหาแนวทางแกป ญ หาดวยวธิ ีการตา ง ๆ
3) ลงมือปฏบิ ตั จิ ริง สรปุ สิง่ ที่ไดเ รยี นรดู ว ยตนเอง และนาํ ความรูไปประยุกตใช
ในสถานการณตาง ๆ
4) มีปฏิสมั พันธ ทาํ งาน ทํากจิ กรรมรวมกับกลุม และครู
5) ประเมินและพัฒนากระบวนการเรยี นรขู องตนเองอยา งตอ เนื่อง

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พุทธศกั ราช 2564 95
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)


Click to View FlipBook Version