The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

17_CP21404_หลักการสื่อสารสร้างสัมพันธ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-07-21 07:22:27

17_CP21404_หลักการสื่อสารสร้างสัมพันธ์

17_CP21404_หลักการสื่อสารสร้างสัมพันธ์

วิชา ปป. (CP) ๒๑๔๐๔

คหวลากั มกสาัมรพสันือ่ ธส์การับแปลระะกชาารชสนร้าง

ตาํ ÃÒàÃÕ¹

ËÅÑ¡ÊμÙ Ã ¹Ñ¡àÃÕ¹¹ÒÂÊºÔ ตาํ ÃǨ

ÇªÔ Ò »». (CP) òñôðô ËÅ¡Ñ ¡ÒÃÊÍè× ÊÒÃáÅСÒÃÊÃÒŒ §¤ÇÒÁÊÁÑ ¾¹Ñ ¸¡ ºÑ »ÃЪҪ¹

เอกสารน้ี “໹š ¤ÇÒÁÅºÑ ¢Í§·Ò§ÃÒª¡ÒÔ หามมิใหผ ูหน่ึงผใู ดเผยแพร คัดลอก ถอดความ
หรอื แปลสว นหนง่ึ สว นใด หรอื ทง้ั หมดของเอกสารนเ้ี พอ่ื การอยา งอนื่ นอกจาก “à¾Í×è ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒͺÃÁ”
ของขาราชการตํารวจเทาน้ัน การเปดเผยขอความแกบุคคลอ่ืนท่ีไมมีอํานาจหนาท่ีจะมีความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา
¡Í§ºÞÑ ªÒ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ สาํ ¹¡Ñ §Ò¹ตําÃǨáË‹§ªÒμÔ
¾.È.òõöô

คํานํา

หลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจ (นสต.) เปนหลักสูตรการศึกษาอบรมท่ีมีเปาหมาย
เพื่อเสริมสรางใหบุคคลภายนอกผูมีวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) หรือ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา ที่เขารับการฝกอบรมมีความรู ความสามารถ และ
ทักษะวิชาชีพตาํ รวจ รวมถึงพัฒนาบุคลิกภาพรางกายใหเหมาะสมสําหรับการปฏิบัติงานตํารวจ
ในกลุมสายงานปองกันปราบปราม ตลอดจนเตรียมความพรอมทางดานจิตใจและวุฒิภาวะใหมี
จติ สํานกึ ในการใหบ ริการเพอ่ื บําบัดทกุ ขบ ํารุงสขุ ของประชาชนเปน สาํ คญั

กองบัญชาการศึกษา ไดรวมกับ ครู อาจารย และครูฝก ในสังกัดกองบังคับการ
ฝกอบรมตาํ รวจกลาง และกลมุ งานอาจารย กองบัญชาการศึกษา ศูนยฝกอบรมตํารวจภูธรภาค ๑ - ๙
และกองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน ตลอดจนผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก จัดทําตาํ ราเรียน
หลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจชดุ นี้ ซงึ่ ประกอบดว ยองคค วามรตู า งๆ ทจ่ี ําเปน ตอ การพฒั นาศกั ยภาพ
ของนกั เรยี นนายสบิ ตํารวจใหเ ปน ขา ราชการตาํ รวจทพี่ งึ ประสงคข องประชาชน เพอ่ื ใชส ําหรบั ประกอบ
การเรียนการสอนนักเรียนนายสิบตํารวจใหมีความพรอมทั้งดานความรู ความสามารถ กําลังกาย
และจติ ใจ จนสามารถเปน ขา ราชการตาํ รวจทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหบ รกิ ารสงั คมและประชาชนไดอ ยา งตรงตาม
ความตอ งการอยางแทจ รงิ และมคี วามพรอมในการเขาสปู ระชาคมอาเซยี น

ขอขอบคุณครู อาจารย ครูฝก และผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ที่ไดรวมกันระดมความคิด
ใหคาํ ปรึกษา คาํ แนะนาํ ประสบการณที่เปนประโยชน รวมถึงการถายทอดองคความรู
ที่เปนประโยชน จนทาํ ใหการจัดทําตาํ ราเรียนหลักสูตรนักเรียนนายสิบตาํ รวจสําเร็จลุลวงไดดวยดี
ซ่ึงกองบัญชาการศึกษาหวังเปนอยางย่ิงวาตําราเรียนชุดน้ีคงเปนประโยชนตอการจัดการเรียน
การสอนและการจัดการฝกอบรมของครู อาจารย และครูฝก รวมตลอดถึงใชเปนคูมือการปฏิบัติงาน
ของขาราชการตํารวจ อันจะสงผลทาํ ใหสํานักงานตํารวจแหงชาติสามารถสรางความเชื่อมั่น ศรัทธา
และความผาสุกใหแ กประชาชนไดอ ยา งแทจ ริง

พลตํารวจโท
( อภิรตั นยิ มการ )
ผูบ ัญชาการศกึ ษา

ÊÒúÑÞ Ë¹ÒŒ

ÇÔªÒ ËÅÑ¡¡ÒÃÊ×èÍÊÒÃáÅСÒÃÊÃÒŒ §¤ÇÒÁÊÁÑ ¾Ñ¹¸¡ ºÑ »ÃЪҪ¹ ñ

º··Õè ñ ËÅ¡Ñ ¡ÒÃáÅÐá¹Ç¤ÇÒÁ¤Ô´à¡ÕèÂÇ¡ºÑ §Ò¹ªÁØ ª¹ÊÑÁ¾¹Ñ ¸ ๒
- บทนํา ๔
- ความเปน มาของงานตํารวจชมุ ชนสมั พันธ ๖
- ความหมายของงานชุมชนสัมพันธ ๗
- ความสําคญั และประโยชนของงานชุมชนสมั พนั ธ ๑๐
- ลกั ษณะของงานชมุ ชนสมั พนั ธ ñó
- โครงสรา งพน้ื ฐานงานชุมชนสัมพันธ ๑๓
๒๒
º··èÕ ò á¹Ç¤´Ô áÅзÄÉ®ÕตําÃǨªÁØ ª¹ ๒๔
- หลักการสาํ คัญของการตํารวจชมุ ชน òù
- สูตรสาํ เร็จของการตาํ รวจชมุ ชน ๒๙
- หลกั การตํารวจผรู ับใชช ุมชน ๑๐ ประการ ๓๑
๓๓
º··èÕ ó ËÅÑ¡¡ÒÃÁÊÕ ‹Ç¹Ã‹ÇÁáÅСÒúÃÔ¡Òà óù
- หลกั การมีสวนรว มของประชาชน ๓๙
- หลักการใหบ รกิ าร ๔๐
- การปฏบิ ัติตอ ประชาชน ๔๑
๔๓
º··èÕ ô ËÅÑ¡¡ÒÃáÅÐà·¤¹Ô¤¡ÒÃÊÃÒŒ §Á¹ØÉÂÊÑÁ¾¹Ñ ¸ ๔๖
- วธิ ีสรา งมนุษยสัมพนั ธใ นการอยูร วมกนั
- หลกั ทั่วไปของมนุษยสมั พันธ
- หลักการสรา งมนุษยสัมพนั ธ
- เทคนิคการสรา งมนษุ ยสัมพนั ธ
- ขอเสนอแนะในการสรา งมนษุ ยสัมพันธ

º··Õè õ ¡Ãкǹ¡ÒáÅÁØ‹ ÊÑÁ¾Ñ¹¸áÅСÒÃÊÃÒŒ §¤ÇÒÁËÇÁÁÍ× ã¹¡Ò÷Òí §Ò¹à»š¹·ÕÁ ˹Ҍ
- ความหมายของกระบวนการกลมุ ôù
- ลักษณะที่สาํ คัญของกลุม ๔ ประการ ๔๙
- หลักของกระบวนการทํางานกลมุ ๔๙
- ประโยชนข องการจดั กจิ กรรมกลุมสัมพันธ ๕๐
- การทาํ งานเปนทมี ๕๐
- พัฒนาการของทมี งาน ๕๑
- รูปแบบพฤติกรรมของการทาํ งานเปน ทมี ๕๒
- หลกั การทํางานเปนทีม ๕๓
- การพัฒนาทีมงาน ๕๓
- ลกั ษณะของทีมงานท่ดี มี ปี ระสทิ ธิภาพ ๕๔
- ประโยชนของการทํางานเปน ทีม ๕๕
- ความขัดแยงของการทํางานเปนทมี ๕๕
- การสรางมนุษยสมั พันธกับผบู ังคับบัญชา ๕๖
- การสรา งมนุษยสมั พนั ธกับผใู ตบังคบั บญั ชา ๕๘
- การสรางมนุษยสัมพนั ธก ับเพือ่ นรว มงาน ๕๙
- กลยทุ ธใ นการสรางความสัมพันธในที่ทาํ งาน ๖๐
- การปรับปรงุ ตนเองเพ่ือพัฒนาดา นความสมั พันธ ๖๑
๖๒
º··èÕ ö ¨ÔμÇÔ·ÂÒ㹡Òû¯ºÔ ÑμÔ§Ò¹¢Í§μÒí ÃǨªØÁª¹ÊÁÑ ¾¹Ñ ¸ ö÷
- การศกึ ษาจติ วิทยา ๖๗
- ความหมายของจิตวิทยา ๖๗
- พฤติกรรมมนษุ ย ๖๙
- ธรรมชาต/ิ ความคลา ยคลึงของมนุษย ๗๐
÷ó
º··Õè ÷ ¡ÒþѲ¹ÒºØ¤ÅÔ¡ÀÒ¾ ๗๓
- บทนาํ ๗๔
- ความหมายของบุคลิกภาพ ๗๕
- ความสาํ คญั ของบคุ ลกิ ภาพ ๗๗
- พัฒนาการดานบคุ ลกิ ภาพ ๘๐
- ลกั ษณะของบคุ ลกิ ภาพท่ดี ี

º··Õè ø ¨ÔμÍÒÊÒ Ë¹ÒŒ
- บทนาํ øó
- ความหมายของจิตอาสา ๘๓
- การสรา งจติ อาสาในสังคมไทย ๘๓
- ตวั อยา งการมีจิตอาสาของตํารวจตอประชาชน ๘๕
๘๗
º··Õè ù ÂØ·¸ÇÔ¸Õ㹡ÒôÒí à¹Ô¹§Ò¹´ŒÒ¹ªØÁª¹ÊÑÁ¾Ñ¹¸¡ºÑ ¡ÒÃʧ‹ àÊÃÔÁ¡ÒÃÁÕÊÇ‹ ¹Ã‹ÇÁ
¢Í§»ÃЪҪ¹ à¾Í×è »Í‡ §¡Ñ¹ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ ùó
- คณุ สมบตั ิของผปู ฏิบัตงิ านชุมชนสมั พนั ธ ๙๔
- การเลอื กพ้นื ที่เปาหมาย ๙๕
- ลาํ ดบั ข้นั ตอนการดําเนินงานชุมชนสมั พันธ ๙๙
- ขน้ั ตอนในการสรางการมสี ว นรว มของประชาชนเพ่อื ปอ งกนั อาชญากรรม ๑๐๕

ÀÒ¤¼¹Ç¡ - ระเบียบ ก.ต.ช.วา ดว ยคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารงานตาํ รวจ

พ.ศ.๒๕๔๙ และทแ่ี กไ ขเพิม่ เติม ฉบับที่ ๒-๔ ๑๑๑

- ระเบยี บ ก.ต.ช.วาดวยการรบั คาํ รอ งเรยี นหรอื ขอ เสนอแนะของประชาชน ๑๔๖
พ.ศ.๒๕๔๙ ๑๕๑
- ระเบียบสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติวาดว ยการสงเสริมใหป ระชาชน ๑๖๐
ชุมชน ทองถิน่ และองคกรมสี วนรว มในกจิ การตาํ รวจ พ.ศ.๒๕๕๑ ๑๖๓
- ระเบียบ ก.ต.ช.วา ดวยหลกั เกณฑและวธิ กี ารจดั ระบบการบริหาร ๑๗๕
การปฏิบตั งิ านดา นการปอ งกันและปราบปรามฯ พ.ศ.๒๕๕๙ ๑๘๙
- คําสง่ั ตร. ที่ ๕๑๓/๒๕๕๔ ลง ๒๓ ส.ค. ๒๕๕๔ เรื่อง โครงการตาํ รวจชมุ ชน
- ระเบยี บ ตร. วา ดวยประมวลระเบยี บการตํารวจไมเ กยี่ วกบั คดี
ลกั ษณะที่ ๔๑ (เดมิ ) การสอ่ื สาร พ.ศ.๒๕๖๐
- แนวทางการปฏิบตั งิ านจติ อาสาชุมชนสัมพนั ธแ ละการมสี ว นรว มของประชาชน
สํานกั งานตํารวจแหง ชาติ ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓



º··èÕ ñ

ËÅ¡Ñ ¡ÒÃáÅÐá¹Ç¤ÇÒÁ¤´Ô à¡ÕÂè Ç¡ºÑ §Ò¹ªÁØ ª¹ÊÁÑ ¾Ñ¹¸

ÇμÑ ¶»Ø ÃÐʧ¤

เพอื่ ใหนกั เรียนทราบถงึ หลกั การและแนวคิดงานชุมชนสมั พนั ธ

º·นาํ

“ตํารวจ” มีความเปนมาควบคกู ับวิวัฒนาการของสงั คม กลา วคอื การท่สี มาชกิ ในสังคม
จะอยูรวมกันไดอยางสงบยอมตองมีการกําหนดกฎเกณฑเพื่อใหทุกคนถือปฏิบัติโดยท่ัวกันและตองมี
ผูรักษากฎเกณฑดังกลาวเพ่ือมิใหผูใดละเมิด หากมีการละเมิดก็ตองดําเนินการใหเปนไปตามอํานาจ
หนาท่ีที่ไดรับมอบหมาย ซ่ึงหนาท่ีในการรักษากฎเกณฑดังกลาว ไดมีการวิวัฒนาการเรื่อยมาจนเปน
สถาบันทางสังคมอยางหน่ึงเรียกวาตํารวจ มีหนาที่หลักในการบังคับใชกฎหมายการปองกันเหตุราย
ไมใหเกิดข้ึน การรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชน และการรักษาความมั่นคง
ภายในของรฐั

ในสังคมปจจุบันซ่ึงความสัมพันธของสมาชิกมีความสลับซับซอนมากยิ่งข้ึนน้ัน ตํารวจ
มบี ทบาทสาํ คญั อยา งยงิ่ ในการรกั ษาความสงบเรยี บรอ ยในสงั คม เนอ่ื งจากตาํ รวจคอื เจา หนา ทขี่ องรฐั
เพยี งฝา ยเดยี วทเี่ ขา ตดิ ตอ สมั พนั ธก บั ประชาชนทกุ ระดบั ตลอด ๒๔ ชวั่ โมงตอ วนั และ ๗ วนั ตอ สปั ดาห
แตในการปฏิบัติภารกิจดังกลาวนั้น ตํารวจมิไดดําเนินการอยางโดดเด่ียว หากตองอยูภายใตสภาวะ
สิ่งแวดลอมตาง ๆ ทั้งในดานเศรษฐกิจ การเมือง การทหาร และเทคโนโลยี ซึ่งมีสิ่งแวดลอมตางๆ
เหลาน้ีจะมี “ประชาชน” เปนองคประกอบหลักอยูเสมอ ดังน้ันการปฏิบัติภารกิจของตํารวจไมวา
ดานใดๆ จึงตองเก่ียวของกับประชาชนและพฤติกรรมของประชาชนในสังคมมากกวาท่ีคนทั่วไป
จะคาดคดิ

ดงั น้ันในสภาวะที่เจา หนา ท่ีตํารวจมจี ํากดั ในขณะเดียวกับท่ีประชากรและปญหาตาง ๆ
มมี ากขน้ึ สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตติ ระหนกั ดวี า เจา หนา ทต่ี าํ รวจเทา ทม่ี อี ยไู มเ พยี งพอทจ่ี ะดแู ลคมุ ครอง
ประชาชนทว่ั ประเทศไดต ลอดเวลา งานชุมชนและมวลชนสัมพนั ธในหนา ทต่ี ํารวจจึงกอเกดิ ขึ้นมาเพ่ือ
แกไขปญหาท่ีมอี ยู โดยมีจดุ เนน ๓ ประการ คอื

ñ. ਌Ò˹ŒÒ·èÕตําÃǨ·Ø¡¤¹ ·Ø¡Ë¹‹Ç จะตองดําเนินการเสริมสรางความเขาใจที่ดี
ระหวางตาํ รวจกบั ประชาชน ประพฤตปิ ฏิบัติใหประชาชนเกิดความเชือ่ ถือศรัทธา

ò. ãËŒ¤ÇÒÁÃٌᡋ»ÃЪҪ¹ ในการปองกันตนเอง ครอบครัว และชุมชน ในดานการ
ปองกันและแกไขปญหาอาชญากรรมยาเสพติดใหโทษ ปญหาเด็กและเยาวชนเบี่ยงเบน อุบัติภัย
การอนุรักษทรัพยากรและส่ิงแวดลอม รวมทั้งปญหาอื่นๆ ที่มีในชุมชน ตลอดจนปญหา
ความมั่นคงของชาติบางประการ โดยตระหนักวาปญหาดังกลาวเปนปญหาสวนรวมของสังคม
ซึ่งทุกฝา ยจะตอ งรว มมอื รวมใจกันปอ งกันและแกไข



ó. ãËŒ»ÃЪҪ¹ÊÒÁÒö»‡Í§¡Ñ¹μ¹àͧ ¤Ãͺ¤ÃÑÇ áÅЪØÁª¹ ใหปลอดภัยจาก
อาชญากรรมอุบัติภัยและปญหาตางๆ ไดในระดับหน่ึง และสามารถใหความรวมมือกับทางราชการ
ในการปอ งกันและแกไขปญ หาตา งๆ ไดเปนอยา งดี

¤ÇÒÁ໹š ÁҢͧ§Ò¹ตาํ ÃǨªÁØ ª¹ÊÑÁ¾¹Ñ ¸

ในอดตี ทผ่ี า นมาหลายๆ ประเทศในโลกไดน าํ หลกั การบรหิ ารจดั การงานตาํ รวจ ดว ยวธิ กี าร
ที่เปนวิทยาศาสตร (Scientific Management) มาใชโดยไดทําการคนควาวิจัยและลองผิด
ลองถูกมาเปนเวลานาน จนกระท่ังพบวาปญหาท่ีตนรับผิดชอบและกําลังเผชิญอยูน้ันเปนปญหา
ทางสังคม หากใชการบริหารในเชิงวิทยาศาสตรที่เนนการปองกันในเชิงระบบสายตรวจหรือ
การปราบปรามดวยการจับกุมดําเนินคดีตามระบบของกระบวนการยุติธรรม ยอมไมอาจกาวทันกับ
สภาพปญหาท่เี พิ่มขึ้นและแตกตวั ออกมาเปนปญ หาตา งๆ อยางหลากหลาย

จากสัจธรรมที่วา “ความจําเปนทําใหเกิดการคิดคนหาวิธีแกไขปญหา” ไดทําให
หลายประเทศตอ งหวนการพจิ ารณากลบั ไปสพู น้ื ฐาน (Back to the Basics) คอื การพจิ ารณาถงึ รากฐาน
ตน ตอของปญ หาซง่ึ การปอ งกนั และปราบปรามทเี่ คยกระทาํ อยเู ดมิ มปี ระสทิ ธผิ ลเพยี งระดบั หนงึ่ เทา นน้ั
จึงกอ ใหเกิดปญ หาสะสมมากข้นึ เรอ่ื ยๆ ดงั นั้นการจะทํางานของตํารวจใหไดผ ลสมบูรณ จึงไมอ าจจะ
หยุดยั้งอยูแตเพียงการปองกันและปราบปรามดวยระบบวิธีการแบบเดิม แตจะตองกาวลวงเขาไป
สกู ระบวนการปองกันและแกไ ขปญหาในแนวใหม

การจะเขาสูกระบวนการแกไขปญหาในแนวใหมควรจะเริ่มจากจุดใด เปนปญหาท่ี
ตํารวจทั่วโลกไดพินิจพิเคราะหและวิจัยแลว พบวาจุดเร่ิมตนแหงการเขาสูกระบวนการปองกัน
และแกไขปญหาท่ีดีท่ีสุดก็คือ การใชชุมชนในการปองกันและปราบปราม เหตุผลที่ตองเร่ิมที่ชุมชน
เมื่อชุมชนเปนแหลงกําเนิดของปญหา โดยวิธีคิดที่เปนวิทยาศาสตร การจะปองกันหรือแกไขปญหา
ใหไดผล จึงตองเริ่มที่ชุมชนและใหชุมชนมีสวนรวมในการปองกันและแกไขปญหาอยางจริงจังเทาน้ัน
จึงจะกอ ใหเกิดผลลพั ธตามเปาประสงคไดอยา งแทจ ริง

จากการตระหนักถึงความสําคัญของชมุ ชนไดนําไปสูการปฏิบตั ขิ องตาํ รวจประเทศตางๆ
ท่ีแตเดิมยึดถือการบังคับใชกฎหมายเปนหลักก็เร่ิมเพิ่มน้ําหนักและมีจุดเนนการปฏิบัติในชุมชน
มากขึ้นเรื่อยๆ โดยมีแนวทางปฏิบัติแตกตางกันออกไป และมีชื่อเรียกอยางหลากหลาย อาทิเชน
การตาํ รวจชุมชนสมั พันธ (Police community) การควบคมุ สภาพอาชญากรรมจากสภาพแวดลอ ม
(Crime Control Through Environmental Design) การตํารวจชุมชน (Community Policing)
การจดั ใหมตี ํารวจอยูในชุมชน เชน ระบบตยู าม (Koban) ของญป่ี ุน หรือท่สี งิ คโปรนาํ ไปประยุกตใช
โดยสรุปแลวแตละแนวคิดอาจมีความแตกตางกัน แตหลักที่เหมือนกันก็คือการมีจุดเนนท่ีชุมชน
เปนสาํ คัญ



สําหรับประเทศไทยแลว นอกจากจะมีสภาพปญหาที่ไมแตกตางจากประเทศอ่ืนๆ
ทีเ่ จริญแลว หลายปญ หาที่กาํ ลงั ประสบอยูดูจะมีความรายแรงยิง่ กวา และเปน ปญ หาท่ีตํารวจจะตอง
มสี ว นรว มรบั ผดิ ชอบดาํ เนนิ การอกี ดว ย อยา งเชน ปญ หาอาชญากรรมในคดที กุ กลมุ มสี ถติ กิ ารรบั แจง คดี
เพิ่มมากข้ึน มีเพียงเฉพาะกลุมคดีอุกฉกรรจและสะเทือนขวัญเพียงกลุมเดียวท่ีมีแนวโนมลดลง
โดยสถิติที่ปรากฏนาจะเปนเพียงขอมูลที่มีผูมาแจงความรองทุกขกับเจาหนาที่ตํารวจเทานั้น แตใน
ขอเท็จจริงแลว นาเช่ือวายังมีคดีอาชญากรรมอีกเปนจํานวนมากที่ผูเสียหายไมไดแจงความ
ตอ เจาหนา ท่ีตาํ รวจ ท้ังน้ีอาจเน่อื งมาจากสาเหตหุ ลายประการ

ดว ยเหตุที่ปญ หาตา งๆ เพม่ิ ปรมิ าณและทวคี วามรุนแรงมากข้นึ ทุกที โดยความเห็นที่
สอดคลองกันนบั ตง้ั แตระดบั รฐั บาล กระทรวงมหาดไทย สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ คณะกรรมการ
พฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ วา การจะเนนทกี่ ารปราบปรามอยา งเดยี วยอมไมไ ดผล การจะ
ปองกันโดยระบบสายตรวจตามปกติยอมไมเพียงพอตอสภาพปญหาที่เกิดขึ้น ดังน้ันทั้งนโยบาย
และแผนทกุ ระดบั จงึ ไดก าํ หนดเขม็ มงุ ในการทาํ งานของตาํ รวจสว นหนงึ่ ใหเ ขา ปอ งกนั และแกไ ขปญ หา
ที่ชุมชน เมื่อประกอบเขากับงานมวลชนสัมพันธท่ีตํารวจตระเวนชายแดนไดปฏิบัติอยูเดิม
จงึ กอ ใหเ กดิ งานชมุ ชนและมวลชนสมั พนั ธข องสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตขิ น้ึ ตง้ั แตแ ผนกรมตาํ รวจแมบ ท
ฉบบั ที่ ๑ (พ.ศ.๒๕๓๐-๒๕๓๔) และเร่มิ มกี ารปฏิบัติตง้ั แตป  พ.ศ.๒๕๓๑ ตอ เนอื่ งกนั มาถึงปจจบุ ัน

ในปจจุบันการดําเนินงานของชุดปฏิบัติการชุมชนและมวลชนสัมพันธ มักจะไดรับ
ความสนใจจากผูบังคับบัญชาเฉพาะในเชิงปริมาณ สวนในเชิงคุณภาพงานชุมชนสัมพันธยังติดอยู
ในขน้ั ตอนของกจิ กรรมทเ่ี ขา ไปสมั ผสั ใกลช ดิ กบั ประชาชน เชน การแจกจา ยสงิ่ ของ การชว ยซอ มแซมบา น
ซอมถนน พัฒนาหมูบาน แสดงดนตรี ซ่ึงกิจกรรมเหลาน้ีเปนเพียงวิธีการสวนหน่ึงในการเขาถึง
ประชาชนเทา นน้ั สว นการดาํ เนนิ การในขนั้ ทล่ี งลกึ และบรู ณาการผสมผสานหลายๆ ดา น ไมว า จะเปน
การพิจารณาวิเคราะหสภาพปญหาของหมูบาน/ชุมชนวาเปนอยางไร ควรดําเนินการอยางไร
มีรูปแบบและระบบอยา งไร มวี ิธกี ารแสวงหาความรว มมือจากประชาชนในภายหลังอยางไร มกั จะถกู
รวบรัดเขาสูการจัดการฝก อบรม ซ่ึงเปนการรวมคนและสามารถถา ยภาพ (ถา ยรูปผลการดาํ เนนิ การ)
เปนหลักฐานในการดําเนินกิจกรรมและเปนผลสําเร็จในเชิงปริมาณได (ทํางานในลักษณะเอาหนา
ฉาบฉวยและสรา งภาพ)

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับท่ี ๙ เปนแผนที่ไดอัญเชิญแนวปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวมาเปนปรัชญานําทาง
ในการพฒั นาและบรหิ ารประเทศ โดยยดึ หลกั ทางสายกลางเพอื่ ใหป ระเทศรอดพน วกิ ฤติ สามารถดาํ รง
อยูไดอยางม่ันคงและนําไปสูการพัฒนาที่สมดุลมีคุณภาพและย่ังยืน (สังคมท่ีเขมแข็งและมีดุลยภาพ
ใน ๓ ดา น คอื สงั คมคณุ ภาพ สงั คมแหงภูมปิ ญญาและการเรียนรู และสงั คมสมานฉนั ทแ ละเออ้ื อาทร
รวมกัน) ภายใตกระแสโลกาภิวัตนและสถานการณเปลี่ยนแปลง แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี ๙
มีแนวคิดท่ียึด “คนเปนศูนยกลางการพัฒนา” ในทุกมิติอยางเปนองครวม และใหความสําคัญกับ



การพัฒนาที่สมดุลท้ังดา นตัวคน สังคม เศรษฐกจิ และสิ่งแวดลอ ม โดยเฉพาะอยางย่ิงการสรางระบบ
การบริหารจัดการภายในท่ีดีใหเกิดข้ึนในทุกระดับ อันจะทําใหเกิดการพัฒนาที่ย่ังยืนท่ี “คน” เปน
ศูนยกลางไดอยางแทจริง โดยนําความคิดของทุกสวนในสังคมทุกระดับมาสังเคราะหเช่ือมโยง
เขา ดว ยกนั อยา งเปน ระบบใหเ กดิ เปน “วสิ ยั ทศั นร ว ม” มยี ทุ ธศาสตรท ชี่ ก้ี รอบทศิ ทางการพฒั นาประเทศ
ในระยะปานกลางทสี่ อดคลอ งกบั วิสยั ทัศนร ะยะยาว

ยทุ ธศาสตรใ นการพฒั นาประเทศแผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี ๙ มปี ระเดน็ ทส่ี าํ คญั และเกย่ี วขอ งกบั
หลักการและแนวคดิ ของตาํ รวจชมุ ชนสมั พนั ธดงั นี้

¢ŒÍ ñ ดานยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดี ใหความสําคัญกับการเสริมสรางฐานราก
ของสังคมใหเขมแข็ง เปนกลุมยุทธศาสตรท่ีมุงเนนการพัฒนาคน ครอบครัว ชุมชน และสังคม
ใหเ ปน แกนหลกั ของสงั คมไทย มกี ารเสรมิ สรา งความเขม แขง็ ของชมุ ชนใหเ ชอื่ มโยงกบั การพฒั นาชนบท
และเมอื ง

¢ÍŒ ò ดานยุทธศาสตรการปรับโครงสรางการพัฒนาชนบทและเมืองอยางยั่งยืน
ใหความสําคัญกับการสรางความเขมแข็งของชุมชนและการพัฒนาเมืองนาอยู ชุมชนนาอยู
เนนกระบวนการพัฒนาชุมชนเขมแข็งใหเปนฐานรากที่ม่ันคงของสังคม มีการระดมพลังแกปญหา
และพัฒนาชุมชนท่ที ุกฝา ยมสี ว นรวม

¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ§Ò¹ªØÁª¹ÊÁÑ ¾¹Ñ ¸

คําวา “งานชุมชนสัมพันธ” นี้ ยังไมมีผูใดใหคําจํากัดความไวอยางชัดเจน แตถาจะ
วเิ คราะหด ูการแปลความหมายตามรปู ศพั ทแ ลว เปน ดังนี้

ñ. ªØÁª¹ (community) มีผูใหความหมายของคําวา “ชุมชน” ไวหลายประการ
ดว ยกัน คอื

๑.๑ กลุมชนซึ่งรวมตัวอยูโดยมีความรูสึกผูกพันเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน
โดยอาศัยหลักผูกพันในทางเช้ือชาติ เผาพันธุ ศาสนาเดียวกัน ทําใหแตละบุคคลมีความรูสึก
เปน สว นหนงึ่ ของสงั คมนน้ั ๆ

๑.๒ การประกอบดวยประชาชนซึ่งอาศัยอยูบนผืนแผนดินที่ตอเน่ืองกัน และเปน
ผูซ่ึงมีความสนใจรวมกันกับผูอื่นอยางนอยหน่ึงอยางหรือมากกวาท่ีเปนเหตุใหตองอยูอาศัย
บนผืนแผนดนิ น้นั

๑.๓ กลมุ บคุ คลหลายๆ กลมุ ทม่ี ารวมกนั อยใู นอาณาเขตเดยี วกนั และผคู นเหลา นน้ั
มีการพบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน มีการติดตอสังสรรคกัน มีผลประโยชนรวมกัน
มีวัฒนธรรมอยา งเดียวกัน

๑.๔ กลุมมนุษยกลุมหนึ่งท่ีต้ังภูมิลําเนาอยูในอาณาเขตของภูมิศาสตรที่คอนขาง
แนนอนและตดิ ตอกัน มกี ารดาํ เนินชวี ิตและขนบธรรมเนียมประเพณอี ยางเดียวกัน



๑.๕ องคการทางสังคม (Social Organization) อยางหนึ่งท่ีมีอาณาเขต
ครอบคลุมทองถ่ินหน่ึง และปวงสมาชิกสามารถบรรลุถึงความตองการพ้ืนฐานและสามารถแกไข
ปญ หาสว นใหญใ นชุมชนของตนเองได

๑.๖ กลุมมนุษยกลุมหน่ึงท่ีตั้งภูมิลําเนาอยูในอาณาเขตทางภูมิศาสตรที่คอนขาง
แนน อนและติดตอ กัน และมีสวนสําคัญของชวี ติ ทัว่ ๆ ไปอยา งเดยี วกัน ดังมองเหน็ ไดจ ากวฒั นธรรม
ประเพณขี นบธรรมเนียมและแบบแหง การพดู

๑.๗ กลุมชนที่อยูในทองที่ในเมืองเดียวกันภายใตกฎหมายเดียวกัน อาณาบริเวณ
หรือเมอื งทกี่ ลุมคนอยูร วมกัน ชนกลมุ หนึ่งทม่ี ีอยูรวมกันและมีความสนใจในเรอ่ื งทีค่ ลายๆ กนั

๑.๘ กลุมคนที่มีความคิดไปในทางเดียวกัน และสามารถรวมกําลังกันดําเนิน
กิจกรรมใดๆ เพือ่ ประโยชนร ว มกันได

จากคํานิยามที่กลาวมาน้ี จึงพอสรุปความหมายของคําวา “ชุมชน” (Community)
ไดวาชุมชนจะตอ งมีสว นประกอบดงั น้ี

๑. ประชาชนหรือคน (People)
๒. ความสนใจของคนรว มกัน (Common Interest)
๓. อาณาบริเวณหรอื พนื้ ท่ี (Area)
๔. การปฏบิ ตั ิตอกัน (Interaction)
๕. ความสัมพนั ธของสมาชกิ (Relationship) ทีผ่ ูกพนั ใหอยรู ว มกันในชุมชนนนั้
ò. ÊÁÑ ¾¹Ñ ¸ (Relation) หมายถงึ ความสัมพันธเกี่ยวของดวยหรือการผกู พนั
ó. àÁ×èÍนําàÍÒคําÇ‹Ò “ªØÁª¹” กับ “ÊÑÁ¾Ñ¹¸” มารวมกันเปน “ªØÁª¹ÊÑÁ¾Ñ¹¸” แลว
จะไดความหมายโดยสรุปวา หมายถึง “บุคคลหรือกลุมบุคคลท่ีมีความสัมพันธเก่ียวของผูกพันกัน
มแี นวความคดิ ไปในทางเดยี วกนั และสามารถรวมกาํ ลงั กนั ดาํ เนนิ กจิ การใดๆ เพอื่ ประโยชนร ว มกนั ได”
“§Ò¹ªØÁª¹ÊÑÁ¾Ñ¹¸ã¹Ë¹ŒÒ·ÕèตําÃǨ” หมายถึง “งานที่ตํารวจไดกระทําเพ่ือใหบุคคล
หรือกลุมบุคคลในสังคมหรือชุมชนตางๆ เกิดการรวมตัวกัน มีความสัมพันธผูกพันเกี่ยวของตอกัน
รว มมอื ประสานการปฏบิ ตั งิ านของตาํ รวจ และเปน การดาํ เนนิ การอยา งเปน กระบวนการเพอ่ื ใหต าํ รวจ
มีปฏิสัมพันธอันดีกับชุมชนเปนสวนหนึ่งของชุมชน มีความเขาใจในปญหาซึ่งกันและกัน ตลอดจน
รวมมือกันในการแกไขปญหาตางๆ โดยเฉพาะปญหาอาชญากรรมเพ่ือใหเกิดความสงบเรียบรอย
ในชุมชนหรือสงั คมนั้นๆ”
อยางไรก็ดี ยังมีคําซ่ึงมีความหมายใกลเคียงกับ “§Ò¹ªØÁª¹ÊÑÁ¾Ñ¹¸” เพียงแต
แตกตางกันในสวนของเปาหมายเทาน้ัน คือ คําวา “§Ò¹ÁÇŪ¹ÊÑÁ¾Ñ¹¸” ซึ่งเปนการดําเนินการ
ของกลุมมวลชนอยา งครบวงจร ตัง้ แตการฝก อบรม การจดั ตั้ง การควบคมุ และการนําการเคลือ่ นไหว
ภายในขอบเขตอํานาจหนาท่ีของตํารวจ ใหเปนไปเพ่ือสนับสนุนการรักษาความม่ันคงของชาติ
การรกั ษาเอกราชของชาติ บรู ณภาพของดนิ แดน รวมตลอดถงึ การใหป ระเทศชาตดิ าํ รงอยใู นการปกครอง
ระบอบประชาธปิ ไตยภายใตรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย



ÇμÑ ¶»Ø ÃÐʧ¤¢Í§§Ò¹ªØÁª¹ÊÁÑ ¾¹Ñ ¸
๑. สรางภาพพจนท่ีดีใหกับตํารวจ เพ่ือใหประชาชนมีความเขาใจเกิดความศรัทธา
และเชอ่ื มน่ั ในการปฏบิ ตั งิ านของตํารวจ
๒. แสวงหาความรว มมอื จากประชาชน ทงั้ ทางดา นความมนั่ คงและความสงบเรยี บรอ ย
ความปลอดภัยในชวี ิต ทรัพยสนิ และลดอาชญากรรม
๓. ลดชอ งวา งระหวา งเจา หนา ท่ขี องรัฐกับประชาชน โดยเฉพาะขา ราชการตาํ รวจ
๔. ใหการสนับสนุนการจัดต้ังฐานมวลชนประชาธิปไตยทุกรูปแบบตามนโยบาย
ของรฐั บาล
๕. สนับสนุนงานประชาสมั พนั ธของกรมตํารวจใหม ีประสทิ ธิภาพยง่ิ ข้นึ

¤ÇÒÁสํา¤ÑÞáÅлÃÐ⪹¢ ͧ§Ò¹ªØÁª¹ÊÑÁ¾Ñ¹¸

หนา ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบของตาํ รวจในสงั คมปจ จบุ นั มขี อบเขตกวา งขวางมากจนมผี กู ลา ว
วา ตาํ รวจมหี นา ทเ่ี กยี่ วพนั กบั กจิ กรรมแทบทกุ อยา งในสงั คม ไมว า จะเปน สว นเกยี่ วกบั อาชญากรรมและ
ไมเ กยี่ วกบั อาชญากรรม เพอ่ื กาํ หนดใหก ารดาํ เนนิ ชวี ติ ของบคุ คลเปน ไปตามกฎและระเบยี บของสงั คม
เปนการกระทําเพอ่ื ใหเกิดความสงบสุขในสังคม

หนาที่และภารกิจท่ีหลากหลาย ไมวาในการรักษาความสงบเรียบรอย การสืบสวน
สอบสวนคดีอาญา การใหความคุมครองปองกันชีวิตและทรัพยสินของประชาชนหรือการรักษา
ความม่ันคงภายในของชาติน้ัน หากตํารวจจะตองปฏิบัติงานโดยลําพังแลวยอมจะทําใหประสบผล
สําเร็จไดนอยมาก โดยเฉพาะในเรื่องปญหาอาชญากรรมซึ่งเปนปญหาพื้นฐานที่ทุกคนในสังคม
จะตองรวมกันรับผิดชอบในการกําหนดมาตรการหรือแนวทางการแกไขใหอยูในขอบเขตที่เหมาะสม
ฉะน้ันงานชุมชนสัมพันธซึ่งตั้งอยูบนพื้นฐานของความรวมมือสนับสนุนระหวางตํารวจ
กับประชาชนในการปองกันอาชญากรรม จึงมีความสําคัญอยางย่ิงท้ังในแงปรากฏการณทางสังคม
และกระบวนการปฏิบัติ กลาวคือ ในแง»ÃÒ¡¯¡Òó·Ò§Êѧ¤Áอาชญากรรมไดสงผลกระทบ
ตอความผาสุกและความปลอดภัยในการดํารงชีวิตประจาํ วนั ของประชาชน อกี ทัง้ ปจจยั อาชญากรรม
สวนหนึ่งมีบอเกิดจากความเส่ือมโทรมทางสังคม โดยเฉพาะอยางยิ่งการดํารงรักษาไวซ่ึงความผาสุก
ปลอดภัยในสังคมหนึ่งน้ัน ยอมเปนภาระหนาท่ีของสมาชิกทุกคนในสังคมมิไดจํากัดขอบเขตเฉพาะ
ตาํ รวจ หนว ยงานในกระบวนการยตุ ธิ รรมใดๆ ซง่ึ เปน เพยี งระบบยอ ยสว นหนง่ึ ในสงั คมสว นรวมเทา นนั้
สวนในแง¡Ãкǹ¡Òû¯ÔºÑμÔเปนที่ยอมรับกันวาในการพยายามสืบสวนติดตามจับกุมหรือแสวงหา
ขอ เทจ็ จรงิ แหง คดี ถา ปราศจากความยนิ ยอมรบั รหู รอื ไดร บั ความรว มมอื อยา งแทจ รงิ จากประชาชนแลว
ประสิทธิผลในการปองกันปราบปรามอาชญากรรมยอมจะลดนอยลงไป ย่ิงไปกวานั้นถึงแมจะมี
กําลังเจาหนาที่ตํารวจ ซึ่งไดรับการอบรมฝกฝนเปนอยางดีเพียบพรอมบริบูรณไปดวยปจจัย
การปฏิบัติเพียงใดก็ตาม การรณรงคปองกันปราบปรามอาชญากรรมก็อาจประสบความลมเหลว
ลงไดอยางนา เสยี ดาย ถาประชาชนไมใ หความรวมมือกับตาํ รวจ



ดังนั้นความสัมพันธรวมมือระหวางตํารวจกับประชาชน ซึ่งไดแก การแสดงออก
ซ่ึงทาทีทัศนคติสนองตอบระหวางตํารวจกับประชาชนในฐานะที่ทั้งสองฝายตางก็เปนผูมีสวนในการ
แกไขปญหาอาชญากรรมและปญหาอื่นของสังคมรวมกัน จึงเปนสิ่งท่ีตํารวจจะตองใหความสําคัญ
และตระหนักถึงความจําเปน เพราะความสัมพันธรวมมืออันดีระหวางตํารวจกับประชาชนอันเปน
องคประกอบสําคัญย่ิงของงานชุมชนสัมพันธจะเปนกุญแจสําคัญนําไปสูความสําเร็จในการปองกัน
ปราบปรามอาชญากรรมและการรักษาความสงบสุขของสังคม ฉะน้ันจึงเปนหนาท่ีของตํารวจ
ท่ีจะตองแสวงหาวิธีการหรือมาตรการอันเหมาะสมท่ีจะสรางความสัมพันธรวมมืออันดีกับประชาชน
ตลอดจนรักษาความสัมพันธที่ดีน้ันไวใหยืนยาวตลอดไป ซ่ึงหากความสัมพันธรวมมือระหวางตํารวจ
กบั ประชาชนไมด แี ลว จะกอใหเ กิดผลเสียแกต าํ รวจหลายประการดว ยกนั คือ

๑) ทําใหอาชีพตํารวจเปนท่ีจงเกลียดจงชัง ไมไดรับความเคารพนับถือเทาที่ควร
และอาจทําใหตํารวจหมดความภูมิใจในศกั ด์ิศรขี องความเปนผูพทิ ักษสนั ตริ าษฎรได

๒) มีผลกระทบตอการปฏิบัติงานของตํารวจ โดยตํารวจอาจจะไมไดรับความรวมมือ
หรือไดรับความรวมมือจากประชาชนนอยมาก ไมวาจะเปนการแจงขาวสารอาชญากรรม หรือการ
เปนพยานในคดีอาญาที่เกิดขึ้น ซึ่งสิ่งเหลานี้ยอมกระทบตอประสิทธิภาพในการปองกันปราบปราม
อาชญากรรมของตํารวจ

๓) มีผลกระทบตอเจาหนาที่ตํารวจโดยตรง กลาวคือ ตํารวจอาจถูกทํารายหรือตอสู
ขัดขวางอันสบื เน่ืองจากประชาชนขาดความเคารพยําเกรงได

๔) มีผลกระทบตอความสงบสุขของชุมชน เพราะหากความสัมพันธระหวางตํารวจ
กบั ประชาชนไมด ีแลว ยอมไมสามารถแกไขปญหาอาชญากรรม ตลอดจนการบังคับใชกฎหมายยอ มมี
ปญ หาและสง ผลกระทบตอความสงบสุขของชมุ ชนได

กลาวไดวา ภารกิจและหนาท่ีความรับผิดชอบของตํารวจจําเปนที่จะตองนํา §Ò¹ªØÁª¹
ÊÑÁ¾Ñ¹¸ มาใชสนับสนุนการปฏิบัติงานใหเปนประโยชน โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานการปองกัน
ปราบปรามอาชญากรรมและการรกั ษาความสงบเรยี บรอ ยของสงั คม ทงั้ นเี้ พราะงานชมุ ชนสมั พนั ธน นั้
เปนพื้นฐานอยางสาํ คญั ในการสรา งความสัมพันธรว มมืออนั ดีระหวางตาํ รวจกับประชาชน

Å¡Ñ É³Ð¢Í§§Ò¹ªØÁª¹ÊÑÁ¾Ñ¹¸

งานชุมชนสัมพันธในหนาท่ีของตํารวจ เปนการนําเอาหลักปรัชญาที่วา “ตํารวจคือ
ประชาชนและประชาชนคือตํารวจ” มาใชปฏิบัติและเปนการเนนใหเห็นวาสัมพันธภาพท่ีดีระหวาง
ประชาชนกับตํารวจเปนส่ิงท่ีจําเปนเนื่องจากเปนพ้ืนฐานสําคัญท่ีสงผลกระทบตอการปฏิบัติหนาที่
ของตํารวจ ฉะน้นั ตํารวจจึงตอ งธาํ รงรักษาไวซ งึ่ สัมพนั ธภาพอนั ดนี ี้ไวอยา งสม่ําเสมอ จากววิ ฒั นาการ
ของตํารวจในระยะแรก บุคคลท่ีทําหนาท่ีตํารวจก็คือประชาชน ตอมาภายหลังจึงไดจัดตั้งตํารวจ
เปนทางการเพื่อทําหนาท่ีรักษาความสงบเรียบรอยในสังคมขึ้นโดยเฉพาะ ตํารวจไดรับการพัฒนา



เร่ือยมาจนไดช่ือวาเปนหนวยงานหลักของสังคมในการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมไดตาม
ลาํ พงั โดยไมจ าํ เปน ตอ งรอ งขอความรว มมอื จากประชาชนเนน การใชย ทุ ธวธิ ตี าํ รวจแบบจารตี ประเพณี
ซ่ึงไดแก การตรวจทองท่ี ตูยาม การต้ังจุดตรวจและการระดมกําลังออกปราบปรามอาชญากรรม
สําหรับการติดตอสื่อสารกับประชาชน จะเนนเฉพาะในเร่ือง “การประชาสัมพันธ” อันมีเปาหมาย
ในการเสริมสรางความเขาใจ ความม่ันใจ และการสนับสนุนของประชาชนท่ีมีตองานตํารวจ
ซึ่งเปนการติดตอสื่อสารกับประชาชนในลักษณะทางเดียวเทานั้นจากการใชยุทธวิธีตํารวจแบบ
จารีตประเพณีดังกลาว ปรากฏวาการปองกันปราบปรามอาชญากรรมไมไดผลเทาที่ควร ประชาชน
มีความหวาดหวั่นท่ีจะตกเปนเหยื่ออาชญากรรมและไดพยายามชวยเหลือตัวเองในเบื้องตน
ดังจะพบเห็นท่วั ไปวาบานตองมีการสรางกําแพงสงู ๆ มีเหล็กดัดใสห นาตาง อยางไรกต็ ามในปจจบุ ันนี้
ผูบริหารงานตํารวจไดตระหนักถึงปญหาและความสําคัญของประชาชนท่ีจะตองเขามามีสวนรวมกับ
ตํารวจในการแกไ ขปญ หาอาชญากรรมอนั เปนปญ หาสว นรวมของสังคม

งานชุมชนสัมพันธจึงเปนแนวคิดท่ีตองการใหประชาชนมีสวนรับรูและเขาใจปญหา
ของตํารวจมีสัมพันธภาพอันดีกับตํารวจ และเขามามีสวนรวมสนับสนุนในการปองกันปราบปราม
อาชญากรรม ทงั้ นโี้ ดยมเี ปา หมายสดุ ทา ยเพอ่ื ใหเ กดิ ความสงบสขุ ขนึ้ ในชมุ ชน ดงั นน้ั งานชมุ ชนสมั พนั ธ
จึงเปนหลักการท่ีสําคัญของตํารวจในการแกไขปญหาอาชญากรรมและปญหาตางๆ อันเกี่ยวกับ
ความสงบเรยี บรอยของสังคม

อยางไรก็ดี ยังมีความสับสนดานแนวคิดและหลักการเก่ียวกับงานชุมชนสัมพันธอยูบาง
ในหมูตํารวจ โดยบางคนคิดวางานชุมชนสัมพันธเปนส่ิงที่ชวยเสริมสรางความสัมพันธระหวางตํารวจ
กับชุมชนกลุมนอย บางคนมองวางานชุมชนสัมพันธเปนส่ิงเดียวกับการประชาสัมพันธหรือบางที
ก็มองวางานชุมชนสัมพันธเปนสวนหนึ่งของการบริการประชาชนเทาน้ัน แตแทท่ีจริงแลวงาน
ชุมชนสัมพันธเปนการดําเนินการอยางเปนกระบวนการ เพ่ือใหตํารวจมีปฏิสัมพันธอันดีกับชุมชน
มีความเขาใจในปญหาซึ่งกันและกัน ตลอดจนรวมมือกันในการแกไขปญหาดังกลาว ตามหลักการนี้
จุดเริ่มตนของชุมชนสัมพันธ จึงประกอบดวยสวนสําคัญ ๓ ประการ ท่ีเกื้อกูลและสนับสนุนซ่ึงกัน
และกนั คือ

ñ) ¡ÒûÃЪÒÊÁÑ ¾Ñ¹¸ (Public Relation)
ò) ¡ÒÃãËŒºÃ¡Ô ÒÃá¡‹ªÁØ ª¹ (Public Service)
ó) ¡ÒÃà¢ÒŒ ÁÊÕ Ç‹ ¹ÃÇ‹ Á㹡¨Ô ¡ÃÃÁμÒ‹ §æ 㹪ØÁª¹ (Public Participation)
¡ÒûÃЪÒÊÑÁ¾Ñ¹¸ เปนจุดเริ่มตนของงานชุมชนสัมพันธในหนาที่ของตํารวจ เพื่อมุง
สรางความเขาใจใหประชาชนไดทราบถึงการดําเนินงานของตํารวจ สรางความม่ันใจใหประชาชน
สมรรถภาพตวั บคุ ลากร เคร่อื งมือเครื่องใช และความต้ังใจจริงของตํารวจ และสนับสนุนใหป ระชาชน
เปา หมายตา งๆ เชน ขาราชการ นักศกึ ษา นักเรียน สหพนั ธแรงงาน เพือ่ ใหบุคคลแตละกลมุ เหลา นน้ั
เขา ใจวตั ถปุ ระสงค นโยบาย วธิ กี าร ปญ หา และขอ จาํ กดั ของตาํ รวจ รวมทงั้ ใหเ กดิ ความมนั่ ใจวา ตาํ รวจ
จะรกั ษากฎหมายอยา งมสี มรรถภาพและดว ยความเท่ียงธรรมอยา งแทจ ริง



¡ÒÃãËŒºÃÔ¡ÒÃá¡‹ªÁØ ª¹ เปน การกระชบั ความสมั พนั ธระหวางตํารวจกบั ประชาชน ซง่ึ จะ
เปนการสงเสริมความรวมมือที่ตํารวจจะไดรับจากประชาชนมากย่ิงขึ้น การดําเนินการในการให
บริการแกประชาชนน้ันกระทําไดหลายรูปแบบ ท้ังในรูปแบบการนําบริการตางๆ ไปสูประชาชน
และในรูปแบบของการใหความชวยเหลือตางๆ ที่ไมขัดตอหนาท่ีของตํารวจ ซึ่งการพิจารณาวาจะใช
รูปแบบใดแกป ระชาชนกลมุ ใดนนั้ จะตองพิจารณาความเหมาะสมกับสภาพของแตละทอ งถนิ่

¡ÒÃࢌÒÁÕʋǹËÇÁ㹡Ԩ¡ÃÃÁμ‹Ò§æ 㹪ØÁª¹ เพ่ือสรางความสัมพันธความคุนเคย
ในการทํางานรวมกิจกรรมในชุมชน อาจดําเนินการโดยการเขาไปรวมงานกับสมาคมหรือองคการ
ท่ีจัดตั้งขึ้นแลว รวมทั้งประชาชนท่ีรวมกันเปนหมูเหลา ซึ่งการดําเนินการดังกลาวนอกจาก
จะเปนการเสริมสรางประสบการณการทํางานรวมกับประชาชนในสาขาวิชาชีพตางๆ แลว ยังเปน
วิธีการที่ช้ีนําใหประชาชนหันมาใหความสนใจในปญหาอาชญากรรมซึ่งชุมชนน้ันประสบอยู
และเขา มสี วนชวยสนับสนุนตาํ รวจในการแกไขปญ หาดังกลาวตอไปดว ย

ÊÃØ» งานชุมชนสัมพันธ ซ่ึงเปนมรรควิธีในการสรางความสัมพันธรวมมืออันดีระหวาง
ตํารวจกับประชาชนและสงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมมือกับตํารวจในการปองกันตนเองและชุมชน
จากปญหาอาชญากรรม ยาเสพติดใหโทษ อุบัติภัยและปญหาอื่นๆ นั้น ปจจุบันเปนที่ยอมรับ
วาเปนงานที่มีบทบาทสําคัญในอันท่ีจะสนับสนุนงานดานการรักษาความสงบเรียบรอยและการรักษา
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชนใหมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น เนื่องจาก
หากปราศจากความพยายามมากเพียงใดก็ตาม การปองกันปราบปรามอาชญากรรมและการรักษา
ความสงบเรียบรอยของชุมชน ก็จะไมไดผลสมบูรณเต็มที่เพราะประชาชนที่รวมตัวเปนชุมชนน้ัน
เปน ทรพั ยากร หรอื พลงั แฝงทจี่ าํ เปน และมคี า มากทส่ี ดุ ทจี่ ะเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั งิ านของตาํ รวจ

หลักการและแนวทางของงานชุมชนสัมพันธน้ัน หากผูบริหารงานของหนวยใดนํามาใช
อยางเหมาะสมแกสภาพปญหาและความตองการของประชาชนในทองท่ีของตนและเจาหนาที่
ผูปฏิบัติงานไดมีความรูและความเขาใจ เทคนิคการปฏิบัติ ตลอดจนผูบังคับบัญชาใหความสนใจ
ในการที่จะเสริมสรางความเขาใจ ทัศนคติ ความศรัทธา ความเชื่อมั่น และความเขาใจอันดีระหวาง
ตํารวจกับประชาชนจะเขามาสนับสนุนหรือมีสวนรวมในการปองกันปราบปรามอาชญากรรม
และรักษาความสงบเรียบรอยของสังคม อันเปนเปาหมายสูงสุดของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
ไดอ ยางแนนอน

งานชมุ ชนสมั พนั ธใ นหนา ทต่ี าํ รวจเปน การนาํ แนวคดิ ทวี่ า ตาํ รวจคอื ประชาชน ประชาชน
คือตํารวจ มาเปนหลักในการปฏิบัติงาน โดยเนนสัมพันธภาพท่ีดีระหวางประชาชนกับตํารวจ
และสง เสรมิ ใหป ระชาชนมสี ว นรว มมอื กบั ตาํ รวจในการปอ งกนั ตนเองและชมุ ชนจากปญ หาอาชญากรรม
ยาเสพติด อุบตั ภิ ยั และปญหาอ่ืนๆ เพ่ือเปา หมายใหเ กิดความสงบสุขในชมุ ชน/สังคมนน่ั เอง

ซ่ึงงานชุมชนสมั พนั ธใ นหนาท่ีตํารวจจงึ ประกอบดวย ๓ ประการ เกอ้ื หนุนกนั ไดแก
๑. การประชาสัมพนั ธ
๒. การใหบริการแกชุมชน
๓. การเขารวมกจิ กรรมในชมุ ชน

๑๐

เสียสละ สรางศรัทธา รูปญหาของชาวบาน มีผลงานใหเห็น ดีเดนในพฤติกรรม สัมพันธภาพ
เปนท่ีนับถือ ไดรบั ความรว มมอื จากประชาชน บรรลผุ ลความสงบสขุ ของชุมชน

๑๑

ÊûØ

การตาํ รวจชมุ ชนสมั พนั ธเ ปน ปรชั ญาของการตาํ รวจยคุ ใหมบ นพน้ื ฐานของความเชอื่ ทว่ี า
“การท่ีตาํ รวจกับประชาชนทาํ งานรวมกันโดยใชความคิดริเริ่มสรางสรรค ยอมที่จะสามารถแกปญหา
ตางๆ ท่ีเก่ียวของกับอาชญากรรม ความรูสึกหวาดกลัวจากภัยอาชญากรรม ตลอดจนสภาพความ
ไรระเบียบและความเส่ือมโทรมทางสังคมและทางกายภาพในชุมชนตางๆ ได การท่ีจะบรรลุ
วัตถุประสงคดังกลาวไดนั้น หนวยงานตํารวจจะตองเสริมสรางความสัมพันธอันดีกับสุจริตชนที่อยู
อาศัยในชุมชนน้ันๆ โดยเปดโอกาสใหเขามามีสวนรวมแสดงความคิดเห็น เสนอแนะในการจัดลําดับ
ความสําคัญเรงดวนของปญหา และรวมพัฒนาสภาพความเปนอยูโดยรวมของชุมชน” ซึ่งเทากับ
เปนการเปลี่ยนปรัชญาในการทํางานจากเดิมท่ีใชมาตรการต้ังรับดวยการไปถึงท่ีเกิดเหตุ
อยา งรวดเร็วเพือ่ ระงบั เหตุ มาเปน การใชม าตรการเชิงรุกที่เนนการแกปญหาตา งๆ ในชมุ ชน ปรชั ญา
การตํารวจชุมชนสามารถสังเกตไดจากการท่ีหนวยงานตํารวจปรับยุทธศาสตรในการทํางานใหม
เพ่ือนําทฤษฎีการตํารวจชุมชนไปสูการปฏิบัติ อาทิ การกําหนดหนาที่การงานของตํารวจสายตรวจ
โดยไมตองทํางานภายในรถยนตสายตรวจท่ีรอรับฟงคําสั่งทางวิทยุตํารวจใหไประงับเหตุตลอดเวลา
เพื่อใหสายตรวจมีเวลาทํางานมากขึ้น สามารถสัมผัสกับประชาชนภายในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ
ตนเองไดโดยตรงอยา งใกลชดิ สมาํ่ เสมอทุกวัน การใหเ จา หนาท่ีตํารวจมพี ้นื ท่ีรบั ผิดชอบในการทาํ งาน
ซงึ่ จะทําใหเกิดความรูส ึกเปน เจา ของพื้นที่ โดยเจา หนา ทต่ี ํารวจชุมชนสามารถเขา ถงึ รจู ัก และสัมผสั
โดยตรงอยางใกลชิด สม่ําเสมอกับประชาชนในชุมชน อันจะนําไปสูความรูสึกเช่ือมั่นไววางใจตอ
เจาหนาที่ตํารวจชุมชน ซึ่งมีฐานะเปนผูตอบแทนของหนวยงานตํารวจประจําชุมชนนั้นๆ มีหนาที่
ประสานงานกับหนวยงานท่ีเก่ียวของทุกฝายในการแกไขปญหาความเดือดรอนตางๆ ของชุมชน
เจาหนาท่ีตํารวจชุมชนจะตองรับฟงความคิดเห็นและรวบรวมขอเสนอแนะนํามาวิเคราะหจัดลําดับ
ความสาํ คญั เรง ดว นในการทาํ งานใหต รงกบั ความตอ งการของชมุ ชน อนั จะนาํ ไปสกู ารเขา มามสี ว นรว ม
และใหความรวมมือในการทํางานของตํารวจ ดังน้ันการตํารวจชุมชนจึงตองมีการเปลี่ยนปรัชญา
และมุมมองในการคิดเกี่ยวกับภารกิจของหนวยงานตํารวจและมุงม่ันที่จะเปลี่ยนแปลงแนวทางการ
ทํางานตามปรัชญาการตํารวจชุมชนอยางจริงจัง การตํารวจชุมชนเสนอแนวทางการทํางานใหม
ซ่ึงเนนการตํารวจภายใตรูปแบบของการกระจายบริการสูระดับชุมชน (Decentralized) และถึง
ประชาชนเปนรายบุคคล (Personalized) โดยใหโอกาสประชาชนทุกคนไดเขามามีบทบาท
ในกระบวนการทาํ งานของตาํ รวจ

¡Ô¨¡ÃÃÁ·ŒÒº·

ใหนักเรียนอธิบายลักษณะของงานชมุ ชนสัมพันธใ นหนา ทีข่ องตาํ รวจมาพอสงั เขป

๑๓

º··èÕ ò

á¹Ç¤´Ô áÅзÄÉ®Õตาํ ÃǨªÁØ ª¹

ÇμÑ ¶Ø»ÃÐʧ¤

เพื่อใหน ักเรยี นทราบเก่ียวกบั แนวคิดและทฤษฎีตํารวจชมุ ชน หลกั การสาํ คญั ของตํารวจ
ชมุ ชน หลกั การตํารวจผูรบั ใชชมุ ชน ความแตกตา งระหวา งตํารวจชมุ ชนกบั ตาํ รวจชมุ ชนสมั พันธ

ตํารวจชุมชน หมายถึง “หลักการการทํางานของตํารวจ ซ่ึงสงเสริมสนับสนุนแกตนเหตุ
เพ่ือลดปญหาอาชญากรรม ปญหาความไมเปนระเบียบของชุมชนโดยเทคนิคการแกตนเหตุปญหา
ดว ยความรว มมือระหวางตาํ รวจและชุมชน

เปนแนวคิดเริ่มตนจาก à«ÍÏâÃàºÔÃμ ¾ÕÅ ผูกอต้ัง ตํารวจมหานครลอนดอน หรือ
สกอตแลนดยารด เจาของคําพูดท่วี า “ตําÃǨ¤×Í»ÃЪҪ¹ »ÃЪҪ¹¤×Íตาํ ÃǨ” (The Police are
the public and the public are the police) แนวคดิ และหลักการทาํ งานของตํารวจผรู บั ใชชุมชน
คือแนวคิดและหลักการทํางานใหมของตํารวจเพ่ิมเติมจากการทํางานแบบเดิม ที่มุงเพียง
มีสายตรวจปอ งกัน/แกไ ขเหตุรา ยและสบื สวนจบั กุมผกู ระทําความผิด เทา นนั้

การตํารวจชุมชนเปนการแกไขปญหาเชิงกลยุทธ เพ่ือปองกันและควบคุมอาชญากรรม
และลดความหวาดกลัวภัยอาชญากรรม ซงึ่ มสี าระสาํ คัญ ๔ ประการ ไดแก

๑. การขยายขอบเขตหนาที่ความรบั ผิดชอบของงานตํารวจใหก วางขวางขน้ึ
๒. การใหค วามสาํ คญั อยา งเนน หนกั ในการตดิ ตอ สมั พนั ธก นั ระหวา งตาํ รวจกบั ประชาชน
อยางใกลชดิ ลึกซึ้ง สมํ่าเสมอ และตอเน่อื งตลอดไป
๓. การใหค วามสนใจเพมิ่ มากขน้ึ เกย่ี วกบั ยทุ ธศาสตรใ นการแกไ ขปญ หา และการปอ งกนั
อาชญากรรม
๔. ความพยายามท่ีจะปรับปรุงโครงสรางการบริหารงานของตํารวจ เพื่อกระจาย
การใหบริการ และการวางแผนระดบั ชุมชนใหด มี ากยง่ิ ข้นึ

ËÅÑ¡¡ÒÃสํา¤Ñޢͧ¡ÒÃตําÃǨªÁØ ª¹

หลกั การสาํ คญั ของการตํารวจชุมชนประกอบดว ยหวั ขอ ใหญๆ ๒ ขอ
¢ŒÍáá ตาํ รวจเปน หุนสว นกบั ประชาชนเกาะตดิ พ้นื ทีอ่ ยางท่วั ถึง
¢ÍŒ ·ÊèÕ Í§ ตํารวจนําชุมชนและหนวยงานอื่นแกตนเหตุอาชญากรรมหรือความไมเปนระเบียบ

ในชมุ ชน

หลกั การสาํ คัญของการตาํ รวจชุมชน ๒ ขอ ดงั กลา ว แยกยอ ยได ñð ËÅ¡Ñ ¡ÒÃ ดงั นี้
ñ. ¡ÒÃนําËÅÑ¡¡ÒÃตําÃǨªØÁª¹à»š¹á¹Ç¤Ô´ËÃ×Í¡ÅÂØ·¸ËÅѡ㹡ÒÃทํา§Ò¹
(Core Strategy) ท่ีตํารวจทุกคนในองคกรหรือหนวยตํารวจจะตองนําไปใชเปนหลักในการทํางาน
ตั้งแตหัวหนาหนวยหรือผูบังคับบัญชาทุกระดับช้ันจนถึงตํารวจทุกฝายทุกแผนก (ไมใชมีความคิด

๑๔

วาเฉพาะตํารวจชุดชุมชนมวลชนสัมพันธเทานั้นที่ตองมีความสัมพันธที่ดีกับชุมชน แตพนักงาน
สอบสวนที่เปนรอยเวรสอบสวนหรือตํารวจสายตรวจไมสนใจรับฟงแกไขปญหาความเดือดรอน
ของประชาชน โดยเฉพาะอยางย่ิงเม่ือมาแจงความ) การจะแสดงออกวาหนวยตํารวจใดนําแนวคิด
ตาํ รวจผูรับใชชุมชนไปเปนแนวคิดหลักในการทาํ งานหรือไม ใหดูจากการกาํ หนดวิสัยทัศน คานิยม
ของหนวยวามีการกําหนดแนวคิดหลักในการทํางานรวมมือกับประชาชนหรือใหประชาชนศรัทธา
หรือใชพลังมวลชนมารวมแกปญหาอาชญากรรมหรือไม หรือมีนโยบายยุทธศาสตรในการนํา
หลักการตํารวจชุมชนทั้ง ๑๐ ขอนี้ ไปกําหนดหรือนําไปใชเปนหลักทํางานหรือไม งานตํารวจผูรับใช
ชุมชนไมใชโครงการช่ัวคราวท่ีหมดเวลาหรือหมดเงินงบประมาณแลวเลิกทํา เชน โครงการปราบโจร
ฤดูแลงหรือโครงการนําตํารวจไปทําบุญรวมกับประชาชนทุกวันพระ เปนตน แตเปนหลักการทํางาน
สําคญั ที่ตองทาํ ตลอดไป จึงจะเปน “ตํารวจชุมชน”

ò. ¡ÒáÃШÒÂอํา¹Ò¨ãËตŒ าํ ÃǨ¼»ÙŒ ¯ÔºμÑ §Ô Ò¹ (Decentralized) ตํารวจสายตรวจหรอื
ตํารวจท่ีทํางานสัมผัสกับประชาชน เชน สายตรวจตําบลหรือตํารวจท่ีรับผิดชอบพ้ืนที่จะตองไดรับ
การกระจายอํานาจหรือมีอํานาจในการนําเสนอ ในการตัดสินใจ ในการแกไขปญหาตางๆ รวมกับ
ชมุ ชนใหไ ดม ากทส่ี ดุ แทนวธิ กี ารทาํ งานแบบเดมิ ทอ่ี าํ นาจการตดั สนิ ใจแกไ ขปญ หาตา งๆ อยทู สี่ ว นกลาง
เชน ปจจุบันหนวยงานตํารวจไทยมอบอํานาจใหหัวหนาสถานีตํารวจมีอํานาจมากข้ึนกวาเดิมมาก
เชน การสั่งคดกี ารปลอ ยชั่วคราว การอนุมัตใิ หข า ราชการตาํ รวจเดนิ ทางไปราชการ เปน ตน

ó. ¡ÒÃà¡ÒÐμÔ´¾é×¹·èÕáÅСÃШÒ¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍºãËŒตําÃǨáμ‹Åо×é¹·Õè (Fixed
Geographic & Accountability) ในระบบการตาํ รวจชุมชน ตาํ รวจทกุ คนไมว า สายตรวจรถยนต
สายตรวจรถจกั รยานยนต สายตรวจตาํ บลหรอื ตาํ รวจประจาํ ตยู าม ฝา ยอาํ นวยการหรอื ผบู งั คบั บญั ชา
ระดับตางๆ จะไดรับมอบการกระจายอํานาจใหแบงรับผิดชอบพื้นท่ีเปนระยะเวลานานๆ เชน
จะไมเปลี่ยนสายตรวจแตละผลัดหรือแตละเขตบอยจนทําใหตํารวจสายตรวจไมมีความคุนเคย หรือ
ชาวบาน “ไมเชื่อใจ” หรือเห็นตํารวจเปนคนแปลกหนา โดยควรจัดตํารวจแบบ “เกาะติดพื้นท่ี”
การแบงมอบพ้ืนทีห่ รอื เขตตรวจ ยดึ ถือชมุ ชนเปน หลักมากกวา สถิติคดี

ô. 㪌¾Åѧ¤ÇÒÁËÇÁÁ×ͧ͢»ÃЪҪ¹áÅÐÍÒÊÒÊÁѤà (Volunteers) ในระบบการ
ตาํ รวจชมุ ชน มงุ เนน ใหม กี ารใชค วามรว มมอื จากประชาชนในรปู ของการเปน อาสาสมคั รในรปู แบบตา งๆ
ตามที่ชุมชนหรือในพื้นที่ตนทุนทางสังคมหรือมีการจัดตั้งหรือมีความเหมาะสม ตํารวจมีหนาที่ให
ความรแู ละสรา งความรว มมอื กาํ หนดวธิ กี ารจดั ตง้ั เพอ่ื ประชาชนไดม าชว ยเหลอื งานปอ งกนั อาชญากรรม
และแกไ ขความไมเ ปน ระเบยี บของชมุ ชนตามความเหมาะสม ซงึ่ จะทาํ ใหต าํ รวจมเี วลาไปทาํ งานปอ งกนั
ปราบปรามอาชญากรรมอ่ืนไดมากขึน้

รูปแบบของอาสาสมัครจะตางไปในแตละพ้ืนที่ชุมชน บางแหงอาจจะเปนการใช
อาสาสมัครที่มีหนวยงานอื่นจัดตั้งไวแลวหรือตํารวจจัดต้ังขึ้นเอง แลวแตความเหมาะสมของพ้ืนที่
และชุมชนและความพรอมของสภาพชุมชน เชน อาสาสมัครตํารวจชุมชน (ตชต.) สมาชิกแจงขาว

๑๕

อาชญากรรม เหยี่ยวเวหา อาสาจราจร ตาํ รวจบา น สายตรวจประชาชน สมาชิกกภู ัย สมาชกิ ชมรม
เพือ่ นบานเตือนภยั อาสาสมัครปองกันภยั ฝา ยพลเรอื น (อปพร.) และลูกเสอื ชาวบาน เปน ตน

õ. 㪌¼ÙŒÊ¹ÑºÊ¹Ø¹ (Enhancer) ในระบบการตํารวจชุมชน ตํารวจจะตองหา
ความรวมมือในการสนับสนุนงานตํารวจจากชุมชนและองคกรปกครองในพื้นที่ไมเฉพาะงานหลัก
คือการปองกันอาชญากรรมหรือการเปนอาสาสมัครในการปองกันอาชญากรรมเทานั้น แตในระบบ
ตํารวจชุมชนหนวยตํารวจตอ งแสวงหาทรพั ยากรจากชุมชนมาชว ยเหลืองานตาํ รวจอื่นๆ เชน การจดั
อาสาสมัครชวยแจงขาวเว็บไซตลามก การใหประชาชนเปนอาสาสมัครประชาสัมพันธชวยเหลือ
บริการผูมาแจงความท่ีสถานีตํารวจ การจัดอาสาสมัครชว ยรับโทรศพั ทที่ศนู ยวิทยุ การจัดอาสาสมคั ร
ลงขอมูลสถิติคดี การจัดคณะกรรมการหาทุนชวยเหลือเหย่ืออาชญากรรม และการรับการสนับสนุน
งบประมาณจากชมุ ชนหรอื ทอ งถ่นิ เพือ่ ชว ยเหลอื งานตาํ รวจในดานตางๆ

ö. ¡Òú§Ñ ¤ºÑ 㪡Œ ®ËÁÒÂ໹š à¤ÃÍ×è §ÁÍ× á¡»Œ Þ˜ ËÒªÁØ ª¹ (Law Enforcement) งานการ
ตํารวจชุมชนยังถือวาการสืบสวนจับกุมคนรายเปนเครื่องมือสําคัญในการแกไขปญหาอาชญากรรม
และปญหาความไมเปนระเบียบในชุมชน โดยเนนการจับกุมเพื่อแกปญหาที่ถือเปนความเดือดรอน
ของชุมชนเปนลําดับแรกสุด และตํารวจมีหนาที่ในการรักษาความสมดุลระหวางการบังคับใช
กฎหมายหรือการจับกุมกับความรวมมือของชุมชนในการแกไขตนเหตุของปญหาอาชญากรรม
หรือความไมเปนระเบียบของชมุ ชน

÷. ์¹»‡Í§¡Ñ¹»˜ÞËÒÍÒªÞÒ¡ÃÃÁÁÒ¡¡Ç‹ÒÃÍãËŒà¡Ô´àËμØ (Proactive Crime
Prevention) การตํารวจชุมชนมุงเนนในการทํางานเพื่อปองกันไมใหอาชญากรรมเกิดมากกวา
การรอใหอาชญากรรมเกิดแลวจึงคิดติดตามจับกุมคนรายเพ่ือฟองศาล กิจกรรมสวนใหญของตํารวจ
ที่ทํารวมกับชุมชน คือ สนับสนุนใหชุมชนมีความเขมแข็งในการปองกันอาชญากรรมดวยชุมชนเอง
โดยใชเทคนิคแกตนเหตุปญหาการควบคุมอาชญากรรมจากสภาพแวดลอม การจัดระบบเพื่อนบาน
เตือนภัยหรือจัดสายตรวจประชาชน เปนตน เพื่อมุงเปาประสงคในการลดอาชญากรรม
และความหวาดกลัวภัยอาชญากรรม

ø. ãªàŒ ·¤¹¤Ô á¡»Œ Þ˜ ËÒ (Problem Solving) ตาํ รวจสมาชกิ ชมุ ชนและหนว ยงานอนื่ ๆ
ทํางานรวมกัน เพ่ือกําหนดตนเหตุของปญหาอาชญากรรมที่เกิดข้ึนในชุมชน หรือปญหา
ความไมเปนระเบียบในชุมชน (Scanning) แลววิเคราะหสาเหตุของปญหา (Analysis) แสวงหา
แนวทางในการแกไ ขปญ หา (Response) ดาํ เนนิ การแกไ ขปญ หา แลว ประเมนิ ผล (Assessment) เทคนคิ
ในการแกป ญ หานเี้ ปน การระดมความรว มมอื ระหวา งตาํ รวจกบั ชมุ ชน เปน การคดิ แกป ญ หานอกกรอบ
ความคิดการทํางานแบบเดิมของตํารวจท่ีถือวาการสืบสวนจับกุมคนรายไดก็นับเปนการบรรลุ
ภารกิจแลว แตถาตาํ รวจมีแนวคิดและทํางานตามความเชื่อแบบเดิม ปญหาอาชญากรรมหรือ
ความเดอื ดรอ นของชมุ ชนกจ็ ะกลบั มาอกี เพราะ¡ÒèºÑ ¡ÁØ ¤¹ÃÒŒ Âไมใ ชก ารแกμ ¹Œ àËμ¢Ø ͧ»Þ˜ ËÒทแี่ ทจ รงิ

๑๖

การใชเ ทคนคิ แกป ญ หาลกั ษณะนคี้ วรถอื เปน หลกั การสาํ คญั เพราะทผี่ า นมาประเทศไทย
เคยใชชุดชุมชนมวลชนสัมพันธเขาไปสรางความสัมพันธท่ีดีระหวางตํารวจกับประชาชนไดแลว
แตไมไดนําชุมชนมาระดมความรวมมือกับตํารวจ ในการแกไขปญหาอาชญากรรมหรือ
ความเดอื ดรอ นของชมุ ชน

ù. ¡ÒÃ໚¹ËŒ¹Ø ÊÇ‹ ¹áÅÐÊÌҧ¤ÇÒÁÃÇ‹ ÁÁÍ× ÃÐËÇ‹Ò§ตําÃǨáÅЪÁØ ª¹ (Partnerships)
ในระบบตํารวจชุมชน ประชาชนในชุมชนคือหุนสวนของตํารวจในการรวมรับผิดชอบปองกัน
อาชญากรรมหรือปญ หาความไมเ ปนระเบยี บในชุมชน (ไมใ ชเ ปนปญ หาของตํารวจฝา ยเดียว) ตาํ รวจ
และประชาชนในชมุ ชนตอ งรว มกนั สาํ รวจปญ หาและความตอ งการของชมุ ชนเกย่ี วกบั ความเดอื ดรอ น
หรือความหวาดกลัวภัยอาชญากรรมและใหชุมชนรวมใชเทคนิคแกปญหาเพ่ือรวมแกตนเหตุปญหา
ความเดือดรอนจากอาชญากรรมดังกลาว และตํารวจตองสรางความรวมมือหรือเปนแกนนําในการ
ระดมทรัพยากร/ความรวมมือ หรือใหประชาชนรวมเปนอาสาสมัครเพื่อดําเนินกิจกรรมปองกัน
อาชญากรรมไดดวยตัวชุมชนเอง

ñð. ตําÃǨμŒÍ§ºÙóҡÒáѺ˹‹Ç§ҹ·Õèà¡èÕÂÇ¢ŒÍ§ (Integration) ในการบังคับใช
กฎหมายหรือแกไขปญหาท่ีเก่ียวของกับการปองกันโดยเฉพาะการแกที่ตนเหตุของปญหา (ไมใช
เพียงแตการจับคนราย) หลายกรณี ตํารวจไมมีอํานาจหนาที่โดยตรงจะเขาไปจัดการได เชน หอพัก
ที่เปนแหลงม่ัวสุมของวัยรุนติดยาเสพติด เจาหนาที่พัฒนาสังคมและทรัพยากรมนุษยหรือ
ประชาสงเคราะหม หี นา ทตี่ ามกฎหมายโดยตรงในการจดั ระเบยี บ หรอื การตดิ ตงั้ ไฟฟา สอ งสวา งบรเิ วณ
ท่ีเกิดเหตุชิงทรัพยหรือขมขืนเสมอๆ เปนอํานาจหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน การถอน
ใบอนุญาตใหบุคคลท่ีมีพฤติการณลักเล็กขโมยนอย มีและใชอาวุธปน เปนอํานาจของนายทะเบียน
อาวุธปนคือนายอําเภอทองที่(ตางจังหวัด) การอนุญาตใหรถเรขายสุราตามงานเทศกาล
หรืองานร่ืนเริงตางๆ ที่เปนตนเหตุใหวัยรุนซื้อสุราไดทุกเวลานําไปสูเหตุทํารายรางกายเปนอํานาจ
ของสรรพสามิต รถที่หายสวนมากเปนรถจักรยานยนตใหมที่ยังไมไดรับปายทะเบียนจากหนวยงาน
กรมการขนสงทางบก และสถานที่ที่หายมากสุดคือตลาดนัด ท่ีฝายพาณิชยจังหวัดมีอํานาจ
กําหนดเงือ่ นไขอนญุ าตใหเปด ตลาดนัดไดด ังนเ้ี ปน ตน

»¨˜ ¨ÑÂÊÙ¤‹ ÇÒÁสาํ àÃ稢ͧ¡ÒÃตําÃǨªÁØ ª¹
การจะรูวาหนว ยตาํ รวจใดเปน “ตํารวจชมุ ชน” เทาใด หรอื วัดระดับของการนาํ หลกั การ
ตํารวจผูรับใชชุมชนไปใชหรือวัด “¤ÇÒÁ໚¹μíÒÃǨªØÁª¹” มีเกณฑในการวัดจากการทํางาน
ของตาํ รวจ ๕ ระดับ ¨Ò¡¹ÍŒ Âä»ËÒÁÒ¡ คือ
๑. ตาํ รวจสนใจชุมชน เฉพาะเวลาประชาชนแจง ความเทา นั้น
๒. ตาํ รวจแนะนําการปอ งกนั อาชญากรรมแกชมุ ชน
๓. ประชาชนแจงขาวสารแกตํารวจเสมอ
๔. ตาํ รวจนําชาวบานรว มคิดรวมทําแกปญ หาชมุ ชน
๕. ชมุ ชนปองกันอาชญากรรมดวยชมุ ชนเองโดยตํารวจเปนแกน/สนับสนนุ

๑๗

หนวยงานอ่ืนก็เร่ิมท่ีจะเห็นความสําคัญของชุมชนและมุงสงเสริมใหชุมชนเขมแข็ง เชน
กระทรวงยุติธรรมไดเร่ิมนําหลักการยุติธรรมสมานฉันท (Restorative Justice) และการยุติธรรม
ชมุ ชน (Community Justice) เปน ตน มาใชใ นชมุ ชน ซงึ่ ลว นแลว แตส อดรบั หรอื เปน แนวทางเดยี วกบั
การตํารวจชุมชนทั้งส้ิน และหลักการของการตํารวจชุมชนนี้ยังสอดรับกับแนวคิดชุมชนเขมแข็ง
พลังแผนดินตอตานยาเสพติด หรือแมกระทั่งแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงซ่ึงทุกแนวคิดมีวัตถุประสงค
ใหครอบครัว/ชุมชนมีความสามารถในการพึ่งพาตนเองได ดังนั้นตํารวจก็สามารถท่ีจะใชเครือขาย
เหลา น้เี ปนฐานในการทาํ งานการตาํ รวจชมุ ชนไดดวย

ในระบบตํารวจชุมชนตํารวจตองบูรณาการกับหนวยงานท่ีจะแกไขสวนที่เปน “μŒ¹àËμØ”
ทําใหเกิดปญหาสังคม นําไปสูอาชญากรรมหรือปญหาความไมเปนระเบียบของชุมชน โดยการ
จดั ระเบียบสังคมใหด ขี ้ึน

กลาวโดยสรุป ปรัชญาการตาํ รวจชุมชนเปนปรัชญาในการทํางานแนวใหมบนพื้นฐาน
ของความเช่ือที่วา การที่ตาํ รวจกับชุมชนสราง “พันธมิตรในเชิงหุนสวน” (partnerships) ในการ
ทาํ งานรว มกนั ดว ยความไววางใจตอ กัน (trust) โดยใชความริเรม่ิ สรา งสรรคใ หมๆ ยอ มสามารถแกไ ข
ปญหาอาชญากรรมตางๆ รวมทั้งความรูสึกหวาดกลัวภัยอาชญากรรม สภาพความไรระเบียบ/
ความเสือ่ มโทรมทางสังคมและทางกายภาพในชุมชน

นอกจากนน้ั หลุยส ราดิเลท (Louis Radelet) และเดวิด คารเ ตอร (David L. Carter)
ไดว จิ ัยพบวาการตาํ รวจผูรบั ใชชุมชนจะประสบผลสําเรจ็ หรอื ไมนั้น ยอมขน้ึ อยกู ับปจ จยั ดงั ตอไปนี้

ñ. คําá¶Å§ÀÒáԨ หนวยงานตํารวจมีคําแถลงภารกิจที่ชัดเจนหรือไม ไดตระหนักถึง
พันธมิตรเชิงหนุ สว นระหวา งตาํ รวจกบั ชุมชนหรอื ไม

ò. ¡ÒáÃШÒÂอํา¹Ò¨ เจาหนาท่ีตํารวจชุมชนไดรับมอบอํานาจในการพิจารณาแกไข
ปญ หาชมุ ชนมากนอยเพียงใด

ó. ¡ÒÃᡌ䢻˜ÞËÒ การตรวจทองที่ของสายตรวจเปนการตรวจลาดตระเวนไปตาม
สถานท่ีตางๆ หรือเปนการตรวจเพ่ือมุงแกไขปญหา ในวันหนึ่งๆ ตํารวจสายตรวจตระเวนไปตาม
ถนนหนทางเพอื่ รอวทิ ยุแจงใหระงบั เหตุ หรอื ใชเ วลาสวนใหญใ นการแกไ ขปญหา

ô. ¡ÒÃÁÕʋǹËÇÁ¢Í§ªØÁª¹ ตํารวจไดพัฒนาเคร่ืองมือหรือกลไกใหชุมชนไดแสดง
ความคิดเห็นเก่ียวกับปญหาท่ีเกิดขึ้นในชุมชน เครื่องมือหรือกลไกเหลาน้ีประชาชนผูอยูอาศัย
ในชมุ ชนทราบหรอื ไม ประชาชนหรอื ผแู ทนชมุ ชนสามารถเขา มสี ว นในกระบวนการวางนโยบายหรอื ไม
ผูบริหารใหความสนใจมารวมประชุม/พบปะกับประชาชนหรือผูแทนชุมชนบางหรือไม หรือปลอย
ใหเปน หนา ที่ของเจาหนา ท่ีตาํ รวจชุมชนเทา นัน้

õ. ·Ñȹ¤μÔ·èÕตําÃǨÁÕμ‹Í»ÃЪҪ¹ เจาหนาที่ตํารวจท่ีปฏิบัติหนาท่ีอยูบนสถานีตํารวจ
จะตองมีทัศนคติท่ีดีตอประชาชน กรณีรับแจงความทางโทรศัพท เจาหนาที่ตํารวจจะตองชี้แจง
แกผูแจงใหรับทราบถึงแนวทางการปฏิบัติท่ีเปลี่ยนแปลงไป เจาหนาที่ตํารวจจะตองมีความรูสึก
ÂÍÁÃѺประชาชนในชุมชน

๑๘

ö. Ãкº¡ÒèѴ¡Òà หนวยงานตํารวจจะตองเปล่ียนแปลงรูปแบบการจัดการให
สอดคลองกับปรัชญาการตํารวจ การบังคับบัญชาระดับตางๆ จะตองไมเปนอุปสรรคตอการทํางาน
มีการปรับบทบาทหนาท่ีของสายตรวจตํารวจใหสามารถทํางานรวมกับชุมชนในการแกไขปญหาได
สรางระบบการประสานงานกันระหวางเจาหนาท่ีตํารวจชุมชนท่ีรับผิดชอบพื้นท่ีปฏิบัติการ
กับสายตรวจปกติ ไดมีการปรับปรุงโครงสรางการบริหารใหสอดคลองกับภารกิจ หนวยงานตํารวจ
จะตองสงเสรมิ และสนบั สนนุ ใหเกิดบรรยากาศในการทาํ งานรวมกบั ชมุ ชนอยา งจริงจัง

÷. ¡ÒûÃÐàÁÔ¹¼Å¡Òû¯ÔºÑμÔ§Ò¹áÅСÒÃãËŒÃÒ§ÇÑÅ จะตองมีการปรับปรุงระบบ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยวัดจากคุณภาพชีวิตของชุมชนที่ดีขึ้น มิใชวัดจากสถิติตัวเลข
การจับกุมหรือการออกใบสั่งจราจร พัฒนาระบบการใหรางวัลและประกาศชมเชยผูมีผลงานดี
เนนการมอบหมายหนา ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบพืน้ ทีท่ าํ งานระยะยาวเพอ่ื ใหรจู ักชุมชน

ø. ¡Òýƒ¡ÍºÃÁ จัดฝกอบรมเจาหนาที่ตํารวจชุมชนใหมีความรูที่จําเปนและเก่ียวของ
กบั การแกไ ขปญ หาของชุมชน หนว ยงานท้ังภาครัฐบาลและภาคเอกชนทเี่ กยี่ วของในการแกไขปญ หา

ù. ¡ÒÃกาํ ˹´à¢μ¾¹×é ·ÃèÕ ºÑ ¼´Ô ªÍº การพจิ ารณากาํ หนดชมุ ชนเปา หมายเพอ่ื มอบหมาย
พ้ืนที่รับผิดชอบใหกับเจาหนาท่ีตํารวจชุมชนตามสภาพความเปนจริงของชุมชน มิใหเปนอุปสรรค
ตอ การทํางานรว มกนั ระหวางเจาหนาท่ีตํารวจชุมชนกับชมุ ชนเปาหมาย

ñð. ਌Ò˹ŒÒ·Õè·ÕèÁÒ¨Ò¡¡ÒÃàÅ×Í¡μéѧ½†Ò¡ÒÃàÁ×ͧ มีความเขาใจเกี่ยวกับปรัชญา
การตํารวจชุมชนหรือไม และใหก ารสนบั สนนุ มากนอ ยเพียงใด

ññ. »ÃѪÞÒ㹡ÒÃทํา§Ò¹ËÃ×Í໚¹à¾Õ§â»Ãá¡ÃÁ¾ÔàÈÉ การนําปรัชญาการตํารวจ
ชุมชนมาใชน้ัน นํามาใชเปนปรัชญาการทํางานของหนวยงานตํารวจทุกฝาย หรือเปนเพียงโปรแกรม
พเิ ศษของหนว ยตาํ รวจชมุ ชนสมั พนั ธ/ หนว ยปอ งกนั อาชญากรรมเทา นน้ั หากนาํ มาใชเ ฉพาะหนว ยยอ ย
โอกาสท่ีจะสําเร็จเปนไปไดยาก กรณีมีการประชุมรวมกับผูแทนชุมชน เพื่อวิเคราะหปญหา
หรือกําหนดแนวทางแกไ ขปญหา เปนความรบั ผิดชอบของทกุ ฝา ยที่จะตอ งเขา รวม

ñò. Ê×èÍÁÇŪ¹ ทาทีของส่ือมวลชนตอหนวยงานตํารวจในการนําปรัชญาการตํารวจ
ผูรับใชชุมชนมาใชแกไขปญหาอาชญากรรมเปนอยางไร ส่ือมวลชนพิจารณาผลการทํางานของ
ตํารวจจากดัชนชี ว้ี ัดตัวใด สถิตอิ าชญากรรม ผลการจบั กมุ หรือสภาพความเปนอยขู องชมุ ชนท่ีดีขึน้

ñó. ¡ÒÃàÅ×Í¡ÃٻẺ¢Í§¡ÒÃตําÃǨªØÁª¹·Õèáμ¡μ‹Ò§¡Ñ¹ÁÒ㪌μÒÁ¤ÇÒÁàËÁÒÐÊÁ
หนวยงานตํารวจยอมมีขอแตกตางกันในการนํารูปแบบของการตํารวจชุมชนมาใช ทั้งนี้ยอมขึ้น
อยูกับวิธีการที่จะใหชุมชนเขามามีสวนรวมในการวางนโยบายและแกไขปญหาชุมชนไดดีท่ีสุด
ตามความเหมาะสม

๑๙

á¹Ç¤´Ô ตําÃǨªÁØ ª¹ã¹μ‹Ò§»ÃÐà·È

สหรัฐอเมริกาไดนําแนวคิดตํารวจชุมชนมาจัดต้ังเปนทีมตาํ รวจ (Team Policing) กลุม
เพื่อนบานเตือนภัย (Neighborhood) การตรวจและหยุดหาขาว (Walk and Talk) การปฏิบัติงาน
ของตาํ รวจชุมชนในสหรัฐอเมริกาดาํ เนนิ การทั้งในระดบั ประเทศ มลรฐั และทอ งถนิ่ ซงึ่ มีตํารวจเมือง
ชิคาโกเปน ตัวอยา งของการนําหลักการตาํ รวจชุมชนมาใชในการควบคมุ อาชญากรรม เพราะเปนเมอื ง
ศูนยก ลางทางการคา โดยแบง พืน้ ทีอ่ อกเปน ๒๕ เขต ตามสถานีตํารวจและมี ๒๘๑ เขตตรวจ แตล ะ
เขตตรวจจะมตี ํารวจประจาํ เขตตรวจ โดยกําหนดแนวทางการปฏิบตั ิงานไว ดังน้ี

๑) การควบคุมอาชญากรรมเนนไปท่ีการปองกันอาชญากรรมและการแกไขปญหาของ
ชมุ ชนและการบงั คับใชกฎหมายอยา งเปน ธรรม โดยตาํ รวจเขาถึงพนื้ ทเี่ กดิ เหตุอยา งรวดเร็ว

๒) ตาํ รวจตองปฏิบัติหนาท่ีประจาํ เขตตรวจอยางตอเน่ืองเพ่ือสรางความคุนเคยกับคน
ในชุมชน

๓) การเขา รว มงานกบั คนในชมุ ชนโดยใหแ ตล ะชมุ ชนตอ งมคี ณะกรรมการทปี่ รกึ ษาประจาํ
ชมุ ชน (Community Advisory Committee) เพ่อื ผลักดนั ใหมกี ารรว มมือกันระหวางตาํ รวจกบั ชมุ ชน
เพ่อื พัฒนาแผนปอ งกนั อาชญากรรมในชุมชน

๔) จดั ทาํ แผนปฏบิ ตั กิ ารระดบั เขตตรวจ และกรอบการทํางานเฉพาะในเขตตรวจเทา นนั้
เพื่อเนนการทํางานรว มกนั ระหวา งตาํ รวจกบั คนในชุมชน

๕) ประสานความรว มมอื กบั หนว ยงานอนื่ ทม่ี งี านทอี่ ยใู นความรบั ผดิ ชอบเพอื่ แกไ ขปญ หา
สภาพแวดลอม เชน กรมตํารวจชิคาโกตองประสานความรวมมือกับหนวยงานของรัฐบาลทองถิ่น
เพ่ือแกไขปญหาทางกายภาพของเมืองลักษณะอ่ืน เชน ปญหาบานท่ีถูกท้ิงราง ไฟฟา ทางเทา
การระบายนา้ํ เปนตน

๖) มีหลักสูตรการฝกอบรมตามหลักปรัชญาและแนวคิดตาํ รวจชุมชน รวมถึงแนวทาง
การแกไ ขปญ หาอาชญากรรมของชุมชน

๗) การวเิ คราะหป ญ หาอาชญากรรมตอ งเกบ็ ขอ มลู เพอ่ื ทําการวเิ คราะหป ญ หาอาชญากรรม
ในชมุ ชน เชน แนวโนมของการเกดิ อาชญากรรม จดุ เสยี่ งภยั แผนทอี่ าชญากรรม เปน ตน เพอื่ นาํ มาใช
วางแผนแกไ ขปญหา และเผยแพรใหหนวยงานอน่ื ทราบ

๘) จัดการประชุมและสัมมนากลุม การสาํ รวจ การสงจดหมายติดตอกับคนในชุมชน
เผยแพรขอมลู ใหประชาชนในชมุ ชนรบั ทราบ

๙) กําหนดใหมกี ารประเมินผลสัมฤทธ์ิของโครงการท่จี ัดทาํ ขึน้ ในชุมชน
๑๐) กําหนดใหม กี ารประชมุ เพอื่ วางแผนปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื พฒั นาใหโ ครงการตา ง ๆ ทจี่ ดั ขน้ึ
ใหมีประสทิ ธภิ าพและสามารถนําไปใชในเขตตรวจอืน่ ทวั่ เมอื งชคิ าโก
โดยสรปุ หลกั การของตํารวจชมุ ชนมวี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื แสวงหาความรว มมอื จากประชาชน
ในชุมชนที่เขามาเปนหุนสวนในการแกไขปญหาของชุมชนโดยผานคณะกรรมการที่ปรึกษาชุมชน

๒๐

ซงึ่ จะมกี ารประชมุ เปน ประจาํ ทกุ เดอื นระหวา งตํารวจกบั คณะกรรมการทปี่ รกึ ษา ผทู อี่ ยอู าศยั ในชมุ ชน
และรวมหารอื กับหนว ยงานราชการในพนื้ ที่ (สณุ ีย กลั ปยะจิตร และคณะ, ๒๕๕๙, น. ๓๑-๓๓)

á¹Ç¤´Ô ตาํ ÃǨªØÁª¹ã¹»ÃÐà·Èä·Â

กิจการตํารวจสมัยใหมของประเทศไทย มีจุดกาํ เนิดในชวงกรุงรัตนโกสินทรตอนตน
ในรชั สมยั ของ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจา อยหู วั รชั กาลท่ี ๔ ไดน าํ รปู แบบกจิ การตาํ รวจของยโุ รป
มาปรับใช จากเดิมเม่ือมีเหตุอาชญากรรมคนรายจ้ีปลน พระมหากษัตริยจะมอบหมายขาราชการ
ใกลชิดพระองคออกไปดําเนินการแกไข หนวยงานตํารวจท่ีตั้งขึ้นมีหนาที่รักษาความสงบเรียบรอย
และปราบปรามจับกุมผูรายในเขตนครบาล หรือกรุงเทพมหานคร เรียกวา กองโปลิสคอนสเตเบิล
ตอมาในหัวเมืองตางจังหวัดมีปญหาโจรผูรายเชนกัน จึงตั้ง กองตํารวจภูธร ขึ้นในป พ.ศ. ๒๔๔๐
หนวยตํารวจท่ีดูแลพ้ืนที่นครบาล หรือกรุงเทพมหานคร และภูธร ที่ดูแลพื้นที่หัวเมืองตางจังหวัด
ในชว งแรกขน้ึ อยกู ารบงั คบั บญั ชาคนละหนว ยงาน และมรี ปู แบบการทํางานตา งกนั กลา วคอื ตํารวจนครบาล
ใชรูปแบบของเซอรโรเบิรต พีล ของอังกฤษเปนรากฐาน สวนตํารวจภูธรใชระบบตาํ รวจของฝร่ังเศส
จนกระทั่งถงึ รชั สมัยของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยหู วั รัชกาลท่ี ๖ ไดรวมกรมพลตระเวน
(นครบาล) เขา กบั กรมตํารวจภธู ร เปน กรมตาํ รวจ เม่อื วนั ที่ ๑๓ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๕๘ โครงสราง
ตาํ รวจในปจ จุบนั จึงเปนวิวัฒนาการทีเ่ กดิ จากการผสมผสานระหวา งตน แบบจากอังกฤษ และฝร่ังเศส

แตเ ดมิ กจิ การตํารวจไทยมหี นา ทห่ี ลกั ในการปราบปรามจบั กมุ โจรผรู า ย ดงั ปรากฏหลกั ฐาน
ตามราชกิจจานุเบกษา ความโดยสรุปวา มีเหตุโจรผูรายกอเหตุสรางความเดือดรอนใหกับประชาชน
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว จึงไดโปรดเกลาฯ ใหต้ังหนวยงานเรียกวา “กองจับผูราย”
โดยมจี างวางเจา กรมปลดั กรม พระตาํ รวจ ในพระบรมมหาราชวงั พระราชวงั บวร และกรมอาสา ๖ เหลา
ตัง้ เปนกองจบั ผูราย จํานวน ๒๐ กอง แยกกันไปจบั กุมผูร าย ในเขตพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร แบง กาํ ลงั
เปน ๔ ฝาย รบั ผดิ ชอบ ๔ พื้นท่ีตามทิศ เหนอื ใต ตะวนั ออก ตะวันตก พน้ื ท่ีละ ๕ กอง ในดา นของ
การปอ งกนั อาชญากรรม ปรากฏหลกั ฐานท่ีถือวา เปนนโยบายของรัฐยุคนัน้ ไดใ หความสาํ คัญกับการ
ปอ งกนั เหตเุ พอ่ื สรา งความสงบเรียบรอยของสังคมไวดว ย ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย วันท่ี ๒๖
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ ในสมยั รชั กาลท่ี ๖ ความตอนหน่ึงวา “การจบั ผรู ายนนั้ จะไมถอื เปนความชอบ
เปนแตนับวาผูนั้นไดกระทาํ การครบถวนแกหนาที่เทานั้น แตจะถือเปนความชอบตอเมื่อไดปกครอง
ปองกันเหตุรายใหชีวิตและทรัพยสินของขาแผนดินในทองที่น้ันอยูเย็นเปนปกติสุขพอสมควร” เปน
คําส่ังของกระทรวงมหาดไทย ทเี่ จาพระยายมราช เสนาบดกี ระทรวงมหาดไทย รบั พระบรมราโชบาย
มาถายทอดใหข า ราชการถือปฏิบตั ิ

ในปจจบุ ัน แนวทางการมีสว นรว มระหวางตาํ รวจกับประชาชน ยงั คงเปน แนวทางสําคัญ
ที่ตํารวจใชในการปฏิบัติหนาท่ี เพ่ือสรางความสงบเรียบรอยใหกับสังคม ดวยเหตุผลท่ีมาของกิจการ
ตาํ รวจในอดีต รวมทั้งอิทธิพลแนวความคิดเร่ืองการมีสวนรวมในโลกยุคประชาธิปไตย สงผลตอ

๒๑

แนวนโยบายขององคกรทัง้ ภาครัฐ และเอกชนอยางแพรหลาย ในสวนของตาํ รวจ ปรากฏแนวคดิ เรื่อง
การมสี ว นรว มของประชาชนอยใู นพระราชบญั ญตั ติ ํารวจแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗ มาตรา ๗ มสี าระสาํ คญั
ตอนหนึ่งบัญญัติไววา ใหสาํ นักงานตาํ รวจแหงชาติสงเสริมใหทองถ่ินและชุมชนมีสวนรวมในกิจการ
ตาํ รวจเพ่ือปองกนั และปราบปรามการกระทาํ ความผิดทางอาญา รกั ษาความสงบเรยี บรอ ย และรกั ษา
ความปลอดภยั ของประชาชนตามความเหมาะสมและความตองการของแตละพืน้ ท่ี

อุบลวรรณ แกว พรหม (๒๕๕๖) ไดศ กึ ษาวิจยั เรอ่ื ง การมีสวนรว มของประชาชนในการ
ปอ งกนั อาชญากรรมตามหลกั ทฤษฎตี ํารวจผรู บั ใชช มุ ชน ศกึ ษากรณชี มุ ชนมสั ยดิ มหานาค เขตปอ มปราบ
ศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร พบวา แนวคิดตํารวจสมัยใหมเช่ือวาตาํ รวจกับประชาชนตองรวม
เปนเน้ือเดียวกันโดยตองรวมมือกันในการควบคุมและปองกันอาชญากรรม ดังน้ัน การปองกันและ
ควบคุมอาชญากรรมเปนหนาท่ีท่ีทุกคนในสังคมตองรับผิดชอบรวมกัน โดยมีแนวคิดเก่ียวกับบทบาท
ของตาํ รวจและชมุ ชนทเ่ี รยี กกนั วา “พนั ธมติ รในเชงิ หนุ สว นกบั ชมุ ชน” คอื ทงั้ สองฝา ยรว มกนั รบั ผดิ ชอบ
ปญ หาอาชญากรรมท่เี กิดขนึ้ ตาํ รวจจึงมีบทบาทในการชว ยเหลือสนบั สนุนในชุมชนเขมแข็ง สามารถ
ดูแลชมุ ชนดวยตนเองใหเ กิดความสงบเรยี บรอยได

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (๒๕๖๐) ไดทําการศึกษาวิจัยในโครงการประเมินประสิทธิภาพ
สถานตี าํ รวจและความเชอ่ื มนั่ ของประชาชนตอ การปฏบิ ตั งิ านของตาํ รวจ พบวา เจา หนา ทต่ี ํารวจยงั ขาด
การใหความรูกับประชาชนขาดการชี้แจงแนวทางการปฏิบัติงานรวมกันระหวางเจาหนาท่ีตํารวจกับ
เครอื ขา ยประชาชน ดงั นน้ั ควรมกี ารสรา งองคค วามรแู ละวางแผนการปฏบิ ตั งิ านรว มกนั รวมถงึ การชแี้ จง
ใหเขาใจถึงอาํ นาจในการปฏิบัติงานรวมกันระหวางเจาหนาที่และเครือขายเพ่ือใหเกิดประสิทธิภาพ
สูงสุดในการปฏิบัติงาน นอกจากนี้ ประชาชนยังขาดการใหความรวมมือกับเจาหนาท่ีตํารวจในการ
ปฏิบตั ิหนา ทีเ่ พ่ือการแกไขปญหาอาชญากรรมในพ้นื ที่ชมุ ชน ซ่ึงปญ หาในชมุ ชน เชน ปญ หายาเสพติด
ปญหาเสียงดังรบกวนจากจักรยานยนตท่ีปรับแตงทอไอเสีย ปญหาอาชญากรรมท่ัวไป เจาหนาท่ี
ตาํ รวจตองหามาตรการเพื่อสรางความรวมมือใหเกิดขึ้นใหประชาชนในชุมชนเกิดความเชื่อม่ันในการ
ปฏบิ ตั งิ านของเจา หนา ท่ี มคี วามเชอ่ื ใจและไวว างใจ การเขา ถงึ ชมุ ชน การพดู คยุ การทาํ กจิ กรรมรว มกนั
เพ่ือสรางความสัมพันธระหวางตาํ รวจชุมชนเขารวมกิจกรรมของชุมชน ส่ิงเหลาน้ีลวนเปนการสราง
ความสัมพันธเพื่อการสรางเครือขายการปองกันอาชญากรรมในชุมชนอยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้น
การสงเสริมใหภาคประชาชนมีสวนรวมกับเจาหนาที่ตํารวจตามแนวทางการปฏิบัติงานชุมชนสัมพันธ
และการมสี ว นรว มของประชาชนในกจิ การตํารวจ โดยการนําตํารวจชมุ ชนสมั พนั ธม าใชใ นการงานตาํ รวจ
ใหประสบผลสาํ เรจ็ ผูบรหิ ารหนวยงานตาํ รวจตองตระหนักวา รูปแบบการทํางานจะตอ งเปลี่ยนแปลง
ไปจากเดิมทั้งในมิติดานโครงสรางการบริหารบุคคล การบังคับบัญชา ตลอดจนการบังคับใชกฎหมาย
เพราะหลกั ปรชั ญาในการทาํ งานเปลยี่ นแปลงไป รูปแบบการทํางานตองสอดคลองกนั

แนวคิดตาํ รวจชุมชนถูกกาํ หนดชื่อท่ีหลากหลายไปตามความเขาใจ ความสนใจ
จุดมุงเนนของผูปฏิบัติงาน กอใหเกิดความสับสนเม่ือจะนาํ แนวทางไปปฏิบัติใหบรรลุผลตามหลักการ

๒๒

ทแ่ี ทจริง อาจเปน เพราะแนวคิดเรื่องตาํ รวจชุมชนเปนเร่อื งละเอยี ดออน มคี วามซบั ซอ น ผูน ําแนวคดิ
ไปปรบั ใช มสี ภาพปญ หาสงั คม อาชญากรรม ทแ่ี ตกตา งกนั จากความหมายของนกั วชิ าการ ผเู ชยี่ วชาญ
ท่ไี ดใหความหมายไวหลากหลาย สามารถสรุปความหมายของ “ตาํ รวจชมุ ชน” ไดว า เปน การทํางาน
ของตาํ รวจโดยยดึ ถอื การมสี ว นรว มจากภาคประชาชนเปน หลกั สาํ คญั ทง้ั ดา นกระบวนการ และผลลพั ธ
ทมี่ ุงเนน การแกไขปญหาใหส อดคลอ งกบั สภาพชมุ ชนท่ีแตกตางกัน มีแนวทางการปฏบิ ตั ิงานทม่ี คี วาม
ยืดหยุนปรับเปล่ียนตามสภาพปญหาภายใตกรอบกฎหมาย โดยวางบทบาทของตํารวจเปนท่ีปรึกษา
มากกวาเปนผูปฏิบัติไปเสียเองทุกเรื่อง สงเสริมใหสมาชิกในชุมชนลงมือปฏิบัติดวยตนเอง เพ่ือสราง
ความปลอดภยั ใหกบั ชมุ ชน โดยใชท รพั ยากรของชมุ ชน ใหต ํารวจเปน ผูช กั นาํ กระตุนใหป ระชาชนรว ม
ลงมอื ทาํ

สํานกั งานตํารวจแหง ชาติ ไดว างแนวทางการทาํ งานตํารวจชมุ ชน เพอ่ื ควบคมุ อาชญากรรม
ไวใ นคมู อื การบรหิ ารงานปอ งกนั ปราบปราม พ.ศ. ๒๕๕๖ กาํ หนดไวว า “ตํารวจมหี นา ทส่ี รา งชมุ ชนเขม แขง็
เพ่ือการปองกันอาชญากรรม” เปนการตอยอดจาก “งานตาํ รวจชุมชนสัมพันธ” จากการแสวงหา
ความรวมมือจากประชาชนมาสู “ความเปนหุนสวน (Partnership)” ระหวางตาํ รวจกับประชาชน
บนฐานคิดท่ีวาความเขมแข็งของชุมชนเปนทางเลือกสาํ คัญของการพัฒนาเนื่องจากการแกปญหา
ท่ีเกิดขึ้นในชุมชนนั้น ไมสามารถกระทําไดเพียงลําพังเฉพาะหนวยงานภาครัฐ ประชาชน หรือชุมชน
เทา นน้ั หากแตท กุ ภาคสว นตอ งเขา มามบี ทบาทในการแกไ ขปญ หารว มกนั โดยเฉพาะการใหค วามสาํ คญั
ตอกระบวนการพัฒนาทีเ่ นนชุมชนเปน ศนู ยก ลาง โดยการเพิม่ ศักยภาพของคน และชมุ ชนใหเ ขม แข็ง
มีความพรอมในการเขาไปมีสวนรวมในการบริหารจัดการกับปญหาทรัพยากรตาง ๆ การดูแลรักษา
สง่ิ แวดลอ ม รวมทง้ั การกําหนดอนาคตของชมุ ชน ความเขม แขง็ ของชมุ ชนจงึ เปน รากฐานสําคญั ทจี่ ะชว ย
ในการสรา งกระบวนการพฒั นาทีย่ ่งั ยืนในอนาคตตอไป (สํานักงานตํารวจแหงชาติ, ๒๕๕๖, น.๑๖๔)

ปจ จบุ นั สํานกั งานตํารวจแหง ชาตใิ นปจ จบุ นั ไดน ําไปปรบั ประยกุ ตข บั เคลอื่ นใหบ งั เกดิ ผล
เปน รปู ธรรมในรปู แบบของการจดั โครงสรา งการทาํ งาน การดําเนนิ โครงการและกจิ กรรมทหี่ ลากหลาย
ตวั อยา งเชน การจดั ตง้ั คณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการบรหิ ารงานตาํ รวจ (กต.ตร.) ตตู าํ รวจประจาํ
ชุมชน การจัดทําแผนปฏิบัติการชุมชนสัมพันธและการมีสวนรวมของประชาชน โครงการอาสาสมัคร
รูปแบบตา ง ๆ อาทิ อาสาสมัครจราจร สมาชิกแจง ขา วอาชญากรรม อาสาสมัครตาํ รวจบา น เปน ตน

ÊÙμÃสําàÃ稢ͧ¡ÒÃตาํ ÃǨªØÁª¹

โรเบิรต โทรจาโนวิคซ (Robert Trojanowicz) และบอนนี่ บัคคีรอคซ (Bonnie
Bucqueroux) ไดอธิบายไววา การตํารวจชุมชนเปนปรัชญาของการตํารวจแนวใหมบนพ้ืนฐาน
ของความเช่ือท่วี า การท่ตี าํ รวจกบั ประชาชนทํางานรวมกนั โดยใชค วามริเรม่ิ สรางสรรค ยอมสามารถ
แกไขปญหาตางๆ ท่ีเก่ียวของกับอาชญากรรม ความรูสึกหวาดกลัวภัยอาชญากรรม ตลอดจน
สภาพการไรระเบียบ/ความเสื่อมโทรมทางสังคมและทางกายภาพในชุมชนตางๆ ได การที่จะบรรลุ

๒๓

วัตถุประสงคดังกลาวหนวยงานตํารวจจะตองเสริมสรางความสัมพันธอันดีกับสุจริตชนท่ีอยูอาศัย
ในชุมชนนั้นๆ โดยเปดโอกาสใหเขามามีสวนรวมแสดงความคิดเห็นเสนอแนะในการจัดลําดับ
ความสําคัญเรงดวนของปญหา และรวมพัฒนาศักยภาพความเปนอยูโดยรวมของชุมชน ซ่ึงเทากับ
เปน การเปลย่ี นปรัชญาในการทํางานจากเดมิ ทใี่ ชมาตรการแกไ ขปญ หาตางๆ ในชุมชน

ปรัชญาการตํารวจชุมชนสามารถสังเกตจากการท่ีหนวยงานตํารวจปรับยุทธศาสตร
ในการทาํ งาน เพื่อนาํ ทฤษฎีการตํารวจผูรับใชชุมชนไปสูการปฏิบัติ อาทิ การกําหนดหนาท่ีการงาน
ของสายตรวจ โดยไมต อ งทาํ งานภายในรถยนตส ายตรวจ ทร่ี อรบั ฟง คําสง่ั ทางวทิ ยตุ ํารวจใหไ ประงบั เหตุ
ตลอดเวลา เพื่อใหสายตรวจมีเวลาทํางานมากขึ้น สามารถสัมผัสกับประชาชนภายในเขตพื้นที่
รับผิดชอบของตนไดโดยตรงอยางใกลชิดสมํ่าเสมอทุกวัน เจาหนาท่ีตํารวจชุมชนท่ีเรียกวา
Community Policing Officer (CPO) ใหมน้ี ปฏิบัติหนาที่เปนผูรอบรูงานท่ัวไป (generalist)
ในฐานะเจาพนักงานซ่ึงมีภาระหนาที่ในการกําหนดแนวทางแกไขปญหาตางๆ ตามความตองการ
ของชุมชน โดยใชปรัชญาการตาํ รวจผูรับใชชุมชน การใหเจาหนาท่ีตํารวจชุมชนมีพ้ืนท่ีรับผิดชอบ
ในการทํางานน้ัน จะทําใหเกิดความรูสึกเปนเจาของพื้นที่ โดยเจาหนาที่ตาํ รวจชุมชนสามารถเขาถึง
รูจกั และสัมผัสโดยตรงอยา งใกลช ิด/สมํ่าเสมอกบั ประชาชนในชมุ ชน อนั จะนําไปสคู วามรสู ึกเชอื่ มั่น/
ไววางใจตอเจาหนาท่ีตาํ รวจชุมชน ซ่ึงมีฐานะเปนผูแทนของหนวยงานตํารวจประจาํ ชุมชนนั้นๆ
มีหนาท่ีประสานงานกับหนวยงานท่ีเกี่ยวของทุกฝายในการแกไขปญหาความเดือดรอนตางๆ
ของชมุ ชน เจาหนาทตี่ าํ รวจชุมชนจะตองรับฟงความคิดเหน็ และรวบรวมขอ เสนอแนะ นาํ มาวิเคราะห
จดั ลาํ ดบั ความสาํ คัญเรง ดว นในการทํางานใหตรงกบั ความตองการของชมุ ชน อนั จะนาํ ไปสูการเขามา
มสี ว นรวมและใหค วามรวมมือในการทํางานของตํารวจ

ดังน้ันการตํารวจผูรับใชชุมชนจึงตองมีการเปลี่ยนปรัชญาและมุมมองในการคิด
เกี่ยวกับภารกิจของหนวยงานตาํ รวจ มุงม่ันที่จะเปลี่ยนแปลงแนวทางการทาํ งานตามปรัชญา
การตาํ รวจผูรับใชชุมชนอยางจริงจัง การตํารวจผูรับใชชุมชนเสนอแนวทางการทํางานใหม ซึ่งเนน
การตาํ รวจภายใตรูปแบบของการกระจายบริการลงสูระดับชุมชน (Decentralized) และถึง
ประชาชนเปน รายบคุ คล (personalized) โดยใหโ อกาสประชาชนทกุ คนไดเ ขา มามบี ทบาทในกระบวน
การทาํ งานของตํารวจ

โรเบิรต โทรจาโนวิคซ (Robert Trojanowicz) และ บอนน่ี บัคคีรอคซ (Bonnie
Bucqueroux) ไดก าํ หนดขอบเขตของยทุ ธศาสตรการตํารวจชมุ ชน โดยใช ÊμÙ Ã ù P ดังตอ ไปนี้

ñ. Philosophy »ÃªÑ ÞÒ¡ÒÃตาํ ÃǨ¼ÃÙŒ ºÑ 㪪Œ ÁØ ª¹ ใหบ รกิ ารแบบเบด็ เสรจ็ ทง้ั ในเชงิ ตงั้ รบั
และเชิงรุก โดยใหชุมชนเขามีสวนรวมในฐานะพันธมิตรในเชิงหุนสวนในกระบวนการระบุปญหา
การจัดลาํ ดับความสําคัญของปญหาตามความตองการของชุมชน และการแกไขปญหาอาชญากรรม
ความหวาดกลัวภัยอาชญากรรม ปญหายาเสพติด สภาพไรระเบียบทางสังคม และสภาพ
ความเส่ือมโทรมทางกายภาพของชุมชน ซึ่งไดรับการยอมรับและการสนับสนุนจากหนวยงานตาํ รวจ
เพ่อื ยึดถอื เปนปรชั ญาในการทาํ งานและยุทธศาสตรใ นการปฏิบัติ

๒๔

ò. Personalized ÃٻẺ¡ÒúÃÔ¡Ò÷èÕμŒÍ§ÊÑÁ¼ÑʡѺ»ÃЪҪ¹à»š¹ÃÒºؤ¤Å
เจาหนาท่ีตาํ รวจชุมชนกับสมาชิกชุมชนรูจักคุนเคยกันอยางใกลชิดสนิทสนม มีการติดตอกัน
อยา งสมา่ํ เสมอ ตอเน่อื ง และจรงิ ใจ สามารถเรยี กช่ือเลนก็ได

ó. Policing Âѧ¤§ÂÖ´ÁÑè¹μ‹Í˹ŒÒ·Õ輌ÙÃÑ¡ÉÒ¡®ËÁÒ ปฏิบัติงานรับแจงเหตุจับกุม
ผูกระทําผดิ และแกไ ขปญ หาชมุ ชนตามมาตรการเชงิ รุก

ô. Patrols ๹Œ ¡ÒÃμÃǨ·ÍŒ §·Õè โดยการเดินหนาใชร ถจกั รยานหรือข่ีมา
õ. Permanent ¡ÒÃÁͺËÁÒÂ˹ŒÒ·èÕãËŒÁÕà¢μ¾×é¹·èÕ¡ÒÃμÃǨÃѺ¼Ô´ªÍº¶ÒÇà มีเวลา
โอกาสและความตอเนอ่ื งในการเขา ถึง สรา งความคุนเคยและพัฒนาพันธมติ รในเชิงหุน สวนกับชุมชน
ö. Place ÊÌҧ¤ÇÒÁÃŒÊ٠֡໚¹à¨ŒÒ¢Í§¾é¹× ·¢èÕ Í§à¨ÒŒ ˹ŒÒ·ตèÕ ําÃǨªØÁª¹ โดยมบี ทบาท
เปน “หวั หนา ตาํ รวจประจาํ เขตพนื้ ทก่ี ารตรวจทรี่ บั ผดิ ชอบ” (mini-chief) ผบู งั คบั บญั ชาตํารวจจะตอ ง
ใจกวา ง ไวว างใจเจา หนา ทตี่ าํ รวจชมุ ชน ใหอ าํ นาจในการพจิ ารณารปู แบบการใหบ รกิ ารตามความตอ งการ
และสภาพปญหาของชุมชนน้ันๆ โดยผูบังคับบัญชาเปล่ียนบทบาทเปนโคช (coach) คอยช้ีแนะ
สงเสริม และสนบั สนนุ
÷. Proactive ์¹ÁÒμáÒÃàªÔ§ÃØ¡ เพื่อแกไขและปองกันปญหาท่ีจะเกิดขึ้นควบคู
ไปกับมาตรการเชงิ ตง้ั รับในการระงบั เหตดุ วนเหตุรายตางๆ
ø. Partnership ¡ÒÃÊÌҧ¾Ñ¹¸ÁÔμÃã¹àªÔ§ËŒØ¹Ê‹Ç¹ÃÐËÇ‹Ò§ตําÃǨ¡ÑºªØÁª¹ ตางฝาย
ตา งยอมรบั นับถือ และใหก ารสนบั สนนุ ตอ กนั
ù. Problem Solving á¹Ç·Ò§¡ÒÃá¡Œ»˜ÞËÒ โดยคํานึงถึงผลลัพธเชิงคุณภาพ
ซง่ึ หมายถึง »Þ˜ ËÒ ไดร ับการแกไขมากกวา ʶÔμμÔ ÑÇàÅ¢

ËÅ¡Ñ ¡ÒÃตาํ ÃǨ¼ÙÃŒ Ѻ㪌ªÁØ ª¹ ñð »ÃСÒÃ

โรเบิรต โทรจาโนวิคซ (Robert Trojanowicz) และ บอนน่ี บัคคีรอคซ (Bonnie
Bucqueroux) ไดว าง ËÅÑ¡¡ÒâͧตําÃǨ¼ÃÙŒ ºÑ 㪌ªØÁª¹äÇŒ ñð »ÃСÒà คือ

ñ. »ÃªÑ ÞÒáÅÐÂ·Ø ¸ÈÒÊμÃ͏ §¤¡ à (Philosophy and Organizational Strategy)
การตํารวจผูรับใชชุมชนเปนทั้งปรัชญา (วิธีการคิด) และยุทธศาสตรขององคกร

(วิธีการนําปรัชญาไปสูการปฏิบัติ) ซึ่งเปดโอกาสใหตาํ รวจชุมชนทาํ งานรวมกันอยางใกลชิดในวิถีทาง
ใหมๆ เพ่ือแกไขปญหาอาชญากรรม ยาเสพติดใหโทษ ความหวาดกลัวภัยอาชญากรรม
สภาพไรร ะเบยี บทางสงั คมและทางกายภาพ ความเสอื่ มโทรมของชมุ ชนทอ่ี ยอู าศยั รวมทง้ั คณุ ภาพชวี ติ
โดยรวมในชุมชน ปรัชญาการตาํ รวจผูรับใชชุมชนน้ีตั้งอยูบนพ้ืนฐานความเชื่อท่ีวา ตราบใด
ทต่ี าํ รวจไมย อมรบั ฟง เสยี งของประชาชนในกระบวนการกําหนดนโยบายตาํ รวจ ประชาชนกจ็ ะไมเ ขา มา
มีสวนรวมและใหการสนับสนุนในงานของตาํ รวจ การทํางานรวมกันของตาํ รวจกับชุมชนใหไดผล
จะตองศึกษาสาํ รวจแนวทางสรางสรรคใหมๆ ในการแกไขปญหาท่ีสอดคลองกับความตองการ
ของชมุ ชน มใิ ชเ พียงเพ่ือคลค่ี ลายคดรี ายหนง่ึ รายใดเทา นนั้

๒๕

ò. ¡ÒÃãËอŒ ํา¹Ò¨¡ºÑ ªØÁª¹ (Commitment to Community Empowerment)
ยุทธศาสตรการตํารวจผูรับใชชุมชน เริ่มตนดวยการสรางความเขาใจกับทุกฝาย

ภายในหนวยงานตํารวจ ทั้งเจาหนาท่ีตํารวจในสายปฏิบัติการและสายธุรการ ใหรวมแรงรวมใจกัน
ยดึ มนั่ และนาํ ปรชั ญาการตาํ รวจผรู บั ใชช มุ ชนไปใชใ นการปฏบิ ตั งิ านอยา งจรงิ จงั โดยจะตอ งมอบอาํ นาจ
การตัดสินใจใหกับเจาหนาท่ีตํารวจระดับปฏิบัติการ ซึ่งเทากับเปนการใหความไววางใจในการใช
วิจารณญาณของผูปฏิบัติงาน เน่ืองจากประชาชนผูอยูอาศัยในชุมชนทุกคน มีฐานะเปน “พันธมิตร
ในเชิงหุนสวน” (full-fledged partners) กับตํารวจ ยอมจะตองมีสิทธิและหนาท่ีความรับผิดชอบ
ตอการเขามามีสวนรวมในกระบวนการพิจารณา วิเคราะหสภาพปญหา การจัดลําดับความสําคัญ
เรงดว นของปญหา และวางแนวทางแกไ ขปญหาชุมชน

ó. ¡ÒÃตาํ ÃǨÀÒÂãμÃŒ »Ù Ẻ¢Í§¡ÒáÃШÒÂºÃ¡Ô ÒÃŧÊË٠дºÑ ªÁØ ª¹áÅж§Ö »ÃЪҪ¹
໚¹ÃÒº¤Ø ¤Å (Decentralized and Personalized Policing)

การนําหลักการตํารวจผูรับใชชุมชนไปสูการปฏิบัติอยางจริงจัง หนวยงานตํารวจ
จะตอ งสรา งและพฒั นาตํารวจสายพันธุใหม เรยี กวา “เจา หนาท่ีตํารวจชมุ ชน” ปฏบิ ตั หิ นา ท่ีเช่ือมโยง
และประสานงานโดยตรงระหวางตาํ รวจกับประชาชนในชุมชน ในฐานะตัวแทนของหนวยงานตาํ รวจ
ชุมชน เจาหนาที่ตาํ รวจชุมชนจึงตองตัดขาดจากภาระหนาท่ีสายตรวจในการรับแจงเหตุตามสั่งการ
จากศูนยวิทยุตํารวจ เพื่อใหสามารถสัมผัสกับประชาชนไดอยางใกลชิดเปนรายบุคคลอยางสมํ่าเสมอ
โดยไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบเขตพื้นที่ปฏิบัติการที่แนนอนชัดเจน ซึ่งในทายท่ีสุดแลวเจาหนาที่
ตํารวจควรยดึ ถือปฏบิ ตั ิตามหลกั การตํารวจผูร ับใชชมุ ชนกันทกุ คน

ô. ¡ÒÃá¡äŒ ¢»Þ˜ ËÒàª§Ô Ã¡Ø ·§Ñé ã¹ÃÐÂÐʹéÑ áÅÐÃÐÂÐÂÒÇ (Immediate and Long-Term
Proactive Solving)

เจาหนาท่ีตํารวจชุมชนมีบทบาทในการติดตอกับสุจริตชนในชุมชนอยางตอเน่ือง
และย่ังยืน เพ่ือใหสามารถศึกษา/สํารวจแนวทางแกไขปญหาชุมชนในเชิงสรางสรรค โดยประชาชน
มีบทบาทเปนผูสนับสนุนและอาสาสมัครในฐานะผูบังคับใชกฎหมาย เจาหนาที่ตํารวจชุมชน
ยังคงปฏิบัติหนาท่ีใหบริการและจับกุมผูกระทําผิดตอกฎหมายบานเมืองไดตามปกติ แตสามารถ
ดําเนินความพยายามท่ีจะแกไขปญหาท้ังในระยะส้ันและระยะยาวดวยการประสานงาน
กบั หนว ยงานภาครฐั และภาคเอกชนที่เก่ียวของใหเขา มาดาํ เนินการชว ยเหลอื

õ. ¨ÃÃÂÒºÃó ¹μÔ Ô¸ÃÃÁ ¤ÇÒÁÃºÑ ¼Ô´ªÍº áÅФÇÒÁäÇÇŒ ҧ㨠(Ethics, Legality,
Responsibility, and Trust)

การตํารวจผูรับใชชุมชนถือเปนขอตกลงรวมกันระหวางตํารวจกับประชาชน
เพ่ือสัมพันธภาพในรูปแบบใหมบนพ้ืนฐานแหงความเชื่อถือและความไววางใจที่แตละฝายมีตอกัน
ซ่ึงตามรูปแบบสัมพันธภาพใหมน้ีตํารวจมีบทบาทเปน “ตัวเรง” (Catalyst) คอยกระตุนเรงเรา
เชิญชวนใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการแบงเบาภาระหนาท่ี คงความรับผิดชอบตอคุณภาพชีวิต

๒๖

ในชุมชนของตนเองโดยรวมมากขึ้น การที่ประชาชนเพิ่มบทบาทในการแกไขปญหาเล็กๆ นอยๆ
ดวยตนเองมากข้ึน ยอมเปดโอกาสใหตํารวจมีเวลาทํางานรวมกับชุมชนในการวางแนวทางแกไข
ปญหาความเดือดรอ นทั้งในระยะสั้นและระยะยาวเพมิ่ มากข้ึน

ö. ¢ÂÒ¢ͺà¢μอํา¹Ò¨Ë¹ŒÒ·Õè¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍº¢Í§ตําÃǨãËŒ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§¢Öé¹
(Expanding the Police Mandate)

การตํารวจผูรับใชชุมชนเพ่ิมบทบาทในการปฏิบัติงานเชิงรุกควบคูไปกับการปฏิบัติ
ภารกิจปกติแบบดั้งเดิมในเชิงตั้งรับ เพื่อสามารถใหบริการประชาชนไดอยางครบถวนสมบูรณแบบ
กลาวคือ ตํารวจมีฐานะเปนหนวยงานควบคูกติกาสังคมเพียงหนวยงานเดียวท่ีเปดทําการทุกวัน
ตลอด ๒๔ ชั่วโมง โดยไมมีวันหยุด จึงตองรักษาขีดความสามารถในการเผชิญสถานการณฉุกเฉิน
วิกฤติการณและเหตุรายตางๆ รวมท้ังอาชญากรรมความรุนแรงทุกประเภทไดอยางทันทวงที
ไวใหไดมาตรฐานอยูเสมอ ซึ่งตํารวจยังคงตองดําเนินมาตรการในเชิงต้ังรับอยูตลอดเวลา การตํารวจ
ผูรับใชชุมชนเพ่ิมบทบาทอํานาจหนาท่ีความรับผิดชอบของตํารวจใหกวางขวางข้ึน เพื่อใหเกิด
การเปล่ียนแปลงข้ึนทันทีทันใดและสงผลกระทบในวงกวาง โดยมุงม่ันปรารถนาท่ีจะทําใหชุมชน
มคี วามมน่ั คง ปลอดภยั ความสงบสขุ และมบี รรยากาศทีน่ าอยอู าศัยมากขึน้ ในอนาคตใหจ งได

÷. ãˤŒ ÇÒÁªÇ‹ ÂàËÅÍ× ¡ÅÁ‹Ø à»Ò‡ ËÁÒ¾àÔ ÈÉ (Helping Those with Special Needs)
การตํารวจผูรับใชชุมชนเนนการสํารวจแนวทางใหมๆ ในการใหความคุมครอง

ชวยเหลือและสนับสนุนกลุมเปาหมายพิเศษท่ีมีความออนแอ อาทิ เด็กและเยาวชน ผูสูงอายุ
ชนกลุมนอย คนยากจน คนพิการ และคนจรจัด เปนตน ซึ่งสอดคลองกับแนวทางปฏิบัติของงาน
ปอ งกนั อาชญากรรมและงานตํารวจชมุ ชนสมั พันธทีม่ ีอยเู ดิม และขยายผลการปฏิบตั ใิ หกวางขวางขนึ้
ท้งั น้ีเพอื่ เปนการเขาถงึ ประชาชนทุกหมูเ หลา อยางเสมอหนากัน

ø. ¤ÇÒÁÃàÔ ÃÁÔè ÊÃÒŒ §ÊÃäᏠÅÐáçʹºÑ ʹ¹Ø ¨Ò¡à¨ÒŒ ˹Ҍ ·¼èÕ »ŒÙ ¯ºÔ μÑ §Ô Ò¹ (Grass-Roots
Creativity and Support)

การตํารวจผูรับใชชุมชนสงเสริมและสนับสนุนการนําวิทยาการและเทคโนโลยี
กาวหนามาใชในกิจการตํารวจอยางเหมาะสม แตยังคงมีความเชื่ออยูเสมอวา ไมมีสิ่งใดเหนือกวา
การรวมแรงรวมใจกันทํางานเปนทีม ซ่ึงจะนําไปสูผลสําเร็จของงาน โดยผูบังคับบัญชาจะตองให
ความไววางใจตอตัวเจาหนาที่ตํารวจชุมชนผูปฏิบัติหนาท่ีอยูในแนวหนาบนทองถนนซ่ึงสัมผัส
ใกลชิดกับปญหาความเดือดรอนของประชาชนมากที่สุด ดวยความเช่ือม่ันในการใชดุลยพินิจ
วิจารณญาณ ไหวพริบ ปฏิภาณ และประสบการณ ประกอบกับการสรางสรรคหนทางใหมๆ
เพ่อื ตอบสนองตามความตอ งการชมุ ชน

ù. ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ÀÒÂã¹Ë¹Ç‹ §ҹตําÃǨ (Internal Change)
การตํารวจผูรับใชชุมชนจะตองกําหนดเปนแนวทางปฏิบัติท่ีสอดประสานสัมพันธ

กบั ทกุ ฝา ยภายในหนว ยงานตาํ รวจอยา งเตม็ รปู แบบ โดยกาํ หนดหนา ทก่ี ารงานของเจา หนา ทตี่ าํ รวจชมุ ชน

๒๗

ใหเปนผูรอบรูงานท่ัวไป (Generalist) มีหนาที่คอยเชื่อมโยงและประสานงานระหวางตํารวจกับ
ประชาชนผูใชบริการ โดยใหการสนับสนุนเกี่ยวกับขอมูลและผลวิเคราะหเก่ียวกับสถานภาพ
ท่ัวไปและปญหาความเดือดรอนในชุมชนกับเจาหนาที่ฝายอ่ืนๆ ภายในหนวยงานตํารวจ และ
แสวงหาความรวมมือและแรงสนับสนุนจากชุมชนในงานดําเนินการตามวัตถุประสงคของ
หนว ยงานตาํ รวจโดยรวม เมอื่ ไดย อมรบั ปรชั ญาการตาํ รวจผรู บั ใชช มุ ชนไวเ ปน ยทุ ธศาสตรร ะยะยาวของ
หนวยงานตํารวจแลว เจาหนาทตี่ าํ รวจทุกคนควรยึดถอื ปฏิบตั ติ ามแนวทางใหมน ้ี ซึ่งอาจใชเ วลานาน
ประมาณ ๑๐-๑๕ ป

ñð. ¡ÒÃÇÒ§ÃÒ¡°Ò¹à¾Íè× Í¹Ò¤μ (Building for the Future)
การตํารวจผูรับใชชุมชน กําหนดแนวทางการใหบริการประชาชนโดยกระจายลงสู

ระดับชมุ ชน (decentralized) และสมั ผัสกับประชาชนเปนรายบคุ คล (personalized) โดยยอมรบั วา
ตราบใดท่ีตํารวจยังคงเหินหางกับชุมชน ยอมไมอาจที่จะเขาไปจัดระเบียบในชุมชนนั้นๆ
ใหเรียบรอยไดสําเร็จ ซึ่งจะตองปรับทัศนคติใหประชาชนเขาใจเสียใหมวา ตํารวจคือแหลงที่พ่ึงพิง
ซ่ึงประชาชนสามารถใชบริการและขอรับความชวยเหลือตางๆ ได ในยามทุกขรอน เพ่ือแกไขปญหา
ความเดอื ดรอ นของชมุ ชน การตาํ รวจผรู บั ใชช มุ ชนจงึ มใิ ชย ทุ ธวธิ ตี าํ รวจทจี่ ะนาํ มาใชเ พยี งชว่ั ครง้ั ชว่ั คราว
แลว ละทงิ้ ไปแบบไฟไหมฟ าง แตเ ปน ปรชั ญาในการทาํ งานแนวใหมแ ละยทุ ธศาสตรข องหนว ยงานตาํ รวจ
ท่ีคอนขางยืดหยุนและสามารถปรับใหสอดคลองกับความตองการและลําดับความเรงดวนของชุมชน
ทเ่ี ปลีย่ นแปลงอยเู สมอๆ

ÊûØ

ปรชั ญาการตาํ รวจชมุ ชนเปน ปรชั ญาในการทาํ งานแนวใหมบ นพนื้ ฐานของความเชอื่ ทวี่ า
การท่ีตํารวจกับชุมชนสราง “พันธมิตรในเชิงหุนสวน (Partnerships)” ในการทํางานรวมกันดวย
ความไววางใจตอกัน (trust) โดยใชความคิดริเร่ิมสรางสรรคใหมๆ ยอมสามารถแกไขปญหา
อาชญากรรมตางๆ รวมทั้งความรูสึกหวาดกลัวภัยอาชญากรรม สภาพความไรระเบียบ/
ความเสอื่ มโทรมทางสงั คมและทางกายภาพในชุมชน

¡Ô¨¡ÃÃÁ·ÒŒ º·

ใหนักเรียนอธิบายหลักการสําคัญของการตํารวจชุมชนวามีสวนรวมปองกันปญหา
อาชญากรรมที่จะเกิดข้นึ ไดอยา งไร

๒๙

º··Õè ó

ËÅÑ¡¡ÒÃÁÊÕ Ç‹ ¹ÃÇ‹ ÁáÅСÒÃºÃ¡Ô ÒÃ

ÇÑμ¶»Ø ÃÐʧ¤

เพ่ือใหนักเรียนทราบเก่ียวกับหลักการสรางการมีสวนรวมของประชาชนและลักษณะ
ของการบริการท่ดี ี ตลอดจนการปฏิบัติตอประชาชนในรปู แบบตางๆ

ËÅÑ¡¡ÒÃÁÊÕ Ç‹ ¹Ã‹ÇÁ¢Í§»ÃЪҪ¹

การมีสวนรวมของประชาชน ถือเปนหลักการสากลที่อารยประเทศใหความสําคัญ
และเปนประเด็นหลักท่ีสังคมไทยใหความสนใจเพื่อพัฒนาการเมืองเขาสูระบอบประชาธิปไตยแบบมี
สวนรวมตามหลักธรรมาภิบาลท่ีภาครัฐจะตองเปดโอกาสใหประชาชนและผูเก่ียวของทุกภาคสวนรับรู
รวมคิด รวมตัดสินใจ เพ่ือสรางความโปรงใสและเพิ่มคุณภาพการตัดสินใจของภาครัฐใหดีข้ึน
และเปน ทยี่ อมรับรวมกนั ของทุกๆ ฝาย

ËÅÑ¡¡ÒÃÊÌҧ¡ÒÃÁÕʋǹËÇÁ¢Í§»ÃЪҪ¹ หมายถึง การเปดโอกาสใหประชาชน
และผทู เี่ กยี่ วขอ งทกุ ภาคสว นของสงั คมไดเ ขา มามสี ว นรว มกบั ภาคราชการนนั้ International Association
for Public Participation ไดแ บงระดับของการสรางการมสี วนรวมของประชาชนเปน ๕ ระดบั ดังนี้

ñ. ¡ÒÃãËŒ¢ŒÍÁÙÅ¢‹ÒÇÊÒà ถือเปนการมีสวนรวมของประชาชนในระดับตํ่าท่ีสุด แตเปน
ระดับที่สําคัญท่ีสุด เพราะเปนกาวแรกของการที่ภาคราชการจะเปดโอกาสใหประชาชนเขาสู
กระบวนการมีสวนรวมในเร่ืองตางๆ วิธีการใหขอมูลสามารถใชชองทางตางๆ เชน เอกสารสิ่งพิมพ
การเผยแพรขอมูลขาวสารผานทางส่ือตางๆ การจัดนิทรรศการ จดหมายขาว การจัดงานแถลงขาว
การติดประกาศและการใหข อมลู ผานเว็บไซต เปน ตน

ò. ¡ÒÃÃѺ¿˜§¤ÇÒÁ¤Ô´àËç¹ เปนกระบวนการท่ีเปดใหประชาชนมีสวนรวมในการ
ใหขอมูลขอเท็จจริงและความคิดเห็นเพ่ือประกอบการตัดสินใจของหนวยงานภาครัฐดวยวิธีตางๆ
เชน การรับฟงความคิดเห็น การสํารวจความคิดเห็น การจัดเวทีสาธารณะ การแสดงความคิดเห็น
ผา นเว็บไซต เปน ตน

ó. ¡ÒÃà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§ เปนการเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมในการปฏิบัติงาน
หรือรวมเสนอแนะทางที่นําไปสูการตัดสินใจ เพ่ือสรางความมั่นใจใหประชาชนวาขอมูลความคิดเห็น
และความตองการของประชาชนจะถูกนําไปพิจารณาเปนทางเลือกในการบริหารงานของภาครัฐ เชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือพิจารณาประเด็นนโยบายสาธารณะ ประชาพิจารณ การจัดต้ัง
คณะทาํ งานเพอ่ื เสนอแนะประเดน็ นโยบาย เปน ตน

๓๐

ô. ¤ÇÒÁËÇÁÁ×Í เปนการใหกลุมประชาชน ผูแทนภาคสาธารณะมีสวนรวม โดยเปน
หุนสวนกับภาครัฐในทุกข้ันตอนของการตัดสินใจ และมีการดําเนินกิจกรรมรวมกันอยางตอเนื่อง
เชน คณะกรรมการทีฝ่ ายประชาชนรว มเปน กรรมการ เปน ตน

õ. ¡ÒÃàÊÃÔÁอํา¹Ò¨á¡‹»ÃЪҪ¹ เปนขั้นที่ใหบทบาทประชาชนในระดับสูงท่ีสุด
โดยใหประชาชนเปนผูตัดสินใจ เชน การลงประชามติในประเด็นสาธารณะตางๆ โครงการ
กองทุนหมบู านที่มอบอาํ นาจใหประชาชนเปน ผตู ัดสนิ ใจทงั้ หมด เปนตน

การสรางการมีสวนรวมของประชาชนอาจทําไดหลายระดับและหลายวิธี ซ่ึงบางวิธี
สามารถทาํ ไดอ ยา งงา ยๆ แตบ างวธิ กี ต็ อ งใชเ วลา ขนึ้ อยกู บั ความตอ งการเขา มามสี ว นรว มของประชาชน
คาใชจายและความจําเปนในการเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวม การมีสวนรวม
ของประชาชนเปนเรื่องละเอียดออน จึงตองมีการพัฒนาความรูความเขาใจในการใหขอมูลขาวสารที่
ถูกตองแกประชาชน การรับฟงความคิดเห็น การเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวม รวมทั้ง
พัฒนาทักษะและศกั ยภาพของขา ราชการทกุ ระดับควบคูกันไปดว ย

จากหลักการและความจําเปนดังกลาวทําใหการพัฒนาระบบราชการท่ีผานมาไดรับ
การพัฒนากระบวนการบริหารราชการท่ีสนับสนุนการปรับกระบวนการทํางานของสวนราชการ
ท่เี ปดโอกาสใหป ระชาชนเขา มามสี ว นรว มมากข้ึนหรอื ทเี่ รยี กวา “¡ÒúÃÔËÒÃÃÒª¡ÒÃẺÁÕʋǹÃÇ‹ Á”

ในสวนภาคราชการ การสงเสริมการบริหารราชการแบบมีสวนรวมถือไดวาเปนเง่ือนไข
และเปนกุญแจดอกสําคัญของความสําเร็จของการพัฒนาระบบราชการใหสามารถตอบสนอง
ความตองการของประชาชนและเอื้อตอประโยชนสุขของประชาชน เพราะกระบวนการมีสวนรวม
เปนปจจัยสําคัญที่สนับสนุนและสงเสริมใหระบบราชการมีพลังในการพัฒนาประเทศอยางสรางสรรค
อันเปน เปา หมายหลกั ของการพัฒนาราชการยุคใหมทีเ่ ปนราชการระบบเปด

การมีสวนรวมในการดําเนินงานของภาคราชการท่ีมาจากทุกภาคสวนของสังคม
โดยเฉพาะอยางยิ่งประชาชนผูมีสวนไดสวนเสียและชุมชนทองถิ่นจะชวยทําใหเจาหนาที่ของรัฐ
มีความใกลชิดกับประชาชนไดรบั ทราบความตองการและปญ หาท่แี ทจรงิ ลดความขัดแยงและตอตาน
ท้ังยังเปนการสรางสังคมแหงการเรียนรูที่เสริมสรางใหประชาชน รวมคิด รวมตัดสินใจในประเด็น
สาธารณะ ซ่งึ เปน บทบาทที่หนวยงานภาคราชการจะตอ งดาํ เนินการใหเกดิ ข้นึ

อยางไรกต็ าม การบรหิ ารราชการแบบมสี วนรว มทเ่ี ปด โอกาสใหประชาชนและเครือขา ย
ภาคประชาสังคมทุกภาคสวนเขามาเปนหุนสวนจะประสบความสําเร็จหรือไมน้ันขึ้นอยูกับหนวยงาน
ราชการตางๆ จะสนับสนุนใหเกิดการมีสวนรวมของประชาชนมากนอยเพียงใด รวมท้ังตองอาศัย
กระบวนการความรวมมือและการมีสวนรวมของทุกฝายในสังคมที่เปนพันธมิตรของภาคราชการ
ซ่ึงถึงเวลาแลวที่ภาคราชการจะตองรวมมือกันเปดระบบราชการใหประชาชนมีสวนรวม เพ่ือทําให
เกิดการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี เกิดการแบงสรรทรัพยากรอยางยุติธรรม และลดความขัดแยง
ในสังคม และที่สําคัญท่ีสุดคือการสรางกลไกของการพัฒนาระบบราชการท่ียั่งยืน เพื่อประโยชนสุข
ของประชาชนนัน่ เอง

๓๑

ËÅ¡Ñ ¡ÒÃãËŒºÃÔ¡ÒÃ

¡ÒúÃÔ¡Òà คือ การใหความชวยเหลือหรือการดําเนินการเพื่อประโยชนของผูมาติดตอ
หรือรับบริการจะตองมีหลักยึดถือปฏิบัติ มิใชวาการใหความชวยเหลือหรือการทําประโยชน
ตอ ผูมาใชบ รกิ ารจะเปน ไปตามใจของผใู หบริการ โดยทัว่ ไปหลักการใหบ ริการมีขอควรคาํ นึง ดังนี้

๑. สอดคลอ งตรงตามความตองการของผูรบั บรกิ าร
๒. ทําใหผูรับบริการเกิดความพอใจ
๓. ปฏิบตั โิ ดยถกู ตอ งสมบูรณค รบถวน
๔. เหมาะสมแกสถานการณ
๕. ไมก อผลเสยี หายแกบคุ คลอ่ืนๆ
Å¡Ñ É³Ð¢Í§¡ÒúÃÔ¡Ò÷è´Õ Õ
๑. ประชาชนตอ งมากอนเสมอ หมายถงึ คาํ นึงถึงประชาชนกอนสงิ่ อนื่ ใด
๒. ประชาชนถูกเสมอ ไมวาประชาชนจะพูดจะทําอยางไรตองไมโตแยงเพ่ือยืนยันวา
ประชาชนผิด
๓. ใหบ ริการดวยความยม้ิ แยมแจมใส เพ่อื ใหป ระชาชนรูส ึกอบอุนสบายใจ
การใหบ รกิ ารเปน การกระทาํ ของบคุ คลซงึ่ มบี คุ ลกิ ภาพ อปุ นสิ ยั และอารมณแ ตกตา งกนั ไป
ในแตละบุคคลและแตละสถานการณ จึงมีการประพฤติปฏิบัติท่ีหลากหลายออกไป การบริการท่ีดี
อนั เปนท่ยี อมรบั กันท่วั ไป มีดงั นี้
๑. ทําดวยความเต็มใจ
๒. ทําดว ยความรวดเร็ว
๓. ทาํ ถูกตอ ง
๔. ทําอยา งเทาเทยี มกัน
๕. ทําใหเ กิดความชน่ื ใจ
ÁÒμðҹ¡ÒúÃÔ¡ÒÃ
ñ. ¡ÒÃãËŒ¤ÇÒÁʹ㨠คือ การตอนรับอยางอบอุน การใหเกียรติประชาชน การให
ความสาํ คัญ ฟง ประชาชนพดู และสบนยั นตาดวย
ò. ¡ÒÃãËŒ¤ÇÒÁãʋ㨠คือ การเอาใจใสในการใหบริการอยางเทาเทียม ไมแสดงออก
อยา งเหนอื่ ยหนายเยน็ ชา และติดตามเร่ืองของประชาชนจนสําเรจ็
ó. ¡ÒÃºÃ¡Ô ÒÃÍÂÒ‹ §μ§Ñé 㨠คอื การมน่ั ใจในความถกู ตอ งสมบรู ณ การจดั บรกิ ารใหต รงเวลา
และบริการใหประชาชนรสู ึกคมุ คา

๓๒

ô. ¡ÒúÃÔ¡ÒÃÍ‹ҧàμçÁ㨠คือ การสรางความเชื่อมั่นแกประชาชนวาจะเปนบริการ
ทีไ่ ดร ับประโยชนสูงสุด และตอ งใหค วามรวมมือในการตอบสนองความตอ งการ

õ. ¡ÒúÃÔ¡ÒÃÍ‹ҧ¨Ãԧ㨠คือ การแสดงออกถึงบริการที่นาเชื่อถือ เชื่อใจได
มีความรบั ผิดชอบ และใหบรกิ ารอยางซ่ือตรงและเปน ธรรม

ö. ¡ÒúÃÔ¡ÒÃÍ‹ҧࢌÒ㨠คือ มีความรูในการใหบริการอยางแทจริง มุงถึงบริการ
ทีม่ ีคุณภาพสูง และตองใหบริการอยางถกู ตอ ง

÷. ¡ÒúÃÔ¡ÒÃÍ‹ҧÃٌ㨠คือ ตองสนองความตองการของประชาชนไดถูกตอง
และดําเนินการอยางรวดเรว็

ø. ¡ÒúÃÔ¡ÒÃÍ‹ҧÁÕ¹éíÒ㨠คือ การใหความชวยเหลืออยางเอ้ืออาทร ใหคําแนะนํา
อยางถูกตองและเปน ประโยชน เพอ่ื ใหประชาชนรสู กึ ผอนคลายและอบอนุ ใจ

¤³Ø ÊÁºμÑ Ô¾¹é× °Ò¹¢Í§¼ãŒÙ ˺Œ Ã¡Ô ÒÃ
๑. มีความรักในการบรกิ าร
๒. มีความรบั ผิดชอบในหนา ท่ี
๓. มคี วามซื่อสัตยและซ่อื ตรง
๔. มคี วามสามารถควบคุมตนเองได
๕. มีความคดิ ริเรมิ่ สรางสรรค
๖. มคี วามมานะพยายามจะทาํ แตส งิ่ ทด่ี มี ีคุณประโยชน
๗. มีจติ ใจมั่นคงไมร วนเร
๘. มีความมุงมั่น เรยี นรสู ิ่งใหมที่ใหประโยชนตอ ผอู ่นื
๙. มคี วามชา งสังเกต
๑๐. มวี ิจารณญาณไตรต รองรอบคอบ
๑๑. มีความสามารถวเิ คราะหปญ หาและหาทางแกไ ข
๑๒.มกี ารพจิ ารณาใครครวญ
à·¤¹Ô¤¡ÒÃãËŒºÃ¡Ô ÒÃ
- เทคนิคการใหบรกิ าร โดยเฉพาะอยา งยิ่งการสนทนาเพราะการสนทนาเปน ส่ือกลาง
ระหวา งผูร ับบรกิ ารกับผูใหบ รกิ าร การสนทนาใหผ รู ับบริการเกดิ ความประทับใจมีวิธกี ารงายๆ ดงั นี้

๑. สรา งความเปนกันเอง เพ่ือใหผ รู ับบริการเกิดความอนุ ใจ แสดงความเปนมติ ร
โดยอาจแสดงออกทางสีหนา แววตา กิริยาทาทาง หรือน้ําเสียงที่สุภาพ มีหางเสียง อาทิเชน
ขอประทานโทษครับ (คะ) มีอะไรใหผม (ดิฉัน) ชวยประสานงานไดบางครับ (คะ) กรุณารอสักครู
นะครับ (คะ ) เปน ตน การพูดจาตองชดั เจน งายตอการเขาใจ และไมเรว็ หรือรัวจนผูร บั บริการไมรเู ร่อื ง

๒. เนน การฟง เปนหลกั คือ ผใู หบริการควรตง้ั ใจฟง ดว ยความอดทน ขณะท่ผี ูรับ
บรกิ ารพดู ไมค วรแสดงอาการทีไ่ มพ อใจออกมา สบตากับผูร ับบรกิ ารเปนระยะพรอมกริ ิยาตอบรบั

๓๓

๓. ทวนคําพดู เพ่อื แสดงใหผูร ับบริการทราบวาผูใหบริการกําลังตงั้ ใจฟงในเร่อื งท่ี
ผรู ับบรกิ ารพูดอยู

นอกจากน้ีผใู หบ รกิ ารควรจดั เตรยี มตนเองในดา นตา งๆ คือ
·Ò§¡Ò ตองดูแลสุขภาพรางกายใหแข็งแรงสดชื่นดวยอาการกระปรี้กระเปรา
ไมงว งเหงาหาวนอน เซอ่ื งซมึ มลี ักษณะทะมัดทะแมง กระฉบั กระเฉง กระชมุ กระชวย หนา ตาสดใส
หวผี มเรยี บรอย ไมปลอ ยผมรงุ รัง หรอื หวั ยุงเปนกระเซิง การแตง กายเรียบรอย ย้มิ ไหว หรอื ทกั ทาย
เหมาะสม กิริยาสุภาพ เปนคุณสมบัติขั้นพ้ืนฐาน นอกจากน้ันตองวางตัวเปนมิตร เปดเผย จริงใจ
สนองความตองการของผูรับบริการอยา งกระตือรือรน แสดงความเต็มใจทจ่ี ะใหบ ริการ
·Ò§ÇÒ¨Ò ตอ งใชถ อยคําชวนฟง นา้ํ เสยี งไพเราะ ชดั เจน พูดมีหางเสยี ง มคี าํ ขานรับ
เหมาะสม กลาวตอนรับและสอบถามวาจะใหชวยบริการอยางไร พูดแตนอยฟงใหมาก ไมพูดแทรก
ไมก ลา วคาํ ตําหนิ อาจพูดทวนยํ้าส่ิงที่มีผมู าติดตอ ตองการใหเขาฟงเพ่อื ความเขา ใจตรงกนั

¡Òû¯ºÔ ÑμμÔ ‹Í»ÃЪҪ¹

ประชาชนทมี่ าตดิ ตอ กบั หนว ยงานของรฐั มพี ฤตกิ รรมเปน บวกและเปน ลบ ความจรงิ
ประชาชนหรือผูมาตดิ ตอ กบั เรากม็ คี วามหลากหลาย มที งั้ คนนารกั นา นับถือ นา ใหบ ริการ ไปจนถงึ
คนที่ไมอยากจะติดตอสัมพันธดวย แตเราตองถือวาคนจํานวนมากก็ตองมีลักษณะอุปนิสัยใจคอ
แตกตางกันไป จะใหทุกคนเปนเหมือนใจเราทุกคนยอมไมได หากจะนึกทบทวนใหดีก็จะพบวา
คนสวนใหญเปนคนดีนาคบ เพราะมิเชนนั้นเราคงจะอยูในโลกน้ีไมไดหรือคงจะตองมีชีวิต
อยางนาเวทนา จงใกลชิดกับประชาชนและจงเรียนรูลักษณะการบริการท่ีดีจากประชาชน พฤติกรรม
ที่เปนธรรมชาติของคนทั่วไป รวมทั้งตัวเราเองคือความตองการบริการท่ีสะดวก รวดเร็ว ถูกตอง
สมบูรณ ซง่ึ จะมีพฤตกิ รรมแสดงออกในลกั ษณะเรงรอ น และตองการใหทกุ คนเอาอกเอาใจ พฤติกรรม
ที่เปนดานลบของประชาชน ก็ไดแก จุกจิก จูจี้ ข้ีบน และบริการอยางไมดี อาจพูดไมสุภาพ
หรือเอะอะโวยวาย เปนตน ไมวาประชาชนจะมีพฤติกรรมอยางไร เราไมมีทางเลือกเปนอยางอื่น
นอกจากรบั ฟงและพูดดวยอยา งสุภาพและหาทางสรางความรสู กึ ที่ดีตอ ประชาชนเสมอ

เราเองก็เคยอยูในฐานะประชาชนผูไปรับบริการ จึงควรถามใจตัวเองวา เม่ือเราเปน
ประชาชนผูไปรับบริการเราตองการอะไร อยางไร มากนอยเทาใด ดังนั้นประชาชนของเรา
เขาก็เปนคนเชนเดียวกับเรา ยอมมีความตองการบริการไปทุกสิ่งทุกอยางหลากหลายรูปแบบ
มากมายไมมีขีดจาํ กดั

๓๔

á¹Ç·Ò§»¯ÔºμÑ μÔ Í‹ »ÃЪҪ¹¼ŒÙ«Ö§è ÁÕ¾ÄμÔ¡ÃÃÁμ‹Ò§æ
พฤตกิ รรมของประชาชนทเี่ ปน ปญ หา หากจะพจิ ารณาโดยรวมกจ็ ะพบการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ
และการแสดงออกดงั ตอไปน้ี
๑) กริ ยิ ากาวรา ว ขมขู
๒) แสดงทาทางใหญโต อวดศกั ดา
๓) วาจากราว พูดอวดดี
๔) พดู บน วา จูจีจ้ กุ จกิ ไมรจู บ
๕) พูดประชดประชนั เปรียบเทียบเสยี ดสี
๖) จิตใจมงุ แตป ระโยชนของตนฝา ยเดียว
๗) ใชอ ารมณอยูเหนอื เหตุผลไมฟ งคําชแ้ี จง
เราไมควรต้ังอคติตอประชาชนวา เขาเปนประชาชนประเภทใด เพราะจะทําใหเราตั้งแง
กับประชาชนไวต้ังแตตน ท้ังอาจประเมินเขาเร็วไปหรือประเมินผิดก็ได แตหากลองหยิบยก
พฤติกรรมของประชาชนเพื่อพิจารณาแนวทางกําหนดวิธีปฏิบัติตอเขาเหลานั้น ก็จะเปนประโยชน
ในการปรบั ใชกบั ลักษณะอ่ืนๆ ดงั นี้

๓๕

¾ÄμÔ¡ÃÃÁ¢Í§»ÃЪҪ¹ á¹Ç·Ò§»¯ºÔ ÑμμÔ ‹Í»ÃЪҪ¹

๑. ไมฟ งใคร คิดอยา งไรฝงใจอยางนั้น ไดขอมลู - ฟงเขาพดู
มาผดิ ๆ กย็ นื กระตา ยขาเดยี ว ไมร บั ฟง เหตผุ ล - ถามเขาบา ง แตอ ยา ซกั เขาวา ไดข อ มลู มาจากใคร
ที่ช้ีแจง - ใหเ ขาแสดงออกอยางเต็มท่ี
- ชแ้ี จงแกเ ขาเพยี งสนั้ ๆ
ปลอยเขาพดู อยา ขัด
๒. ตทิ กุ สงิ่ ทกุ อยา งทจี่ ะสรรหามาติ ตสิ ารพดั อยา ง - แยงเขาบาง แตไ มพูดขดั คอ
ทั้งสินคา ราคา บริการ - บอกจุดเดนของสนิ คาและบริการใหเหน็ ชัด
- พยายามชวนเขาไปพดู ในที่ไมมีคน
ปลอยใหเขาบนตามสบาย
๓. จจู ี้ ขบี้ น พดู เสยี งดงั วางทา ใชก ริ ยิ าไมส ภุ าพ - อยาสนใจกริ ิยาทา ทางของเขา
เห็นผูใหบรกิ ารตํา่ ตอยกวา ตน - จับความใหไ ดวาเขาตอ งการอะไร
- สนองตอบตามควร
- ฟง เงยี บ
- ปลอยใหค ุยใหพ อ
ใหความเหน็ ทว่ั ๆ ไป
๔. ชอบคยุ เรอื่ งความราํ่ รวย และการกลา ใชจ า ย - อยาผสมโรง หรือซกั ถามใดๆ
อยางไร ไมก ลัวสิ้นเปลือง - ช้ีแจงเรอ่ื งเทา ท่จี าํ เปน
- ฟง อยา งสงบ
- แสดงทา ทเี ห็นอกเห็นใจ
- นาํ สนิ คา มาพจิ ารณาเปรยี บเทยี บขอ แตกตา ง
ออ นนอ มใหเขาสมใจอยาก
๕. โกรธท่สี นิ คา ไมตรงตามตัวอยาง กลาวหาวา - ยกยอ งใหความสาํ คญั กบั ตําแหนงเขา
หลอกลวงตบตา - ถามความเปน มาของเขาในบางเรือ่ ง
- ใชค วามอดทนตอเขาเปน พิเศษ
ดาํ เนินการใหเ สรจ็ โดยเรว็
๖. แสดงทา ทางวางมาดเปน ผมู บี ญุ หนกั ศกั ดใ์ิ หญ - พยายามหลกี เลยี่ งการโตแ ยง
วางทา จะขอพดู กบั เจา นายเทา นน้ั ไมส นใจฟง - ฟง เขาพูดแตอ ยา ใสใ จในนํา้ เสียง
คาํ อธบิ าย คิดวา รหู มดทกุ อยาง - ช้แี จงเหตผุ ลอยางสน้ั ๆ
- ไมพ ดู ตอปากตอ คาํ กับเขา
-

๗. อารมณเสยี โกรธใครมาจากไหน ก็มาลงคน -
ซ่ึงไมร ูอีโหนอเี หน พูดเกรีย้ วกราดฉุนเฉียว -
-
-

๓๖

¾ÄμÔ¡ÃÃÁ¢Í§»ÃЪҪ¹ á¹Ç·Ò§»¯ÔºÑμÔμÍ‹ »ÃЪҪ¹

๘. เลนหเู ลนตา พูดจาแทะโลม ทําเปนสนใจ - ทาํ สีหนาปกติ ไมยิ้มไมบ ึ้ง
สินคา แตไมมีทที า จะซ้ือสินคา เดินหนา - พดู ดว ยเฉพาะเรอ่ื งทเี่ กยี่ วกบั สนิ คา และบรกิ าร
เก้ียวพาราสที า เดียว - โตตอบอยูใ นเรือ่ งธรุ กจิ
- ไมใสใจคาํ พูดทนี่ อกเหนอื จากงาน
- เรียกใหผ ูอ่ืนมารว มอธบิ ายสินคา ดวย
- ถา จาํ เปน เชิญพบหัวหนา
ปรับตัวปรบั ใจใหวอ งไวกับเขา
๙. มีอาการรบี รอ น ตองการใหบรกิ ารอยาง - บอกวาจะตอ งทาํ อะไรบา ง ใชเวลาเทาใด
ทนั อกทันใจ รออะไรไมเ ปน ขี้รําคาญ - ไมควรซกั ถามอะไรเขามาก
- ดําเนินการอยางกระฉับกระเฉงรวดเรว็
- ใหรายละเอียดตามท่เี ขาตอ งการ
ใจเยน็ ๆ อยาเรงเรา เขานกั
๑๐. สภุ าพ พดู ชา ๆ ทที า สขุ มุ ซกั ถามเปน ระยะๆ - ระวงั การแสดงสหี นา เบอื่ หนา ยความเชอื่ งชา ของเขา
พูดไมร ูจบ - ชว ยสรปุ ใหเ ขา แตอ ยา พดู ตดั บทจนเขารสู กึ วา
- เราเรงรัด
- รบั ฟง เพราะเปน ธรรมชาตขิ องการตอรอง
อธบิ ายคณุ สมบตั ขิ องสนิ คา ใหป ระชาชนเขา ใจ
๑๑. ชอบติสินคา - เสนอจุดขายทีส่ ินคาเรามี
- ปลอยใหประชาชนพดู ไปกอน
- สิง่ ทีพ่ ดู ถูกตอ งยกยอ งประชาชน
สง่ิ ทีพ่ ดู ไมถกู ตองชีแ้ จงแนะนําเพมิ่ เตมิ
๑๒. คยุ วารเู รื่องตัวสินคามากกวา พนกั งาน - ขอใหเ ขารอสักครู
- นาํ ผูท่พี ูดภาษาเดียวกบั เขามาพบ
- ฝกฝนตนเองใหใชภาษาอังกฤษซึ่งเปนภาษา
สากลใหได
๑๓. ชาวตางประเทศพูดไทยไมไดห รอื พดู ไมช ดั - สง เสริมใหเ ขาบอกเลา ไปอยางกวางขวาง
- ขอบคณุ ทเ่ี ขาชวยแนะนาํ ประชาชนเพม่ิ
- อยา ใสใ จมากนกั เพราะคนเรานสิ ยั สนั ดานไมเ หมอื นกนั
ทาํ ใจเยน็ เหมอื นไมเ ขา ใจทา ทีของเขา
๑๔. พอใจสนิ คา และเลา ใหป ระชาชนคนอนื่ ๆ ฟง -
-

๑๕. ดถู กู พนกั งานผใู หบรกิ ารวา ตํา่ ตอ ย -
-

๓๗

¾Äμ¡Ô ÃÃÁ¢Í§»ÃЪҪ¹ - á¹Ç·Ò§»¯ÔºÑμμÔ ‹Í»ÃЪҪ¹
๑๖. ซกั ถามแบบอวดรทู ้งั ๆ ทร่ี ูไมจริง -
- ไมถอื เปนสาระ ไมพดู ปด
ขอใหซ้อื กใ็ ชไ ด
๑๗. กินเหลาเมามาพูดจาเสียงดงั ติวารุนนไ้ี มดี - รบั ฟง ปลอ ยใหพ ดู กอ นแลว อธบิ ายคณุ สมบตั ิ
รนุ นี้ไมสวย - ทถี่ กู ตองแกป ระชาชนทีหลัง
อยา พยายามอธบิ ายอะไรกับคนเมา
๑๘. ตองการสทิ ธิพเิ ศษมากกวาผูอื่น - พยายามหลกี เลยี่ งการปะทะคารมเพราะอาจนาํ
ไปสกู ารวิวาท
อธบิ ายนโยบายของบรษิ ทั ทกี่ าํ หนดหลกั การไว
เพ่ือเปน กรอบหรอื แนวทางปฏบิ ตั ิ

โดยสรุปจะเห็นไดวา การใหความสําคัญกับการใหบริการน้ันมีความสําคัญมาก
ซงึ่ สว นหนงึ่ ตอ งไดร บั ความรว มมอื จากผรู บั บรกิ าร และผใู หบ รกิ ารตอ งเปน บคุ คลทมี่ ใี จในการใหบ รกิ าร
เปนสําคัญ ซ่ึงทุกองคกรไมสามารถหลีกเล่ียงการใหบริการได ดังนั้นผูใหบริการพึงระลึกไวเสมอวา
ตนคือพนักงานผูใหบริการในทุกๆ ดาน ไมวาจะใหขอมูลขาวสาร การประชาสัมพันธ การตอนรับ
บุคคลทั้งภายในและภายนอก รวมถึงผูมาติดตอทุกประเภท เปนตน ตองเขาใจและตระหนักถึง
ความสําคัญของการใหบริการเพ่ือสรางภาพลักษณที่ดีและความประทับใจกับผูรับบริการทุกคน
และทายสุด ผูใหบริการเปนกลไกสําคัญท่ีสุดท่ีจะตองพัฒนาบุคลิกภาพและทัศนคติที่ดี โดยเฉพาะ
การมจี ิตสาํ นกึ ในการรกั การใหบริการ เพ่ือการพฒั นาองคกรอยา งสมบรู ณแ บบ

๓๘

ÊûØ

การมีสวนรวมในการดําเนินงานของภาคราชการที่มาจากทุกภาคสวนของสังคม
โดยเฉพาะอยางย่ิงประชาชนผูมีสวนไดสวนเสียและชุมชนทองถ่ิน จะชวยทําใหเจาหนาที่ของรัฐ
มีความใกลชิดกับประชาชนไดรบั ทราบความตองการและปญหาท่ีแทจ ริง ลดความขดั แยงและตอตาน
ท้ังยังเปนการสรางสังคมแหงการเรียนรูท่ีเสริมสรางใหประชาชน รวมคิด รวมตัดสินใจในประเด็น
สาธารณะ ซ่ึงเปนบทบาททีห่ นวยงานภาคราชการจะตองดาํ เนินการใหเกิดขึน้

อยา งไรก็ตาม การบริหารราชการแบบมสี ว นรว มท่ีเปด โอกาสใหป ระชาชนและเครือขา ย
ภาคประชาชน สังคมทุกภาคสวนเขามาเปนหุนสวน จะประสบความสําเร็จหรือไมนั้น ขึ้นอยูกับ
หนวยงานราชการตางๆ จะสนับสนุนใหเกิดการมีสวนรวมของประชาชนมากนอยเพียงใด รวมทั้ง
ตองอาศัยกระบวนการความรวมมือและการมีสวนรวมของทุกฝายในสังคมที่เปนพันธมิตรของภาค
ราชการ ซึ่งถึงเวลาแลวที่ภาคราชการจะตองรวมมือกันเปดระบบราชการใหประชาชนมีสวนรวม
เพอื่ ทาํ ใหเ กดิ การบรหิ ารกจิ การบา นเมอื งทดี่ ี เกดิ การแบง สรรทรพั ยากรอยา งยตุ ธิ รรม และลดความขดั แยง
ในสังคม และท่ีสําคัญที่สุดคือการสรางกลไกของการพัฒนาระบบราชการท่ีย่ังยืน เพ่ือประโยชนสุข
ของประชาชนน่ันเอง

¡Ô¨¡ÃÃÁ·ŒÒº·

ใหนักเรียนอธิบายการใหบริการที่ดี ท่ีทําใหประชาชนผูรับบริการจะไดรับความพึงพอใจ
อยา งสงู สดุ ควรจะตอ งทําอยา งไรบา ง

º··èÕ ô

ËÅ¡Ñ ¡ÒÃáÅÐà·¤¹¤Ô ¡ÒÃÊÃÒŒ §Á¹ÉØ ÂÊÁÑ ¾Ñ¹¸

ÇÑμ¶»Ø ÃÐʧ¤

เพ่ือใหนักเรียนทราบถึงวิธีการสรางมนุษยสัมพันธในการอยูรวมกัน หลักท่ัวไป
ของมนษุ ยสมั พนั ธ เทคนคิ การสรา งมนุษยสัมพนั ธ และขอเสนอแนะในการสรางมนุษยสมั พันธ

แนวคิดในการสรางสัมพันธภาพในการทํางาน เปนแนวทางในการสรางความผูกพัน
กับสมาชิกเพ่ือใหเกิดความรวมมือ สงผลใหการทํางานมีประสิทธิภาพและสามารถทํางานรวมกัน
ไดอยางมีความสุข ซ่ึงในการทํางานกลุมจะมีบทบาทผูนําและผูตาม ดังน้ันจึงตองมีการปรับตัว
เพื่อการมีสมั พนั ธภาพที่ดตี อ กนั และเพ่อื ใหง านบรรลวุ ตั ถุประสงคไดท ้ังผลงานและนํ้าใจ

Ç¸Ô ÕÊÃÒŒ §Á¹ÉØ ÂÊÑÁ¾Ñ¹¸ã ¹¡ÒÃÍ‹ÙËÇÁ¡¹Ñ

การสรางมนุษยสัมพันธในการอยูรวมกัน หมายถึง การสรางมนุษยสัมพันธกับคนท่ีเรา
ตอ งอยูรว มกันนานๆ ใกลช ิดสนทิ สนมกนั เชน อยหู อพัก อยใู นทท่ี าํ งาน เปน ตน พอจะสรปุ ไดดังน้ี

๑. สรางความเปนกันเอง ถาหากเราเปนกันเองกับบุคคลอื่น เขาก็จะมีความรูสึก
เปนกนั เองดว ย และจะอยรู วมกนั ทํางานดว ยกันดว ยความสบายใจ เพราะเขาจะมีทศั นคติทีด่ ีตอ เรา
เขามคี วามมัน่ ใจที่จะพดู คยุ ขอรอ ง หรือขอความชว ยเหลือจากเรา

๒. พูดจาดวยความสุภาพออนโยน การพูดจาสุภาพออนโยนจะทําใหผูอื่นสบายใจ
คําพูดท่ีควรใชไดแกคําวา กรุณา ไดโปรด ขอบคุณ เสียใจ นอกจากน้ียังควรใชคําตําหนิอยางสุภาพ
เชน “ใครๆ เขาก็อาจจะทําผดิ แบบนี้” หรือ “ผมกเ็ คยทําผิดแบบนเ้ี หมอื นกัน”

๓. แสดงความราเริงแจมใส มีชีวิตชีวา การที่เราแสดงความราเริงแจมใสทําใหคนท่ี
อยูใกลหรือคนที่พบเห็นเกิดความสบายใจ เราจึงเปนคนท่ีมีเสนห การแสดงความราเริงแจมใส
ทาํ ไดด ังนี้ คอื

๓.๑ ย้ิมเมอ่ื พบปะกบั ผอู ื่นหรอื หัวเราะเม่อื มีเรอื่ งแปลกๆ ขําขนั
๓.๒ รอ งเพลงหรือฮมั เพลงเบาๆ ขณะทํางาน
๓.๓ มอี ารมณข ัน มองเร่อื งใหญเ ปน เรอื่ งเลก็ บางครงั้ ก็เลา เร่อื งขําขนั ใหเ พ่ือนฟง
๓.๔ แสดงความยินดที ีจ่ ะทําส่ิงตา งๆ ไมทําหนา บงึ้ ตึง หรือบน จนนา รําคาญ
๓.๕ พรอ มท่จี ะย้มิ รบั ปญหา และแกปญหาอยา งอารมณเ ยน็
๓.๖ มองโลกในแงด ี ไมว พิ ากษว จิ ารณค นอนื่ ในแงล บ และไมท ะเลาะววิ าทกบั ผอู นื่
๔. ไมเอาเปรียบผูท่ีอยูดวยกันจนเกินไป การอยูรวมกันอยางมีความสุขตองไม
เอาเปรียบซึ่งกันและกัน รูจักรับและใหในอัตราสวนท่ีใกลเคียงกัน เชน การรวมรับประทานอาหาร
ดว ยกนั ในที่ทํางานหรือในหอพัก ถาเพ่ือนนําอาหารมา ๒ อยาง เราอาจจะซอื้ มาเพิม่ เตมิ ๑-๒ อยา ง

๔๐

หรือเพอื่ นเคยซ้ือขนมมาใหเ รารบั ประทาน ๒ คร้งั แลว คร้งั ที่ ๓ ควรซ้ือมาใหเพื่อนบา ง หรือถา ไมม ี
โอกาสจะเลีย้ งตอบแทน จะตองหาโอกาสอ่นื ใหได การอยูด ว ยกันและใชข องรวมกนั หรอื รับประทาน
อาหารดวยกนั ควรใชวธิ แี บงกนั จาย คือใชจํานวนคนหารแบงคา ใชจายจะชว ยทาํ ใหทกุ คนสบายใจ

๕. แสดงน้าํ ใจดว ยการใหค วามชวยเหลือกันโดยไมต องขอรอง
๖. ดแู ลเอาใจใสยามเพอื่ นเจ็บไขไ ดปวย
๗. เปน ทปี่ รบั ทกุ ขข องเพอื่ นได คอื จะตอ งเปน ทไี่ วว างใจ เกบ็ ความลบั แสดงความเหน็ ใจ
ไมดหู ม่นิ เหยยี ดหยาม หรอื เยาะเยย ความผิดพลาดของเพือ่ น
๘. เมอื่ ทําผดิ ตองยอมรับผิด และพรอมที่จะแกไข
๙. มีความอดทนตอ ความบกพรอ งของเพื่อนบางอยา ง เชน อยกู ับเพื่อนที่ขบ้ี น
๑๐. แสดงความจริงใจตอกัน ไววางใจซึ่งกันและกัน เมื่อมีเรื่องเดือดรอนหรือเปนเร่ือง
สวนตัวก็ตองเปดเผยและไววางใจที่จะเลาใหฟง และเมื่ออีกฝายรับฟงจะตองเห็นใจอยางจริงใจ
และเก็บความลบั ของเพอ่ื นเอาไว

ËÅÑ¡·ÇÑè 仢ͧÁ¹ÉØ ÂÊÑÁ¾¹Ñ ¸

๑. มองโลกในแงดี การมองโลกในแงดีจะชวยใหเกิดความสบายใจและสุขภาพจิตจะดี
ซึง่ พฤตกิ รรมท่ีแสดงออกก็จะดีไปดว ย

๒. รูจักวิเคราะหตนเอง เพื่อจะไดเขาใจตนเอง ซ่ึงจะนําไปสูการพัฒนาตนเอง
และรจู กั วิเคราะหผูอ ่นื เพือ่ จะไดเขา ใจและรูจกั พวกเขาไดดขี ึน้

๓. รูจักใชหลกั จิตวิทยาเปน พ้นื ฐานในการทาํ งานรวมกบั บุคคลอน่ื

๔๑

๔. พยายามหาวิธีการในการปรับตวั ปรับใจใหเขากับสภาพการณตางๆ
๕. ไมต กเปน ทาสของอารมณของตนและรจู กั อดกลนั้ ในอารมณข องผอู น่ื
๖. ปรับปรุงบุคลิกภาพของตนใหเหมาะสมกับบทบาทและสภาพท่ีตนเองดํารงอยู
และสามารถแสดงบทบาทไดเ หมาะสมกับสถานภาพและสถานการณน ั้นๆ
๗. พยายามสรางแรงจูงใจ เพอ่ื ผลกั ดนั ใหใ ชความสามารถในการทาํ งานอยางเตม็ ที่
๘. ใชก ารย้มิ ใหเ ปน ประโยชนในการพบปะบุคคลและตองมคี วามออ นนอมถอ มตน
๙. ควรจําช่อื บุคคลใหแมน โดยเฉพาะชอ่ื เลน
๑๐. มคี วามพรอมทีจ่ ะบรกิ ารผูอ่นื อยูเสมอ
๑๑. รจู กั เอาใจเขามาใสใจเรา
๑๒.รับฟง ความคิดเหน็ ของผอู ่นื
๑๓.แสดงความเปน กนั เองและความจรงิ ใจ
๑๔.สามารถเปน ผูนาํ หรือผูตามไดต ามสถานการณ
๑๕.ศกึ ษาคน ควาความรูใหมๆ ใหทันกับเหตกุ ารณที่เปล่ยี นแปลง

ËÅ¡Ñ ¡ÒÃÊÃÒŒ §Á¹ÉØ ÂÊÁÑ ¾¹Ñ ¸

การศกึ ษาเรือ่ งหลกั การสรางมนุษยสัมพันธ มีหลกั การสรางมนุษยสมั พันธ ๑๐ ขอ คือ
๑. บุคคลยอมมีความแตกตางกัน (Individual difference) บุคคลโดยท่ัวไปนั้น
ถา พจิ ารณาอยา งผวิ เผนิ แลว จะเหน็ วา เหมอื นๆ กนั แตแ ทจ รงิ แลว บคุ คลแตล ะคนมลี กั ษณะพเิ ศษเฉพาะตวั
(Uniqueness) แตละคนยอมแตกตางไปจากบุคคลอ่ืน ไมวาจะเปนทางดานสิ่งแวดลอม พันธุกรรม
สตปิ ญญา อารมณ เจตคติ คา นยิ ม อดุ มคติ วฒั นธรรม ความคิด ความเชอ่ื นิสยั ใจคอ วินยั จรรยา
การศกึ ษาท่ีมีมาตลอดชีวิต หรือกระบวนการเรยี นรทู างสังคม (Socialization Process) สถานภาพ
ทางสังคมหรือเศรษฐกิจก็ตาม เปนเหตุผลทําใหบุคคลแตกตางกันทั้งสิ้น จะหาบุคคลท่ีเหมือนกัน
ทกุ กระเบียดนว้ิ สกั คหู นึ่งก็ไมมี แมแ ตล ูกแฝดก็ตามที มนุษยมคี วามแตกตางกัน (Man is different)
ยากทจี่ ะเขาถึงจิตใจของคนทกุ คนไดเ พราะนานาจิตตงั “จติ มนุษยนี้ไซร ยากแทห ยง่ั ถงึ ”
๒. การพจิ ารณาศกึ ษาบคุ คลตอ งดทู ง้ั หมดในฐานะทเี่ ปน บคุ คลหนง่ึ (A whole person)
ในการสรา งความสมั พนั ธก บั บคุ คลหนง่ึ บคุ คลใดนน้ั เราตอ งพงึ ระลกึ เสมอวา เราไดเ ขา มามคี วามสมั พนั ธ
เกย่ี วขอ งกบั บคุ คลนนั้ ทง้ั คน เรามไิ ดเ ลอื กตดิ ตอ สมั พนั ธก บั เรอื่ งหนง่ึ เรอ่ื งใด หรอื ลกั ษณะหนงึ่ ลกั ษณะใด
ของเขา น่ันก็คือบุคคลไมสามารถจะแบงแยกเร่ืองความรูของเขาออกจากความสามารถของเขาได
หรอื แยกความรอู อกจากทักษะของเขาได
๓. พฤตกิ รรมของบคุ คลนนั้ ตอ งมสี าเหตุ (Cauced behavior) บคุ คลอาจไดร บั การจงู ใจ
(Motivated) เหตนุ เ้ี ราจงึ จาํ เปน ตอ งเรยี นรถู งึ สาเหตขุ องพฤตกิ รรม อนั ไดแ ก เรอื่ งความตอ งการทงั้ ทาง
รางกายและจิตใจของบุคคล การท่ีบุคคลจะไดรับการจูงใจใหทาํ งาน เขาจะตองสรางพฤติกรรมขึ้น

๔๒

เพอื่ ตอบสนองความตอ งการของเขาดว ยความคดิ ของเขาเอง มใิ ชส รา งพฤตกิ รรมตามความคดิ ของผอู น่ื
ดังน้ันฝายบริหารจึงควรจูงใจบุคคลดวยการทาํ ใหเขาเห็นวาการกระทําแบบน้ันหรือพฤติกรรมน้ันๆ
จะเปนหนทางทาํ ใหความตองการของเขาไดรับการตอบสนองมากข้ึนหรือจะเปนหนทางท่ีหลีกเลี่ยง
การทจ่ี ะทาํ ใหก ารตอบสนองความตอ งการนน้ั ลดนอ ยลง พลงั ของผบู งั คบั บญั ชาทจี่ ะจงู ใจจะมปี ระสทิ ธผิ ล
กต็ อ เมอื่ ผปู ฏบิ ตั งิ านเหน็ วา ฝา ยผบู งั คบั บญั ชาสามารถควบคมุ วธิ กี ารทจี่ ะไดร บั การสนองความตอ งการ
ไดจ รงิ เรือ่ งของการจงู ใจนีเ้ ปน เรื่องทง่ี า ยและยากในเวลาเดียวกัน งา ยในแงข องแนวความคิด แตท วา
ยากในแงข องการปฏิบัติ

๔. ศักดิ์ศรขี องความเปน มนษุ ย (Human dignity) เปนเรื่องท่เี ก่ยี วของกบั ทางปรชั ญา
มากกวา เร่ืองทางวิทยาศาสตร มนษุ ยนบั เปนสัตวประเสริฐทม่ี คี วามคิด มีสมอง มีความรผู ดิ ชอบช่วั ดี
มีวัฒนธรรม มีสามัญสํานึก เปนสิ่งที่อยูเหนือสรรพสัตวทั้งหลาย ดังนั้นการติดตอสัมพันธกับมนุษย
ดวยกันจึงตองปฏิบัติตอกันดวยความเคารพและตระหนักในศักด์ิศรีของความเปนมนุษยของเขา
ไมวาเขาจะเปนใคร มีสถานภาพหรือฐานะอยางไร เขาก็เปนมนุษยเหมือนกับเรา ซ่ึงตางก็มีลักษณะ
พิเศษเฉพาะตัวของแตล ะคน

๕. การติดตอส่ือสาร (Communications) ไดแก การศึกษาวิธีการติดตอส่ือสาร
เพอ่ื ทาํ ใหเ กดิ ความสัมพันธอันดใี นกลุมใหกลมุ ไดมีความเห็นสอดคลองกนั และมีความเขาใจตรงกัน

การส่ือสารเปนสิ่งสําคัญท่ีสุดในองคการ เปนกระบวนการถายทอดขาวสาร
และความคดิ การเขา ใจทาํ ใหพ ฤตกิ รรมของกลมุ รวมกนั เขา ไปเปน หนงึ่ เดยี ว และยงั เปน พน้ื ฐานสาํ หรบั
การรวมมือกันของกลุม ถาไมมีการสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพธุรกิจก็ไมอาจดําเนินไปได ผูจัดการ
ไมส ามารถจงู ใจคนงาน ถา คนงานไมส ามารถสอื่ สารกบั ฝา ยโรงงานได เขาจะไมส ามารถทาํ งานไดอ ยา ง
ถูกตอง ไมมที างท่มี นุษยสัมพันธในองคก ารนั้นบังเกิดความพอใจได

๖. ความรับผิดชอบ (Responsibility) พื้นฐานความรับผิดชอบในงานองคการก็คือ
การทําใหง านสาํ เร็จโดยความพยายามรวมกันของผรู วมงาน

๗. การเอาใจเขามาใสใจเรา (Empathy) คือ ความสามารถท่ีจะทําตัวของเขาใหรูสึก
เหมือนอยูในสภาพของผูอื่น และรูสึกเห็นใจตอทัศนะการจูงใจของคน (Empathy is the ability
to put yourself in someone else’s place, and to feel sympathy for that person’s motives
and point of view) การขาดการเอาใจเขามาใสใจเราเปนสาเหตุแรกของการขัดแยงในองคการ
การเอาใจเขามาใสใ จเราเปน คณุ สมบตั สิ ําคญั ของผไู กลเ กลยี่ ความแตกรา วของการขดั แยง กนั ทางแรงงาน
การเหน็ ใจหรอื เขา ใจความตอ งการของผอู นื่ (Empathization) การรจู กั เอาใจเขามาใสใ จเราตอ งศกึ ษา
ความแตกตา งของแตล ะบคุ คลและตระหนกั ถึงปญหาของแตละคนซงึ่ ไมเหมือนกนั

๘. ผลประโยชนซ งึ่ กนั และกนั (Mutual interest) หมายถงึ ผลประโยชนข องคนทท่ี าํ งาน
ในองคการกับผลประโยชนขององคการน้ันๆ ซึ่งการที่คนจะเขาไปทํางานในองคการใด หรือการที่
องคการใดจะรับคนเขาไปทํางานน้ัน ก็ข้ึนอยูกับความรูสึกหรือความเช่ือวาตนจะไดประโยชนจากอีก
ฝา ยหนงึ่

๔๓

๙. การพัฒนาศักยภาพของตน (Self Development) ไดแก การศึกษาพัฒนาตนเอง
ตามศกั ยภาพใหด ที สี่ ดุ ทง้ั ทางรา งกาย จติ ใจ และบคุ ลกิ ภาพ เพอื่ ใหต นเปน สมาชกิ ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพของ
สงั คมและเปนประโยชนตอผอู นื่ และสงั คมโดยสวนรวม รวมทง้ั การดาํ รงชวี ติ อยา งสนั ติสขุ ของตนเอง

๑๐. การเรยี นรคู วามรบั ผดิ ชอบ (Responsibility) ไดแ ก การเรยี นรคู วามรบั ผดิ ชอบตาม
หนา ทที่ ไี่ ดร บั มอบหมายในการปฏบิ ตั งิ านในการทาํ งานรวมกนั เพอื่ ใหง านนน้ั บรรลเุ ปา หมายอยา งดที ส่ี ดุ

à·¤¹¤Ô ¡ÒÃÊÌҧÁ¹ÉØ ÂÊÁÑ ¾Ñ¹¸

เทคนคิ การสรา งมนษุ ยสมั พนั ธ หมายถงึ กลวธิ ใี นการตดิ ตอ สมั พนั ธเ พอื่ สรา งความประทบั ใจ
ใหเกดิ แกค นท่ัวไปในสังคม ซึ่งอาจจะประมวลไดดังน้ี

๑. ยิม้ แยม แจม ใส แมว าบคุ คลท่เี ราย้ิมดวยเขาจะไมยนิ ดียนิ รา ย กจ็ ะพยายามตอไป
๒. พยายามศึกษาบุคคลอื่นใหลึกซึ้ง ศึกษาภูมิหลังของเขาวาเปนคนภูมิภาคใด นับถือ
ศาสนาอะไร เรียนจบอะไร มีปมเดนปมดอ ยอยา งไร เพอ่ื จะไดป รบั ตวั ใหเ ขา กับเขาไดง าย โดยเฉพาะ
จะทําใหเ ราระวังการพดู จาไมใหกระทบปมดอยของเขา และเลือกปมเดน ของเขามาพูด
๓. รจู กั ฟงใหมากกวา การพดู การเปด โอกาสใหผ ูอื่นพูดทาํ ใหบคุ คลพอใจเพราะเขารูสกึ
วา เขาไดรบั ความสาํ คัญ และการฟง ทําใหเ ราไดรบั ประโยชนม าก
๔. ศกึ ษาสภาพแวดลอ มในสงั คมหรอื ในทท่ี าํ งาน เพอ่ื ใหท ราบวา ใครมคี วามขดั แยง กบั ใคร
จะไดระมัดระวังตัวไมพูดเขาขางฝายใดฝายหน่ึง เพราะการพูดเขาขางฝายใดฝายหน่ึงยอมทําใหอีก
ฝายหนึง่ ไมพ อใจได
๕. ใหค วามสาํ คัญแกผูอ ืน่ วิธีการทีแ่ สดงวาผอู นื่ สาํ คัญ มดี ังนี้

๕.๑ พดู ใหค นอ่ืนรูวาเขาเกง ดี รา่ํ รวย มีเกยี รติ หรือเปนคนสําคญั
๕.๒ แสดงกิริยาสุภาพออ นนอมถอ มตนตอเขา
๕.๓ ใหส ง่ิ ท่ีดีที่สดุ แกเ ขา ใหโ อกาสในการทาํ สงิ่ ตา งๆ กอ นตวั เราเสมอถา ทาํ ได
๕.๔ ปฏิบัติตอ ผอู นื่ เยี่ยงบุคคลพิเศษ เชน ใหนง่ั เกา อี้ทดี่ ีที่สุดเทาที่มีอยู
๖. ไมค วรทาํ ตวั เดน เกนิ ไปหรอื ทาํ ตวั เปน ผรู อบรู แลว แสดงความรคู วามสามารถไปหมด
ทกุ เรอ่ื ง ทาํ ใหก ลายเปน คนที่ “นา หมนั่ ไส” คนอนื่ ไมช อบหนา และการทาํ ตวั เชน นบ้ี างครง้ั เปน การทาํ งาน
ขามหนา ผูอื่นเพราะความอยากแสดงออกทําใหเปนอันตรายยง่ิ
๗. ไมควรมีความม่ันใจจนเกินไป การแสดงความมั่นใจจนเกินไป คือ ไมยอมแพใคร
ไมคอ ยจาํ นนในเหตุผลของผูอ่นื สว นมากเปน ลกั ษณะการแสดงความคิด คนท่ีมีความมน่ั ใจจนเกนิ ไป
จะกลายเปนคนกลาคิด กลาทํา จนทําใหกลายเปนคนด้ือดึง กาวราว ไมมีคนชอบ การแกไขคือ
ควรคิดวามีอีกหลายอยางท่ีเราไมรู คิดวาคนอื่นจะตองเกงกวาเรา ทําเปนยอมเขาบางเพื่อจะไดรับ
ความรกั จากคนอ่ืนๆ
๘. ควรวางตัวใหเหมาะกาลเทศะและบุคคล ตวั อยางของการรจู กั กาลเทศะ คอื ควรจะ
รูว าเวลานั้นเปนเวลาทเ่ี ศราโศก ดใี จ หรือสนุกสนาน และควรรูวา ท่นี ัน้ เปน งานศพ งานเลีย้ ง สงั สรรค

๔๔

หรืองานพิธี สําหรับการรูจักบุคคลน้ัน ตองรูวาบุคคลนั้นคือใคร มีฐานะตําแหนงอะไร อยูในภาวะ
อยา งไร ควรจะทําตวั อยา งไร

๙. สรา งความประทบั ใจในการพดู เชน สนใจเรอ่ื งเดยี วกบั ผฟู ง มอี ารมณข นั ความจรงิ ใจ
ตอกัน พดู แตใ นสิง่ ท่ีดี พูดจาสภุ าพออนหวาน ไมพดู คุยเร่อื งของตนเองมากเกินไป รจู ักชมเชยยกยอ ง
ผูพูดบา ง

๑๐. รูจักตอนรับผูอ่ืนเสมอ ไมวาผูน้ันจะไปหาเย่ียมเยียนท่ีบานหรือเดินมาในท่ีที่เรา
กําลังนั่งอยู เชน รจู ักเชญิ ใหเ ขามาในกลมุ หรอื เชิญใหน ่งั ในที่อนั ควร

๑๑. รูจ กั บริการ สงเคราะหชวยเหลือในเรือ่ งเล็กๆ นอ ยๆ
๑๒. แสดงความเห็นใจในความทุกขของผูอ่ืน
๑๓. รูจกั การให ใหท ง้ั ความรกั ความเห็นใจ ใหอ ภยั ใหความชว ยเหลอื และใหส่งิ ของ
ตามสมควร
๑๔. สนใจผูอน่ื และผทู ่ีอยูใ กลชิด เชน บิดามารดาของเพ่ือน เปนตน
๑๕. ยอมรบั ความคดิ เหน็ ของผูอ ่ืน
๑๖. มีความจริงใจตอ ผูอ่ืน เชน ทําตามท่พี ูดไวเ สมอ
๑๗. ยกยองใหเกียรติแกผ ูอ่นื ตามโอกาสอันควร
๑๘. ไมแ สดงอํานาจเหนือผอู น่ื
๑๙. มคี วามเกรงใจ เชน ไมถ ามเรอ่ื งสว นตวั ของผอู นื่ ไมย มื ของใชข องผอู นื่ โดยไมจ าํ เปน
๒๐. มสี ามญั สาํ นกึ คอื รวู า อะไรควรหรอื ไมค วร ไดแ ก รวู า ควรพดู บางเรอื่ งกบั คนบางคน
หรือควรปฏิบัติตอผูอืน่ เชนนัน้ หรือไม เชน จดั หองทํางานใหพ นกั งานที่สูงอายุอยูช ้ัน ๔ จัดหองทํางาน
ใหพ นักงานวัยหนมุ สาวอยูช้นั ที่ ๑ เปนตน
๒๑. เมื่อเปนฝายผดิ ตอ งยอมรบั ผดิ
๒๒. ยอมแพเ สยี บา ง การยอมแพม ไิ ดห มายความวา เปน ฝา ยผดิ แตย อมแพ เพอื่ ใหผ อู น่ื
สบายใจ นอกจากน้ีการยอมแพไมท าํ ใหเกดิ การโตเ ถยี ง
๒๓. ไมจับผิดผูอนื่ ถาผอู ื่นทาํ ผิดเล็กๆ นอ ยๆ แสรง ทําเปนไมเ หน็ เสยี บา ง
๒๔. แสดงน้ําใจตอผูอ่ืน ไมวาผูน้ันจะเปนเพื่อนของเราหรือไม ถามีโอกาสก็ควรแสดง
นํา้ ใจบาง
๒๕. มคี วามกระตอื รอื รน ทจ่ี ะชว ยเหลอื ผอู นื่ เชน หยบิ ปากกาออกมาจดขอ ความทเี่ พอ่ื น
ฝากบอกผูอ ื่น เปนตน
๒๖. มคี วามเปน กนั เอง คอื รจู กั ทกั ทายปราศรยั และทาํ ตวั งา ยๆ ไมเ จา ระเบยี บจนเกนิ ไป
ไมท ําตนใหผ อู ่ืนรสู ึกเกรงกลวั หางเหนิ หรือไมอยากเขาใกล แตค วรทาํ ตวั ใหคนอนื่ รสู กึ วาเมื่ออยใู กล
แลวทาํ ใหเ ขาสบายใจ
๒๗. เปดเผยในระดบั ทเี่ หมาะสม

๔๕

๒๘. มีมารยาทในการคบหาสมาคมกับผูอื่น พื้นฐานสําคัญของมารยาท ความสุภาพ
ออนนอมและสํารวม (สมศรี สุกุมลนันท ๒๕๕๓ : ๕๗-๕๙) คนทสี่ ุภาพออ นนอม สํารวมและรจู กั
ระมัดระวังกิริยาวาจายอ มทําใหคนอ่นื พอใจได

๒๙. สังเกตความตองการของผูอื่นและใหในสิ่งที่เขาตองการ ตลอดจนสังเกตอารมณ
ความรูสึกเพ่ือจะไดตอบสนองใหสอดคลองกับอารมณได เชน เม่ือสังเกตเห็นวาเพ่ือนรูสึกผิดหวัง
เนอื่ งจากไมมใี ครเลือกเธอเปน หวั หนา เรากป็ ลอบใจ

๓๐. อดทนและควบคมุ อารมณได
๓๑. รูจักขออภยั เมือ่ ทาํ อะไรพลาดพล้ังหรือลวงเกินผูอน่ื กค็ วรขออภัย
๓๒. ราเรงิ แจมใส และมองโลกในแงดี
๓๓. ไมพ ูดเรอ่ื งสวนตวั ของผูอ่นื
๓๔. ไมทําใหคนอื่นรูสึกวาเราเอาเปรียบเขา เชน ในการรับประทานอาหารดวยกัน
หรือทํากิจกรรมรวมกัน ถาหากเราไมสามารถเฉล่ียเงินใหเทาๆ กับผูอ่ืนไดควรหาทางทําอยางอ่ืน
เปนการทดแทน อาจจะเปนการทํางานทดแทนกไ็ ด
๓๕. คลอยตามหรือเห็นดีเห็นงามกับความคิด ความรูสึก หรือความตองการของผูอ่ืน
เชน พดู วา “ดิฉันเหน็ ดวยกับคณุ ” “ดฉิ นั ก็คิดเหมือนคณุ ” “ดิฉนั ชอบเหมอื นกัน” เปน ตน

Êѧ¤ËÇμÑ ¶Ø ô

การสรา งความสมั พนั ธก บั ผคู นรอบขา งสามารถใชห ลกั ธรรมขอ หนงึ่ มาเปน แนวทางสาํ หรบั
การปฏบิ ัตหิ นา ทข่ี องตํารวจกับประชาชนได นน่ั กค็ อื สงั คหวัตถุ ๔ พระพรหมคณุ าภรณ (ป.อ.ปยุตโต)
กลา วไวว า เปน ธรรมะà¾Íè× à¡Íé× ¡ÅÙ ¡¹Ñ »ÃÐÊÒ¹Ê§Ñ ¤Á ชว ยเหลอื เกอ้ื กลู กนั รว มสรา งสรรคส งั คมใหส งบสขุ
มั่นคง สามัคคี มีเอกภาพ ในการอยูรวมกันในสังคมน้ัน มนุษยทุกคนลวนปรารถนาเปนที่รักของ
คนรอบขาง เปนที่ยอมรับนับถือของทุก ๆ คน และปรารถนาที่จะไดยินไดฟงคํายกยองสรรเสริญ
มากกวาเสียงนินทาวาราย พระพุทธองคไดทรงสอนวิธีที่จะทาํ ตนใหเปนท่ีรักของสังคมวา ขั้นแรก
ใหป รบั ทต่ี วั ของเราเองกอ น คอื ตอ งทําตวั เราใหเ ปน คนนา รกั เสยี กอ น โดยการปฏบิ ตั ติ ามหลกั สงั คหวตั ถุ ๔
ซงึ่ เปน คณุ ธรรมทเ่ี ปน เครอื่ งยดึ เหนยี่ วใจคน ผกู ใจคนและประสานหมชู นใหม คี วามสามคั คี เปน หลกั ธรรม
ทท่ี ําใหค นเปน ทรี่ กั เปนที่ชอบใจของคนทัว่ ไป เปนการปลูกไมตรี เตมิ นา้ํ ใจตอ กนั ทําใหสังคมเปนสขุ

ประกอบดวยหลัก ๔ ประการ ดังนี้
๑. ทาน

การให การเอ้ือเฟอเผื่อแผ เสียสละแบงปนชวยเหลือกันดวยการใหส่ิงของ หรือให
ความรูและแนะนาํ สั่งสอนดว ยนํ้าใจไมตรี มคี วามโอบออมอารี จะชว ยผกู ใจคนไวไ ด การทําทานจะไม
สญู เปลา ผทู ีใ่ หสงิ่ ทด่ี ยี อ มไดรับสิ่งทด่ี ตี อบแทน ดัง่ พุทธพจนท ว่ี า “มนาปทายี ลภเต มนาป” แปลวา
ผูใหสงิ่ ทน่ี า พอใจยอมไดร ับสง่ิ ที่นา พอใจ

๔๖

๒. ปยวาจา หรือ เปยยวชั ชะ
ความเปนผูมีวาจานา รกั พดู อยางรักกัน วาจาเปนทีร่ ัก วาจาดดู ดมื่ น้ําใจ หรอื วาจา

ซาบซ้งึ ใจ
๓. อัตถจริยา
การประพฤติประโยชน ทาํ ประโยชนแกเขา หลักธรรมขอนี้มุงสอนตน ๒ ดาน คือ

การทําตนใหเ ปนประโยชนแ ละการทาํ ในสง่ิ ที่เปน ประโยชน ตลอดถึงชวยแกไขปรบั ปรุงสง เสริมในทาง
จรยิ ธรรม

๔. สมานตั ตตา
คอื การทําตนเสมอตน เสมอปลาย ตลอดถงึ วางตนใหเ หมาะสมแกฐ านะภาวะ บคุ คล

เหตุการณแ ละสิ่งแวดลอม

¢ŒÍàʹÍá¹Ð㹡ÒÃÊÌҧÁ¹ÉØ ÂÊÁÑ ¾Ñ¹¸

๑. ควรระวังในเรื่องสุขภาพ การมีมนุษยสัมพันธที่ดี ตองเร่ิมตนที่สุขภาพดี ถาบุคคล
มีสุขภาพดี หนาตาก็ยมิ้ แยมแจมใส ทําใหคนอนื่ อยากเขาใกล

๒. ควรจะระงบั อารมณไ วใ หไ ด ไมว า จะมอี ารมณค า งมาจากไหน ควรทง้ิ อารมณไ วท นี่ น่ั
พยายามทําอารมณใหแจมใสกอ นจะพูดคุยกบั ผอู ่นื

๓. การปรับปรุงบุคลิกภาพภายนอกใหเหมาะสม เชน ปรับปรุงการแตงกายใหสะอาด
เรียบรอ ย เหมาะสมกาลเทศะและบคุ คล ปรับปรงุ การใชสีหนา ไมบ้ึงตึง ไมเ ครียด ฝก การใชสายตาให
ดูออ นโยน มเี มตตา

อางอิง พระครูศรีปริยัตยารักษ การนาํ หลักสังคหวัตถุ ๔ ไปใชในพัฒนาการบริหารจัดการขององคกรบริหารสวนตําบล
วารสารธรรมวชิ ญ ๒๕๖๒


Click to View FlipBook Version