The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดการและการใช้งาน
ระบบสารสนเทศงานวิจัย (RISS) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เชิด คงห้อย, 2023-07-28 04:54:25

การจัดการและการใช้งาน ระบบสารสนเทศงานวิจัย (RISS) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

การจัดการและการใช้งาน
ระบบสารสนเทศงานวิจัย (RISS) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

89 ภาพที่4.6การน าเข้าไฟล์ชุดโปรแกรมไปยัง Folder 1 3 2 4 6 5


90 1.2 โครงสร้างฐานข้อมูล 1.2.1 สร้าง Folder เพื่อเตรียมพื้นที่ส าหรับจัดเก็บไฟล์โครงสร้างฐานข้อมูลภายในเครื่อง คอมพิวเตอร์ โดย 1. เลือกต าแหน่งภายในเครื่องที่จะสร้าง Folder 2. Click ขวาพื้นที่ว่าง 3. เลือกแทบ New 4. เลือกแทบ Folder 5. ตั้งชื่อ Folder ตามภาพประกอบที่ 4.8 ข้อควรระวัง และ สิ่งที่ควรค านึงในการปฏิบัติงาน การเตรียมความพร้อมชุดโปรแกรม โดยการคัดลอก (Copy) และวาง (Plate) ไฟล์ชุดโปรแกรมที่สมบูรณ์ของระบบประกอบไปด้วย 14 Folder และ 3 ไฟล์ ตาม ภาพประกอบที่ 4.7 ภาพที่ 4.7ไฟล์ชุดโปรแกรมที่สมบูรณ์


91 ภาพที่ 4.8สร้าง Folder เพื่อเตรียมพื้นที่ส าหรับจัดเก็บไฟล์โครงสร้างฐานข้อมูล 1.2.2 น าเข้าไฟล์โครงสร้างฐานไปยัง Folder โดยการคัดลอกไฟล์โครงสร้างฐานข้อมูลเก็บไว้ใน Folder ที่สร้างเตรียมเอาไว้ในข้อ 1.2.1 โดย 1. เลือกไฟล์โครงสร้างฐานข้อมูลที่ต้องการน าเข้านามสกุล .sql 2. Click ขวา 1 ครั้ง 3. เลือก Copy 4. ไปยังต าแหน่ง Folder ที่สร้างไว้ใน ข้อที่5 ของข้อ 1.2.1 5. Click ขวา 1 ครั้ง และ 6. เลือก Plate ตามภาพประกอบที่ 4.9 ภาพที่ 4.9การน าเข้าไฟล์โครงสร้างฐานไปยัง Folder 1 2 3 4 5 1 3 2 4 6 5


92 2 การเตรียมความพร้อมเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย 2.1 กรอกรายละเอียดความต้องการพื้นฐานของระบบเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ให้ผู้ปฏิบัติงานดาวน์โหลดแบบฟอร์มการขอ Website ภายใต้ Domain มหาวิทยาลัยฯ ได้ที่ URL:https://www.rmutsv.ac.th/sites/default/files/work/ipdomain.pdf จากเว็บไซต์ส านักวิทย บริการและเทคโนโลยีสารเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยและให้ผู้จัดการระบบกรอกข้อมูลต่างๆลง ในแบบฟอร์มดังกล่าว โดยข้อมูลจ าเป็นต้องระบุ มีดังนี้ 1. ข้อมูลหน่อยงาน 2. พื้นที่จัดท า Website 3. Service ต่างๆที่ต้องการใช้งาน 4. ผู้รับผิดชอบหลักของหน่วยงาน ข้อควรระวัง และ สิ่งที่ควรค านึงในการปฏิบัติงาน การเตรียมความพร้อมไฟล์โครงสร้างฐานข้อมูล โดยการคัดลอก (Copy) และวาง (Plate) ไฟล์ไฟล์โครงสร้างฐานข้อมูลต้นฉบับที่ถูกต้องมีขนาดไม่น้อยกว่า 38.3M และชนิด ข้อมูลเป็น .sql ตามภาพประกอบที่ 4.10 ภาพที่ 4.10ไฟล์โครงสร้างฐานข้อมูลที่สมบูรณ์


93 ตัวอย่างแบบฟอร์มการขอ Website ภายใต้Domain มหาวิทยาลัยฯ ตามภาพประกอบที่ 4.11 ภาพที่ 4.11 แบบฟอร์มการขอ Website ภายใต้Domain มหาวิทยาลัยฯ


94 ตัวอย่างที่ถูกต้อง ตามภาพประกอบที่ 4.12 ภาพที่ 4.12 การกรอกรายละเอียดแบบฟอร์มการขอ Website ภายใต้Domain มหาวิทยาลัยฯที่ถูกต้อง 1.ส่วนข้อมูลหน่อยงาน 2.พื้นที่จัดท า Website 3.Service ต่างๆ ที่ต้องการใช้งาน 4.ผู้รับผิดชอบหลัก ของหน่วยงาน


95 ตัวอย่างที่ไม่ถูกต้อง ตามภาพประกอบที่ 4.13 ภาพที่ 4.13 การกรอกรายละเอียดแบบฟอร์มการขอ Website ภายใต้Domain มหาวิทยาลัยฯที่ไม่ถูกต้อง 1.ส่วนข้อมูลหน่อยงาน 2.พื้นที่จัดท า Website 3.Service ต่างๆ ที่ต้องการใช้งาน 4.ผู้รับผิดชอบหลัก ของหน่วยงาน


96 2.2 ท าบันทึกข้อความขอ website ภายใต้ Domain ภายใต้โดเมนของมหาวิทยาลัยฯ จัดท าหนังสือบันทึกข้อความ เรื่อง ขอ web site ภายใต้ Domain มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลศรี เรียนผู้อ านวยการส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ พร้อมระบุความวัตถุประสงค์ในการใช้งาน และลงนามโดยผู้บังคับบัญชาหรือผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน ตามแบบฟอร์มในภาพประกอบที่ 4.14 ภาพที่ 4.14 แบบฟอร์มบันทึกข้อความขอ website ภายใต้ Domain ภายใต้โดเมนของมหาวิทยาลัยฯ


97 ตัวอย่างที่ถูกต้อง ตามภาพประกอบที่ 4.15 ภาพประกอบที่ 4.15 บันทึกข้อความขอ website ภายใต้ Domain ภายใต้โดเมนของมหาวิทยาลัยฯที่ถูกต้อง 1.เรื่อง 2.เรียน 3.วัตถุประสงค์ การใช้งาน 4.ลงนาม


98 ตัวอย่างที่ไม่ถูกต้อง ตามภาพประกอบที่ 4.16 ภาพประกอบที่ 4.16 บันทึกข้อความขอ website ภายใต้ Domain ภายใต้โดเมนของมหาวิทยาลัยฯที่ไม่ถูกต้อง 1.เรื่อง 2.เรียน 3.ไม่ระบุวัตถุประสงค์ การใช้งาน 4.ไม่มีผู้บริหารลงนาม


99 2.3 รับข้อมูล Domain ที่ร้องจากเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายแจ้ง ข้อมูลเกี่ยวกับการเข้าใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายผ่านทาง Email หรือ ผู้รับผิดชอบโดยตรง 2.4 การตรวจสอบความถูกต้องเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย หลังจากได้ข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายผู้จัดการระบบท าการตรวจสอบความถูกต้อง ด้านความพร้อมของระบบเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายให้ถูกต้องตรงตามความต้องการใช้งานของระบบหรือไม่โดย สร้างชุดรหัสค าสั่งไปติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและวิเคราะห์ผล โดย 1. เปิดโปรแกรม Notepad 2.สร้าง รหัสชุดค าสั่ง 3. บันทึกไฟล์เป็นชนิด .php 4.น าไฟล์ที่สร้างไว้ไปติดตั้งบนส่วนเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย5.ทดสอบ และอ่านค่าคุณสมบัติเครื่องแม่ข่าย 1 เปิดโปรแกรม Notepad ดังนี้ 1.คลิกที่ Start > 2.เลือก windows Accessories > 3.เลือก Notepad ตามภาพประกอบที่ 4.17 ภาพที่ 4.17การเปิดโปรแกรม Notepad มาใช้งาน 2 สร้างไฟล์รหัสค าสั่ง (Coding) <? phpinfo(); ?> 1 2 3


100 3 บันทึกไฟล์เป็นชนิด .php 4 น าไฟล์ที่สร้างไว้ไปติดตั้งบนส่วนเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย โดยใช้โปรแกรม File Transfer Program (FTP) น าไฟล์ที่สร้างไว้ไปติดตั้งบนส่วนเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายวิธีการคือ 1. เชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอรื แม่ข่ายกับคอมพิวเตอร์ PC โดย 1. ระบุชื่อหรือหมายเลขเครื่องแม่ข่าย 2.ระบุ File protocal : FTP 3. ระบุ Encryption : No encryption 4. ระบุ Host name : xxx.xxx.xxx.xxx 5.ระบุ Port number : 21 6. ระบุ User name : xxxx และ Password : xxxx 7. เลือก Login เพื่อเชื่อมต่อ 8. น าไฟล์ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย โดยการเลือกและลากไปวาง ตามภาพประกอบที่ 4.18 ภาพที่ 4.18 การน าไฟล์ที่สร้างไว้ไปติดตั้งบนส่วนเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย 1 2 3 4 5 6 7 PC Server


101 5.ทดสอบและอ่านค่าคุณสมบัติเครื่องแม่ข่าย 1. ใช้โปรแกรม Browser 2. พิมพ์ URL http://xxx.xxx.xxx.xxx/phpinfo.php 3. อ่านค่า ตรวจสอบค่าของเครื่องแม่ข่ายให้ตรงกับความต้องการของระบบ 1. ตรวจสอบ Apache ไม่น้อยกว่าเวอร์ชั่น 5.4x หรือ มากกว่า ตามภาพประกอบที่ 4.19 ภาพประกอบที่ 4.19 การตรวจสอบค่า Apache 2. ตรวจสอบ php ไม่น้อยกว่าเวอร์ชั่น 5.6x หรือ มากกว่า ตามภาพประกอบที่ 4.20 ภาพที่ 4.20 การตรวจสอบค่า php


102 3. ตรวจสอบ MySQL ไม่น้อยกว่าเวอร์ชั่น 5.7x หรือ มากกว่า ตามภาพประกอบที่ 4.21 ภาพที่ 4.21 การตรวจสอบค่า MySQL 3. การติดตั้งระบบ (System Installation) 3.1 ติดตั้งโครงสร้างฐานข้อมูลระบบ 1. สร้าง Database ชื่อ xxxxxx ดังตัวอย่าง mysql> create database xxxxxx character set utf8 collate utf_unicode_ci; 2. สร้าง User Account ส าหรับเข้าใช้งาน Database ใหม่นี้ mysql> grant all privileges on xxxxxx.* to 'xxxxxx'@'localhost' identified by '*** some password ***'; mysql> flush privileges; 3. Import ข้อมูลจาก File xxxxxx.sql เข้าไปยัง database ที่สร้างใหม่ shell# mysql -uroot -p xxxxxx < xxxxxx.sql 3.2 ติดตั้งโปรแกรมระบบ 1. ที่ Webroot สร้าง Folder ใหม่ส าหรับ Website เช่น riss.rmutsv.ac.th shell# cd /var/www/ shell# mkdir riss.rmutsv.ac.th 2. สร้าง Folder ส าหรับเก็บ log files 2.1 สร้าง Folders shell# mkdir -p /var/www/logs/riss.rmutsv.ac.th/access


103 shell# mkdir -p /var/www/logs/riss.rmutsv.ac.th/cron shell# mkdir -p /var/www/logs/riss.rmutsv.ac.th/db shell# mkdir -p /var/www/logs/riss.rmutsv.ac.th/email shell# mkdir -p /var/www/logs/riss.rmutsv.ac.th/error shell# mkdir -p /var/www/logs/riss.rmutsv.ac.th/info 2.2 ก าหนดสิทธิในการเข้าใช้งาน Folder logs เพื่อให้ Web Server สามารถ write file ได้ shell# chown -Rf apache.apache /var/www/logs/ 3. Copy file ทั้งหมดของระบบงานไปไว้ที่ Folder ที่สร้างในข้อ 1 4. แก้ไข config ของ Website ดังนี้ 4.1 แก้ไข log path ของระบบ ดังนี้ 4.1.1 เปิด file /var/www/riss.rmutsv.ac.th/include/config.php 4.1.2 แก้ไขตัวแปรให้มีค่าดังนี้ define('__APP_WWW_DOMAIN', 'riss.rmutsv.ac.th'); define('__APP_CONFIG_LOG_PATH',"/var/www/logs/".__APP_WWW_DOMAIN."/"); หมายเหตุ: __APP_CONFIG_LOG_PATH จะต้องมีค่าเดียวกับ Folder Log ของ Website 4.2 แก้ไข Database Configuration ดังนี้ 4.1.1 ที่ file /var/www/riss.rmutsv.ac.th/include/config.php 4.1.2 แก้ไขตัวแปรให้มีค่าดังนี้ if(!defined('__APP_CONFIG_DB_HOST')){ define('__APP_CONFIG_DB_HOST','localhost'); } if(!defined('__APP_CONFIG_DB_NAME')){ define('__APP_CONFIG_DB_NAME','xxxxxx');


104 } if(!defined('__APP_CONFIG_DB_USER')){ define('__APP_CONFIG_DB_USER','xxxxxx'); } if(!defined('__APP_CONFIG_DB_PWD')){ define('__APP_CONFIG_DB_PWD','*** some password ***'); } หมายเหตุ: ค่าที่ก าหนดในตัวแปรจะต้องเป็นค่าเดียวกับที่สร้าง Database 5. แก้ไข file Apache configuration เพื่อสร้าง Virtual Host ส าหรับ Website ดังตัวอย่าง <VirtualHost *:80> ServerName riss.rmutsv.ac.th ErrorLog /var/log/httpd/riss.rmutsv.ac.th/error_log CustomLog /var/log/httpd/riss.rmutsv.ac.th/access_log common <Directory "/var/www/riss.rmutsv.ac.th"> DirectoryIndex index.html index.php Options Indexes FollowSymLinks Includes ExecCGI AllowOverride All Order allow,deny Allow from all </Directory> </VirtualHost> 6. Restart Apache และทดสอบการเข้าใช้งาน Website


105 5 การก าหนดค่าพื้นฐานระบบ (RISS Configuration) ส าหรับผู้จัดการระบบ 5.1 การLogin เข้าสู่ระบบ 1. เปิดโปรแกรม Web Browser เช่น Google Chrome, Microsoft Internet Explorer (version 10 ขึ้นไป) หรือ Mozila Firefox 2. ไปที่ URL https://riss.rmutsv.ac.th 3. โดยโปรแกรมจะแสดงหน้าจอระบบงาน ตามภาพประกอบที่ 4.22 ภาพที่ 4.22 การแสดงหน้าจอระบบงาน 4. เลือกเมนู “เข้าสู่ระบบ/ลงทะเบียน” โดยระบบจะแสดงหน้าจอ Login เข้าใช้งาน กรอกข้อมูล 1. Username และ 2. รหัสผ่าน จากนั้น 3. กดปุ่ม “Login เข้าใช้งาน” ตามภาพประกอบที่ 4.23


106 ภาพประกอบที่ 4.23 ภาพหน้าจอ Login เข้าระบบ 5. หากข้อมูล Username และรหัสผ่านถูกต้อง ระบบจะแสดงหน้าจอระบบงาน ตาม ภาพประกอบที่ 4.24 ภาพที่ 4.24 การแสดงผลหน้าจอระบบงานหากกรอกข้อมูล Username และรหัสผ่านถูกต้อง 1 2 3


107 5.2ก าหนดค่าระบบ -ข้อมูลส่วนบุคคล การก าหนดค่าข้อมูลส่วนบุคคลประกอบด้วย 4 เมนูย่อยที่เกี่ยวข้อง คือ 1.ค าน าหน้าชื่อ 2.ต าแหน่งทางวิชาการ 3.ต าแหน่งในทีม 4.สาขาความเชี่ยวชาญ 5.2.1 ค าน าหน้าชื่อ 1. เลือก“ก าหนดค่า” 2. เลือก“ข้อมูลพื้นฐานระบบ” 3. เลือก“ส่วนบุคล” 4. เลือก “ค าน าหน้าชื่อ” ตามภาพประกอบที่ 4.25 ภาพที่ 4.25 เมนูการก าหนดค่าระบบ 1 2 3 4


108 5. ปรากฏแสดงรายการค าน าหน้าชื่อ ตามภาพประกอบที่ 4.26 และ 6. เลือก Menu มุมขวาบนจะปรากฏ ตามภาพประกอบที่ 4.27 ภาพประกอบที่ 4.23 แสดงรายการค าน าหน้าชื่อ ภาพที่ 4.26 แสดงรายการค าน าหน้าชื่อ การเพิ่มข้อมูลให้เลือก 7. Add Data ตามภาพประกอบที่ 4.27 ภาพที่ 4.27 แสดงการเพิ่มข้อมูลค าน าหน้าชื่อ หลังจากนั้น 8.เพิ่มข้อมูล และ 9. กดบันทึกข้อมูล ตามภาพประกอบที่ 4.28 ภาพที่ 4.28 การเพิ่มข้อมูล และ การบันทึกข้อมูลค าน าหน้าชื่อ 7 8 9 5 6


109 10. การ “ลบ” ให้เลือกรูปสัญลักษณ์ และ”แก้ไข” ในข้อมูลรายการที่แสดง ตามภาพประกอบที่ 4.29 ภาพที่ 4.29 การลบข้อมูลค าน าหน้าชื่อ 5.2.2 ต าแหน่งทางวิชาการ 1. เลือก“ก าหนดค่า” 2. เลือก“ข้อมูลพื้นฐานระบบ” 3. เลือก“ส่วนบุคล” 4. เลือก “ต าแหน่งทางวิชาการ” ตามภาพประกอบที่ 4.30 ภาพที่ 4.30 การก าหนดค่าต าแหน่งทางวิชาการ 10 1 2 3 4


110 5. ปรากฏแสดงรายการชื่อต าแหน่ง ตามภาพประกอบที่ 4.28 และ 6. เลือก Menu มุม ขวาบน จะปรากฏตามภาพประกอบที่ 4.29 ตามล าดับ ภาพประกอบที่ 4.28 แสดงรายการค าน าหน้าชื่อ การเพิ่มข้อมูลให้เลือก 7. Add Data ตามภาพประกอบที่ 4.29 ภาพประกอบที่ 4.29 แสดงรายการค าน าหน้าชื่อ หลังจากนั้น 8.เพิ่มข้อมูล และ 9. กดบันทึกข้อมูล ตามภาพประกอบที่ 4.30 ภาพประกอบที่ 4.30 การเพิ่มข้อมูล และ การบันทึกข้อมูลต าแหน่งทางวิชาการ 5 6 7 8 9


111 4.3.2 การใช้ระบบและแนะน าการใช้งาน (On Implement Processing & Introduce) 1.การบริหารจัดการข้อมูลนักวิจัยและสมาชิก 1.1 ลงทะเบียนเข้าใช้งานระบบ 1. เปิ ดโ ป ร แ ก ร ม Web Browser เ ช่น Google Chrome, Microsoft Internet Explorer (version 10 ขึ้นไป) หรือ Mozila Firefox 2. ไปที่ URL https://riss.rmutsv.ac.th 3. โดยโปรแกรมจะแสดงหน้าจอระบบงาน ตามภาพประกอบที่ 4.22 4. เลือกเมนู เข้าสู่ระบบ / ลงทะเบียน ตามภาพประกอบที่ 4.31 ภาพที่ 4.31 เมนู เข้าสู่ระบบ / ลงทะเบียน 5. ปรากฏหน้า Login ให้เลือก “ลงทะเบียนเข้าใช้งาน” ตามภาพประกอบที่ 4.32 ภาพที่ 4.32 หน้า Login “ลงทะเบียนเข้าใช้งาน” 4 5


112 6. ปรากฏหน้าลงทะเบียนเข้าใช้งาน ให้กรอกรายละเอียดต่างๆให้ครบถ้วน แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนก าหนดชื่อเข้าใช้งานและรหัสผ่าน และ ส่วนการเชื่อมโยงข้อมูลงานวิจัยกับงานวิจัยที่มีอยู่ ตามภาพประกอบที่ 4.33 ภาพที่ 4.33 หน้ากรอกรายละเอียดลงทะเบียนเข้าใช้งานระบบ ภาพที่ 4.34การเลือก เชื่อมโยง Account นี้กับข้อมูลนักวิจัยที่มีอยู่แล้ว 6 ข้อควรระวัง และ สิ่งที่ควรค านึงในการปฏิบัติงาน กรณีเคยเป็นหัวหน้าโครงการวิจัย หรือ ผู้ร่วมวิจัย ในส่วนเชื่อมโยงข้อมูลนักวิจัย จ าเป็นต้องเลือก เชื่อมโยง Account นี้กับข้อมูลนักวิจัยที่มีอยู่แล้ว ให้เลือกตามภาพประกอบ ที่ 4.34


113 1.2 เข้าใช้งานระบบ การเข้าใช้งานระบบสารสนเทศงานวิจัย มทร.ศรีวิชัย (Research Information Srivijaya System) เป็นกระบวนการรักษาความปลอดภัยข้อมูลตามสิทธิ์ของกลุ่มที่เข้าใช้งานเฉพาะผู้ที่ได้รับสิทธิให้เข้าใช้ งานระบบแล้วเท่านั้น โดยระบุชื่อเข้าใช้(Username) และรหัสผ่าน (Password) เพื่อจ าแนกสิทธิ์ตามกลุ่มได้ดังนี้ 1. เปิ ดโ ป ร แ ก ร ม Web Browser เ ช่น Google Chrome, Microsoft Internet Explorer (version 10 ขึ้นไป) หรือ Mozila Firefox 2. ไปที่ URL https://riss.rmutsv.ac.th 3. โดยโปรแกรมจะแสดงหน้าจอระบบงานตามภาพประกอบที่ 4.22 4. เลือกเมนู เข้าสู่ระบบ / ลงทะเบียน ตามภาพประกอบที่ 4.31 5. ปรากฏหน้า Login ให้เลือก “ลงทะเบียนเข้าใช้งาน” 6. กรอกข้อมูล Username และรหัสผ่าน จากนั้นกดปุ่ม “Login เข้าใช้งาน” 7. หากข้อมูล Username และรหัสผ่านถูกต้อง ระบบจะแสดงหน้าจอระบบงาน ตามภาพประกอบที่ 4.35


114 ภาพที่ 4.35 แสดงหน้าจอระบบงานกรณีระบุ Username และรหัสผ่านถูกต้อง 1.3 เพิ่มข้อมูลนักวิจัยและสมาชิก 1. ผู้จัดการระบบ สามารถเพิ่มข้อมูลนักวิจัยหรือผู้เข้าใช้งานระบบให้แก่ทุกหน่วยงานได้ 2. เจ้าหน้าที่วิจัย สามารถเพิ่มข้อมูลนักวิจัยหรือผู้เข้าใช้งานระบบให้แก่นักวิจัยและผู้เข้า ใช้งานระบบของหน่วยงานที่ตนเองสังกัดอยู่เท่านั้น โดย 1. เลือกเมนูนักวิจัย 2.เลือกเพิ่มนักวิจัย ตามภาพประกอบ ที่ 4.36 ภาพที่ 4.36 เมนูเพิ่มข้อมูลนักวิจัย โดยผู้จัดการระบบและเจ้าหน้าที่วิจัย 1 2


115 3. จะปรากฏหน้าต่างให้กรอกข้อมูลของนักวิจัย ตามภาพประกอบที่ 4.37 ภาพที่ 4.37 หน้าต่างให้กรอกข้อมูลของนักวิจัย 4. กดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” เพื่อท าการบันทึกข้อมูลนักวิจัย โดยระบบจะแสดงข้อมูลนักวิจัยที่ได้ เพิ่มเข้าไปในระบบตามภาพประกอบที่ 4.38 ภาพที่ 4.38 ปุ่ม “บันทึกข้อมูล” เพื่อท าการบันทึกข้อมูลนักวิจัย 3 4


116 1.4 การแก้ไขข้อมูลนักวิจัยและสมาชิก การแก้ไขข้อมูลนักวิจัยหรือผู้เข้าใช้งานระบบเพื่อปรับเปลี่ยนข้อมูลส่วนตัว สามารถด าเนินการได้ โดย 1.ผู้จัดการระบบ สามารถแก้ไขข้อมูลนักวิจัยหรือข้อมูลผู้เข้าใช้งานระบบได้ทั้งหมด 2.เจ้าหน้าที่วิจัย สามารถแก้ไขข้อมูลนักวิจัยหรือข้อมูลผู้เข้าใช้งานระบบได้เฉพาะหน่วยงานที่ ตนเองสังกัดอยู่เท่านั้น โดยเลือกรูปดินสอ จากรายการข้อมูลนักวิจัย ตามภาพประกอบที่ 4.38 ภาพที่ 4.38 แสดงรายการข้อมูลนักวิจัยที่จะแก้ไข 3. ส่วนนักวิจัย เลือกแก้ไขข้อมูลเฉาะส่วนตัวได้เท่านั้นโดยเลือก แก้ไขข้อมูลส่วนตัว ตาม ภาพประกอบที่ 4.39 ภาพที่ 4.39 แสดงหน้าหลักแก้ไขข้อมูลส่วนตัวของนักวิจัย


117 4. จะปรากฏหน้าต่างให้แก้ไขข้อมูลและท าการบันทึกข้อมูลในแต่ละส่วน ดังนี้ 4.1 ส่วนแก้ไขข้อมูลทั่วไป 4.2 ท าการบันทึก ตามภาพประกอบที่ 4.40 ภาพที่ 4.40 หน้าต่างแก้ไขข้อมูลส่วนตัวนักวิจัย-ข้อมูลทั่วไป 4.3 ส่วนแก้ไขรหัสผ่าน 4.4 ท าการบันทึก ตามภาพประกอบที่ 4.41 ภาพประกอบที่ 4.41 หน้าต่างแก้ไขข้อมูลส่วนตัวนักวิจัย-แก้ไขรหัสผ่าน 4.1 4.2 4.3 4.4


118 4.5 ส่วนแก้ไขรูปภาพส่วนตัว ตามภาพประกอบที่ 4.42 ภาพที่ 4.42 หน้าต่างแก้ไขรูปภาพส่วนตัวนักวิจัย 4.6 ส่วนแก้ไขประวัติการศึกษา ตามภาพประกอบที่ 4.43 ภาพประกอบที่ 4.43 หน้าต่างแก้ไขประวัติการศึกษา 4.7 ส่วนแก้ไขสาขาความเชี่ยวชาญ 4.8 ท าการบันทึก ตามภาพประกอบที่ 4.44 4.5


119 ภาพประกอบที่ 4.44 หน้าต่างแสดงรายการแก้ไขและบันทึกข้อมูลส่วนตัวนักวิจัย – สาขาความเชี่ยวชาญ 1.5 การลบข้อมูลนักวิจัยและสมาชิก การลบข้อมูลนักวิจัยหรือผู้เข้าใช้งานระบบ สามารถด าเนินการได้โดย 1.ผู้จัดการระบบ สามารถลบข้อมูลนักวิจัยหรือผู้เข้าใช้งานระบบให้แก่ทุกหน่วยงานได้ 2.เจ้าหน้าที่วิจัย สามารถลบข้อมูลนักวิจัยหรือผู้เข้าใช้งานระบบให้แก่นักวิจัยและผู้เข้า ใช้งานระบบของหน่วยงานที่ตนเองสังกัดอยู่เท่านั้น โดย 1.เลือกรูปดินสอ จากรายการข้อมูลนักวิจัย ตามภาพประกอบที่ 4.45 ซึ่งนักวิจัย ไม่อนุญาตให้ลบข้อมูลได้ ภาพประกอบที่ 4.45 หน้าต่างแสดงรายการลบข้อมูลนักวิจัย 4.7 4.8 1


120 2. ปรากฏหน้าต่าง กรุณายืนยัน 3. เลือก Yes เพื่อยืนยันการลบข้อมูล ตามภาพประกอบที่ 4.46 ภาพที่ 4.46 หน้าต่างยืนยันการลบข้อมูลนักวิจัย 2 3 ข้อควรระวัง และ สิ่งที่ควรค านึงในการปฏิบัติงาน การลบ (Delete) ข้อมูลออกจากระบบผู้ปฏิบัติงานควรมีความระมัดระวัง เนื่องจากมีความเกี่ยวข้องกับข้อมูลงานวิจัยที่นักวิจัยแต่ละท่านได้ด าเนินการกับฐานข้อมูล ผู้ปฏิบัติงานจึงควรตรวจสอบย้อนกลับไปยังต้นสังกัดของนักวิจัยแต่ละท่านเพื่อทวนสอบ ข้อมูลอีกครั้งก่อนด าเนินการลบข้อมูลออกจากระบบ


121 2. การบริหารจัดการข้อมูลโครงการวิจัย ผู้ระบบ เจ้าหน้าที่วิจัยและนักวิจัย สามารถเพิ่ม แก้ไข และลบ ข้อมูลโครงการวิจัยของนักวิจัยได้ โดยท า ตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1. ที่หน้าจอระบบ เลือกเมนู “โครงการวิจัย” โดยระบบจะแสดงหน้าจอตามภาพประกอบที่ 4.47 ภาพที่ 4.47 หน้าจอระบบ เลือกเมนู “โครงการวิจัย” 2. ผู้จัดการระบบ เจ้าหน้าที่วิจัย สามารถเลือกดูโครงการวิจัยต่างๆ ในหน่วยงานของตนเองได้ โดยกรอก ข้อมูลตามที่ต้องการค้นหา จากนั้นกดปุ่ม “ค้นหา” โดยระบบจะแสดงข้อมูลที่ค้นเจอทั้งหมดในหน้าจอ ตาม ภาพประกอบที่ 4.48 ภาพที่ 4.48 หน้าจอค้นหา “โครงการวิจัย”


122 3. ผู้จัดการระบบ สามารถดูรายละเอียดโครงการได้ โดยเลือกที่ชื่อโครงการ โดยระบบจะแสดงหน้าจอ รายละเอียดโครงการ ตามภาพประกอบที่ 4.49 และ 4.50 ภาพที่ 4.49 หน้าต่างเลือกชื่อโครงการวิจัย ภาพที่ 4.50 ดูรายละเอียดโครงการ


123 4. ผู้จัดการระบบ เจ้าหน้าที่วิจัย นักวิจัย สามารถเพิ่มโครงการได้ โดยเลือกที่ปุ่ม “เพิ่มโครงการ” โดย ระบบจะแสดงหน้าจอการเพิ่มโครงการ ตามภาพประกอบที่ 4.51 ภาพประกอบที่ 4.51 หน้าต่างการเพิ่มโครงการ


124 5. เมื่อท าการกรอกข้อมูลครบแล้ว ให้กดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” โดยระบบจะท าการบันทึกข้อมูล และแสดง หน้าจอในหัวข้อถัดไป ตามภาพประกอบที่ 4.52 ภาพที่ 4.52 หน้าต่างหลักการเพิ่มทีมวิจัยโครงการวิจัย 6. หากต้องการเพิ่มทีมนักวิจัยของโครงการสามารถท าได้ โดยการกดปุ่ม “เพิ่มทีมวิจัย” โดยระบบจะ แสดงหน้าต่างเพื่อให้กรอกรายละเอียด ตามภาพประกอบที่ 4.53 ภาพที่ 4.53 หน้าต่างการกรอกรายละเอียดเพื่อเพิ่มทีมวิจัยส าหรับโครงการวิจัย


125 7. กรอกข้อมูลชื่อนักวิจัย ต าแหน่งในทีม และสัดส่วนการมีส่วนร่วม (%) จากนั้นกดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” 8. หลังจากกรอกข้อมูลนักวิจัยในทีมเรียบร้อยแล้ว ให้กดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” เพื่อไปยังขั้นตอนต่อไป 9. หากในโครงการมีเอกสารประกอบโครงการ ผู้จัดการระบบ สามารถเพิ่มเอกสารได้ โดยการลาก File เอกสารมาวางไว้ในหน้าจอ ตามภาพประกอบที่ 4.54 ภาพที่ 4.54 หน้าจอการแนบไฟล์เอกสารโครงการวิจัย ข้อควรระวัง และ สิ่งที่ควรค านึงในการปฏิบัติงาน การแนบไฟล์ประกอบโครงการระบบรองรับชนิดไฟล์ 2 ประเภท เท่านั้นคือ 1. ชนิด pdf ไฟล์ นามสกุล .pdf 2. ชนิด word ไฟล์ นามสกุล .doc หรือ docx และขนาดของไฟล์ทั้ง 2 ชนิดต้องไม่มากกว่า 20 MB/ไฟล์


126 9. เมื่อกรอกข้อมูลโครงการครบถ้วนแล้ว ให้กดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” โดยระบบจะแสดงหน้าจอตาม ภาพประกอบที่ 4.55 ภาพที่ 4.55 แสดงหน้าจอรายละเอียดการบันทึกโครงการวิจัย 10. หากต้องการแก้ไขข้อมูลโครงการ สามารถท าได้โดยการกดปุ่ม “แก้ไขโครงการ” ที่ด้านล่างของ จอภาพ โดยระบบจะแสดงหน้าจอเพื่อให้แก้ไขข้อมูลโครงการ ตามภาพประกอบที่ 4.56 ภาพที่ 4.56 แสดงหน้าต่างเพื่อให้แก้ไขข้อมูลโครงการวิจัย


127 11. หากท าการแก้ไขข้อมูลโครงการเรียบร้อยแล้ว ให้กดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” ในขัวข้อที่ท าการแก้ไข ตาม ภาพประกอบที่ 4.57 ภาพที่ 4.57 ปุ่มบันทึกข้อมูลเมื่อแก้ไขข้อมูลโครงการวิจัยเรียบร้อย 12. หากผู้จัดการระบบหรือเจ้าหน้าที่วิจัย ต้องการแก้ไขสถานะการด าเนินงานโครงการ ก็สามารถท าได้ โดยการกดปุ่ม “แก้ไขสถานะโครงการ” โดยระบบจะแสดงหน้าจอเพื่อให้แก้ไขสถานะโครงการ ตามภาพประกอบ ที่ 4.58 ภาพที่ 4.58 ปุ่มแก้ไขสถานะโครงการวิจัย


128 13. หลังจากที่เลือกสถานะการด าเนินงานโครงการเรียบร้อยแล้ว ให้กดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” เพื่อท าการ บันทึกข้อมูลที่ได้แก้ไข ตามภาพประกอบที่ 4.59 ภาพที่ 4.59 ปุ่มบันทึกข้อมูล เมื่อแก้ไขสถานะโครงการวิจัยเรียบร้อยแล้ว 3. การบริหารจัดการข้อมูลการเผยแพร่ผลงานวิจัยในวารสารเชิงวิชาการ ผู้จัดการระบบ เจ้าหน้าที่วิจัยและนักวิจัย สามารถเพิ่ม แก้ไข ข้อมูลบทความวารสารของนักวิจัยในคณะ ของตนหรือของตนเองได้ ส่วนการลบข้อมูลบทความวารสารไม่อนุญาตให้นักวิจัยลบข้อมูลได้ ยกเว้นผู้จัดการ ระบบและเจ้าหน้าที่วิจัยเท่านั้น โดยท าตามขั้นตอนดังนี้ 1. ที่หน้าจอหลักของระบบ เลือกเมนู “บทความวารสาร” โดยระบบจะแสดงหน้าจอบริหารจัดการ บทความวารสาร ตามภาพประกอบที่ 4.60


129 ภาพที่ 4.60 แสดงเมนู”บทความวารสาร” 2. ผู้จัดการระบบ เจ้าหน้าที่วิจัยและนักวิจัย สามารถค้นหาข้อมูลบทความวารสารที่ต้องการได้ โดยการ กรอกข้อมูลที่ต้องการค้นหา และกดปุ่ม “ค้นหา” โดยระบบจะแสดงข้อมูลบทความวารสารที่ค้นพบ ตาม ภาพประกอบที่ 4.61 ภาพที่ 4.61 หน้าต่างค้นหาบทความวารสาร


130 3. ผู้จัดการระบบ เจ้าหน้าที่วิจัยและนักวิจัย สามารถเพิ่มบทความวารสารได้ โดยกดปุ่ม “เพิ่มบทความ วารสาร” โดยระบบจะแสดงหน้าจอให้เพิ่มข้อมูลบทความวารสาร ตามภาพประกอบที่ 4.62 ภาพประกอบที่ 4.62 หน้าต่างเพิ่มข้อมูลบทความวารสาร 4. ท าการกรอกข้อมูลของบทความวารสาร จากนั้นกดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” โดยระบบจะแสดงหน้าจอ เพื่อให้กรอกข้อมูลในข้อถัดไป ตามภาพประกอบที่ 4.63 ภาพที่ 4.63 ปุ่ม “บันทึกข้อมูล”การเพิ่มข้อมูลบทความวารสาร


131 5. กดปุ่ม “เพิ่มนักวิจัย” หากต้องการเพิ่มข้อมูลทีมนักวิจัยที่ร่วมกันท าบทความวารสารนี้ตาม ภาพประกอบที่ 4.64 ภาพที่ 4.64 ปุ่มเพิ่มข้อมูลทีมนักวิจัยที่ร่วมกันท าบทความวารสาร 6. หลังจากนั้นให้กรอกข้อมูลนักวิจัย ต าแหน่งในทีม และเปอร์เซ็นต์การมีส่วนร่วม เพื่อเพิ่มทีมวิจัย จากนั้นกดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” ตามภาพประกอบที่ 4.65 ภาพที่ 4.65 แสดงการกรอกข้อมูลทีมนักวิจัยที่ร่วมกันท าบทความวารสาร


132 7. เมื่อท าการกรอกข้อมูลนักวิจัยเรียบร้อยแล้ว ให้กดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” เพื่อไปยังขั้นตอนต่อไป 8. หากมีเอกสารประกอบบทความวารสาร ผู้จัดการระบบ เจ้าหน้าที่วิจัยและนักวิจัย สามารถเพิ่มเอกสาร เข้าไปยังระบบได้ โดยการลาก File เอกสารมาวางที่หน้าจอ หรือกดที่หน้าจอและเลือก File บทความวารสารที่ ต้องการ ตามภาพประกอบที่ 4.66 ภาพที่ 4.66 หน้าต่างการแนบไฟล์เอกสารบทความวารสาร ข้อควรระวัง และ สิ่งที่ควรค านึงในการปฏิบัติงาน การแนบไฟล์ประกอบโครงการระบบรองรับชนิดไฟล์ 2 ประเภท เท่านั้นคือ 1. ชนิด pdf ไฟล์ นามสกุล .pdf 2. ชนิด word ไฟล์ นามสกุล .doc หรือ docx และขนาดของไฟล์ทั้ง 2 ชนิดต้องไม่มากกว่า 20 MB/ไฟล์


133 9. กดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” เพื่อท าการบันทึกข้อมูล File เอกสารประกอบบทความ โดยระบบจะแสดง หน้าจอสรุปรายละเอียดของบทความวารสาร ตามภาพประกอบที่ 4.67 ภาพที่ 4.67 หน้าต่างสรุปรายละเอียดของบทความวารสาร 10. หากต้องการแก้ไขข้อมูลบทความวารสาร ผู้จัดการระบบ เจ้าหน้าที่วิจัยและนักวิจัย สามารถกดที่ปุ่ม “แก้ไขบทความวารสาร” ที่ด้านล่างของหน้าจอได้ โดยระบบจะแสดงหน้าจอเพื่อให้แก้ไขข้อมูลบทความวารสาร ตามภาพประกอบที่ 4.68 ภาพที่ 4.68 หน้าต่างเพื่อให้แก้ไขข้อมูลบทความวารสาร


134 11. หลังจากที่ได้ท าการแก้ไขข้อมูลบทความวารสารแล้ว ให้กดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” ในแต่ละหัวข้อของ การแก้ไข ตามภาพประกอบที่ 4.69 ภาพที่ 4.69 ปุ่ม “บันทึกข้อมูล” ในแต่ละหัวข้อของการแก้ไข 4. การบริหารจัดการข้อมูลการเผยแพร่ผลงานวิจัยในเวทีการประชุมวิชาการ ผู้จัดการระบบ เจ้าหน้าที่วิจัยและนักวิจัย สามารถเพิ่ม แก้ไข ข้อมูลบทความประชุมวิชาการของนักวิจัย ในคณะของตนหรือของตนเองได้ ส่วนการลบข้อมูลบทความประชุมวิชาการไม่อนุญาตให้นักวิจัยลบข้อมูลได้ ยกเว้นผู้จัดการระบบและเจ้าหน้าที่วิจัยเท่านั้น โดยท าตามขั้นตอนดังนี้ 1. ที่หน้าจอหลักของระบบ เลือกเมนู “บทความประชุมวิชาการ” โดยระบบจะแสดงหน้าจอบริหาร จัดการบทความประชุมวิชาการ ตามภาพประกอบที่ 4.70 ภาพที่ 4.70 แสดงเมนู บทความประชุมวิชาการ


135 2. ผู้จัดการระบบ เจ้าหน้าที่วิจัยและนักวิจัย สามารถค้นหาข้อมูลบทความประชุมวิชาการ โดยก าหนด เงื่อนไขต่างๆ ที่ต้องการค้นหา จากนั้นกดปุ่ม “ค้นหา” โดยระบบจะแสดงผลข้อมูลที่ต้องการค้นหาทั้งหมด ตาม ภาพประกอบที่ 4.71 ภาพที่ 4.71 หน้าจอค้นหาบทความประชุมวิชาการ 3. หากต้องการเพิ่มข้อมูลบทความประชุมวิชาการ ให้กดที่ปุ่ม “เพิ่มบทความประชุมวิชาการ” โดยระบบ จะแสดงหน้าจอ ตามภาพประกอบที่ 4.72 ภาพที่ 4.72 หน้าต่างเพิ่มบทความประชุมวิชาการ


136 4. ต่อไปกรอกข้อมูลบทความประชุมวิชาการ จากนั้นกดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” โดยระบบจะแสดงหน้าจอใน ล าดับถัดไป ตามภาพประกอบที่ 4.73 ภาพที่ 4.73 ปุ่มบันทึกข้อมูล เพิ่มบทความประชุมวิชาการ 5. หากต้องการเพิ่มข้อมูลทีมนักวิจัยที่จัดท าบทความประชุมวิชาการ ให้กดปุ่ม “เพิ่มนักวิจัย” โดยระบบ จะแสดงข้อมูล ตามภาพประกอบที่ 4.74 ภาพที่ 4.74 ปุ่มเพิ่มข้อมูลทีมนักวิจัย บทความประชุมวิชาการ


137 6. กรอกข้อมูลนักวิจัย ต าแหน่งในทีม และเปอร์เซนต์การมีส่วนร่วม จากนั้นกดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” ตาม ภาพประกอบที่ 4.75 ภาพที่ 4.75 การกรอกรายละเอียดข้อมูลทีมนักวิจัย บทความประชุมวิชาการ 7. ในหน้าจอทีมนักวิจัย กดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” เพื่อไปยังหน้าจอถัดไป 8. หากต้องการเพิ่มข้อมูลเอกสารประกอบบทความประชุมวิชาการ ผู้จัดการระบบ เจ้าหน้าที่วิจัยและ นักวิจัย สามารถท าได้โดยการลาก File เอกสารมาวางที่หน้าจอ ตามภาพประกอบที่ 4.76 ภาพที่ 4.76 การแนบไฟล์ไฟล์ข้อมูลเอกสารประกอบบทความประชุมวิชาการ


138 9. หลังจากที่เพิ่มข้อมูลเอกสารแล้ว กดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” เพื่อไปยังขั้นตอนถัดไป 10. หากต้องการแก้ไขข้อมูลบทความประชุมวิชาการ กดปุ่ม “แก้ไขข้อมูลบทความประชุมวิชาการ” โดย ระบบจะแสดงหน้าจอ ตามภาพประกอบที่ 4.77 ภาพที่ 4.77 ปุ่มแก้ไขข้อมูลบทความประชุมวิชาการการ ข้อควรระวัง และ สิ่งที่ควรค านึงในการปฏิบัติงาน การแนบไฟล์ประกอบโครงการระบบรองรับชนิดไฟล์ 2 ประเภท เท่านั้นคือ 1. ชนิด pdf ไฟล์ นามสกุล .pdf 2. ชนิด word ไฟล์ นามสกุล .doc หรือ docx และขนาดของไฟล์ทั้ง 2 ชนิดต้องไม่มากกว่า 20 MB/ไฟล์


Click to View FlipBook Version