The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดการและการใช้งาน
ระบบสารสนเทศงานวิจัย (RISS) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เชิด คงห้อย, 2023-07-28 04:54:25

การจัดการและการใช้งาน ระบบสารสนเทศงานวิจัย (RISS) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

การจัดการและการใช้งาน
ระบบสารสนเทศงานวิจัย (RISS) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

การจัด จั การและการใช้ง ช้ าน คู่มืคู่ อ มื ปฏิบั ฏิ ติ บั ง ติ าน ระบบสารสนเทศงานวิจั วิ ย จั (RISS) มหาวิท วิ ยาลัย ลั เทคโนโลยีร ยี าชมงคลศรีวิ รี ชั วิ ย ชั โดย...นายเชิดชิคงห้อ ห้ ย สถาบันบัวิจัวิยจัและพัฒพันา มหาวิทวิยาลัยลัเทคโนโลยีรยีาชมงคลศรีวิรีชัวิยชั นักนัวิชวิาการคอมพิวพิเตอร์


คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การจัดการและการใช้งาน ระบบสารสนเทศงานวิจัย (RISS) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย นายเชิด คงห้อย ต าแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ฝ่ายสารสนเทศงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย


ค ำน ำ คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การจัดการและการใช้งานระบบสารสนเทศงานวิจัย มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ฉบับนี้ ได้รวบรวมองค์ความรู้จากประสบการณ์ในการปฏิบัติงานด้านการ จัดการและการใช้งานระบบสารสนเทศงานวิจัย (RISS) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานด้านงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ สามารถจัดการและใช้งานระบบสารสนเทศ งานวิจัย (RISS) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยอย่างเป็นระบบและเป็นมาตรฐานเดียวกัน ประกอบด้วย แนวปฏิบัติและเทคนิคในการปฏิบัติงานส าหรับการเตรียมความพร้อมเพื่อการใช้งาน ระบบ การใช้งานและการแนะน าการใช้งานระบบ และการบ ารุงรักษาระบบและการน าระบบกลับมา ใช้ใหม่เมื่อระบบเกิดความเสียหาย หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือฉบับนี้จะท าให้การจัดการและการใช้งานระบบสารสนเทศงานวิจัย (RISS) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย มีความเป็นระบบและมีมาตรฐานเดียวกันและ สามารถพัฒนาขีดสมรรถนะบุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจในหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขและเทคนิค ในการปฏิบัติงานการจัดการและการใช้งานระบบสารสนเทศงานวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลศรีวิชัย หากมีข้อเสนอแนะและเพิ่มเติมอันจะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานนี้ ข้าพเจ้าน้อม ยินดีรับไว้เพื่อการแก้ไขและพัฒนาต่อไปให้ดีและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น นายเชิด คงห้อย นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ระดับปฏิบัติการ มกราคม 2566 ก


สารบัญ หน้า ค าน า ก สารบัญ ข สารบัญตาราง ค สารบัญภาพ ง บทที่1.บทน า 1 1.1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา 1 1.2 วัตถุประสงค์ 2 1.3 ขอบเขตคู่มือ 2 1.4 นิยามศัพท์ 3 บทที่2. บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ 4 2.1 บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของต าแหน่ง 4 2.2 ลักษณะงานที่ปฏิบัติประจ าสถาบันวิจัยและพัฒนา 9 2.3 โครงสร้างการบริหารจัดการ 13 บทที่3. หลักเกณฑ์วิธีการปฏิบัติงานและเงื่อนไข 18 3.1 การเตรียมความพร้อมให้กับระบบ 3.1.1 แนวคิด ทฤษฎี หลักเกณฑ์การติดตั้งระบบใหม่ 3.1.2 การถ่ายโอนข้อมูล (File Transfer Protocol) 18 18 23 3.2 การใช้งานระบบ 26 3.2.1 หลักการ/แนวคิดการใช้งานระบบและการน าข้อมูลรายการ งานวิจัยเข้าสู่ระบบ 26 3.3 การรักษาข้อมูลและน าข้อมูลกลับมาใช้ใหม่ 36 3.3.1 การส ารองข้อมูลงานวิจัย (Database Research Backup) 36 3.3.2 การน าข้อมูลงานวิจัยกลับมาใช้ใหม่ (System Recovery) 40 3.4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 42 บทที่4. เทคนิคในการปฏิบัติงาน 45 4.1 แผนปฏิบัติงาน 45 4.2 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 45 4.2.1 การเตรียมความพร้อมระบบ (Pre-implement Processing) 47 ข


สารบัญ (ต่อ) บทที่ หน้า 4.2.2 การใช้ระบบและแนะน าการใช้งาน (On Implement Processing & Introduce) 55 4.2.3 การรักษาระบบและน าข้อมูลกลับมาใช้ใหม่ (Post Implement Processing) 77 4.3 วิธีการและเทคนิคการปฏิบัติงาน 88 4.3.1 การเตรียมความพร้อมระบบ (Pre-implement Processing) 88 4.3.2การใช้ระบบและแนะน าการใช้งาน (On Implement Processing & Introduce) 111 4.3.3 การรักษาระบบและน าข้อมูลกลับมาใช้ใหม่ (Post Implement Processing) 149 บทที่5. ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ 161 5.1 ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน 161 5.2 แนวทางแก้ไขและพัฒนา 162 5.3 ขอเสนอแนะ 163 บรรณานุกรม 165 ภาคผนวก ภาคผนวก ก : ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย เรื่อง การเปิดรับขอ เสนอการวิจัยเพื่อเสนอของบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม ประเภททุนวิจัย พื้นฐาน (Basic Research Fund) ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 166 ภาคผนวก ข : แบบฟอร์มแบบฟอร์มบันทึกการดูแล บ ารุงรักษา การส ารองข้อมูลเพื่อ ความพร้อมใช้งานระบบฐานข้อมูลสถาบันวิจัยและพัฒนา 171 ภาคผนวก ค : การติดตั้ง AppServ-winx64 2.5.9 173 ภาคผนวก ง : การติดตั้งโปรแกรม WinSCP 5.21.x เพื่อการถ่ายโอนข้อมูลระหว่าง เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server) กับ เครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Client) 179 ประวัติผู้เขียน 186 ช


สา รบัญตาราง ตารางที่ หน้า ตารางที่ 4.1 แผนปฏิบัติงาน 4 5 ตารางที่ 5.1 แนวทางปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหา 16 2 ค


สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า ภาพที่ 2.1 แสดงกระบวนการบริหารจัดการระบบสารสนเทศงานวิจัย (RISS) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย 4 ภาพที่ 2.2 โครงสร้างองค์กร (Organization Chart) 14 ภาพที่ 2.3 โครงสร้างการบริหารและการปฏิบัติงาน (Administrator and Activity Chart) 15 ภาพที่ 3.1 การติดตั้งแบบทันทีหรือโดยตรง (Direct Changeover) 20 ภาพที่ 3.2 การติดตั้งแบบขนาน (Parallel Conversation) 21 ภาพที่ 3.3 การติดตั้งแบบเป็นระยะ (Phased Or Gradual Conversion) 22 ภาพที่ 3.4 การติดตั้งแบบโมลดูลาร์โปรโตไทป์ (Modular Prototype) 23 ภาพที่ 3.5 หลักการท างานของ FTP 24 ภาพที่ 3.6 วิธีส่งการร้องขอ (Active mode) 25 ภาพที่ 3.7 วิธีรับการร้องขอ (Passive mode) 25 ภาพที่ 3.8 แบบ วจ.1ด และ วจ.1ช 29 ภาพที่ 3.9 แสดงความหมายอักษร SERVICE 32 ภาพที่ 3.10 แสดงประเภทของการบริการ 35 ภาพที่ 3.11 กระบวนการส ารองข้อมูล 36 ภาพที่ 3.12 วิธีการส ารองข้อมูลแบบ Full Backup หรือ Normal Backup 37 ภาพที่ 3.13 วิธีการส ารองข้อมูลแบบ Incremental Backup 38 ภาพที่ 3.14 วิธีการส ารองข้อมูลแบบ Differential Backup 38 ภาพที่ 3.15 วิธีการส ารองข้อมูลแบบ Synthetic Full Backup 39 ภาพที่ 3.16 การส ารองข้อมูลตามกฎ 3-2-1 41 ภาพที่ 4.1 กระบวนการจัดการและใช้งานระบบสารสนเทศงานวิจัย (RISS) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีชัย 46 ภาพที่ 4.2 Flowchart แสดงขั้นตอนการเตรียมความพร้อมระบบ (Pre-implement Processing) 47 ภาพที่ 4.3 Flowchart แสดงขั้นตอนการใช้ระบบและแนะน าการใช้งาน (On Implement Processing & Introduce) 55 ภาพที่ 4.4 Flowchart แสดงขั้นตอนการรักษาระบบและน าข้อมูลกลับมาใช้ใหม่ (Post Implement Processing) 77 ภาพที่ 4.5 สร้าง Folder เพื่อเตรียมพื้นที่ส าหรับจัดเก็บไฟล์ชุดโปรแกรม 88 ภาพที่ 4.6 การน าเข้าไฟล์ชุดโปรแกรมไปยัง Folder 89 ภาพที่ 4.7 ไฟล์ชุดโปรแกรมที่สมบูรณ์ 90 ภาพที่ 4.8 สร้าง Folder เพื่อเตรียมพื้นที่ส าหรับจัดเก็บไฟล์โครงสร้างฐานข้อมูล 91 ง


สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ หน้า ภาพที่ 4.9 การน าเข้าไฟล์โครงสร้างฐานไปยัง Folder 91 ภาพ 4.10 ไฟล์โครงสร้างฐานข้อมูลที่สมบูรณ์ 92 ภาพที่ 4.11 แบบฟอร์มการขอ Website ภายใต้ Domain มหาวิทยาลัยฯ 93 ภาพที่ 4.12 การกรอกรายละเอียดแบบฟอร์มการขอ Website ภายใต้ Domain มหาวิทยาลัยฯที่ถูกต้อง 94 ภาพที่ 4.13 การกรอกรายละเอียดแบบฟอร์มการขอ Website ภายใต้ Domain มหาวิทยาลัยฯที่ไม่ถูกต้อง 95 ภาพที่ 4.14 แบบฟอร์มบันทึกข้อความขอ website ภายใต้ Domain ภายใต้โดเมน ของมหาวิทยาลัยฯ 96 ภาพที่ 4.15 บันทึกข้อความขอ website ภายใต้ Domain ภายใต้โดเมนของ มหาวิทยาลัยฯที่ถูกต้อง 97 ภาพประกอบที่ 4.16 บันทึกข้อความขอ website ภายใต้ Domain ภายใต้โดเมนของ มหาวิทยาลัยฯที่ไม่ถูกต้อง 98 ภาพที่ 4.17 การเปิดโปรแกรม Notepad มาใช้งาน 99 ภาพที่ 4.18 การน าไฟล์ที่สร้างไว้ไปติดตั้งบนส่วนเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย 100 ภาพที่ 4.19 การตรวจสอบค่า Apache 101 ภาพที่ 4.20 การตรวจสอบค่า php 101 ภาพที่ 4.21 การตรวจสอบค่า MySQL 102 ภาพที่ 4.22 การแสดงหน้าจอระบบงาน 105 ภาพที่ 4.23 ภาพหน้าจอ Login เข้าระบบ 106 ภาพที่ 4.24 การแสดงผลหน้าจอระบบงานหากกรอกข้อมูล Username และรหัสผ่าน ถูกต้อง 106 ภาพที่ 4.25 เมนูการก าหนดค่าระบบ 107 ภาพที่ 4.26 แสดงรายการค าน าหน้าชื่อ 108 ภาพที่ 4.27 แสดงการเพิ่มข้อมูลค าน าหน้าชื่อ 108 ภาพที่ 4.28 การเพิ่มข้อมูล และ การบันทึกข้อมูลค าน าหน้าชื่อ 108 ภาพที่ 4.29 การลบข้อมูลค าน าหน้าชื่อ 109 ภาพที่ 4.30 การก าหนดค่าต าแหน่งทางวิชาการ 109 จ


สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ หน้า ภาพที่ 4.31 เมนู เข้าสู่ระบบ / ลงทะเบียน 111 ภาพที่ 4.32 หน้า Login “ลงทะเบียนเข้าใช้งาน” 111 ภาพที่ 4.33 หน้ากรอกรายละเอียดลงทะเบียนเข้าใช้งานระบบ 112 ภาพที่ 4.34 การเลือก เชื่อมโยง Account นี้กับข้อมูลนักวิจัยที่มีอยู่แล้ว 112 ภาพที่ 4.35 แสดงหน้าจอระบบงานกรณีระบุ Username และรหัสผ่านถูกต้อง 114 ภาพที่ 4.36 เมนูเพิ่มข้อมูลนักวิจัย โดยผู้จัดการระบบและเจ้าหน้าที่วิจัย 114 ภาพที่ 4.37 หน้าต่างให้กรอกข้อมูลของนักวิจัย 115 ภาพที่ 4.38 ปุ่ม “บันทึกข้อมูล” เพื่อท าการบันทึกข้อมูลนักวิจัย 115 ภาพที่ 4.38 แสดงรายการข้อมูลนักวิจัยที่จะแก้ไข 118 ภาพที่ 4.39 แสดงหน้าหลักแก้ไขข้อมูลส่วนตัวของนักวิจัย 116 ภาพที่ 4.40 หน้าต่างแก้ไขข้อมูลส่วนตัวนักวิจัย-ข้อมูลทั่วไป 117 ภาพที่ 4.41 หน้าต่างแก้ไขข้อมูลส่วนตัวนักวิจัย-แก้ไขรหัสผ่าน 117 ภาพที่ 4.42 หน้าต่างแก้ไขรูปภาพส่วนตัวนักวิจัย 118 ภาพที่ 4.43 หน้าต่างแก้ไขประวัติการศึกษา 118 ภาพที่ 4.44 หน้าต่างแสดงรายการแก้ไขและบันทึกข้อมูลส่วนตัวนักวิจัย – สาขาความ เชี่ยวชาญ 119 ภาพที่ 4.45 หน้าต่างแสดงรายการลบข้อมูลนักวิจัย 119 ภาพที่ 4.46 หน้าต่างยืนยันการลบข้อมูลนักวิจัย 120 ภาพที่ 4.47 หน้าจอระบบ เลือกเมนู “โครงการวิจัย” 121 ภาพที่ 4.48 หน้าจอค้นหา “โครงการวิจัย” 121 ภาพที่ 4.49 หน้าต่างเลือกชื่อโครงการวิจัย 122 ภาพที่ 4.50 ดูรายละเอียดโครงการ 122 ภาพที่ 4.51 หน้าต่างการเพิ่มโครงการ 123 ภาพที่ 4.52 หน้าต่างหลักการเพิ่มทีมวิจัยโครงการวิจัย 124 ภาพที่ 4.53 หน้าต่างการกรอกรายละเอียดเพื่อเพิ่มทีมวิจัยส าหรับโครงการวิจัย 124 ภาพที่ 4.54 หน้าจอการแนบไฟล์เอกสารโครงการวิจัย 125 ภาพที่ 4.55 แสดงหน้าจอรายละเอียดการบันทึกโครงการวิจัย 126 ภาพที่ 4.56 แสดงหน้าต่างเพื่อให้แก้ไขข้อมูลโครงการวิจัย 126 ภาพที่ 4.57 ปุ่มบันทึกข้อมูลเมื่อแก้ไขข้อมูลโครงการวิจัยเรียบร้อย 127 ภาพที่ 4.58 ปุ่มแก้ไขสถานะโครงการวิจัย 127 ภาพที่ 4.59 ปุ่มบันทึกข้อมูล เมื่อแก้ไขสถานะโครงการวิจัยเรียบร้อยแล้ว 128 ฉ


สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ หน้า ภาพที่ 4.60 แสดงเมนู”บทความวารสาร” 129 ภาพที่ 4.61 หน้าต่างค้นหาบทความวารสาร 129 ภาพที่ 4.62 หน้าต่างเพิ่มข้อมูลบทความวารสาร 130 ภาพที่ 4.63 ปุ่ม “บันทึกข้อมูล”การเพิ่มข้อมูลบทความวารสาร 130 ภาพที่ 4.64 ปุ่มเพิ่มข้อมูลทีมนักวิจัยที่ร่วมกันท าบทความวารสาร 131 ภาพที่ 4.65 แสดงการกรอกข้อมูลทีมนักวิจัยที่ร่วมกันท าบทความวารสาร 131 ภาพที่ 4.66 หน้าต่างการแนบไฟล์เอกสารบทความวารสาร 132 ภาพที่ 4.67 หน้าต่างสรุปรายละเอียดของบทความวารสาร 133 ภาพที่ 4.68 หน้าต่างเพื่อให้แก้ไขข้อมูลบทความวารสาร 133 ภาพที่ 4.69 ปุ่ม “บันทึกข้อมูล” ในแต่ละหัวข้อของการแก้ไข 134 ภาพที่ 4.70 แสดงเมนู บทความประชุมวิชาการ 134 ภาพที่ 4.71 หน้าจอค้นหาบทความประชุมวิชาการ 135 ภาพที่ 4.72 หน้าต่างเพิ่มบทความประชุมวิชาการ 135 ภาพที่ 4.73 ปุ่มบันทึกข้อมูล เพิ่มบทความประชุมวิชาการ 136 ภาพที่ 4.74 ปุ่มเพิ่มข้อมูลทีมนักวิจัย บทความประชุมวิชาการ 136 ภาพที่ 4.75 การกรอกรายละเอียดข้อมูลทีมนักวิจัย บทความประชุมวิชาการ 137 ภาพที่ 4.76 การแนบไฟล์ไฟล์ข้อมูลเอกสารประกอบบทความประชุมวิชาการ 137 ภาพที่ 4.77 ปุ่มแก้ไขข้อมูลบทความประชุมวิชาการการ 138 ภาพที่ 4.78 การบันทึกแต่ละหัวข้อที่ต้องการแก้ไขข้อมูลบทความประชุมวิชาการการ 139 ภาพที่ 4.79 เมนูทรัพย์สินทางปัญญา 140 ภาพที่ 4.80 หน้าต่างแสดงการเพิ่มข้อมูลทรัพย์สินทางปัญญา 140 ภาพที่ 4.81 หน้าต่างแสดงการเพิ่มทีมนักวิจัยข้อมูลทรัพย์สินทางปัญญา 141 ภาพที่ 4.82 หน้าตางการกรอกข้อมูลผู้ร่วมทีมวิจัยข้อมูลทรัพย์สินทางปัญญา 141 ภาพที่ 4.83 หน้าต่างการแนบไฟล์ข้อมูลทรัพย์สินทางปัญญา 142 ภาพที่ 4.84 หน้าจอแสดงรายละเอียดข้อมูลทรัพย์สินทางปัญญาที่บันทึกเรียบร้อย แล้ว 143 ภาพที่ 4.85 หน้าต่างแสดงการแก้ไขรายละเอียดข้อมูลทรัพย์สินทางปัญญา 143 ภาพที่ 4.86 ปุ่มบันทึกข้อมูลการแก้ไขทรัพย์สินทางปัญญาแต่ละหัวข้อ 144 ภาพที่ 4.87 เมนูหนังสือ/ต ารา 144 ช


สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ หน้า ภาพที่ 4.88 หน้าต่างการเพิ่มข้อมูลหนังสือ/ต ารา 145 ภาพที่ 4.89 หน้าต่างการเพิ่มข้อมูลผู้แต่งหนังสือ/ต ารา 145 ภาพที่ 4.90 หน้าต่างการกรอกรายละเอียดข้อมูลผู้แต่งหนังสือ/ต ารา 146 ภาพที่ 4.91 หน้าต่างการกรอกรายละเอียดข้อมูลการพิมพ์หนังสือ/ต ารา 146 ภาพที่ 4.92 หน้าต่างการแนบไฟล์เอกสารประกอบหนังสือ 147 ภาพที่ 4.93 ปุ่มแก้ไขข้อมูลหนังสือ/ต ารา 148 ภาพที่ 4.94 ปุ่ม “บันทึกข้อมูล”การแก้ไขข้อมูลหนังสือ/ต ารา 148 ภาพที่ 4.95 หน้าต่างการปรับปรุงค่าระบบ “สถานะโครงการวิจัย” 149 ภาพที่ 4.96 การสร้าง Folder เพื่อเตรียมพื้นที่ส าหรับจัดเก็บไฟล์ชุดโปรแกรมที่ ต้องการส ารอง 150 ภาพที่ 4.97 ไอคอลโปรแกรม WinSCP 150 ภาพที่ 4.98 การระบุรายละเอียดโปรแกรม WinSCP เพื่อเชื่อมต่อกับ server 152 ภาพที่ 4.99 การเลือกไฟล์ หรือ Folder ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย 153 ภาพที่ 4.100 แสดงไฟล์ส ารองชุดโปรแกรมที่สมบูรณ์ 154 ภาพที่ 4.101 ปุ่มตัดการเชื่อมต่อ Server ด้วยโปรแกรม WinSCP 154 ภาพที่ 4.102 การสร้าง Folder เพื่อเตรียมพื้นที่ส าหรับจัดเก็บไฟล์ฐานข้อมูลที่ ต้องการส ารอง 155 ภาพที่ 4.103 หน้าต่าง Login เข้าสู่ phpmyadmin 156 ภาพที่ 4.104 หน้าต่างการเลือกฐานข้อมูลเพื่อ Export 156 ภาพที่ 4.105 หน้าต่างเลือกชนิดฐานข้อมูล SQL 156 ภาพที่ 4.106 ปุ่ม Log out ออกจากระบบ phpmyadmin 157 ภาพที่ 4.107 แบบฟอร์มแบบฟอร์มบันทึกการดูแล บ ารุงรักษา การส ารองข้อมูล เพื่อ ความพร้อมใช้งานระบบฐานข้อมูลสถาบันวิจัยและพัฒนา 157 ภาพที่ 4.108 แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อระบบสารสนเทศงานวิจัย (RISS) 158 ภาพที่ 4.109 สถานะเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายเปิดใช้งาน 159 ภาพที่ 4.110 สถานะเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายปิดการใช้งาน 159 ซ


1 บทที่1 บทน ำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยมีนโยบายให้ความส าคัญต่องานวิจัยเป็นอย่างยิ่ง โดย พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 มาตรา 7 (ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ,2548) ก าหนดให้เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย เป็นสถาบันอุดมศึกษาด้านวิชาชีพและเทคโนโลยี มีวัตถุประสงค์ ให้การศึกษา ส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงที่เน้นการปฏิบัติ การวิจัย ผลิตครูวิชาชีพ ให้บริการทางวิชาการ ในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแก่สังคม ท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและในแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ระยะปาน กลาง 5 ปี (พ.ศ. 2561-2565) (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย, 2561) ก าหนดให้การสร้างงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรม สู่ การน าไปใช้ประโยชน์หรือสร้างมูลค่าเชิงพาณิชย์เป็นพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัยฯ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ในฐานะหน่วยงานภายใต้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยท าหน้าที่รับผิดชอบพันธกิจด้านการวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ เพื่อตอบ รับต่อนโยบายของมหาวิทยาลัยฯด้านการวิจัยจึงได้พัฒนาระบบสารสนเทศงานวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลศรีวิชัย (RISS) ขึ้น ตามกลยุทธ์ที่1: พัฒนาระบบการบริหารงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรมและงาน สร้างสรรค์ มาตรการที่3: สนับสนุนระบบนิเวศน์ (Ecosystem) ด้านการสร้างผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม เพื่อบริหารจัดการงานวิจัยและยังเป็นหน่วยงานหลักที่ก ากับ ดูแล ใช้งาน บริหารจัดการ บ ารุงรักษา รวมถึงแนะน าการใช้งานแก่ผู้ใช้ในทุกระดับชั้น แต่เนื่องจากระบบมีความซับซ้อนมีชุดข้อมูลวิจัยที่จ าเป็นต้อง น าเข้าระบบและข้อมูลมีความหลากหลายจึงท าให้ระบบมีรูปแบบและแบบฟอร์มหลากหลายด้วยเช่นกัน เช่น ชุดข้อมูลรายละเอียดโครงการวิจัย (ต้นน้ า) ข้อมูลการติดตามโครงการวิจัยและการปิดโครงการวิจัย (กลางน้ า) ข้อมูลการน างานวิจัยไปใช้ประโยชน์(ปลายน้ า) รวมถึงระดับของผู้ใช้งานแบ่งออกเป็นหลายระดับชั้นเพื่อความ เหมาะสมในการใช้งาน ซึ่งแต่ละระดับมีเงื่อนไขการใช้งานที่แตกกัน เช่น ผู้จัดการระบบ (Administrator) เจ้าหน้าที่ผู้ดูแลและจัดการข้อมูลงานวิจัยระดับคณะ/หน่วยงาน (Staff) และ นักวิจัย (Researcher) นอกจากนั้นระบบยังใช้ในการตรวจสอบ คัดกรองโครงการวิจัยที่ผ่านเกณฑ์ให้เข้าพิจารณาให้ได้รับทุนวิจัยหาก หัวหน้าโครงการวิจัยไม่มีสถานะติดค้างโครงการวิจัยในระบบ รวมถึงมีผลต่อการเรียงล าดับความส าคัญ โครงการวิจัยหากผู้ร่วมวิจัยไม่มีสถานะติดค้างโครงการวิจัย แต่การก ากับดูแลและแนะน าการใช้งานเจ้าหน้าที่ ที่คอยให้บริการมีภาระหน้าที่หลายอย่างบางครั้งมอบหมายให้เจ้าหน้าที่อื่นปฏิบัติงานแทน แต่เจ้าหน้าที่ยังขาด ความรู้ ความเข้าใจจึงส่งผลให้การบริการล่าช้าและขาดประสิทธิภาพ จากความเป็นมาและความส าคัญดังกล่าว ผู้เขียนจึงได้จัดท าคู่มือ การจัดการและการใช้งานระบบ สารสนเทศงานวิจัย (RISS) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน


2 เกี่ยวกับระบบสารสนเทศงานวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีศรีวิชัยที่มีมาตรฐานและสามารถปฏิบัติงานทดแทน กันได้ซึ่งจะส่งผลให้การท างานเกิดประสิทธิภาพต่อไป 1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1 เพื่อให้เจ้าหน้าที่ผู้จัดการระบบ (Administrator) เข้าใจขั้นตอนการเตรียม การใช้งานและการ น าระบบสารสนเทศงานวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (RISS) กลับมาใช้ใหม่เมื่อระบบขัดข้อง 1.2.2 เพื่อให้เจ้าหน้าที่วิจัย (Staff) เข้าใจขั้นตอนและวิธีการใช้งานระบบสารสนเทศ งานวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (RISS) 1.2.3 เพื่อให้นักวิจัย (Researcher) เข้าใจวิธีการใช้งานระบบสารสนเทศงานวิจัย มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (RISS) 1.2.4 เพื่อใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติงานและเป็นมาตรฐานเดียวกันในการจัดการ การให้บริการและ การใช้งานระบบสารสนเทศงานวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (RISS) 1.3 ขอบเขตคู่มือ การจัดท าคู่มือปฏิบัติงานในครั้งนี้มีเนื้อหาครอบคลุมสามส่วนหลักที่ส าคัญของระบบ สารสนเทศงานวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (RISS) คือ ส่วนที่1: การเตรียมความพร้อม ระบบ (Pre-implement Processing) เพื่อท าให้ระบบมีความพร้อมในการใช้งาน ประกอบด้วย ขั้นตอนการ ติดตั้งระบบ การก าหนดค่าพื้นฐานให้กับระบบ ส่วนที่2: การใช้ระบบและแนะน าการใช้งาน (On Implement Processing & Introduce) ประกอบด้วย ขั้นตอนและวิธีการน าเข้าข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย ขั้นตอน และวิธีการติดตาม การตรวจสอบสถานะโครงการวิจัย ขั้นตอนและวิธีการน าเข้าข้อมูลการน างานวิจัยไปใช้ ประโยชน์และส่วนที่3: การรักษาข้อมูลและน าข้อมูลกลับมาใช้ใหม่ (Post Implement Processing) หาก เกิดความเสียหายกับระบบและข้อมูล ประกอบด้วย ขั้นตอนการส ารอง (Backup) และการน าข้อมูลกลับมาใช้ ใหม่ (Restore) จากเครื่องแม่ข่ายฐานข้อมูลมายังเครื่องลูกข่าย ซึ่งคู่มือฉบับนี้จัดท าขึ้นส าหรับใช้เป็นแนวทาง ในการปฏิบัติงานของบุคลากรด้านงานวิจัย 3 กลุ่ม คือ 1) ผู้จัดการระบบ (Administrator) ในการเตรียมความ พร้อมการใช้งาน การให้บริการและแนะน าการใช้งานแก่ นักวิจัย (Researcher) เจ้าหน้าที่ (Staff) และการน า ระบบกลับมาใช้ใหม่หากระบบเกิดความเสียหาย 2) เจ้าหน้าที่ผู้ (Staff) ในการจัดการข้อมูลงานวิจัยของ หน่วยงานและแนะน าการใช้งานแก่นักวิจัยของหน่วยงาน 3) นักวิจัย (Researcher) ในการใช้งานระบบ สารสนเทศงานวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (RISS) ซึ่งจะท าให้ผู้ปฏิบัติงานได้ทราบและเข้าใจ ในกระบวนการของการปฏิบัติงานที่ถูกต้องอย่างเป็นระบบและเกิดประสิทธิภาพในการท างานด้านระบบ สารสนเทศงานวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย


3 1.4 นิยำมศัพท์ 1.4.1 การติดตั้งระบบ (System Installation) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงการท างานระบบบริหาร จัดการงานวิจัยของสถาบันวิจัยและพัฒนาจากระบบงานเดิมเป็นระบบสารสนเทศงานวิจัยมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (RISS) 1.4.2 การให้บริการระบบ หมายถึง การน าข้อมูลงานวิจัยเข้าสู่ระบบและการแนะน าการใช้งานระบบ สารสนเทศงานวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ให้แก่ นักวิจัย (Researcher) เจ้าหน้าที่วิจัย (Staff) ผู้จัดการระบบ (Administrator) ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย 1.4.3 นักวิจัย (Researcher) หมายถึง บุคลากรภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยทั้ง สายวิชาการและสายสนับสนุนทุกคนที่ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยทุกงบประมาณ ทุกปีงบประมาณและทุก แหล่งทุน ยกเว้นทุนวิจัยส่วนตัว 1.4.4 เจ้าหน้าที่วิจัย (Staff) หมายถึง เจ้าหน้าที่วิจัยประจ าหน่วยงานต่างๆของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย 1.4.5 ผู้จัดการระบบ (Administrator) หมายถึง ผู้ติดตั้งและควบคุมดูแลระบบสารสนเทศงานวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย 1.4.6 ผู้ให้บริการระบบ (System service provider) หมายถึง ผู้จัดการระบบ (Administrator) และ เจ้าหน้าที่วิจัย (Staff) ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยที่ปฏิบัติหน้าที่ในการจัดการข้อมูลงานวิจัย ของหน่วยงานและให้ค าแนะการใช้งานระบบสารสนเทศงานวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (RISS) 1.4.7 ผู้ใช้บริการ (User) หมายถึง นักวิจัย (Researcher) และ เจ้าหน้าที่วิจัย (Staff) ของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยใช้ระบบสารสนเทศงานวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย เพื่อบริหารจัดการข้อมูลงานวิจัย


4 บทที่ 2 บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ ส ำหรับเนื้อหำในบทนี้เป็นกำรอธิบำยถึงโครงสร้ำงกำรบริหำรจัดกำรองค์กรของสถำบันวิจัยและพัฒนำ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัย มีเนื้อหำอธิบำยถึงโครงสร้ำงองค์กร โครงสร้ำงกำรบริหำรและโครงสร้ำง กำรปฏิบัติงำน ซึ่งจะท ำให้ผู้ปฏิบัติงำนทรำบถึงต ำแหน่งงำนที่ด ำรงอยู่ ณ ปัจจุบันในสำยกำรบังคับบัญชำ ขอบข่ำย ภำระงำนของหน่วยงำนที่สังกัด บทบำทหน้ำที่ควำมรับผิดชอบของต ำแหน่งและลักษณะงำนที่ปฏิบัติ โดยมีหัวข้อที่ ส ำคัญ ดังนี้ 2.1 บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของต าแหน่ง ต ำแหน่งนักวิชำกำรคอมพิวเตอร์ สังกัดสถำบันวิจัยและพัฒนำ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัย มีบทบำทหน้ำที่ควำมรับผิดชอบหลักที่ส ำคัญเป็นอย่ำงยิ่งกับระบบสำรสนเทศเพื่อกำรบริหำรงำนวิจัย (RISS) มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัย ท ำให้ระบบสำมำรถใช้งำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพสูงสุด โดยแบ่งออกเป็น 3 กระบวนกำรหลักที่ส ำคัญด้วยกัน คือ กระบวนกำรเตรียมควำมพร้อมระบบ กระบวนกำรใช้งำนระบบและ แนะน ำกำรใช้งำน และ กระบวนกำรรักษำข้อมูลและน ำข้อมูลกลับมำใช้ใหม่ ตำมภำพประกอบที่ 2.1 ภำพประกอบที่ 2.1 แสดงกระบวนกำรบริหำรจัดกำรระบบสำรสนเทศงำนวิจัย (RISS) มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัย ส่วนที่1 คือ กระบวนกำรเตรียมควำมพร้อม (Pre implement Processing) ถือเป็นกระบวนกำรเริ่มต้น หรือเรียกว่ำกระบวนกำรต้นน้ ำของกำรบริหำรจัดกำรระบบ เป็นกระบวนกำรที่ท ำให้ระบบที่มีอยู่สำมำรถน ำมำใช้ ได้ถูกต้องตำมควำมต้องกำรของระบบ (System Requirement) และมีประสิทธิภำพสูงสุด ประกอบด้วย กำร เตรียมควำมพร้อมชุดโปรแกรมและโครงสร้ำงฐำนข้อมูล กำรเตรียมควำมพร้อมเครื่องแม่ข่ำย (Server) กำรติดตั้ง ระบบ (System Installation) และกำรก ำหนดค่ำพื้นฐำนระบบ (System Configuration) ส่วนที่2 คือ กระบวนกำรใช้งำนระบบและแนะน ำกำรใช้งำน (On Implement Processing & Introduce) นับได้ว่ำเป็น กระบวนกำรกลำงน้ ำของระบบที่ผู้จัดกำรระบบ (Administrator) เจ้ำหน้ำที่วิจัย (Staff) และนักวิจัย กระบวนกำร เตรียมควำมพร้อมระบบ Pre-Implement Processing กระบวนกำรใช้งำนระบบ และแนะน ำกำรใช้งำน On-Implement Processing & Introduce กระบวนกำรรักษำข้อมูลและ น ำข้อมูลกลับมำใช้ใหม่ Post-Implement Processing


5 (Researcher) น ำระบบไปใช้งำนเพื่อเป็นเครื่องมือในกำรปฏิบัติงำนส ำหรับบริหำรจัดกำรข้อมูลงำนวิจัยของ มหำวิทยำลัยฯ หน่วยงำนและตัวของนักวิจัยเอง ถือเป็นกระบวนกำรใช้งำนที่เกิดขึ้นอย่ำงต่อเนื่องและจะเกิด ปัญหำควำมไม่เข้ำใจกำรใช้งำนระบบได้ตลอดเวลำ เช่น เจ้ำหน้ำที่วิจัย (Staff) หรือนักวิจัย (Researcher) ไม่ เข้ำใจวิธีกำรบริหำรจัดกำรข้อมูลนักวิจัยและสมำชิก หรือ ไม่เข้ำใจวิธีกำรบริหำรจัดกำรข้อมูลงำนวิจัยจำกแหล่ง ทุนวิจัย หรือ กำรบริหำรจัดกำรข้อมูลกำรเผยแพร่ผลงำนวิจัยในวำรสำรเชิงวิชำกำร หรือ กำรบริหำรจัดกำรข้อมูล กำรเผยแพร่ผลงำนวิจัยในเวทีกำรประชุมวิชำกำร หรือ กำรบริหำรจัดกำรข้อมูลงำนวิจัยที่ก่อให้เกิดทรัพย์สินทำง ปัญญำ (Intellectual Property) หรือ กำรบริหำรจัดกำรข้อมูลกำรผลิตหนังสือ/ต ำรำ (Book) และส่วนที่3 คือ กระบวนกำรรักษำข้อมูลและน ำข้อมูลกลับมำใช้ใหม่ (Post Implement Processing) ถือเป็นกระบวนกำรปลำย น้ ำของกำรจัดกำรระบบ เพื่อบ ำรุงรักษำระบบให้สำมำรถใช้งำนได้อย่ำงถูกต้อง ลดข้อผิดพลำดกำรท ำงำนของ ระบบส่งผลให้ระบบมีควำมน่ำเชื่อถือ และน ำระบบกลับมำใช้ใหม่หำกเกิดควำมเสียหำยแก่ข้อมูลและระบบอย่ำง ร้ำยแรง โดยผู้จัดกำรระบบ (Administrator) จะต้องด ำเนินกำรบ ำรุงรักษำระบบและรีบด ำเนินกำรในกำรน ำ ข้อมูลและระบบสำรสนเทศงำนวิจัยกลับมำใช้ใหม่ให้ทันเวลำและข้อมูลมีควำมเป็นปัจจุบันมำกที่สุด ประกอบด้วย กำรปรับปรุงค่ำระบบให้ถูกต้อง กำรรับข้อเสนอแนะเพื่อกำรพัฒนำระบบใหม่ กำรส ำรองระบบและฐำนข้อมูล งำนวิจัย (Backup) กำรประเมินผลควำมพึงพอใจระบบและกำรน ำข้อมูลและระบบกลับมำใช้ใหม่ (Restore) ซึ่ง แต่ละกระบวนกำรมีรำยละเอียดที่จ ำเป็นต้องปฏิบัติดังนี้ 2.1.1 กระบวนการเตรียมความพร้อม (Pre implement Processing) ประกอบด้วย เป็นกระบวนในกำรเตรียมควำมพร้อมให้กับระบบท ำให้ระบบสำมำรถใช้งำนได้อย่ำงถูกต้องและมีคุณภำพ ทั้งในส่วนของอำร์ดแวร์ (Hardware) และซอฟต์แวร์ (Software) ดังนี้ คือ 1. การเตรียมความพร้อมชุดโปรแกรมและโครงสร้างฐานข้อมูล เป็นกระบวนกำรจัดหำหรือพัฒนำชุดโปรแกรมเพื่อน ำไปติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ ข่ำย ซึ่งประกอบไปด้วย 2 ส่วนหลักคือ 1) ไฟล์ชุดโปรแกรม และ 2) ไฟล์โครงสร้ำงระบบฐำนข้อมูล 2. การเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแม่ข่าย (Server) โดยท ำหนังสือรำชกำรและประสำนงำนร้องขอไปยังส ำนักวิทยบริกำรและเทคโนโลยี สำรสนเทศเพื่อให้ด ำเนินกำร ดังนี้ 2.1 จัดเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ำย (Server) 2.2 ก ำหนด URL ให้กับระบบเพื่อกำรใช้งำนผ่ำนระบบ Internet 2.3 จัดเตรียมพื้นที่ส ำหรับติดตั้งและจัดเก็บฐำนข้อมูล (Database Server) 2.4 จัดเตรียมพื้นที่ติดตั้งไฟล์ระบบ (Web Server) 3. ตรวจสอบคุณสมบัติเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (System Requirement) กำรตรวจสอบคุณสมบัติพื้นฐำนของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ำยให้ตรงกับควำมต้องกำร ของระบบโดยใช้ชุดค ำสั่งตรวจสอบคุณสมบัติพื้นฐำนของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ำยให้สอดคล้องกับควำม ต้องกำรพื้นฐำนของระบบสำรสนเทศงำนวิจัย มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัย


6 4. การติดตั้งระบบ (System Installation) เป็นกระบวนกำรน ำ (Upload) ไฟล์ระบบและฐำนข้อมูล (Database) ไปติดตั้งบน พื้นที่ของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ำยที่ได้เตรียมเอำไว้ ตำมข้อ 2.3 และ 2.4 ในข้อ 2. เรื่องกำรเตรียม เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแม่ข่ำย (Server) เรียบร้อยแล้ว 5. การก าหนดค่าพื้นฐานระบบ (System Configuration) เป็นกระบวนกำรก ำหนดองค์ประกอบพื้นฐำนให้กับระบบเพื่อให้ระบบมีควำมพร้อมและ สำมำรถน ำไปใช้งำนได้ ประกอบด้วย 5.1 ข้อมูลสถำนะส่วนบุคคลของนักวิจัย 5.1.1 ประเภทค ำน ำหน้ำชื่อ 5.1.2 ประเภทต ำแหน่งทำงวิชำกำร 5.1.3 ประเภทต ำแหน่งในงำนวิจัย 5.1.4 ก ำหนดสำขำควำมเชียวชำญ 5.2 ข้อมูลองค์ประกอบของมหำวิทยำลัย 5.2.1 ก ำหนดชื่อมหำวิทยำลัย/หน่วยงำน 5.2.2 ก ำหนดพื้นที่แบ่งตำมวิทยำเขต 5.3.3 ก ำหนดชื่อคณะ 5.3.4 ก ำหนดชื่อสำขำ 5.3 ข้อมูลองค์กรภำยนอก 5.3.1 ก ำหนดประเภทหน่วยงำนภำยนอก 5.4 ข้อมูลแหล่งทุน 5.4.1 ก ำหนดชื่อแหล่งทุน 5.5 ข้อมูลบทควำม 5.5.1 ระดับบทควำม 5.5.2 ข้อมูลวำรสำร 5.5.3 ข้อมูลระดับฐำนข้อมูลวำรสำร 5.5.4 ข้อมูลกำรประชุมวิชำกำร 5.6 ข้อมูลสิทธิบัตร 5.6.1 ก ำหนดประเภทสิทธิบัตร 5.6.2 ก ำหนดหน่วยงำนที่ยื่นขอ 5.7 ข้อมูลระดับกำรศึกษำ 5.7.1 ก ำหนดระดับกำรศึกษำ 5.7.2 ก ำหนดสำขำวิชำ 5.8 ข้อมูลสถำนะโครงกำรวิจัย


7 2.1.2 กระบวนการใช้งานระบบและแนะน าการใช้งาน (On Implement Processing & Introduce) เป็นกระบวนกำรที่ผู้จัดกำรระบบ (Administrator) น ำระบบที่ผ่ำนกระบวนกำรเตรียมควำมพร้อมระบบ (Pre-implement Processing) เรียบร้อยแล้วในกระบวนกำรที่ 2.1.1 มำใช้งำนเพื่อบริหำรจัดกำรข้อมูลงำนวิจัย โดยผู้จัดกำรระบบ (Administrator) สำมำรถบริหำรจัดกำรข้อมูลและให้ค ำแนะน ำกำรใช้งำนให้กับทุกหน่วยงำน ได้ ในส่วนเจ้ำหน้ำที่วิจัย (Staff) สำมำรถสำมำรถบริหำรจัดกำรข้อมูลวิจัยเฉพำะหน่วยงำนที่ตนเองสังกัดอยู่เท่ำนั้น และส่วนนักวิจัย (Researcher) สำมำรถบริหำรจัดกำรข้อมูลเฉพำะของตนเองได้เท่ำนั้น ซึ่งส่วน (Fuction) ส ำหรับกำรบริหำรจัดกำรมีดังต่อไปนี้ 1. การบริหารจัดการข้อมูลนักวิจัยและสมาชิก เป็นเริ่มต้นก่อนกำรเข้ำใช้งำนระบบของผู้ใช้ระบบ (User) ทุกกลุ่มยกเว้นผู้จัดกำรระบบ (Administrator) โดยผู้ที่สำมำรถเข้ำใช้งำนระบบได้นั้นจ ำเป็นจะต้องสมัครเข้ำใช้งำนระบบและได้รับ อนุญำตให้เข้ำใช้งำนระบบก่อนจึงสำมำรถเข้ำใช้งำนระบบได้ ส ำหรับกำรบริหำรจัดกำรข้อมูลสมำชิกใน ระบบ ประกอบด้วย กำรสร้ำงกลุ่มผู้ใช้งำนเพื่อจ ำแนกกลุ่มผู้ใช้งำนระบบ กำรเพิ่มข้อมูล กำรน ำออก กำร แก้ไข กำรให้สิทธิและยกเลิกสิทธิกำรใช้งำน 2. การบริหารจัดการข้อมูลงานวิจัยจากแหล่งทุนต่างๆ เป็นกำรบริหำรจัดกำรข้อมูลเฉพำะของรำยละเอียดโครงกำรวิจัยในแต่ละโครงกำรวิจัย ประกอบไปด้วย กำรเพิ่ม กำรแก้ไข กำรปรับปรุง ข้อมูลงำนวิจัยของทุกๆแหล่งทุน หรือ แก้ไขปัญหำและ ให้ค ำแนะน ำกำรใช้งำนแก่กลุ่มผู้ใช้บริกำรในแต่ละกลุ่มตำมข้อ 2.1.2 3. การบริหารจัดการข้อมูลการเผยแพร่ผลงานวิจัยในวารสารเชิงวิชาการ เป็นกระบวนกำรบริหำรจัดกำรข้อมูลกำรเผยแพร่ผลงำนวิจัยที่สืบเนื่องมำก จำกข้อมูลโครงกำรวิจัยในระบบในวำรสำรเชิงวิชำกำร ประกอบไปด้วย กำรเพิ่ม กำรแก้ไข กำรปรับปรุง ข้อมูลงำนวิจัยของทุกๆแหล่งทุน หรือ แก้ไขปัญหำและให้ค ำแนะน ำกำรใช้งำนแก่กลุ่มผู้ใช้บริกำรในแต่ละ กลุ่มตำมข้อ 2.1.2 4. การบริหารจัดการข้อมูลการเผยแพร่ผลงานวิจัยในเวทีการประชุมวิชาการ เป็นกำรบริหำรจัดกำรข้อมูลกำรเผยแพร่ผลงำนวิจัยในเวทีกำรประชุมวิชำกำรที่ สืบเนื่องมำกจำกข้อมูลโครงกำรวิจัยในระบบในวำรสำรเชิงวิชำกำร ประกอบไปด้วย กำรเพิ่ม กำรแก้ไข กำรปรับปรุง ข้อมูลงำนวิจัยของทุกๆแหล่งทุน หรือ แก้ไขปัญหำและให้ค ำแนะน ำกำรใช้งำนแก่กลุ่ม ผู้ใช้บริกำรในแต่ละกลุ่มตำมข้อ 2.1.2 5. การบริหารจัดการข้อมูลงานวิจัยที่ก่อให้เกิดทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property) เป็นกำรบริหำรจัดกำรข้อมูลข้อมูลงำนวิจัยที่ก่อให้เกิดทรัพย์สินทำงปัญญำ (Intellectual Property) ที่สืบเนื่องมำกจำกข้อมูลโครงกำรวิจัย ประกอบไปด้วย กำรเพิ่ม กำรแก้ไข กำรปรับปรุง ข้อมูล งำนวิจัยของทุกๆแหล่งทุน หรือ แก้ไขปัญหำและให้ค ำแนะน ำกำรใช้งำนแก่กลุ่มผู้ใช้บริกำรในแต่ละกลุ่ม ตำมข้อ 2.1.2


8 6. การบริหารจัดการข้อมูลการผลิตหนังสือ/ต ารา (Book) เป็นกำรบริหำรจัดกำรข้อมูลข้อมูลกำรผลิตหนังสือ/ต ำรำ (Book) ประกอบไปด้วย กำร เพิ่ม กำรแก้ไข กำรปรับปรุง ข้อมูลงำนวิจัยของทุกๆแหล่งทุน หรือ แก้ไขปัญหำและให้ค ำแนะน ำกำรใช้ งำนแก่กลุ่มผู้ใช้บริกำรในแต่ละกลุ่มตำมข้อ 2.1.2 2.1.3 กระบวนกา รรักษาข้อมูลและน าข้อมูลกลับมาใช้ใหม่ (Post Implement Processing) เป็นกระบวนกำรเฉพำะของผู้จัดกำรระบบ (Administrator) จะต้องตระหนักอยู่เสมอว่ำระบบ อำจจะเกิดข้อผิดพลำด ไม่ตรงกับควำมต้องกำรใช้งำน กระบวนกำรบ ำรุงรักษำระบบท ำให้ลดข้อผิดพลำด ของระบบส่งผลให้ระบบมีควำมน่ำเชื่อถือ และจ ำเป็นต้องมีกำรส ำรองระบบและฐำนข้อมูลไว้ให้เป็น ปัจจุบัน เมื่อระบบและข้อมูลเกิดควำมเสียหำยจนไม่สำมำรถให้บริกำรระบบแก่ผู้ใช้ได้กำรน ำระบบและ ฐำนข้อมูลกลับมำใช้ใหม่ได้ทันเวลำและข้อมูลมีควำมเป็นปัจจุบันมำกที่สุดเป็นเรื่องที่มีควำมส ำคัญอย่ำง ยิ่งของกระบวนกำรรักษำข้อมูลและน ำข้อมูลกลับมำใช้ใหม่ (Post Implement Processing) เข่นกัน ส ำหรับขั้นตอนกำรรักษำข้อมูลและน ำข้อมูลกลับมำใช้ใหม่ (Post Implement Processing) มีดังนี้ 1. การปรับปรุงค่าระบบ เป็นกำรปรับปรุงค่ำระบบในส่วนกำรก ำหนดค่ำพื้นฐำนระบบ (System Configuration) หรือรูปแบบ (Template) ของระบบให้ตรงกับควำมต้องกำรใช้งำนโดยผู้จัดกำรระบบ ได้พิจำรณำจำกเอกสำรส ำคัญที่เกี่ยวข้องกับกำรปฏิบัติงำนวิจัยทั้งของประเทศและเอกสำรของ มหำวิทยำลัยฯในแต่ละปีงบประมำณ เช่น เอกสำรเรื่องระเบียบงำนวิจัยจำกแหล่งทุนต่ำงๆ หรือ ระเบียบ งำนวิจัยของมหำวิทยำลัยฯ เป็นต้น หรือปรับปรุงตำมข้อเสนอแนะจำกหน่วยงำนต่ำงๆที่ไม่ขัดกับระเบียบ วิจัยระดับชำติและของมหำวิทยำลัยฯ 2. การรับข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาระบบใหม่ เป็นกำรสร้ำงช่องทำงให้ผู้ใช้งำนที่มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) กับ ระบบจำกผู้ใช้สองกลุ่ม คือกลุ่มเจ้ำหน้ำที่วิจัย (Staff) และกลุ่มนักวิจัย (Researcher) ได้ให้ข้อเสนอแนะ และแสดงควำมคิดเห็นเกี่ยวกับควำมต้องกำรใช้งำนระบบ เพื่อจัดเก็บ รวบรวมและวิเครำะห์ควำม เหมำะสม ควำมเป็นไปได้ในกำรเตรียมควำมพร้อมเพื่อพัฒนำระบบให้ตรงกับควำมต้องกำรใช้งำนของ กลุ่มผู้ใช้ต่อไป 3. การส ารองระบบและฐานข้อมูลงานวิจัย เป็นกำรส ำรองไฟล์ระบบและระบบฐำนข้อมูลทุกๆสัปดำห์ละ 1 ครั้ง หรือตำม ตำรำงเวลำที่ก ำหนด เพื่อแก้ปัญหำควำมเสียงที่อำจจะเกิดขึ้นจำกระบบได้รับควำมเสียหำยและไม่ สำมำรถใช้งำนได้ ซึ่งระบบและฐำนข้อมูลที่ส ำรองไว้ล่ำสุดจะถูกน ำไปใช้ในขั้นตอนกำรน ำข้อมูลและระบบ กลับมำใช้ใหม่


9 4. การประเมินผลความพึงพอใจระบบ กำรประเมินควำมพึงพอใจต่อระบบมีกำรด ำเนินกำรปีงบประมำณละ 2 ครั้งเพื่อกำร พัฒนำปรับปรุงประสิทธิภำพและรูปแบบกำรใช้งำนของระบบ ท ำให้ระบบมีประสิทธิภำพตรงกับควำม ต้องกำรของผู้ใช้ระบบสำรสนเทศ 5. การน าข้อมูลและระบบกลับมาใช่ใหม่ เป็นกระบวนกำรน ำไฟล์ระบบและฐำนข้อมูลที่ได้ส ำรองไว้ในข้อ 3. มำใช้ในกำรติดตั้ง เพื่อกู้คืนกำรใช้งำนระบบ เมื่อระบบมีควำมเสียหำยอย่ำงร้ำยแรงจนไม่สำมำรถท ำงำนได้ที่ไม่ได้เป็นสำเหตุ มำจำกปัญหำของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ำย (Server) 2.2 ลักษณะงานที่ปฏิบัติงานประจ าสถาบันวิจัยและพัฒนา บทบำทหน้ำที่ควำมรับผิดชอบต ำแหน่งนักวิชำกำรคอมพิวเตอร์ ผู้ปฏิบัติกำร ประจ ำสถำบันวิจัยและ พัฒนำ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัย ในฐำนะผู้ปฏิบัติงำนตำมภำระงำนที่ได้รับมอบหมำยจำก หน่วยงำน จ ำเป็นต้องใช้ควำมรู้ ควำมสำมำรถ ควำมช ำนำญงำน ทักษะและประสบกำรณ์สูงในปฏิบัติงำนด้ำนกำร บริกำรและกำรบริหำรจัดกำรที่ต้องอำศัยกำรศึกษำ ค้นคว้ำ วิเครำะห์ สังเครำะห์ อย่ำงเป็นระบบและมี ประสิทธิภำพและพัฒนำกระบวนกำร วิธีกำรปฏิบัติงำนเพื่อเป็นฝ่ำยสนับสนุนพันธกิจด้ำนงำนวิจัยและงำนอื่นๆ ของมหำวิทยำลัย และแก้ไขปัญหำงำนที่รับผิดชอบให้ส ำเร็จตำมวัตถุประสงค์ โดยมีหน้ำที่และลักษณะงำนที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ 1) ด้านการปฏิบัติการ 1.1 งานก ากับ ดูแล ออกแบบและพัฒนา ปรับปรุงเว็บไซต์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย -พัฒนำและปรับปรุงเว็บไซต์ของหน่วยงำนให้เป็นไปตำมข้อก ำหนดและสอดคล้องกับแนวทำงที่ ผู้บริหำรได้วำงแผนหรือมอบหมำย 1.2 งานออกแบบและพัฒนา ปรับปรุงเว็บไซต์ โครงการพิเศษต่างๆ ที่เชื่อมโยงกับกับงานวิจัยหรือ งานของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย -พัฒนำและปรับปรุงเว็บไซต์โครงกำรพิเศษต่ำงๆที่หน่วยงำนได้รับมอบหมำยจำกมหำวิทยำลัยฯ เช่น โครงกำรประชุมวิชำกำรมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคล โครงกำรประกวดสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรม มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัย เป็นต้น 1.3 งานติดตั้ง ก ากับ ดูแล ออกแบบและพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านการวิจัย -พัฒนำระบบฐำนข้อมูลสำรสนเทศด้ำนกำรวิจัยของมหำวิทยำลัยฯ เพื่อน ำมำประยุกต์กำรใช้งำน อ ำนวยควำมสะดวกในกำรปฏิบัติงำนของเจ้ำหน้ำที่ โดยท ำกำรออกแบบระบบงำน ออกแบบฐำนข้อมูล พร้อม ก ำหนดขอบเขตงำน ระยะเวลำกำรปฏิบัติงำน จำกนั้นเขียนชุดค ำสั่ง ค ำสั่งประยุกต์ที่มีกำรค ำนวณทำงคณิตศำสตร์ รวมถึงกำรติดต่อฐำนข้อมูล MySQL ด้วยโปรแกรม PHP ให้สำมำรถใช้งำนได้ตำมขอบเขตที่ก ำหนดไว้


10 -จัดท ำคู่มือกำรใช้งำนระบบฐำนข้อมูลให้แก่เจ้ำหน้ำที่ -ฝึกอบรมและให้ค ำแนะกำรใช้งำนโปรแกรมระบบฐำนข้อมูลด้ำนกำรวิจัยแก่ เจ้ำหน้ำที่ประจ ำ ภำยในสถำบันวิจัยและพัฒนำ เจ้ำหน้ำที่ประสำนงำนวิจัยระดับคณะ/หน่วยงำน นักวิจัย อำจำรย์และบุคลำกรด้ำน กำรวิจัยของมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัย 1.4 งานดูแล ออกแบบและพัฒนาระบบฐานข้อมูลวารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชัย -พัฒนำระบบฐำนข้อมูลงำนวำรสำรวิจัยมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัย เพื่อน ำมำ ประยุกต์กำรใช้งำนด้ำนวำรสำรวิจัยและอ ำนวยควำมสะดวกในกำรปฏิบัติงำนของเจ้ำหน้ำที่กองวำรสำรวิจัย มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัย โดยท ำกำรออกแบบระบบงำน ออกแบบฐำนข้อมูลให้สำมำรถใช้งำนได้ ตำมขอบเขตที่ก ำหนดไว้ -ให้ค ำแนะน ำและแก้ไขปัญหำกำรใช้งำนโปรแกรมระบบฐำนข้อมูลวำรสำรวิจัย แก่ เจ้ำหน้ำที่กอง บรรณำธิกำร วำรสำรวิจัยมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัย 1.5 ส ารองข้อมูลระบบฐานข้อมูล (Backup Database) จากเครื่องแม่ข่าย (Server) -ส ำรอง (Backup) ระบบฐำนข้อมูลของสถำบันวิจัยและพัฒนำจำกเครื่องแม่ข่ำยของ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัย เพื่อกำรกู้คืนระบบและน ำข้อมูลกลับมำเป็นปัจจุบัน เมื่อระบบและข้อมูล เกิดควำมเสียหำยจำกเหตุกำรณ์ที่เกิดจำกควำมเสี่ยง เช่น กำรโจมตีเครื่องแม่ข่ำยจำกแฮ็กเกอร์ หรือ เครื่องแม่ข่ำย โดนไวรัส เป็นต้น ประกอบด้วย 1. ฐำนข้อมูลเว็บไซต์และฐำนข้อมูล เว็บของสถำบันวิจัยและพัฒนำ 2. ฐำนข้อมูลเว็บไซต์และฐำนข้อมูลระบบสำรสนเทศเพื่อกำรบริหำรงำนวิจัย มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำช มงคลศรีวิชัย 3. ฐำนข้อมูลเว็บไซต์และระบบฐำนข้อมูล วำรสำรวิจัยมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัย 4. ฐำนข้อมูลเว็บไซต์และระบบฐำนข้อมูล เว็บงำนวิจัยเพื่อพัฒนำเชิงพื้นที่ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคล ศรีวิชัย 5. ฐำนข้อมูลเว็บไซต์และระบบฐำนข้อมูล เว็บโครงกำรอนุรักษ์พันธุกรรมพืช มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำช มงคลศรีวิชัย 1.6 ติดตั้ง บ ารุงรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และเครือข่ายภายใน (Local Area Network : LAN) สถาบันวิจัยและพัฒนา -ก ำหนดคุณลักษณะ (Specification) พื้นฐำนอุปกรณ์ด้ำนคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์พ่วงต่อที่ เกี่ยวข้อง เพื่อกำรจัดซื้อ-จัดจ้ำง ของสถำบันวิจัยและพัฒนำให้ถูกต้องและเป็นไปตำมระเบียบงำนพัสดุของ


11 มหำวิทยำลัยฯ และสอดคล่องกับเกณฑ์มำตรฐำนและรำคำกลำงของกระทรวงเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำร สื่อสำร -ตรวจเช็คและตรวจสอบคุณสมบัติด้ำนเทคนิคตำมลักษณะ (Specification) ของอุปกรณ์ด้ำน คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงให้เป็นไปตำมคุณลักษณะพื้นฐำนอุปกรณ์ด้ำนคอมพิวเตอร์ที่ได้จัดซื้อ-จัดจ้ำง ตำม เกณฑ์รำคำกลำงและคุณลักษณะพื้นฐำนครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ที่ถูกต้องตำมเกณฑ์มำตรฐำนและรำคำกลำงของ กระทรวงเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร -ติดตั้งชุดค ำสั่งระบบปฏิบัติกำรและและชุดค ำสั่งส ำเร็จรูปส ำหรับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ของ สถำบันวิจัยและพัฒนำ ให้ถูกต้องและไม่ละเมิดลิขสิทธิ์กำรใช้งำนของแต่ละชุดค ำสั่งเพื่อให้กำรด ำเนินงำนด้ำน เทคโนโลยีสำรสนเทศของสถำบันวิจัยและพัฒนำเป็นไปอย่ำงรำบรื่นและสอดคล้องกับควำมต้องกำร -ติดตั้งอุปกรณ์เครือข่ำยและก ำหนดค่ำกำรเชื่อมต่อระบบเครือข่ำยภำยในสถำบันวิจัยและพัฒนำ เพื่อกำรเชื่อมต่อเครือข่ำยภำยในอย่ำงถูกต้องตำมหลักกำรของรูปแบบกำรเชื่อมต่อเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ -ซ่อมบ ำรุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงภำยในสถำบันวิจัยและพัฒนำ ให้สำมำรถใช้ งำนได้เป็นปกติตำมควำมสำมำรถของอุปกรณ์อย่ำงเต็มประสิทธิภำพ 1.8 ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายของหน่วยงาน 2) ด้านการวางแผน ร่วมประชุมวำงแผนกำรปฏิบัติงำนกับกลุ่มงำนต่ำงๆภำยในสถำบันวิจัยและพัฒนำโดยแสดงควำมคิดเห็น เสนอแนวทำงในกำรพัฒนำระบบงำนด้ำนกำรวิจัย โครงกำรด้ำนกำรวิจัยต่ำง ๆ โดยให้สอดคล้องกับแผนพัฒนำ ของมหำวิทยำลัย วำงแผนกำรปฏิบัติงำนในหน้ำที่ที่ได้รับมอบหมำยจำกผู้บริหำรเพื่อก ำหนดกรอบ ขอบเขต เป้ำหมำย ของงำน โดย ก ำหนดขั้นตอนหรือกระบวนกำรหลัก ๆ ไว้ให้ชัดเจนจำกนั้น ก ำหนดกิจกรรมย่อย ๆ ของแต่ละขั้นตอนว่ำมี อะไรบ้ำง เพื่อป้องกันปัญหำในกำรน ำกิจกรรมไปปฏิบัติ และระบุแนวทำงในกำรปฏิบัติตำมกิจกรรมนั้น ๆพร้อม ระบุวันเวลำและสถำนที่ ทั้งนี้เพื่อให้สำมำรถดูภำพรวมของแผนปฏิบัติได้ว่ำมีกิจกรรมไหนบ้ำงที่สำมำรถท ำไป พร้อมกันตำมระยะเวลำที่ก ำหนด 3) ด้านการประสานงาน ประสำนงำนกับคณำจำรย์ นักวิจัย เจ้ำหน้ำที่ประสำนงำนวิจัยระดับคณะและเพื่อนร่วมงำนทั้งบุคคล ภำยในและภำยนอก ในกำรปฏิบัติงำนโครงกำรต่ำงๆหรืองำนที่ได้รับมอบหมำยจำกผู้บริหำรเพื่อให้งำนบรรลุ เป้ำหมำยที่วำงไว้ตำมภำรกิจต่ำง ๆ โดยกำรติดต่อผ่ำนทำงโทรศัพท์หรือนัดประชุมเพื่อท ำกำรชี้แจงถึงแนวปฏิบัติ หรือแนวระเบียบในกำรปฏิบัติ ให้กับนักวิจัย เจ้ำหน้ำที่ประสำนงำนวิจัยระดับคณะและเพื่อนร่วมงำนได้เข้ำใจ งำน ที่ปฏิบัติร่วมกันจะได้เสร็จตำมระยะเวลำที่ก ำหนดและมีประสิทธิภำพ


12 4) ด้านการบริการ -ให้ค ำปรึกษำกำรใช้งำนด้ำนคอมพิวเตอร์แก่เจ้ำหน้ำและผู้บริหำรประจ ำสถำบันวิจัยและพัฒนำเพื่อให้ กำรด ำเนินงำนเกิดควำมสะดวกและรวดเร็วอย่ำงมีประสิทธิภำพ -ให้ค ำปรึกษำและแนะน ำกำรใช้งำนเว็บไซต์เพื่อกำรเพิ่ม แก้ไข ข่ำวสำรในหน้ำเว็บไซต์ของสถำบันวิจัย และพัฒนำแก่เจ้ำหน้ำที่ประจ ำสถำบันวิจัยและพัฒนำ -ให้ค ำปรึกษำหรือแนะน ำวิธีกำรใช้งำนระบบสำรสนเทศเพื่อกำรบริหำรงำนวิจัย มหำวิทยำลัยเทคโนโลยี รำชมงคลศรีวิชัยแก่ 1) เจ้ำหน้ำที่ประจ ำสถำบันวิจัยและพัฒนำ 2) เจ้ำหน้ำที่ประสำนวิจัยประจ ำคณะต่ำงๆ -ให้ค ำปรึกษำและแนะน ำกำรใช้งำนระบบวำรสำรวิจัย มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัย โดยแบ่ง ออกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ 1) กลุ่มผู้ที่ต้องกำรส่งบทควำม (Author) ทั้งบุคคลภำยในมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรี วิชัยและบุคคลภำยนอก 2) กลุ่มกองบรรณำธิกำรวำรสำรวิจัย มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัย ประกอบด้วย เจ้ำหน้ำที่ บรรณำธิกำร ผู้ช่วยบรรณำธิกำร ผู้ทรงคุณวุฒิพิจำรณำบทควำมวิจัยทั้งภำยในและภำยนอก จำกภำระหน้ำที่ที่ได้รับมอบหมำยดังกล่ำวข้ำงต้น ผู้เขียนได้เลือกเอำงำนด้ำนกำรปฏิบัติกำร ข้อ 1.3 งำน ติดตั้ง ก ำกับ ดูแล ออกแบบและพัฒนำระบบฐำนข้อมูลด้ำนกำรวิจัย และ ข้อ 1.5 ส ำรองข้อมูลระบบฐำนข้อมูล (Backup Database) จำกเครื่องแม่ข่ำย (Server) มำจัดท ำเป็นคู่มือกำรปฏิบัติงำน โดยแสดงขั้นตอนกำร ด ำเนินงำนโดยรวมดังนี้


13 2.3 โครงสร้างการบริหารจัดการ สถำบันวิจัยและพัฒนำ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัย ตั้งอยู่ที่อำคำรเฉลิมพระเกียรติฯ 80 พรรษำ เลขที่ 179 หมู่ 3 ต ำบลไม้ฝำด อ ำเภอสิเกำ จังหวัดตรัง เริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2549 ตำมกฎกระทรวง ศึกษำธิกำร กำรจัดตั้งส่วนรำชกำรภำยในมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัย พ.ศ. 2548 ซึงได้ประกำศใช้ใน รำชกิจจำนุเบกษำ เมื่อวันที่ 18 มกรำคม พ.ศ. 2548 มีผลให้สถำบันเทคโนโลยีรำชมงคลเดิม ตำมพระรำชบัญญัติ สถำบันเทคโนโลยีรำชมงคล พ.ศ. 2518 ปรับเปลี่ยนเป็นมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลทั้งเก้ำแห่ง และได้มีกำร แบ่งส่วนรำชกำรดังนี้(รำยงำนกำรประเมินตนเอง ประจ ำปีกำรศึกษำ 2563 สถำบันวิจัยและพัฒนำ มหำวิทยำลัย เทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัย. 2564, หน้ำ 3) ศำสตรำจำรย์ ดร.สุวัจน์ ธัญรส พ.ศ. 2549 -2553 ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร.ประเสริฐ ทองหนูนุ้ย พ.ศ. 2553 - 2557 ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร.อภิรักษ์ สงรักษ์ พ.ศ. 2557 - 2562 ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ประภำศรี ศรีชัย พ.ศ. 2562 – ปัจจุบัน วิสัยทัศน์ (Vision) มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัยเป็นแหล่งพัฒนำนักวิจัยและสร้ำงงำนวิจัยที่มีศักยภำพเพื่อพัฒนำ องค์ควำมรู้ นำไปสู่กำรใช้ประโยชน์ในกำรพัฒนำท้องถิ่นและประเทศ พันธกิจ (Mission) พัฒนำศักยภำพนักวิจัยและสร้ำงงำนวิจัยที่สอดคล้องกับยุทธศำสตร์กำรวิจัยโดยมุ่งเน้นกำรพัฒนำท้องถิ่น และประเทศ เป้าประสงค์ (Goal) พัฒนำนักวิจัยและสร้ำงงำนวิจัยที่ตอบสนองต่อควำมต้องกำรของท้องถิ่นและประเทศตลอดจนสร้ำงองค์ ควำมรู้ใหม่ ทิศทำงกำรวิจัย 2.3.1 โครงสร้างสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย โครงสร้ำงสถำบันวิจัยและพัฒนำ ตำมประกำศมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัย เรื่อง กำรแบ่งส่วนรำชกำร และกำรแบ่งส่วนงำนภำยในเป็นงำนและสำขำวิชำ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัย 2563 (มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัย, 2563) แบ่งออกเป็น 3 ฝ่ำยงำน ประกอบด้วย ฝ่ำยงำนบริหำรงำน ทั่วไป ฝ่ำยงำนวิชำกำรและฝ่ำยงำนถ่ำยทอดเทคโนโลยีและสำรสนเทศกำรวิจัย ตำมภำพประกอบที่ 2.2


14 ภำพที่ 2.2 โครงสร้ำงองค์กร (Organization Chart) ฝ่ายบริหารงานทั่วไป ผู้อ านวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา คณะกรรมกำรส่งเสริมกำรวิจัยฯ คณะกรรมกำรประจ ำสถำบัน ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีสารสนเทศการวิจัย งานนโยบายและแผน งานประกันคุณภาพ งานงบประมาณและการเงิน งานพัสดุ งานสารบรรณ งานบริหารทุนวิจัย - ทุนวิจัยภายใน - ทุนวิจัยภายนอก งานมาตรฐานการวิจัย - มาตรฐานการวิจัยในสัตว์ - มาตรฐานการวิจัยด้านความ ปลอดภัยทางชีวภาพ - มาตรฐานการวิจัยในมนุษย์ - มาตรฐานห้องปฏิบัติการ งานโครงการฝึกอบรมพัฒนา นักวิจัย งานบุคลากร งานวารสารวิจัย มทร.ศรีวิชัย งานติดตามผลการด าเนินการ วิจัยและประเมินผลการวิจัย โครงการพิเศษ งานระบบสารสนเทศหน่วยงาน - ระบบเว็บไซต์ - ระบบสารสนเทศงานวิจัย - ระบบวารสารวิจัย มทร.ศรีวิชัย งานประชาสัมพันธ์ งานบริหารผลผลิตจากงานวิจัย งานเผยแพร่ผลผลิตจากงานวิจัย งานศูนย์ประสานงานโครงการ อนุรักพันธุกรรมพืชอัน เนื่องมาจากพระราชด าริฯ งานบริหารงบประมาณส่งเสริม และพัฒนางานวิจัย


15 2.3.2 โครงสร้างการบริหารและการปฏิบัติงาน (Administrator and Activity Chart) ตำม ภำพประกอบที่ 2.3 ภำพที่ 2.3 โครงสร้ำงกำรบริหำรและกำรปฏิบัติงำน (Administrator and Activity Chart) ดร.สุดคนึง ณ ระนอง รองผู้อ านวยการฝ่ายบริหารงานทั่วไป ผศ.ประภาศรี ศรีชัย ผู้อ านวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา คณะกรรมกำรส่งเสริมกำรวิจัยฯ คณะกรรมกำรประจ ำสถำบัน รศ.ดร.ชุตินุช สุจริต รองผู้อ านวยการฝ่ายวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยี ดร.วิกิจ ผินรับ รองผู้อ านวยการฝ่ายสารสนเทศการวิจัย นายสุวรรณ พรมเขต เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป นางสาวกชธินันท์ ทองค า เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป นางสาวจริญาภรณ์ เพชรสามสี เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป นางสาวบุญบรรจง สายลาด เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป นางสาวเกศินี ใหมคง เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป นางสาวพนิดา ชูเวท เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป นายเชิด คงห้อย นักวิชาการคอมพิวเตอร์ นางสาวหทัยรัตน์ หนักแน่น เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป นายเอกพจน์ แก่นเมืองf เจ้าหน้าที่ประจ าโครงการ นางสาวภัสราวรรณ ศิริพันธ์ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป นางสาวอรวรรณ ชุ่มเขียว เจ้าหน้าที่ประจ าโครงการ


16 คณะผู้บริหารประจ าสถาบันวิจัยและพัฒนา ดร.สุดคนึง ณ ระนอง รองผู้อ ำนวยกำรฝ่ำย บริหำรงำนทั่วไป รองศำสตรำจำรย์ ดร.ชุตินุช สุจริต รองผู้อ ำนวยกำรฝ่ำยวิชำกำร ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ประภำศรี ศรีชัย ผู้อ ำนวยกำรสถำบันวิจัยและพัฒนำ ดร.วิกิจ ผินรับ รองผู้อ ำนวยกำรฝ่ำยสำรสนเทศ กำรวิจัยและถ่ำยทอดเทคโนโลยี


17 บุคลากรสายสนับสนุนประจ าสถาบันวิจัยและพัฒนา นำยสุวรรณ พรมเขต เจ้ำหน้ำที่บริหำรงำนทั่วไป นำยเชิด คงห้อย นักวิชำกำรคอมพิวเตอร์ นำงสำวบุญบรรจง สำยลำด เจ้ำหน้ำที่บริหำรงำนทั่วไป นำงสำวเกศินี ไหมคง เจ้ำหน้ำที่บริหำรงำนทั่วไป นำงสำวหทัยรัตน์ หนักแน่น เจ้ำหน้ำที่บริหำรงำนทั่วไป นำงสำวจริญำภรณ์ เพชรสำมสี เจ้ำหน้ำที่บริหำรงำนทั่วไป นำงสำวกชธินันท์ ทองค ำ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป ช านาญการ นำยเอกพจน์ แก่นเมือง เจ้ำหน้ำที่บริหำรงำนทั่วไป นำงสำวพนิดำ ชูเวท เจ้ำหน้ำที่บริหำรงำนทั่วไป


18 บทที่3 หลักเกณฑ์วิธีการปฏิบัติงานและเงื่อนไข ส ำหรับบทนี้จะอธิบำยในส่วนของแนวคิด ทฤษฎี หลักเกณฑ์กำรปฏิบัติงำนหรือมำตรฐำน กำรปฏิบัติงำน เงื่อนไข ข้อสังเกตหรือข้อควรระวังหรือสิ่งที่ควรค ำนึงและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ ผู้ปฏิบัติงำนสำมำรถปฏิบัติได้อย่ำงถูกต้องตำมหลักกำร รูปแบบและวิธีกำรและข้อบังคับที่เป็น มำตรฐำน ซึ่งประกอบไปด้วย 4 ส่วนหลัก คือ 1) กำรเตรียมควำมพร้อมให้กับระบบ ส่วนนี้จะอธิบำย ถึง หลักเกณฑ์วิธีกำรปฏิบัติงำนและเงื่อนไขที่จ ำเป็นส ำหรับกำรเตรียมควำมพร้อมให้กับระบบก่อน กำรใช้งำนระบบ ประกอบด้วย แนวคิด ทฤษฎี หลักเกณฑ์กำรติดตั้งระบบใหม่ กำรถ่ำยโอนข้อมูล (File Transfer Protocol) 2) กำรใช้งำนระบบ ส่วนนี้จะอธิบำยถึง หลักเกณฑ์วิธีกำรปฏิบัติงำนและ เงื่อนไขที่จ ำเป็นส ำหรับกำรใช้งำนระบบ ประกอบด้วย หลักเกณฑ์กำรน ำข้อมูลเข้ำสู่ระบบและกำร ให้บริกำร 3) กำรรักษำข้อมูลและน ำข้อมูลกลับมำใช้ใหม่ ส่วนนี้จะอธิบำยถึง หลักเกณฑ์วิธีกำร ปฏิบัติงำนและเงื่อนไขที่จ ำเป็นส ำหรับกำรรักษำข้อมูลและกำรน ำข้อมูลกลับมำใช้ใหม่ ประกอบไป ด้วย แนวคิด ทฤษฎีกำรส ำรองข้อมูล (Backup) และกำรน ำข้อมูลงำนวิจัยกลับมำใช้ใหม่ (System Recovery) และ 4) งำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3.1 การเตรียมความพร้อมให้กับระบบ 3.1.1 แนวคิด ทฤษฎี หลักเกณฑ์การติดตั้งระบบใหม่ กำรติดตั้งหรือระบบ (System Installation) หมำยถึง กระบวนกำรในกำรเปลี่ยนแปลงกำร ท ำงำนภำยในระบบงำนจำกระบบงำนเดิมเป็นระบบงำนใหม่ ซึ่งกำรเปลี่ยนแปลงมีหลำกหลำย แนวทำง ผู้ปฏิบัติจึงควรเลือกแนวทำงให้เหมำะสมกับองค์กรที่ต้องกำรจะเปลี่ยนแปลง โดยกำร เปลี่ยนแปลงระบบจำกระบบเดิมไปสู่ระบบใหม่มี 2 ขั้นตอนที่ส ำคัญคือ 1) กำรวำงแผนก่อนกำรติดตั้ง และ2) กำรติดตั้งระบบใหม่ 1) การวางแผนก่อนการติดตั้งระบบ ก่อนที่จะน ำระบบใหม่มำติดตั้งใช้งำน จ ำเป็นจะต้องวำงแผนกำรติดตั้งก่อนเป็นอันดับแรก (Installation Plane) โดยแผนหรือประเด็นที่ควรค ำนึงถึงประกอบด้วย 3 ส่วนด้วยกัน คือ 1. ความต้องการของระบบที่จะติดตั้ง (System Requestment) จะต้องวำงแผน ให้ครอบคลุมถึงกำรติดตั้งซอฟต์แวร์ที่จะติดตั้งทั้งหมดที่ต้องใช้ ไม่ใช่เฉพำะกำรติดตั้งโปรแกรมของ ระบบงำนใหม่เท่ำนั้น แต่รวมถึงกำรติดตั้งฐำนข้อมูลและแฟ้มข้อมูลที่จ ำเป็นและซอฟต์แวร์อื่น ๆ ที่ ต้องกำรใช้ร่วมกันด้วย กำรติดตั้งซอฟต์แวร์จึงมีระดับตั้งแต่ง่ำยไปจนถึงระดับซับซ้อน เช่น ระบบ ส ำหรับผู้ใช้คนเดียว (Sigel User) แบบง่ำยไปจนถึงระบบที่ซับซ้อน ซึ่งจะต้องมีกำรเปลี่ยนแปลงแก้ไข ทั้งทำงระบบที่ใช้อยู่ในปัจจุบันให้เชื่อมกับระบบใหม่ ไปจนถึงกำรติดตั้งระบบให้ใช้ได้บนเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่แตกต่ำงออกไปซึ่งมีควำมแตกต่ำงกันของคุณสมบัติของเครื่อง ท ำให้กำรวำงแผนกำร


19 ติดตั้งระบบงำนต้องพิจำรณำรอย่ำงรอบคอบและท ำรำยละเอียดที่แตกต่ำงกันออกไปในส่วนของกำร ติดตั้งซอฟต์แวร์ ซึ่งจะต้องสนใจว่ำซอฟต์แวร์อะไรที่จะติดตั้งให้กับผู้ใช้และจะท ำอย่ำงไร จึงจะท ำให้ กำรติดตั้งส ำเร็จลงได้ ผู้ติดตั้งระบบจึงต้องค ำนึงว่ำ อะไรบ้ำงที่จะต้องน ำไปท ำกำรติดตั้ง และแผนงำน กำรตั้งระบบนี้จะต้องท ำให้เป็นลำยลักษณ์อักษรด้วย และกระจำยหน้ำที่ควำมรับผิดชอบให้กับทีมงำน และร่วมกันประชุมกันก่อนอีกครั้งก่อนที่จะน ำเอำแผนงำนที่ได้วำงเอำไว้ท ำกำรติดตั้งปฏิบัติจริง 2. วิธีการติดตั้ง เพื่อให้กำรติดตั้งระบบเป็นไปอย่ำงสมบูรณ์ วิธีกำรติดตั้งระบบงำน ในที่นี่หมำยถึง กำรเปลี่ยนระบบงำนที่ใช้อยู่เดิมให้เป็นระบบงำนใหม่ วิธีกำรติดตั้งที่นิยมใช้อยู่มีอยู่ ด้วยกัน 4 วิธี คือ 1. กำรติดตั้งแบบทันทีหรือโดยตรง (Direct Changeover)) 2. กำรติดตั้งแบบขนำน (Parallel Conversation) 3. กำรติดตั้งแบบน ำร่อง (Single Location Installation) 4. กำรติดตั้งแบบโมลดูลำร์โปรโตไทป์ (Modular Prototype) 3. ผลกระทบที่มีต่อองค์กร สิ่งสุดท้ำยที่มีควำมส ำคัญอย่ำงยิ่งที่นักวิเครำะห์ระบบ จะต้องค ำนึงถึง คือ ผลกระทบของระบบงำนใหม่ที่ทีต่อธุรกิจหรือองค์กร เพรำะกำรติดตั้งระบบงำน ให้เข้ำไปในองค์กรย่อมก้อให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงในกระบวนกำรท ำงำน หน้ำที่ควำมรับผิดชอบของ หน่วยงำนและผู้ใช้ระบบไม่มำกก็น้อย จึงต้องมีกำรชี้แจงให้ทรำบถึงบทบำทที่เปลี่ยนไปและผลกระทบ ต่ำง ๆ รวมทั้งควำมรู้สึกสับสนในช่วงแรกของกำรใช้ระบบงำนใหม่นั้นให้เห็นว่ำเป็นเรื่องธรรมดำ ฉะนั้นในทุกขั้นต้อนของกำรวิเครำะห์และออกแบบระบบจึงมักดึงเอำผู้ใช้ระบบเข้ำมำมีส่วนร่วมใน กิจกรรมอยู่ตลอดเลำ และในกำรติดตั้งระบบ ผู้ใช้ยังคงมีส่วนร่วมซึ่งมีควำมส ำคัญต่อกำรที่ระบบงำน ใหม่จะเป็นที่ยอมรับของผู้ใช้ ผู้ใช้ระบบจะช่วยนักวิเครำะห์ระบบได้ในเรื่องที่เกี่ยวกับกำรสร้ำง แฟ้มข้อมูล กำรบันทึกข้อมูลย้อนหลัง และตรวจสอบควำมถูกต้องของข้อมูล เป็นต้น 2) การติดตั้งระบบใหม่ กำรเปลี่ยนระบบงำนที่ใช้อยู่เดิมให้เป็นระบบงำนใหม่ เพื่อให้กำรติดตั้งระบบเป็นไปอย่ำง สมบูรณ์ มีวิธีกำรติดตั้งที่นิยมใช้ในปัจจุบันมีอยู่ด้วยกัน 5 วิธีกำร และกำรน ำไปใช้นั้นขึ้นอยู่กับควำม เหมำะสมของสถำนกำรณ์และระบบกำรท ำงำนดังนี้คือ 1. การติดตั้งแบบทันทีหรือโดยตรง (Direct Changeover) หมำยถึง กำรน ำ ระบบใหม่เข้ำมำในองค์กรทันทีตำมที่ได้ก ำหนดเอำไว้ว่ำ จะมีกำรเริ่มใช้งำนระบบใหม่เมื่อใด เมื่อนั้น ระบบเดิมจะถูกยกเลิกทันที กำรติดตั้งแบบนี้จะใช้ได้ก็ต่อเมื่อระบบงำนได้รับกำรทดสอบมำเป็นอย่ำง ดีก่อนที่จะถูกน ำมำติดตั้ง แต่กำรติดตั้งระบบด้วยวิธีกำรนี้มีอัตรำควำมเสี่ยงสูงมำกเมื่อเทียบกับวิธีกำร อื่น เพรำะหำกระบบใหม่ได้รับกำรทดสอบมำเป็นอย่ำงดีแล้ว หำกเกิดควำมผิดพลำดในกำรท ำงำน จะ


20 ท ำให้กำรท ำงำนอื่น ๆ ในองค์กรหยุดชะงัดองค์กรเกิดควำมเสียหำยได้จึงไม่เป็นที่ยมใช้หำกสำมำรที่ จะหลีกเลี่ยงได้ตำมภำพประกอบที่ 3.1 ข้อดี -ค่ำใช้จ่ำยในกำรปรับเปลี่ยนระบบต่ ำ ผู้ปฏิบัติงำนไม่ต้องท ำงำนซ้ ำซ้อนกัน 2 ระบบ -เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้สำมำรถน ำมำใช้จำกระบบเดิม ข้อเสีย -ถ้ำระบบใหม่ใช้งำนไม่ได้ ไม่ถูกต้องตำมต้องกำร กำรท ำงำนทั้งหมดจะเกิดควำมเสียหำย อย่ำงมำก -ผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบทั้งหมดไม่มีเวลำในกำรปรับสภำพตนเองให้สอดคล้องกับระบบใหม่ ภำพที่ 3.1 กำรติดตั้งแบบทันทีหรือโดยตรง (Direct Changeover) ที่มำของภำพ :https://www.mindphp.com/ บทควำม/31-ควำมรู้ทั่วไป/6822-systeminstallation.html 2. การติดตั้งแบบขนาน (Parallel Conversation) หมำยถึง กำรที่ระบบงำนเกำ ยังคงปฏิบัติงำนอยู่ แต่ระบบใหม่ก็เริ่มต้นท ำงำนไปพรอมๆกัน วิธีกำรนี้เป็นที่นิยมกันมำก ที่สุดในปัจจุบัน เพรำะท ำให้อัตรำควำมเสี่ยงของกำรหยุดชะงัดของงำนลดน้อยลง วิธีกำรนี้ เหมำะสมที่สุดเมื่อระบบงำนเก่ำเป็นระบบงำนที่ใช้ให้คนท ำและระบบงำนใหม่ใช่เครื่อง คอมพิวเตอร์โดยจะใช้ระบบงำนทั้ง 2 ท ำงำนควบคูกันไปในระยะเวลำหนึ่งเพื่อท ำกำร เปรียบเทียบว่ำ ผลลัพธ์ไดจำกระบบงำนทั้งสองระบบคลองจองกัน เมื่อผลลัพธ์ไดรับกำร ตรวจสอบแล้วว่ำถูกต้องในช่วงเวลำหนึ่ง ระบบงำนเก่ำจึงจะถูกยกเลิกออกไปเหลือเพียง ระบบงำนใหม่ในองค์กรเท่ำนั้นที่ยังปฏิบัติงำนอยู่ แต่ข้อเสียของระบบนี้คือ ค่ำใช้จ่ำยและ ต้นทุนในกำรปฏิบัติงำนสูงรวมถึงภำระกำรท ำงำนจะตกอยู่กับผู้ปฏิบัติงำน ตำมภำพประกอบ ที่ 3.2


21 ข้อดี -เมื่อด ำเนินกำรระบบตำมหลักกำรนี้ ท ำให้สำมำรถปรับเปลี่ยนระบบใหม่ได้ง่ำย และเห็นถึง ผลกระทบต่ำง ๆ ท ำให้แก้ไขได้ทันที -ไม่มีผลกระทบต่ำง ๆ กับระบบใหม่ กับกำรด ำเนินกำรเนื่องจำกมีระบบเดิมน ำรองอยู่ ข้อเสีย -ค่ำใช้จ่ำยสูงกว่ำหลักกำรอื่น เนื่องจำกต้องมีเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องมือ อุปกรณ์ รวมทั้ง บุคลำกร ท ำงำนควบคู่กันระหว่ำงระบบงำนใหม่และระบบงำนเก่ำ -กรณีของหน่วยงำนที่ต้องใช้บุคลำกรที่มีอยู่เดิมท ำงำนในระบบใหม่ด้วยจะท ำให้บุคลำกร เหล่ำนั้นต้องท ำงำนเป็น 2 เท่ำ คือระบบงำนเดิม พร้อมทั้งเรียนรู้และท ำระบบใหม่ อำจท ำให้สับสน ภำพที่ 3.2 กำรติดตั้งแบบขนำน (Parallel Conversation) ที่มำของภำพ :https://www.mindphp.com/ บทควำม/31-ควำมรู้ทั่วไป/6822-systeminstallation.html 3. การติดตั้งแบบน าร่อง (Single Location Installation) กำรติดตั้งแบบนี้เป็น กำรรวมเอำข้อดีของ 2 วิธีกำรแรกมำใช้ โดยเป็นค่อย ๆ น ำเอำบำงส่วนของระบบใหม่ซึ่งอำจจะเป็น ระบบงำนย่อยเข้ำไปแทนบำงส่วนของระบบงำนเดิม วิธีกำรนี้จะท ำให้อัตรำเสี่ยงของกำรเกิด ข้อผิดพลำดลดน้อยลงกว่ำกำรติดตั้งแบบทันที โดยกระทบจำกข้อผิดพลำดจะอยู่ในวงจ ำกัดที่สำมำรถ ควบคุมได้ แต่ข้อเสียจะมีตรงเวลำที่ใช้ในกำรทยอยเอำส่วนต่ำง ๆ ของระบบใหม่มำแทนระบบเดิมซึ่ง อำจจะใช้ระยะเวลำนำน วิธีกำรนี้เหมำะกับระบบงำนใหญ่ ๆ แต่ไม่เหมำะกับระบบงำนเล็ก ๆ ที่ไม่ ซับซ้อน ตำมภำพประกอบที่ 3.1


22 ข้อดี -ลดควำมเสี่ยงได้ดี -ค่ำใช้จ่ำยต่ ำ ข้อเสีย กรณีหน่วยงำนหรือสำขำที่ได้รับกำรน ำร่องระบบงำนไม่ส ำเร็จตำมที่คำดหวัง สำขำอื่น ๆ ก็ ยังคงไม่ได้รับกำรติดตั้งเพื่อใช้งำนเช่นกัน ภำพที่ 3.3 กำรติดตั้งแบบเป็นระยะ (Phased Or Gradual Conversion) ที่มำของภำพ :https://www.mindphp.com/ บทควำม/31-ควำมรู้ทั่วไป/6822-systeminstallation.html 4. การติดตั้งแบบโมลดูลาร์โปรโตไทป์ (Modular Prototype) เป็นกำรแบ่ง ระบบงำนออกเป็นส่วนย่อยๆ (Module) และอำศัยกำรติดตั้งด้วยวิธีทยอยน ำระบบใหม่เข้ำไปทีละ ส่วนย่อยๆ แล้วผู้ใช้ระบบท ำกำรใช้ส่วนย่อยๆจนกว่ำจะเป็นที่ยอมรับของผู้ใช้ระบบ จึงค่อยน ำมำใช้ ปฏิบัติงำนจริง ซึ่งจะช่วยลดปัญหำควำมไม่คุ้นเคยระหว่ำงผู้ใช้กับระบบไปได้มำก ข้อเสียของระบบนี้คือ ส่วนย่อย ๆ (Module) ที่ให้ผู้ใช้ทดสอบอำจจะไม่ได้รับกำรยอมรับจำกผู้ใช้ตำมที่คำดไว้ และกำรติดตั้ง แบบนี้อำจต้องใช้เวลำนำนและต้องกำรควำมเอำใจใส่อย่ำงมำกจำกนักวิเครำะห์ระบบและผู้ใช้ระบบ ด้วย ตำมภำพประกอบที่ 3.4 ข้อดี -ท ำให้ระบบสมบูรณ์ได้ โดยมีผลกระทบต่ ำ สำมำรถก ำจัดควำมเสี่ยงที่เกิดขึ้นได้ เนื่องจำก กำรปรับเปลี่ยนเป็นช่วงระยะเวลำ -บำงสถำนที่ควำมเสี่ยงหรือข้อผิดพลำดเกิดขึ้นในช่วงที่มีกำรเปลี่ยนแปลงและสถำนที่ที่ใช้ ระบบงำนใหม่เท่ำนั้น


23 ข้อเสีย -ลักษณะของระบบงำนนั้นต้องใช้เวลำในกำรปรับเปลี่ยนมำกกว่ำวิธีอื่น -ควำมไม่สอดคล้องของกำรด ำเนินงำนในระบบใหม่กับระบบเก่ำ เนื่องจำกมีกำรน ำระบบงำน ย่อยของระบบใหม่ เข้ำมำใช้ร่วมกับระบบเก่ำ ภำพที่ 3.4 กำรติดตั้งแบบโมลดูลำร์โปรโตไทป์ (Modular Prototype) ที่มำของภำพ :https://www.mindphp.com/ บทควำม/31-ควำมรู้ทั่วไป/6822-systeminstallation.html 3.1.2 การถ่ายโอนข้อมูล (File Transfer Protocol) FTP หรือ File Transfer Protocol คือกำรถ่ำยโอนไฟล์หรือเรียกได้อีกอย่ำงว่ำ กำร คัดลอก แฟ้มข้อมูลบนเครือข่ำย คือ กำรโอนย้ำยแฟ้มข้อมูลจำกเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่งมำยัง อีกระบบหนึ่งผ่ำนเครือข่ำย ซึ่งท ำได้หลำยรูปแบบ เช่น กำรโอนจำกแม่ข่ำยมำยังเครื่องพีซี หรือ เครื่องพีซีไปแม่ข่ำยหรือ ระหว่ำงแม่ข่ำยด้วยกันเอง กำรถ่ำยโอนแฟ้มข้อมูลหรือกำรโอนย้ำย แฟ้มข้อมูลอำศัยโปรแกรมหนึ่งที่มีกำร ใช้งำนกันมำกและมีบริกำรอยู่ในโฮสต์แทบทุกเครื่อง คือ โปรแกรม FTP FTP เป็นโปรแกรมที่ใช้ส ำหรับ upload/download หรือดูโครงสร้ำงของไฟล์และ directory ใน FTP Server เป็นมำตรฐำนในกำรถ่ำยโอนไฟล์ และเป็นส่วนหนึ่งของชุดโปรโตคอล TCP/IP มีประโยชน์มำก ส ำหรับกำรรับส่งไฟล์ระหว่ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องลูก (FTP Client) กับเครื่องที่เป็นเครื่อง ให้บริกำร (FTP Server) โดยเครื่อง FTP Client อำจจะเป็นเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่เรำใช้งำนกันทั่วไป ส่วนเครื่อง FTP Server ก็อำจจะเป็นเครื่อง PC ธรรมดำจนถึง เครื่องที่มีสมรรถภำพสูง กำรเข้ำใช้งำนผู้ใช้จะต้อง แนะนำ ตนเองต่อเซิร์ฟเวอร์ด้วยชื่อผู้ใช้และ รหัสผ่ำนจำกนั้นจะแสดงชื่อโฟลเดอร์ จำกนั้นจะแสดงชื่อโฟลเดอร์ละชื่อไฟล์ที่มีอยู่ออกมำ ควำมสำมำรถของ FTP ท ำให้ไคลเอนต์โอนย้ำยไฟล์ ระหว่ำงไคลเอนต์ และ FTP Server ได้รวมทั้ง ระหว่ำงเครื่องสองเครื่องที่อยู่ห่ำงไกลกัน


24 อย่ำงไรก็ตำม FTP ยังถือว่ำเป็นโปรโตคอลที่ยุ่งยำกพอสมควร เพรำะต้องสร้ำงช่องทำงสื่อสำรใน ระดับ TCP ถึงสองช่องทำงโดยช่องทำงหนึ่งส ำหรับโอนถ่ำยข้อมูลและอีกหนึ่งใช้ส่งค ำสั่ง เซิร์ฟเวอร์ จะต้องมีตัวแปลโปรโตคอล (PI: Protocol Interpreter) ส ำหรับท ำหน้ำที่แปลและด ำเนินเนินงำน ตำมค ำสั่งของ FTP นอกจำกนี้ยังต้องทีโมดูล โดยย้ำยข้อมูลที่เรียกว่ำ DT (Data Transfer ) มำ รับผิดชอบจัดกำรกับข้อมูลทั้ง PI ได้ โดยเรียกใช้ Telnet หรือไม่ก็จัดกำรโปรโตคอล Telnet ใหม่ ทั้งหมด ประเภทของ FTP FTP ประเภทที่ 1 คือ ไพรเวทเอฟทีพี (Private FTP) หรือFTP เฉพำะกลุ่ม นิยมใช้ตำม สถำนศึกษำและภำยในบริษัทผู้ใช้บริกำรจะต้องมีรหัสผ่ำนเฉพำะจึงจะใช้งำนได้ FTP ประเภทที่2 คืออะโนนีมัสเอฟทีพี (Anonymous FTP) เป็น FTP สำธำรณะให้บริกำร ดึงไฟล์ฟรีโดยไม่ต้องมีรหัสผ่ำนเรำสำมำรถติดต่อเว็บไซต์หล่ำนี้ได้โดยผ่ำนเว็บเบรำเซอร์ซึ่งปัจจุบัน เว็บไซต์สำธำรณะมีอยู่เป็นจ ำนวนมำกกำรใช้ FTP มีจุดมุ่งหมำยหลักก็คือกำรน ำเอำไฟล์ข้อมูลต่ำงๆ ที่อยู่บนอินเทอร์เน็ตมำใช้งำน ข้อมูลเหล่ำนั้นอำจเป็น ตัวหนังสือ (Text) รูปภำพ (Image) เสียง (Voice) วิดีโอ (Video) หรือโปรแกรมส ำเร็จรูป โดยเฉพำะโปรแกรมใหม่ๆ ที่บริษัทต่ำงๆ คิดค้นขึ้นมำ และต้องกำรกำรเผยแพร่ไปสู่สำธำรณชนผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตคนใดที่สนใจก็สำมำรถใช้FTP ดึงเอำ โปรแกรมเหล่ำนั้นมำใช้งำนได้ หลักการท างานของ FTP ในกำรเชื่อมต่อกันทำง FTP เครื่องลูกข่ำย (Client) จะเริ่มต้นสร้ำงกำรเชื่อมต่อไปยังเครื่อง แม่ข่ำย (Server) โดยใช้ TCP บนพอร์ตหมำยเลข 21 ซึ่งเป็นกำรเชื่อมต่อส่วนควบคุม (Command Chanel) โดยจะเปิดอยู่ตลอดเวลำขณะที่มีกำรใช้งำน ส่วนต่อมำจะเป็นกำรเชื่อมต่อส่วนข้อมูล (Data Chanel) บนพอร์ตหมำยเลข 20 โดยจะถูกสร้ำงขึ้นเพื่อส่งผ่ำนข้อมูลไฟล์ต่ำงๆ ตำมภำพประกอบที่ 3.5 ภำพที่ 3.5 หลักกำรท ำงำนของ FTP ที่มำของภำพ :https://garfew9999.wixsite.com/myblog/single-post/2013/05/01/ReviewThe-Devil-in-Yellow-by-James-R-Price


25 FTP สำมำรถท ำงำนได้ในสองวิธี คือ วิธีส่งกำรร้องขอ (Active mode) เครื่องลูกข่ำย (Client) จะส่งหมำยเลขไอพีและพอร์ตที่ต้องกำรใช้ส่งผ่ำนข้อมูลให้กับเครื่องแม่ข่ำย (Server) จำกนั้น เครื่องแม่ข่ำยจะเปิดกำรเชื่อมต่อนั้นกลับมำตำมภำพประกอบที่ 3.6 ภำพที่ 3.6 วิธีส่งกำรร้องขอ (Active mode) ที่มำของภำพ :https://garfew9999.wixsite.com/myblog/single-post/2013/05/01/ReviewThe-Devil-in-Yellow-by-James-R-Price และ วิธีรับกำรร้องขอ (Passive mode) ซึ่งเป็นกำรเลือกว่ำจะจัดกำรกำรเชื่อมต่อที่สอง อย่ำงไร เครื่องแม่ข่ำยจะส่งหมำยเลขไอพีและพอร์ตให้กับเครื่องลูกข่ำยก่อน จำกนั้นเครื่องลูกข่ำยจะ สร้ำงกำรเชื่อมต่อดังกล่ำวกลับมำ(แนวคิดนี้ตรงข้ำมกับวิธีส่งกำรร้องขอ) โดยวิธีรับกำรร้องขอถูก คิดค้นขึ้นมำเพื่อใช้ในกรณีที่เครื่องลูกข่ำยตั้งอยู่หลังFirewall และไม่สำมำรถรับกำรเชื่อมต่อทีซีพีที่ไม่ รู้จักจำกภำยนอกได้ตำมภำพประกอบที่ 3.7 ภำพที่ 3.7 วิธีรับกำรร้องขอ (Passive mode) ที่มำของภำพ :https://garfew9999.wixsite.com/myblog/single-post/2013/05/01/ReviewThe-Devil-in-Yellow-by-James-R-Price


26 ความส าคัญและประโยชน์ของ FTP ในโลกธุรกิจปัจจุบันที่มีกำรแข่งขันกันมำกในทุกๆ ด้ำน ไม่ว่ำจะเป็นด้ำนกำรผลิต ด้ำน กำรตลำดกำรบริหำร กำรจัดกำร และด้ำนที่ขำดไม่ได้ด้วยเช่นกัน คือ ด้ำนกำรสื่อสำร ซึ่งแต่ละธุรกิจมี ควำมจ ำเป็นต้องใช้ ไม่ว่ำจะเป็นกำรติดต่อสื่อสำรกับลูกค้ำ กำรติดต่อสื่อสำรภำยในหรือระหว่ำง บริษัท ซึ่ง FTP มีส่วนช่วยอย่ำงมำกในกำรสื่อสำรต่ำงๆ FTP จะช่วยให้กำรถ่ำยโอนข้อมูลเป็นไปได้ ง่ำยมำกขึ้น แต่ละบริษัทหรือหน่วยงำนสำมำรถมีข้อมูลมำกมำยหลำยรูปแบบที่ต้องกำรสื่อสำรไปยัง แหล่งอื่น หรือแม้แต่ต้องกำรข้อมูลที่เป็นประโยชน์จำกแหล่งอื่นเข้ำมำใช้ เช่น ข้อมูลข่ำวสำรประจ ำวัน บทควำม ข้อมูลทำงสถิติ ผลกำร ทดลองทำงวิทยำศำสตร์ เป็นต้น กำรจะเดินทำงไปเอำข้อมูลต่ำงๆ เองก็ถือเป็นกำรเสียเวลำโดยเปล่ำประโยชน์ ในเมื่อมีเทคโนโลยีเข้ำมำช่วยเหลือแล้ว FTP จะเป็นตัว ช่วยให้กำรได้รับข้อมูลเหล่ำนั้นสำมำรถท ำได้ง่ำยยิ่งขึ้นเพียงอยู่หน้ำจอคอมพิวเตอร์เท่ำนั้น ผู้ใช้งำน สำมำรถใช้ FTP ในกำรโอนข้อมูลจ ำนวนมำกจำกแหล่งที่อนุญำตให้ใช้ได้ ซึ่งเรียกว่ำเป็นแหล่งบริกำร FTP ซึ่งมักเป็นศูนย์รวบรวมข้อมูลข่ำวสำรต่ำงๆอยู่มำกและเปิดบริกำรทั่วไป เพียงแค่ผู้ใช้อินเตอร์เน็ต เข้ำไปใช้บริกำรคัดลอกแฟ้มข้อมูลต่ำงๆ มำใช้งำน 3.2 การใช้งานระบบ 3.2.1 หลักการ/แนวคิดการใช้งานระบบและการน าข้อมูลรายการงานวิจัยเข้าสู่ระบบ แนวคิดหลักในกำรใช้งำนระบบและกำรน ำเข้ำข้อมูลรำยกำรต่ำงๆของงำนวิจัยสู่ระบบ สำรสนเทศงำนวิจัย (RISS) มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัย ให้เป็นไปตำมระเบียบ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัยว่ำด้วยกำรใช้จ่ำยเงินอุดหนุนเพื่อกำรวิจัย พ.ศ. 2559 และ ระเบียบมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัยว่ำด้วยกำรใช้จ่ำยเงินอุดหนุนเพื่อกำรวิจัย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 ประกอบไปด้วย 1) ข้อมูลพื้นฐำนโครงกำรวิจัย เช่น ควำมหมำย หรือ ค ำนิยำมข้อมูล งำนวิจัย กำรจ ำแนกประเภทงำนวิจัย ประเภทงำนวิจัย ข้อมูลงบประมำณงำนวิจัย ข้อมูลงำนสถำนะ โครงกำรวิจัยที่ก ำลังด ำเนินกำร และ ข้อมูลกำรเผยแพร่ผลงำนวิจัย 3.2.1.1 ข้อมูลพื้นฐานโครงการวิจัย กำรบันทึกข้อมูลพื้นฐำนโครงกำรวิจัย ให้เป็นไปตำมข้อที่ 4 ของระเบียบ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัยว่ำด้วยกำรใช้จ่ำยเงินอุดหนุนเพื่อกำรวิจัย พ.ศ. 2559 ในเรื่องควำมหมำยงำนวิจัย และ กำรลงรำยละเอียดข้อมูลโครงกำรวิจัย ให้เป็นไปตำม หมวดที่ 4 กำรรำยงำนผลกำรด ำเนินโครงกำรวิจัย ของระเบียบมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำช มงคลศรีวิชัยว่ำด้วยกำรใช้จ่ำยเงินอุดหนุนเพื่อกำรวิจัย พ.ศ. 2559 เช่นกัน ดังนี้


27 ความหมาย หรือ ค านิยามข้อมูลงานวิจัย ค ำนิยำมหรือควำมหมำย ให้เป็นไปตำม ข้อที่4 ของระเบียบมหำวิทยำลัยเทคโนโลยี รำชมงคลศรีวิชัยว่ำด้วยกำรใช้จ่ำยเงินอุดหนุนเพื่อกำรวิจัย พ.ศ. 2559 ดังนี้ “หน่วยงำน” หมำยควำมว่ำ วิทยำเขต คณะ วิทยำลัย ส ำนัก สถำบัน และหน่วยงำน ที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นที่มีฐำนะเทียบเท่ำคณะในสังกัดมหำวิทยำลัยที่เป็นผู้รับผิดชอบ โครงกำรวิจัย “หัวหน้ำหน่วยงำน” หมำยควำมว่ำ รองอธิกำรบดีประจ ำวิทยำเขต คณบดี ผู้อ ำนวยกำรวิทยำลัย ผู้อ ำนวยกำรส ำนัก ผู้อ ำนวยกำรสถำบัน หรือหัวหน้ำหน่วยงำนที่ เรียกชื่ออย่ำงอื่นที่มีฐำนะเทียบเท่ำคณะในสังกัดมหำวิทยำลัย “ผู้อ ำนวยกำร” หมำยควำมว่ำ ผู้อ ำนวยกำรชุดโครงกำรหรือแผนงำนวิจัย ซึ่งเป็น บุคลำกรในสังกัดมหำวิทยำลัยที่ได้รับเงินอุดหนุนเพื่อกำรวิจัยหรือได้รับมอบหมำยจำก มหำวิทยำลัย หรือหน่วยงำนให้ด ำเนินงำนโครงกำรวิจัยในลักษณะชุดโครงกำรหรือแผน งำนวิจัย “หัวหน้ำโครงกำร” หมำยควำมว่ำ หั ว ห น้ ำโค รง ก ำ ร วิ จั ย เ ดี่ ย ว ห รื อ หั ว ห น้ ำ โครงกำรวิจัยย่อยภำยใต้ชุดโครงกำรหรือแผนงำนวิจัย ซึ่งเป็นบุคลำกรในสังกัดมหำวิทยำลัย ที่ได้รับเงินอุดหนุนเพื่อกำรวิจัยหรือได้รับมอบหมำยจำกมหำวิทยำลัย หรือหน่วยงำนให้ ด ำเนินงำนโครงกำรวิจัยในลักษณะโครงกำรวิจัยเดี่ยวหรือโครงกำรวิจัยย่อยภำยใต้ชุด โครงกำรหรือแผนงำนวิจัย “ชุดโครงกำรหรือแผนงำนวิจัย” หมำยควำมว่ำ ชุดโครงกำรวิจัยหรือแผนงำนวิจัยที่ ประกอบด้วยโครงกำรวิจัยย่อยตลอดกำรวิจัย ไม่น้อยกว่ำสองโครงกำร “โครงกำรวิจัย” หมำยควำมว่ำ โครงกำรที่มีกำรค้นคว้ำ ศึกษำ วิเครำะห์ ทดลอง ผลิตสิ่งประดิษฐ์ สร้ำงสรรค์ ออกแบบ พัฒนำ หรือลักษณะงำนอื่นที่ใกล้เคียง ซึ่งมีแผนงำน ทดลองและกำรแสดงหัวข้อรำยละเอียดอย่ำงเป็นระบบ “ทรัพย์สินทำงปัญญำ” หมำยควำมว่ำ ผลงำนอันเกิดจำกำกำรวิจัย พัฒนำ และ กำรสร้ำงสรรค์ของบุคลำกรหรือนักศึกษำของมหำวิทยำลัย ที่อยู่ในควำมควบคุมของ มหำวิทยำลัย หรือใช้ทรัพยำกรของมหำวิทยำลัย ในกำรสร้ำงสรรค์ผลงำนซึ่งอำจเกิดจำกเงิน งบประมำณ หรืองำนอันเกิดจำกกำรได้รับเงินจำกแหล่งทุนอื่น โดยอำจก่อให้เกิด ผลประโยชน์ในเชิงพำณิชย์ หรือน ำไปสู่กำรด ำเนินกำรขอรับควำมคุ้มครองสิทธิตำมกฎหมำย ทรัพย์สินทำงปัญญำ ได้แก่ สิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร เครื่องหมำยกำรค้ำ ลิขสิทธิ์ หรือกำร คุ้มครองในทรัพย์สินทำงปัญญำในด้ำนอื่น ๆ


28 หมวด 4 การรายงานผลการด าเนินโครงการวิจัย --------------------- ข้อ 28 ทุกสิ้นรอบระยะเวลำของปีงบประมำณแผ่นดิน และปีงบประมำณเงินรำยได้ให้ หน่วยงำนต้นสังกัดของผู้อ ำนวยกำรหรือหัวหน้ำโครงกำรวิจัย จัดท ำรำยงำนสรุปผลกำรด ำเนินงำน โครงกำรวิจัยทุกประเภทตำมข้อ 6 ที่ด ำเนินกำรในช่วงระยะเวลำของปีงบประมำณ โดยแสดง รำยละเอียดชื่อโครงกำร ชื่อผู้อ ำนวยกำรหรือหัวหน้ำโครงกำร วงเงินงบประมำณโดยระบุ ปีงบประมำณ ระยะเวลำด ำเนินกำร ระยะเวลำที่ขยำย(ถ้ำมี) ผลกำรด ำเนินงำนวิจัยและผลกำรใช้ จ่ำยเงิน โดยแสดงยอดใช้จ่ำยและยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นสุดรอบระยะเวลำของปีงบประมำณนั้นๆ ของแต่ละโครงกำร รวมทั้งกำรด ำเนินงำนของหน่วยงำนต้นสังกัดของผู้อ ำนวยกำรหรือหัวหน้ำ โครงกำรวิจัย ในกำรติดตำมผลกำรปฏิบัติงำนวิจัยแต่ละโครงกำรตำมแบบที่มหำวิทยำลัยก ำหนด กำรจัดส่งรำยงำนให้เสนอมหำวิทยำลัย ผ่ำนสถำบันวิจัยและพัฒนำ ภำยในสำมสิบ วันตั้งแต่วันสิ้นปีงบประมำณ หำกหน่วยงำนใดไม่สำมำรถจัดส่งรำยงำนสรุปดังกล่ำวภำยในระยะเวลำที่ก ำหนดได้ ให้แจ้งปัญหำข้อขัดข้องต่อมหำวิทยำลัยผ่ำนสถำบันวิจัยและพัฒนำ ตำมก ำหนดเวลำดังกล่ำว พร้อม ทั้งระบุระยะเวลำที่สำมำรถจัดส่งรำยงำนให้มหำวิทยำลัยด้วย การจ าแนกประเภทงานวิจัย กำรแบ่งประเภทงำนวิจัยเป็นไปตำมข้อที่6 ระเบียบมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำช มงคลศรีวิชัยว่ำด้วยกำรใช้จ่ำยเงินอุดหนุนเพื่อกำรวิจัย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 ดังนี้ “ข้อ 6 โครงกำรวิจัย จ ำแนกได้เป็นสองประเภทตำมแหล่งที่มำของเงินทุน คือ 6.1 โครงกำรวิจัยที่ได้รับเงินอุดหนุนจำกแหล่งเงินภำยในมหำวิทยำลัย ได้แก่ 6.1.1 โครงกำรวิจัย – เงินงบประมำณ หมำยถึง โครงกำรวิจัยที่ได้รับ จัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยประจ ำปี งบเงินอุดหนุนประเภทอุดหนุนทั่วไป หรืองบรำยจ่ำยอื่น กรณีกำรวิจัยสถำบันและกำรวิจัยในชั้นเรียน ที่ผ่ำนกำรพิจำรณำตำมหลักเกณฑ์ที่ มหำวิทยำลัยก ำหนด 6.1.2 โครงกำรวิจัย – เงินรำยได้ หมำยถึง โครงกำรวิจัยที่ได้รับอนุมัติให้ ด ำเนินกำรโดยใช้เงินรำยได้ประจ ำปีของมหำวิทยำลัย เพื่อด ำเนินกำรวิจัยประเภทกำรวิจัย ทั่วไป กำรวิจัยสถำบันและกำรวิจัยในชั้นเรียน 6.1.3 โครงกำรวิจัยพิเศษ หมำยถึง โครงกำรวิจัยที่ได้รับอนุมัติให้ด ำเนินกำร โดยใช้เงินรำยได้งบกลำง เงินรำยได้สะสมของมหำวิทยำลัย 6.2 โครงกำรวิจัยที่ได้รับเงินอุดหนุนจำกแหล่งเงินภำยนอกมหำวิทยำลัย ทั้งในและ ต่ำงประเทศ ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่ำ โครงกำรวิจัย – งบภำยนอก”


29 ข้อมูลงบประมาณงานวิจัย ข้อมูลงวดเงินงำนวิจัยให้แบ่งออก 3 งำน ซึ่งเป็นไปตำมข้อที่11.10 และข้อที่ 14 หลักเกณฑ์กำรจ่ำยเงินงวด ของระเบียบมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัยว่ำด้วยกำร ใช้จ่ำยเงินอุดหนุนเพื่อกำรวิจัย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 ดังนี้ 11.10 กำรขอรับเงินอุดหนุนให้แบ่งเป็น 3 งวด วงเงินในแต่ละงวดให้ก ำหนดเป็น จ ำนวนร้อยละของเงินอุดหนุนแผนงำนวิจัยหรือโครงกำรวิจัยที่ได้รับจัดสรรในแต่ละ ปีงบประมำณ ตำมเงื่อนไขที่ก ำหนดใน แบบ วจ. 1ด และแบบ วจ. 1ช ยกเว้นโครงกำรวิจัย - เงินรำยได้ ประเภทกำรวิจัยสถำบัน ให้ขอเบิกเงินอุดหนุนแบ่งเป็น ๒ งวด แบบ วจ.1ด ข้อที่2 ได้ก ำหนดให้ งวดที่ 1 จ่ำยเป็นจ ำนวน 50% ของงบประมำณที่ ได้รับ เป็นเงิน…………………………………บำท หลังจำกได้มีกำรลงนำมในสัญญำรับทุน และ กรอกข้อมูลแผนงำนวิจัย แผนกำรเบิกจ่ำยงบประมำณในระบบ NRMS และ/หรือ ระบบ สำรสนเทศงำนวิจัย มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัย (RISS) แล้ว และ งวดที่ 3 จ่ำย ส่วนที่เหลือ เป็นเงิน…………………………….……บำท หลังจำกได้ด ำเนินกำรแล้ว ดังนี้ 1) รำยงำนผลกำรด ำเนินงำนกิจกรรมตำมแผนงำนวิจัย ครบตำมขั้นตอนที่ก ำหนดใน ระบบ NRMS แล้ว 2) Upload file รำยงำนฉบับสมบูรณ์ในกรณีโครงกำรปีเดียวหรือปีสุดท้ำย ที่ผ่ำนกำร เห็นชอบจำกคณะหรือหน่วยงำนในระบบ NRMS และ/หรือ ระบบสำรสนเทศงำนวิจัย มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัย (RISS) แล้ว 3) จัดส่งรำยงำนฉบับสมบูรณ์พร้อมแบบรำยงำนผลผลิต (OP1) หรือแบบน ำส่งผลผลิต (OP3) กรณีโครงกำรปีเดียวหรือปีสุดท้ำย ในแบบ วจ.1ด และ วจ.1ช ตำมภำพประกอบที่ 3.8 ภำพที่ 3.8 แบบ วจ.1ด และ วจ.1ช ข้อสังเกต


30 3.2.1.2 ข้อมูลงานสถานะโครงการวิจัยที่ก าลังด าเนินการ กำรบันทึกข้อมูลขอขยำยเวลำงำนวิจัยสำมำรถขยำยเวลำได้ไม่เกิน 2 ครั้ง ให้เป็นไป ตำมข้อที่ 15 ของระเบียบมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลศรีวิชัยว่ำด้วยกำรใช้จ่ำยเงิน อุดหนุนเพื่อกำรวิจัย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 ดังนี้ การขยายเวลางานวิจัย “ข้อ 15 ผู้อ ำนวยกำรหรือหัวหน้ำโครงกำรวิจัยต้องเสนอรำยงำนควำมก้ำวหน้ำของ โครงกำรวิจัย ต่อหน่วยงำน เมื่อถึงระยะเวลำครึ่งหนึ่งของระยะเวลำด ำเนินกำรในกำร ด ำเนินกำรวิจัยที่ก ำหนดไว้ในแผนกำรด ำเนินงำนวิจัย (แบบ วจ.3ด หรือ แบบ วจ.3ช) แต่ละ ปี กรณีที่คำดว่ำงำนวิจัยอำจไม่แล้วเสร็จตำมระยะเวลำที่ก ำหนดไว้ใน โครงกำรวิจัยให้ผู้อ ำนวยกำรหรือหัวหน้ำโครงกำรวิจัยขอขยำยระยะเวลำด ำเนินกำรวิจัยต่อ หัวหน้ำหน่วยงำน เพื่อพิจำรณำโดยสำมำรถขยำยเวลำได้ครั้งละไม่เกินหกเดือน และกระท ำ ได้ไม่เกินสองครั้ง และต้องระบุวันที่คำดว่ำจะด ำเนินกำรเสร็จสิ้นและให้แนบแผนกำร ด ำเนินงำนวิจัย (แบบ วจ.3ด หรือ แบบ วจ.3ช) ที่ขอขยำยเวลำ ซึ่งต้องไม่เกินกว่ำ ก ำหนดเวลำตำมข้อ ๑๗ ให้หน่วยงำนก ำหนดแผนและวิธีกำรติดตำมควำมก้ำวหน้ำในกำร ด ำเนินงำนของแต่ละโครงกำรวิจัยตำมที่เห็นสมควร” ข้อ 23 ในกรณีที่ผู้อ ำนวยกำรหรือ หัวหน้ำโครงกำรวิจัยประสงค์จะขอยุบเลิกโครงกำรวิจัย ให้ท ำรำยงำนสรุปผลกำรด ำเนินกำร ไปจนถึงวันที่หยุดด ำเนินกำร และสรุปยอดจ ำนวนเงินที่ได้รับและจ ำนวนเงินที่จ่ำยไปแล้ว ทั้งสิ้น พร้อมทั้งแจ้งเหตุผล ปัญหำ อุปสรรค ที่ไม่อำจด ำเนินกำรโครงกำรต่อไปได้ให้ มหำวิทยำลัย / วิทยำเขตทรำบภำยในสิบห้ำวัน นับจำกวันที่หยุดด ำเนินกำร และให้หัวหน้ำ หน่วยงำนต้นสังกัดเสนออธิกำรบดีพิจำรณำ กำรขอยุบเลิกโครงกำร ให้ผู้อ ำนวยกำรหรือ หัวหน้ำโครงกำรวิจัยต้องน ำเงินที่ได้รับ ไปแล้วทั้งสิ้นส่งคืนหน่วยงำนภำยในเวลำสิบห้ำวัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งผลกำรพิจำรณำจำก มหำวิทยำลัยเว้นแต่อธิกำรบดีจะพิจำรณำเห็นว่ำปัญหำ อุปสรรคที่ขอยุบเลิกโครงกำรมี เหตุผลอันสมควร อำจอนุมัติให้ผู้อ ำนวยกำรหรือ หัวหน้ำโครงกำรวิจัยส่งเงินเฉพำะส่วนที่รับ ไปแล้วและยังไม่ได้จ่ำย ทั้งนี้ผู้อ ำนวยกำรหรือ หัวหน้ำโครงกำรวิจัยต้องส่งหลักฐำนกำร จ่ำยเงินในส่วนที่ได้รับและจ่ำยไปแล้วพร้อมเงินเหลือจ่ำย (ถ้ำมี) ให้แก่หน่วยงำนภำยในสิบห้ำ วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งผลกำรพิจำรณำจำกมหำวิทยำลัย ข้อ 25 กำรส่งผลกำรด ำเนินงำนวิจัย ให้ผู้อ ำนวยกำรหรือหัวหน้ำโครงกำรวิจัยปฏิบัติตำม หลักเกณฑ์ ดังนี้


31 25.1 ผู้อ ำนวยกำรหรือหัวหน้ำโครงกำรวิจัยต้องเสนอรำยงำนควำมก้ำวหน้ำของ โครงกำรวิจัย ตำมรูปแบบที่มหำวิทยำลัยก ำหนด 25.2 โครงกำรวิจัยต่อเนื่อง ให้ผู้อ ำนวยกำรหรือหัวหน้ำโครงกำรวิจัยต้องเสนอ รำยงำนควำมก้ำวหน้ำของโครงกำรวิจัยเช่นเดียวกับ 25.1 25.3 ผู้อ ำนวยกำรหรือหัวหน้ำโครงกำรวิจัย ต้องส่งรำยงำนวิจัยฉบับสมบูรณ์ จ ำนวน 2 เล่ม พร้อมบันทึกข้อมูลกำรส่งรำยงำนวิจัยฉบับสมบูรณ์ในระบบสำรสนเทศกำรวิจัยและส่ง สรุปรำยงำนกำรใช้จ่ำยเงินโครงกำรวิจัยตำมรูปแบบที่มหำวิทยำลัยก ำหนดในท้ำยระเบียบต่อ หน่วยงำนเพื่อขอรับเงินงวดสุดท้ำย 25.4 ผู้อ ำนวยกำรหรือหัวหน้ำโครงกำรวิจัย ส่งหลักฐำนกำรตีพิมพ์ หรือหลักฐำน กำรน ำไปใช้ประโยชน์ โดยต้องด ำเนินกำรภำยในระยะเวลำ ๑ ปี นับจำกปีที่สิ้นสุดระยะเวลำกำรวิจัย 3.2.1.3 ข้อมูลการเผยแพร่ผลงานวิจัย กำรบันทึกข้อมูลกำรเผยแพร่ผลงำนวิจัยในระบบสำรสนเทศงำนวิจัย มหำวิทยำลัย เทคโนโลยีรำชมงคลศรีวัช ให้ไปตำมหมวดที่ 5 ข้อที่ 29 ของระเบียบมหำวิทยำลัยเทคโนโลยี รำชมงคลศรีวิชัยว่ำด้วยกำรใช้จ่ำยเงินอุดหนุนเพื่อกำรวิจัย พ.ศ. 2559 ดังนี้ หมวด 5 การเผยแพร่ผลงานวิจัย --------------------- ข้อ 29 ผลงำนวิจัย ที่ได้รับทุนอุดหนุนกำรวิจัยจำกมหำวิทยำลัยถือเป็นลิขสิทธิ์ หรือทรัพย์สิน ทำงปัญญำของมหำวิทยำลัย ผู้อ ำนวยกำร หรือหัวหน้ำโครงกำรวิจัยต้องด ำเนินกำรเผยแพร่ ผลงำนวิจัย ในรูปแบบบทควำมทำงวิชำกำรเพื่อเผยแพร่ทั้งในระดับชำติ และระดับนำนำชำติที่มีกำร ตรวจสอบตำมมำตรฐำนเป็นที่ยอมรับและหรือกำรจดทะเบียนทรัพย์สินทำงปัญญำ ทั้งนี้ผลงำนวิจัยที่ได้รับกำรตีพิมพ์ในวำรสำรทั้งในระดับชำติและระดับนำนำชำติ รวมทั้งผลงำนวิจัยที่น ำเสนอในที่ประชุมสัมมนำทำงวิชำกำรทั้งในระดับชำติและนำนำชำติ สนับสนุน กำรวิจัย 3.2.2 การให้บริการระบบสารสนเทศ ความหมายการให้บริการ ตำมพจนำนุกรมฉบับรำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ. 2525 ได้ให้ควำมหมำย “บริกำร” หมำยถึง ปฏิบัติรับใช้ หรือ ให้ควำมสะดวกต่ำงๆ ดังนั้น กำรให้บริกำรจึงหมำยถึง งำนที่มีผู้คอยช่วยอำนวย ควำมสะดวกซึ่งเรียกว่ำ “ผู้ให้บริกำร” และ “ผู้มำรับบริกำร” ก็คือผู้มำรับควำมสะดวก “กำรบริกำร” ไม่ใช่สิ่งที่มีตัวตน แต่เป็นกระบวนกำรหรือกิจกรรมต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นจำกกำร ปฏิสัมพันธ์ระหว่ำงผู้ที่ต้องกำรใช้บริกำร (ผู้บริโภค/ลูกค้ำ/ผู้รับบริกำร) กับ ผู้ให้บริกำร (เจ้ำของ


32 กิจกำร/พนักงำนงำนบริกำร/ระบบกำรจัดกำรบริกำร) ในกำรที่จะตอบสนองควำมต้องกำรอย่ำงใด อย่ำงหนึ่ง ให้บรรลุผลสำเร็จ ควำมแตกต่ำงระหว่ำงสินค้ำและกำรบริกำร ต่ำงก็ก่อให้เกิดประโยชน์ และควำมพึงพอใจแก่ลูกค้ำที่มำซื้อ โดยที่ธุรกิจบริกำรจะมุ่งเน้นกำรกระทำที่ตอบสนองควำมต้องกำร ของลูกค้ำ อันนำไปสู่ควำมพึงพอใจที่ได้รับบริกำรนั้น ในขณะนี้ธุรกิจทั่วไป มุ่งขำยสินค้ำที่ลูกค้ำชอบ และทำให้เกิดควำมพึงพอใจที่ได้เป็นเจ้ำของสินค้ำนั้น (จิตตินันท์ เดชะคุปต์, 2549.) “กำรบริกำร” เป็นกิจกรรมกำรกระทำและกำรปฏิบัติที่ผู้ให้บริกำรจัดทำขึ้นเพื่อเสนอขำย และส่งมอบสู่ผู้รับบริกำรหรือเป็นกิจกรรมที่จัดทำขึ้นรวมกับกำรขำยสินค้ำเพื่อสนองควำมต้องกำร และสร้ำงควำมพึงพอใจให้แก่ผู้รับบริกำรอย่ำงทันทีทันใด ลักษณะของกำรบริกำรมีทั้งไม่มีรูปร่ำงหรือ ตัวตน ไม่สำมำรถสัมผัสหรือจับแตะต้องได้และเป็นสิ่งที่เสื่อมสูญสลำยได้ง่ำยแต่สำมำรถนำมำซื้อขำย กันได้ ซึ่งองค์กรแต่ละองค์กรที่มีกำรแข่งขันกันสูงไม่ว่ำจะด้ำนกลยุทธ์ต่ำงๆ โปแกรมที่นำเสนอ หรือ โปรโมชั่นพิเศษสุด สุดท้ำยแล้วผู้บริโภคจะเลือกใช้บริกำรนั้นก็คือกำรบริกำรหลังกำรขำยซึ่งเป็นสิ่งที่ องค์กรต่ำงๆ นำมำใช้เป็นกลยุทธ์ในกำรบริกำรหลังกำรขำยและเป็นตัวเลือกที่ดีในกำรเข้ำใช้บริกำร “กำรบริกำร” ตรงกับภำษำอังกฤษว่ำ “Service” ในควำมหมำยที่ว่ำเป็นกำรกระท ำที่เปี่ยม ไปด้วยควำมช่วยเหลือ กำรให้ควำมช่วยเหลือกำรดำเนินกำรที่เป็นประโยชน์ (จิตตินันท์ เดชะคุปต์, 2540) ซึ่งควำมหมำยอักษรภำษำอังกฤษ 7 ตัวนี้ ตำมภำพประกอบที่ 3.9 ภำพที่ 3.9 แสดงควำมหมำยอักษร SERVICE ที่มำของภำพ :https://www.spvc.ac.th/news/Chapter1-Service.pdf S = Smiling & Sympathy ยิ้มแย้มและเอำใจเขำมำใส่ใจเรำ เห็นอกเห็นใจต่อควำมลำบำก ยุ่งยำกของผู้มำรับกำรบริกำร E = Early Response ตอบสนองต่อควำมประสงค์จำกผู้รับบริกำรอย่ำงรวดเร็ว R = Respectful แสดงออกถึงควำมนับถือให้เกียรติผู้รับบริกำร V = Voluntariness Manner กำรให้บริกำรที่ทำอย่ำงสมัครใจเต็มใจทำไม่ใช่ทำงำนอย่ำง เสียไม่ได้


33 I = Image Enhancing กำรรักษำภำพลักษณ์ของผู้ให้บริกำรและภำพลักษณ์ขององค์กร C = Courtesy ควำมอ่อนน้อม อ่อนโยน สุภำพมีมำรยำทดี E = Enthusiasm ควำมกระฉับกระเฉง กระตือรือร้นขณะให้บริกำรและให้บริกำรมำกกว่ำ ผู้รับบริกำรคำดหวังเอำไว้ สรุปได้ว่ำ กำรบริกำรหมำยถึงงำนที่ปฏิบัติรับใช้ หรืองำนที่ให้ควำมสะดวกต่ำงๆเกิดจำกกำร ปฏิสัมพันธ์ระหว่ำงผู้ที่ต้องกำรใช้บริกำรกับผู้ให้บริกำร ในรูปแบบกิจกรรมผลประโยชน์หรือควำมพึง พอใจที่ผู้ขำยจัดทำขึ้นเพื่อสนองควำมต้องกำรแก่ผู้บริโภค และเพื่อส่งเสริมกำรขำยให้มีประสิทธิภำพ ความส าคัญของการบริการ กำรบริกำรที่ดีจะช่วยให้กิจกำรประสบควำมส ำเร็จในที่สุด ดังนั้นควำมส ำคัญของกำรบริกำร สำมำรถแบ่งเป็น 2 ประเด็น (มหำวิทยำลัยสุโขทัยธรรมำธิรำช. 2543: 14-16) ดังนี้ 1. ควำมส ำคัญต่อผู้ให้บริกำร แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ 1) งำนบริหำรบุคลำกรที่ปฏิบัติงำนบริกำรโดยเฉพำะผู้ที่ให้บริกำรส่วนหน้ำเนื่องจำก เป็นบุคคลที่ปฏิสัมพันธ์กับผู้มำรับบริกำรโดยตรงเริ่มตั้งแต่กำรต้อนรับผู้ที่เข้ำมำติดต่อ จนกระทั่งบริกำรต่ำง ๆ สิ้นสุดลง กำรทำควำมเข้ำใจเกี่ยวกับกำรบริกำรจะช่วยให้ ผู้ปฏิบัติงำนบริกำรตระหนักถึงกำรปฏิบัติตนต่อผู้รับบริกำรด้วยจิตสำนึกของกำรให้บริกำร และพัฒนำศักยภำพมีดังนี้ (1) รับรู้เป้ำหมำยของกำรให้บริกำรที่ถูกต้องโดยมุ่งเน้นที่ตัวลูกค้ำหรือ ผู้บริโภคเป็นศูนย์กลำงของกำรบริกำรด้วยกำรกระทำเพื่อกำรตอบสนองควำมต้องกำรของ ลูกค้ำและทำให้ลูกค้ำมำใช้บริกำรพึงพอใจเป็นส ำคัญ (2) เข้ำใจและยอมรับพฤติกรรมของลูกค้ำหรือผู้ที่ใช้บริกำร (3) ตระหนักถึงบทบำทและพฤติกรรมของกำรบริกำรที่ผู้บริกำรพึงปฏิบัติ ซึ่งเป็นภำพลักษณ์เบื้องต้น ที่สำมำรถทำให้ผู้รับบริกำรประทับใจใช้บริกำรจนเป็นลูกค้ำ ประจ ำ (4) วิเครำะห์ควำมต้องกำรของผู้รับบริกำรและคุณลักษณะของกำรบริกำร ที่สร้ำงควำมประทับใจแก่ผู้รับบริกำรรวมทั้งกำรแก้ปัญหำเฉพำะหน้ำซึ่งเกิดขึ้นตลอดเวลำ และจำเป็นต้องอำศัยกำรฝึกฝนทักษะในกำรแก้ปัญหำเพื่อมิให้ผู้รับบริกำรเกิดควำมไม่พอใจ ในกำรบริกำรที่ได้รับ 2) ผู้ประกอบกำร ปัจจุบันผู้ประกอบกำรที่ผลิตสินค้ำและบริกำรต่ำงตระหนักถึง ควำมส ำคัญของกำรบริกำรมำกขึ้นและหันมำให้บริกำรเป็นกลยุทธ์กำรแข่งขันทำงกำรตลำด ที่นับวันจะมีประสิทธิภำพมำกยิ่งขึ้น กำรทำควำมเข้ำใจเกี่ยวกับกำรบริกำรจะช่วยให้ผู้บริหำร กำรบริกำรสำมำรถสร้ำงควำมเป็นเลิศในกำรดำเนินกำรบริกำรด้วยคุณภำพของกำรบริกำรที่ ยอดเยี่ยมได้ ดังนี้


34 (1) ตระหนักถึงควำมส ำคัญของลูกค้ำเป็นอันดับแรกและรู้จักส ำรวจควำม ต้องกำรของลูกค้ำในกำรเลือกซื้อสินค้ำและบริกำรต่ำง ๆ เพื่อนำข้อมูลมำใช้วำงแผนและกำร ปรับปรุงกำรดำเนินงำนได้อย่ำงเหมำะสม (2) เห็นควำมส ำคัญของบุคลำกรซึ่งมีบทบำทส ำคัญที่จะดึงผู้บริโภคให้มำ เป็นลูกค้ำประจำขององค์กรด้วยกำรสนับสนุนและเพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรพัฒนำ ศักยภำพในกำรบริกำรอย่ำงทั่วถึงทั้งในด้ำนควำมรู้และทักษะกำรบริกำรที่มีคุณภำพ (3) เข้ำใจกลยุทธ์กำรบริกำรต่ำง ๆ ที่สำมำรถใช้เป็นกลยุทธ์ทำงกำรตลำดที่ มีประสิทธิภำพโดยมุ่งเน้นกำรพัฒนำบุคลำกรที่มีคุณภำพ กำรสร้ำงเอกลักษณ์ในกำรบริกำรที่ ประทับใจ กำรบริหำรองค์กำรที่มีประสิทธิภำพและกำรใช้เทคโนโลยีกำรบริกำรที่ทันสมัย (4) วิเครำะห์ปัญหำข้อบกพร่องและแนวโน้มของกำรบริกำรเพื่อกำร ปรับปรุงแก้ไขและก ำหนดทิศทำงของกำรบริกำรที่ตลำดต้องกำรได้ 2. ควำมส ำคัญต่อผู้รับบริกำร ถึงแม้ธุรกิจบริกำรจะให้ควำมส ำคัญอย่ำงมำกกับลูกค้ำหรือผู้ที่ มีอ ำนำจในกำรตัดสินใจเลือกซื้อหรือใช้บริกำรต่ำง ๆ และพยำยำมทุกวิถีทำงที่จะสร้ำงควำมพึงพอใจ สูงสุดแก่ลูกค้ำ ดังนั้น ลูกค้ำจ ำเป็นที่จะต้องเรียนรู้บทบำทและขอบเขตควำมเป็นไปได้ของกำรใช้ บริกำรที่เหมำะสมด้วยควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับกำรบริกำรจะช่วยให้ผู้ใช้บริกำรเข้ำใจกระบวนกำร บริกำรและสำมำรถคำดหวังกำรบริกำรที่จะได้รับอย่ำงมีเหตุผลตำมข้อจำกัดของสถำนกำรณ์ที่เกิดขึ้น สิ่งที่ควรรับรู้และตระหนักถึง คือ 1) รับรู้และเข้ำใจลักษณะของงำนบริกำรว่ำเป็นงำนหนักที่จะต้องพบกับคนจำนวน มำกและตอบสนองควำมต้องกำรที่หลำกหลำยของผู้มำรับบริกำรอยู่ตลอดเวลำอันส่งผลให้กำรบริกำร บำงครั้งอำจไม่รวดเร็วทันกับควำมต้องกำรของผู้รับบริกำรทุกคนในเวลำเดียวกันได้ซึ่งผู้ใช้บริกำรจำ เป็นต้องคำดหวังกำรบริกำรในระดับที่มีควำมเป็นไปได้ตำมลักษณะของงำนบริกำรต่ำง ๆ 2) ตระหนักถึงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้ใช้บริกำรผู้ที่แสดงเจตนำในกำรรับ บริกำรควรมีมำรยำทที่ดีและใช้คำพูดที่ชัดเจนเข้ำใจง่ำยในกำรระบุควำมต้องกำรกำรบริกำรเมื่อผู้ ให้บริกำรเข้ำใจและเสนอกำรบริกำรที่ถูกใจผู้รับบริกำรก็จะทำให้เกิดควำมรู้สึกและทัศนคติที่มีต่อกำร บริกำร


35 ประเภทของการบริการ ประเภทของธุรกิจบริกำร สำมำรถจัดประเภทได้ 4 ประเภท ดังนี้ตำมภำพประกอบที่ 3.10 ภำพที่ 3.10 แสดงประเภทของกำรบริกำร ที่มำของภำพ :https://www.spvc.ac.th/news/Chapter1-Service.pdf 1 กำรบริกำรต่อร่ำงกำยลูกค้ำ (People Processing Service) ประเภทนี้ เป็นบริกำรที่มีกำร ถูกเนื้อต้องตัวลูกค้ำโดยตรง เช่น ตัดผม นวดแผนโบรำณ ฯลฯ หรือไม่ก็เป็นบริกำรทำงกำยภำพ เช่น บริกำรขนส่งมวลชน เคลื่อนย้ำยตัวลูกค้ำไปที่จุดหมำยปลำยทำง ซึ่งลูกค้ำจำเป็นต้องอยู่ในสถำนที่ ให้บริกำรตลอดทั้งกระบวนกำรให้บริกำร จนกว่ำจะได้รับผลประโยชน์ตำมที่ต้องกำรจำกบริกำรนั้น 2 กำรบริกำรต่อจิตใจลูกค้ำ (Mental Stimulus Processing Service) ประเภทนี้เป็นกำร ให้บริกำร โดยไม่จำเป็นต้องถูกเนื้อต้องตัวลูกค้ำ แต่เป็นกำรให้บริกำรต่อจิตใจอำรมณ์หรือควำม รู้สึก ของลูกค้ำ เช่น โรงภำพยนตร์ โรงเรียน วัด โบสถ์ ฯลฯ ซึ่งลูกค้ำเป็นต้องอยู่ในสถำนที่ให้บริกำรตลอด ทั้งกระบวนกำรให้บริกำรจนกว่ำจะได้รับผลประโยชน์ตำมที่ต้องกำรจำกบริกำรนั้น 3 กำรบริกำรต่อสิ่งของของลูกค้ำ (Procession Processing Service) เป็นกำรซื้อบริกำร ให้กับสิ่งของของเรำ เช่น บริกำร ซัก อบ รีดไปหำสัตวแพทย์ เป็นต้น บริกำรในกลุ่มนี้เป็นกำร ให้บริกำรโดยกำรถูกเนื้อต้องตัวสิ่งของสัตว์เลี้ยง หรือสิ่งของอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งของลูกค้ำ ซึ่งลูกค้ำจำ เป็นต้องเอำสิ่งของหรือสัตว์เลี้ยงมำไว้ในสถำนที่ให้บริกำร โดยตัวลูกค้ำไม่จำเป็นต้องอยู่ในสถำน บริกำรในระหว่ำงที่เกิดกำรให้บริกำรก็ได้ 4 กำรบริกำรต่อสำรสนเทศของลูกค้ำ (Information Processing Service) บริกำรในกลุ่มนี้ เป็นบริกำรที่ทำต่อสิ่งของของลูกค้ำเช่นเดียวกับบริกำรประเภทที่ 3 แต่ต่ำงกันที่ ลักษณะของ “สิ่งของของลูกค้ำ” โดย “สิ่งของของลูกค้ำ” ในบริกำรประเภทที่ 3 จะเป็นของที่มีตัวตน แต่สิ่งของ ในประเภทที่ 4 จะเป็นของที่ไม่มีตัวตน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นข้อมูลสำรสนเทศ จะเห็นได้ว่ำควำมรู้เบื้องต้นในกำรให้บริกำรที่นักบริกำรต้องทรำบคือ ควำมหมำยของกำร ให้บริกำร กำรบริกำรหมำยถึงงำนที่ปฏิบัติรับใช้ หรือ งำนที่ให้ควำมสะดวกต่ำงๆ ตรงกับภำษำอังกฤษ ว่ำ “Service” เกิดจำกกำรปฏิสัมพันธ์ระหว่ำงผู้ที่ต้องกำรใช้บริกำรกับผู้ให้บริกำร ในรูปแบบกิจกรรม


36 ผลประโยชน์หรือควำมพึงพอใจที่ผู้ขำยจัดทำขึ้นเป็นผลิตภัณฑ์รูปแบบหนึ่งเพื่อสนองควำมต้องกำรแก่ ผู้บริโภค และรูปแบบกิจกรรมผลประโยชน์หรือควำมพึงพอใจที่ผู้ขำยจัดทำขึ้น เพื่อเสริมกับสินค้ำให้ กำรขำยและให้สินค้ำมีประสิทธิภำพมำกยิ่งขึ้นควำมส ำคัญของกำรบริกำรมีทั้งด้ำนบริกำรที่ดี และ บริกำรที่ไม่ดี ซึ่งทั้งสองด้ำนจะส่งผลต่อผู้ให้บริกำร โดยที่ลักษณะของงำนบริกำรเป็น ลักษณะที่เกิด จำกควำมไว้วำงใจผู้ใช้บริกำรต้องไม่สำมำรถจับต้องได้แบ่งแยกออกจำกกันไม่ได้มีควำมแตกต่ำงของ กำรบริกำรในแต่ละครั้งไม่สำมำรถเก็บรักษำไว้ได้มีควำมต้องกำรที่ไม่แน่นอนงำนบริกำรที่ทำซ้ำๆ มี ควำมเข้มข้นต่อควำมรู้สึกของพนักงำนและธุรกิจบริกำรมี 4 ประเภท คือ ประเภทแรกเป็นกำรบริกำร ต่อร่ำงกำยลูกค้ำ เป็นกำรบริกำรที่มีกำรถูกเนื้อต้องตัวลูกค้ำโดยตรง เช่น ตัดผมนวดแผนโบรำณ บริกำรที่พักอำศัย เช่น โรงแรม ประเภทที่สอง กำรบริกำรต่อจิตใจลูกค้ำ ด้ำนอำรมณ์ หรือ ควำมรู้สึก ของลูกค้ำ เช่น โรงภำพยนตร์ โรงเรียน วัด โบสถ์ ประเภทที่สำม เป็นกำรบริกำรต่อสิ่งของของลูกค้ำ เช่น บริกำร ซัก อบ รีด ประเภทที่สี่ กำรบริกำรต่อสำรสนเทศของลูกค้ำ จะเป็นสิ่งของที่ไม่มีตัวตน ซึ่ง เป็นข้อมูลสำรสนเทศของลูกค้ำ เช่น ธนำคำรบริกำรที่ปรึกษำทำงธุรกิจ บริกำรวิจัยตลำด 3.3 การรักษาข้อมูลและน าข้อมูลกลับมาใช้ใหม่ 3.3.1 การส ารองข้อมูลงานวิจัย (Database Research Backup) ความหมายการส ารองข้อมูล Backup คือ กระบวนกำรส ำรองข้อมูล เป็นกำรคัดลอกแฟ้มข้อมูลเพื่อท ำส ำเนำ เพื่อ หลีกเลี่ยงควำมเสียหำยที่จะเกิดขึ้นหำกข้อมูลเกิดกำรเสียหำยหรือสูญหำย โดยสำมำรถน ำข้อมูลที่ ส ำรองไว้มำใช้งำนได้ทันที เช่น แฟ้มข้อมูลหนึ่งเก็บไว้ในแผ่น Diskette และเก็บข้อมูลเดียวกันไว้ใน Hard disk ด้วย แถมยังเขียนลง CD-RW เก็บไว้ที่บ้ำนอีกทีหนึ่งก็คือ กำรส ำรองข้อมูลหลำยครั้ง เป็น กำรลดควำมเสี่ยงในกำรสูญเสียต่อข้อมูลในแฟ้มข้อมูลนั้น ตำมภำพประกอบที่ 3.11 ภำพที่ 3.11 กระบวนกำรส ำรองข้อมูล ที่มำของภำพ :https://ez-genius.com/ตอนที่-3-ควำมรู้พื้นฐำน/


37 ประโยชน์ของการส ารองข้อมูล 1) เพื่อป้องกันทั้งกำร ลบ หรือ ท ำข้อมูลสูญหำย ทั้งที่ตั้งใจและไม่ตั้งใจ 2) กู้ข้อมูลเก่ำ เพรำะดันไปแก้ไขข้อมูลปัจจุบันแล้วมีปัญหำ หรือไฟล์ที่มีใช้งำนไม่ได้ต้องกำร กลับไปใช้ต้นฉบับก่อนหน้ำนี้ 3) ป้องกัน อุปกรณ์เก็บข้อมูลเสียหำย หรือ โดนขโมย หำกอุปกรณ์ส ำหรับเก็บข้อมูลหำยไป เรำก็สำมำรถใช้ข้อมูลที่เรำส ำรองไว้จำกอุปกรณ์เก็บข้อมูลตัวอื่นแทนได้ ประเภทของการ Backup โดยหลักแล้วกำร Backup แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1) Full Backup หรือ Normal Backup เป็นกำร Backup พื้นฐำนที่จะท ำกำร Backup ข้อมูลทั้งหมดทุกครั้ง โดยไม่สนใจว่ำจะเป็นข้อมูลเก่ำหรือไม่ และข้อมูลจะมีควำมซ้ ำซ้อนหรือไม่ ข้อดี คือ โอกำสผิดพลำดน้อยและกำร Restore ข้อมูลกลับมำ ไม่ยุ่งยำก สำมำรถท ำได้รวดเร็ว เพรำะเพียง แค่เอำไฟล์ล่ำสุดกลับมำ ก็จะได้ข้อมูลครบถ้วนตั้งแต่ต้นจนถึงล่ำสุด แต่ข้อเสีย คือ ท ำให้กำรเก็บ ข้อมูลซ้ ำซ้อน และเสียเวลำในกำร Backup ตำมภำพประกอบที่ 3.9 ภำพที่ 3.12 วิธีกำรส ำรองข้อมูลแบบ Full Backup หรือ Normal Backup ที่มำของภำพ :https://ez-genius.com/ตอนที่-3-ควำมรู้พื้นฐำน/ 2) Incremental Backup เป็นกำร Backup เฉพำะข้อมูลที่มีกำรเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเข้ำ มำใหม่เท่ำนั้น ไม่ได้เป็นกำร Backup ข้อมูลทั้งหมด ข้อดี คือ ใช้เวลำในกำร Backup ไม่นำน ท ำได้ รวดเร็ว แต่ข้อเสีย คือ กำร Restore ข้อมูลกลับ ต้องมีไฟล์ Backup ที่ครบสมบูรณ์จึงจะสำมำรถน ำ ข้อมูลกลับได้ทั้งหมด ตำมภำพประกอบที่ 3.13


38 ภำพที่ 3.13 วิธีกำรส ำรองข้อมูลแบบ Incremental Backup ที่มำของภำพ :https://ez-genius.com/ตอนที่-3-ควำมรู้พื้นฐำน/ 3) Differential Backup เป็นกำร Backup ข้อมูลที่มีกำรเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเข้ำมำใหม่ โดยดูจำกกำร Backup แบบ Full Backup ครั้งล่ำสุด เช่น หำกวันจันทร์สั่ง Full Backup วันอังคำร สั่ง Differential ก็จะมีกำร Backup เฉพำะข้อมูลที่เพิ่มเข้ำมำใหม่ของวันอังคำร ต่อมำวันพุธสั่ง Differential เหมือนกัน ก็จะมีกำร Backup ข้อมูลทั้งของวันอังคำรและวันพุธ กำร Backup แบบนี้มี ข้อดี คือ ใช้เวลำ Backup ไม่นำน ไฟล์ที่ได้จำกกำร Backup น้อยกว่ำแบบ Incremental ข้อเสีย คือ มีประสิทธิภำพปำนกลำง ไม่ได้เร็วหรือช้ำที่สุด ตำมภำพประกอบที่ 3.14 ภำพที่ 3.14 วิธีกำรส ำรองข้อมูลแบบ Differential Backup ที่มำของภำพ :https://ez-genius.com/ตอนที่-3-ควำมรู้พื้นฐำน/


39 4) Synthetic Full Backup หรืออำจเรียกว่ำเป็นกำรท ำ Reversed Incremental ก็ได้ โดยปกติจะเป็นกำร Backup แบบ Incremental แต่เมื่อถึงระยะเวลำหนึ่งก็จะท ำกำรรวมเอำ Incremental ทั้งหมดมำเป็น Full Backup ตัวอย่ำงเช่น วันจันทร์มีกำรท ำ Full Backup จำกนั้น วันอังคำร, พุธ, พฤหัส จะเป็นกำรท ำ Incremental จนถึงวันศุกร์จะรวมเอำทั้งหมดมำเป็น Full Backup ตำมภำพประกอบที่ 3.15 ภำพที่ 3.15 วิธีกำรส ำรองข้อมูลแบบ Synthetic Full Backup ที่มำของภำพ :https://ez-genius.com/ตอนที่-3-ควำมรู้พื้นฐำน/ หลักการ Backup ข้อมูลตามมาตรฐาน ISO กำร Backup ข้อมูลให้ได้มำตรฐำน ISO ไม่ว่ำจะเป็น ISO-9000 / ISO-28000 หรือ ISO27001 หรืออื่นๆ มีแนวทำง ดังนี้ 1) Media ที่ใช้ในกำร Backup จะต้องมีอย่ำงน้อย 2 ชุด 2) ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในกำร Backup จะต้องมีควำมสำมำรถในกำรท ำ Full System Backup และ Restore ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ 3) มีกำรจัดท ำแผนงำนและตำรำงในกำร Backup หรือ Restore เก็บไว้ เช่น Backup ทุกวัน ตอนกี่โมง, แต่ละวันใช้กำร Backup ประเภทไหน และต้องมีกำรท ำบันทึกผลกำร Backup หรือ Restore ที่ตรวจสอบได้ (ควรต้องให้ควำมส ำคัญกับกำร Restore ด้วย เพรำะหำกไม่มีแผนทดสอบ กำร Restore ก็อำจท ำให้ไม่ผ่ำนกำรประเมินของ Audit ได้ว่ำไม่สอดคล้องกับแผนที่ก ำหนด) 4) ต้องมีกำรท ำ Offside Backup ข้อมูลที่มีกำร Backup จะต้องจัดเก็บไว้ 2 ชุด ซึ่งชุดหนึ่ง จะต้องถูกน ำเก็บไว้ที่ข้ำงนอกบริษัทหรือองค์กรอย่ำงน้อย 10 กิโลเมตรขึ้นไป และต้องมีบันทึกกำร รับส่ง Media ที่ใช้ในกำร Backup ให้สำมำรถตรวจสอบได้ 5) ต้องมีกำรท ำ DR Site (Disaster Recovery) จะต้องมีกำรส ำรองข้อมูลระหว่ำงสำขำได้ ทั้งในรูปแบบของกำรร้องขอกำร Backup และ Restore (Hot site) เมื่อต้องกำร หรือกำร Backup แบบตลอดเวลำ Real-time (Cool site)


Click to View FlipBook Version