139 11. ท าการกรอกข้อมูลที่ต้องการแก้ไข จากนั้นกดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” ในแต่ละหัวข้อที่ท าการ แก้ไข ตามภาพประกอบที่ 4.78 ภาพที่ 4.78 การบันทึกแต่ละหัวข้อที่ต้องการแก้ไขข้อมูลบทความประชุมวิชาการการ
140 5. การบริหารจัดการข้อมูลทรัพย์สินทางปัญญา ผู้จัดการระบบ เจ้าหน้าที่วิจัยและนักวิจัย สามารถเพิ่ม แก้ไข ข้อมูลทรัพย์สินทางปัญญาของนักวิจัยใน คณะของตนหรือของตนเองได้ ส่วนการลบข้อมูลทรัพย์สินทางปัญญาไม่อนุญาตให้นักวิจัยลบข้อมูลได้ ยกเว้น ผู้จัดการระบบและเจ้าหน้าที่วิจัยเท่านั้น โดยท าตามขั้นตอนดังนี้ 1. ที่หน้าจอหลักของระบบงาน เลือกเมนู “ทรัพย์สินทางปัญญา” โดยระบบจะแสดงหน้าจอตาม ภาพประกอบที่ 4.79 ภาพที่ 4.79 เมนูทรัพย์สินทางปัญญา 2. ผู้จัดการระบบ เจ้าหน้าที่วิจัยและนักวิจัย สามารถเพิ่มข้อมูลทรัพย์สินทางปัญญาที่ต้องการ กดปุ่ม “เพิ่มทรัพย์สินทางปัญญา” เพื่อเพิ่มข้อมูลทรัพย์สินทางปัญญา โดยระบบจะแสดงหน้าจอตามภาพประกอบที่ 4.80 ภาพที่ 4.80 หน้าต่างแสดงการเพิ่มข้อมูลทรัพย์สินทางปัญญา
141 3. กรอกข้อมูลทรัพย์สินทางปัญญาที่ต้องการ จากนั้นกดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” โดยระบบจะแสดงหน้าจอ ถัดไปเพื่อเพิ่มทีมนักวิจัย ตามภาพประกอบที่ 4.81 ภาพที่ 4.81 หน้าต่างแสดงการเพิ่มทีมนักวิจัยข้อมูลทรัพย์สินทางปัญญา 4. หากต้องการเพิ่มนักวิจัยผู้ร่วมจดทรัพย์สินทางปัญญา ให้กดปุ่ม “เพิ่มนักวิจัย” โดยระบบจะแสดง ข้อมูลหน้าจอเพิ่มนักวิจัย ตามภาพประกอบที่ 4.82 ภาพที่ 4.82 หน้าตางการกรอกข้อมูลผู้ร่วมทีมวิจัยข้อมูลทรัพย์สินทางปัญญา
142 5. กรอกข้อมูลชื่อนักวิจัย ต าแหน่งในทีม และเปอร์เซ็นต์การมีส่วนร่วมของนักวิจัย จากนั้นกดปุ่ม “บันทึก ข้อมูล” โดยระบบจะแสดงหน้าจอรายละเอียดนักวิจัยที่อยู่ในทีม 6. หลังจากนั้นกดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” เพื่อไปยังล าดับถัดไป File เอกสารประกอบการจดทรัพย์สินทาง ปัญญาโดยระบบจะแสดงหน้าจอ ตามภาพประกอบที่ 4.83 7. ผู้จัดการระบบ เจ้าหน้าที่วิจัยและนักวิจัย สามารถเพิ่ม File เอกสารประกอบการจดทรัพย์สินทาง ปัญญาได้ โดยการลาก File มาวางที่หน้าจอระบบงาน ภาพที่ 4.83 หน้าต่างการแนบไฟล์ข้อมูลทรัพย์สินทางปัญญา ข้อควรระวัง และ สิ่งที่ควรค านึงในการปฏิบัติงาน การแนบไฟล์ประกอบโครงการระบบรองรับชนิดไฟล์ 2 ประเภท เท่านั้นคือ 1. ชนิด pdf ไฟล์ นามสกุล .pdf 2. ชนิด word ไฟล์ นามสกุล .doc หรือ docx และขนาดของไฟล์ทั้ง 2 ชนิดต้องไม่มากกว่า 20 MB/ไฟล์
143 8. กดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” เพื่อท าการบันทึกข้อมูลทรัพย์สินทางปัญญา โดยระบบจะแสดงหน้าจอ ตาม ภาพประกอบที่ 4.84 ภาพที่ 4.84 หน้าจอแสดงรายละเอียดข้อมูลทรัพย์สินทางปัญญาที่บันทึกเรียบร้อยแล้ว 9. หากต้องการแก้ไขข้อมูลทรัพย์สินทางปัญญา ผู้จัดการระบบ สามารถท าได้โดยกดปุ่ม “แก้ไขข้อมูล ทรัพย์สินทางปัญญา” โดยระบบจะแสดงหน้าจอให้แก้ไขข้อมูล ตามภาพประกอบที่ 4.85 ภาพที่ 4.85 หน้าต่างแสดงการแก้ไขรายละเอียดข้อมูลทรัพย์สินทางปัญญา
144 10. ท าการกรอกข้อมูลที่ต้องการแก้ไข จากนั้นกดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” ของแต่ละหัวข้อ เพื่อท าการบันทึก ข้อมูลที่ต้องการแก้ไข ตามภาพประกอบที่ 4.86 ภาพที่ 4.86 ปุ่มบันทึกข้อมูลการแก้ไขทรัพย์สินทางปัญญาแต่ละหัวข้อ 6. การบริหารจัดการข้อมูลการผลิตหนังสือ/ต ารา ผู้จัดการระบบ เจ้าหน้าที่วิจัยและนักวิจัย สามารถเพิ่ม แก้ไข ข้อมูลหนังสือ/ต าราของนักวิจัยในคณะของ ตนหรือของตนเองได้ ส่วนการลบข้อมูลหนังสือ/ต าราไม่อนุญาตให้นักวิจัยลบข้อมูลได้ ยกเว้นผู้จัดการระบบและ เจ้าหน้าที่วิจัยเท่านั้น โดยท าตามขั้นตอนดังนี้ 1. ที่หน้าจอหลักของระบบงาน เลือกเมนู “หนังสือ” โดยระบบจะแสดงหน้าจอบริหารจัดการข้อมูล หนังสือ ตามภาพประกอบที่ 4.87 ภาพที่ 4.87 เมนูหนังสือ/ต ารา
145 2. ผู้จัดการระบบ เจ้าหน้าที่วิจัยและนักวิจัย สามารถค้นหาข้อมูลหนังสือตามเงื่อนไขที่ต้องการได้ จากนั้น กดปุ่ม “ค้นหา” โดยระบบจะแสดงข้อมูลหนังสือที่ค้นพบในหน้าจอ 3. กดปุ่ม “เพิ่มหนังสือ” หากต้องการเพิ่มข้อมูลหนังสือ โดยระบบจะแสดงหน้าจอ ตามภาพประกอบที่ 4.88 ภาพที่ 4.88 หน้าต่างการเพิ่มข้อมูลหนังสือ/ต ารา 4. กรอกข้อมูลรายละเอียดหนังสือ จากนั้นกดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” โดยระบบจะแสดงหน้าจอในล าดับ ถัดไปเพื่อเพิ่มข้อมูลผู้แต่ง ตามภาพประกอบที่ 4.89 ภาพที่ 4.89 หน้าต่างการเพิ่มข้อมูลผู้แต่งหนังสือ/ต ารา
146 5. หากต้องการเพิ่มผู้แต่งให้กดปุ่ม “เพิ่มผู้แต่ง” หากต้องการเพิ่มข้อมูลนักวิจัยที่ร่วมแต่งหนังสือ โดย ระบบจะแสดงหน้าจอ ตามภาพประกอบที่ 4.90 ภาพที่ 4.90 หน้าต่างการกรอกรายละเอียดข้อมูลผู้แต่งหนังสือ/ต ารา 6. กรอกข้อมูลผู้แต่ง จากนั้นกดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” โดยระบบจะแสดงหน้าจอข้อมลการพิมพ์ในขั้นตอน ต่อไป ตามภาพประกอบที่ 4.91 ภาพที่ 4.91 หน้าต่างการกรอกรายละเอียดข้อมูลการพิมพ์หนังสือ/ต ารา
147 7. หลังจากกรอกข้อมูลการพิมพ์แล้ว กดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” โดยระบบจะแสดงหน้าจอให้ใส่เอกสาร ประกอบหนังสือ ตามภาพประกอบที่ 4.92 8. ผู้จัดการระบบ เจ้าหน้าที่วิจัยและนักวิจัย สามารถลาก File เอกสารประกอบหนังสือมาวางไว้ยัง หน้าจอระบบได้ โดยหลังจากที่ท าการเพิ่มข้อมูลเอกสารประกอบการพิมพ์แล้ว ให้กดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” โดย ระบบจะแสดงหน้าจอรายละเอียดหนังสือ ภาพที่ 4.92 หน้าต่างการแนบไฟล์เอกสารประกอบหนังสือ ข้อควรระวัง และ สิ่งที่ควรค านึงในการปฏิบัติงาน การแนบไฟล์ประกอบโครงการระบบรองรับชนิดไฟล์ 2 ประเภท เท่านั้นคือ 1. ชนิด pdf ไฟล์ นามสกุล .pdf 2. ชนิด word ไฟล์ นามสกุล .doc หรือ docx และขนาดของไฟล์ทั้ง 2 ชนิดต้องไม่มากกว่า 20 MB/ไฟล์
148 9. ผู้จัดการระบบ เจ้าหน้าที่และนักวิจัย สามารถแก้ไขข้อมูลหนังสือได้ โดยการกดปุ่ม “แก้ไขข้อมูล หนังสือ” ตามภาพประกอบที่ 4.93 ภาพที่ 4.93 ปุ่มแก้ไขข้อมูลหนังสือ/ต ารา 10. ท าการแก้ไขข้อมูลที่ต้องการ จากนั้นกดปุ่ม “บันทึกข้อมูล” ในแต่ละส่วน เพื่อท าการบันทึกข้อมูลที่ แก้ไข ตามภาพประกอบที่ 4.94 ภาพที่ 4.94 ปุ่ม “บันทึกข้อมูล”การแก้ไขข้อมูลหนังสือ/ต ารา
149 4.3.3 การรักษาระบบและน าข้อมูลกลับมาใช้ใหม่ (Post Implement Processing) 1.การปรับปรุงค่าระบบ 1.1 Login เข้าสู่ระบบ 1.2 ก าหนดค่าระบบ ผู้จัดการระบบสามารถปรับปรุงและก าหนดค่าข้อมูลพื้นฐานระบบได้ โดยท าตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. ที่หน้าจอหลักของระบบงาน เลือกเมนู “ก าหนดค่า / ข้อมูลพื้นฐานระบบ” โดยจะปรากฏเมนูย่อย เพื่อให้บริการจัดการข้อมูลพื้นฐาน ดังนี้ 1.1 ส่วนบุคคล - ค าน าหน้าชื่อ - ต าแหน่งทางวิชาการ - ต าแหน่งในทีม - สาขาความเชี่ยวชาญ 1.2 มหาวิทยาลัย - ประเภทหน่วยงาน 1.3 องค์กรภายนอก - ประเภท - หน่วยงาน 1.4 เงินทุนวิจัย - แหล่งทุนวิจัย - ประเภททุนวิจัย 1.5 เขตพื้นที่ - จังหวัด - อ าเภอ - ต าบล 1.6 บทความ - ระดับบทความ - วารสาร - ฐานข้อมูลบทความ - Conference 1.7 สิทธิบัตร - ประเภทสิทธิบัตร - หน่วยงานที่ยื่นขอ 1.8 ประเทศต่างๆ - ประเทศ - เมืองใหญ่
150 1.9 การศึกษา - ปริญญา - มหาวิทยาลัย - สาขาวิชา 1.10 หนังสือ - ส านักพิมพ์ 1.11 โครงการ - Field เพิ่มเติม - สถานะโครงการ ตัวอย่างที่ 1 การแก้ไข/ปรับค่าข้อมูลสถานะโครงการ 1. เลือกเมนูเมนูพื้นฐานระบบที่ต้องการแก้ไข เช่น สถานะโครงการ โดยระบบจะแสดงหน้าจอ ตาม ภาพประกอบที่ 4.95 2. เลือก ปิด/เปิด สถานะโครงการ โดยจะครอบคลุมขอบเขตการมองเห็นข้อมูลของกลุ่มผู้ใช้งาน 2 กลุ่ม คือ นักวิจัย และเจ้าหน้าที่ ภาพที่ 4.95 หน้าต่างการปรับปรุงค่าระบบ “สถานะโครงการวิจัย”
151 2.การส ารองระบบ (System backup) 1 สร้าง Folder เพื่อเตรียมพื้นที่ส าหรับจัดเก็บไฟล์ชุดโปรแกรมภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต้องการ ส ารอง โดย 1. เลือกต าแหน่งภายในเครื่องที่จะสร้าง Folder 2. Click ขวาพื้นที่ว่าง 3. เลือกแทบ New 4. เลือก แทบ Folder 5. ตั้งชื่อ Folder ตามภาพประกอบที่ 4.96 ภาพที่ 4.96การสร้าง Folder เพื่อเตรียมพื้นที่ส าหรับจัดเก็บไฟล์ชุดโปรแกรมที่ต้องการส ารอง 2. ท าการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC) กับเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายที่จัดเก็บไฟล์ระบบ โดยใช้โปรแกรม FTP ชื่อ WinSCP ดังนี้ 1.ดับเบิลคลิกไอคอลเพื่อเปิดโปรแกรม WinSCP ขึ้นมา ตามภาพประกอบที่ 4.97 ภาพที่4.97 ไอคอลโปรแกรม WinSCP 1 2 3 4 5
152 2. กรอกรายละเอียด FTP ที่จะเชื่อมต่อกับ server ตามภาพประกอบที่ 4.98 2.1 File protocol – เลือกโปรโตคอลเป็น FTP (File Transfer Protocol) 2.2 Host name – กรอกชื่อเว็บไซต์หรือเลขไอพีแอสเดรสที่จะเชื่อมต่อ 2.3 Port number – ก าหนดค่า port ที่ใช้เชื่อมต่อ (ค่ามาตรฐานจะเป็น port 21) 2.4 Username – กรอกชื่อบัญชีผู้ใช้FTP 2.5 Password – กรอกรหัสผ่าน FTP 2.6 คลิก Login ภาพที่ 4.98 การระบุรายละเอียดโปรแกรม WinSCP เพื่อเชื่อมต่อกับ server 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6
153 3. เลือกไฟล์หรือ Folder ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายที่ต้องการส ารอง หาก Login ส าเร็จโปรแกรมจะแสดงหน้าจอ 2 ฝั่ง คือ ฝั่ง Client และ ฝั่ง Server ท าการเลือก ไฟล์ระบบจากฝั่ง Server และ Copy ตามภาพประกอบที่ 4.99 3.1 ใช่ Mouse เลือกไฟล์ โดยการ คลิกซ้าย 1 ครั้ง 3.2 เลือก Copy ภาพที่ 4.99 การเลือกไฟล์หรือ Folder ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย 4. วางไฟล์ที่คัดลอกน ามาวางไว้ใน Folder ที่สร้างไว้ในเครื่อง PC ฝั่ง Client ฝั่ง Client ฝั่ง Server 3.1 ใช่ Mouse เลือกไฟล์โดยการ คลิกซ้าย 1 ครั้ง 3.2 เลือก Copy
154 5. ยกเลิกการเชื่อมต่อระหว่าง Client และ Server โดย 1. เลือก Session 2. เลือก Close Session ตามภาพประกอบที่ 4.101 ภาพที่ 4.101 ปุ่มตัดการเชื่อมต่อ Server ด้วยโปรแกรม WinSCP ข้อควรระวัง และ สิ่งที่ควรค านึงในการปฏิบัติงาน การส ารองชุดโปรแกรม โดยการคัดลอก (Copy) และวาง (Plate) ไฟล์ชุดโปรแกรมที่สมบูรณ์ของระบบประกอบไปด้วย 14 Folder และ 3 ไฟล์ ตามภาพประกอบที่ 4.100 ภาพที่ 4.100 แสดงไฟล์ส ารองชุดโปรแกรมที่สมบูรณ์ 1 2
155 3. การส ารองฐานข้อมูล (Database backup) 1 สร้าง Folder เพื่อเตรียมพื้นที่ส าหรับจัดเก็บไฟล์ชุดโปรแกรมภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต้องการ ส ารอง โดย 1. เลือกต าแหน่งภายในเครื่องที่จะสร้าง Folder 2. Click ขวาพื้นที่ว่าง 3. เลือกแทบ New 4. เลือก แทบ Folder 5. ตั้งชื่อ Folder ตามภาพประกอบที่ 4.102 ภาพที่ 4.102การสร้าง Folder เพื่อเตรียมพื้นที่ส าหรับจัดเก็บไฟล์ฐานข้อมูลที่ต้องการส ารอง 2. เชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์PC กับคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Database Server) ที่จัดเก็บไฟล์ระบบ ไฟล์ฐานข้อมูลระบบโดยผ่านทางเบราว์เซอร์(Browser) ผ่านโปรแกรม phpMyadmin ของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ ข่ายโดย 1. เปิดเว็บเบราว์เซอร์ (Browser) และพิมพ์ หมายเลขเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย/phpmyadmin/ 2. Login โดยระบุ Username และ Password เพื่อเข้าสู่พื้นที่ที่จัดเก็บฐานข้อมูล การระบุหมายเลขเครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่ายตามด้วย phpMyadmin 3. คลิก “Go” ตามภาพประกอบที่ 4.103 ภาพที่ 4.103 หน้าต่าง Login เข้าสู่ phpmyadmin 1 2 3 4 5 1 2 3
156 3. หลังจากนั้น 4.เลือกชื่อฐานข้อมูลที่ต้องการส ารอง 5. เลือกเมนู Export ตามภาพประกอบที่ 4.104 หลังจากนั้นจะปรากฏหน้าให้เลือก 6.ชนิด Format ฐานข้อมูลเป็น SQL 7. เลือก Go ตามภาพประกอบที่ 4.105 ภาพที่ 4.104 หน้าต่างการเลือกฐานข้อมูลเพื่อ Export ภาพที่ 4.105 หน้าต่างเลือกชนิดฐานข้อมูล SQL 4 5 6 7
157 4. หลังจากนั้นน าไฟล์ฐานข้อมูลที่ได้ไปเก็บไว้ใน Folder ที่สร้างไว้ในข้อที่1 5. หลังจากนั้นท าการยกเลิกการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว (PC) กับเครื่องแม่ข่าย คอมพิวเตอร์โดยคลิกที่ปุ่ม 8. Log out ตามภาพประกอบที่ 4.106 ภาพที่ 4.106 ปุ่ม Log out ออกจากระบบ phpmyadmin 6. หลังจากนั้นบันทึกประวัติข้อมูลการส ารองลงในแบบฟอร์มแบบฟอร์มบันทึกการดูแล บ ารุงรักษา การ ส ารองข้อมูล เพื่อความพร้อมใช้งานระบบฐานข้อมูลสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชัย รอบ 6 เดือน ตามภาพประกอบที่ 4.107 ภาพที่ 4.107แบบฟอร์มแบบฟอร์มบันทึกการดูแล บ ารุงรักษา การส ารองข้อมูล เพื่อความพร้อมใช้งานระบบ ฐานข้อมูลสถาบันวิจัยและพัฒนา 8
158 4. การประเมินผลความพึงพอใจระบบ จัดท าแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบ RISS ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานรายงานการ ประเมินตนเอง (SAR) ในรูปแบบ Google Form โดยจัดท า 2 ครั้ง / ปี ตามปีการศึกษา ประกอบด้วย 5 ด้าน ตามภาพประกอบที่ 4.108 1.ด้านข้อมูลสารสนเทศมีความทันสมัย 2.ด้านข้อมูลสารสนเทศมีความครบถ้วน ถูกต้อง ตรงกัน เชื่อถือได้ 3.ด้านข้อมูลตอบสนองตรงตามความต้องการของผู้ใช้ 4.ด้านระบบสารสนเทศเป็นประโยชน์ต่อการด าเนินงาน 5.ด้านความสะดวกและง่ายต่อการใช้งานระบบ ภาพที่ 4.108 แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อระบบสารสนเทศงานวิจัย(RISS)
159 5. การน าข้อมูลและระบบกลับมาใช่ใหม่ เมื่อพบระบบเกิดปัญหา หรือ ได้รับแจ้งระบบเกิดปัญหาไม่สามารถเข้าใช้งานได้ ผู้จัดการระบบสอบถาม รายละเอียดของปัญหาเพื่อน ามาวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้น ว่าเกิดจากระบบขัดข้องหรือไม่หรือเกิดจากความไม่เข้าใจในการใช้งาน หากวิเคราะห์แน่ชัดว่าเกิดจากตัวระบบให้ด าเนินการดังนี้ 1. ทดสอบ สถานะเปิด หรือ ปิด การท างานของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย Web Server ด้วยค าสั่ง Ping ไปยัง เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ด้วย Commard ดังนี้ Ping 203.158.177.175 –t หากเครื่องแม่ข่ายเปิดใช้งานอยู่จากปรากฏดังนี้ตามภาพประกอบที่ 4.109 ภาพที่ 4.109 สถานะเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายเปิดใช้งาน หากเครื่องแม่ข่ายปิดใช้งานอยู่จากปรากฏดังนี้ตามภาพประกอบที่ 4.110 ภาพที่ 4.110 สถานะเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายปิดการใช้งาน
160 หากพบว่าเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายปิดการใช้งาน ท าการแจ้งไปยังผู้ดูแลระบบเพื่อตรวจสอบสถานะเครื่อง หาก พบว่าไม่ได้เกิดจากปัญหาของเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย แต่เกิดปัญหาที่ตัวระบบให้ท าการน าระบบและฐานข้อมูล (Database) ที่ได้ท าการส ารองไว้น ากลับมาติดตั้งใหม่ โดยเริ่มจากวิธีการตามขั้นตอนที่1 การเตรียมความพร้อม ระบบ (Pre-implement Processing) เพื่อท าให้ระบบและฐานข้อมูลเป็นปัจจุบันและผู้ใช้สามารถใช้งานได้อย่าง ทันเวลา
161 บทที่5 ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ เนื้อหาในบทที่ 5 จะกล่าวถึงปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน แนวทางแก้ไขและพัฒนา และ ข้อเสนอแนะ เนื่องจากการบริหารจัดการและการใช้งานระบบสารสนเทศงานวิจัย มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย มีปัญหาที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน ดังนั้น ผู้จัดท าคู่มือได้กลั่นกรองข้อปัญหา วิธีการแก้ไขและข้อเสนอแนะจากประสบการณ์โดยตรงของการปฏิบัติงาน ซึ่งมีรายละเอียดแสดง ดังต่อไปนี้ 5.1 ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน ในการบริหารจัดการและการใช้งานระบบสารสนเทศงานวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ศรีวิชัย สามารถสรุปปัญหาและอุปสรรคในกระบวนการท างาน แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ตามขั้นตอนการ ด าเนินการในการบริหารจัดการและการใช้งานระบบ ดังนี้ 5.1.1 ขั้นตอนการเตรียมความพร้อมเพื่อการใช้งานระบบ (Pre-implement Processing) ส่วนส าคัญที่จะเกิดปัญหา คือ 1. ส่วนของการเตรียมความพร้อมเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ที่ใช้ในการติดตั้งระบบเป็นครุภัณฑ์ที่มีราคาค่อนข้างสูงและควรมีระบบป้องกันการเกิดความเสียหายที่จะ เกิดขึ้นกับอุปกรณ์และระบบที่มีคุณภาพจ าเป็นต้องใช้ผู้ดูแลที่มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์เป็น อย่างดี แต่ผู้จัดการระบบสารสนเทศงานวิจัย ขาดอุปกรณ์และความเชี่ยวชาญในการดูแล บ ารุงรักษา เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย 2. ส่วนของการก าหนดค่าพื้นฐานของระบบ การก าหนดค่าพื้นฐานของระบบจ าเป็นต้อง สอดคล้องกับรูปแบบและทิศทางการบริหารงานวิจัยของประเทศ เช่น รูปแบบของประเภทงานวิจัย รูปแบบของแหล่งทุน รูปแบบของสถานะโครงการวิจัย เป็นต้น พบว่าในบางครั้งเมื่อก าหนดรูปแบบให้กับ ระบบไปเรียบร้อยแล้วแต่ไม่ตรงกับทิศทางการวิจัยของประเทศท าให้ผู้ใช้งานระบบไม่สามารถลง รายละเอียดที่ถูกต้องได้ดังนั้นผู้จัดการระบบต้องเร่งด าเนินการอย่างเร่งด่วนเพื่อให้ค่าพื้นฐานของระบบ สอดคล้องกับทิศทางการวิจัยของประเทศ แต่เนื่องจากการระบบยังขาดความยืดหยุ่นในการใช้งานท าให้ เกิดความล้าช้าในการปรับปรุงค่าระบบ
162 5.1.2 ขั้นตอนการใช้ระบบและแนะน าการใช้งาน (On Implement Processing & Introduce) ส่วนส าคัญที่เกิดปัญหา คือ 1. การเพิ่มข้อมูลโครงการวิจัยและข้อมูลการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย นักวิจัยบางท่าน ไม่เข้าใจวิธีการใช้งาน เช่น การแนบไฟล์เอกสารต่างๆ ซึ่งจ ากัดขนาดของไฟล์ที่ไม่เกิน 20 MB/F ท าให้ใน บางครั้งผู้ใช้งานไม่สามารถบันทึกข้อมูลลงไปในระบบได้และความไม่เข้าใจการใช้งานในประเด็นอื่นๆ 5.1.3 ขั้นตอนที่3: การรักษาระบบและน าข้อมูลกลับมาใช้ใหม่ (Post Implement Processing) ส่วนส าคัญที่เกิดปัญหา คือ 1. การส ารองไฟล์ระบบและฐานข้อมูลเพื่อให้สามารถน าระบบกลับมาใช้ใหม่ กรณีระบบ เกิดความเสียหายจากเหตุการณ์ต่างๆอย่างรุนแรงจนไม่สามารถใช่งานได้ จ าเป็นต้องท าเป็นประจ า สม่ าเสมอเพื่อได้ไฟล์ส ารองที่เป็นปัจจุบันมากที่สุดในการน าระบบกลับมาใช้ใหม่ แต่การท างานเป็นระบบ อัตโนมัติที่ท าโดยเครื่องคอมพิวเตอร์ยังคงใช้ผู้จัดการระบบเข้ามาด าเนินการทั้งหมด ท าให้ในบางครั้งไม่ได้ ท าการส ารองข้อมูลตามตารางเวลาที่ก าหนด 5.2 แนวทางแก้ไขและพัฒนา กระบวนการท างาน ปัญหาและอุปสรรค แนวทางการแก้ไข 1 ขั้นตอนการเตรียมความพร้อมเพื่อการใช้งานระบบ (Pre-implement Processing) 1.1 การเตรียมความ พร้อมเครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่าย เพื่อการติดตั้งระบบ - การจัดหาเครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่ายและ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง - ขอใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายของส านัก วิทย าบ ริก า รและเทคโนโลยีส า รสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ซึ่ง เป็นหน่วยงานกลางของมหาวิทยาลัยฯที่มี หน้าที่ก ากับดูแลและรับผิดชอบเกี่ยวกับการใช้ งานเครื่องแม่ข่ายของมหาวิทยาลัยฯโดยตรง 1.2 การก าหนดค่า พื้นฐานเบื้องต้นให้กับ ระบบ -ไม่สอดคล้องกับทิศทางการ วิจัยของประเทศจ าเป็นต้อง เข้าไปแก้ไขในระบบ แต่ ระบบยังขาดความยืดหยุ่น -ก าหนดแนวในการพัฒนาระบบเพิ่มเติมในส่วน ของการก าหนดค่าพื้นฐานของระบบให้มีความ ยืดหยุ่นมากยิ่งขึ้น
163 กระบวนการท างาน ปัญหาและอุปสรรค แนวทางการแก้ไข 2. ขั้นตอนการใช้ระบบและแนะน าการใช้งาน (On Implement Processing & Introduce) 2.1 การเพิ่มข้อมูล โครงการวิจัยและ ข้อมูลการตีพิมพ์ เผยแพร่ผลงานวิจัย - เจ้าหน้าที่วิจัย/นักวิจัย ไม่ เข้าใจวิธีการใช้งาน - จัดโครงการฝึกอบรมเพื่อแนะน าวิธีการใช้งาน ระบบให้แก่เจ้ าหน้ าที่วิจัย/นักวิจัย ของ มหาวิทยาลัยฯ เป็นประจ าทุกปี 3. การรักษาระบบและน าข้อมูลกลับมาใช้ใหม่ (Post Implement Processing) 3.1 การส ารองไฟล์ ระบบและฐานข้อมูล เพื่อให้สามารถน า ระบบกลับมาใช้ใหม่ การส ารองข้อมูลยังไม่เป็น ระบบอัตโนมัติ -พัฒนาระบบค าสั่งเพื่อให้การท างานเป็นแบบ ระบบอัตโนมัติและน าไปติดตั้งบนเครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่าย ตารางที่ 5.1 แนวทางปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหา 5.3 ข้อเสนอแนะ เมื่อตระหนักถึงความส าคัญของปัญหาดังกล่าว และได้รับทราบถึงสถานการณ์ของกระบวนการ การบริหารจัดการและการใช้งานระบบสารสนเทศงานวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย อัน เป็นผลจากการจัดท าคู่มือครั้งนี้เรียบร้อยแล้ว ผู้จัดท าจึงสรุปแนวทางแก้ไขปัญหาด้านการบริหารจัดการ และการใช้งานระบบสารสนเทศงานวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย เพื่อพัฒนาการ ปฏิบัติงาน ดังนี้ 5.3.1 ผู้จัดการระบบควรมีการอบรม ศึกษาหาความรู้อยู่เสมอเพื่อให้มีทักษะในการปฏิบัติงาน และเพื่อทราบถึงการเปลี่ยนแปลงของข้อมูล ก้าวทันเทคโนโลยีใหม่ๆที่เกิดขึ้นในปัจจุบันอย่างรวดเร็ว และ สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีใหม่ๆมาใช้กับการปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดีและมีประสิทธิภาพ ซึ่ง ข้อเสนอแนะนี้จะช่วยให้ผู้จัดการระบบสามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและทันเหตุการณ์ 5.3.2 จัดช่องทางบริการให้ค าแนะน าแบบทางด่วนเพื่อให้เจ้าหน้าที่วิจัย/นักวิจัย สามารถ ประสานงานที่ไม่เข้าใจถึงแนวทางการใช้งานเพื่อจะได้ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง
164 5.3.3 ควรมีการรวบรวมปัญหาและอุปสรรคของการใช้งานเข้าสู่ที่ประชุมประจ าเดือนของ สถาบันวิจัยและพัฒนา เพื่อน าเสนอปัญหาและเกิดการแลกเปลี่ยนวิธีแก้ไขปัญหาซึ่งจะน าไปสู่วิธีแก้ไข ปัญหาและการพัฒนาระบบต่อไป อย่างไรก็ตาม การจัดท าคู่มือการจัดการบริหารจัดการและการใช้งานระบบสารสนเทศงานวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย อาจมีกระบวนการจัดการและแนวทางแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่ หลากหลายต่างกันออกไปในแต่ละระบบ ซึ่งผู้จัดท าคู่มือไม่ได้เลือกวิธีการดังกล่าว แต่ไม่ว่าจะเลือกวิธีใด เพื่อน ามาแก้ไขปัญหาที่เกิดในการบริหารจัดการระบบของแต่ละระบบนั้น ไม่ได้หมายถึงว่า เป็นวิธีการที่ ไม่ถูกต้อง ให้พิจารณาจากหากผลลัพธ์ที่ได้ว่าตรงตามเป้าประสงค์ที่วางไว้หรือไม่ หากได้ผลลัพธ์ตาม เป้าประสงค์ที่ก าหนดไว้ก็ถือได้ว่าเป็นวิธีการที่ดีที่สุดในการแก้ไขปัญหาเช่นกัน ผลจากการจัดท าคู่มือการบริหารจัดการและการใช้งานระบบสารสนเทศงานวิจัย มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ฉบับนี้ ถือเป็นจุดเริ่มต้นของผู้จัดท าคู่มือที่ได้พัฒนาการปฏิบัติงานจากงาน ประจ าที่ด้านการจัดการระบบสารสนเทศด้านงานวิจัยได้รับมอบหมายสู่การน าเสนอข้อมูลและให้ความรู้ แก่ผู้ที่รับผิดชอบด้านการบริหารจัดการระบบสารสนเทศงานวิจัยและการใช้งานระบบท าให้สามารถ ปฏิบัติงานได้อย่างสะดวก ราบรื่น ปราศจากอุปสรรค และบรรลุวัตถุประสงค์ของการปฏิบัติหน้าที่ราชการ ได้ และผู้จัดท ามีความยินดีเป็นอย่างยิ่งหากคู่มือฉบับนี้จะสามารถเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานของ หน่วยงานต่าง ๆ ได้ หรือเป็นแนวทางในการจัดท าคู่มือเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการปฏิบัติงาน ต่อไป
165 บรรณานุกรม วัชรชัย วิริยะสุทธิวงศ และ คณะ. (2560). ระบบบริหารจัดการงานวิจัยมหาวิทยาลัย. วารสาร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี), 17(9), 114-126. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย. 2561. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลศรีวิชัย ระยะปาน กลาง 5 ปี (พ.ศ. 2561-2565). สืบค้น 28 สิงหาคม 2565. จาก http://plan.rmutsv.ac.th/sites/plan.rmutsv.ac.th/files/Medium term plan for 5 years 2018-2022.pdf. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย. 2563. การแบ่งส่วนราชการ และการแบ่งส่วนงานภายใน เป็นงานและสาขาวิชา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย 2563. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย. 2565. ประกาศการเปิดรับข้อเสนอการวิจัยเพื่อเสนอขอ งบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม ประเภททุนวิจัยพื้นฐาน (Basic Research Fund) ประจ างบประมาณ พ.ศ. 2565. ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. 2548. พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548. สืบค้น 28 สิงหาคม 2565. จาก https://www.mhesi.go.th/images/2563/pusit/legal-all/7p2548.pdf. Mindphp.com. (2562). การติดตั้งซอฟต์แวร์หรือระบบ (System Installation). สืบค้น 1 มกราคม 2566. จาก https://www.mindphp.com/31-ความรู้ทั่วไป/6822-systeminstallation.html ictlounge.com, (2018), Stage 4 – Implementing a System. Retrieved 8 January 2023, from https://www.ictlounge.com/html/implementation.htm.
ภาคผนวก
166 ภาคผนวก ก ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย เรื่อง การเปิดรับขอเสนอการวิจัยเพื่อเสนอของบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม ประเภททุนวิจัยพื้นฐาน (Basic Research Fund) ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
167
168
169
170
171 ภาคผนวก ข แบบฟอร์มบันทึกการดูแล บ ารุงรักษา การส ารองข้อมูล เพื่อความพร้อมใช้งาน ระบบฐานข้อมูลสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย รอบ 6 เดือน
172
173 ภาคผนวก ค การติดตั้ง AppServ-winx64 2.5.9
174 การติดตั้ง AppServ-winx64 2.5.9 โปรแกรม AppServ คือ ซอฟต์แวร์ส ำเสร็จรูปที่บรรจุPackages ส ำหรับกำรใช้งำนเพื่อจ ำลองกำรท ำงำน ของ Web Server โดย Packages หลักๆเหล่ำนั้น ได้แก่ 1) Apache Web Server Packages ท ำหน้ำทีจ ำลองเป็น Web Server 2) MySQL Database Packages คือ ท ำหน้ำที่จ ำลอง Database Server 3) PHP Script Language Packages คือ ท ำหน้ำที่จัดกำรและสื่อสำรกับ ภำษำ PHP 4) phpMyAdmin Packages คือ เครื่องมือแบบง่ำยในกำรควบคุมและบริหำรจัดกำรฐำนข้อมูล MySQL Database ผ่ำนเบลำเซอร์เว็บไซต์ ซึ่งโดยทั่วไปแล้วหำกเรำต้องกำรติดตั้ง Apache Web Server และเครื่องคอมพิวเตอร์เรำสำมำรถใช้งำน PHP ได้ และต้องใช้ฐำนข้อมูล MySQL ด้วย เมื่อลงโปรแกรมสมบูรณ์แล้วเครื่องคอมพิวเตอร์เรำก็เปรียบเสมือน Web Server จ ำลองเครื่องหนึ่งเช่นเดี่ยวกัน กระบวนกำรติดตั้งที่ส ำคัญมี 2 กระบวนกำร คือ 1. การเตรียมโปรแกรมเพื่อติดตั้ง ดำวน์โหลดโปรแกรม AppServ จำกเว็บไซต์ http://www.appserv.org ซึ่งในตัวอย่ำงครั้งนี้ใช้ AppServ Version 2.5.9 เนื่องจำกสอดคล้องกับควำมต้องกำรใช้งำนของระบบ 2. การติดตั้ง (Installation) 2.1 ดับเบิลคลิกappserv-win32-2.5.9.exe เพื่อติดตั้ง AppServ บนเครื่องPC 2.2 ปรำกฏหน้ำต่ำงชื่อโปรแกรมและรุ่น กด Next
175 2.3 แสดงหน้ำต่ำง License คลิก I Agree 2.4 หน้ำต่ำงแสงต ำแหน่งกำรติดตั้งและโฟลเดอร์ส ำหรับติดตั้งโปรแกรมให้ใช้ค่ำเริ่มต้นที่ โปรแกรมก ำหนดมำ คลิกปุ่ม Next
176 2.5 แสดงรำยละเอียด Packages ที่จะติดตั้งให้เลือกทั้งหมดและกด Next 2.6 ปรำกฏหน้ำต่ำงให้ป้อนชื่อ Server และ Email ของ Administrator และ Apache HTTP Port และคลิกปุ่ม Next 1. Server Name : localhost 2. Email ของ Administrator : อีเมล์ของเรำเอง 3. Apache HTTP Port : 80 1 2 3 4
177 2.7 ปรำกฏหน้ำต่ำงให้ป้อน รหัสผ่ำนส ำหรับผู้ใช้ root ใน MySQL Server ป้อนทั้งสองช่องให้เหมือนกัน แล้วคลิก ปุ่ม Install 2.8 โปรแกรมจะแสดงหน้ำต่ำงก ำลังติดตั้ง รอติดตั้งให้แล้วเสร็จ
178 2.9 เมื่อโปแกรมติดตั้งแล้วเสร็จจะแสดงหน้ำต่ำง ติดตั้งโปรแกรมแล้วเสร็จให้คลิก Finish ถือว่ำ ติดตั้งโปรแกรมเรียบร้อยแล้ว 2.10 ติดตั้งเรียบร้อยแล้ว
179 ภาคผนวก ง การติดตั้งโปรแกรม WinSCP 5.21.x เพื่อการถ่ายโอนข้อมูล ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server) กับ เครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Client)
180 การติดตั้งโปรแกรม WinSCP WinSCP เป็นโปรแกรมส ำเร็จรูปที่เอำไว้ใช้ถ่ำยโอนข้อมูล คัดลอกไฟล์ข้อมูลอัพโหลด (Upload) และ Download (ดำวน์โหลด) จำกเครื่องลูกข่ำยหรือ Client (ไครแอนท์) หรือคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ไปยังเครื่องแม่ข่ำย หรือ Server ส ำหรับผู้ดูแลระบบหรือดูแลเว็บไซต์ จัดเป็นโปรแกรม FTP (เอฟทีพี) SFTP (เอสเอฟทีพี) โปรแกรม WinSCP (วินเอสซีพี) สำมำรถดำวน์โหลดไปใช้ได้ฟรีเพรำะเป็น Open Source (โอเพ่นซอร์ส) บนระบบปฏิบัติกำร Windows (วินโดว์) โดยใช้มำตรฐำน FTP: File Transfer Protocol (เอฟทีพี: ไฟล์ ทรำนสเฟอร์ โปรโตคอล) ใน กำรถ่ำยโอนข้อมูล 1. Download โปรแกรมที่ https://winscp.net/eng/download.php 2. ติดตั้งโปรแกรม โดยกำรดับเบิลคลิกที่ไอคอลโปรแกรมที่ได้ Download ไว้ภำยในเครื่อง 3. ปรำกฏหน้ำต่ำงสอบถำม Do you want to run this file? คลิกที่ Run 4. หลังจำกนั้นปรำกฏหน้ำต่ำงให้เลือกภำษำ เลือกภำษำอังกฤษ และ คลิก OK
181 5. ปรำกฏหน้ำต่ำงยินดีตอนรับสู่กำรติดตั้ง คลิก Next 6. ปรำกฏหน้ำต่ำง License Agreement คลิก Accept
182 7. จ ะป ร ำกฏหน้ ำต่ ำงให้เลือก แบบก ำ รติดตั้ง (Setup type) ให้เลือก Typical installation (recommended) แล้วกด Next 8. จะปรำกฏต ำแหน่งกำรติดตั้งโปรแกรมภำยในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เรำติดตั้งว่ำจะติดตั้งไว้ในต ำแน่งใด สำมำรถคลิก Next ได้เลยถ้ำเรำไม่ต้องกำรเปลี่ยนต ำแหน่งในกำรติดตั้งโปรแกรม
183 9. จะปรำกฏหน้ำต่ำงให้เลือกองค์ประกอบของโปรแกรมที่เรำต้องกำรติดตั้ง คลิก Next ได้เลย ถ้ำไม่ ต้องกำรเลือกองค์ประกอบอื่นๆของโปรแกรมเพิ่มเติม 10. จะปรำกฏหน้ำต่ำงให้เลือกกำรแจ้งเตือน กำร Update โปรแกรมอัตโนมัติและต้องกำรติดตั้ง Icon โปรแกรมไว้บนหน้ำจอคอมพิวเตอร์ของเรำหรือไม่ ถ้ำไม่ต้องกำรให้เอำเครื่องหมำย √ ออก แล้วกด Next
184 11. จะปรำกฏหน้ำต่ำงให้เลือกรูปแบบ User interface ที่เรำต้องกำรใช้เมื่อเรำเปิดโปรแกรมขึ้นมำว่ำ จะ ให้โปรแกรมแสดงหน้ำจอรูปแบใด 1. Commander: แบบสอง 2 ฝั่งหน้ำต่ำง ฝั่ง Cilent และ ฝั่ง Server 2. Explorer: แบบหน้ำต่ำงเดี่ยว *ถ้ำต้องกำรแบบ 2 หน้ำต่ำงเลือก Commander และกด Next 12. หลังจำกนั้นจะปรำกฏหน้ำต่ำงแจ้งควำมพร้อมในกำรติดตั้ง คลิก Install ได้เลย
185 13. จะปรำกฏหน้ำต่ำงแจ้งว่ำระบบก ำลังติดตั้ง รอจนกว่ำติดตั้งแล้วเสร็จ 14. เมื่อติดตั้งสมบูรณ์จะปรำกฏหน้ำต่ำงแจ้งกำรติดตั้งโปรแกรม WinSCP สมบูรณ์แล้ว คลิก Finish 15. ติดตั้งแล้วเสร็จ สำมำรถใช้งำนโปรแกรมได้เลยครับ
186 ประวัติผู้เขียน ชื่อ-สกุล นายเชิด คงห้อย วันเดือนปีเกิด 30 มกราคม 2518 E-Mail [email protected] สถานที่ท างาน ฝ่ายสารสนเทศการวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ต าแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ วุฒิการศึกษา ปริญญาโท สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์