The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรโรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ์) ปี 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nachaluai, 2022-02-10 09:51:45

หลักสูตรโรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ์) ปี 2564

หลักสูตรโรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ์) ปี 2564

6. สื่อการเรยี นรู

สื่อการเรียนรูเปนเคร่ืองมือสงเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู ใหผูเรียน
เขาถึงความรู ทักษะกระบวนการและคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรไดอยางมีประสิทธิภาพ
สื่อการเรียนรูมีหลากหลายประเภทท้ังส่ือธรรมชาติ สื่อส่ิงพิมพ สื่อเทคโนโลยี และเครือขาย
การเรียนรูตาง ๆ ท่ีมีในทองถิ่น การเลือกใชสื่อควรเลือกใหมีความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการ
และลีลาการเรยี นรูท ีห่ ลากหลายของผเู รียน

การจัดหาส่ือการเรียนรู ผูเรียนและผูสอนสามารถจัดทําและพัฒนาขึ้นเอง หรือปรับปรุง
เลือกใชอยางมีคุณภาพจากส่ือตาง ๆ ท่ีมีอยูรอบตัวเพื่อนํามาใชประกอบในการจัดการเรียนรู
ที่สามารถสงเสริมและส่ือสารใหผูเรียนเกิดการเรียนรู โดยสถานศึกษาควรจัดใหมีอยางพอเพียง
เพื่อพัฒนาใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางแทจริง สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา หนวยงาน
ทเ่ี กี่ยวขอ งและผูมหี นาท่จี ดั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน ควรดาํ เนนิ การดงั นี้

1. จดั ใหมีแหลงการเรยี นรู ศนู ยส อ่ื การเรยี นรู ระบบสารสนเทศการเรียนรู
และเครือขายการเรียนรูท่ีมีประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพ่ือการศึกษาคนควา
และการแลกเปล่ยี นประสบการณก ารเรียนรูระหวา งสถานศึกษา ทองถน่ิ ชมุ ชน สงั คมโลก

2. จดั ทําและจดั หาสื่อการเรยี นรสู าํ หรับการศึกษาคนควา ของผูเรยี น เสริมความรใู หผูสอน
รวมทั้ง จัดหาสงิ่ ที่มีอยใู นทองถิ่นมาประยกุ ตใ ชเ ปนส่อื การเรียนรู

3. เลือกและใชสอื่ การเรยี นรูทม่ี ีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลายสอดคลอง
กบั วิธกี ารเรยี นรู ธรรมชาติของสาระการเรียนรู และความแตกตา งระหวางบคุ คลของผเู รยี น

4. ประเมินคณุ ภาพของสื่อการเรียนรูท เ่ี ลือกใชอยางเปน ระบบ
5. ศึกษาคนควา วิจัย เพ่ือพัฒนาสื่อการเรียนรูใหสอดคลองกับกระบวนการเรียนรู
ของผเู รียน
6. จัดใหมีการกํากับ ติดตาม ประเมินคณุ ภาพและประสิทธิภาพเกี่ยวกบั สือ่ และการใชส่ือ
การเรยี นรเู ปนระยะ ๆ และสม่าํ เสมอ
ในการจัดทํา การเลือกใช และการประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรูที่ใชในสถานศึกษา
ควรคํานึงถึงหลักการสําคัญของสื่อการเรียนรู เชน ความสอดคลองกับหลักสูตร วัตถุประสงค
การเรียนรู การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู การจัดประสบการณใหผูเรียน เน้ือหามีความถูกตอง
และทันสมัย ไมกระทบความมั่นคงของชาติ ไมขัดตอศีลธรรม มีการใชภาษาที่ถูกตอง รูปแบบ
การนาํ เสนอทเี่ ขาใจงา ย และนา สนใจ

7. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู

การวัดและประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนตองอยูบนหลักการพ้ืนฐานสองประการคือ
การประเมนิ เพื่อพฒั นาผูเรยี นและเพื่อตัดสนิ ผลการเรยี น ในการพฒั นาคุณภาพการเรยี นรขู องผูเรียน
ใหประสบผลสําเร็จนั้น ผูเรียนจะตองไดรับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อใหบรรลุตาม
มาตรฐานการเรียนรู สะทอนสมรรถนะสําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พทุ ธศักราช 2564 96
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560)

ซ่ึงเปนเปาหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรูในทุกระดับไมวาจะเปนระดับชั้นเรียน
ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู
เปนกระบวนการพัฒนาคุณภาพผูเรียนโดยใชผลการประเมินเปนขอมูลและสารสนเทศท่ีแสดง
พัฒนาการความกาวหนา และความสําเร็จทางการเรียนของผูเรียน ตลอดจนขอมูลท่ีเปนประโยชน
ตอ การสงเสรมิ ใหผูเ รียนเกดิ การพฒั นาและเรียนรอู ยางเต็มตามศกั ยภาพ

การวัดและประเมินผลการเรียนรู แบงออกเปน 4 ระดับ ไดแก ระดับช้ันเรียน ระดับ
สถานศกึ ษา ระดบั เขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา และระดับชาติ มีรายละเอยี ด ดังนี้

1. การประเมินระดับช้ันเรียน เปนการวัดและประเมินผลท่ีอยูในกระบวนการจัดการ
เรียนรู ผูสอนดําเนินการเปนปกติและสมํ่าเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใชเทคนิคการประเมิน
อยางหลากหลาย เชน การซักถาม การสังเกต การตรวจการบาน การประเมินโครงงาน การ
ประเมินช้ินงาน/ภาระงาน แฟมสะสมงาน การใชแบบทดสอบ ฯลฯ โดยผูสอนเปนผูประเมินเอง
หรือเปดโอกาสใหผูเรียนประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน ผูปกครองรวมประเมิน ในกรณี
ทไี่ มผ า นตัวชว้ี ัดใหม กี ารสอนซอมเสรมิ

การประเมินระดับช้ันเรียนเปนการตรวจสอบวา ผูเรียนมีพัฒนาการความกาวหนา
ในการเรียนรู อันเปนผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม และมากนอยเพียงใด
มีส่ิงที่จะตองไดรับการพัฒนาปรับปรุงและสงเสริมในดานใด นอกจากนี้ยังเปนขอมูลใหผูสอนใช
ปรับปรุงการเรยี นการสอนของตนดว ย ท้ังนีโ้ ดยสอดคลองกับมาตรฐานการเรยี นรแู ละตัวชีว้ ดั

2. การประเมินระดับสถานศึกษา เปนการประเมินท่ีสถานศึกษาดําเนินการเพื่อตัดสิน
ผลการเรียนของผูเรียนเปนรายป/รายภาค ผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน นอกจากน้ีเพื่อใหไดขอมูลเก่ียวกับการจัด
การศึกษาของสถานศึกษาวา สงผลตอ การเรยี นรูข องผูเรยี นตามเปาหมายหรือไม ผูเรยี นมีจุดพัฒนา
ในดานใด รวมท้ังสามารถนําผลการเรียนของผูเรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑระดับชาติ
ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเปนขอมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร
โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพ่อื การจัดทําแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา
ของสถานศกึ ษา ตามแนวทางการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาและการรายงานผลการจัดการศึกษา
ตอคณะกรรมการสถานศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขนั้ พน้ื ฐาน ผปู กครอง และชุมชน

3. การประเมินระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา เปนการประเมินคุณภาพผูเรียนในระดับ

เขตพ้ืนท่ีการศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือใช
เปนขอมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นท่ีการศึกษาตามภาระความรับผิดชอบ
ส า ม า ร ถ ดํ า เนิ น ก า ร โ ด ย ป ร ะ เมิ น คุ ณ ภ า พ ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ข อ ง ผู เรี ย น ด ว ย ข อ ส อ บ ม า ต ร ฐ า น ท่ี จั ด ทํ า
และดําเนินการโดยเขตพ้ืนที่การศึกษา หรือดวยความรวมมือกับหนวยงานตนสังกัดในการดําเนิน
การจัดสอบ นอกจากน้ี ยังไดจากการตรวจสอบทบทวนขอมูลจากการประเมินระดับสถานศึกษา
ในเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พุทธศักราช 2564 97
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560)

4. การประเมินระดับชาติ เปนการประเมินคุณภาพผูเรียนในระดับชาติตามมาตรฐาน
การเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สถานศึกษาตองจัดใหผูเรียนทุกคนที่เรียน
ในชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6
เขารับการประเมิน ผลจากการประเมินใชเปนขอมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับ
ตาง ๆ เพื่อนําไปใชในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเปนขอมูลสนับสนุน
การตัดสินใจในระดบั นโยบายของประเทศ

ขอมูลการประเมินในระดับตาง ๆ ขางตน เปนประโยชนตอสถานศึกษาในการตรวจสอบ
ทบทวนพัฒนาคุณภาพผูเรียน ถือเปนภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาท่ีจะตองจัดระบบดูแล
ชวยเหลือ ปรับปรุงแกไข สงเสริมสนับสนุนเพ่ือใหผูเรียนไดพัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพ้ืนฐาน
ความแตกตางระหวางบุคคลท่ีจําแนกตามสภาพปญหาและความตองการ ไดแก กลุมผูเรียนทั่วไป
กลุมผูเรียนที่มีความสามารถพิเศษ กลุมผูเรียนท่ีมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่ํา กลุมผูเรียนท่ีมีปญหา
ดานวินัยและพฤติกรรม กลุมผูเรียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุมผูเรียนที่มีปญหาทางเศรษฐกิจและสังคม
กลุมพิการทางรางกายและสติปญญา เปนตน ขอมูลจากการประเมินจึงเปนหัวใจของสถานศึกษา
ในการดําเนินการชวยเหลือผูเรียนไดทันทวงที ปดโอกาสใหผูเรียนไดรับการพัฒนาและประสบ
ความสําเรจ็ ในการเรยี น

สถานศึกษาในฐานะผูรับผิดชอบจัดการศึกษา จะตองจัดทําระเบียบวาดวยการวัด
และประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาใหสอดคลองและเปนไปตามหลักเกณฑและแนวปฏิบัติ
ท่ีเปนขอกําหนดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อใหบุคลากรท่ีเก่ียวของทุกฝาย
ถือปฏิบตั ิรวมกนั

7.1 เกณฑการวัดและประเมินผลการเรยี น
7.1.1 การตดั สิน การใหร ะดบั และการรายงานผลการเรียน

1) การตดั สินผลการเรียน

ในการตัดสินผลการเรียนของกลุมสาระการเรียนรู การอาน คิดวิเคราะห
และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค และกิจกรรมพัฒนาผูเรียนนั้น ผูสอนตองคํานึงถึงการพัฒนา
ผูเ รียนแตละคนเปนหลัก และตองเก็บขอมูลของผูเรียนทุกดานอยางสม่ําเสมอและตอเนื่องในแตล ะภาค
เรยี น รวมทง้ั สอนซอมเสรมิ ผูเรยี นใหพฒั นาจนเต็มตามศกั ยภาพ

ระดับประถมศึกษา
(1) ผเู รยี นตองมีเวลาเรยี นไมนอยกวา รอ ยละ 80 ของเวลาเรยี นทงั้ หมด
(2) ผเู รียนตองไดรับการประเมินทกุ ตัวช้วี ัด และผา นตามเกณฑท ส่ี ถานศึกษากาํ หนด
(3) ผเู รยี นตอ งไดรับการตัดสินผลการเรยี นทกุ รายวชิ า
(4) ผูเรยี นตอ งไดรับการประเมนิ และมผี ลการประเมินผานตามเกณฑท ี่
สถานศึกษากําหนด ในการอาน คิดวิเคราะหและเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค และกิจกรรม
พัฒนาผูเรยี น

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พทุ ธศักราช 2564 98
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560)

2) การใหร ะดบั ผลการเรียน
ระดับประถมศึกษา ในการตัดสินเพ่ือใหระดับผลการเรียนรายวิชา สถานศึกษา
สามารถใหระดับผลการเรียนหรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผูเรียน เปนระบบตัวเลข ระบบ
ตวั อกั ษร ระบบรอ ยละ และระบบท่ีใชคาํ สําคัญสะทอ นมาตรฐาน
การประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงคนั้น
ใหร ะดบั ผลการประเมินเปน ดีเย่ยี ม ดี และผา น
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน จะตองพิจารณาท้ังเวลาการเขารวมกิจกรรม
การปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผูเรียน ตามเกณฑท่ีสถานศึกษากําหนด และใหผลการเขารวม
กจิ กรรมเปนผา น และไมผาน
3) การรายงานผลการเรียน
การรายงานผลการเรียนเปนการส่ือสารใหผูปกครองและผูเรียนทราบความกา วหนา
ในการเรียนรูของผูเรียน ซึ่งสถานศึกษาตองสรุปผลการประเมินและจัดทําเอกสารรายงานให
ผปู กครองทราบเปน ระยะ ๆ หรืออยา งนอ ยภาคเรียนละ 1 ครง้ั
การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเปนระดับคุณภาพการปฏิบัติของผูเรียน
ท่สี ะทอ นมาตรฐานการเรียนรกู ลุม สาระการเรยี นรู
7.2 เอกสารหลักฐานการศกึ ษา
เอกสารหลักฐานการศึกษา เปนเอกสารสําคัญที่บันทึกผลการเรียน ขอมูล
และสารสนเทศทเี่ ก่ียวขอ งกับพฒั นาการของผเู รยี นในดา นตา ง ๆ แบงออกเปน 2 ประเภท ดงั น้ี
1) เอกสารหลักฐานการศึกษาทกี่ ระทรวงศึกษาธกิ ารกาํ หนด

1. ระเบียนแสดงผลการเรียน เปนเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรอง
ผลการเรยี นของผูเรียนตามรายวิชา ผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน ผลการประเมิน
คุณลักษณะอันพึงประสงคของสถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน สถานศึกษา
จะตองบันทึกขอมูลและออกเอกสารนี้ใหผูเรียนเปนรายบุคคล เมื่อผูเรียนจบการศึกษาระดับ
ประถมศึกษา (ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี 6) หรอื เมื่อลาออกจากสถานศึกษาในทกุ กรณี

2. แบบรายงานผูสําเร็จการศึกษา เปนเอกสารอนุมัติการจบหลักสูตร
โดยบนั ทึกรายช่ือและขอมูลของผจู บการศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา (ชั้นประถมศกึ ษาปที่ 6)

2) เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษากาํ หนด
เปนเอกสารที่สถานศึกษาจัดทําขึ้นเพื่อบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู และขอมูล
สําคัญเกี่ยวกับผูเรียน เชน แบบรายงานประจําตัวนักเรียน แบบบันทึกผลการเรียนประจํารายวิชา
ระเบยี นสะสม ใบรบั รองผลการเรียน และเอกสารอืน่ ๆ ตามวัตถุประสงคข องการนาํ เอกสารไปใช

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พทุ ธศักราช 2564 99
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

8. เกณฑการจบการศึกษา

เกณฑการจบระดบั ประถมศึกษา
1. ผเู รียนเรียนรายวิชาพนื้ ฐาน และมีผลการประเมินรายวิชาพนื้ ฐานผา นทุกรายวชิ า
2. ผูเรยี นตองมผี ลการประเมนิ การอาน คิดวิเคราะห และเขยี น ระดบั “ผาน” ข้นึ ไป
3. ผเู รยี นตอ งมผี ลการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ระดบั “ผา น” ขึน้ ไป
4. ผเู รียนตองเขารว มกจิ กรรมพัฒนาผูเรียนและไดร บั การตดั สนิ ผลการเรยี น “ผา น” ทุกกิจกรรม

9. การบริหารจดั การหลกั สตู ร

ในระบบการศึกษาท่ีมีการกระจายอํานาจใหทองถ่ินและสถานศึกษามีบทบาทในการ
พัฒนาหลักสูตรนั้น หนวยงานตางๆ ท่ีเกี่ยวของในแตละระดับ ต้ังแตระดับชาติ ระดับทองถิ่น จนถึง
ระดับสถานศึกษา มีบทบาทหนาท่ี และความรับผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุน สงเสริม การใช
และพัฒนาหลักสูตรใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหการดําเนินการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา
และการจัดการเรียนการสอนของสถานศกึ ษามีประสิทธภิ าพสูงสดุ อนั จะสง ผลใหการพัฒนาคุณภาพ
ผูเรียนบรรลตุ ามมาตรฐานการเรยี นรทู ่กี าํ หนดไวในระดับชาติ

ระดับทองถิ่น ไดแก สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา หนวยงานตนสังกัดอ่ืน ๆ เปนหนวยงาน
ท่ีมีบทบาทในการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา เปนตัวกลางท่ีจะเชื่อมโยงหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพ้ืนฐานที่กําหนดในระดับชาติใหสอดคลองกับสภาพและความตองการของทองถิ่น
เพื่อนําไปสูการจัดทําหลักสูตรของสถานศึกษา สงเสริมการใชและพัฒนาหลักสูตรในระดับ
สถานศกึ ษา ใหประสบความสําเรจ็ โดยมีภารกิจสําคญั คือ กําหนดเปาหมายและจุดเนนการพัฒนา
คุณภาพผูเรียน ในระดับทองถิ่นโดยพิจารณาใหสอดคลองกับสิ่งท่ีเปนความตองการในระดับชาติ
พัฒนาสาระ การเรียนรูทองถิ่น ประเมินคุณภาพการศึกษาในระดบั ทองถ่ิน รวมท้ังเพิ่มพูนคุณภาพ
การใชหลักสูตรดวยการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาบุคลากร สนับสนุน สงเสริม ติดตามผล
ประเมนิ ผล วิเคราะห และรายงานผลคณุ ภาพของผูเรยี น

สถานศึกษามีหนาที่สําคัญในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการวางแผนและดําเนินการใช
หลักสูตร การเพิ่มพูนคุณภาพการใชหลักสูตรดวยการวิจัยและพัฒนา การปรับปรุงและพัฒนา
หลักสูตร จัดทําระเบียบการวัดและประเมินผล ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาตองพิจารณา
ใหสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และรายละเอียดท่ีเขตพื้นที่การศึกษา
หรือหนวยงานตนสังกัดอื่นๆ ในระดับทองถ่ินไดจัดทําเพ่ิมเติม รวมท้ัง สถานศึกษาสามารถเพ่ิมเติม
ในสวนที่เกี่ยวกับสภาพปญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปญญาทองถ่ิน และความตองการของผูเรียน
โดยทกุ ภาคสวนเขามามสี ว นรวมในการพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พุทธศักราช 2564 100
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

บรรณานุกรม

กรมวชิ าการ. (2551). แนวทางการวดั และประเมนิ ผลตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา
ข้ันพน้ื ฐาน.

กระทรวงศึกษาธิการ. (11 กรกฎาคม 2560). การบรหิ ารจดั การเวลาเรียนของสถานศกึ ษา
ขน้ั พื้นฐาน.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551.
กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พช ุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด, 2551
พทุ ธศักราช 2551. กรงุ เทพมหานคร.

โรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) . (2561). หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นนาจะหลวย
(กรป.กลางอุปถัมภ)

(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2561) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช
2551 (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช พุทธศกั ราช 2560). นครราชสีมา.
สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน. (19 กรกฎาคม 2560). ที่ ศธ 04010/ว2541.
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการบริหารจดั การเวลาเรยี นของสถานศึกษา
ข้ันพื้นฐาน.
สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน. (3 พฤษภาคม 2561). ท่ี 921/2561. ยกเลิก
มาตรฐานการเรียนรแู ละตวั ชี้วัดสาระท่ี 2 การออกแบบและเทคโนโลยแี ละสาระที่ 3
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารในกลุม สาระการเรยี นรกู ารงานอาชีพและเทคโนโลยี
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 และเปลยี่ นชื่อกลุม
สาระการเรียนร.ู
สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน. (3 พฤษภาคม 2561). ที่ 922/2561. การปรบั ปรงุ
โครงสรา งเวลาเรียน ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษา พุทธศกั ราช 2551.
สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน. (7 กนั ยายน 2560). ที่ ศธ 04010/ว3302.
ประชาสมั พันธส รา งความเขาใจเก่ยี วกับคาํ ส่งั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ที่ สพฐ.1239/2560
เรือ่ งใหใชมาตรฐานการเรียนรแู ละตวั ชวี้ ัดฯ.

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พุทธศกั ราช 2564 101
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

ภาคผนวก

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถมั ภ) พทุ ธศกั ราช 2564 102
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560)

คาํ สั่งโรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ)
ที่ 43/2564

เรือ่ ง แตงตงั้ คณะกรรมการปรบั ปรงุ พฒั นาและประเมนิ
หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พุทธศกั ราช 2564
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

-----------------------------------

ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ ไดม คี าํ ส่ังใหโรงเรียนใชห ลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 ในปการศึกษา 2553 ในชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 1 - 6 และใหใชมาตรฐาน
การเรยี นรแู ละตวั ชว้ี ดั กลุมสาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร วทิ ยาศาสตร และสาระภมู ศิ าสตร ในกลุม
สาระการเรยี นรสู ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 นัน้

โรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) จงึ ไดปรบั ปรุงและพฒั นาหลักสตู รโรงเรียน
พทุ ธศักราช 2564 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ
พุทธศกั ราช 2560) ขน้ึ เพื่อใหเปนไปตามเจตนารมณของหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
พทุ ธศักราช 2551 และสอดคลอ งกับสภาพบริบทของทองถน่ิ นักเรียนและสงั คมโลกปจ จุบันยิ่งข้นึ

อาศัยอํานาจตามมาตรา 37 แหงพระราชบญั ญัติระเบยี บบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2546 และมาตรา 27(1) แหง พระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
พ.ศ.2547 และแกไขเพิ่มเตมิ พ.ศ.2551 และพ.ศ.2553 จึงแตง ต้งั ครูและบุคลากรทางการศึกษาปรับปรุง
พัฒนา และประเมินหลกั สตู ร ดังตอ ไปน้ี

คณะกรรมการฝายอํานวยการ ประกอบดวย
1. นางสาวศริ ิพร ถาวร ผูอํานวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ
2. นางสาวพชั รกนั ย โคตรพันธ รองผอู าํ นวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ
3. นายศภุ กร สุรพฒั น รองผอู าํ นวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ
4. นางมิจิพร โฉมเฉลา หัวหนา กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย กรรมการ
5. นางจันที ภาษาพรม หวั หนากลมุ สาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร กรรมการ
6. นางหนูอาจ ขงิ รัมย หวั หนากลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร กรรมการ
7. นางอุบลวรรณ จบศรี หัวหนา กลุม สาระการเรียนรูสังคมศึกษาฯ กรรมการ
8. นางสาวกนกลดา เสยี งใส หัวหนากลมุ สาระการเรียนรูศิลปะ กรรมการ
9. นายประชัน ตฤษณโชติ หวั หนา กลมุ สาระการเรยี นรสู ุขศกึ ษาฯ กรรมการ
10. นางสาวสุพนิ ดา ศรีคะเณย หัวหนา กลมุ สาระการเรยี นรูการงานฯ กรรมการ
11. นางทิพเนตร อนุภักด์ิ หัวหนากลมุ สาระการเรียนรูภาษาตา งประเทศ กรรมการ
12. นางรจนา นยิ ม หวั หนา กิจกรรมพัฒนาผเู รยี น กรรมการและเลขานกุ าร

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พุทธศกั ราช 2564 103
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

มหี นาที่ ใหคําแนะนําปรึกษาและอํานวยความสะดวก ในการปรบั ปรุงและพัฒนาหลักสตู ร
โรงเรยี น
คณะกรรมการจัดทําหลักสตู ร
1. กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย ประกอบดวย
1.1 นางมิจพิ ร โฉมเฉลา ครู (ชาํ นาญการพิเศษ) ประธานกรรมการ
1.2 นางสาวสภุ าภรณ พนั ธช ยั ครู (ชาํ นาญการพิเศษ) กรรมการ
1.3 นางอมรรัตน สังสถติ ย ครู (ชํานาญการพเิ ศษ) กรรมการ
1.4 นางคําพนั ธ แกวสุวรรณ ครู (ชาํ นาญการพเิ ศษ) กรรมการ
1.5 นางสาวกนกลดา เสยี งใส ครู (ชํานาญการพิเศษ) กรรมการ
1.6 นางเทียมแข นามจาํ ปา ครู (ชํานาญการพิเศษ) กรรมการ
1.7 นายปญญา โฉมเฉลา ครู (ชาํ นาญการพเิ ศษ) กรรมการ
1.8 นางรจนา นยิ ม ครู (ชาํ นาญการพิเศษ) กรรมการและเลขานุการ
2. กลมุ สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร ประกอบดวย
2.1 นางจันที ภาษาพรม ครู (ชาํ นาญการพิเศษ) ประธานกรรมการ
2.2 นางอมรรัตน สงั สถติ ย ครู (ชาํ นาญการพเิ ศษ) กรรมการ
2.3 นางคําพนั ธ แกว สวุ รรณ ครู (ชาํ นาญการพเิ ศษ) กรรมการ
2.4 นางสาวสุพนิ ดา ศรคี ะเณย ครู (ชาํ นาญการพเิ ศษ) กรรมการ
2.5 นางสาวลชั ชดิ าภรณ ฉิมงาม ครู (ชํานาญการพิเศษ) กรรมการ
2.6 นางอมรรัตน คาํ ภานลิ ครู (ชาํ นาญการ) กรรมการ
2.7 นางจนั ทรแพน โฉมเฉลา ครู (ชํานาญการพิเศษ) กรรมการ
2.8 นางสาวสภุ าภรณ พันธช ัย ครู (ชาํ นาญการพเิ ศษ) กรรมการและเลขานุการ
3. กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ประกอบดวย
3.1 นางหนูอาจ ขิงรัมย ครู (ชาํ นาญการพิเศษ) ประธานกรรมการ
3.2 นางสาวสภุ าภรณ พนั ธช ัย ครู (ชาํ นาญการพเิ ศษ) กรรมการ
3.3 นางอมรรตั น สงั สถติ ย ครู (ชํานาญการพิเศษ) กรรมการ
3.4 นางคาํ พนั ธ แกว สวุ รรณ ครู (ชํานาญการพิเศษ) กรรมการ
3.5 นางเพ็ญศริ ิ จิตราช ครู (ชํานาญการพิเศษ) กรรมการ
3.6 นางสาวนฤมล นามเสถียร ครู (ชํานาญการพเิ ศษ) กรรมการ
3.7 นายสมภาร นิยม ครู (ชํานาญการพิเศษ) กรรมการ
3.8 นางสาวนติ ยา ดวงโสภา ครู กรรมการและเลขานกุ าร
4. กลมุ สาระการเรียนรูส ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ประกอบดวย
4.1 นางอบุ ลวรรณ จบศรี ครู (ชํานาญการพเิ ศษ) ประธานกรรมการ
4.2 นางคําพนั ธ แกวสวุ รรณ ครู (ชํานาญการพเิ ศษ) กรรมการ
4.3 นางสาวนฤมล นามเสถียร ครู (ชํานาญการพเิ ศษ) กรรมการ
4.4 นางหนูอาจ ขงิ รัมย ครู (ชาํ นาญการพิเศษ) กรรมการ

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พุทธศกั ราช 2564 104
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช 2560)

4.5 นางเพญ็ ศิริ จติ ราช ครู (ชาํ นาญการพเิ ศษ) กรรมการและเลขานกุ าร

5. กลมุ สาระการเรียนรศู ิลปะ ประกอบดวย
5.1 นางสาวกนกลดา เสยี งใส ครู (ชาํ นาญการพเิ ศษ) ประธานกรรมการ
5.2 นางสาวสุภาภรณ พนั ธชัย ครู (ชํานาญการพเิ ศษ) กรรมการ
5.3 นางอมรรัตน สังสถติ ย ครู (ชํานาญการพเิ ศษ) กรรมการ
5.4 นางคําพันธ แกวสุวรรณ ครู (ชํานาญการพเิ ศษ) กรรมการ
5.5 นางสาวสพุ ินดา ศรีคะเณย ครู (ชาํ นาญการพเิ ศษ) กรรมการ
5.6 นางมิจิพร โฉมเฉลา ครู (ชาํ นาญการพเิ ศษ) กรรมการ
5.7 นางหนอู าจ ขงิ รัมย ครู (ชํานาญการพิเศษ) กรรมการ
5.8 นางอุบลวรรณ จบศรี ครู (ชาํ นาญการพเิ ศษ) กรรมการและเลขานุการ
6. กลมุ สาระการเรยี นรสู ขุ ศึกษาและพลศึกษา ประกอบดวย
6.1 นายประชนั ตฤษณโชติ ครู (ชาํ นาญการพเิ ศษ) ประธานกรรมการ
6.2 นายนมิ มาน เมอื งเหนือ ครผู ชู วย กรรมการและเลขานุการ
7. กลุมสาระการเรียนรกู ารงานอาชีพ ประกอบดวย
7.1 นางสาวสุพินดา ศรคี ะเณย ครู (ชาํ นาญการพเิ ศษ) ประธานกรรมการ
7.2 นางสาวสุภาภรณ พนั ธช ยั ครู (ชํานาญการพเิ ศษ) กรรมการ
7.3 นางอมรรตั น สังสถิตย ครู (ชํานาญการพเิ ศษ) กรรมการ
7.4 นางทิพเนตร อนุภักด์ิ ครู (ชํานาญการพเิ ศษ) กรรมการ
7.5 นางนงคราญ สมนอย ครู (ชํานาญการ) กรรมการ
7.6 นางมิจพิ ร โฉมเฉลา ครู (ชํานาญการพเิ ศษ) กรรมการ
7.7 นางเทียมแข นามจําปา ครู (ชํานาญการพเิ ศษ) กรรมการและเลขานกุ าร
8. กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาตา งประเทศ ประกอบดวย
8.1 นางทพิ เนตร อนุภักด์ิ ครู (ชํานาญการพิเศษ) ประธานกรรมการ
8.2 นางคําพันธ แกว สวุ รรณ ครู (ชาํ นาญการพเิ ศษ) กรรมการ
8.3 นางนงคราญ สมนอย ครู (ชาํ นาญการ) กรรมการ
8.4 นายเสรี สายสมทุ ร ครู (ชํานาญการพเิ ศษ) กรรมการ
8.5 นางสาวิตรี ปะโมโท ครู กรรมการและเลขานกุ าร
9. กิจกรรมพัฒนาผเู รียน ประกอบดว ย
9.1 นางรจนา นยิ ม ครู (ชํานาญการพิเศษ) ประธานกรรมการ
9.2 นางสาวกนกลดา เสยี งใส ครู (ชํานาญการพิเศษ) กรรมการ
9.3 นางหนอู าจ ขิงรมั ย ครู (ชาํ นาญการพเิ ศษ) กรรมการ
9.4 นายปญญา โฉมเฉลา ครู (ชํานาญการพเิ ศษ) กรรมการ
9.5 นางจนั ที ภาษาพรม ครู (ชาํ นาญการพิเศษ) กรรมการ
9.6 นางคําพันธ แกวสวุ รรณ ครู (ชํานาญการพเิ ศษ) กรรมการและเลขานุการ

หลักสตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถัมภ) พุทธศกั ราช 2564 105
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

10. ระเบียบการวัดและประเมนิ ผล ประกอบดวย
9.1 นายสมภารนิยม ครู (ชํานาญการพเิ ศษ) ประธานกรรมการ
9.2 นางรจนา นยิ ม ครู (ชํานาญการพเิ ศษ) กรรมการและเลขานุการ
มหี นา ท่ี จัดทาํ และปรบั ปรงุ และพัฒนาหลักสูตรตามกลมุ สาระการเรียนรู ที่ไดรับแตง ต้ัง
ใหเ หมาะสมกับผูเรียน บริบทของทอ งถ่ิน และรวบรวมจัดทํารปู เลม ใหเ รยี บรอ ยสมบรู ณ

คณะกรรมการประเมนิ หลักสูตรโรงเรียน ประกอบดวย ประธานกรรมการ
1. นางสาวศริ ิพร ถาวร ผอู ํานวยการโรงเรยี น รองประธานกรรมการ
2. นางสาวพัชรกันย โคตรพันธ รองผอู ํานวยการโรงเรยี น รองประธานกรรมการ
3. นายศุภกร สรุ พฒั น รองผอู าํ นวยการโรงเรยี น
4. นายเสรี สายสมทุ ร ครู (ชํานาญการพิเศษ) กรรมการ
5. นางเพญ็ ศริ ิ จติ ราช ครู (ชาํ นาญการพิเศษ) กรรมการ
6. นางคําพนั ธ แกวสวุ รรณ ครู (ชํานาญการพเิ ศษ) กรรมการ
7. นางสาวสภุ าภรณ พนั ธช ยั ครู (ชํานาญการพิเศษ กรรมการ
8. นางเทียมแข นามจาํ ปา ครู (ชาํ นาญการพเิ ศษ กรรมการ
9. นางอมรรัตน สงั สถติ ย ครู (ชํานาญการพิเศษ กรรมการ
10. นางมจิ ิพร โฉมเฉลา ครู (ชํานาญการพิเศษ กรรมการ
11. นางทิพเนตร อนภุ ักดิ์ ครู (ชาํ นาญการพเิ ศษ กรรมการ
12. นางสาวกนกลดา เสยี งใส ครู (ชาํ นาญการพเิ ศษ กรรมการ
13. นางสาวนฤมล นามเสถียร ครู (ชาํ นาญการพิเศษ) กรรมการ
14. นางสาวลชั ชิดาภรณ ฉมิ งาม ครู (ชํานาญการพเิ ศษ) กรรมการ
15. นางหนูอาจ ขิงรมั ย ครู (ชาํ นาญการพเิ ศษ) กรรมการ
16. นางสาวสุพนิ ดา ศรีคะเณย ครู (ชํานาญการพิเศษ) กรรมการ
17. นายปญ ญา โฉมเฉลา ครู (ชาํ นาญการพเิ ศษ) กรรมการ
18. นางอบุ ลวรรณ จบศรี ครู (ชาํ นาญการพเิ ศษ) กรรมการ
19. นางสาวพัชรกันย โคตรพันธ ครู (ชาํ นาญการพเิ ศษ) กรรมการ
20. นางจนั ทรแพน โฉมเฉลา ครู (ชาํ นาญการพิเศษ) กรรมการ
21. นายสมภาร นิยม ครู (ชํานาญการพิเศษ) กรรมการ
22. นางจนั ที ภาษาพรม ครู (ชํานาญการพิเศษ) กรรมการ
23. นายประชนั ตฤษณโชติ ครู (ชาํ นาญการพเิ ศษ) กรรมการ
24. นางนงคราญ สมนอ ย ครู (ชํานาญการ) กรรมการ
25. นายอมรรตั น คาํ ภานลิ ครู (ชํานาญการ) กรรมการ
26. นางสาวนิตยา ดวงโสภา ครู กรรมการ

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พุทธศักราช 2564 106
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

27. นางสาวติ รี ปะโมโท ครู กรรมการ
28. นายนิมมาน เมืองเหนอื ครผู ูช ว ย กรรมการ
29. นางรจนา นยิ ม ครชู ํานาญการพิเศษ กรรมการและเลขานุการ
มีหนาท่ี ประเมินหลักสตู รสถานศึกษา และพิจารณาปรับปรุงแกไขตามความเหมาะสม

คณะกรรมการนิเทศ และติดตามการจดั ทาํ และปรบั ปรุงหลกั สตู ร
1. นางสาวศิริพร ถาวร ผูอํานวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ
2. นางสาวพัชรกันย โคตรพันธ รองผอู าํ นวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ
3. นายศภุ กร สรุ พัฒน รองผอู ํานวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ
4. นางมิจิพร โฉมเฉลา หวั หนา กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย กรรมการ
5. นางจนั ที ภาษาพรม หัวหนา กลุมสาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร กรรมการ
6. นางหนูอาจ ขงิ รัมย หัวหนา กลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร กรรมการ
7. นางอุบลวรรณ จบศรี หวั หนา กลุมสาระการเรียนรสู ังคมศึกษาฯ กรรมการ
8. นางสาวกนกลดา เสียงใส หวั หนา กลมุ สาระการเรยี นรูศิลปะ กรรมการ
9. นายประชนั ตฤษณโชติ หัวหนากลมุ สาระการเรียนรสู ุขศกึ ษาฯ กรรมการ
10. นางสาวสุพนิ ดา ศรีคะเณย หวั หนากลุม สาระการเรยี นรูการงานฯ กรรมการ
11. นางทิพเนตร อนุภกั ดิ์ หัวหนากลุมสาระการเรียนรูภาษาตา งประเทศ กรรมการ
12. นางรจนา นยิ ม หัวหนา กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น กรรมการและเลขานุการ
มีหนาท่ี นเิ ทศ กํากบั ติดตาม ตรวจสอบการจดั ทาํ หลักสูตรใหถ ูกตองตามองคประกอบ
หลกั สตู รโรงเรยี น ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ
พุทธศกั ราช 2560) และรวบรวมจัดทํารูปเลมใหเรียบรอยสมบูรณ

ใหคณะกรรมการที่ไดรบั แตง ตงั้ ปฏิบัติหนา ที่ตามท่ีไดรบั มอบหมาย ดวยความเอาใจใส
ใหบ ังเกิดผลดีแกทางโรงเรยี นหากมีปญหาหรืออุปสรรคใหเสนอฝายอํานวยการเพื่อพจิ ารณาแกไขตอไป

ส่ัง ณ วันท่ี 1 เดอื น เมษายน พ.ศ. 2564

(นางสาวศิรพิ ร ถาวร)
ผอู าํ นวยการโรงเรียนนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ)

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอุปถมั ภ) พทุ ธศักราช 2564 107
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560)

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พทุ ธศกั ราช 2564 108
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พทุ ธศกั ราช 2564 109
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พทุ ธศกั ราช 2564 110
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พทุ ธศกั ราช 2564 111
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พทุ ธศกั ราช 2564 112
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พทุ ธศกั ราช 2564 113
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พทุ ธศกั ราช 2564 114
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พทุ ธศกั ราช 2564 115
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พทุ ธศกั ราช 2564 116
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)

หลกั สตู รโรงเรยี นนาจะหลวย (กรป.กลางอปุ ถัมภ) พทุ ธศกั ราช 2564 117
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560)


Click to View FlipBook Version