The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แฟ้มสะสมผลงานครู - นายธาดา หมานดำ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by hmandambig, 2019-03-24 06:21:17

แฟ้มสะสมผลงานครู - นายธาดา หมานดำ

แฟ้มสะสมผลงานครู - นายธาดา หมานดำ

แฟ้มสะสมผลงานครู
(Portfolio)

ภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑

โดย
นายธาดา หมานดา
ตาแหน่ง ครูอัตราจ้างแผนกวิชาช่างยนต์
วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง

ขอ้ มลู สว่ นตวั

ชื่อ นายธาดา สกุล หมานดา ช่อื เล่น บ๊ิก
สญั ชาติ ไทย เชอื้ ชาติ ไทย ศาสนา พทุ ธ
เกดิ วนั ที่ ๒๓ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๑

วุฒกิ ารศึกษาระดบั
ปริญญาตรี วศิ วกรรมศาสตร์บณั ฑิต สาขาวิชา เครื่องกล

ความสามารถพิเศษ
สามารถใช้คอมพิวเตอรไ์ ด้
- ใชโ้ ปรแกรม Microsoft office ได้
- ใช้โปรแกรม Auto cad ได้
- ใช้โปรแกรม Solid Work ได้

ทีอ่ ยู่ปัจจุบนั (ท่ีสามารถติดต่อได้)
บ้านเลขท่ี ๑๔๐/๔๙ หมทู่ ่ี ๒ ตาบลเนนิ พระ อาเภอเมอื ง จงั หวดั ระยอง
รหัสไปรษณีย์ ๒๑๐๐๐
โทรศพั ท์ ๐๖๓๒๒๖๙๕๔๖
e-mail : [email protected]

ตาแหนง่
ครูอัตราจ้าง แผนกวิชาช่างยนต์
เริ่มปฏบิ ตั งิ าน เมื่อวนั ท่ี ๒ เดอื น กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘ – ปัจจุบนั

ผลการปฏบิ ัติงานในหนา้ ท่ี ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑

ด้านวินัย

๑. การลา

ลาดบั ท่ี ผลงาน/รายงานการปฏบิ ัตงิ าน หลักฐานอา้ งองิ
หมายเลข ๑
๑ ข้าพเจา้ ได้ลาปว่ ย ๓ วนั เมอ่ื วนั ท่ี ๑๑ มกราคม ๒๕๖๒ และ วนั ที่ ๑๘-๑๙
มีนาคม ๒๕๖๒

๒. การมาสาย

ลาดับท่ี ผลงาน/รายงานการปฏบิ ัติงาน หลักฐานอา้ งอิง
หมายเลข ๑
๑ ข้าพเจา้ ไมเ่ คยมาสายในระหวา่ งการปฏิบตั งิ าน ตงั้ แต่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ ถึง

๓๑ มีนาคม ๒๕๖๒

ผลการปฏบิ ตั งิ านในหน้าท่ี ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๑

ด้านการครองตน

๑. คณุ ธรรม จริยธรรม

ขา้ พเจา้ ปฏิบตั ิตนตามคาสอนของพุทธศาสนา
1.ละเว้นต่อการประพฤติช่ัวและไม่ลุ่มหลงอบายมุข ไม่เป็นผู้ประพฤติช่ัว ประพฤติตนแต่ความดี ท้ังทางกาย

วาจาใจ เป็นผู้มคี ณุ ธรรมมเี มตตากรุณา ไม่ยุงเกีย่ วและไมล่ ุ่มหลงในอบายมขุ ไม่เล่นการพนันทุกชนิด
2.เอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่และเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม เป็นผู้มีความเอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่และมีน้าใจ โดยยอมรับความเห็น

ผู้อ่ืนและแนะนาสิ่งท่ีเป็นประโยชน์ต่อผู้อื่นโดยไม่หวงแหนทั้งเวลาและทรัพย์สินส่วนตน และเห็นประโยชน์
ส่วนรวมเปน็ ทต่ี ้งั

3.มีความเมตตา กรุณา โอบอ้อมอารีต่อผู้อื่น ข้าพเจ้าให้ความรักและเมตตา กับนักเรียนทุกคนโดยให้การ
ช่วยเหลอื นักเรียนทกุ คนถึงจะไม่ใช่นกั เรียนในที่ปรกึ ษากต็ าม

๒. จรรยาบรรณและเจตคตติ อ่ วชิ าชพี

ขา้ พเจ้าไดป้ ระพฤตติ นตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูโดยเป็นผู้ประพฤตดิ ี ปฏิบัติตนเหมาะสม มีใจรักและศรัทธา
ตอ่ วชิ าชีพครู ต้ังตนอยู่ในกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด ยึดม่ันในหลักคาสอนของพระพุทธศาสนา และจรรยาบรรณ
ตอ่ วชิ ชาชพี ครูอยู่เสมอและข้าพเจ้ามีทัศนคติว่า การครองตนคือการรู้จักตนเอง เข้าใจตนเอง และสามารถควบคุม
ตนเองได้ เป็นผมู้ สี ติรอบคอบตัง้ อยูใ่ นความไม่ประมาท

๓. บคุ ลกิ ภาพและการวางตวั ท่ีเหมาะสม

ขา้ พเจ้าแต่งกายเหมาะสมตามกฎระเบียบของวทิ ยาลัยเทคนิคระยองอยู่เสมอ ไม่เคยประพฤตผิ ิดในการปฏิบตั ิ
หน้าทีค่ รู และวางตวั นา่ เชอื่ ถือ เหมาะสมกบั ความเป็นครอู ย่เู ป็นนจิ

ผลการปฏิบตั งิ านในหน้าที่ ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๑

ดา้ นการเรยี นการสอน

ผลการปฏิบัติงานสอน

ที่ ภาคเรียน/ รายวชิ าทสี อน รหัสวิชา ท/ป/น ระดบั ช้ัน/ ปที ่ี/
สาขาวิชาท่ีสอน
ปีการศึกษา
๒๑๐๑ ๒๑๐๕ ๑-๔-๓ ปวช. ๓/๔ ชย.
๑ ๒/๒๕๖๑ การขบั รถยนต์ ๓๑๐๐ ๐๑๐๕ ๓-๐-๓ ปวส. ๑/๑,๒ สยท.
๓๑๐๑ ๒๐๐๒ ๑-๔-๓ ปวส. ๑/๑,๒ สยท.
๒ ๒/๒๕๖๑ ความแขง็ แรงของวัสดุ
๒๑๐๑ ๒๐๐๘ ๑-๓-๒ ปวช. ๒/๒-๓,๕-๖
๓ ๒/๒๕๖๑ เคร่ืองทาความเย็นและปรับ ชย.

อากาศ ๒๑๐๐ ๑๐๐๗ ๑-๓-๒ ปวช. ๒/๘ ชฟ.

๔ ๒/๒๕๖๑ เครอ่ื งทาความเยน็ และปรบั

อากาศ

๕ ๒/๒๕๖๑ งานถอดประกอบเครอ่ื งกล

เบือ้ งต้น

* เอกสารอ้างอิงหมายเลข ๒

ผลการปฏบิ ัติงานอาจารยท์ ีป่ รึกษา

ที่ แผนกวิชาชพี ระดบั ชัน้ /ปีท่ี จานวน นร. นศ.
๑ ชา่ งยนต์ ปวช. ๒/๑ ๑๖ คน
๒ ชา่ งยนต์ ปวช. ๒/๒ ๑๔ คน

ผลการปฏิบัตงิ านอาจารย์ทป่ี รกึ ษา (เย่ยี มบา้ นนักเรียน)

ขา้ พเจ้าได้ออกเย่ียมบา้ นนกั เรยี น ประจาภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ดังสรุปตามเอกสารอา้ งองิ
หมายเลข ๓

ผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๐

ด้านการเรียนการสอน(ตอ่ )

๑. โครงการสอน

ลาดบั ท่ี ผลงาน/รายงานการปฏบิ ัตงิ าน หลกั ฐานอา้ งองิ
หมายเลข ๔
๑ ข้าพเจา้ ไดจ้ ัดส่งโครงการสอนครบตามตารางสอนภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖๑

๒. บนั ทึกหลังสอน

ลาดับที่ ผลงาน/รายงานการปฏบิ ัตงิ าน หลกั ฐานอ้างองิ
หมายเลข ๕
๑ ขา้ พเจา้ ไดจ้ ัดทาบันทึกหลงั สอนครบตามตารางสอนภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖๑

๓. ชดุ การสอน

ลาดับท่ี ผลงาน/รายงานการปฏบิ ัติงาน หลกั ฐานอา้ งองิ
หมายเลข ๔
๑ ขา้ พเจา้ ได้จัดสง่ ชุดการสอนตามตารางสอน

ภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖๑

ผลการปฏิบตั ิงานในหนา้ ท่ี ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๑

ด้านการเรยี นการสอน(ตอ่ )

๔. วจิ ยั ในชั้นเรยี น

ลาดบั ท่ี ผลงาน/รายงานการปฏบิ ตั งิ าน หลักฐานอ้างองิ
หมายเลข ๖
๑ ขา้ พเจ้าไดจ้ ัดทาวจิ ยั ในชัน้ เรียน สง่ ๑ เล่ม ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๑

๕. การส่งผลการเรยี น

ลาดับที่ ผลงาน/รายงานการปฏบิ ัตงิ าน หลกั ฐานอ้างองิ
หมายเลข ๗
๑ ข้าพเจ้าสง่ ผลการเรยี นตรงเวลา ครบทกุ รายวชิ า ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๑

๖. สมุดบันทกึ เวลาเรียน

ลาดบั ท่ี ผลงาน/รายงานการปฏบิ ตั งิ าน หลกั ฐานอ้างองิ
หมายเลข ๘
๑ ขา้ พเจา้ ไดจ้ ัดทาสมดุ บนั ทึกเวลาเรยี นของผเู้ รยี นทุกรายวชิ า
หลกั ฐานอ้างอิง
ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๑ หมายเลข ๙

๗. การควบคุมช้ันเรียน (นเิ ทศการสอน)

ลาดบั ท่ี ผลงาน/รายงานการปฏบิ ัตงิ าน

๑ ผลการนิเทศการสอน ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๑

ระหวา่ งวนั ที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๑ - ๒๒ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๒
นิเทศการสอนโดย นายชาญชัย เจริญรืน่

ผลการปฏิบตั ิงานในหน้าท่ี ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑

ดา้ นการเข้าร่วมกจิ กรรม

๑. ให้คาปรึกษาในการแก้ปัญหาหรอื ใหค้ าแนะนา
แก่ นักเรยี น นกั ศึกษา จนเปน็ ผลสาเร็จ

ลาดับท่ี ผลงาน/รายงานการปฏิบตั ิงาน หลกั ฐานอา้ งองิ
หมายเลข ๑๐
๑ ให้คาปรกึ ษานกั เรยี นเร่อื งการขอรับทุนการศกึ ษา

ผลการปฏิบตั งิ านในหน้าที่ ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑

ดา้ นการเข้ารว่ มกิจกรรม(ตอ่ )

๒. การเขา้ ร่วมกจิ กรรมตามทวี่ ิทยาลัยฯ มอบหมาย

ลาดับท่ี ผลงาน/รายงานการปฏิบัตงิ าน หลกั ฐานอา้ งอิง
หมายเลข ๑๑
๑ งานมุทติ าจิตผู้เกษียณอายรุ าชการประจาปี ๒๕๖๑ หมายเลข ๑๒
หมายเลข ๑๓
๒ พธิ วี างพวงมาลา เนอื่ งในวันปยิ มหาราช หมายเลข ๑๔
หมายเลข ๑๕
๓ อบรม PLC และ ID Plan ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ หมายเลข ๑๖
หมายเลข ๑๗
๔ ทาบุญตกั บาตร และปฏิบัติธรรมเนื่องในวันคลา้ ยวันเฉลิมพระชนพรรษา ร.๙
หมายเลข ๑๘
๕ ทาบุญตักบาตรเน่อื งในวนั ข้นึ ปีใหม่ ๒๕๖๒
หมายเลข ๑๙
๖ โครงการตรวจสภาพรถโดยสารสาธารณะ เทศกาลปีใหม่ ๒๕๖๒
หมายเลข ๒๐
๗ กิจกรรมวันครูประจาปี ๒๕๖๒ หมายเลข ๒๑

๘ กจิ กรรมเข้าค่ายชุมนมุ ลกู เสอื เนตรนารวี สิ ามญั ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๑
๙ ไหวพ้ ระวษิ ณุประจาปี ๒๕๖๒

๑๐ กีฬาสีประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑

๑๑ ปฏิบัตหิ นา้ ทฝี่ า่ ยจราจรและยานพาหนะ ในกิจกรรมชุมนุมลูกเสอื วิสามัญอาชวี ศกึ ษา ครั้งท่ี ๒๐

ผลการปฏิบตั งิ านในหนา้ ท่ี ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๑

หนา้ ท่พี ิเศษทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

ผลการปฏิบัตงิ านหน้าทพี่ ิเศษ

ลาดับที่ ผลงาน/รายงานการปฏบิ ัติงาน หลกั ฐานอา้ งอิง
หมายเลข ๒๒
๑ ข้าพเจา้ เปน็ ผูช้ ว่ ยหัวหนา้ งานพัฒนาหลกั สตู รการเรียนการสอน ในการ
หมายเลข ๒๓
ตรวจสอบตารางเรียน ตารางสอน ภาคเรยี นท่ี ๑/๒๕๖๒ หมายเลข ๒๓

๒ ข้าพเจ้าไดร้ ับมอบหมายให้เปน็ เจา้ หนา้ ที่งานปกครอง หมายเลข ๒๔

๓ ขา้ พเจ้าไดร้ ับมอบหมายใหเ้ ป็นผูช้ ่วยหัวหนา้ งานส่งเสริมผลิตผลการคา้ และ
ประกอบธรุ กจิ

๔ ขา้ พเจ้าปฏิบตั หิ นา้ ทีค่ รเู วรหน้าประตูวิทยาลยั
ประจาภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖๑ ทุกวันพฤหัสบดี

ผลการปฏิบตั งิ านในหน้าที่ ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๑

ผลงานดีเด่น

๑. ระดับชาติ

ลาดับที่ ผลงาน/รายงานการปฏบิ ัตงิ าน หลักฐานอ้างองิ
๑ ขา้ พเจา้ ได้รบั รางวลั เชิดชูเกยี รติสถานศึกษาทม่ี ีผลการประเมินศูนย์บ่มเพาะ หมายเลข ๒๕
ผู้ประกอบการอาชีวศึกษาในสถานศึกษาระดับชาติ ๕ ดาว
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐

๓. ระดบั จังหวัด

ลาดับที่ ผลงาน/รายงานการปฏบิ ัตงิ าน หลักฐานอ้างองิ
หมายเลข ๒๖
๑ ขา้ พเจ้าเปน็ ผคู้ วบคมุ ทมี ในการแขง่ ขนั ทกั ษะงานรถจักรยานยนต์ ไดร้ ับ

รางวัลรองชนะเลิศ อันดบั ๑ เหรยี ญเงนิ

ผลการปฏิบตั ิงานในหนา้ ที่ ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๑

ดา้ นความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์

๑. มีความคิดริเร่มิ สร้างสรรคใ์ นการปฏิบตั ิงานในหนา้ ที่

ลาดบั ท่ี ผลงาน/รายงานการปฏบิ ตั งิ าน หลกั ฐานอ้างอิง
หมายเลข ๒๗
๑ ขา้ พเจ้าได้ดาเนนิ การเป็นครผู ้คู วบคมุ ทีม เขา้ รว่ มแขง่ ขนั ฮอนด้าประหยัด
หมายเลข ๒๘
เชื้อเพลิง (Honda Eco Mileage Challenge) ครง้ั ท่ี ๒๑ ในประเภทรถ
หมายเลข ๒๙
ตลาด ณ สนามชา้ งอินเตอร์เนชรั แนลเซอรก์ ิต จังหวดั บรุ ีรมั ย์ หมายเลข ๓๐

๒ ข้าพเจ้านาเทคโนโลยมี าใช้ในการจดั การขอ้ มูลการจดั การเรยี นการสอน
และผลการปฏบิ ตั ิงาน ในระบบสารสนเทศ (Google Drive) เพ่อื ให้สะดวก
ตอ่ การใช้งาน ปรบั ปรุงและพฒั นาชดุ การเรียนการสอน และประหยัด
ทรัพยากร

๓ ข้าพเจา้ ไดน้ าโปรแกรม Microsoft Excel มาใชใ้ นการบนั ทกึ คะแนน
นกั เรยี น และคานวณผลการเรียน เพอ่ื ความรวดเรว็ และถกู ตอ้ งแมน่ ยา

๔ ข้าพเจ้าได้นาโปรแกรม Microsoft Excel มาใช้ในการวเิ คราะห์ผลการวิจัย
ในงานวิจยั ในช้นั เรยี น

ผลการปฏิบัติงานในหน้าท่ี ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๑

ดา้ นความคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค(์ ตอ่ )

๒. มคี วามคดิ รเิ ริม่ สร้างสรรคใ์ นการจัดทาแฟม้ สะสม
ผลงาน

ลาดบั ที่ ผลงาน/รายงานการปฏบิ ัติงาน หลักฐานอา้ งอิง
หมายเลข ๓๑
๑ ขา้ พเจา้ ได้นาโปรแกรม Microsoft Office มาใช้ในการรวบรวมผลงการ หมายเลข ๒๘
ปฏิบัตหิ นา้ ที่ เพอ่ื ความเปน็ ระเบยี บเรียบร้อย และสวยงาม
-
๒ ขา้ พเจ้านาเทคโนโลยีมาใชใ้ นการจดั การขอ้ มลู ผลการปฏบิ ตั หิ น้าท่ี ใน
ระบบสารสนเทศ (Google Drive) เพ่ือให้สะดวกตอ่ การใชง้ าน ปรับปรงุ
และพัฒนา และประหยดั ทรพั ยากร

๓ ข้าพเจา้ จัดแสดงรายงานผลการปฏบิ ตั หิ น้าทผี่ า่ น E-Book



เอกสารอ้างอิง
หมายเลข ๑

เอกสารสรปุ วันขาด ลา มาสาย



เอกสารอ้างอิง
หมายเลข ๒

ตารางสอนรายบคุ คล
ประจาภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๑



เอกสารอ้างอิง
หมายเลข ๓

บนั ทึกข้อความสรุปรายงานผล
การออกเย่ยี มบา้ น โครงการ

สานสมั พันธ์ ครู-ศิษย์





เอกสารอา้ งอิง
หมายเลข ๔

โครงการสอน

Course Syllabus
วิชา ความแขง็ แรงของวสั ดุ รหสั วิชา 3101-0105
จานวนหน่วยกิจ 3 หน่วยกติ ทฤษฏี 3 คาบ/ช่ัวโมง ปฏบิ ัติ คาบ/ชั่วโมง
ครผู สู้ อน นายธาดา หมานดา แผนกวิชา ช่างยนต์
จุดประสงคร์ ายวชิ า
1.เพอื่ ใหม้ ีความรู้-ความเขา้ ใจสมบตั ิดา้ นความแขง็ แรงของวสั ดุ
2.การหาความเคน้ และความเครียดของรอยต่อของวสั ดุชิ้นส่วนเคร่ืองจกั รกล
3.โครงสร้าง การหาความเคน้ -ความเครียดในเพลาและคาน
4.การหาระยะแอ่นตวั ของคาน การประยกุ ตใ์ นสาขาวชิ าชีพที่เก่ียวขอ้ ง
สมรรถนะรายวชิ า
1.มีทักษะและประสบการณใ์ นวิชาชีพ
2.มีเจตคติที่ดีตอ่ งานอาชพี
3.ประกอบอาชพี อสิ ระ
คาอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาแนวคิดและองค์ประกอบของความเค้นและความเครียด ความสัมพนั ธ์ระหว่างความเค้นและ
ความเครยี ดของวัสดุ กฏสภาพยดื หยนุ่ ของฮุก โมดลู สั ของการยดื หยุ่น ความเคน้ เนื่องจากอุณหภมู ิ
เปลยี่ นแปลง ความเค้นในวัสดุซงึ่ ตอ่ กนั โดยการเชื่อมและโดยการใชห้ มดุ ย้า ความเค้นในภาชนะความดัน การ
บดิ ของเพลา ทฤษฎีของคาน แผนภาพแรงเฉอื นและโมเมนตด์ ัดความเคน้ ดดั และความเค้นเฉอื นในคาน การ
หาระยะแอน่ ตวั ของคานโดยวิธโี มเมนต์ – พน้ื ท่ี พน้ื ฐานการรวมความเค้นการประยุกตค์ วามรู้ในงานอาชีพ

โครงการสอน

ที่บูรณาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

ของผสู้ าเร็จการอาชีวศึกษา กรมอาชีวศึกษา

รหสั 3100 –0107 วิชา ความแขง็ แรงวสั ดุ 1 ( 3-0-3 )

สปั ดาห์ หน่วย คาบท่ี เร่ือง จุดประสงคก์ าร คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

ท่ี ที่ เรียนรู้

1 1 1-3 ความเค้น นกั เรียนมีความรู้ มีมนุษยส์ มั พนั ธ์ ความมีวนิ ยั

-ความแคน้ ดึง ความเขา้ ใจ ใน ความรับผดิ ชอบ

-ความแคน้ อดั เร่ืองความเคน้ ชนิด ความเช่ือมนั่ ในตวั เอง

-ความแคน้ เฉือน ต่าง ๆ และวธิ ีการ ความสนใจใฝ่รู้ ความ

คานวณ รักสามคั คี

ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์

การพ่งึ ตนเอง

2-3 2 4-9 ความเครียดและ นักเรียนมคี วามรู้ มีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ ความมีวินยั

ความเค้นทเี่ กดิ จาก ความเข้าใจเรื่อง ความรับผดิ ชอบ

อณุ หภูมิ -ความเครียดและ ความเช่ือมนั่ ในตวั เอง

-ความเครียดแรงดึง วธิ ี ความสนใจใฝ่ รู้ ความ

-ความเครียดแรงอดั การคานวณ รักสามคั คี

-ความเครียดเฉือน -หลกั การและ ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์

-ความสัมพนั ธ์ วิธีการ การพ่งึ ตนเอง

ระหวา่ ง คานวณหาคา่

ความเคน้ และ ความแคน้ และคา่

ความเครียด อื่นๆ ท่ีเกิดจาก

-กฏสภาพยดื หยนุ่ อุณหภูมิเปล่ียน

ของ แปลง

อุณหภูมิ

-ความเคน้ ท่ีใชใ้ น

การ

ออกแบบ

-ความเคน้ ท่ีเกิดข้ึน

จากอุณหภูมิ

4 3 10-12 ความเค้นภายใน มีมนุษยส์ มั พนั ธ์ ความมีวินยั

ภาชนะอดั ความดนั ความรับผดิ ชอบ
- ความเคน้ ตามแนว
เส้นรอบวง ความเช่ือมนั่ ในตวั เอง
-ความเคน้ ตามแนว
ยาว ความสนใจใฝ่ รู้ ความ
-ความเคน้ ในถงั ทรง
กลมผนงั ยาว รักสามคั คี

ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์

5 4 13-15 ภาชนะอดั ความดัน เพอื่ ให้นักเรียน การพ่งึ ตนเอง

มีตะเข็บหรือ สามารถ มีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ ความมีวนิ ยั

รอยต่อการต่อโดย *บอกชนิดของการ ความรับผดิ ชอบ

ใช้หมุดยา้ ต่อ ความเช่ือมน่ั ในตวั เอง

* ชนิดของการต่อ โดยใชห้ มุดย้าได้ ความสนใจใฝ่รู้ ความ

โดย *คานวณหาแรง รักสามคั คี

ใชห้ มุดย้า ต่าง ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์
การพ่งึ ตนเอง
* ชนิดการแตกหกั ๆที่กระทากบั

หรือ รอยต่อ

ขาดของหมุดย้า ได้

และ *คานวณหาประ

แผน่ ต่อ สิทธิ

*การต่อดว้ ยแผน่ ต่อ ภาพของรอยต่อ

กวา้ ง ๆ ได้

*ประสิทธิภาพของ

รอย

ต่อ

6 5 16-18 การต่อโดยการเชื่อม เพอื่ ให้นักเรียน มีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ ความมีวินยั

*ชนิดของการต่อ สามารถ ความรับผดิ ชอบ

โดย *บอกชนิดของการ ความเชื่อมนั่ ในตวั เอง

การเช่ือมและ ต่อ ความสนใจใฝ่ รู้ ความ

สูตร โดยการเชื่อมได้ รักสามคั คี

การคานวณ *คานวณหาความ ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์

แขง็ แรงของการ การพ่งึ ตนเอง

เชื่อมต่อชนิดได้

*คานวณหาความ

แขง็ แรงของการ

เชื่อมแบบต่อทาบ

ได้

*คานวณหาความ

ยาวของรอยเช่ือม

ได้

7-8 6 19-24 การบิดของเพลา เพอ่ื ให้นักเรียน มีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ ความมีวนิ ยั
9
*ความเคน้ เน่ืองจาก สามารถ ความรับผดิ ชอบ

แรงบิด *บอกความหมาย ความเช่ือมนั่ ในตวั เอง

*แรงบิดและกาลงั ของแรงบิดหรือ ความสนใจใฝ่รู้ ความ

*การต่อเพลาดว้ ย ทอรกได้ รักสามคั คี

หนา้ *คานวณหาความ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

แปลน เคน้ แรงบิดและ การพ่งึ ตนเอง

*เพลาขนาดไม้ กาลงั

เท่ากนั ของเพลาแบบต่าง

*เพลารับแรงบิด ๆ

หลาย ได้

จุด

*เพลาลดขนาดแบบ

กลึงโคง้ หรือทาฟิ ล

เลต

25-27 สอบกลางภาค

10-11 7 28-33 แรงเฉือนและ เพอ่ื ให้นักเรียน มีมนุษยส์ มั พนั ธ์ ความมีวินยั

โมเมนต์ดัดของคาน สามารถ ความรับผดิ ชอบ

*ชนิดของการ *บอกชนิดของการ ความเช่ือมน่ั ในตวั เอง

รองรับ รองรับของคาน ความสนใจใฝ่รู้ ความ

ของคานและแรง และแรงกระทาให้ รักสามคั คี

กระทา ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์

*แรงเฉือนและ การพ่งึ ตนเอง

โมเมนต์

ดดั ในคาน

*แผนภาพของแรง

เฉือนและโมเมนต์

ดดั

ในคาน

*ความสมั พนั ธ์

ระหวา่ ง

แรงเฉือนโมเมนต์

ดดั

และแรงกระจาย

12-13 8 34-39 ความเค้นดดั ในคาน เพอื่ ให้ผู้เรียน มีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ ความมีวินยั

*การพจิ ารณาความ สามารถ ความรับผดิ ชอบ

เคน้ ดดั *บอก ความเช่ือมนั่ ในตวั เอง

*ความสัมพนั ธ์ ความสมั พนั ธ์ ความสนใจใฝ่รู้ ความ

ระหวา่ ง ระหวา่ งความเคน้ รักสามคั คี

ความเคน้ ดดั กบั ดดั กบั โมเมนตด์ ดั ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์

โมเมนตด์ ดั ได้ การพ่งึ ตนเอง

*คา่ โมดูลสั หนา้ ตดั *คานวณหาค่า

และโมเมนตข์ อง โมเมนตข์ อง

ความเฉ่ือยของ ความเฉ่ือยของรูป

หนา้ ตวั

ตดั รูปต่าง ๆ T และรูปอื่น ๆ

*การหาโมเมนต์ ได้

ของ * คานวณหาความ

ความเฉื่อยรอบ เคน้ ดดั ได้

แกน

สะเทินของรูปตวั

T

*การคานวณหา

14 9 ความ มีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ ความมีวนิ ยั
15-16 10 เคน้ ดดั ในดาน
40-42 ความเค้นเฉือนใน เพอื่ ให้นักเรียน ความรับผดิ ชอบ

คาน สามารถ ความเช่ือมน่ั ในตวั เอง
*การพจิ ารณาความ *บอกลกั ษณะ
เคน้ เฉือนในคาน ความ ความสนใจใฝ่ รู้ ความ
* ความสมั พนั ธ์ เคน้ เฉือนในดาน
ระหวา่ งความเคน้ ได้ รักสามคั คี
เฉือนแนวระดบั *คานวณหาความ
กบั เคน้ เฉือนในดาน ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์
ความเคน้ แนวดิ่ง หนา้ ตดั รูปต่าง ๆ
*ความเคน้ เฉือนใน ได้ การพ่งึ ตนเอง
ดานหนา้ ตดั
*ความเคน้ เฉือนใน มีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ ความมีวนิ ยั
ดานหนา้ ตดั
ความรับผดิ ชอบ
43-48 การรวมความเค้น เพอ่ื ให้ผู้เรียน
*การรวมความเคน้ สามารถ ความเช่ือมน่ั ในตวั เอง
ใน *พจิ ารณาความ
แนวแกนหรือ เคน้ ความสนใจใฝ่ รู้ ความ
ความ แบบต่าง ๆ ได้
เคน้ ตรงและความ *คานวณหาความ รักสามคั คี
เคน้ เคน้ รวมลกั ษณะ
ดดั ต่าง ๆ ได้ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
*การรวมความเคน้
เนื่องจากแรง การพ่งึ ตนเอง
กระทา
เย้อื งศนู ยก์ ลาง
*การรวมความเคน้
ดดั
และความเคน้ เฉือน
*การรวมความเคน้
ใน

แนวแกนความเคน้

ดดั

และความเคน้ เฉือน

17 11 49-51 การโก่งตวั ของคาน เพอื่ ให้นักเรียน มีมนุษยส์ มั พนั ธ์ ความมีวนิ ยั

*วธิ ีคานวณหาระยะ สามารถ ความรับผดิ ชอบ

โก่งตวั ของคาน *บอกวิธี ความเช่ือมนั่ ในตวั เอง

*วิธี Moment –area คานวณหา ความสนใจใฝ่ รู้ ความ

* วิธี Superposition ระยะโก่งตวั ของ รักสามคั คี

คานได้ ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์

*คานวณหาความ การพ่งึ ตนเอง

ลาดชนั และระยะ

โก่ง

ตวั ของคานโดยวธิ ี

moment-area ได้

*คานวณหาความ

ลาดชนั และระยะ

โก่งตวั ของคาน

โดยวิธี

Superposition ได้

18 - 52 - สอบปลายภาค

54

คะแนนการวดั ผล 60 %
คะแนนเกบ็ ระหว่างการเรียน 20 %
สอบปลายภาคเรยี น 20 %
จิตพิสัย 100 %
รวม
เกณฑก์ ารประเมนิ ผล เกรด
ใช้การประเมินแบบอิงเกณฑ์ 4
ระดับคะแนน 3.5
80-100 3
75-79 2.5
70-74 2
65-69 1.5
60-64 1
55-59 0
50-54
0-49
หนงั สอื เอกสารอ้างองิ

Course Syllabus
วชิ า เคร่ืองทาความเยน็ และปรับอากาศ รหัส (3101-2002)
จานวนหน่วยกติ 3 หน่วยกติ ทฤษฏี 3 คาบ/สัปดาห์ ปฏิบตั ิ คาบ/สัปดาห์

ครูผู้สอน นายธาดา หมานดา แผนกวิชา ช่างยนต์

จุดประสงค์รายวชิ า
1.เขา้ ใจหลกั การคานวณเกี่ยวกบั กลศาสตร์เคร่ืองกล
2.คานวณหาคา่ ที่ตอ้ งใชใ้ นงานเครื่องกล
3.มีความรับผดิ ชอบตรงต่อเวลา เจตคติท่ีดีและเกิดความคิดรวบยอดเก่ียวกบั กลศาสตร์

สมรรถนะรายวชิ า
1.แสดงความรู้เกี่ยวกบั หลกั กลศาสตร์และการประยกุ ตใ์ นการใชง้ าน
2.คานวณการสมดุลและการเคล่ือนที่
3.คานวณงานและพลงั งาน
4.คานวณสมบตั ิของวสั ดุ
5.คานวณคุณสมบตั ิของของไหลและเทอร์โมไดนามิกส์

คาอธิบายรายวชิ า
ศึกษาเกี่ยวกบั ระบบแรง การสมดุลการเคล่ือนท่ีในแนวเสน้ ตรงการเคลื่อนท่ีในแนวโคง้ ความเสียด

ทาน ความเร็ว งานและพลงั งาน ความเคน้ และความเครียดของวสั ดุสมบตั ิของของไหลเบ้ืองตน้ สมบตั ิทาง
เทอร์โมไดนามิกส์เบ้ืองตน้ และการประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานเครื่องกล

หน่วยการจดั การเรียนรู้

ลาดบั ท่ี ชื่อหน่วยการเรียนรู้ จานวนคาบ
(ชม.)
1 ช้ีแจงวิธีการเรียนและปฐมนิเทศก่อนเรียน
2 หลกั การเบ้ืองตน้ ทางกลศาสตร์ 4
3 ระบบแรง 4
4 โมเมนตแ์ รงคูค่ วบ 12
5 สมดุล 4
6 โครงสร้าง 12
7 แรงกระจาย 8
8 โมเมนตค์ วามเฉ่ือย 8
9 แรงเสียดทาน 8
10 โครงงานวิจยั 8
12
รวม 72

คะแนนการวัดผล 60 %
คะแนนเกบ็ ระหวา่ งการเรียน 20 %
สอบปลายภาคเรียน 20 %
จิตพสิ ัย 100 %
รวม
เกรด
เกณฑ์การประเมินผล 4
ใช้การประเมนิ แบบองิ เกณฑ์ 3.5
3
ระดบั คะแนน 2.5
80-100 2
75-79 1.5
70-74 1
65-69 0
60-64
55-59
50-54
0-49

หนังสือเอกสารอ้างองิ

คณะวชิ าช่างอุตสาหกรรม
แผนกเครื่องกล สาขาวชิ า ช่างยนต์

อาจารย์ผู้สอน นายธาดา หมานดา

ประมวลผลรายวชิ า (Course Syllabus)
2101 – 2105 การขบั รถยนต์ (2 หน่วยกติ )

( Driving )

คำอธิบำยรำยวิชำ
ศกึ ษาและปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั กฎจราจรเครอ่ื งหมายจราจร การควบคมุ บงั คบั รถยนตต์ รวจสภาพรถยนต์ การ

ขบั รถยนตใ์ นสภาวะต่าง ๆ การออกรถ ชะลอความเรว็ หยดุ รถ จอดรถ ขบั รถอยา่ งปลอดภยั ตามกฎจราจร
มารยาทในการขบั รถยนตแ์ ละการบารงุ รกั ษารถยนต์

จดุ ประสงคร์ ำยวิชำ
1. เขา้ ใจกฎจราจร การเตรยี มการก่อนการขบั รถยนต์ และการขบั รถยนตอ์ ยา่ งปลอดภยั
2. ขบั รถยนตไ์ ดอ้ ยา่ งปลอดภยั ตามกฎจราจร
3. มกี จิ นิสยั ในการขบั รถยนต์

สมรรถนะรำยวิชำ
1. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั หลกั การขบั รถยนตแ์ ละจราจร
2. บารงุ รกั ษารถยนตป์ ระจาวนั ตามคมู่ อื
3. ตรวจสอบสภาพรถยนตก์ อ่ นการใชง้ านตามคมู่ อื กาหนด
4. ขบั รถยนตใ์ นสถานการณ์เหมอื นจรงิ ตามกฎจราจร

กจิ กรรมการเรียนการสอน

1. บรรยายทฤษฎีโดยผสู้ อน
2. ศึกษาจากเอกสาร และส่ือการสอน
3. ฝึกขบั รถยนตต์ ามสถานการณ์ท่ีผสู้ อนกาหนดให้
4. ฝึกฝนเพมิ่ เติมนอกเวลาเรียน

หน่วยการจดั การเรียนรู้
จานวนคาบ 4 ช่ัวโมง / สัปดาห์

หน่วยท่ี 1. ยานยนตแ์ ละถนนไทยในอดีต
หน่วยที่ 2. ถนนทางหลวงและเครื่องหมายจราจร
หน่วยที่ 3. บทเรียนการฝึกหดั ขบั รถยนต์
หน่วยที่ 4. บทเรียนการบงั คบั ควบคุมรถยนต์
หน่วยท่ี 5. บทเรียนการขบั รถยนตบ์ นถนนทางหลวง
หน่วยท่ี 6. สุขลกั ษณะหลงั พวงมาลยั
หน่วยท่ี 7. การแกภ้ าวะฉุกเฉินระหวา่ งเดินทาง
หน่วยท่ี 8. การขบั ข่ีรถยนตใ์ หป้ ระหยดั ละปลอดภยั
หน่วยที่ 9. กฎหมายจราจรตาม พรบ. จราจร
หน่วยท่ี 10. การใชเ้ กียร์ขบั 4 ลอ้ และเกียร์อตั โนมตั ิ
หน่วยท่ี 11. งานตรวจและบารุงรักษารถยนต์

กฎระเบยี บประจารายวขิ า = ขร.
= ขาด 1 คร้ัง
1. เวลาเรียนนอ้ ยกวา่ 80%
2. มาสายเกิน 15 นาที 3 คร้ัง

การประเมินผล 20 %

1. จิตพสิ ัย
- การแต่งกาย
- ความประพฤติ
- เวลาเรียน

2. คะแนนในระหว่างการเรียนการสอน 40 %
- คะแนนงาน - สมุด 40 %
- การปฏิบตั ิ
- ความร่วมมือ
- สอบยอ่ ยในแต่ละบทเรียน

3. สอบปฏิบตั ปิ ลายภาค

เกณฑ์การประเมินผล

80 คะแนน ข้ึนไป = 4.0 60 – 64 คะแนน = 2.0

75 – 79 คะแนน = 3.5 55 – 59 คะแนน = 1.5

70 – 74 คะแนน = 3.0 50 – 54 คะแนน = 1.0

65 – 69 คะแนน = 2.5 ต่ากวา่ 50 คะแนน = 0

- ส่งงานไม่ครบ / ไม่ทนั ตามกาหนด = ตดั เกรดตามคะแนนจริงที่มีอยู่

- เวลาเรียนนอ้ ยกวา่ 80% = ขร.

หมายเหตุ เกณฑก์ ารประเมินอาจเปล่ียนแปลงไดต้ ามความเหมาะสม

กาหนดการเรียนการสอน

สัปดาห์ท่ี ชื่อหน่วยและหัวข้อ คาบเรียน

1 - 2 หน่วยท่ี 1. ยานยนต์และถนนไทยในอดตี 4
ความเป็นมาของยานยนตไ์ ทย 4
ประวตั ิการสร้างถนนไทย
แบบประเมินผลการเรียนรู้ 2

3 หน่วยที่ 2. ถนนทางหลวงและเครื่องหมายจราจร 4
การเตรียมตวั เพ่อื เดินทางไกล
ทางหลวงและระยะทาง
ประวตั ิการสร้างถนนไทย
เครื่องหมายจราจรบนถนนและทางหลวง
แบบประเมินผลการเรียนรู้

4 - 6 หน่วยท่ี 3. บทเรียนการฝึ กหัดขับรถยนต์
หลกั การเป็นนกั ขบั รถท่ีดี
การฝึกใชอ้ ุปกรณ์บงั คบั ควบคุมรถยนต์
การขบั เคล่ือนรถออกและการหยดุ รถ
การควบคุมพวงมาลยั ระหวา่ งขบั ขี่รถยนต์
แบบประเมินผลการเรียนรู้

7 - 10 หน่วยท่ี 4. บทเรียนการบังคบั ควบคุมรถยนต์
การเคลื่อนตวั รถออกอยา่ งนุ่มนวล
วธิ ีปรับความเร็วรถยนต์
การขบั รถยนตบ์ นทางลาด
การถอยหลงั รถยนตใ์ นทางตรง
แบบประเมินผลการเรียนรู้

สัปดาห์ที่ ช่ือหน่วยและหัวข้อ คาบเรียน

11 หน่วยที่ 5. บทเรียนการขับรถยนต์บนถนนทางหลวง 2
การใชช้ ่องทางจราจร 4
การขบั รถเปลี่ยนช่องทางจราจร 4
การขบั รถเขา้ ทางร่วมทางแยก
แบบประเมินผลการเรียนรู้

12 หน่วยท่ี 6. สุขลกั ษณะหลงั พวงมาลยั
ศิลปะการนง่ั ขบั รถอยา่ งสบาย
การนงั่ ขบั รถท่ีไม่ถูกสุขลกั ษณะ
วิธีลดความเครียดจากการขบั รถ
แบบประเมินผลการเรียนรู้

13 หน่วยที่ 7. การแก้ภาวะฉุกเฉินระหว่างเดนิ ทาง
หลกั การใหส้ ญั ญาณฉุกเฉินเมื่อรถเสีย
การสตาร์ทเคร่ืองยนตฉ์ ุกเฉิน
การเปล่ียนลอ้ เม่ือยางแบน
การขบั รถลุยน้าท่วม
แบบประเมินผลการเรียนรู้

14 หน่วยท่ี 8. การขับขีร่ ถยนต์ให้ประหยัดละปลอดภัย
การใชร้ ถยนตอ์ ยา่ งประหยดั
การบารุงรักษารถยนต์
การใชเ้ กียร์ใหป้ ระหยดั น้ามนั เช้ือเพลิง
แบบประเมินผลการเรียนรู้

สัปดาห์ท่ี ช่ือหน่วยและหัวข้อ คาบเรียน

15 หน่วยท่ี 9. กฎหมายจราจรตาม พรบ. จราจร 2
กรณีการชนกนั บริเวณทางตรง
กรณีการชนกนั บริเวณทางแยก 4
คูก่ รณีเป็นรถจกั รยานยนต์ และอ่ืน ๆ
แบบประเมินผลการเรียนรู้ 2
2
16 หน่วยท่ี 10. การใช้เกยี ร์ขบั 4 ล้อ และเกยี ร์อตั โนมัติ
คุณลกั ษณะรถขบั เคล่ือน 4 ลอ้
การขบั รถยนตข์ บั เคล่ือน 4 ลอ้
การเลือกใชเ้ กียร์อตั โนมตั ิในตาแหน่งต่าง ๆ
การออกรถและการขบั รถข้ึนเนินสูง
แบบประเมินผลการเรียนรู้

17 หน่วยที่ 11. งานตรวจและบารุงรักษารถยนต์
กิจวตั รเกี่ยวกบั การใชร้ ถยนต์
การตรวจและการบารุงรักษาตามระยะเวลา
การตรวจและบารุงรักษาภายนอก
แบบประเมินผลการเรียนรู้

18 สอบปลายภาค

11

แผนการจดั การเรียนรแู้ บบบรู ณาการที่ 1 หน่วยท่ี -
สอนคร้งั ที่ 1-4
รหสั วิชา 2101-2008 วิชา เคร่ืองทาความเย็นและปรบั อากาศ
ชื่อหน่วย ปฐมนิเทศ จานวนชวั ่ โมง 4 ชม.

แนวคิด

การศกึ ษาวชิ า งานเครอ่ื งทาความเยน็ และปรบั อากาศ ประกอบดว้ ยศกึ ษาและปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั หลกั การ
ทางาน การถอดประกอบและตรวจสภาพอุปกรณ์เคร่อื งทาความเยน็ และปรบั อากาศ ทาสญุ ญากาศและเตมิ สารทา
ความเยน็ ต่อวงจรไฟฟ้าควบคุมอุปกรณ์ตดิ ตงั้ และบารงุ รกั ษาระบบเครอ่ื งทาความเยน็ และปรบั อากาศ และการ
ประมาณราคาคา่ บรกิ าร

สาระการเรยี นรู้

1. ขอบขา่ ยของเน้ือหาวชิ า งานเครอ่ื งทาความเยน็ และปรบั อากาศ
2. มาตรฐานจดุ เน้นและแนวทางปฏบิ ตั ใิ นการเรยี น วชิ า งานเครอ่ื งทาความเยน็ และปรบั อากาศ
3. แนวทางการวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นรใู้ นวชิ า งานเครอ่ื งทาความเยน็ และปรบั อากาศ

ผลการเรยี นรูท้ ี่คาดหวงั

1. มคี วามเขา้ ใจขอบเขตของ วชิ า งานเครอ่ื งทาความเยน็ และปรบั อากาศ
2. ทราบถงึ มาตรฐานจุดเน้นและแนวทางปฏบิ ตั ใิ นการเรยี น วชิ า งานเครอ่ื งทาความเยน็ และปรบั อากาศ
3. มคี วามเขา้ ใจวธิ กี ารวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นรใู้ น วชิ า งานเครอ่ื งทาความเยน็ และปรบั อากาศ
4. มกี ารพฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคท์ ค่ี รสู ามารถสงั เกตเหน็ ได้

ในดา้ นความมมี นุษย์ สมั พนั ธ์ ความมวี นิ ยั ความรบั ผดิ ชอบ ความเช่อื มนั่ ในตนเอง ความสนใจใฝร่ ู้
ความรกั สามคั คี ความกตญั ญกู ตเวที

กิจกรรมการเรยี นการสอน

1. ครนู าการอภปิ รายถงึ ขอบขา่ ยของสาระการเรยี นรใู้ นวชิ า งานเครอ่ื งทาความเยน็ และปรบั อากาศ
2. ครใู หค้ วามรแู้ กน่ กั เรยี นเกย่ี วกบั มาตรฐานการเรยี นรู้ จดุ เน้น และแนวปฏบิ ตั ใิ นการเรยี นวชิ า งาน

เครอ่ื งทาความเยน็ และปรบั อากาศ
3. ครอู ธบิ ายถงึ วธิ กี ารวดั ผลและแนวทาง การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ในวชิ า งานเครอ่ื งทาความเยน็

และปรบั อากาศ
4. ครใู หน้ กั เรยี นทาแบบประเมนิ ผลการเรยี นรกู้ อ่ นเรยี นจานวน 60 ขอ้

สอ่ื การเรยี นการสอน

1. หนงั สอื เรยี นวชิ า เครอ่ื งทาความเยน็ และปรบั อากาศ รหสั 2101-2008 ของสานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์

12

การวดั และการประเมินผล

วิธีวดั ผล
1. ทาแบบประเมนิ ผลการเรยี นรกู้ ่อนเรยี น/หลงั เรยี น 60 ขอ้
2. สงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

เครือ่ งมือวดั ผล
1. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรกู้ อ่ นเรยี น/หลงั เรยี น 60 ขอ้
2. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (ดตู วั อยา่ งในภาคผนวก จ)

โดยครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั ประเมนิ

เกณฑก์ ารประเมินผล
1. แบบประมนิ ผลการเรยี นรกู้ ่อนเรยี นไมม่ เี กณฑผ์ า่ น ครจู ะเกบ็ คะแนนไวเ้ ปรยี บเทยี บกบั คะแนนท่ี

ไดจ้ ากการทดสอบหลงั จากเรยี นจบในปลายภาค
2. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อยกู่ บั

การประเมนิ ตามสภาพจรงิ

บนั ทกึ หลงั การสอน

(ดทู ภ่ี าคผนวก ฌ และ ญ)

13

แบบประเมินผลการเรียนร้กู ่อนเรียน/หลงั เรียน

จงเลือกคาตอบที่ถกู ต้องที่สดุ เพียงข้อเดียว

1. สมยั โบราณบรเิ วณทม่ี อี ากาศหนาวเยน็ มวี ธิ กี ารถนอมอาหาร คอื

ก. รมควนั ข. ตากแดด

ค. แชต่ เู้ ยน็ ง. แช่แขง็ หรอื หมกหิมะ

2. ผปู้ ระดษิ ฐค์ อมเพรสเซอรอ์ ดั ไอสาเรจ็ เป็นคนแรก คอื

ก. จาคอบ เพอรก์ ินส์ ข. โจเซฟ แมคครตี ้ี

ค. ท.ี ซ.ี มอรชิ คอกต์ ง. เจ.เอน็ . ลารเ์ ซน

3. การทาความเยน็ เขา้ มาเกย่ี วขอ้ งกบั อุตสาหกรรมชนิดใดบา้ ง

ก. อุตสาหกรรมเคมี ข. โรงแยกก๊าซ

ค. การขนสง่ อาหารแชแ่ ขง็ ง. ถกู ทกุ ข้อ

4. เกรน (Grain) เป็นหน่วยวดั ของสง่ิ ใด

ก. อุณหภมู ิ ข. แรงอดั อากาศ

ค. ความชื้น ง. เสยี ง

5. ความชน้ื สมั พทั ธท์ ่ี 50% หมายถงึ

ก. ความชน้ื ทม่ี อี ยใู่ นอากาศ ข. อากาศมีไอน้าอย่คู รึง่ หน่ึง ณ จดุ นัน้

ค. ความชน้ื โดยทวั่ ไป ง. ความชน้ื ทส่ี มั พนั ธก์ บั อุณหภมู ิ

6. เครอ่ื งมอื ชนดิ ใดใชใ้ นงานควา้ นปากทอ่

ก Cutter ข. Reamer

ค. Fairing Tool ง. Tube Bending

7. อุปกรณ์ทใ่ี ชต้ กแต่งโลหะเพ่อื ใหผ้ วิ งานเรยี บ คอื

ก. ตะไบ ข. คตั เตอร์

ค. รมี เมอร์ ง. สลกั

8. เกจแบบผสม (Compound Gauge) เป็นเกจทใ่ี ชว้ ดั

ก. ความดนั ตา่ ข. ความดนั สงู

ค. วดั สญุ ญากาศ ง. วดั ทงั้ ความดนั ต่าและความดนั สงู

9. ทอ่ ของแมนโิ ฟลดเ์ กจทใ่ี ชใ้ นการซอ่ มและการบรกิ าร คอื

ก. ทอ่ ดา้ นซา้ ยของแมนิโฟลดเ์ กจ ข. ทอ่ ดา้ นขวาของแมนโิ ฟลดเ์ กจ

ค. ทอ่ กลางของแมนิโฟลดเ์ กจ ง. ใช้ได้ทกุ ท่อของเกจ

14

10. ทอ่ ของแมนโิ ฟลดเ์ กจทใ่ี ชใ้ นการซ่อมและการบรกิ าร คอื

ก. ท่อด้านซ้ายของแมนิโฟลดเ์ กจ ข. ทอ่ ดา้ นขวาของแมนิโฟลดเ์ กจ

ค. ทอ่ กลางของแมนิโฟลดเ์ กจ ง. ใชไ้ ดท้ ุกทอ่ ของเกจ

11. การดงึ เอาปรมิ าณความรอ้ นออกจากพน้ื ทเ่ี ป็นหลกั การขอ้ ใด

ก. การทาความเยน็ ข. ความรอ้ นแฝง

ค. ตวั ควบคุมน้ายา ง. การระเหดิ

12. การอดั ตวั ของน้ายาเกดิ ขน้ึ จากการทางานของอุปกรณ์ใด

ก. อแิ วโพเรเตอร์ ข. คอมเพรสเซอร์

ค. คอนเดนเซอร์ ง. เอกซแ์ พนชนั วาลว์

13. น้ายาจะกลายเป็นไอบรเิ วณใด

ก. อิแวโพเรเตอร์ ข. คอมเพรสเซอร์

ค. คอนเดนเซอร์ ง. เอกซแ์ พนชนั วาลว์

14. อุปกรณ์ทท่ี าหน้าทด่ี ดู อดั น้ายาคอื

ก. อแิ วโพเรเตอร์ ข. คอมเพรสเซอร์

ค. คอนเดนเซอร์ ง. เอกซแ์ พนชนั วาลว์

15. ทอ่ ทต่ี ่อระหวา่ งทอ่ พกั น้ายาเหลวกบั เอกซแ์ พนชนั วาลว์ คอื

ก. ทอ่ ทางเดนิ น้ายา ข. ทอ่ ซกั ชนั

ค. ทอ่ ดสิ ชารจ์ ง. ท่อลิควิด

16. สารความเยน็ ไหลออกจากคอนเดนเซอรใ์ นสถานะใด ข. ก๊าซทงั้ หมด
ง. ของเหลวและก๊าซ
ก. ไออม่ิ ตวั
ค. ของเหลวทงั้ หมด ข. เพมิ่ ความดนั ของสารความเยน็
ง. ดดู ความชน้ื ภายในระบบ
17. หน้าทข่ี องชดุ ควบคมุ น้ายา คอื
ก. ลดความดนั สารความเยน็ ข. แรงดนั ของสปรงิ
ง. แรงท่ีเกิดจากความรอ้ นโดยรอบ
ค. ถา่ ยเทความรอ้ นจากสารความเยน็
18. แรงชนิดใดทไ่ี ม่ได้ควบคุมการทางานของ TEV

ก. ความดนั อแิ วโพเรเตอร์
ค. แรงขยายตวั สารความเยน็ ในกระเปาะ

15

19. ถา้ ลน้ิ ของเอกซแ์ พนชนั วาลว์ เปิดมาก จะมผี ลคอื

ก. การทาความเยน็ เพม่ิ ขน้ึ ข. การทาความเยน็ คงท่ี

ค. การทาความเยน็ ลดลง ง. ความชื้นในระบบลดลง

20. ทอ่ แคพลิ ลารมี หี น้าทท่ี ส่ี าคญั คอื

ก. ควบคมุ การไหลของน้ายา ข. เพม่ิ ความดนั ของสารความเยน็

ค. ถ่ายเทความรอ้ นจากสารความเยน็ ง. ดดู ความชน้ื ภายในระบบ

21. สารดดู รบั ความชน้ื ทน่ี ิยมใชก้ นั โดยทวั่ ไป คอื

ก. ซลิ กิ าเจล ข. แคลเซยี มซลั เฟต

ค. อะลมู นิ าเจล ง. ถกู ทกุ ข้อ

22. อุปกรณ์ชนิดใดป้องกนั ไมใ่ หน้ ้ายาถกู ดดู กลบั เขา้ คอมเพรสเซอร์

ก. แอกควิ มเู ลเตอร์ ข. ดรายเออร์

ค. วาลว์ กนั กลบั ง. อลิ มิ เิ นเตอร์

23. น้ายาทถ่ี กู ดดู เขา้ คอมเพรสเซอรจ์ ะอยใู่ นสถานะใด

ก. ของเหลว ข. ของเหลวผสมกบั ก๊าซ

ค. เป็นไอน้าทงั้ หมด ง. ซูเปอรฮ์ ีต

24. ถา้ มองเหน็ ฟองอากาศทก่ี ระจกมองน้ายาแสดงวา่

ก. บรรจุน้ายามากเกนิ ไป ข. น้ายามกี ๊าซผสมอยู่
ค. น้ายาเหลวบางส่วนระเหยเป็นกา๊ ซ ง. มฝี นุ่ ผงผสมอยใู่ นระบบ

25. ถา้ มนี ้ามนั คอมเพรสเซอรไ์ หลผา่ นเขา้ ระบบจะเกดิ ผลเสยี คอื

ก. สารความเยน็ ดดู ซบั ความรอ้ นไดด้ ี ข. เกดิ เป็นไอภายในระบบ

ค. ทาใหร้ ะบบอุดตนั ง. ท่อเกิดฉนวน การถ่ายเทความร้อนไม่ดี

26. สารความเยน็ ทพ่ี ฒั นาขน้ึ มาใชแ้ ทน R-12 คอื

ก. R-13 ข. R-22

ค. R-152a ง. R-134a

27. เครอ่ื งตรวจรอยรวั่ แบบใชเ้ สยี งมวี ธิ กี ารบอกใหร้ ไู้ ดอ้ ยา่ งไร

ก. เสยี งดงั ชา้ กวา่ ปกติ ข. เสียงดงั รวั ถี่ขึน้

ค. เสยี งดงั กวา่ เดมิ ง. ขน้ึ อยกู่ บั รอยรวั่ มากน้อยเพยี งใด

28. จุดไหลตวั ของน้ามนั คอมเพรสเซอร์ คอื

ก. ของเหลวทไ่ี หลตวั ได้ ข. น้ามนั ไหลตวั ได้ที่อณุ หภมู ิตา่

ค. ของเหลวเปลย่ี นเป็นไอ ง. จดุ ทข่ี องเหลวผา่ นได้

29. ถา้ ใชต้ ะเกยี งตรวจรอยรวั่ จะรไู้ ดอ้ ยา่ งไรวา่ เกดิ การรวั่

ก. ไฟตะเกยี งหรล่ี ง ข. ไฟตะเกยี งสวา่ งกวา่ เดมิ

ค. ไฟตะเกยี งเปลย่ี นเป็นสสี ม้ ง. ไฟตะเกียงเปล่ียนเป็นสีเขียว

16

30. ก๊าซทใ่ี ชท้ ดสอบความดนั ระบบตอ้ งมคี ุณสมบตั อิ ยา่ งไร

ก. ก๊าซไมต่ ดิ ไฟ ข. ไมม่ พี ษิ

ค. ไมม่ คี วามชน้ื ง. ถกู ทกุ ข้อ

31. การทาสญุ ญากาศ คอื

ก. การดึงอากาศและความชื้นออกจากระบบ

ข. การไล่อากาศและความชน้ื ออกจากระบบ

ค. การดงึ อากาศและความชน้ื จากทอ่ ก๊าซ

ง. การดงึ ความชน้ื ออกจากคอมเพรสเซอร์

32. การทางาน สายเกจดา้ นความดนั ต่าใหต้ ่อเขา้ กบั

ก. วาลว์ บรกิ ารดา้ นอดั ข. วาลว์ บริการด้านดดู

ค. ทอ่ ทางเดนิ สารความเยน็ ง. ถงั สารความเยน็

33. การปลอ่ ยสารความเยน็ ทง้ิ จะตอ้ งปิดวาลว์ ความดนั ต่าทนั ทเี มอ่ื ใด

ก. ขณะถอดชน้ิ สว่ นต่างๆ ออก ข. เมอ่ื ความดนั ของระบบสงู ขน้ึ

ค. เมอ่ื ความดนั ลดต่ากวา่ เกณฑ์ ง. มีน้ามนั หล่อลื่นคอมฯ ไหลออกมา

34. การบรรจุสารความเยน็ จะกระทาเมอ่ื ใด

ก. หลงั ตดิ อุปกรณ์ต่างๆ แลว้ เสรจ็ ข. ตรวจการรวั่ เรยี บรอ้ ยแลว้

ค. ทาสญุ ญากาศเรียบรอ้ ยแล้ว ง. เมอ่ื สารความเยน็ ลดลง

35. คา่ ความดนั ต่าโดยประมาณของเครอ่ื งปรบั อากาศทถ่ี กู ตอ้ งคอื

ก. 8-12 psi ข. 15-30 psi

ค. 65-75 psi ง. 100-130 psi

36. ทอ่ งอลกั ษณะคว่าลง (Invert-Trap) มหี น้าทส่ี าคญั คอื

ก. ป้ องกนั น้ายาไม่ให้ไหลกลบั เข้าคอมเพรสเซอร์ ข. ชว่ ยในการอดั ตวั ของสารความเยน็

ค. ชว่ ยใหน้ ้ายาผสมน้ามนั หลอ่ ลน่ื ไดง้ า่ ย ง. แยกน้ามนั หลอ่ ล่นื ทต่ี กคา้ ง

37. มนิ ิคตั เตอรม์ กั ใชก้ บั ทอ่ ทม่ี ขี นาดเสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางภายนอกเทา่ ใด 3
1 4
ก. ไม่เกิน 2 นิ้ ว ข. ไมเ่ กนิ น้ิว

ค. ระหวา่ ง 1-2 น้ิว ง. มากกวา่ 2 น้ิว

38. การควา้ นปลายทอ่ จะกระทาเม่อื ใด

ก. เมอ่ื ตอ้ งการบานทอ่ ข. ใชต้ อ่ ทอ่ ขนาดเดยี วกนั

ค. ภายหลงั การตดั ท่อทกุ ครงั้ ง. ถกู ทุกขอ้

39. การทาฟลกั ซท์ งั้ ผวิ ดา้ นในและดา้ นนอกของทอ่ มวี ตั ถุประสงค์ คอื
ก. ป้องกนั การเกดิ ออกไซด์
ข. เพมิ่ แรงยดึ ตวั รอยตอ่

ค. ช่วยในการประสานรอยเชื่อม ง. ทาความสะอาดรอยต่อ

17

40. การตอ่ ทอ่ ทองแดงดว้ ยการเช่อื มจะใชว้ ธิ ใี ด

ก. การเชื่อมเงิน ข. การเช่อื มทองเหลอื ง
ค. การเชอ่ื มดว้ ยลวดเช่อื มไฟฟ้า ง. ขน้ึ อยกู่ บั ลกั ษณะงาน

41. คตั เอาต์ (Cut Out) จดั เป็นสวติ ชแ์ บบใด

ก. 1 ขวั้ 1 ทาง ข. 1 ขวั้ 2 ทาง

ค. 2 ขวั้ 1 ทาง ง. 2 ขวั้ 2 ทาง
42. ขอ้ ใดถกู ตอ้ งในการเลอื กใชห้ น้าสมั ผสั แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า

ก. ขนาดแรงเคลอ่ื นทเ่ี ขา้ ขดลวด ข. ความสามารถรบั กระแสหน้าสมั ผสั

ค. จานวนขวั้ ขน้ึ อยกู่ บั การตดั ต่อ ง. ถกู ทกุ ข้อ
43. รเี ลยช์ นิดใดทท่ี างานดว้ ยความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟ้า

ก. Current Relay ข. Potential Relay

ค. Hot Wire Relay ง. Control Relay
44. อุปกรณ์ตอ่ ไปน้ีอุปกรณ์ชนิดใดป้องกนั วงจรไฟฟ้าเมอ่ื เกดิ การลดั วงจร

ก. ฟิ วส์ ข. ไทเมอรร์ เี ลย์

ค. คาพาซเิ ตอร์ ง. อุปกรณ์ควบคมุ ความดนั

45. ไทเมอรร์ เี ลยม์ หี น้าทค่ี อื

ก. ชะลอการเกดิ การลดั วงจร ข. หน่วงเวลาควบคมุ การทางาน
ค. เกบ็ ประจุไฟฟ้าเพอ่ื ใชง้ าน ง. ควบคมุ การตดั -ตอ่ วงจร
46. เขม็ ชท้ี ค่ี า่ อนนั ตห์ มายถงึ

ก. คาพาซเิ ตอรป์ กติ ข. คาพาซเิ ตอรล์ ดั วงจร
ค. คาพาซเิ ตอรเ์ สยี ง. วงจรในคาพาซิเตอรข์ าด

47. การตอ่ ลดั วงจรของคาพาซเิ ตอรท์ าเพอ่ื

ก. บรรจุกระแส ข. ให้คายประจใุ ห้หมด

ค. ตรวจสอบวงจร ง. ตรวจสอบคา่ อนนั ต์
48. แอมมเิ ตอรเ์ ป็นเครอ่ื งมอื ทใ่ี ชก้ บั งานชนิดใด ข. ตรวจความเป็นฉนวน
ง. ใช้วดั กระแสไฟในวงจร
ก. วดั แรงเคล่อื นไฟฟ้า
ค. ตรวจสอบสภาพของฟิวส์

49. เมกะโอหม์ คอื

ก. ค่าความต้านทานการเป็นฉนวน ข. หน่วยวดั แรงเคลอ่ื นไฟ
ค. แรงดนั ไฟฟ้า (Volt)
ง. กระแสไฟในวงจร
50. เขม็ ชค้ี า่ 0 โอหม์ และชท้ี ค่ี า่ ความตา้ นทานทค่ี อ่ ยๆ เพม่ิ ขน้ึ จนสงู สดุ แสดงวา่
ก. คาพาซิเตอรป์ กติ
ข. คาพาซเิ ตอรล์ ดั วงจร

ค. คาพาซเิ ตอรเ์ สยี ง. วงจรในคาพาซเิ ตอรข์ าด

51. ฉนวนกนั ความรอ้ นระหวา่ งโครงตชู้ นั้ นอกและชนั้ ในทน่ี ิยมใชก้ นั คอื

ก. วสั ดใุ ยแก้ว ข. พลาสตกิ

ค. ไฟเบอรก์ ลาสส์ ง. ยาง

18

52. ขอ้ ใดถกู ต้อง

ก. โครงตชู้ นั้ นอกมกั ทาจากพลาสตกิ ข. ทอ่ น้ายาปรบั การไหลของน้ายา

ค. ยางขอบต้เู ยน็ มีเส้นแม่เหลก็ 3 ด้าน ง. ฝาปิดชอ่ งแชแ่ ขง็ มกั ทาจากตะแกรงโปรง่

53. ทอ่ แคพลิ ลารที าหน้าท่ี คอื

ก. เพม่ิ แรงดนั ของน้ายา ข. ปรบั การไหลของน้ายา
ค. ตดั -ตอ่ วงจรไฟฟ้า ง. ระบายความเยน็ ภายในหอ้ ง

54. ฟิลเตอรด์ รายเออรข์ องเครอ่ื งทาความเยน็ ทาหน้าทค่ี อื

ก. ดดู ความชน้ื ข. กรองสง่ิ สกปรกน้ายา

ค. เพม่ิ แรงดนั น้ายา ง. ดดู ความชื้นและกรองสิ่งสกปรก

55. กระจกมองน้ายา ถา้ น้ายามสี เี หลอื ง หมายถงึ

ก. มีความชื้นปนอยู่ ข. น้ายาต่ากวา่ เกณฑ์

ค. น้ายาเป็นปกติ ง. มสี งิ่ สกปรกปนอยู่
56. อุปกรณ์ใดป้องกนั น้ายาเหลวไหลเขา้ คอมเพรสเซอร์

ก. ฟิ ลเตอรด์ รายเออร์ ข. แอกควิ มเู ลเตอร์

ค. ทอ่ แคพลิ ลารี ง. เอกซแ์ พนชนั วาลว์

56. ชดุ คอนเดนซงิ ยนู ิต คอื

ก. ชุดระบายความรอ้ นของเครอ่ื ง ข. ชดุ ควบคมุ การไหลของน้ายา

ค. ชดุ ดดู รบั ปรมิ าณความรอ้ นในหอ้ ง ง. ชดุ ระบายความรอ้ นจากน้ายา

57. ชุดคอนเดนซงิ ยนู ิตควรตดิ ตงั้ ใหส้ งู จากพน้ื เท่าใด

ก. 10-20 เซนตเิ มตร ข. 20-30 เซนติเมตร

ค. 30-40 เซนตเิ มตร ง. 40-50 เซนตเิ มตร

58. การตดิ ตงั้ ชุดคอนเดนซงิ ยนู ิตในทอ่ี บั มผี ลเสยี คอื

ก. ความดนั ของน้ายาสงู ขน้ึ ข. ความชน้ื ปะปนในน้ายาสงู

ค. การระบายอากาศไมด่ เี ท่าทค่ี วร ง. การทาความเยน็ ลดลง

59. กรองอากาศของเครอ่ื งปรบั อากาศควรทาความสะอาดเมอ่ื ใด

ก. ทกุ 2 สปั ดาห์ ข. ทุก 1 เดอื น

ค. ทุก 3 เดอื น ง. ทุก 6 เดอื น

60. ถา้ จาเป็นตอ้ งตดิ ตงั้ คอนเดนซงิ ยนู ิตบนหลงั คาอาคาร สงิ่ ทค่ี วรจะตอ้ งมคี อื

ก. ลกู กรงครอบ ข. รม่ บงั แสงแดด

ค. แผน่ ยางรองลดความสนั่ สะเทือน ง. อุปกรณ์ตงั้ เวลาทางาน

19

แผนการจดั การเรียนรแู้ บบบรู ณาการท่ี 2 หน่วยที่ 1
สอนคร้งั ที่ 5-8
รหสั วิชา 2101-2008 วิชา เคร่ืองทาความเยน็ และปรบั อากาศ จานวนชวั ่ โมง 4 ชม.
ชื่อหน่วย ความรพู้ ้ ืนฐานการทาความเย็น

แนวคิด

การทาความเยน็ มวี วิ ฒั นาการมาอยา่ งต่อเน่ืองและเขา้ มามบี ทบาทอยา่ งมากจนกลายเป็นสงิ่ จาเป็น

สาหรบั ชวี ติ ประจาวนั ของคนเรา ตเู้ ยน็ และตแู้ ชต่ ามบา้ นเรอื นถกู นามาใชใ้ นการเกบ็ รกั ษาและถนอมอาหารไมใ่ ห้

เน่าเสยี หายเรว็ เกนิ ไป เครอ่ื งปรบั อากาศถกู นามาใชใ้ นกระบวนการผลติ ของโรงงานอุตสาหกรรม

เครอ่ื งปรบั อากาศทใ่ี ชใ้ นอาคารทอ่ี ยอู่ าศยั และสานกั งานต่างใชก้ ารปรบั อากาศเพอ่ื ความสขุ สบายของคน

เครอ่ื งปรบั อากาศในรถยนตช์ ว่ ยใหก้ ารเดนิ ทางมคี วามสบายไมต่ อ้ งหงดุ หงดิ ขณะทร่ี ถตดิ และยามทอ่ี ากาศรอ้ นจดั

ซง่ึ จะช่วยใหก้ ารทางานมปี ระสทิ ธภิ าพ การศกึ ษาการทาความเยน็ น้ผี ใู้ หบ้ รกิ ารจะตอ้ งมคี วามรแู้ ละความเขา้ ใจ

พน้ื ฐานต่างๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การทาความเยน็ เสยี กอ่ น

สาระการเรยี นรู้

1. บทนา
2. ความสาคญั ของการทาความเยน็
3. สภาวการณ์ทม่ี ผี ลตอ่ การทาความเยน็
4. หลกั พน้ื ฐานการทาความเยน็
5. การประมาณคา่ ความรอ้ นทค่ี ดิ เป็นภาระงาน

ผลการเรียนรูท้ ่คี าดหวงั

1. อธบิ ายความสาคญั ของการทาความเยน็ ไดถ้ กู ตอ้ ง
2. อธบิ ายสภาวการณ์ทม่ี ผี ลต่อการทาความเยน็ ได้
3. อธบิ ายหลกั พน้ื ฐานการทาความเยน็ ไดถ้ กู ตอ้ ง
4. อธบิ ายการประมาณคา่ ความรอ้ นทค่ี ดิ เป็นภาระงานไดถ้ กู ตอ้ ง
5. นาความรพู้ น้ื ฐานการทาความเยน็ มาประยกุ ตใ์ ชง้ านได้
6. มกี ารพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคท์ ค่ี รสู ามารถสงั เกตเหน็ ได้

ในดา้ นความมมี นุษย์ สมั พนั ธ์ ความมวี นิ ยั ความรบั ผดิ ชอบ ความเช่อื มนั่ ในตนเอง ความสนใจใฝร่ ู้
ความรกั สามคั คี ความกตญั ญกู ตเวที

กิจกรรมการเรยี นการสอน

1. ครตู งั้ ประเดน็ ปญั หาเรา้ ความสนใจ เชน่ การทาความเยน็ มคี วามสาคญั อยา่ งไรในชวี ติ ประจาวนั

2. ใหน้ กั เรยี นนาประสบการณ์มาตอบคาถามและแสดงความคดิ เหน็ ประกอบ

20

3. แบง่ นกั เรยี นออกเป็นกลมุ่ ๆ ละ 4-5 คน ครมู อบงานดงั น้ี
- ความสาคญั ของการทาความเยน็
- สภาวการณ์ทม่ี ผี ลต่อการทาความเยน็
- หลกั พน้ื ฐานการทาความเยน็
- การประมาณคา่ ความรอ้ นทค่ี ดิ เป็นภาระงาน

4. ครใู หเ้ น้ือหาตามสาระการเรยี นรเู้ รอ่ื ง ความรพู้ น้ื ฐานการทาความเยน็
5. ครตู งั้ ประเดน็ ชวนคุยใหน้ กั เรยี นคดิ เกย่ี วกบั สาระการเรยี นรใู้ นหน่วยท่ี 1 ดว้ ยการตงั้ คาถาม

ปลายเปิดเป็นคาถามนาไปสวู่ ตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรเู้ รอ่ื ง ความรพู้ น้ื ฐานการทาความเยน็
6. ครใู หค้ านิยาม ความรพู้ น้ื ฐานการทาความเยน็ ชแ้ี นะประเดน็ ชวนใหน้ กั เรยี นไดอ้ ภปิ รายแสดง

ความคดิ เหน็ ซง่ึ ความคดิ เหน็ ของนกั เรยี นนนั้ มคี วามเหมอื น/แตกตา่ งหรอื ไมอ่ ยา่ งไร
7. ครสู รุปขอ้ คดิ เหน็ ของนกั เรยี นทงั้ หมดแนะนาใหน้ กั เรยี นไดร้ จู้ กั ความรพู้ น้ื ฐานการทาความเยน็
8. สง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นนาความรทู้ ไ่ี ดร้ บั มาวเิ คราะห์ ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั งิ านตามกลมุ่ งานของนกั เรยี น

ทร่ี บั ผดิ ชอบ
9. ใหน้ กั เรยี นนาเสนอผลงานกล่มุ ตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ ระหวา่ งกลุ่ม
10. ใหน้ กั เรยี นปฏบิ ตั ใิ บงานท่ี 1 เรอ่ื ง งานตดั ตอ่ ทอ่ ปละงานขยายทอ่
10. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรุปผลการเรยี นรู้
11. ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านตามใบงานท่ี 1 เรอ่ื ง งานตดั ต่อทอ่ ปละงานขยายทอ่
12. ประเมนิ พฤตกิ รรมการปฏบิ ตั งิ าน กลมุ่ นกั เรยี นและการนาเสนอผลงานกลุ่ม
13. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรทู้ ่ี 1

ส่อื การเรยี นการสอน

1. หนงั สอื เรยี นวชิ า เครอ่ื งทาความเยน็ และปรบั อากาศ รหสั 2101-2008 ของสานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์
2. อุปกรณ์ในการตดั ต่อทอ่

การวดั และการประเมินผล

วิธีวดั ผล
1. ตรวจใบงาน
2. สงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั งิ านรายบุคคล
3. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่
4. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ หน่วยท่ี 1
5. การสงั เกตและประเมนิ ผลพฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

21

เคร่อื งมือวดั ผล
1. ใบงาน
2. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั งิ านรายบุคคล (ภาคผนวก ข)
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ (ภาคผนวก ค)
4. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ หน่วยท่ี 1
5. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครผู สู้ อนและผเู้ รยี น

รว่ มกนั ประเมนิ (ภาคผนวก จ)
เกณฑก์ ารประเมินผล
1. เกณฑผ์ า่ นใบงาน คอื พอใช้
2. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั งิ านรายบุคคล เกณฑผ์ า่ น ตอ้ งไมม่ ชี อ่ งปรบั ปรงุ
3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ เกณฑผ์ า่ น 50% ขน้ึ ไป
4. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ หน่วยท่ี 1 เกณฑผ์ า่ น ทาถกู ตอ้ ง 50% ขน้ึ ไป
5. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อยกู่ บั การ

ประเมนิ ตามสภาพจรงิ

บนั ทึกหลงั การสอน

(ดทู ภ่ี าคผนวก ฌ และ ญ)


Click to View FlipBook Version