The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

17_CP21404_หลักการสื่อสารสร้างสัมพันธ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-07-21 07:22:27

17_CP21404_หลักการสื่อสารสร้างสัมพันธ์

17_CP21404_หลักการสื่อสารสร้างสัมพันธ์

๔๗

๔. มมี ารยาทในการติดตอ สมั พันธ คนทีม่ มี ารยาทดียอมเปนบคุ คลทรี่ กั ใคร นา นบั ถอื
๕. ควรปรบั ปรงุ การพดู จา ทั้งการใชถอ ยคาํ สํานวนและนาํ้ เสยี ง
๖. ควรรักษาสญั ญา มคี วามรบั ผิดชอบตอ คําพดู และการกระทาํ ของตนเอง
๗. ควรรจู ักใหแ ละรบั ทเี่ หมาะสม
๘. คาํ นงึ ถงึ ความตองการของผอู ื่นเปนสาํ คญั
๙. ควรใหความสาํ คญั แกผอู ่ืนย่ิงกวาตนเอง
๑๐. ย่งิ ใกลชดิ สนทิ กบั ใครมากเทา ไรควรเกรงใจเขาใหมากขน้ึ เทา นัน้ เพราะคนเรามกั ลืม
รกั ษานํา้ ใจคนท่ีอยูใกลช ดิ เสมอ
๑๑. ไมค วรคาํ นงึ ถงึ ผลประโยชนข องตนเองจนลมื นกึ ถงึ จติ ใจของผอู น่ื ซง่ึ ทาํ ใหพ ดู จาและ
แสดงทา ทีทีเ่ ห็นแกตวั ออกไป

ÊÃØ»

“มนุษยสัมพันธ” เปนประโยชนอยางย่ิงในการทํางานและการอยูรวมกันเปนสังคม
เพราะชวยใหมนุษยเรียนรูที่จะยอมรับความคิดเห็นของผูอื่นและปรับตัวปรับใจใหรวมสังคม
และรวมกิจกรรมกันอยางสันติสุข มนุษยสัมพันธเปนเสมือนมนตขลังชวยลดความเกลียดชัง แมศัตรู
ผูมีผลประโยชนขัดกับเราก็จะกลับกลายไปในรูปเห็นอกเห็นใจ เปนมิตรภาพ เร่ืองรายกลายเปนดีได
ไมวาจะติดตอสัมพันธกันในทางการงานหรือสวนตัว ก็จะเกิดผลดีมีประโยชนตองานอาชีพ
และการดําเนินชีวิต อุปสรรคความยุงยากจะเรียบรอยราบร่ืน การมีมนุษยสัมพันธที่ดีน้ันจะชวย
ใหเกิดประโยชนตอตนเองและสวนรวม ในแงประโยชนตอตนเอง บุคคลท่ีมีมนุษยสัมพันธท่ีดีกับ
เพ่ือนจะกอใหเกิดความเขาใจและความเห็นใจซึ่งกันและกัน ชวยเหลือกัน สามารถสมาคมกับบุคคล
ในระดับตางๆ ไดดี ประสบความสําเร็จในการศึกษาและการประกอบกิจกรรมหรือการอาชีพ
ในแงสวนรวม การมีมนุษยสัมพันธท่ีดีจะชวยสรางความสามัคคีกลมเกลียวขึ้นในหมูคณะ รวมใจกัน
ทํางานใหสําเร็จลุลวงไปดวยดีโดยปราศจากขอขัดแยง สามารถอาศัยอยูรวมกันอยางมีความสุข
และในท่สี ดุ จะชว ยพัฒนาใหสังคมและประเทศชาตเิ จรญิ กา วหนา

¡¨Ô ¡ÃÃÁ·ÒŒ º·

ใหน กั เรยี นบอกเทคนคิ การสรา งมนษุ ยสมั พนั ธท ดี่ ี และจะนาํ ไปใชป ระโยชนใ นการปฏบิ ตั ิ
หนาทมี่ า ๑ เทคนคิ

º··Õè õ

¡Ãкǹ¡ÒáÅØÁ‹ ÊÑÁ¾Ñ¹¸á ÅСÒÃÊÌҧ¤ÇÒÁËÇÁÁ×Í㹡ÒÃทํา§Ò¹à»š¹·ÁÕ

ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤

เพ่ือใหนักเรียนทราบเกี่ยวกับกระบวนการกลุมสัมพันธและการสรางความรวมมือ
ในการทาํ งานเปนทมี

¡Ãкǹ¡ÒáÅØÁ‹ ÁÒ¨Ò¡ÀÒÉÒ꤄ ¡ÄÉÇ‹Ò Group Dynamics

Group หมายถงึ บุคคลตงั้ แต ๒ คนข้นึ ไป ทาํ งานรวมกันเพือ่ จุดประสงคอันเดียวกัน
Dynamics หมายถงึ การเคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลง ไมอยูน ิง่
เม่ือรวมกันเปน Group Dynamics จึงหมายถึงความเคลื่อนไหวเปล่ียนแปลงของ
ความสัมพนั ธภายในกลมุ ซงึ่ กาํ หนดเรยี กเปนคาํ ไทยวา “กลมุ สัมพันธ”

¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ¡Ãкǹ¡ÒáÅØ‹Á

ความหมายของกระบวนการกลมุ กค็ ือ ความรูและหลกั การตา งๆ ทีอ่ ธบิ ายถึงพฤติกรรม
ของกลุมหรือเปนศาสตรหนึ่งท่ีศึกษาเก่ียวกับพฤติกรรมของกลุม วิชากระบวนการกลุมจะอธิบายถึง
การเปลี่ยนแปลงภายในกลุม เปนการศึกษาถึงพลังหรือสภาพการณตางๆ ที่มีอิทธิพลตอกลุมเปน
สว นรวม รวมถึงพฤตกิ รรมของบุคคลในกลมุ ที่ถูกกลอมเกลาจากประสบการณข องกลุม

Å¡Ñ É³Ð·èÕสาํ ¤ÞÑ ¢Í§¡ÅÁ‹Ø ô »ÃСÒà ไดแ ก

๑. การมีปฏิสัมพันธทางสังคมของบุคคล หมายถึง การท่ีสมาชิกต้ังแต ๒ คนข้ึนไป
มคี วามเกย่ี วขอ งกนั ในกจิ การของกลมุ ตระหนกั ในความสาํ คญั ของกนั และกนั แสดงออกซง่ึ การยอมรบั
การใหเ กยี รตกิ นั สาํ หรบั กลมุ ขนาดใหญม กั มปี ฏสิ มั พนั ธก นั เปน เครอื ขา ยมากกวา การตดิ ตอ กนั ตวั ตอ ตวั

๒. มีจุดมุงหมายและเปาหมายรวมกัน หมายถึง การท่ีสมาชิกกลุมจะมีสวนกระตุน
ใหเกิดกิจกรรมรวมกันของกลุม โดยเฉพาะจุดประสงคของสมาชิกกลุมท่ีสอดคลองกับองคการ
มักจะนํามาซงึ่ ความสาํ เรจ็ ของการทํางานไดง าย

๓. การมโี ครงสรา งของกลมุ หมายถงึ ระบบพฤตกิ รรม ซง่ึ เปน แบบแผนเฉพาะกลมุ สมาชกิ
กลุมจะตองปฏิบัติตามกฎหมายหรือมติของกลุม ซ่ึงอาจจะเปนกลุมแบบทางการ (Formal Group)
หรอื กลมุ แบบไมเ ปน ทางการ (Informal Group) กไ็ ด สมาชกิ ทกุ คนของกลมุ จะตอ งยอมรบั และปฏบิ ตั ิ
ตามเปน อยา งดี สมาชกิ กลมุ ยอ ยอาจจะมกี ฎเกณฑแ บบไมเ ปน ทางการ มคี วามสนทิ สนมกนั อยา งใกลช ดิ
ระหวา งสมาชิกดว ยกนั

๕๐

๔. สมาชิกมีบทบาทและมีความรูสึกรวมกัน การรักษาบทบาทที่มั่นคงในแตละกลุม
จะมีความแตกตางกนั ตามลกั ษณะของกลุม รวมท้งั ความรูความสามารถของสมาชิก โดยมีการจดั แบง
บทบาทและหนา ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ กระจายงานกนั ตามความรคู วามสามารถและความถนดั ของสมาชกิ

ËÅ¡Ñ ¢Í§¡Ãкǹ¡ÒÃทาํ §Ò¹¡ÅØÁ‹ ดงั น้ี

๑. เลือกหวั หนากลุม
๒. กําหนดวัตถปุ ระสงคก ารทํางาน
๓. การวางระเบยี บในการทาํ งาน
๔. การวางแผนงาน
๕. การวางขนั้ ตอนในการทาํ งาน
๖. ความสําคญั ของการแบงงาน
๗. หลักการแบงงานและมอบหมายงาน
๘. การทาํ งานตามแบบ
๙. การติดตามและปฏบิ ัติงาน
๑๐. การตรวจสอบผลงานเปน ระยะ
๑๑. การใหข อติชมในการทาํ งาน
๑๒.การแกป ญ หา
๑๓.การประเมนิ ผลงานและปรับปรุงงาน

»ÃÐ⪹¢ ͧ¡ÒèѴ¡Ô¨¡ÃÃÁ¡Å‹ÁØ ÊÑÁ¾Ñ¹¸

๑. เพื่อใหผเู ขา รับการอบรมมสี วนรว มในการเรียนรอู ยางเตม็ ที่
๒. การสรางประสบการณการเรียนรูจากกิจกรรมจะชวยใหผูเขารับการอบรมรูจัก
และสนใจตัวเองดียงิ่ ขึน้
๓. สรา งบรรยากาศการเรยี นใหผ เู ขา รบั การอบรมสนกุ สนาน ไมเ กดิ ความรสู กึ วา ถกู สอน
และสามารถเรยี นรไู ดใ นระยะเวลาอันสั้น
๔. เปนแนวทางในการพัฒนาบุคลากร และการรูจ ักแกปญ หาทงั้ สว นตัวและสวนรวม
๕. ชวยใหเกดิ ทศั นคติท่ดี ตี อ กัน มคี วามเขาใจ เหน็ ใจกนั ลดการขดั แยง
๖. ชวยสงเสริมใหก ารทํางานรวมพลงั กันเปน ทีมไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ
๗. ชวยใหผลงานเปนไปตามเปาหมายและไดมาตรฐาน เปนการเสริมสรางพลัง
ขององคก รโดยบคุ ลากรทม่ี ีประสิทธิภาพ
๘. ชวยสงเสริมในการพัฒนาการดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และผอนคลาย
ความตงึ เครยี ด

๕๑

¡ÒÃทาํ §Ò¹à»š¹·ÁÕ

ในการทํางานเปนกลุมนั้น ยังมีการทํางานอีกลักษณะหนึ่งอยูในการทํางานเปนกลุม
คอื การทํางานเปน ทมี ยอ ย ซงึ่ จะมลี กั ษณะทล่ี ะเอยี ดและชดั เจนในการดําเนนิ งาน สง ผลใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ
มากขนึ้ การทํางานเปนทมี (Teams Work) หมายถึง การทาํ งานรว มกันตงั้ แต ๒ คน ข้นึ ไป โดยมีการ
กําหนดบทบาทของสมาชกิ คอื บทบาทผนู าํ บทบาทสมาชกิ มกี ารวางแผน ตง้ั เปา หมายในการทํางาน
รว มกนั สมาชกิ ในทมี มคี วามสมั พนั ธต ดิ ตอ สอื่ สาร มคี วามสามคั คี มคี วามผกู พนั เหน็ ประโยชนส ว นรวม
มากกวาสวนตน ชว ยกันแกป ญ หาเพ่ือใหงานบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค เพือ่ ใหก ารทาํ งานมปี ระสิทธิภาพ

โดยปกติคนสวนใหญจ ะคิดวากลมุ และทมี มีความหมายเหมือนกนั และเปน เรื่องเดยี วกนั
ซ่ึงก็มีสวนถูกอยูมากในความหมายทั่วๆ ไปที่ไมลึกซึ้ง แตในทางปฏิบัตินั้นกลุมและทีมมีความหมาย
แตกตา งกนั หากกลา วโดยงา ยก็คือทีมเปนกลุม ประเภทหนง่ึ ที่มกี ารกอตั้งอยางเปนทางการ สมาชกิ มี
การรวมตวั กนั อยา งมเี ปา หมาย มกั จะมรี ะยะเวลารวมตวั กนั ทแี่ นน อนและชดั เจน มโี ครงสรา งทชี่ ดั เจน
มกี ารวางแผนการปฏบิ ตั งิ านรว มกนั อยา งเปน ระบบ มกั มคี วามคงทนของการคบหานานกวา กลมุ ทวั่ ๆ ไป

การทาํ งานรวมกันในกลุมหรือองคกรเราสามารถพบเห็นบุคคลที่มีท้ังเจตคติและนิสัย
ปฏิบัติงานท่ีแตกตางกัน ทาํ ใหเกิดความขัดแยงในการทํางานรวมกัน ดังน้ันในการทาํ งานรวมกัน
จึงตองอาศัยองคประกอบหลายประการดวยกันที่จะทาํ ใหสามารถประสบความสาํ เร็จในการทํางาน
อยา งแทจ รงิ นน่ั กค็ อื งานสาํ เรจ็ คนมคี วามสขุ ในการทํางาน ทง้ั ในลกั ษณะของคนในกลมุ ทเ่ี ราพบเหน็ นน้ั
สามารถสรุปลักษณะไดด งั นี้ (Ramsey, Walker and Harris, ๑๙๙๔)

๑. ผูท่ีเห็นแกประโยชนคนอื่นเปนท่ีต้ัง (Altruism) ไมเห็นแกประโยชนตนเอง
พรอมจะชวยเหลือบคุ คลอื่นๆ ในเรือ่ งงานหรือปญ หาทเี่ กยี่ วพนั กบั งาน

๒. ผทู ร่ี จู กั ผดิ ชอบ ปฏบิ ตั ติ นอยา งถกู ตอ งตามทาํ นองคลองธรรม (Conscientiousness)
ไดแก คนที่ตรงเวลา ใหความสาํ คญั ตอบรรทัดฐานในการทาํ งานของกลุม ปฏบิ ัติงานตามกฎระเบียบ
ขอ บงั คบั ของหนวยงาน

๕๒

๓. ผทู ่สี ภุ าพ ออ นโยน มอี ัธยาศัย เอ้อื เฟอ เผื่อแผ (Courtesy) รวมไปถึงคนทีค่ ํานงึ ถงึ
จติ ใจของผูอ ื่น เคารพในสทิ ธิของผอู ่นื

๔. ผูทีม่ ีนํ้าใจนกั กฬี า (Sportsmanship) เปนผทู ่ีหลกี เลี่ยงการบนวา ตําหนิติเตยี นผูอื่น
การพูดใหข ุนใจ การนนิ ทาวา ราย

๕. ผทู บ่ี ริสทุ ธใิ์ จ มุงทําแตค วามดีกบั ผูอ่นื (Civic virtue)

¾Ñ²¹Ò¡Òâͧ·ÕÁ§Ò¹

โดยทั่วไปการจัดตั้งทีมงานมักจะมีวงจรชีวิตของทีม ๕ ขั้น ดังตอไปน้ี (ณัฏฐพันธ
เขจรนันทน, ๒๕๔๕)

¢¹éÑ ·èÕ ñ การกอ ตวั เปน ข้ันตอนเร่ิมตน ของการกอต้ังทมี โดยการรวบรวมบุคคลตา งๆ
เขามาเปนสมาชกิ

¢éѹ·èÕ ò การสรางปฏิสัมพันธ เปนขั้นที่ใหสมาชิกไดเรียนรูและปรับตัวที่จะทํางาน
รวมกนั ขัน้ น้จี ะทาํ ใหท มี เกดิ ความเขมแขง็ ไดถ า หากสมาชิกสามารถปรบั ตวั เขา กนั ไดดี

¢Ñé¹·èÕ ó การสรางบรรทัดฐาน สมาชิกจะรวมกันกําหนดกฎเกณฑตางๆ ของการอยู
และปฏิบัติงานรวมกัน อาจจะเปนทางการหรือไมเปนทางการ โดยที่สมาชิกจะตองมีการประสาน
ความแตกตางระหวา งบุคคลเพ่อื เขา สขู ้นั ตอนการทาํ งานและการเตบิ โตของทีม

¢éѹ·Õè ô การปฏบิ ตั ิงาน สมาชกิ ในทมี ตางมีความเขา ใจ ผกู พัน และสามัคคีระหวางกัน
โดยสมาชิกจะไมแสดงเพียงแตความสนใจในการทาํ งานของตนเองและทีมงานใหดีเทาน้ัน
แตจ ะใหค วามสนใจกบั ความตอ งการหรอื ปญ หาสว นตวั ของสมาชกิ คนอนื่ โดยพยายามทาํ ความเขา ใจ
และใหค วามชว ยเหลืออยา งเต็มท่ี ซึ่งความเปนอนั หน่ึงอนั เดียวกนั ของสมาชกิ ในทีม จะชวยใหใ นทมี
มบี รรยากาศในการทาํ งานทด่ี ี ผลงานกา วหนา และทาํ ใหก ารปฏบิ ตั งิ านของทมี มผี ลผลติ ภาพสงู มากขนึ้

¢¹éÑ ·èÕ õ การแยกตัว เปนข้ันตอนสุดทายในวงจรของทีม ซ่ึงเกิดขึ้นกอนท่ีทีมงานจะ
แยกยา ยกนั ไปปฏบิ ตั งิ านหรอื ใชช วี ติ ตามทางของตน หลงั จากทท่ี มี งานประสบความสาํ เรจ็ ในเปา หมาย
รว มกนั ซงึ่ สมาชิกแตล ะทมี จะตอ งตระหนักถึงการแยกตวั และมกี ารวางแผนสาํ หรับกจิ กรรมท่ีกําลังจะ
จบลง เพ่ือสมาชิกจะแยกยายกลับไปปฏิบัติงานตามหนาท่ีและความรับผิดชอบเดิมท่ีเคยทํามา หรือ
เขารวมเปนสมาชิกของทีมงานในการแกไขปญหาอ่ืนตอไป โดยสมาชิกจะเรียนรูและมีประสบการณ
ในการทาํ งานรว มกนั ซง่ึ จะเปน ประโยชนใ นการเขา เปน สมาชกิ และปฏบิ ตั เิ ปน ทมี ในอนาคต ในชวี ติ จรงิ
จะมีหลายทีมท่ีถึงแมเสร็จสิ้นภารกิจแลว และสมาชิกตางก็แยกยายไปคนละทิศละทางแตก็
มคี วามผูกพนั ทจ่ี ะกลบั มาพบกันหรือระลกึ ถึงกันอยูเสมอ

๕๓

ÃٻẺ¾ÄμÔ¡ÃÃÁ¢Í§¡ÒÃทาํ §Ò¹à»¹š ·ÁÕ

Larson & Fasto (๑๙๘๙) ไดเสนอรูปแบบพฤตกิ รรมของการทาํ งานเปนทีม ๓ รปู แบบ
ดังน้ี

๑. ทีมท่ีรวมกันแกปญหา ตองการใหสมาชิกของทีมมีความรวมมือเปนอันหน่ึง
อันเดียวกัน สมาชิกแตละคนตองเช่ือม่ันวาทีมจะทํางานอยางสอดคลองกันในการแกปญหา สมาชิก
ของทีมตองใหความไววางใจซึ่งกันและกันในระดับสูงในกระบวนการแกปญหารวมกัน และมุงเนน
ประเด็นทต่ี องแกป ญหามากกวา ขอสรปุ ท่อี าจเกดิ ขนึ้ กอ นแลว

๒. ทีมสรางสรรค เปนพฤติกรรมการทํางานเปนทีมที่คนหาทางเลือกท่ีเปนไปไมได
ดวยจุดประสงคกวางๆ ในการพัฒนาผลงานใหมๆ ปจจัยสําคัญในการทํางานเปนทีมลักษณะนี้คือ
ความเปน อสิ ระในการทาํ งาน อาจเปน ในแงข องความเปน อสิ ระจากกฎระเบยี บ มาตรการ ขอ บงั คบั ตา งๆ
บวกกับการมบี รรยากาศในการทาํ งานที่จะไมเปน ตวั ทาํ ลายความคิดสรางสรรค

๓. ทีมงานท่ีทํางานอยางมียุทธวิธี ทีมงานแบบน้ีจะทํางานไดอยางประสบความสําเร็จ
หรือไมขึ้นอยูกับระดับความรับผิดชอบของสมาชิกในทีม ความเขาใจที่ชัดเจนวาใครตองทําอะไร
และมาตรฐานการทํางานที่เปนทเ่ี ขา ใจแจม ชดั พฤตกิ รรมการทํางานเปนทมี ลักษณะนี้ ตอ งมแี ผนงาน
ทถี่ ูกเตรยี มการอยางดี มีการกาํ หนดบทบาทและลกั ษณะงานของแตล ะคนอยางชดั เจน

ËÅ¡Ñ ¡ÒÃทาํ §Ò¹à»š¹·ÕÁ

Mclntyre & Salas (๑๙๙๕) ไดระบุหลักการของการทํางานเปนทีมไว ๕ ประการ
สาํ คัญดังน้ี

»ÃСÒ÷Õè ñ สมาชิกในทีมตองมีการตอบรับและยอมรับผลสะทอนหรือการตอบรับ
ของสมาชิกอ่ืนๆ ในทีม ทีมงานที่มีประสิทธิภาพตองใหสมาชิกในทีมรูสึกสบายใจท่ีจะใหการตอบรับ
น่ันคือ บรรยากาศของการทํางานตองไมเปนอุปสรรคหรือสิ่งกีดขวางตอการท่ีสมาชิกจะใหปฏิบัติ
กิริยาตอบรับหรือการแสดงความคิดเห็นใดๆ ถาผูนําทีมแสดงการยอมรับการวิพากษวิจารณในทาง
สรา งสรรคข องสมาชกิ ในทีม ก็เปน การสรางบรรทดั ฐานทดี่ ีในการทํางาน

๕๔

»ÃСÒ÷Õè ò การทํางานเปนทีมตองมีความเต็มใจ การเตรียมตัว และการเตรียมใจ
ที่จะสนับสนุนสมาชิกในทีมดวยกันระหวางการดําเนินงาน การทํางานเปนทีมท่ีดี สมาชิกในทีม
ตอ งแสดงความเตม็ ใจในการพรอ มทจ่ี ะรบี เขา ไปชว ยสมาชกิ ในทมี งาน เมอื่ เขาตอ งการความชว ยเหลอื
ดังน้ันสมาชิกในทีมตองแสดงความสามารถไมเพียงเฉพาะในเรื่องดานที่เขาถนัดและดาํ เนินงานอยู
แตใ นเรื่องทีส่ มาชิกคนอื่นในทีมรับผิดชอบดวยเหมือนกนั

»ÃСÒ÷Õè ó การทํางานเปนทีมตองมีการรวบรวมความคิดเห็นของสมาชิกในทีม
ทั้งนี้การประสบความสําเร็จของทีมขึ้นอยูกับการรวมมือรวมใจปฏิบัติงานดวยกัน สมาชิกในทีม
ตอ งมกี ารตระหนกั ถงึ ความเปน สว นหนงึ่ ของทมี เตรยี มพรอ มตนทจี่ ะรว มมอื กนั ทาํ งาน ใหค วามสาํ คญั
ตอทีมงานในอันดับแรกกอนงานของแตละคน สมาชิกของทีมตองคิดวาตนและทุกคนในทีมเปน
สว นหนง่ึ แยกจากกนั ไมได ไมใชแตล ะคนมาทาํ งานรวมกบั คนอ่ืนๆ และตอ งตระหนักวา ประสิทธิภาพ
ของพวกเขาคอื ประสทิ ธภิ าพของทมี งานขน้ึ อยูกับผลรวมของผลงานของสมาชกิ ท้งั หมดในทมี รวมกนั

»ÃСÒ÷èÕ ô การทํางานเปนทีมรวมถึงการสนับสนุนเกื้อกูลระหวางกันและกัน
การทํางานเปนทีมตองมีคานิยมประการหน่ึงวาเปนสิ่งจําเปนและเหมาะสมสําหรับสมาชิกทุกคนๆ
ทีจ่ ะตองดําเนนิ งานใหเปนไปตามปรัชญาของทมี

»ÃСÒ÷èÕ õ ผนู าํ ทมี เปน ปจ จยั สําคญั ประการหนง่ึ ทจ่ี ะทําใหก ารดําเนนิ งานของทมี เปน
ไปในลักษณะใด ผนู าํ ทมี เปน ตวั อยา งใหแ กส มาชกิ คนอื่นๆ ในทีม ถาผนู ําทมี ผูกพันตอ ทีมเปด ใจรับฟง
รวมมือ มีสวนรวมอยา งเตม็ ท่ี สมาชกิ คนอ่ืนๆ ในทีมก็มแี นวโนมจะปฏิบัตติ นในทางเดยี วกัน ผูนําทมี
จะมีอิทธิพลอยางสูงตอทีม ถาผูนําทีมออนแอในเรื่องการปฏิบัติก็จะทําใหการดําเนินงานในทีม
ออกมาในลักษณะนน้ั ดวย

¡Òþ²Ñ ¹Ò·ÁÕ §Ò¹

การพัฒนาทีมงาน (Team Development) คือ กระบวนการใหคนกลุมหน่ึง
ซง่ึ มจี ดุ มงุ หมายเดยี วกนั สามารถทาํ งานรว มกนั ไดใ นฐานะทเี่ ปน หนว ยงานทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ ทมี งานทม่ี ี
ประสทิ ธภิ าพเปน ทมี งานทที่ าํ งานเพอ่ื เปา หมายรว มกนั มคี วามขดั แยง ระหวา งสมาชกิ นอ ยมาก สมาชกิ
ในทีมมีการสนับสนุนกัน จะตองมกี ารแบง งานและประสานงานกนั เพอื่ พัฒนาทมี งาน ดังนี้

๑. ตองศกึ ษาความสามารถของบุคคลในทีมใหชดั เจน
๒. มอบหมายภารกจิ ใหแตละคนไดปฏบิ ตั ิหนา ทีอ่ ยา งเตม็ ความสามารถของเรา
๓. ตอ งแนใ จวา ทกุ คนพอใจในงานทไี่ ดร บั มอบหมาย และมคี วามกระตอื รอื รน ทจี่ ะปฏบิ ตั งิ าน
๔. ตองสรางบรรยากาศของความอบอุน เม่ือสมาชิกประสบปญหา กลุมพรอมจะให
ความชวยเหลือ
๕. ใหมีระบบส่ือสารและปอนขอมูลยอนกลับ เพ่ือใหทราบสถานภาพการทํางาน
ของสมาชิกในทีมวามีอุปสรรคขัดของอยางไร ทั้งนี้เพ่ือนํามาทบทวนแกไขชวยใหการประสานงาน
มีประสทิ ธภิ าพดยี ง่ิ ข้ึน

๕๕

ÅѡɳТͧ·ÕÁ§Ò¹·Õ´è ÁÕ »Õ ÃÐÊ·Ô ¸ÀÔ Ò¾

การทาํ งานเปน ทมี ทดี่ ีตองอาศัยปจจัยหลายประการดงั ที่กลา วมาขา งตน ทัง้ เราสามารถ
สงั เกตลักษณะของทมี งานท่ดี มี ีประสิทธภิ าพได ดงั นี้

๑. เปาหมาย คือบันไดขั้นแรก คนในทีมงานทุกคนจะตองเขาใจเปาหมายของทีมงาน
รวมท้ังจะตองทุมเทแรงใจแรงกายเพื่อใหบรรลุเปาหมาย เปาหมายเปนสิ่งจําเปนส่ิงสําคัญท่ีทีมงาน
จะขาดไมได

๒. การแสดงออก สมาชิกทุกคนในทีมงานมีสิทธ์ิจะแสดงออกไดอยางเสรี เพื่อใหเกิด
ความมน่ั ใจวาทกุ คนเขาใจเรื่องราวตางๆ ไดอยา งชัดเจนและถกู ตอง

๓. การเปน ผนู าํ เมอื่ ถงึ คราวสมาชกิ ในทมี งานจะตอ งทาํ หนา ทกี่ ารเปน ผนู าํ กต็ อ งเตม็ ใจ
รบั หนาท่ผี ูน ําได

๔. ความคดิ เหน็ สอดคลองกนั เปน เอกลักษณ รวมทัง้ ทําความทดสอบดว ยทีมงาน
๕. การไววางใจกัน สมาชิกในทีมงานจะตองไววางใจกันและกัน และสมาชิกทุกคน
มีเสรีภาพในการแสดงความคดิ เห็นตรงกันขา ม โดยไมตอ งหวนั่ กลวั ผลรายทีเ่ กิดตอเน่ืองภายหลัง
๖. ความผอนปรน สมาชิกทุกคนจะตองดําเนินการคิดหาวิธีปฏิบัติงานแบบใหม
ท่ดี ีกวา เดมิ และรว มกนั คน ควาหาวธิ ีการปรับปรุงวิธดี าํ เนนิ การตา งๆ ใหด ขี น้ึ ดวย
คุณสมบัติทัง้ ๖ ประการนี้ เปนแนวทางและกระจกเงาสะทอ นดูผลทไ่ี ดรับ คุณลักษณะ
เหลาน้ีตองอาศัยความพยายามอยางมาก แลวชัยชนะน่ันก็คือความสําเร็จจะตองเปนคนของสมาชิก
ทุกคนในทมี

»ÃÐ⪹¢Í§¡ÒÃทาํ §Ò¹à»š¹·ÁÕ

ปจ จบุ นั สภาพการณต า งๆ ทง้ั ทางเศรษฐกจิ สงั คม และการเมอื งไดเ ปลย่ี นแปลงไปอยา งยง่ิ
สงั คมเปด กวา งขึน้ การคมนาคมติดตอ ส่อื สารไรพ รมแดน จึงทาํ ใหม นุษยต อ งทาํ งานรว มกนั เกย่ี วของ
สมั พนั ธม ากขน้ึ การทาํ งานเปน ทมี จงึ มปี ระโยชนอ ยา งยงิ่ ในสงั คมปจ จบุ นั และอนาคต การทํางานเปน ทมี
เปนเทคนคิ ในการทํางานทีด่ ีมีประโยชนตางๆ สามารถสรุปไดด ังน้ี (พจน เพชระบูรณนิ , ๒๕๓๑)

๑. ทาํ ใหก ารปฏบิ ตั ิงานบรรลเุ ปาหมายโดยสะดวกและรวดเร็ว
๒. สามารถทําใหการประกอบการขนาดใหญประสบความสําเร็จไดอยา งดี
๓. ทาํ ใหเกิดเอกภาพหรอื ความเปนนาํ้ หนง่ึ ใจเดียวกนั ในการทาํ งาน
๔. สามารถนําความรูความสามารถของคนแตละคนมารวมกันใชเพ่ือใหเกิด
ประโยชนส งู สดุ
๕. ขจัดปญ หาการทํางานซา้ํ ซอ นกันหรือขัดแยงกนั
๖. การรวมพลงั กันกอใหเ กิดอํานาจในการตอรอง

๕๖

๗. สมาชกิ ของกลมุ มคี วามผกู พนั กนั เปน การสรา งความสาํ นกึ ในความรบั ผดิ ชอบรว มกนั
๘. กอใหเ กิดความสรางสรรค รวมท้ังลูทางในการปรบั ปรุงพฒั นางานใหดีข้ึน
๙. ชว ยลดเหตุการณตางๆ ทีไ่ มพ งึ ประสงคใ นการทํางานใหน อยลง
๑๐. ชวยประหยัดเวลาและวสั ดุอุปกรณตา งๆ ในการทํางาน
๑๑. สมาชกิ ของกลมุ มคี วามพงึ พอใจในเพอ่ื นรว มงาน สามารถรจู กั และเขา ใจกนั เปน อยา งดี
รวมทงั้ สามารถเปนเพอ่ื นรว มทุกขร วมสุขกันได
๑๒. สรา งขวญั และกําลังใจแกบ ุคคลภายในกลมุ

¤ÇÒÁ¢´Ñ áÂŒ§¢Í§¡ÒÃทาํ §Ò¹à»¹š ·ÁÕ

ธรรมชาติของมนุษยเม่ือรวมกลุมกันปฏิบัติงานก็ยอมตองมีความคิดเห็นท่ีหลากหลาย
และแตกตาง มีการกระทบกระท่ังกันทางพฤติกรรมอาจจะเกิดขึ้นโดยต้ังใจหรือไมก็ตาม จากเหตุผล
ดังกลาวนํามาซ่ึงความขัดแยง ท้ังนี้หากเราพิจารณาโดยใจเปนธรรมแลวก็จะพบวา ความขัดแยงเปน
ธรรมชาติของการทํางานรวมกัน แตสภาพการณจริงมนุษยมักจะยอมรับความขัดแยงไมได ดังจะ
เห็นวาบุคคลมักเลือกทํางานตามลําพังมากกวาการทํางานรวมกับบุคคลอ่ืน ความขัดแยงนํามา

๕๗

ซงึ่ ปญ หาตา งๆ มากมายและอาจทาํ ใหง านทรี่ ว มกนั ปฏบิ ตั นิ นั้ ลม เหลวลงได อยา งไรกต็ ามความขดั แยง
กไ็ มใ ชเ ปน ผลดา นลบเพยี งอยา งเดยี ว ความขดั แยง ทเ่ี หมาะสมจะนาํ มาซงึ่ การวเิ คราะหแ ละจดุ ประกาย
ความคดิ สรา งสรรคเ พอื่ พฒั นางานนน้ั ทง้ั นอ้ี าจสรปุ ความหมายของความขดั แยง ไดว า เปน ภาวะทเี่ กดิ
ความไมลงรอยหรือสภาพการณที่บุคคลไมพอใจคับของใจตอบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือในกลุมสมาชิก
ผูรวมงาน เม่ือบุคคลตองดําเนินกิจกรรมรวมกันมักจะเกิดการกระทบกระท่ังกันนํามาซึ่งปญหา
ความขัดแยง อยูเ สมอ สรปุ สาเหตุของความขดั แยงไดด ังน้ี

๑. ความไมพอใจในความคิดเห็นหรือการกระทําของบุคคลใดบุคคลหน่ึง ซ่ึงอาจจะ
ขดั กบั ความคิดเห็นของตนเอง แลวเรายอมรับไมได

๒. การยึดม่ันถือม่ันในตนเอง ปญหาสําคัญของความขัดแยงในการทํางานเปนทีม
ท่ีแกไขไดยากประการหนึ่งคือ มนุษยทุกคนมักจะยึดถือความคิดเห็นของตนเองเปนสําคัญ ม่ันใจ
และเช่ือม่นั ในความคิดตนเอง เมอ่ื เกิดการกระทบกระทง่ั กไ็ มยอม กลับคดิ วา เปน การเสยี หนา ดงั นัน้
เมอ่ื ตอ งทาํ งานรว มกันอกี ก็มกั จะไมใหค วามรวมมอื หรือขดั ขวางการทาํ งาน เปน ตน

๓. ผลประโยชน เม่ือใดก็ตามทีม่ ผี ลประโยชนเ ขา มาเกีย่ วของกบั การทํางาน โดยเฉพาะ
เรอื่ งเงนิ มกั จะนาํ มาซง่ึ ความขดั แยง ทง้ั นเ้ี พราะมนษุ ยส ว นใหญม กั ตอ งการผลประโยชน มคี วามโลภอยากได
ดังนน้ั เมื่อตนเองรสู กึ วา เสียเปรยี บหรือไมไดผลประโยชนตามที่คดิ ก็จะไมพอใจ นาํ มาซ่งึ ความขดั แยง

๔. อดุ มการณห รอื แนวคดิ เปา หมายทแ่ี ตกตา ง โดยปกตมิ นษุ ยจ ะไดร บั การอบรมเลย้ี งดู
ทแี่ ตกตา งกนั ดงั นน้ั แตล ะบคุ คลจะมแี นวคดิ หรอื จดุ ยนื ทแ่ี ตกตา งกนั ดงั นน้ั หากปฏบิ ตั งิ านรว มกนั แลว
แสดงแนวคดิ หรือจดุ ยืนทแี่ ตกตางก็อาจนํามาซึ่งความขัดแยง ไดเชนกนั

๕. การแขงขัน การมุงชิงดีชิงเดนกันหรือการปฏิบัติในภาวะที่รีบเรงแขงขันกับเวลา
ทุกอยางตองคุมคาไดกําไร ก็มักจะเกิดการกระทบกระทั่งกัน โดยเฉพาะเรื่องกิริยาทาทาง คําพูด
คาํ จาเปนเหตใุ หเกิดความขดั แยง ไมอยากรว มงานกนั

๖. ความสามารถหรือประสบการณแตกตาง เม่ือบุคคลมีประสบการณท่ีแตกตาง
ยอมมีการรับรูและความคิดท่ีแตกตางกัน ท้ังน้ีบุคคลมักดําเนินกิจกรรมหรือแกไขปญหาตางๆ
จากประสบการณเดิม ผูท่ีมีประสบการณมากก็อาจมีแนวคิดหรือวิธีการปฏิบัติงานท่ีหลากหลาย
แตขณะท่ีคนที่มีประสบการณนอยก็จะมีวิธีการแกไขปญหาท่ีจํากัด เม่ือปฏิบัติผลงานออกมา
อาจสรางความไมพอใจแกกันได

๗. อคติ โดยปกติบุคคลจะมีเจตคติเปนปจจัยสําคัญในการแสดงพฤติกรรม
หากบุคคลมีเจตคติที่ไมดีหรือมีอคติตอเพ่ือนรวมงานแลวก็ยอมไมใหความสําคัญหรือความรวมมือ
ในการปฏิบัติงานนั้น ปญหาดังกลาวนาํ มาซ่ึงความขัดแยงไดเชน กัน

๕๘

ลกั ษณะของความขดั แยง ทีเ่ กดิ ขน้ึ สามารถจาํ แนกได ๓ ประเภท ดงั น้ี (ธงชัย สนั ติวงศ
อางถึงใน สจุ ติ รา พรมนุชาธปิ , ๒๕๔๖)

๑. ความขดั แยง ทมี่ องเหน็ ได คอื การทฝี่ า ยตา งๆ ไดต ระหนกั ชดั ถงึ ความขดั แยง ทเี่ กดิ ขน้ึ
เชน การทฝ่ี า ยใดฝา ยหนงึ่ เหน็ วา เปา หมายของเขาแตกตา งจากเปา หมายของกลมุ อน่ื ๆ อยา งเหน็ ไดช ดั
และเห็นชัดถึงหนทางโอกาสทจ่ี ะตอ งกาวกา ยรบกวนในทางตางๆ ใหห ลากหลายดวยกนั

๒. ความขดั แยง ที่รูส ึกได คอื ความขัดแยง ตางๆ ท่ีมผี ลทาํ ใหรสู ึกไดใ นหลายๆ ทางคือ
การกาวราว โกรธข้งึ กลัว หรอื ระแวงสงสยั ระหวางกนั และอ่นื ๆ

๓. ความขดั แยง ทแี่ สดงออกทางพฤตกิ รรม คอื ความขดั แยง ทแี่ สดงออกมาเปน พฤตกิ รรม
ที่เห็นไดว ามงุ พยายามรบกวน กาวกา ย หรอื กลัน่ แกลงโดยฝายใดฝายหนึง่ ทัง้ นไ้ี มว าพฤติกรรมน้ันจะ
แสดงออกโดยเปดเผยหรอื บอนทาํ ลายเงยี บแบบสงครามเยน็ กต็ าม

สรปุ วธิ ีการแกไขความขัดแยง ไดด งั นี้
๑. เขาใจธรรมชาติของมนุษยวามีความแตกตาง เห็นแกผลประโยชน ยึดม่ันถือมั่น
ในศกั ด์ศิ รีของตนเอง สง่ิ เหลาน้หี ากไมร ะมดั ระวงั ในการปฏบิ ัติงานจะนํามาซงึ่ ความขัดแยง เสมอ
๒. ฝกการควบคุมและแสดงอารมณอ ยา งเหมาะสมเพอื่ ลดความกระทบกระทัง่ กนั
๓. เปน ผฟู ง ทด่ี ี คดิ วา ขอ ตชิ มหรอื เสนอแนะจะทาํ ใหเ ราไดม โี อกาสปรบั ปรงุ แกไ ขตนเอง
๔. เผชิญความจรงิ วาทุกคนมีขอ ดีขอ เสีย มีโอกาสผิดพลาดในการปฏิบัตงิ านได
๕. ประนีประนอมในสถานการณของความขัดแยง การออกความคดิ เห็นตา งๆ
๖. ใหค ดิ ถึงมติ รภาพทรี่ ว มสรางกนั มาและยดึ ถอื เปาประสงคข องการทาํ งานเปนสําคัญ
๗. มีสติคิดกอ นจะกระทาํ สิง่ ตา งๆ เอาใจเขามาใสใ จเรา
๘. ไมย ดึ หลกั วา แพไ มเ ปน เพราะการยอมรบั ฟง ดว ยเหตผุ ลมใิ ชก ารแพช นะ แตเ ปน การเลอื ก
วธิ กี ารท่เี หมาะสมกับสถานการณหรือปญ หานนั้ ๆ
๙. ใชห ลักธรรมตางๆ ในการปฏบิ ตั งิ านเพื่อใหสามารถปฏบิ ตั ิงานรวมกับผอู ่ืนได
จากที่กลาวมาเปนเพียงแนวคิดที่ผูอานสามารถนําไปประยุกตแกไขความขัดแยงได
แตท้ังน้ีตองอาศัยประสบการณการฝกปฏิบัติอยางมีทักษะจะทําใหเปนผูทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง
มคี วามสขุ มคี วามขัดแยง ในการปฏบิ ตั งิ านนอยทส่ี ดุ

¡ÒÃÊÃÒŒ §Á¹ÉØ ÂÊÁÑ ¾Ñ¹¸¡ºÑ ¼ÙºŒ ѧ¤ÑººÞÑ ªÒ

๑. เรียนรูนิสัยของผูบังคับบัญชา เราควรคิดวาผูบังคับบัญชาชอบอยางไร ทําอยางไร
ผูบังคับบัญชาจึงจะพอใจ ผูบังคับบัญชามีนิสัยอยางไร ถาเปนคนละเอียดรอบคอบตองทํางาน
ใหละเอียดรอบคอบตรวจทุกตัวอักษร บางคนก็ใจรอน ส่ังเดี๋ยวน้ี เอาเดี๋ยวน้ี การเรียนรูนิสัย
ผบู ังคับบญั ชาจะนําไปสูก ารทํางานใหถ ูกใจพอใจผูบ ังคบั บญั ชาได

๕๙

๒. ทาํ งานไดดี หลีกเลี่ยงการประจบสอพลอ การทํางานใหด ีมหี ลายอยา ง คือ ดีของเรา
แตไมด ขี องผบู งั คบั บัญชา หรอื ดขี องใคร ตอ งศกึ ษาดวู า เพราะเหตุใด? จงึ ยงั ไมถ ูกใจทานเปนเรือ่ งของ
“นานาจติ ตัง”

๓. หาทางทําใหความคิดของผูบังคับบัญชาเกิดผล ผูใตบังคับบัญชาที่ดีตองเปนคน
ที่ชว ยเหลอื กจิ การงานของผูบังคบั บัญชาตามอํานาจหนาทท่ี ไี่ ดรับมอบหมาย

๔. ใหความเคารพและยกยองผูบังคับบัญชาตามฐานะ ขอปฏิบัติน้ีเปนเร่ืองธรรมดา
เพราะเปนวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีของคนไทยในการใหความเคารพตอผูมีอาวุโสหรือ
ผูสูงอายกุ วาหรือผทู ่เี ปนผบู งั คบั บญั ชา

๕. อยากอเร่ืองกับเพื่อนรวมงาน การทะเลาะเบาะแวงกันในที่ทํางานยอมทําความ
เดือดรอนใจ รําคาญใจมาสูผูบังคับบัญชา ทําใหเกิดการแตกแยก เกิดความหวาดระแวงกัน
งานดาํ เนนิ ไปอยา งไมมปี ระสทิ ธิภาพ

๖. ไมควรรบกวนผูบังคบั บญั ชาในเรอื่ งเลก็ ๆ นอ ยๆ
๗. เขา หาผบู งั คบั บญั ชาใหเ หมาะสมกบั โอกาสและเวลา การเขา พบในระหวา งเวลาทาํ งาน
ยอมทาํ ไดตลอดเวลา ตองเลอื กเวลาและโอกาส
๘. อยานนิ ทานายลบั หลงั
๙. แสดงความขอบคุณเมอ่ื ผูบังคบั บัญชาปฏบิ ัตติ อเรา
๑๐. กลาวสรรเสรญิ คุณความดีของผบู ังคับบญั ชา
๑๑. อยาบน ถึงความลําบากตอ หนาผูบังคับบัญชา
๑๒.ลองประเมนิ ตนเอง

¡ÒÃÊÌҧÁ¹ØÉÂÊÑÁ¾¹Ñ ¸¡Ñº¼ŒãÙ μºŒ ѧ¤ºÑ ºÞÑ ªÒ

หมายถงึ การประพฤตปิ ฏบิ ตั ขิ องผบู งั คบั บญั ชาควรจะทาํ อยา งไรจงึ จะทาํ ใหผ ใู ตบ งั คบั บญั ชารกั
ผใู ตบ งั คบั บญั ชาโดยสว นใหญม กั ใชค าํ วา ลกู นอ ง ซง่ึ เปน คาํ ไทยแทท ใี่ หค วามหมาย สนทิ สนม เปน ทง้ั ลกู
เปน ทง้ั นอ ง ฉะนน้ั ในฐานะทเี่ ปน ผบู งั คบั บญั ชากเ็ ปน ทงั้ พอ แมแ ละเปน ทง้ั พด่ี ว ย จงึ ตอ งใหค วามรกั ใคร
เห็นอกเห็นใจแกผูใตบังคับบัญชาดวยความจริงใจ จึงประมวลส่ิงที่ผูบังคับบัญชาตองปฏิบัติตอ
ผูใตบ ังคับบญั ชา มีดังน้ี

๑. รูจ กั ควบคมุ อารมณต นเอง
๑.๑ อยา โมโหฉุนเฉยี ว
๑.๒ อยา หลงตนวาเกงกวา ผอู ่นื
๑.๓ อยา ใชอํานาจเกินความจาํ เปน
๑.๔ อยาตดั สนิ ใจเวลาโกรธ คนท่กี าํ ลงั โกรธมักขาดเหตผุ ล
๑.๕ อยา เลอื กทรี่ กั มักท่ีชัง หมายถึง อยา อคติ อยา ลาํ เอยี ง

๖๐

๒. รูจักสงเสริมกําลังใจผูใตบังคับบัญชา ผูบังคับบัญชาที่ดีตองคํานึงถึงความรูสึก
ของผูใ ตบ ังคบั บญั ชาซึ่งมวี ิธปี ฏิบตั ิดงั นี้

๒.๑ เอาใจเขามาใสใจเรา
๒.๒ แสดงความเช่อื ม่นั ในตวั ตนของผใู ตบ งั คับบญั ชา
๒.๓ อยาจูจจี้ กุ จิกเหมอื นเปนโรคประสาท
๒.๔ ดแู ลความยากลําบากในการทํางานของผูใตบ ังคบั บญั ชา
๒.๕ มีความจรงิ ใจตอ ผใู ตบ ังคับบัญชา
๓. รูจักยกยอง ชมเชย ใหบําเหน็จความชอบ มนุษยทุกคนเกิดมามักจะตองการ
ผลตอบแทนทางจิตใจแลวยังมีความตองการทางดานวัตถุดวย เชน ลาภ ยศ สิ่งของ เปนตน
หลักความตองการทสี่ ามารถนําไปใชกบั ผูใ ตบ ังคับบัญชา เพือ่ สรา งความสัมพนั ธกบั การยกยองมดี ังน้ี
๓.๑ ยกยองชมเชย เมอ่ื เขาทําดี
๓.๒ แสดงความยนิ ดใี นความสาํ เรจ็ ของเขา มนษุ ยท กุ คนยอ มมคี วามภาคภมู ใิ จ ดใี จ
เมอ่ื ประสบความสําเร็จ
๓.๓ ใหบ าํ เหน็จความชอบหรอื รางวลั
๓.๔ หลีกเล่ยี งการถูกขบู งั คบั
๓.๕ ชแ้ี จงความเคล่อื นไหวในวงงานใหท ราบ
๓.๖ รกั ษาผลประโยชนข องผใู ตบังคบั บญั ชา

¡ÒÃÊÃÒŒ §Á¹ÉØ ÂÊÁÑ ¾¹Ñ ¸¡ºÑ à¾×Íè ¹Ã‹ÇÁ§Ò¹

มนุษยเราเม่ือเติบโตขึ้นยังตองทํางานอยูกับเพ่ือนหลายคน มีโอกาสที่จะกระทบ
กระท่ังกัน ขัดแยงกัน เราจะมีวิธีการสรางมนุษยสัมพันธ เพ่ือใหทุกคนมีความรูสึกรักใครกันควรจะ
ปฏิบตั ิตอ กันดังนี้

๑. เริ่มตน ดว ยการทักทายกัน อยา รรี อใหคนอื่นมาทกั กอ น
๒. มคี วามจรงิ ใจตอเพือ่ น
๓. หลกี เลีย่ งการนนิ ทาเพ่ือน
๔. อยาซดั ทอดความผิดใหเ พอื่ น
๕. ยกยอ งชมเชยเพอื่ นในสงิ่ ท่ีสมควร
๖. ใหความรว มมอื กบั เพ่อื นดว ยความเต็มใจเสมอ
๗. ใหเพ่อื นไดทราบในเรอ่ื งท่เี ขารับผดิ ชอบหรือเกี่ยวของ
๘. ฟง ความเหน็ ของเพื่อนๆ บาง เปน เพ่ือนกันตองใหเกยี รติ
๙. หลีกเล่ยี งการทําตัวเหนอื เพื่อน
๑๐. ทาํ ตนใหเสมอตน เสมอปลาย

๖๑

¡ÅÂ·Ø ¸ã¹¡ÒÃÊÃÒŒ §¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ã¹·èทÕ ํา§Ò¹

ñ. ¡ÒÃʹã¨ã¹μÑǺؤ¤Å͹×è
มีคํากลาวไววาถาเรามีความสนใจในตัวบุคคลอื่น เราอาจจะหาเพื่อนใหมไดเพียงใน
๒ เดอื น แตถ า หากเราจะหาเพอื่ นใหมโ ดยการจงู ใจใหเ ขามาสนใจในตวั เรา อาจจะตอ งใชเ วลามากกวา
๒ ป จะสงั เกตไดว า บคุ คลผเู ปน ทร่ี กั ใครข องคนทว่ั ไปนน้ั สว นใหญจ ะเปน ผทู มี่ คี วามสนใจในตวั บคุ คลอน่ื
ดังนั้นจึงตองรูจักแสดงความสนใจในตัวบุคคลอื่น และเมื่อเพ่ือนรวมงานมีปญหาก็ควรเสนอตนเอง
ชวยเหลือเพ่ือนดว ยความเตม็ ใจ
ò. ÂÁéÔ áÂŒÁᨋÁãÊÍÂÙ‹àÊÁÍ
บุคคลจะเปนที่ประทับใจแกผูพบเห็นมากท่ีสุดและนานที่สุดก็คือ บุคคลท่ีมีใบหนา
ย้ิมแยมแจมใสอยูเสมอ เมื่อเราพบปะบุคคลเชนนี้เราก็จะรูสึกวาเกิดความรักความนับถือขึ้นมาทันที
ทั้งๆ ที่เราอาจจะไมเคยรูจักเขามากอน ใบหนาที่ย้ิมแยมจะทําใหบุคคลที่พบเห็นเกิดความเกรงใจ
มคี วามกระตอื รอื รนและมีความขยนั ขนั แข็งขึ้นมาโดยไมตอ งใชอาํ นาจใดๆ บงั คบั โดยเฉพาะอยางยิ่ง
การยม้ิ ท่ีเปดเผยและเต็มใจยม้ิ เสมอ
ó. ¡ÒÃจําªè×ͺؤ¤Åμ‹Ò§æ
คนเรายอ มสนใจและพงึ พอใจ โดยเฉพาะอยา งยงิ่ การทม่ี ใี ครกต็ ามทจี่ ดจาํ และเรยี กชอื่ เรา
ไดอยางถูกตอง เพราะนั่นหมายความวาเรายงั มีความสาํ คญั อยูเสมอ
ô. ¡ÒÃ໚¹¼¿ÙŒ §˜ ·´èÕ Õ
บุคคลที่เราสนทนาดวยน้ันยอมสนใจในตนเองและความตองการของผูสนทนา
ดงั นนั้ หากปรารถนาทจี่ ะเปน ทรี่ กั ใครข องบคุ คลอน่ื จะตอ งรจู กั เปน นกั ฟง ทด่ี ี สนใจเรอ่ื งทบี่ คุ คลอน่ื พดู
และพยายามจงู ใจใหเขาพูดดว ยความสบายใจ พรอมสนับสนนุ หรือยกยองการพูดนนั้ เปน ครั้งคราว

๖๒

õ. ¡Òþٴã¹àÃ×Íè §·¼Õè Ù¿Œ ˜§Ê¹ã¨
เดล คารเนกี้ กลาวไววา ถาเราอยากเปนท่ีรักใครของผูอื่น ถาเราปรารถนาจะสราง
ความนยิ มในตวั เองแลว จงสนทนาในเรอ่ื งทอี่ ยใู นความสนใจของคสู นทนา ตอ งรวู า คสู นทนาสนใจเรอื่ ง
อะไร พยายามแสวงหาขอมลู เพอ่ื ทาํ ใหสามารถพูดและตอบคําถามได แตไ มไดห มายความวา จะตอง
รขู อ มูลไปท้งั หมด จงรูเพ่ือกลาวนําหรอื คอยรับฟง บางก็พอแลว
ö. ¡ÒÃèŒÙ ¡Ñ ¡‹ͧº¤Ø ¤Å͹è×
นักจติ วทิ ยาหลายทานเคยกลา วไวว า ความปรารถนาอยา งแรงกลาอยา งหน่งึ ของมนุษย
คือ ความปรารถนาท่ีจะไดร บั คําสรรเสรญิ คนเรามีความตอ งการใหผอู ่ืนรวู า เรามคี วามสาํ คญั ดงั นั้น
เม่ือเราปรารถนาจะเปนที่ชอบพอของบุคคลอื่น เราก็ตองปฏิบัติตอคนอ่ืน เชนเดียวกับท่ีเราตองการ
ใหบุคคลอื่นปฏบิ ัติตอเรา
การทํางานทุกอยางยอมมีอุปสรรคท้ังส้ิน แตถาหากวาพวกเราทุกคนรูจักสราง
ความสมั พนั ธเ ชงิ กลยทุ ธใ นการปฏบิ ตั งิ านและนาํ มาใชใ หเ ปน ประโยชนแ ลว เรากจ็ ะสามารถทาํ งานได
อยา งราบร่นื และมปี ระสิทธภิ าพยิง่ ข้นึ
๑. เพ่ือกอหรือสรางสรรคความสัมพันธใหผูอื่น รูจักเรา เขาใจเรา สัมพันธกับเรา
และทาํ ใหเรารูจกั เขาดขี น้ึ
๒. เพื่อเชิญชวนใหเกิดความสนใจประเภทท่ีจะมีสัมพันธกับเรา เปนการกระตุนเตือน
ใหร ู ระลึกถึงชอ่ื เสียง เกยี รตคิ ณุ คุณความดีของเรา มิใหล มื เลือนจากกัน
๓. เพ่ือเปนการศึกษาปฏิกิริยาตอบสนองจากผูท่ีเราสื่อออกไปวาจะมีสัมพันธไปใน
เชงิ บวก ลบ และเฉยๆ เพ่อื นําไปปรบั ปรุงแกไขพฤติกรรมของเรา
๔. เพ่ือตองการใหเกิดการกระทําหรือดําเนินการในกิจการงานหรือกิจกรรมตางๆ
ทเ่ี ราปรารถนาใหป ระสบความสําเร็จ

¡ÒûÃѺ»Ãاμ¹àͧà¾Í×è ¾²Ñ ¹Ò´ÒŒ ¹¤ÇÒÁÊÁÑ ¾Ñ¹¸

กอนที่จะไปสัมพันธกับผูอื่น จําเปนจะตองปรับปรุงตัวเองใหมีคุณลักษณะท่ีเหมาะสม
เปน ที่ยอมรับของบคุ คลท่วั ไปกอ น ดังตอไปน้ี

๑. บุคลิกลักษณะ บุคลิกลักษณะเปนเร่ืองที่ติดตัวมาแตกําเนิดบางอยางปรับปรุงไมได
แตมีลักษณะบางอยางท่ีปรับปรุงได เชน การอวนการผอมเกินไป สามารถปรับปรุงไดโดยการออก
กาํ ลังกายถา อว นเกนิ ไป ถาผอมเกินไปอาจไปหาแพทยเพื่อขอคําแนะนําในการรักษาโรคบางชนิดและ
ในการรับประทานอาหาร ตลอดจนการพักผอนก็อาจจะใหมีรางกายสมสวนได ในเรื่องกิริยาทาทาง
และมารยาท ถาเรารูจักวางตัว รูจักพูดจา และรูจักมารยาทของสังคม ก็จะทําใหเราสามารถทาํ ตัว
ใหเ ปน ท่รี กั ใครยอมรับนับถอื ได

๖๓

๒. การแตงกายและกิริยาทาทาง เปนส่ิงสําคัญอยางหน่ึงเพราะการแตงกายและกิริยา
ทาทางเปนสิ่งแรกที่สะดุดตาคน และจะดึงดูดความสนใจของคนในสังคมนั้นๆ เปรียบไดเชนเดียวกับ
รา นคา ถา รา นคา รจู กั ตกแตง หนา รา นใหส วยงาม รา นนน้ั กจ็ ะมคี นเขา มาก ถา รา นใดไมร จู กั ตกแตง หนา รา น
วางขาวของเกะกะคนก็ไมย ากเขา ไปซือ้ ของ

หลักในการแตงกาย ไมวาจะเปนหญิงหรือชายตองพยายามแตงกายใหเรียบรอยท่ีสุด
ตอ งพยายามใหส ภุ าพ และสะอาดตา โดยยดึ หลกั วา “ตอ งแตง ตามสมยั อยา แตง ลา้ํ สมยั ” คนทแ่ี ตง ตวั ดี
และมกี ริ ยิ าทา ทางนมุ นวลสภุ าพ นอกจากจะดงึ ดดู ความสนใจของผทู พ่ี บเหน็ แลว ยงั เปน บคุ คลทสี่ งั คม
ทัว่ ไปยนิ ดีตอนรบั อีกดวย

๓. สุขภาพอนามัย สุขภาพเปนส่ิงสําคัญ จะตองเปนผูท่ีมีสุขภาพดี รางกายแข็งแรง
ไมมีโรคภัยไขเจ็บ ควรบํารุงรักษาใหเปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณอยูเสมอ โดยหลักทางสุขภาพจิตผูที่มี
รา งกายแขง็ แรงสมบรู ณเ ปน ผทู ม่ี สี ขุ ภาพทดี่ ี ทาํ ใหเ ปน ผทู มี่ อี ารมณแ จม ใส สามารถสรา งความประทบั ใจ
ใหแกผูพบเห็น และสามารถตอบโตสัมพันธกับบุคคลทั่วไปไดดี และสามารถจะแกปญหาตางๆ
ไดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพ

๔. ความรใู นการสรางสมั พันธกับบุคคลอืน่ จําเปน อยา งยิ่งทีเ่ ราจะตอ งเปน ผูที่มคี วามรู
ซงึ่ แบงไดเปน ๒ ประการ คอื รเู ฉพาะอยาง อยางลกึ ซึง้ เชน มคี วามรูในวชิ าชพี ของเรา และความรู
ในเร่ืองราวโดยท่ัวไป ที่เรียกวามีความรอบรู ซ่ึงทั้ง ๒ อยางทําใหเปนคนเฉลียวฉลาด มีไหวพริบ
ซง่ึ จะเปน ประโยชนโ ดยสว นตนแลว เรายงั จะใชค วามรขู องเราในการชว ยเหลอื แนะนาํ ผอู นื่ พบปะสนทนา
พูดคุย แลกเปล่ียนทรรศนะกับบุคคลโดยทั่วไปในสังคมอีกดวย ผูที่ดอยดวยความรูยอมมีอุปสรรค
อนั สาํ คญั ที่จะชว ยใหตนเองประสบความสําเร็จและสรางความสมั พนั ธก ับชุมชน

เราสามารถจะหาความรูไ ดจ ากการอานตาํ ราเอกสารตางๆ การฟงปาฐกถาจากวิทยากร
ผูทรงคุณวุฒิตางๆ เก็บส่ิงที่ไดอาน ไดฟง ไดศึกษาคนความาไตรตรองพิจารณาใหเปนแนวความคิด
ของเรา หรอื ทีจ่ ะใชส นับสนุนใหเร่ืองท่ีเราจะใชส่ือสารกบั บุคคลอนื่

๕. ความสามารถ ความสามารถก็คือการรูจักนําความรูมาปฏิบัติ มีอยูมากมาย
ที่คนที่เรียนจบไดปริญญาระดับสูงแตเขาไมสามารถนําความรูมาใชในการปฏิบัติไดทําใหชีวิตของเขา
ไมก าวหนาเทาคนที่เรียนนอยกวา แตส ามารถปฏิบตั ิงานท่ไี ดร บั มอบหมายใหป ระสบความสาํ เร็จได

๖. การมีเจตคติที่ดีตอบุคคลท่ัวไป เจตคติของบุคคลมีความสําคัญตอสังคมมาก
เพราะเจตคติหมายถึงความรูสึกตอบุคคลหรือสถานการณ ในลักษณะที่พอใจ หรือไมพอใจก็ได
การกระทาํ ทกุ อยา งในสงั คม จะตอ งชว ยเหลอื เกอื้ กลู ซงึ่ กนั และกนั หากบคุ คลในสงั คมนน้ั มคี วามรสู กึ
(เจตคติ) ที่ไมดีตอกันแลว ก็จะเปนอุปสรรคตอความสุข ความสงบของสังคมแหงนั้นมาก เชน
การดูหมิน่ ของบุคคลทมี่ ีผวิ สขี าวตอผิวสดี าํ ในบางประเทศ เปน ตน นักจติ วทิ ยาเชอ่ื วา เจตคตเิ ปน ตัว
กาํ หนดพฤติกรรม ถา บุคคลมเี จตคตทิ างท่ีดตี อ สงิ่ ใด บคุ คลใด เขาพรอมจะเขาหาชว ยเหลอื ตอส่งิ น้ัน
จึงมีผลตอการสรางสัมพนั ธภาพกบั บคุ คลหรอื ชุมชนเปนอยางมาก

๖๔

๗. การตั้งใจ การทําสิ่งใดใหประสบความสําเร็จ จะตองทุมเทจิตใจใหแกงาน ทุมเท
การทํางานใหเต็มความสามารถที่ตนมีอยู มีความรับผิดชอบของงานสูง ควรจะใชวิธีการใหมๆ
ใหทันสมัย ใหไดงานมาก ใชเวลานอย ผลงานท่ีออกมามีคุณภาพและปริมาณมาก นอกจากน้ัน
จะตอ งเปน คนกลา คิด กลา ทาํ ลงทนุ ลงแรง กลาทําใหบางสงิ่ ที่ตนคดิ ขนึ้ สิ่งไหนทเ่ี หน็ วา ควรเปนไปได
ก็ลองคิดข้ึน ทดสอบความเปน จรงิ และเผยแพรแ นวความคดิ ตอ ไป

การเปนคนตั้งใจจริงน้ัน จะตองเปนคนระมัดระวังคําพูด รักษาคํามั่นสัญญากับผูอ่ืน
ใหเ ขาไววางใจ เชือ่ ถอื ได เชอ่ื ไดวาเปน การสรางความสมั พนั ธท ี่ดใี หแ กบคุ คลและสังคมไดเ ปน อยางดี

ท่ีกลาวมาท้ังหมดน้ี เปนส่ิงท่ีบุคคลที่หวังจะสรางความสัมพันธกับบุคคลอ่ืนและสังคม
โดยทวั่ ไป จาํ ตอ งสรา งใหเ กดิ มใี นตนและพยายามปรบั ปรงุ สง่ิ ทมี่ อี ยแู ลว ในตนใหม มี ากขน้ึ จนสามารถ
ทจี่ ะสรา งสมั พันธก ับบคุ คลอื่นอยางราบร่ืนตอไป (ศรณั ย คาํ รสิ ุข, ๒๕๓๓:๑๐๗-๑๑๒)

๖๕

º·ÊûØ

ทีมท่ีประสบความสําเร็จในการทํางานจะตองมีความเปนหนึ่งเดียวกันทุกๆ คนจะถูกดึง
เขา มาในทศิ ทางเดยี วกนั เพอื่ ใหบ รรลคุ วามสาํ เรจ็ ในงานและ/หรอื บรรลเุ ปา หมายรว มกนั โดยทว่ั ไปแลว
งานและ/หรอื เปา หมายอาจบรรลไุ ดเ มอ่ื ทาํ งานรว มกนั แทนทจ่ี ะตา งคนตา งทาํ ทมี งานทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ
จะมีลักษณะโดดเดนและสมาชิกทุกคนมีความรูสึกวา ตนเองมสี วนรวมในความสําเร็จดว ย จดั การดว ย
ตนเอง ทีมงานที่ประสบความสําเร็จในการทํางานมีแนวโนมวาจะสรางโครงสรางเฉพาะตนขึ้นมา
เนื่องจากสมาชกิ ยอมรับบทบาทของตนในเวลาตา งๆ กนั คลอ ยตามความจาํ เปน ความตองการและ
ความสามารถของตน บางคนอาจมีประสบการณในงานเฉพาะอยางจึงอาจเปนคนจัดการใหคนอ่ืนๆ
ทาํ ตาม คนอน่ื ๆ กจ็ ะทาํ หนา ทใี่ นกจิ กรรมของตนไปในงานทเ่ี ขาคนุ เคย พฤตกิ รรมเหลา นจ้ี ะถกู พฒั นา
ไปในแนวของโครงสรา งองคก รและสมาชกิ ทกุ คนจะตอ งปฏบิ ตั ติ าม สมาชกิ ของทมี ทป่ี ระสบความสาํ เรจ็
ในการทาํ งานจะรว มมอื กบั คนอน่ื ๆ เพอ่ื ทาํ งานชนิ้ ใดชนิ้ หนง่ึ หรอื ทาํ ใหเ ปา หมายสาํ เรจ็ อยา งไมห ลกี เลยี่ ง
รวมกันทํางานตามกําลังความสามารถของตนเอง ใหคําปรึกษาแนะนําและชักจูงเม่ือจําเปน
รวมประสานงานในหนาที่และแกไขปญหาอุปสรรครวมกัน ทุกคนตางเอื้ออาทรชวยเหลือกันและ
มคี วามเปน หนง่ึ เดยี วกนั ถา มบี คุ คลหนง่ึ บคุ คลใดทาํ งานเกนิ กาํ ลงั หรอื ประสบปญ หายงุ ยากอนั ใดพวกเขา
จะรวมมือกัน เชน อาจปกปดคนที่มาทํางานสายหรือเลิกงานกอนเวลา ขนาดของกลุมที่พอเหมาะ
โดยทั่วไปแลวทีมงานท่ีประสบความสาํ เร็จในการทาํ งานมักจะมีขนาดพอเหมาะไมใหญโตเกินไปนัก
เพอื่ ใหส มาชกิ ทกุ คนในกลมุ สามารถเขา มามสี ว นรว มสรา งสรรคแ ละจดั การดว ยตวั เองได แบง งานกนั ทาํ
อยางยุติธรรม แบงปนความคิดเห็นและความรูสึกอยางเปดเผย รวมกันคิดแกปญหาอยางฉับไวและ
ทันกาล สมาชิกสกั ๕ คนตอทีมเปน ขนาดท่ีกาํ ลังพอดี ถา มากไปกวา นั้นอาจเสียเวลาในการอภิปราย
กลุม ในขณะที่สมาชกิ คนหน่ึงหรือสองคนกาํ ลังทาํ งาน คนอนื่ ๆ อาจไมเขาไปมีสว นรว มมากนกั อาจมี
การจดั กลมุ ทม่ี สี มาชกิ นอ ยกวา ๕ คน ซงึ่ จะมบี คุ คลทมี่ คี วามสามารถไมเ พยี งพอหรอื มคี วามรไู มเ พยี งพอ
รวมทั้งความเชี่ยวชาญในงานก็อาจไมเพียงพอท่ีจะทาํ ใหงานสาํ เร็จอยางเรียบรอย แตไมวากลุมจะมี
สมาชิกมากนอยเพียงใดก็ตาม ทานอาจไมอยูในสถานะที่จะคัดเลือกได จาํ นวนสมาชิกเลขคี่จะดู
สมเหตสุ มผลกวา เพอ่ื หลกี เลย่ี งการเผชญิ ปญหา เสียงคร่ึงหนง่ึ เห็นอยา งหนึง่ เสียงอีกครงึ่ หนง่ึ เหน็ อกี
แบบหนง่ึ ในการตดั สนิ ปญ หาใดๆ การรจู กั เพอ่ื นรว มทมี อกี อยา งหนงึ่ ทคี่ วรจํากค็ อื ทา นไมค วรมที ศั นะ
ตอ เพอ่ื นรว มทมี ทกุ คนวา จะมปี ระสทิ ธภิ าพเปน แบบเดยี วกนั เพราะทกุ คนจะมบี คุ ลกิ ภาพทแี่ ตกตา งกนั
จึงควรพิจารณาใหตางทัศนะกันไป เพราะวาเขาหรือเธออาจมีเพียงบางอยางท่ีสอดคลองกัน
จงึ จาํ เปน ตอ งรูจ ักคนแตล ะคนเปน อยางดี

¡¨Ô ¡ÃÃÁ·ÒŒ º·

ใหนักเรียนอธิบายกลยทุ ธในการสรา งความสัมพนั ธในทีท่ ํางานวา จะตอ งทําอยางไรบาง

๖๗

º··èÕ ö

¨ÔμÇÔ·ÂÒ㹡Òû¯ºÔ ÑμÔ§Ò¹¢Í§ตําÃǨªØÁª¹ÊÁÑ ¾¹Ñ ¸

ÇμÑ ¶»Ø ÃÐʧ¤

เพือ่ ใหนักเรยี นทราบเก่ียวกบั จิตวทิ ยาในการปฏบิ ตั ิงานของตาํ รวจชุมชนสัมพนั ธ

¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¨μÔ Ç·Ô ÂÒ

คําวา “จิตวิทยา” ตรงกับคําในภาษาอังกฤษวา psychology ซึ่งมีรากศัพทเดิมมาจาก
คาํ วา psyche หมายถึง จติ (mind) หรอื วญิ ญาณ (soul) กับคาํ วา logos หมายถงึ การเรยี น
หรือการศึกษา (study) ศาสตรว ิชา

¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ¨μÔ Ç·Ô ÂÒ

กูด (Good. ๑๙๕๙) ใหความหมายวา จิตวิทยาเปนวิชาที่ศึกษาเก่ียวกับการปรับตัว
ของอินทรียหรือส่ิงมีชีวติ ใหเขากบั สงิ่ แวดลอ ม

ฮลิ การด (Hilgard. ๑๙๕๙) ใหค วามหมายวา จติ วทิ ยา หมายถงึ ศาสตรท ศี่ กึ ษาถงึ พฤตกิ รรม
ของมนุษยแ ละสตั ว

จิตวิทยาเปนศาสตรที่มุงศึกษาเก่ียวกับมนุษย การศึกษานี้เปนการเรียนรูทําความเขาใจ
เกีย่ วกับคณุ ลักษณะตา งๆ ของแตละบคุ คล ซ่งึ มบี างสิ่งบางอยา งแตกตา งกนั บางอยางสอดคลองกนั
บางอยางคลายกันและบางอยางเหมอื นกนั การเพงประเด็นเกย่ี วกับมนุษยนัน้ สว นใหญมักจะมงุ ไปที่
การวิเคราะหพฤติกรรมตามสภาพการณของแตละบริบท เพราะพฤติกรรมเปนผลท่ีเกิดขึ้นของมนุษย
ในลักษณะตางๆ อยตู ลอดเวลา และมอี ิทธิพลตอชีวิตของตนเองและสังคมอยางเปนระบบเพ่ือความ
เขาใจเบ้อื งตน จะไดนาํ เสนอรายละเอียดเกยี่ วกับพฤติกรรมในประเด็นตางๆ ตามลําดับ

๖๘

วิชาจิตวิทยามีการศึกษาตั้งแตยุคกรีกโบราณ เม่ือสองพันกวาปมาแลวมีนักปรัชญา
คนสาํ คญั คอื ÍÃÊÔ âμàμÅÔ (Aristotle) และ à¾Åâμ (Plato) ไดศ กึ ษาทาํ ความเขา ใจและอธบิ ายเกยี่ วกบั
ธรรมชาติการแสดงออกของมนุษยสวนใหญเชื่อตรงกันวามนุษยมีสวนประกอบสําคัญสองสวน คือ
รา งกายกบั วญิ ญาณ วญิ ญาณจะมอี ทิ ธพิ ลเหนอื รา งกาย เพราะจะคอยควบคมุ ใหร า งกายกระทาํ สงิ่ ตา งๆ

เมอ่ื วทิ ยาศาสตรเ จรญิ ขนึ้ มผี พู ยายามศกึ ษาหาความรทู างวทิ ยาศาสตรม าเพอื่ ใชอ ธบิ าย
เกย่ี วกบั วญิ ญาณแตก ย็ งั ไมไ ดร บั ความรเู พมิ่ เตมิ แตอ ยา งใด จงึ ทาํ ใหน กั จติ วทิ ยาหนั มาสนใจศกึ ษาเกยี่ วกบั
จติ แทน

นักปรัชญาชาวองั กฤษ จอหน ล็อค ไดพ ยายามศกึ ษาและคน ควาเก่ียวกับจิตของมนุษย
เราวา จิตคือความรูตัวเหมือนผาขาวบริสุทธิ์ ส่ิงแวดลอมเปนตัวที่ทําใหจิตของคนเราเปล่ียนไป
ส่ิงแวดลอมเหมือนกับการแตมสีลงบนผาขาว ซ่ึงแสดงใหเห็นวา จอหน ล็อค ใหความสําคัญกับ
ประสบการณข องมนษุ ยเ ราทไ่ี ดร บั จากสงิ่ แวดลอ มวา มบี ทบาทตอ พฤตกิ รรมของมนษุ ยเ รา แตอ ยา งไร
ก็ตามถึงแมจะไดรับความเช่ือถืออยูบาง แตก็ยังไมสามารถพิสูจนใหเห็นจริงไดตามหลัก และวิธีการ
ทางวิทยาศาสตรเชน กัน

ตอ มาวงการวทิ ยาศาสตรเจรญิ กาวหนา อยางรวดเร็ว ทาํ ใหเ กดิ ความคัดคานและวพิ ากษ
วจิ ารณก ารศกึ ษาในสงิ่ ทไี่ มส ามารถทดลองคน ควา พสิ จู นไ ด จงึ ทําใหน กั จติ วทิ ยายคุ ใหมเ ปลยี่ นแนวทาง
การศกึ ษาจาก¨μÔ ã¨ÁÒÈ¡Ö ÉÒ¾Äμ¡Ô ÃÃÁ ซงึ่ สามารถพสิ จู นใ หเ หน็ จรงิ ไดแ ละนกั จติ วทิ ยาไดน ําเอาวธิ ที าง
วิทยาศาสตรมาใชในการอธิบายเกี่ยวกับพฤติกรรมจนเปนท่ียอมรับในวงการวิทยาศาสตร จิตวิทยา
ไดร บั การยอมรบั ในวงการวทิ ยาศาสตรต ง้ั แตน น้ั เปน ตน มาวา จติ วทิ ยา คอื วทิ ยาศาสตรท างพฤตกิ รรม
จนถึงปจ จุบนั
ÊÃ»Ø ¨μÔ Ç·Ô ÂÒ ¤Í× ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒàª§Ô Ç·Ô ÂÒÈÒÊμÃǏ Ò‹ ´ÇŒ ÂàÃÍè× §¾Äμ¡Ô ÃÃÁ¢Í§Ê§Ôè ·ÁèÕ ªÕ ÇÕ μÔ â´Â੾ÒÐÁ¹ÉØ Â
áÅÐÊμÑ Ç â´ÂÁÕ¨´Ø ÁØ‹§ËÁÒÂà¾×èÍà¢ÒŒ 㨠ÊÒÁÒö͸ԺÒ ÊÒÁÒöทาํ ¹Ò กํา˹´¤Çº¤ØÁ¾Äμ¡Ô ÃÃÁ
áÅÐนํา¤ÇÒÁÃäŒÙ »»ÃÐÂ¡Ø μãªŒ

๖๙

¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ¾Äμ¡Ô ÃÃÁ

คําวาพฤติกรรม (Behavior) นั้น นักวิชาการไดใหความหมายไวหลากหลาย ดังเชน
สมโภชน เอ่ียมสุภาษิต (๒๕๔๓) ผูเช่ียวชาญดานการปรับพฤติกรรมไดใหความหมายพฤติกรรม
วา หมายถึง สง่ิ ทบ่ี คุ คลกระทาํ แสดงออกมา ตอบสนอง หรอื โตต อบตอ สงิ่ ใดสิง่ หนงึ่ สภาพการณใด
สภาพการณหนึ่งโดยท่ีผูอ่ืนสามารถสังเกตได ราชบัณฑิตยสถาน (๒๕๔๖) ไดนิยามความหมาย
ของพฤติกรรมไววา เปนการกระทําหรืออาการที่แสดงออกทางกลามเน้ือ ความคิด และความรูสึก
เพอื่ ตอบสนองสิ่งเรา Weiten (๒๐๐๒) ไดก ลา วถึงพฤตกิ รรมวาหมายถงึ การแสดงออกหรอื กิจกรรม
ทุกส่ิงทุกอยางที่เกิดข้ึนจากความสัมพันธเก่ียวเน่ืองของระบบรางกาย สวน Dennis (๒๐๐๑)
ไดกลาวถึงพฤติกรรมวาหมายถึงการกระทําตางๆ ของมนุษย เชน การกิน การหลับ การพูดคุย
หรือการจาม แมกระท่ังการฝน โดยปกติมนุษยเราจะใหความสนใจพฤติกรรมท่ีสังเกตไดชัดเจน
แตน กั จติ วทิ ยาจะศกึ ษาทงั้ พฤตกิ รรมทสี่ งั เกตไดแ ละพฤตกิ รรมทตี่ อ งสนั นษิ ฐาน เชน ความคดิ ความจํา
อารมณท แ่ี สดงออกในสถานการณต า งๆ และ Gerrig & Zimbardo (๒๐๐๕) กลา ววา พฤตกิ รรม หมายถงึ
การท่บี คุ คลสามารถเปลี่ยนแปลงตนเองไปตามสิ่งแวดลอมท่ีเกดิ ขน้ึ ในลักษณะการกระทําแบบตา งๆ

กลาวโดยสรุป พฤติกรรมคือการตอบสนองตอสิ่งตางๆ ท่ีเขามากระทบกับบุคคล
ทงั้ ภายในและภายนอก โดยการตอบสนองนน้ั อาจจะสามารถสงั เกตไดโ ดยตรงหรอื ไมก ไ็ ด การแสดงออก
นั้นอาจเกดิ ขึน้ ในชวงทเ่ี รามีสตริ สู ึกตวั หรือไมรตู ัวก็ไดล ว นจดั เปนพฤตกิ รรมท้งั สนิ้

¾Äμ¡Ô ÃÃÁÁ¹Øɏ

พฤตกิ รรมของมนษุ ย หมายถงึ การกระทาํ ของมนษุ ยไ มว า จะเปน การกระทาํ ทมี่ องเหน็ ได
(กนิ เดิน นงั่ นอน) หรือการกระทาํ ทซ่ี อ นเรนอยูภายใน (ความคดิ ความรูสกึ )

»ÃÐàÀ·¢Í§¾ÄμÔ¡ÃÃÁ

นักจติ วทิ ยาไดจัดประเภทของพฤติกรรมมนุษยเ ปน ๒ ประเภท ดังนี้
ñ. ¾ÄμÔ¡ÃÃÁÀÒ¹͡ คือ การกระทําท่ีแสดงออกมาใหสังเกตเห็นได รับรูได หรือใช
เครอื่ งมือตรวจสอบได พฤตกิ รรมภายนอกมี ๒ ลกั ษณะ คือ

๑.๑ พฤตกิ รรมภายนอกทสี่ ามารถสงั เกตเหน็ ไดดวยตาเปลา เชน การนัง่ การนอน
การยืน การเดนิ การกิน ฯลฯ

๑.๒ พฤตกิ รรมภายนอกทรี่ บั รไู ดจ ากการใชเ ครอื่ งมอื ทางวทิ ยาศาสตรต รวจสอบ เชน
คลน่ื สมอง คลนื่ หัวใจ ความดันโลหิต การทํางานของกระเพาะอาหาร การทาํ งานของลาํ ไส เปนตน

ò. ¾ÄμÔ¡ÃÃÁÀÒÂã¹ คือ กระบวนการทางจิต พฤติกรรมท่ีไมสามารถสังเกตเห็นได
ดวยตาเปลาหรือใชเครื่องมือทางวิทยาศาสตรตรวจสอบไดโดยตรง เชน การคิด อารมณ ความรูสึก
ความจาํ การลมื การวิเคราะหหาเหตผุ ล ประสบการณต างๆ เปน ตน

๗๐

จะเห็นไดวา พฤติกรรมภายนอกและพฤติกรรมภายในจะมีความสัมพันธเก่ียวของกัน
กลา วคอื พฤตกิ รรมภายในเปน ตวั กาํ หนดพฤตกิ รรมภายนอก อยา งเชน พฤตกิ รรมภายในมคี วามยนิ ดี
และพึงพอใจกับส่ิงที่ปรารถนาก็จะแสดงออกมาเปนพฤติกรรมภายนอกใหสังเกตเห็นไดจากสีหนา
แววตา กิรยิ าทา ทาง ทางรา งกาย เปนตน

ดังนั้นในการท่ีจะเรียนรูหรือทําความเขาใจในการกระทําหรือพฤติกรรมของบุคคล
คนหน่ึง จําเปนอยางยิ่งตองทําความเขาใจเก่ียวกับพฤติกรรมภายใน ประเภทอารมณ ความรูสึก
ความคดิ ประสบการณ การวิเคราะหห าเหตผุ ลตา งๆ ของคนคนนน้ั ใหช ัดเจนเสยี กอน

เชนเดียวกันการจะเขาใจพฤติกรรมภายในของมนุษยไดก็จําเปนตองศึกษาเรียนรู
จากพฤติกรรมภายนอกท่ีบุคคลนั้นแสดงออกมากอน ทั้งนี้นักจิตวิทยาเช่ือวาพฤติกรรมทุกอยาง
ตอ งมสี าเหตแุ ละสาเหตเุ พยี งประการเดยี วอาจทาํ ใหเ กดิ พฤตกิ รรมไดใ นหลายรปู แบบ ในทาํ นองเดยี วกนั
พฤตกิ รรมแตละรปู แบบที่แสดงพฤติกรรมออกมายอ มเกดิ มาจากหลายสาเหตไุ ดเชนกัน

ยกตวั อยา งเชน การรอ งไหข องคนสองคน คนหนงึ่ อาจรอ งไหเ พราะเสยี ใจจากการขาดทนุ
ท่ีลงทุนไปทําใหหมดทุนที่ลงไปเลยรองไห ในขณะเดียวกันมีคนรองไหเหมือนกันแตคนคนนั้นรองไห
เพราะไดเจอกับครอบครัว เน่ืองจากออกจากบานนาน เมื่อมาพบกันจึงเกิดความรูสึกดีใจเลยรองไห
เปน ตน

¸ÃÃÁªÒμ/Ô ¤ÇÒÁ¤ÅÒŒ ¤ÅÖ§¢Í§Á¹Øɏ

๑. มีความอิจฉาริษยาและตอตานผูอื่นท่ีดีกวาตน ดังท่ีหลวงวิจิตรวาทการกลาววา
“อยา ทาํ ตวั ดเี ดน ...จะเปน ภัย เพราะไมม ใี คร...อยากเหน็ เราเดนเกิน”

๒. มสี ัญชาตญาณแหง การทาํ ลาย ชอบความหายนะ เชน ชอบดูไฟไหมบา น มากกวา
ดูการสรา งบาน หรือดจู ากขาวในหนา หนงั สอื พมิ พร ายวันมกั มีแตขาวรายมากกวาขาวดี

๓. ตอ สู ตอ ตานความเปลย่ี นแปลง
๔. มคี วามตอ งการทางเพศและมีความตอ งการดานรา งกายอื่นรวมดวย
๕. มีความหวาดกลวั อิทธิพล ผมู อี าํ นาจ ภัยตางๆ ภัยธรรมชาติ ภตู ผปี ศ าจ ไสยศาสตร
และจะกระทําทุกส่งิ ทกุ อยางเพ่อื ใหต นพน ภัย
๖. กลัวความเจ็บปวด ความทุกขท รมาน ความยากลําบาก และความตาย
๗. มคี วามโหดรายทารณุ ปา เถ่อื น ชอบซํา้ เติม
๘. ชอบทาํ อะไรตามสะดวกสบาย มกั งา ย ไมชอบระเบยี บบงั คับ
๙. ชอบความต่ืนเตน หวาดเสียว ผจญภัย ทองเท่ียว ชอบมีประสบการณในชีวิต
แปลกๆ ใหมๆ
๑๐. มีนสิ ยั อยากรู อยากเหน็ อยากทดลอง

๗๑

ÊÃØ»

จิตวิทยาเปนวิธีการหนึ่งที่จะชวยใหผูปฏิบัติงานทางดานชุมชนทําความเขาใจ อธิบาย
ทํานาย และนําไปใชในการทํางานกับชุมชนทั้งในปจจุบันและอนาคต อีกทั้งจิตวิทยาเพื่อการทํางาน
ในชุมชนน้ีมีฐานคิดเชิงมนุษยนิยม ทําใหผูทํางานกับชุมชนจะตองตระหนักถึงศักด์ิศรีของบุคคล
ในชุมชนเปนสาํ คญั

จติ วทิ ยา (Psychology) เปนศาสตรท ่ีมงุ ศึกษาเกย่ี วกับพฤติกรรมของมนษุ ย (Human
behavior) ดว ยการประยุกตก ระบวนการศึกษาทางวทิ ยาศาสตร กระบวนการทางวิทยาศาสตร อาทิ
การสงั เกต การสมั ภาษณ การทดลองในหอ งทดลอง การทดลองในสถานทจี่ ริง มีจุดประสงคเ พอ่ื ใหไ ด
ขอ มลู จากการศกึ ษามาเปน ความรู ความเขา ใจ อธบิ าย ทาํ นายแนวโนม ของพฤตกิ รรมของมนษุ ย เปน
ประโยชนต อ การนําขอมลู เหลา น้ันมาประยุกตใชใ นชีวิตประจําวันในระดับบคุ คล องคกร/ชุมชน และ
สงั คมตอ ไป

¡¨Ô ¡ÃÃÁ·ŒÒº·

นักเรียนคิดวาผูท่ีมีจิตวิทยาในการทํางานจะสามารถทําใหงานประสบความสําเร็จ
ไดเปนอยางดหี รอื ไม อยางไร

๗๓

º··Õè ÷

¡ÒþѲ¹ÒºØ¤Å¡Ô ÀÒ¾

ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤

เพ่ือใหผูเรียนมีความรูความเขาใจเก่ียวกับการพัฒนาบุคลิกภาพ และสามารถพัฒนา
บคุ ลิกภาพของตนเองใหเ ปน ผูทีม่ บี ุคลกิ ภาพทด่ี ี สามารถสรา งภาพลกั ษณที่ดใี หกบั องคก รได

º·นาํ

การดาํ เนนิ ชวี ติ หรอื การประกอบอาชพี ตา งๆ ในปจ จบุ นั ทง้ั หนว ยงานราชการ เอกชน ธรุ กจิ
บุคคลไดใหความสาํ คัญเร่ืองบุคลิกภาพมากทีเดียว ดังจะเห็นไดจากการรับสมัครบุคคลเขาทาํ งาน
ในตําแหนง ตา งๆ มกั กําหนดคณุ สมบตั ขิ องบคุ ลกิ ภาพไวเ ปน ประการสําคญั จากการวจิ ยั วศิ วกรกลมุ หนง่ึ
ในสหรัฐอเมริกา พบวาวิศวกรสมองดี ความรูดี และบุคลิกภาพที่ดี สามารถหาเงินและปฏิบัติหนาที่
ไดดีกวา ถึง ๖ เทา ของวศิ วกรทมี่ ีสมองดี ความรดู ีแตหยอนบุคลิกภาพ

บุคลิกภาพจึงสงผลตอ “ความสาํ เร็จ” และ “ความลมเหลว” ของตนเองและองคกร
เพราะบุคคลท่ีมีความสามารถและตาํ แหนงสูงยอมตองทํางานรวมกับคนอื่นๆ ได สามารถโนมนาว
จิตใจใหผูที่ติดตอดวยรูสึกพอใจเกิดความนิยมชมชอบ รูสึกประทับใจ ยินดีรวมมือดวยความเต็มใจ
กจ็ ะทาํ ใหก ารทํางานรว มกนั ประสบความสาํ เรจ็ ไดร บั การสนบั สนนุ อยา งเตม็ ท่ี เกดิ ประโยชนร ว มกนั ตอ
ตนเอง เพื่อนรวมงาน และองคก ร

งานแตล ะประเภทใหค วามสาํ คญั เกย่ี วกบั บคุ ลกิ ภาพทแี่ ตกตา งกนั ออกไป เชน งานบรกิ าร
งานขายสินคา สวนใหญจะตองมีบุคลิกภาพดี สะอาด พูดจาสุภาพ ก็จะทาํ ใหมีโอกาสขายสินคาได
สูงข้ึน งานประเภทใชกําลังกายบุคลิกภาพของผูประกอบอาชีพนี้ก็จะตองมีลักษณะความแข็งแรง
ทางรางกายสูง งานประเภทคาขายสินคาอาหารตางๆ บุคลิกภาพของคนประกอบอาชีพนี้ก็ควรมี
บุคลิกภาพท่ีเหมาะสมคือ แตงตัวสะอาด รัดกุม เรียบรอย ก็จะทําใหมีโอกาสขายสินคาหรืออาหาร
ไดด กี วา คนทแ่ี ตง ตวั สกปรก เส้ือผาเกา ๆ ไมเ รยี บรอย เปนตน

ดังนั้น บุคลิกภาพท่ีดีที่ไดรับการปรับปรุงแลวเปรียบเหมือนขุมทรัพยขุมพลังอันย่ิงใหญ
ท้ังในดานสวนตัวและการประกอบอาชีพ กอใหเกิดประโยชนและความสําเร็จทั้งทางดานการเงิน
ตาํ แหนงและสังคม บุคลิกภาพจึงเปนเร่ืองท่ีควรแกการศึกษา เพื่อจะไดใชขุมทรัพยใหเกิดประโยชน
ตอ ตนเองและสังคม

๗๔

¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧº¤Ø ÅÔ¡ÀÒ¾

บุคลิกภาพตรงกับภาษาอังกฤษวา Personality มีรากศัพทเต็มมาจากภาษากรีก คือ
Persona (Per + Sonar) ซ่ึงหมายถึง Mask แปลวา หนากากท่ีตัวละครใชสวมใสในการเลน
เปนบทบาทแตกตา งกนั ไปตามที่ไดรบั

นกั จติ วิทยาหลายทา นไดใ หค วามหมายของคาํ วา บุคลกิ ภาพไว ดงั น้ี
¤ÅÑ¡ÎÍˏ¹ (Kluckhohn) ไดกลาววาบุคลิกภาพของมนุษยท่ัวไปจะมีลักษณะรวม
ท่ีเหมือนกันในฐานะเปนมนุษย และจะมีลักษณะสวนหน่ึงท่ีคลายกับทุกคนในสังคมและวัฒนธรรม
ที่ตนเปนสมาชิก แตขณะเดียวกันจะมีคุณสมบัติที่พิเศษเปนเอกลักษณไมเหมือนใคร เชน คนไทย
คนใดคนหนงึ่ จะมบี ุคลิกภาพสวนตัวรว มกบั “มนษุ ย” โดยทัว่ ไป และจะมบี คุ ลิกภาพของตนโดยเฉพาะ
¨Õ àÁÍÿ ,‚ áÍÅ àÁÍÿ ‚ áÅÐ ·Õ ¹ÇÔ ¤ÍÁº (G. Murphy, L. Murphy and T. Newcomb)
กลา ววา บคุ ลกิ ภาพ คอื ความเดนประจําตัวของแตล ะบคุ คล ซ่ึงอาจบอกถงึ ความแตกตา งกับบคุ คล
อนื่ ๆ ได ในรปู ของปรมิ าณและคณุ ภาพในลกั ษณะเดน ๆ น้นั
ªä¹à´ÍÏ (Schneider) กลา ววา บคุ ลกิ ภาพ หมายถึง กระบวนการสรางหรือการรวม
คุณลักษณะทั้งดานรางกายและจิตใจของบุคคล ตลอดจนความสามารถ ความโนมเอียง นิสัย
อากัปกิริยาของแตละบุคคลโดยเฉพาะ และบุคลิกภาพจะเปนเคร่ืองกาํ หนดปฏิกิริยาของบุคคลท่ีมี
ตอตนเองและผูอื่น และเปนผลตอความรูสึกนึกคิดที่มีตอสิ่งแวดลอม วัตถุ บุคคล และวัฒนธรรม
ของสังคมที่เขาอาศัยอยู
àºÍù ÒÏ´ (Bernard) ไดใ หความหมายของบคุ ลิกภาพวา หมายถึง ผลรวมทง้ั หมดของ
ทาทาง รูปราง ลักษณะทางกาย พฤติกรรมที่แสดงออก แนวโนมการกระทาํ ขอบเขตความสามารถ
ทั้งที่ซอนเรน อยูภายในและทแี่ สดงออกมา

๗๕

ÁÍÃᏠ¡¹ (Morgan) ใหท ศั นะวา บคุ ลกิ ภาพ คอื คณุ สมบตั แิ ละคณุ ลกั ษณะเดน ของบคุ คล
รวมท้งั การปรบั ตวั ของบคุ คลและสงิ่ แวดลอมตา งๆ

ÎÒÏ·áÁ¹ (Hartman) ไดใหความหมายของบุคลิกภาพวาหมายถึง สวนรวมท้ังหมด
ที่บุคลิกแสดงออกโดยกิริยาอาการ ความนึกคิด อารมณ นิสัยใจคอ ความสนใจ การติดตอกับผูอ่ืน
ตลอดจนรูปรางหนา ตา การแตงกาย และความสามารถในการอยูร ว มกบั บคุ คลอ่นื

ÎÔÅ¡Òô (Hilgard) กลาววา บคุ ลิกภาพ หมายถึง ลกั ษณะสวนรวมของบุคคลแตล ะคน
อนั เปน แนวทางในการปรบั ตวั ใหเ ขา กบั สง่ิ แวดลอ ม ซงึ่ แตล ะคนมรี ปู แบบของการแสดงออกทางพฤตกิ รรม
ตางๆ กนั

μÒÁ¾¨¹Ò¹¡Ø ÃÁ©ºÑºÃÒªº³Ñ ±ÔμÂʶҹ ¾.È.òõòõ ไดใหค วามหมายไววา บุคลกิ ภาพ
หมายถึง สภาพนิสยั จําเพาะคนหรือลกั ษณะเฉพาะประจําตวั ของแตล ะบุคคลท่ีปรากฏใหเ หน็

นอกจากน้ียังมีความเห็นจากนักจิตวิทยาอีกหลายทานไดใหคําจาํ กัดความของคาํ วา
บุคลิกภาพ ซ่ึงมคี วามหมายที่คลายคลึงกนั จากคําจาํ กัดความของบุคลกิ ภาพดงั ทก่ี ลาวมาแลว ขางตน
จึงสามารถสรปุ ความหมายของคาํ วา บคุ ลิกภาพไดดงั น้ี

º¤Ø Å¡Ô ÀÒ¾ หมายถงึ แบบแผนพฤตกิ รรมของบคุ คลซง่ึ เปน ลกั ษณะเอกลกั ษณท แี่ สดงออก
ท้ังทางดานความคิด ความรูสึก ความสนใจ สติปญญา รวมทั้งทางดานสรีระ บุคลิกภาพภายนอก
และภายใน ทําใหสามารถแยกแยะความแตกตางระหวางบุคคลได บุคลิกภาพของบุคคลเปนผล
มาจากพันธุกรรม (Heredity) และสิ่งแวดลอม (Environment)

¤ÇÒÁสํา¤ÞÑ ¢Í§º¤Ø ÅÔ¡ÀÒ¾

การมีบุคลิกภาพที่ดีจะทําใหบุคคลมีลักษณะสําคัญที่เปนประโยชนตอการดาํ เนินชีวิต
ในแงมุมตางๆ เชน การมีความสามารถในการรับรูและเขาใจในสภาพความเปนจริงไดอยางถูกตอง
การแสดงอารมณจะอยูในลักษณะและขอบเขตท่ีเหมาะสม มีความสามารถในการสรางความสัมพันธ
กับผูอ่ืนและสังคมไดดี มีความรัก และความผูกพันตอผูอื่น มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง
การพัฒนาทางการแสดงออกของตนตอ ผอู ื่นไดดี

บุคลิกภาพจึงเปนส่ิงสําคัญในการสรางความสัมพันธระหวางบุคคล ท้ังในดานของการ
ดําเนนิ ชวี ติ การยอมรบั ความแตกตา งระหวา งบคุ คล การปฏบิ ตั หิ นา ทก่ี ารงาน การเขา สงั คม ซงึ่ สง่ิ เหลา น้ี
ลว นแลว แตม ผี ลตอ ความเจรญิ กา วหนา ของบคุ คล การมบี คุ ลกิ ภาพทด่ี ที าํ ใหบ คุ คลไดร บั ประโยชน ดงั นี้

ñ. ¤ÇÒÁÁÑè¹ã¨ (Confident) ผูท่ีมีบุคลิกภาพท่ีดี จะทําใหรูสึกมั่นใจในการแสดงออก
มากขึ้น กลาแสดงความคิดเห็น แสดงความรูสึก และกลาท่ีจะทาํ กิจกรรมตางๆ ซ่ึงมักจะเปนการ
แสดงออกท่ดี ีทาํ ใหผ ูพ บเหน็ ใหค วามสนใจซง่ึ นาํ ไปสคู วามเชือ่ มั่นในตนเองของบคุ คลผนู ัน้ เชน การมี
บคุ ลกิ ภาพทดี่ ี เมอ่ื ไดร บั คดั เลอื กใหเ ปน ตวั แทนกลมุ ในการนําเสนอผลงาน กส็ ามารถนาํ เสนอผลงานไดด ี
เพราะมีความมัน่ ใจ และกลา แสดงออก

๗๖

ò. ¤ÇÒÁสําàÃç¨ (Success) บุคคลที่มีบุคลิกภาพที่ดี สามารถสรางความเช่ือถือศรัทธา
ประกอบกบั ความเชอื่ มน่ั ในตนเอง จงึ สามารถทาํ งานไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถสรา งความศรทั ธา
ใหผ ูร วมงานใหความรว มมอื ทําใหไ ดร ับความสะดวกพรอ มเพรียงและปฏบิ ัติงานใหส ําเรจ็ ดว ยดี

ó. ¤ÇÒÁ໚¹μÑǢͧμÇÑ àͧ (Self-confident) ผูทมี่ ีบุคลกิ ภาพดี จะมลี ักษณะเฉพาะตัว
และเปนตัวของตัวเองสามารถแสดงออกไดอยางเต็มศักยภาพ ท้ังดานการแสดงออก การแสดง
ความคดิ เหน็ เม่ือเขารว มกิจกรรมตางๆ

ô. ¡ÒÃÂÍÁÃѺ¤ÇÒÁáμ¡μ‹Ò§ÃÐËÇ‹Ò§ºØ¤¤Å (Individual differences) ผูท่ีมี
บุคลิกภาพที่ดีจะมองเห็นและยอมรับในความแตกตางของบุคคลวา คนแตละคนมีความแตกตางกัน
ทั้งดานรูปรางและสติปญญา จึงทาํ ใหผูพบเห็นยอมรับและแยกความแตกตางของบุคคลได ชวยให
สามารถรจู กั และเขา ใจบคุ คลแตล ะคนไดดขี น้ึ

õ. ¡ÒÃ»ÃºÑ μÇÑ (Adaptation) ผทู มี่ บี คุ ลกิ ภาพทด่ี จี ะมองเหน็ และยอมรบั ในความแตกตา ง
ระหวางบคุ คลจึงสามารถปรบั ตวั ใหเ ขากบั บคุ คลและสถานการณไ ดด ีข้นึ สามารถสรา งสัมพันธภาพกับ
บุคคลท่แี วดลอ มและเกีย่ วขอ งได

ö. ¡ÒÃÂÍÁÃѺ¢Í§¡Å‹ØÁ (Acceptance) ผูที่มีบุคลิกภาพดียอมเปนที่ตองตาตองใจ
นิยมชมชอบศรัทธา เช่ือม่ัน และไดรับการยอมรับจากกลุมเปนอยางดี ทาํ ใหรูสึกพอใจ ยินดี
และมคี วามม่ันคงทางดา นจิตใจ เสริมสรา งใหไ ดรบั ความสําเร็จทงั้ สว นตนและองคก ร

÷. ¡ÒäҴËÁÒ¾Äμ¡Ô ÃÃÁ (The expected behavior) บคุ คลทม่ี บี คุ ลกิ ภาพดที ต่ี า งกนั
ทําใหส ามารถทาํ นายพฤตกิ รรมของบคุ คลนน้ั ได เชน บคุ คลทย่ี ม้ิ แยม แจม ใสมกั เปน คนทม่ี มี นษุ ยส มั พนั ธด ี
บคุ คลที่มีความกระตอื รอื รน มักเปนผูใ ฝร ู ใฝเ รียน เปนตน

Å¡Ñ É³Ð¡ÃÔ ÂÔ Ò·‹Ò·Ò§ ÊÒÁÒöºÍ¡¶§Ö º¤Ø ÅÔ¡ÀÒ¾¢Í§ºØ¤¤Åä´Œ

๗๗

¾²Ñ ¹Ò¡ÒôҌ ¹ºØ¤Å¡Ô ÀÒ¾

บคุ ลิกภาพที่หลอหลอมเรอ่ื ยมาตงั้ แตเกิดจนตายนัน้ มีพัฒนาการตามความเจรญิ เติบโต
ตามชวงอายุหรอื ตามวยั ดังตอไปน้ี

ñ. ÇÂÑ ·Òá (Infant)
อายแุ รกเกิดถงึ ๒ ขวบ เปน พฒั นาการดานบคุ ลกิ ภาพของมนุษยใ นการวางรากฐาน

ของชวี ติ ซง่ึ ไดร บั อทิ ธพิ ลจากครอบครวั โดยเฉพาะผเู ลยี้ งดู เวน แตท ารกทไ่ี ดร บั การเลย้ี งดจู ากสถานเลยี้ งดู
(Nursery) พฤตกิ รรมก็จะตางออกไป

อิทธิพลท่ีมผี ลตอ บุคลิกภาพของทารกมดี งั นี้
๑. ความสัมพันธของบุคคลในครอบครัว เชน ระหวางพอแมที่มีตอลูก ระหวางพอ
และแมเอง ถา เดก็ พบวาครอบครัวมีการทะเลาะเบาะแวงเปนประจาํ ขดั แยงและทํารา ยซงึ่ กันและกนั
หรอื พอ แมเ ลกิ กนั เดก็ จะเกดิ ความเครยี ดในจติ ใจ ปราศจากความสขุ ขาดความอบอนุ กจ็ ะมพี ฤตกิ รรม
แสดงออกเรยี กรองความสนใจดว ยพฤติกรรมตางๆ ไมเคารพพอ แมห รอื เฝา สงสารตัวเอง
๒. วิธีเลี้ยงดูและการอบรมในวัยเด็ก บางครอบครัวเล้ียงดูบุตรดวยวิธีเผด็จการเขมงวด
คือ รับคําสั่งและทาํ ตามอยางเดียวไมใหแสดงความคิดเห็น บางครอบครัวเล้ียงดูแบบประชาธิปไตย
บางครอบครัวเล้ยี งดูแบบปลอยปละละเลย ผลทมี่ ีตอเดก็ คอื

๒.๑ การเลยี้ งดแู บบเขม งวดหรอื เผดจ็ การ เดก็ จะรสู กึ วา พอ แมไ มร กั ตน เดก็ จะกลายเปน
คนข้กี ลัว คอื กลวั ผูปกครองจนลนลานหรอื ตอตานอาํ นาจหรอื วา ฝนคาํ สัง่ จนกลายเปน คนดื้อดา น

๒.๒ การเลย้ี งดแู บบประชาธปิ ไตย คอื ผปู กครองเขา ใจความตอ งการและใหอิสระ
ตามสมควร ไมล งโทษดวยวิธีเฆย่ี นตีมากนัก เดก็ จะมกี ารปรบั ตัวที่ดี เปนตวั ของตัวเอง กลาแสดงออก
และเชือ่ มัน่ ในตัวเอง

๒.๓ การเลย้ี งดแู บบปลอ ยปละละเลย พอ แมม กั ตามใจเดก็ ทกุ เรอื่ ง ผลทเ่ี กดิ กบั เดก็
คอื เด็กจะเปน คนเอาแตใ จตัวเอง ทําอะไรเองไมได ตอ งพึ่งพาคนอนื่ เสมอ ไมม รี ะเบยี บวนิ ยั เปน ตน

๓. ความสมํา่ เสมอในการเลย้ี งดู พอ แมค วรปฏบิ ตั ติ อ เดก็ สม่าํ เสมอ เชน การใหค วามรกั
ความเอาใจใส ถาทาํ บางไมทาํ บางจนเด็กจับสังเกตไมได เด็กจะเกิดไมแนใจวาตนเปนท่ีรักที่ตองการ
ของพอแมหรือไม

๔. พอแมควรใหความรัก ความเอาใจใสตอลูกเทากัน ถามีลูกหลายคน การเลือกท่ีรัก
มักท่ีชัง จะทาํ ใหเดก็ เกิดปมดอ ยและความอจิ ฉารษิ ยา

๕. พอแมควรหาโอกาสใหเด็กไดคุนเคยกับคนแปลกหนาบาง เด็กจะไดไมขี้อาย
กลาแสดงออก ซง่ึ เปน การสรางพฒั นาการทางสงั คมแกเ ดก็

๗๘

¡ÒôáÙ ÅàÍÒã¨ãÊ¢‹ ͧ¾Í‹ áÅÐáÁμ‹ Ñé§áμ‹·Òá ʧ‹ ¼ÅμÍ‹ º¤Ø Å¡Ô ÀÒ¾¢Í§ºØ¤¤Å
(·ÕÁè Ò : http:/www.thisisfamily.org)

ò. ÇÂÑ à´¡ç μÍ¹μ¹Œ (Children)
เดก็ อายรุ ะหวา ง ๓-๕ ป เปน วยั ทเ่ี ดก็ จะลอกเลยี นแบบพอ แมห รอื บคุ คลในครอบครวั

เชน พฤติกรรม ทศั นคติ อารมณ คา นยิ ม เปนวยั ที่เดก็ ผกู พนั กบั ครอบครวั มาก โดยเฉพาะอยางยิ่ง
พอ แม ถาเดก็ ประสบปญหาครอบครัวในวยั นี้ เชน พอ หรือแมจ ากเด็กไปนานๆ พอแมเลกิ กัน จะมีผล
ตอ จติ ใจของเดก็ มาก เดก็ จะมอี าการขาดความสขุ กา วรา วเรยี กรอ งความสนใจ หรอื เงยี บไมพ ดู จากบั ใคร
เปนตน

ความคิดเห็นของเด็กวัยนี้คอนขางจะมีความคิดเห็นตอตัวเองวาตนมีความสามารถ
มากนอยแคไหน ตนเปนคนดีหรือไม ผูปกครองตองไมตั้งระดับความหวังตอเด็กไวสูงเกินไป ถาเด็ก
ไมสามารถทาํ ได เด็กจะทอใจและหมดกาํ ลังใจ เด็กเปนปมดอย หากพอแมฝกหัดใหเด็กทําตัวเปน
ตัวอยางท่ีดีของนอง หรือชวยเหลือครอบครัวดวยการเลี้ยงดูนอง จะทาํ ใหเด็กมีความรูสึกเปนผูใหญ
มีความรบั ผดิ ชอบ เปนตน

ความแตกตา งระหวางบคุ คลทป่ี รากฏชดั ในวัยน้ี คอื ลกั ษณะการเปนผูนาํ การเปน
ผูตาม ชอบสังคม หนีสังคม และบุคลิกภาพตามเพศของตัวเอง จากการอบรมของครอบครัว เชน
เดก็ ผชู ายใหล กั ษณะผนู ํา ปราดเปรยี ว เดก็ ผหู ญงิ ใหว า งา ย เชอื่ ฟง ออ นหวาน เรยี บรอ ย ถา เดก็ ในวยั นี้
ไดร บั ประสบการณท ไี่ มด ี เชน เพื่อนแกลง จะทําใหเขาเกลยี ดสงั คมและกลายเปน คนเกบ็ ตวั ไปในทีส่ ุด

๗๙

à´ç¡·Õèä´ŒÃºÑ ¡ÒôáÙ ÅàÍÒã¨ãÊ‹¨Ò¡¤Ãͺ¤ÃÑÇ ¨ÐÁ¾Õ Äμ¡Ô ÃÃÁ¡ÅŒÒáÊ´§ÍÍ¡
(·ÁèÕ Ò : http://board.postjung.com)

ó. ÇÂÑ Ã¹Ø‹ μÍ¹μ¹Œ (Early Adolescence)
เดก็ วยั ๑๓-๑๖ ป ถอื วา เขา สวู ยั รนุ เดก็ ในวยั นม้ี เี รอื่ งบคุ ลกิ ภาพเกย่ี วกบั ความคดิ เหน็

ที่มตี อ ตนเอง เชน ความไมพอใจ ไมเ ขา ใจตัวเอง เพราะพัฒนาการทางดา นรางกายยงั ไมพ ฒั นาไปถงึ
ขีดสดุ เดก็ มกั จะกังวลอยูก ับการเปลย่ี นแปลงของรา งกายและอารมณจ ากวัยเด็กเขา สูวยั รนุ ซ่งึ เด็กจะ
ตองปรบั ตวั อกี ระดับหนึง่ จึงทาํ ใหก ริ ยิ าอาการเปลย่ี นแปลงไป บางคร้ังจะโดนผูใหญดวุ า โตแลวจะทํา
เปน เดก็ เขาจงึ วา วนุ และสงสยั วา อะไรคอื ความพอดี การทเี่ ดก็ วยั นมี้ ปี ญ หาสว นตวั และสงั คม ทําใหเ ขา
ขาดความเช่ือม่ันในตัวเองในเร่ืองความสามารถ การยอมรับจากผูอื่น จึงทําใหวัยรุนแสดงพฤติกรรม
ออกมาในรปู แบบปฏเิ สธ ไมย อมรับส่ิงตา งๆ พยายามขดั คําสั่งและหาขอแกตวั มาอา งเสมอ

ô. ÇÂÑ Ã¹‹Ø μ͹»ÅÒ (Late Adolescence)
อายุต้ังแต ๑๗-๒๑ ป บุคลิกภาพโดยทั่วๆ ไป จะเริ่มดีข้ึน เลิกกังวลกับตัวเองลง

เพราะผูปกครองเรม่ิ ใหอสิ ระมากขน้ึ ตวั เขากเ็ ริ่มมวี จิ ารณญาณทีด่ ีขน้ึ เขา ใจผูอืน่ มากขนึ้ มีเหตผุ ลรจู ัก
เปลย่ี นแปลง ปรบั ปรงุ และแกไ ขบคุ ลิกภาพของตวั เองใหดีขนึ้

ส่งิ ทมี่ ีสว นในการปรับปรุงบุคลกิ ภาพของวัยรุนตอนปลาย คอื
๑. การรจู กั ตวั เองมากขนึ้ และยอมรบั ความเปน จรงิ พรอ มจะแกไ ขขอ บกพรอ งและรกั ษา
สว นที่ดีของตัวเอง
๒. การมคี วามเชอ่ื มนั่ ในตวั เอง คอื ความคดิ เหน็ ทม่ี ตี อ ตนเองทม่ี นั่ คงขนึ้ ไมใ ชเ ปลยี่ นแปลง
ตามอารมณตลอดเวลา
๓. การมคี วามภาคภมู ิใจในตัวเองดวยเหตผุ ลวา ประสบความสําเรจ็ ตามความสามารถ
ของตน และการทผ่ี ใู หญพ ยายามเปด โอกาสใหเ ดก็ ไดท าํ ในสงิ่ ทเ่ี หมาะกบั ความถนดั ความสามารถและ
ความสนใจของเขา

๘๐

ÅѡɳТͧº¤Ø Å¡Ô ÀÒ¾·´èÕ Õ

ลักษณะของบุคคลท่ีมีบุคลิกภาพท่ีดีน้ันเปนท่ีปรารถนาของสังคม บุคคลที่มีบุคลิกภาพ
ที่สมบูรณยอมเปนบุคคลท่ีเปนที่ยอมรับของบุคคลในสังคมสามารถอยูในสังคมไดอยางมีความสุข
และทัศนคตขิ องคนโดยทวั่ ไปเหน็ วา บคุ คลทีม่ ีบุคลกิ ภาพทดี่ นี ้ัน จะตอ งมีองคประกอบตา งๆ ซง่ึ สถติ
สงศส วรรค (๒๕๕๑ : ๒๑๕) ไดส รุปลักษณะของบุคลิกภาพทีด่ ี ดังนี้

๑. ทาทางสงางาม มีลักษณะทาทางที่ดี มีลักษณะทางรางกายสงา กระฉับกระเฉง
คลอ งแคลว วอ งไว

๒. มสี ขุ ภาพทดี่ รี า งกายสมบูรณแขง็ แรง
๓. ปรบั ตวั เขา กบั สง่ิ แวดลอ มและสงั คมไดด ใี นทกุ กาลเทศะ เปน บคุ คลทมี่ คี วามสามารถ
สรางความสมั พันธอ นั ดีกับบคุ คลทั่วไป และเปน บคุ คลท่ีปรบั ตัวเขา กับบคุ คลอ่ืนไดดี
๔. เปน คนท่ีมีเหตมุ ีผลละเอียดออ น สุขุมรอบคอบ
๕. เปนคนมีความอดทน มีกําลังใจกลาเผชิญกับอุปสรรคและภาวะคับขัน สามารถ
ทีจ่ ะเผชิญกับเหตกุ ารณต างๆ โดยไมหวัน่ ไหว
๖. เปน ตวั ของตวั เอง กลา ตดั สนิ ใจ กลา คดิ ไมค อยแตจ ะพง่ึ พาผอู นื่ รจู กั ชว ยเหลอื ตวั เอง
เมื่อเกิดสถานการณคับขัน กลาพูดความจริง กลายอมรับความจริง ย้ิมไดเม่ือมีภัยมา กลาเผชิญ
ความจริงและเขา ใจถึงธรรมชาตขิ องมนษุ ย
๗. มีความเชื่อม่ันในตนเอง ไมเปนคนข้ีอายเปนคนที่มีความสามารถตัดสินใจไดอยาง
ฉับพลัน ไมมีจิตใจเรรวน สิ่งเหลานี้จะทาํ ใหมีลักษณะของความเปนผูนําเปนท่ีเช่ือถือและไววางใจ
ของผูอื่น
๘. ไมมองโลกในแงรา ย เปน บุคคลท่ีมองโลกในแงดอี ยเู สมอ
๙. ไมเหน็ แกตวั เอาเปรียบผอู นื่ รจู ักชว ยเหลอื ผูอ่ืน
๑๐. มคี วามเหน็ อกเหน็ ใจผูอน่ื เอาใจเขามาใสใ จเรา
๑๑. มีความกระตือรอื รน ใฝหาความรแู ละรกั ความกาวหนา
๑๒.มคี วามสภุ าพเรยี บรอ ย กริ ยิ ามารยาทดี วาจาทา ทางทแ่ี สดงออก มวี าทศลิ ปใ นการพดู
พดู จาไพเราะไมห ยาบคาย ใหเกยี รตผิ ูอ น่ื ถอื วาเปนเสนห แกผ พู บเห็น
๑๓.มคี วามสงบเสงย่ี ม รจู กั อดกลน้ั รจู กั ควบคมุ อารมณ ไมต นื่ เตน ไมห วนั่ ไหวตอ เหตกุ ารณ
ตางๆ งา ยเกนิ ไป มสี ตทิ ด่ี ีและรจู กั บังคบั จติ ใจตนเอง
๑๔.มีความราเริงสดช่ืนแจมใสอยูเสมอ เปนคนที่มีอารมณดี จิตใจดี ปรับตัวใหเขากับ
บุคคลทุกระดบั ใครๆ กพ็ อใจอยากพบเห็นและคบหาสมาคมดวย
๑๕.รจู กั กาลเทศะ รูจกั จังหวะเวลาและสถานที่
๑๖. มีความซอื่ สัตยสจุ ริต
๑๗.ยิ้มเปน สหี นายิ้มแยมแจมใสเปนนจิ
๑๘.มีประสบการณท ห่ี ลากหลาย ตองเขาใจโลก เขาใจชวี ติ

๘๑

ÊÃØ»

การมีบุคลิกภาพที่ดีจะทาํ ใหบุคคลมีลักษณะสําคัญท่ีเปนประโยชนตอการดําเนินชีวิต
ในแงมุมตางๆ เชน การมีความสามารถในการรับรูและเขาใจในสภาพความเปนจริงไดอยางถูกตอง
การแสดงอารมณจะอยูในลักษณะและขอบเขตท่ีเหมาะสม มีความสามารถในการสรางความสัมพันธ
กับผูอื่นและสังคมไดดี มีความรักและความผูกพันตอผูอื่น มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง
การพัฒนาทางการแสดงออกของตนตอผูอนื่ ไดดี

บุคลิกภาพจึงเปนส่ิงสําคัญในการสรางความสัมพันธระหวางบุคคลทั้งในดานของการ
ดําเนนิ ชวี ติ การยอมรบั ความแตกตา งระหวา งบคุ คล การปฏบิ ตั หิ นา ทก่ี ารงาน การเขา สงั คม ซงึ่ สง่ิ เหลา นี้
ลว นแลว แตม ผี ลตอ ความเจรญิ กา วหนา ของบคุ คล การมบี คุ ลกิ ภาพทดี่ ที ําใหบ คุ คลไดร บั ประโยชน ดงั น้ี

ñ. ¤ÇÒÁÁ¹Ñè 㨠(Confident) ผทู ม่ี บี คุ ลกิ ภาพทด่ี จี ะทําใหร สู กึ มน่ั ใจในการแสดงออกมากขน้ึ
กลาแสดงความคิดเห็นแสดงความรูสึกและกลาท่ีจะทํากิจกรรมตางๆ ซึ่งมักจะเปนการแสดงออกที่ดี
ทาํ ใหผูพ บเหน็ ใหความสนใจซ่งึ นําไปสคู วามเชือ่ มน่ั ในตนเองของบคุ คลผนู ั้น เชน การมบี ุคลิกภาพทดี่ ี
เมอื่ ไดร บั คดั เลอื กใหเ ปน ตวั แทนกลมุ ในการนําเสนอผลงาน กส็ ามารถนําเสนอผลงานไดด ี เพราะมคี วามมน่ั ใจ
และกลา แสดงออก

ò. ¤ÇÒÁสาํ àÃç¨ (Success) บุคคลที่มีบุคลิกภาพที่ดีสามารถสรางความเช่ือมั่นศรัทธา
ประกอบกบั ความเชอ่ื มนั่ ในตนเองจงึ สามารถทาํ งานไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถสรา งความศรทั ธา
ใหผูรวมงานใหความรวมมอื ทาํ ใหไ ดร ับความสะดวกพรอมเพรียงและปฏบิ ตั งิ านใหส าํ เรจ็ ดวยดี

ó. ¤ÇÒÁ໹š μÇÑ ¢Í§μÇÑ àͧ (Self-confident) ผทู ม่ี บี คุ ลกิ ภาพดจี ะมลี กั ษณะเฉพาะตวั และ
เปน ตวั ของตวั เอง สามารถแสดงออกไดอ ยา งเตม็ ศกั ยภาพทงั้ ดา นการแสดงออก การแสดงความคดิ เหน็
เมือ่ เขา รวมกิจกรรมตา งๆ

ô. ¡ÒÃÂÍÁÃºÑ ¤ÇÒÁáμ¡μÒ‹ §ÃÐËÇÒ‹ §º¤Ø ¤Å (Individual differences) ผทู มี่ บี คุ ลกิ ภาพ
ทดี่ จี ะมองเหน็ และยอมรบั ในความแตกตา งของบคุ คลวา คนแตล ะคนมคี วามแตกตา งกนั ทง้ั ดา นรปู รา ง
และสติปญญา จึงทาํ ใหผพู บเห็นยอมรบั และแยกความแตกตา งของบุคคลได ชวยใหส ามารถรจู กั และ
เขา ใจบุคคลแตละคนไดดีขึ้น

õ. ¡ÒÃ»ÃºÑ μÇÑ (Adaptation) ผทู ม่ี บี คุ ลกิ ภาพทดี่ จี ะมองเหน็ และยอมรบั ในความแตกตา ง
ระหวา งบคุ คล จงึ สามารถปรบั ตวั ใหเ ขา กบั บคุ คลและสถานการณไ ดด ขี นึ้ สามารถสรา งสมั พนั ธภาพกบั
บุคคลทีแ่ วดลอมและเกยี่ วของได

ö. ¡ÒÃÂÍÁÃѺ¢Í§¡ÅÁ‹Ø (Acceptance) บุคคลท่มี ีบุคลิกภาพดียอ มเปน ที่ตองตาตอ งใจ
นิยมชมชอบ ศรัทธา เชื่อม่ัน และไดรับการยอมรับจากกลุมเปนอยางดี ทาํ ใหรูสึกพอใจ ยินดี และ
มีความมั่นคงทางดานจติ ใจ เสรมิ สรางใหไ ดร บั ความสําเรจ็ ทง้ั สวนตนและองคก ร

÷. ¡ÒäҴËÁÒ¾Äμ¡Ô ÃÃÁ (The expected behavior) บคุ คลทมี่ บี คุ ลกิ ภาพดที ตี่ า งกนั
ทาํ ใหส ามารถทํานายพฤตกิ รรมของบคุ คลนน้ั ได เชน บคุ คลทยี่ ม้ิ แยม แจม ใสมกั เปน คนทมี่ มี นษุ ยส มั พนั ธด ี
บุคคลทมี่ ีความกระตือรอื รน มักเปนผูใฝรูใ ฝเรยี น เปน ตน

๘๒

¡¨Ô ¡ÃÃÁ·ŒÒº·

ทานคิดวา การที่มีบุคลกิ ภาพที่ดจี ะสงผลตอ การปฏิบัติหนาท่อี ยางไรบา ง

àÍ¡ÊÒÃ͌ҧͧÔ

http://theirowndevelopment.blogspot.com
http://www.baanjomyut.com/library/personality/๒๐.html
http://board.postjung.com

๘๓

º··èÕ ø

¨μÔ ÍÒÊÒ

ÇμÑ ¶»Ø ÃÐʧ¤¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

เพ่ือใหนักเรียนมีความรูความเขาใจเก่ียวกับการใหบริการและจิตอาสาวา การใหบริการ
และจติ อาสา มีความเปน มาและแนวทางการปฏบิ ตั อิ ยางไรบา ง

º·นํา

¤ÇÒÁ໚¹ÁҢͧ¨ÔμÍÒÊÒ¾ÃÐÃÒª·Ò¹μÒÁá¹Ç¾ÃÐÃÒªดําÃÔ
พระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลาโปรดกระหมอ ม ใหห นวยราชการ
ในพระองค ๙๐๔ รว มกนั จดั โครงการจติ อาสาพระราชทานตามแนวพระราชดาํ รเิ พอื่ เปน การเฉลมิ พระเกยี รติ
และแสดงความสาํ นึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตรและสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปหลวง ที่ทรงประกอบพระราชกรณียกิจนานัปการ
เพอื่ ประโยชนส ขุ ของประชาชน ทง้ั นเี้ พอื่ ใหป ระชาชนมคี วามสมคั รสมานสามคั คี มคี วามสขุ และประเทศชาติ
มีความมั่นคงอยางยั่งยืน โดยมีหนวยราชการในพระองค ๙๐๔ เปนผูกาํ กับดูแลการปฏิบัติงาน
รวมกับหนวยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน และใหจัดต้ังศูนยอาํ นวยการใหญโครงการจิตอาสา
พระราชทานตามแนวพระราชดําริ มีหนาที่ควบคุม อาํ นวยการและประสานการปฏิบัติเพ่ือใหการจัด
กิจกรรมจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดําริเปนไปอยางตอเนื่องถูกตองตามพระราโชบาย
และสมพระเกียรติ
ในระยะเรม่ิ แรก พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ไดม พี ระราชปณธิ านในการบําเพญ็ ประโยชน
พนื้ ทชี่ มุ ชนโดยรอบพระราชวงั ดสุ ติ เปน การทาํ ความดดี ว ยหวั ใจถวายเปน พระราชกศุ ลแดพ ระบาทสมเดจ็
พระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรโดยหนวยทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค
หนว ยทหารรกั ษาพระองค ขา ราชบรพิ ารในพระองคฯ รว มกบั ประชาชนจติ อาสา “เราทําความดี เพอ่ื ชาติ
ศาสน กษัตริย” รว มกันดแู ลและพฒั นารักษาพ้นื ที่จากชมุ ชนเลก็ ๆ รอบพระราชวังดสุ ติ ขยายสูพ นื้ ที่
โดยรวมของประเทศในการพัฒนาอยางม่นั คงและยั่งยืนสืบไป

¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ¨μÔ ÍÒÊÒ

ความหมายของ “จติ อาสา” ตามพจนานุกรมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน ฉบับ พ.ศ. ๒๕๔๒
ไดใ หค วามหมายของ “จติ อาสา” ดงั น้ี

“จติ ” เปนคาํ นาม หมายถึง ใจ สิ่งทีม่ ีหนา ที่รู คิด และนึก
“อาสา” เปนคาํ กิรยิ าหมายถึง เสนอตัวเขา รบั ทาํ
ดงั นัน้ “จติ อาสา” จงึ หมายถงึ จิตแหงการใหค วามดงี ามท้งั ปวงแกเพอื่ นมนษุ ยโดยเต็มใจ
สมคั รใจ อม่ิ ใจ ซาบซง้ึ ใจ ปต สิ ขุ ทพี่ รอ มจะเสยี สละเวลา แรงกาย แรงสตปิ ญ ญา เพอื่ สาธารณประโยชน

๘๔

ในการทาํ กิจกรรมหรอื ส่งิ ที่เปนประโยชนแ กผอู น่ื โดยไมหวังผลตอบแทน และมคี วามสุขทไ่ี ดช วยเหลอื
ผูอ่ืน เปนจิตที่ไมน่ิงดูดายเม่ือพบเห็นปญหาหรือความทุกขยากที่เกิดข้ึนกับผูคน เปนจิตท่ีมีความสุข
เมอื่ ไดท าํ ความดแี ละเหน็ นาํ้ ตาเปลยี่ นแปลงเปน รอยยมิ้ เปน จติ ทเ่ี ปย มดว ย “บญุ ” คอื ความสงบเยอื กเยน็
และพลังแหง ความดี อีกท้ังยังชว ยลด “อตั ตา” หรอื ความเปนตัวตนของตนเองลงได

¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ¨μÔ ÍÒÊÒ “àÃÒทาํ ¤ÇÒÁ´Õ à¾Í×è ªÒμÔ ÈÒʹ ¡ÉÑμÃÔ”

หมายถึง ประชาชนทุกหมูเหลาทั้งในและตางประเทศที่สมัครใจชวยเหลือผูอ่ืน
ยอมเสียสละเวลา แรงกาย แรงใจ และสติปญญาในการทํางานท่ีเปนสาธารณประโยชน โดยไมหวัง
ผลตอบแทนใด ๆ จิตอาสาตามพระราโชบาย แบง เปน ๓ ประเภท ดงั น้ี

๑. จติ อาสาพฒั นา ไดแ ก กจิ กรรมจติ อาสาพระราชทานทมี่ วี ตั ถปุ ระสงคเ พอื่ พฒั นาทอ งถน่ิ
ของแตล ะชมุ ชนใหม คี ณุ ภาพชวี ติ และความเปน อยทู ดี่ ขี น้ึ ไมว า จะเปน กจิ กรรมบาํ เพญ็ สาธารณประโยชน
การอนุรักษธรรมชาติและส่ิงแวดลอม การอาํ นวยความสะดวกและความปลอดภัยในการดํารงชีวิต
ประจาํ วัน การประกอบอาชพี รวมทัง้ การสาธารณสุข ฯลฯ แบง ตามภารกจิ งานเปน ๘ กลุม งาน ดังน้ี

๑.๑ จติ อาสาพฒั นาชมุ ชนเขม แขง็ ประชามสี ขุ หมายถงึ กลมุ งานจติ อาสาทเ่ี ขา รว ม
กิจกรรมสาธารณประโยชน อาทิ การขุดลอกคูคลอง การดูแลรักษา ความสะอาดเรียบรอยของ
ศาสนสถานหรอื สถานทส่ี าธารณะ การจดั เกบ็ ผกั ตบชวา การปลกู ตน ไม รวมทงั้ การพฒั นาโครงการตา ง ๆ
ที่สรางความเปนอยขู องชุมชนใหเ ขมแข็ง ประชาชนมคี วามสุขอยา งยง่ั ยนื

๑.๒ จติ อาสางานประดษิ ฐแ ละเผยแพรงานศลิ ปาชพี หมายถงึ กลมุ งานจิตอาสาที่
นําความรทู างดา นศลิ ปหตั ถกรรมพน้ื บา น/ภมู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ มาเผยแพรแ ละถา ยทอดเพอื่ ใหป ระชาชน
นําความรทู ่ีไดรับไปพฒั นาใหเปน ประโยชนต อ ไป

๑.๓ จิตอาสาฝายกิจกรรมการแสดงและนิทรรศการ หมายถึง กลุมงานจิตอาสาท่ี
ปฏบิ ตั งิ านสนบั สนนุ ในการจดั งานหรอื กจิ กรรมการแสดงและมนี ทิ รรศการเฉลมิ พระเกยี รติ เพอ่ื เผยแพร
พระราชกรณียกิจและเผยแพรกิจกรรมจิตอาสาฯ เชน กิจกรรมการแสดงดนตรีบริเวณพระลาน
พระราชวงั ดสุ ติ การจดั งานอนุ ไอรกั คลายความหนาว งานเถลงิ ศกสขุ สนั ตม หาสงกรานตต าํ นานไทย
เปนตน

๑.๔ จิตอาสาฝายแพทยและสาธารณสุข หมายถึง กลุมงานจิตอาสาท่ีปฏิบัติงาน
สนับสนุนและชวยอํานวยความสะดวกแกแพทย พยาบาล รวมถึงชวยอํานวยความสะดวกดาน
การปฐมพยาบาลเบื้องตน ตลอดจนสงเสริมใหป ระชาชนมคี วามรคู วามเขาใจในการดแู ลสุขภาพ

๑.๕ จติ อาสาฝา ยทะเบยี นและขอ มลู หมายถงึ กลมุ งานจติ อาสาทใ่ี หค าํ แนะนาํ และ
อํานวยความสะดวกประชาชนทมี่ าลงทะเบียนจติ อาสาฯ

๑.๖ จติ อาสาฝา ยสง กาํ ลงั บาํ รงุ และสนบั สนนุ หมายถงึ กลมุ งานจติ อาสาทส่ี นบั สนนุ
อํานวยความสะดวก ดูแลความเรียบรอย จัดหาหรือบริการอาหาร นา้ํ ด่ืม ใหกับประชาชนที่เขารวม
กิจกรรม/จิตอาสาทีเ่ ขา รว มปฏิบัตงิ าน

๘๕

๑.๗ จติ อาสาฝา ยประชาสมั พนั ธ หมายถงึ กลมุ งานจติ อาสาทช่ี ว ยงานประชาสมั พนั ธ
และใหบ ริการขอมูลการจดั กิจกรรมจติ อาสาฯ รวมถึงชวยดแู ลตอ นรับประชาชนท่มี าเขา รว มกิจกรรม

๑.๘ จิตอาสาฝายรักษาความปลอดภัยและจราจร หมายถึง กลุมงานจิตอาสาท่ี
สนบั สนนุ และชว ยอํานวยความสะดวกในการสญั จรของประชาชน การแนะนาํ เสน ทาง การแจง อบุ ตั เิ หตุ
การจราจรใหเจา พนกั งานทราบ

๒. จติ อาสาภยั พบิ ตั ิ ไดแ ก กจิ กรรมจติ อาสาพระราชทานทม่ี วี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื เฝา ตรวจ
เตือน และเตรียมการรองรบั ภัยพิบัตทิ ้งั ทเี่ กดิ จากธรรมชาติ และเกดิ จากสาเหตุอน่ื ๆ ที่สงผลกระทบ
ตอประชาชนในพื้นที่โดยรวมและการเขาชวยเหลือบรรเทาความเดือดรอนของประชาชนจากภัยพิบัติ
ดงั กลา ว เชน อทุ กภัย วาตภยั อัคคีภยั เปน ตน

๓. จิตอาสาเฉพาะกิจ ไดแก กิจกรรมจิตอาสาพระราชทานท่ีมีวัตถุประสงคใหปฏิบัติ
ในงานพระราชพิธี หรือการรับเสด็จในโอกาสตาง ๆ เปนการใชกาํ ลังพลจิตอาสารวมปฏิบัติกับ
สวนราชการท่ีเก่ียวของในการชวยเหลือหรืออํานวยความสะดวกแกประชาชนที่มารวมงาน รวมท้ัง
การเตรยี มการ การเตรยี มสถานทแ่ี ละการฟน ฟสู ถานทภี่ ายหลงั การปฏบิ ตั ใิ นพระราชพธิ ี และการเสดจ็ ฯ
นน้ั ๆ ใหเ ปนไปดว ยความเรยี บรอย

¡ÒÃÊÃÒŒ §¨ÔμÍÒÊÒã¹Ê§Ñ ¤Áä·Â

ความเจริญรุงเรืองทางดานวัตถุในปจจุบันเปนสาเหตุท่ีทําใหสังคมโดยท่ัวไปมีคานิยม
ทใี่ หค วามสาํ คญั ในการแสวงหาเงนิ ทองแสวงหาอํานาจบารมมี ากกวา ทจ่ี ะใหค วามสําคญั ทางดา นจติ ใจ
สังคมในปจ จบุ ันจึงกลับเสือ่ มโทรมลงอยา งเหน็ ไดช ัดเจน ปญ หาตางๆ ที่มีมากมาย ดงั น้นั การปลกู ฝง
ความสาํ นึกใหกับบุคคลเพื่อใหมีความรับผิดชอบตอตนเองและสังคมจึงควรท่ีจะเกิดขึ้นในสังคม

๘๖

ดว ยเหตนุ ใี้ นปจ จบุ นั จงึ มกี ารกลา วถงึ คาํ วา “จติ อาสา” เพอื่ ใหผ คู นไดต ระหนกั ถงึ ความรบั ผดิ ชอบตอ สาธารณะ
มากกวา ตนเอง นน่ั หมายถงึ วา ทกุ คนตอ งมกี ารใหม ากกวา การรบั เพราะสง่ิ เหลา นถ้ี า สามารถปลกู ฝง ให
เดก็ และเยาวชนไดต ระหนกั สงั คมยอ มไดร บั แตค วามสขุ อยา งแนน อน คาํ วา “จติ อาสา” จงึ มคี วามสาํ คญั
ตอ ชวี ติ และความเปน อยขู องมนษุ ย โดยสว นรวมการปลกู ฝง ความสํานกึ กบั บคุ คลตา งๆ ใหม คี วามรบั ผดิ ชอบ
ตอตนเองและสังคมหรือสาธารณะ จะเปนการสรางคุณธรรมจริยธรรมใหเกิดข้ึนกับบุคคลโดยท่ัวไป
โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนรวมท้ังประชาชนท่ัวไป ส่ิงเหลานี้เปนเรื่องที่เกิดข้ึนจากภายในกายของคน
“จติ อาสา” เปน ความสําคญั ในการปลกู จติ สํานกึ ใหผ คู นรจู กั การเสยี สละ การรว มแรงรว มใจรว มมอื ในการ
ทําประโยชนเ พือ่ สังคมและสว นรวม อีกทั้งจะชว ยลดปญ หาทีเ่ กิดขนึ้ กับตนเองและสงั คม การชว ยกัน
พัฒนาคุณภาพชีวิต อันจะเปนหลักการในการดําเนินชีวิต เปนการแกปญหาและสรางสรรค เพ่ือให
เกดิ ประโยชนส ุขกบั สงั คมอยา งไดผ ลเปน เชิงประจักษไ ด

º·ÊûØ

จิตอาสา จึงเปรยี บไดก บั ความรสู ึกนกึ คดิ ถึงการเปนเจาของในส่งิ ทเ่ี ปน สาธารณะรวมกัน
การใชส ทิ ธแิ ละหนา ทที่ จ่ี ะดแู ล รวมทงั้ การบํารงุ รกั ษาสง่ิ ของทเี่ ปน ของสว นรวมรว มกนั เชน การชว ยกนั
ดูแลรักษาส่ิงแวดลอมโดยไมทิ้งขยะลงท่ีพ้ืนท่ัวไปตองทิ้งขยะในท่ีจัดไวให ไมท้ิงขยะลงในแหลงนา้ํ
การดูแลรักษาสาธารณสมบัติ เชน โทรศัพทสาธารณะ หลอดไฟฟาที่ใหแสงสวางตามถนนหนทาง
การใชน ํ้าธรรมชาตแิ ละน้ําประปาอยา งประหยดั รว มกนั การใชก ระแสไฟฟาสาธารณะใหเกดิ ประโยชน
อยางคุมคาตลอดจนชวยเหลือดูแลผูตกทุกขไดยาก อันเปนการใหโอกาสกับผูดอยโอกาสตามสมควร
แตตองไมทําใหตนเองและครอบครัวเดือดรอน และการชวยเหลือตองไมขัดตอกฎหมายบานเมือง
อนั เปน ประโยชนข องสว นรวม หากคนในสงั คมขาดจติ อาสาแลว กจ็ ะเกดิ ผลกระทบมากมาย เชน ทําให
เกิดความเดือดรอนแกตนเองและผูอ่ืน ในครอบครัวมีความเปนนา้ํ หนึ่งใจเดียวกันนอยลง แกงแยง
ทะเลาะเบาะแวงเกิดการแบงพรรคแบงพวก เห็นแกตัว ชิงดีชิงเดน เบียดเบียนสมบัติขององคกร
เพื่อมาเปน สมบตั ขิ องตนเอง องคกรไมก าวหนา ประสิทธภิ าพและคุณภาพของงานลดลง ทําใหช ุมชน
เกิดความออนแอเพราะตางคนตางอยู ไมมีการพัฒนาย่ิงปลอยนานย่ิงทรุดโทรม เกิดอาชญากรรม
ในชุมชน ขาดศนู ยร วมจติ ใจ ขาดผนู าํ ท่นี ําไปสูการแกป ญ หา เพราะแตละคนมองเห็นเร่ืองของตนเอง
เปน ใหญ เกดิ วกิ ฤตการณภ ายในประเทศบอ ยครงั้ และแกป ญ หาไมไ ด เกดิ การเบยี ดเบยี นทาํ ลายทรพั ยากร
และสมบตั ขิ องสว นรวม ประเทศชาตลิ า หลงั ขาดพลงั ของคนในสงั คม เมอื่ นาํ มาตรการใดมาใชก ไ็ มไ ดผ ล
เน่ืองจากไมไดรับความรวมมือ เกิดการแบงพรรคแบงพวก แกงแยงแขงขัน ทุจริตคอรรัปชัน ทําให
เกดิ การเอารดั เอาเปรยี บระหวา งประเทศ ทาํ ใหเ กดิ ปญ หา เชน การสะสมอาวธุ การกลน่ั แกลง แกง แยง
หรอื ครอบงาํ ทางการคา ระหวา งประเทศ เกดิ การรงั เกยี จเหยยี ดหยามคนตา งชาตพิ นั ธขุ องตนเอง ดถู กู

๘๗

ดังน้ันจิตอาสาหรือจิตสาํ นึกสาธารณะเปนสิ่งที่มีความจําเปน อันจะเปนประโยชน
ในทุกระดบั ของสังคม ถา หากไดม ีการพฒั นาใหเกดิ ขน้ึ ไดอ ยา งเขมแข็ง ตัง้ แตบ คุ คลในระดับครอบครวั
ท่ัวโลก ยอมสงผลดีในระดับที่สูงข้ึนเปนลําดับ และที่สําคัญท่ีสุดการสรางและปลูกฝงจิตสาํ นึกที่ดีนั้น
ตอ งสรา งกบั เดก็ และเยาวชน เพราะเดก็ สามารถรบั รใู นสง่ิ ทด่ี งี ามจากพอ แมท บี่ า น รบั รจู ากผหู ลกั ผใู หญ
ผูนําชุมชน พระสงฆองคเ จา ดูแลลกู หลานในระดับชุมชนและสังคม และสถาบันการศึกษาท่นี อกจาก
จะอบรมส่ังสอนท้ังดานวิชาการยังจะตองอบรมคุณธรรมจริยธรรมปลูกฝงใหเด็กและเยาวชนรูจักการ
เสียสละ การใหมากกวาการรับอยางเดียวจะทําใหเด็กและเยาวชนพัฒนาจิตใจในการชวยเหลือผูอ่ืน
มคี วามออนนอ มถอมตน เตรียมเขา สกู ารพฒั นาจติ ใจตนเองสจู ติ สํานึกสาธารณะตอ ไปในอนาคต

μÑÇÍ‹ҧ¡ÒÃÁÕ¨μÔ ÍÒÊҢͧตําÃǨ

¼º.μÃ. ª¹è× ªÁ¹¡Ñ àÃÂÕ ¹¹ÒÂÊºÔ ตําÃǨ à¢ÒŒ ªÇ‹ ÂÃЧºÑ àËμäØ ¿äËÁŒ ¢³ÐÍÂãÙ‹ ¹à¤ÃÍ×è §áºº
วนั น้ี (๔ ก.พ. ๒๕๖๒) พ.ต.อ.กฤษณะ พฒั นเจริญ รองโฆษกสํานักงานตาํ รวจแหง ชาติ
ไดอ อกมาเปด เผยถงึ กรณผี ใู ชเ ฟซบคุ ชอื่ “Nat Natthaphon” ไดโ พสตข อ ความและภาพในลกั ษณะกลมุ
นกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจจากศนู ยฝ ก อบรมตาํ รวจภูธรภาค ๔ ไดแก นสต.ณัฐพล คาํ เสนา อายุ ๒๒ ป,

๘๘

นสต.อธพิ งษ จติ รศรดี ํา อายุ ๒๒ ป, นสต.พงศกร ตะ ถา อายุ ๒๒ ป, นสต.ปญญาวฒั น ขามกอน
อายุ ๒๔ ป และ นสต.กิตตศิ ักด์ิ คําหาญ อายุ ๒๒ ป สงั กดั ศนู ยฝ ก อบรมตํารวจภูธรภาค ๔ เขาชว ย
ดับเพลิงทีก่ าํ ลังลกุ ไหมรานอาหารแหงหน่ึง ในขณะทส่ี วมเครือ่ งแบบอยูนน้ั จนกระท่งั เพลงิ ไดสงบลง
ในพื้นท่จี ังหวัดขอนแกน วา เร่อื งน้ี พล.ต.อ.จักรทพิ ย ชยั จินดา ผบ.ตร.รับทราบแลว ทา นกลา วชื่นชม
กลุมนักเรียนนายสิบตาํ รวจทุกนายที่เก่ียวของในการชวยเหลือเหตุเพลิงไหมที่เกิดข้ึนดังกลาว ท้ังน้ี
ถอื เปน แบบอยา งทด่ี ที เี่ จา หนา ทต่ี ํารวจทกุ นายพงึ ระลกึ ตามอดุ มคตขิ องตํารวจภธู ร ๙ ประการอยเู สมอ
รวมถงึ นําไปปรบั ใชท ง้ั ในสว นของการดําเนนิ ชวี ติ ใหม จี ติ สาธารณะ และเพอื่ ประโยชนส ว นรวม แสดงให
เหน็ ถงึ จติ ใจทจ่ี ะชว ยเหลอื บรกิ ารประชาชนของเจา หนา ทตี่ าํ รวจ ไหวพรบิ ปฏภิ าณในทกั ษะความสามารถ
การประสานงานกับภาคสวนทเ่ี กย่ี วของ การชวยเหลอื ผูอ ืน่ มี Police Mind ใสใจความทกุ ขร อ นของ
ประชาชน มปี ฏภิ าณไหวพรบิ โดยตอ ไปศนู ยฝ ก อบรมตา งๆ ในสงั กดั จะตอ งหมน่ั ฝก ซอ มนกั เรยี นนายสบิ
หรอื ผเู ขา รบั การอบรมเพมิ่ เตมิ ใหม ที กั ษะและความชาํ นาญ รองรบั สถานการณฉ กุ เฉนิ ในการชว ยเหลอื
ประชาชนใหไดอ ยางทันทวงที

๘๙

ตาํ ÃǨ¨μÔ ÍÒÊÒ ทํา´âÕ ´ÂäÁË‹ Ç§Ñ Ê§èÔ μͺ᷹ à˹ç á¤Ã‹ ÍÂÂÁéÔ ¨Ò¡¤¹·ÃèÕ Í¤ÇÒÁªÇ‹ ÂàËÅÍ×

หลายๆ คนทข่ี บั รถอยใู นเขตพน้ื ท่ี สภ.เมอื งภเู กต็ จ.ภเู กต็ อาจจะเคยเหน็ เจา หนา ทต่ี าํ รวจจราจร
นายหนงึ่ ทคี่ อยใหบ รกิ ารชารจ แบตเตอรร ใี่ หก บั รถยนต รถจกั รยานยนต ทจี่ อดอยรู มิ ถนนบอ ยครงั้ หรอื
ทช่ี กั ชวนชาวบา นมาชว ยกนั เขน็ รถบสั ทจี่ อดเสยี อยกู ลางถนนเพอื่ ใหอ อกมาอยนู อกเสน ทาง เพอ่ื ไมใ ห
เกดิ ปญ หารถตดิ ซงึ่ เปน ภาพทส่ี รา งความประทบั ใจใหก บั ผพู บเหน็ เปน อยา งมาก รวมทงั้ ยงั เปน การชว ย
สรา งภาพลักษณท่ดี ใี หกับวงการตํารวจอกี ทางหน่งึ จนมีการนําภาพไปโพสตใ นโลกโซเชียล

จากการตรวจสอบพบวา เจาหนาที่ตาํ รวจนายนี้ คือ ส.ต.ต.เนตรพิรณุ สุขศรี เจา หนา ท่ี
ตํารวจจราจร สังกัดสถานีตาํ รวจภูธรเมืองภูเก็ต ซึ่งเปนเจาหนาท่ีตํารวจรุนใหมไฟแรงบรรจุเขาเปน
ตํารวจเมื่อประมาณป ๒๕๕๘ ที่ผา นมา และเคยโดงดังในโลกโซเชยี ลมาแลว ครง้ั หนง่ึ ในการโชวฝ เ ทา
เตน บบี อย เพอ่ื สรา งสสี นั และคลายเครยี ดใหก บั ประชาชนทปี่ ระสบปญ หาการจราจรตดิ ขดั แตม าวนั น้ี
จะพาไปรจู ักกบั ตาํ รวจหนมุ นายน้ี ที่นอกจากจะมีความตงั้ ใจทํางานเกนิ รอยแลว ยงั มีความเปน ตํารวจ
จติ อาสาอกี ดวย

๙๐

ส.ต.ต.เนตรพิรุณ เลาใหฟงวา ตนเองเปนลูกชาวนา มาจากจังหวัดนครศรีธรรมราช
พอ ขบั รถจกั รยานรบั จา ง แตก ม็ คี วามใฝฝ น ทจ่ี ะทาํ งานเพอ่ื ชว ยเหลอื คนอน่ื มาตลอดซง่ึ สมยั เรยี นมหาลยั
กจ็ ะออกคา ยอาสาเพอ่ื ชว ยเหลอื คนทไี่ ดร บั ความเดอื ดรอ นมาโดยตลอด กอ นทจ่ี ะมารบั ราชการตํารวจ
เคยฝนวาอยากที่จะเปนทหารเพราะจากขาวสารตางๆ จะเห็นภาพทหารออกไปชวยเหลือประชาชน
ในทต่ี า งๆ แตเ มอื่ กอ นไมม ใี ครทจี่ ะมาชแ้ี นะแนวทางใหก บั ตวั เองในการเดนิ ทางไปสคู วามฝน ตามทวี่ างไว
นอกจากนน้ั สมยั เปน เดก็ สง่ิ ทพี่ อ พราํ่ บอกมาตลอดคอื ถา เรามปี ญ หาหรอื ตอ งการความชว ยเหลอื ใหไ ป
หาตาํ รวจ เพราะตาํ รวจจะชวยเราได พอเรียนจบกต็ ัดสินใจมาสอบเปนตํารวจและไดเ ปน ตํารวจสมใจ

ตนเองจึงไปศึกษาขอมูล เพราะจากการตรวจสอบพบวารถท่ีดับระหวางจอดรอไฟแดง
สวนใหญจะมีปญหาเรื่องแบตเตอรี่ และจากการศึกษาพบวามีที่ชารจแบตเตอรี่ แบบพกพาขาย
ซงึ่ มขี นาดเลก็ สามารถใสใ ตเ บาะรถจกั รยานยนตน ําตดิ ตวั ไปไหมมาไหนไดส ะดวก จงึ ตดั สนิ ใจซอ้ื มาใช
ดวยงบประมาณของตัวเอง เพ่ือนาํ มาทดลองใชและใหบริการประชาชนที่มีปญหาเร่ืองรถที่จอดเสีย
บนถนน ซงึ่ จากการทดลองใชพ บวา ไดผ ลสามารถแกไ ขปญ หารถตดิ ได และในการใหบ รกิ ารนน้ั ตนออก
ไปใหบ รกิ ารทง้ั ในเวลาราชการและหลงั เวลาราชการ ซงึ่ กไ็ ดร บั แจง เขา มาตลอดเวลา เพราะตนสามารถ
ไปถึงที่เกดิ เหตไุ ดอยา งรวดเรว็ ทําใหปญหารถติดที่เกดิ จากรถเสียลดลงแตก ารใหพ าวเวอรแบงคชารจ
แบตเตอรท่ี ตี่ วั เองมอี ยพู บวา ยงั มขี นาดเลก็ สามารถใชไ ดก บั รถยนต รถเกง และรถจกั รยานยนตเ ทา นนั้
ยังไมรองรับรถบัส หรือรถขนาดใหญ ซึ่งในภูเก็ตพบวารถบัสท่ีใหบริการนักทองเที่ยวมีจํานวนมาก
เวลารถเหลา นี้มปี ญ หาบนถนนทําใหร ถตดิ มหาศาล จงึ ไดไปศึกษาเพ่ิมเติมและพบวา มีพาวเวอรแบงค
ทมี่ กี าํ ลงั ไฟมากขนึ้ และตดั สนิ ใจซอ้ื มาเพอื่ ใชใ นงานชว ยเหลอื ประชาชน ๑ ตวั ซงึ่ ตอ ไปนก้ี ส็ ามารถแกไ ข
ปญหารถเหลานไ้ี ดสวนหนง่ึ อยางแนน อน

ส.ต.ต.เนตรพริ ณุ ยงั ไดก ลา วตอ ไปวา การออกมาทาํ จติ อาสาดว ยการชว ยเหลอื ประชาชน
นั้นตนไดทํามาต้ังแตสมัยเรียน และเหมือนกับอยูในสายเลือด นอกจากจะใหบริการชารจแบตฯ

๙๑

กบั ประชาชนแลว ตนยงั อยใู นกลมุ รถใหญซ งึ่ เปน กลมุ ทใี่ ชเ วลาวา งในการขบั ขร่ี ถไปบรจิ าคสงิ่ ของใหก บั
คนทกี่ าํ ลงั เดอื ดรอ น ซงึ่ สง่ิ ของทนี่ าํ ไปบรจิ าคเปน สง่ิ ของทส่ี มาชกิ ในกลมุ ชว ยกนั ซอื้ มา กจิ กรรมเหลา นี้
ก็เปนกิจกรรมท่ีทําตอเน่ืองกันมาตลอด ซึ่งนอกจากจะนําของไปมอบใหกับคน หรือเด็กท่ีเคารอ
อยา งมีความหวังแลว ทางสมาชกิ ในกลมุ ใหช วยกนั ชี้แนะแนวทาง เสน ทางในการเดนิ ไปสคู วามสําเร็จ
ของเดก็ ๆ ดว ย

ส.ต.ต.เนตรพิรุณ ยังไดกลาวปดทายวา การทํางานจิตอาสาของตนนั้นทําดวยใจ แตไม
หวังผลตอบแทนแตการออกไปชวยเหลือคนท่ีเดือดรอนแตละคร้ังก็แคตองการเห็นรอยย้ิมของคนที่
ไดรับความชวยเหลือย้ิมตอบกลับมาก็พอแลว และทุกครั้งคิดอยูเสมอวาถาคนที่ประสบเหตุเดินทาง
กลับถึงบานชา คนท่ีรออยูก็จะรอดวยความเปนหวงและกังวล จึงอยากชวยใหเคาสามารถเดินทาง
ถึงบา นไดเร็วท่ีสุด ซงึ่ สง่ิ เหลา นี้พอ - แมไมเ คยสอนดว ยการบอกใหเราทาํ แตจ ะสอนโดยการทาํ ใหดู
และทาํ มาตลอด

๙๒

¡¨Ô ¡ÃÃÁ·ÒŒ º·

ทา นคดิ วาการใหบ ริการและจติ อาสาควรจะตอ งดําเนนิ การอยางไรบาง

àÍ¡ÊÒÃ͌ҧÍÔ§

- ไพบลู ย วฒั นศริ ธิ รรม และสงั คม สญั จร. (๒๕๔๓). สํานกึ ไทยทพี่ งึ ปรารถนา. กรงุ เทพฯ
: สํานักพิมพเ ดือนตุลา

- วรวุธ มาฆะศริ านนท และเสาวลักษ อัศวเทววิช. (๒๕๕๑). จติ ๕ ปน ยอดมนุษย.
กรุงเทพฯ : บรษิ ัท เอก ซเปอรเ นท็

- ดวงเดอื น พนั ธมุ นาวิน. (๒๕๒๔). พฤติกรรมศาสตร เลม ๒. จติ วทิ ยาจริยธรรมและ
จติ วิทยาภาษา. กรงุ เทพฯ : บริษัท สํานกั พิมพไ ทยวฒั นาพานิช จาํ กดั .

º··Õè ù

ÂØ·¸Ç¸Ô ãÕ ¹¡ÒÃดําà¹¹Ô §Ò¹´ŒÒ¹ªÁØ ª¹ÊÁÑ ¾¹Ñ ¸¡ ºÑ ¡ÒÃʧ‹ àÊÃÁÔ
¡ÒÃÁÊÕ Ç‹ ¹Ã‹ÇÁ¢Í§»ÃЪҪ¹ à¾èÍ× »‡Í§¡Ñ¹ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ

ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤

เพอ่ื ใหน กั เรยี นมคี วามรแู ละความเขา ใจเกยี่ วกบั ยทุ ธวธิ ใี นการดาํ เนนิ งานดา นชมุ ชนสมั พนั ธ
และสามารถนําไปปฏบิ ัตไิ ด

ในการดําเนินงานชุมชนสัมพันธใหบรรลุเปาหมายนั้น ผูบริหารงานชุมชนสัมพันธ
จะตองพิจารณาคุณสมบัติของบุคลากรผูท่ีจะออกไปปฏิบัติงานชุมชนสัมพันธอยางละเอียดรอบคอบ
เปนอันดับแรก หากจัดใหบุคลากรท่ีมีคุณสมบัติไมเหมาะสมออกไปปฏิบัติงานชุมชนสัมพันธแลว
ความลม เหลวยอ มจะเกดิ ขน้ึ แลว กอ นลงมอื ปฏบิ ตั งิ าน ดงั นนั้ บคุ คลทไ่ี ปปฏบิ ตั งิ านควรตอ งมคี ณุ สมบตั ิ
ดังน้ี

ñ. ÁÕÍØ´Á¡ÒóáÅФÇÒÁ»ÃоÄμÔ´Õ กลาวคือ ตองเห็นแกประโยชนสวนรวม
มคี วามเสยี สละและประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นเปน ตวั อยา งทด่ี แี กป ระชาชนและผอู น่ื เชน ไมม ว่ั สมุ กบั อบายมขุ
เปน ตน นอกจากนนั้ จะตอ งเปน ผมู คี วามมงุ มน่ั ตงั้ ใจจรงิ ในการทาํ งานเพอื่ สรา งศรทั ธาใหเ กดิ กบั ประชาชน

ò. ÁÕÁ¹ØÉÂÊÑÁ¾Ñ¹¸´Õ สามารถท่ีจะเขากับประชาชนได การมีมนุษยสัมพันธดีนั้น
เปนเรื่องท่ีสามารถฝกฝนอบรมกันไดแตเปนกรณีที่ตองใชเวลา ฉะนั้นหากสามารถคัดเลือกเจาหนาที่
ตํารวจทม่ี ลี กั ษณะดงั กลา วเขา มาเปน ทมี งานปฏบิ ตั งิ านนไี้ ดเ ลย กย็ อ มจะชว ยใหก ารทาํ งานรวดเรว็ ยง่ิ ขน้ึ
หากมีความจาํ เปนที่จะตองสรางทีมงานใหมท่ีไมมีพ้ืนฐานมากอน จะตองจัดใหมีการฝกอบรม
โดยเนน หนักในเรอื่ งมนษุ ยสมั พนั ธ วิธกี ารเขา กับประชาชน การไมสรา งปญหา และการขจดั ขอ ขัดแยง
กับประชาชนในพื้นที่

ó. ÁºÕ ¤Ø Å¡Ô ´Õ ÁÅÕ ¡Ñ ɳÐ໹š ¼นŒÙ ํา Á¤Õ ÇÒÁÃàÔ ÃÁÔè ÊÃÒŒ §ÊÃä Í´·¹Í´¡Å¹éÑ นอกจากการมี
มนษุ ยสัมพนั ธท่ีดแี ลว บุคลกิ ของเจาหนา ท่ีตาํ รวจเปน สง่ิ สําคัญที่จะชวยจงู ใจและสรางความศรัทธาได
อกี ดว ย ดงั นน้ั จงึ จําเปน อยา งยง่ิ ทจ่ี ะตอ งพยายามคดั เลอื กทมี งานทม่ี บี คุ ลกิ ดี องอาจ สงา ผา เผย แตง กาย
สะอาด รูจักใชวาจาที่สุภาพ นุมนวล มีนํ้าเสียงนาฟงเหมาะสมท่ีจะเปนผูนําประชาชนในชุมชนได
ตลอดจนจะตอ งเปน ผมู คี วามคดิ รเิ รมิ่ สรา งสรรค ทงั้ นส้ี ง่ิ สาํ คญั สาํ หรบั เจา หนา ทตี่ าํ รวจทจี่ ะออกปฏบิ ตั ิ
งานชุมชนสัมพันธ คือ การรูจักฝกจิตใจใหมีความอดทนอดกลั้นในขณะที่ปฏิบัติงาน อีกท้ังรางกาย
จะตองมคี วามสมบรู ณพ รอมตออุปสรรคในพื้นท่ที กุ รูปแบบ

ô. ÁÕäËǾÃÔº»¯ÔÀÒ³ สามารถแกไขปญหาตางๆ ไดอยางรวดเร็วและเหมาะสม
รวมทั้งสามารถปรับรูปแบบของการปฏิบัติงานใหเขากับสภาพชุมชนและพ้ืนท่ีไดอยางมีประสิทธิภาพ
อกี ดว ย

๙๔

õ. ¼‹Ò¹¡ÒÃͺÃÁ´ŒÒ¹¡ÒûÃЪÒÊÑÁ¾Ñ¹¸ และชุมชนสัมพันธมากอนโดยเปนเรื่องท่ี
จาํ เปนอยางยิ่งที่ผูปฏิบัติงานจะตองมีความรูความเขาใจในงานดานการประชาสัมพันธและชุมชน
สัมพนั ธอยา งถอ งแท มฉิ ะนั้นแลว จะไมทราบเลยวาจะตอ งทาํ อะไร เมอื่ ใด และอยางไรใหถ กู ตอ งตาม
วตั ถุประสงคและเปา หมายที่แทจ ริงของสาํ นักงานตํารวจแหงชาติ

ö. ໹š ¼ÁŒÙ ¤Õ ÇÒÁäŒÙ ÇÒÁÊÒÁÒöàËÁÒÐÊÁ เนอ่ื งจากความรเู ปน สง่ิ สาํ คญั ในการถา ยทอด
ใหประชาชนไดเกิดความเขาใจ ในแตละชุมชนมีประชาชนท่ีมีพื้นฐานความรูแตกตางกันในบางพื้นท่ี
ซึ่งมีประชาชนมีความรูขั้นมหาวิทยาลัยมากก็อาจจําเปนท่ีจะตองเลือกใชเจาหนาที่ตํารวจที่มีความรู
เทาเทียมกัน หากพ่นื้ ทใี่ ดทีป่ ระชาชนมีความรูปานกลางและขนั้ พนื้ ฐานก็อาจเลือกใชเ จาหนาทตี่ ํารวจ
ที่มีความรูระดับตางๆ ผสมผสานกันเพื่อใหเหมาะสมกับพื้นท่ีได อยางไรก็ตามความรูในดานชุมชน
สมั พนั ธน นั้ ทกุ คนจะตอ งไดร บั การฝก อบรมและปรบั พน้ื ฐานความรใู หเ ทา เทยี มกนั เพอ่ื ทจ่ี ะไดส ามารถ
ทํางานแทนกันไดทุกคน

÷. ¤ÇÒÁÌ٤ÇÒÁÊÒÁÒö¾ÔàÈÉ เปนสวนชวยเสริมงานดานชุมชนสัมพันธไดเปนอยางดี
การอบรมหรือช้ีแนะประชาชนในลักษณะการถายทอดความรูดานตัวบทกฎหมายหรือขอแนะนาํ ตาม
คมู อื ทแ่ี จกจา ยแตเ พยี งอยา งเดยี วอาจไมป ระสบความสาํ เรจ็ เสมอไป แตถ า ตาํ รวจทเ่ี ขา ไปปฏบิ ตั งิ านใน
ชมุ ชนมีความรพู เิ ศษ เชน ชา งไม ชางเคร่ืองยนต การเกษตร หรอื แพทย ฯลฯ เปน ตน การชวยเหลอื
และรวมกิจกรรมกับประชาชนโดยใชความรูความสามารถพิเศษดังกลาว ยอมชวยสรางความเขาใจ
ความเห็นอกเห็นใจ และสนับสนุนใหการปฏิบัติงานชุมชนสัมพันธไดผลดีย่ิงขึ้น ดังน้ันในทีมงานที่ทาํ
หนาท่ชี ดุ ปฏิบัตกิ ารชุมชนสมั พนั ธค วรจะมเี จา หนา ท่ตี าํ รวจทีม่ คี วามรพู ิเศษดังกลา วอยา งนอ ยหนง่ึ คน
เขารว มงานดวย

¤³Ø ÊÁºÑμ¢Ô ͧ¼ÙŒ»¯ºÔ μÑ §Ô Ò¹ªÁØ ª¹ÊÁÑ ¾Ñ¹¸

ñ. ¤³Ø ÊÁºμÑ Ô·ÇÑè ä»
๑. มคี วามจรงิ ใจ
๒. มคี วามซ่อื สตั ยส จุ ริต
๓. มคี วามรคู วามสามารถ
๔. มปี ฏิภาณไหวพรบิ ดี

ò. ¤³Ø ÊÁºÑμÔ੾ÒÐμÑÇ
๑. รูจักใหเกยี รติประชาชน
๒. มีมนษุ ยสัมพันธด ี
๓. มวี าทศลิ ปใ นการพูด โดยนาํ เอาหลกั การพดู มาใชป ระกอบ คือ
๓.๑ พูดถูกกาลเวลา คอื รูวาเวลาใดควรพูดไมค วรพูด
๓.๒ พดู จริง คอื พดู ตามความจรงิ ไมพ ดู โปป ดมดเท็จ

๙๕

๓.๓ พูดจาออนหวาน นา ฟง ไมร ะคายหู ไมหยาบคาย
๓.๔ พูดกอปรดวยประโยชน เปนประโยชนต อ ผูฟ ง
๓.๕ พูดดวยเมตตาจติ พดู ดวยความปรารถนาดี ไมด ถู ูกเหยียดหยาม
ó. ¤Ø³ÊÁºμÑ ¾Ô ÔàÈÉ
ผูท ํางานดา นชมุ ชนสมั พันธตองปฏบิ ัติดงั น้ี
๑. แมน าํ้
๒. ดอกบวั
๓. กอไผ
๔. ตนสน
๕. ภูเขา

¡ÒÃàÅ×Í¡¾¹×é ·Õàè »Ò‡ ËÁÒÂ

การเลือกพ้ืนที่เปาหมายในการปฏิบัติงานชุมชนสัมพันธอาจพิจารณาเปาหมายออกเปน
๒ ลกั ษณะ คือ ๑) สว นชุมชน ๒) สว นกลุมบคุ คล

ñ. ÇàÔ ¤ÃÒÐˏμÒÁÊÀÒ¾ªÁØ ª¹
การปฏิบัติงานชุมชนสัมพันธโดยพิจารณาจากลักษณะชุมชนน้ันมีความสําคัญ

อยางมาก การกําหนดวาบริเวณพื้นท่ีใดควรเปนเปาหมายในการปฏิบัติงานดวยเหตุผลใดและจะได
ประโยชนอยางไรตอการปองกันปราบปรามอาชญากรรม มีผลอยางย่ิงตอประสิทธิผลในการปฏิบัติ
งานชมุ ชนสมั พันธซ ึง่ ชุมชนนนั้ แบงไดห ลายชนดิ คอื

ñ.ñ ªØÁª¹ÊÀÒ¾¾×é¹·èÕ (Territorial Community) ไดแก พ้ืนท่ีที่ประชาชน
อาศยั อยใู นขอบเขตเดยี วกนั โดยสภาพภมู ศิ าสตร หากประชาชนใดพกั อาศยั อยใู นบรเิ วณพนื้ ทด่ี งั กลา ว
กถ็ ือวา อยใู นชุมชนนน้ั

ñ.ò ªÁØ ª¹μÒÁ¼Å»ÃÐ⪹Ï Ç‹ Á¡¹Ñ (Interest Community) ไดแ ก การรวมตวั
เปน ชมุ ชนขน้ึ มา เนอ่ื งจากการมผี ลประโยชนอ ยา งเดยี วกนั รว มกนั โดยไมค าํ นงึ ถงึ สภาพภมู ศิ าสตรห รอื
บริเวณท่ีมีขอบเขตอยางเล็ก ชุมชนน้ีอาจมีการขยายตัวไดกวางออกไปไดตราบเทาท่ีกลุมประชาชน
ที่มีผลประโยชนอยางเดียวกัน มีความตองการแบบเดียวกันเพ่ิมมากขึ้น เชน ประชาชนตามตรอก
ซอยตา งๆ ทมี่ าขบั ขร่ี ถจักรยานยนตร ับจางอาจมาจากพน้ื ท่ีหา งไกล แตม ีผลประโยชนเ ชน เดียวกนั คอื
มารวมกลมุ กนั เปน กลมุ รถจกั รยานยนตร บั จา งตามตรอกซอยตา งๆ หรอื กลมุ พอ คา หาบเรท ม่ี าคา ขาย
สินคา รวมกันตามยา นชุมชนตางๆ เปนตน

ñ.ó ªÁØ ª¹μÒÁ¤ÇÒÁ¼¡Ù ¾¹Ñ ´ÒŒ ¹¨μÔ ã¨ (Attachment Community) ไดแ ก ชมุ ชน
ทปี่ ระชาชนมคี วามรสู กึ ผกู พนั ทเี่ ขา อยใู นชมุ ชนนนั้ ๆ เปน ลกั ษณะของจติ ใจทม่ี คี วามผกู พนั กบั พนื้ ทนี่ น้ั ๆ
มีความเต็มใจที่จะเขามาอยูในชุมชนน้ันๆ อยางมั่นคง เชน ชุมชนท่ีมักเปนท่ีรวมของชาวอีสาน
หรือคนตางชาติ เปนตน

๙๖

รปู แบบทงั้ สามของชมุ ชนนใี้ นบางครง้ั ซาํ้ ซอ นกนั ชมุ ชนตามผลประโยชนบ อ ยครง้ั กระจาย
อยูในชุมชนตามสภาพพื้นที่ เชน ชุมชนทองถิ่นหน่ึงอาจประกอบดวยชุมชนทางศาสนา ชุมชนธุรกิจ
การคา ชมุ ชนหาบเร เปน ตน การแบงแยกชนดิ ของชุมชนดังกลาว อาจมีประโยชนใ นการท่ีจะทราบถึง
ขอ เทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั ประชาชนทอ่ี าศยั ในพนื้ ทนี่ นั้ ๆ วา มคี วามสมั พนั ธก บั เพอื่ นบา นใกลเ คยี งกนั เพยี งใด
และความเขาใจเหลานี้จะเปนประโยชนตอเจาหนาท่ีตํารวจในการใชดุลยพินิจพิจารณาความยากงาย
ในการดําเนินงานชุมชนสัมพันธในทองที่ใดทองท่ีหนึ่ง เชน ชุมชนตามความผูกพันยอมมีแนวโนมใน
การใหความรวมมอื เพอื่ ประโยชนของชุมชนไดงายกวา

ò. ÇàÔ ¤ÃÒÐˏμÒÁÊÀÒ¾¾é×¹·èÕ
นอกจากการเลอื กชมุ ชนดงั ทไี่ ดก ลา วมาแลว เพอื่ ใหส ามารถบรรลเุ ปา หมายของงานชมุ ชน
สัมพันธอยางแทจริง จําเปนที่ตองมีการวิเคราะหพ้ืนท่ีในแงของปญหาอาชญากรรมและปญหาอื่นๆ
ประกอบดว ย ดังน้ี

ò.ñ ¡ÒÃÇàÔ ¤ÃÒÐË» Þ˜ ËÒÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ โดยการพจิ ารณาสถติ คิ ดที เี่ กดิ ในพนื้ ทเ่ี ปา หมาย
วามีความถี่และสรางความเดือดรอนใหกับชุมชนเปาหมายมากนอยเพียงใด ถาในพื้นท่ีใดมีความถ่ี
ของอาชญากรรมสงู และประชาชนมคี วามหวาดหวนั่ ทจ่ี ะตอ งตกเปน เหยอื่ อาชญากรรมมาก ชมุ ชนนนั้
ถอื วาเปน พ้ืนท่ีซงึ่ จะตอ งนาํ งานชมุ ชนสมั พนั ธไ ปปฏบิ ตั เิ ปน การเรงดวน

ò.ò ¡ÒÃÇàÔ ¤ÃÒÐË» ˜ÞËÒ¤ÇÒÁà´Í× ´ÃŒÍ¹ โดยการรับฟง คํารอ งเรียนของประชาชน
สอ่ื มวลชน ตวั แทนกลุมตางๆ ในชุมชนเปาหมาย หรืออาจใชว ธิ กี ารสงเจาหนา ทเี่ ขา ไปสํารวจปญหา
ตางๆ ของประชาชนในชุมชน โดยเฉพาะถา เปน ปญ หาความเดือดรอ นเก่ยี วกบั อาชญากรรม จาํ เปน
ตอ งแสวงหาขอ เทจ็ จรงิ ใหป รากฏวา อาชญากรรมประเภทใดกอ ความเดอื ดรอ นบรเิ วณใด ปญ หาอยจู ดุ ใด
อยางไร

ò.ó ¡Òþ¨Ô Òóһޘ ËÒ¤ÇÒÁàç‹ ´Ç‹ ¹ºÒ§»ÃСÒ÷¨Õè Òí ໹š μÍŒ §ดาํ à¹¹Ô §Ò¹ªÁØ ª¹
ÊÑÁ¾¹Ñ ¸ การพจิ ารณาแงน ้อี าจไมจ ําเปน ตอ งคาํ นงึ ถงึ ปญหาอาชญากรรมหรือปญ หาความเดอื ดรอ น
ของประชาชนในชุมชน เน่ืองจากบางกรณอี าจเปน งานนโยบายสาํ คญั เชน การแกไ ขปญ หายาเสพติด
หรอื เปนงานเฉพาะหนา เชน ประชาชนในพนื้ ทม่ี ีทัศนคตไิ มด ตี อ ตํารวจและมีแนวโนมจะตอตานการ
ปฏบิ ตั งิ านหรอื ไมใ หค วามรว มมอื กบั ตาํ รวจ หรอื มปี ญ หาอาชญากรรมทาํ ใหส ะเทอื นขวญั ของประชาชน
เชน มคี ดขี ม ขนื สงั หารโหดในบรเิ วณชมุ ชน ซงึ่ กรณเี หลา นมี้ คี วามจาํ เปน ตอ งใชง านชมุ ชนสมั พนั ธเ ขา ไป
คลค่ี ลายปญ หาโดยฉบั พลนั

เมือ่ ไดพิจารณาลกั ษณะของชุมชน ประกอบกับการวเิ คราะหพน้ื ทดี่ งั กลาวแลวจะเห็นวา
พ้ืนที่สวนใหญท จ่ี ะถกู เลอื กเปน เปา หมายในการดาํ เนนิ งานชมุ ชนสัมพันธ คือ

ñ) ªÁØ ª¹·àèÕ »¹š ¾¹×é ··Õè ÁÕè »Õ Þ˜ ËÒÍÒªÞÒ¡ÃÃÁʧ٠ประชาชนไดร บั ความเดอื ดรอ นเปน อยา งมาก
เชน มีคดีลักทรัพย คดีว่ิงราวทรัพย และคดีชิงทรัพยเกิดขึ้นบอย เปนตน ชุมชนเปาหมายเหลาน้ี
มีความจําเปนที่จะตองเขาดําเนินงานชุมชนสัมพันธ โดยคัดเลือกรูปแบบ วิธีการท่ีเหมาะสมกับพื้นท่ี

๙๗

และปญ หา โดยอาจจดั ชดุ ปฏบิ ตั กิ ารชมุ ชนสมั พนั ธเ ขา ไปเผยแพรว ธิ กี ารปอ งกนั อาชญากรรมตรวจเยย่ี ม
หรอื เขา ไปใหค าํ แนะนําปรึกษาในการจัดระบบการปอ งกนั อาชญากรรมในพ้ืนที่ เปนตน

ò) ªÁØ ª¹·èÕ໚¹Â‹Ò¹¸ÃØ ¡¨Ô Å‹ÍáËÅÁμ‹Í¡ÒÃà¡Ô´ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ เชน ศนู ยการคา ธนาคาร
รา นคา ทอง รา นเครอื่ งประดบั ฯลฯ ในชมุ ชนเหลา นรี้ ปู แบบทนี่ า จะเปน ประโยชนต อ งานชมุ ชนสมั พนั ธ
คอื สมั มนาหาแนวทางรว มมอื ระหวา งชมุ ชนกบั ตาํ รวจในการปอ งกนั อาชญากรรม การกระตนุ ใหช มุ ชน
เกดิ ความตนื่ ตวั ในการปอ งกนั การสรา งระบบรกั ษาความปลอดภยั ดว ยการบรหิ าร ความปลอดภยั และ
การใชเ ทคโนโลยสี มยั ใหมช วย เชน สัญญาณเตอื นภัย ทีวีวงจรปด เปนตน

ó) ªÁØ ª¹áÍÍ´Ñ ·ÁÕè »Õ ÃЪҪ¹¼ÁŒÙ ÃÕ ÒÂä´¹Œ ÍŒ ÂÃÇÁ¡¹Ñ Í‹٠การเขา ดาํ เนนิ งานชมุ ชนสมั พนั ธ
กับพืน้ ทเี่ หลานี้ บางครั้งไมคอยไดรบั ความสนใจจากประชาชนเทาทคี่ วร เน่อื งจากประชาชนไมค อยมี
เวลาและไมคอยเขา ใจงานชุมชนสัมพันธของตาํ รวจ ดงั นัน้ วธิ ที น่ี า จะไดผลควรเปน

- การคนหากลุมผูนําชุมชนเพ่ือนํามาเปนแกนในการดําเนินงานและการสราง
ความเขาใจกบั ประชาชนทองถิ่น

- เนน การใชบรกิ ารของทางราชการโดยไมค ิดมลู คา
- การชักนําหนวยงานตางๆ เขามาชวยในลักษณะที่ประชาชนจะไดรับบริการ
จากหนว ยงานตา งๆ
- สอดแทรกความรูเรอื่ งการปองกนั อาชญากรรมเขา ไปทลี ะนอย

๙๘

ô) ¾×¹é ·Õè«èÖ§Á»Õ ˜ÞËÒ¾ÔàÈÉ ไดแก พื้นท่ีทีม่ ปี ญ หาเรง ดว น มคี วามจําเปน ตอ งดาํ เนินงาน
ชุมชนสัมพันธ เชน เปนนโยบายของผูบังคับบัญชาท่ีตองการสรางศรัทธาจากประชาชนในพ้ืนที่น้ัน
หรอื เปน พนื้ ทที่ ม่ี ปี ญ หาอาชญากรรมทกี่ ระทบกระเทอื นตอ ขวญั ของประชาชน เปน ตน พน้ื ทเี่ ปา หมาย
เชนนี้ โดยปกติยังไมมีความจาํ เปนเรง ดวนตองรีบดําเนนิ งานชมุ ชนสมั พันธแตม ีปจ จัยพเิ ศษทาํ ใหต อง
ดําเนินงานชุมชนสมั พนั ธใ นทนั ที

õ) ¾×é¹·èÕËÁ‹ÙºŒÒ¹Ë‹Ò§ä¡Å ไดแก พ้ืนที่ชนบท ชานเมือง อยูหางไกลจากสถานีตาํ รวจ
ในลักษณะพื้นท่ีเชนน้ีอาจจัดชุดปฏิบัติการชุมชนสัมพันธเขาไปเยี่ยมใหความรูเก่ียวกับการปองกัน
อาชญากรรม แนะนาํ การตดิ ตอ ใชบ รกิ ารทสี่ ถานตี าํ รวจหรอื หนว ยงานทเี่ กย่ี วขอ ง เปา หมายการดําเนนิ งาน
ในพ้ืนท่ีเชนนี้ สวนใหญจะมุงเนนการประชาสัมพันธสรางภาพพจนท่ีดีใหแกตํารวจ และหาขาวสาร
ขอ มูลเกยี่ วกับความเปน อยแู ละสภาพปญ หาของชมุ ชน

¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒáÅШ´Ñ ทํา¢ŒÍÁÅÙ ·ŒÍ§¶Ôè¹
ขอมูลทองถ่ินเก่ียวกับตัวบุคคล สถานท่ี เสนทางเขา-ออก เปนเคร่ืองมืออันสําคัญยิ่ง
สําหรับตํารวจทองที่ และเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานชุมชนสัมพันธท่ีจะนําขอมูลดังกลาวมาประกอบการ
เตรยี มการการกาํ หนดแผนการปฏบิ ตั งิ านและการดาํ เนนิ งานดา นตา ง ๆ ฉะนน้ั ผบู รหิ ารงานชมุ ชนสมั พนั ธ
และเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานชุมชนสัมพันธจักตองทําการศึกษาขอมูลทองถ่ินของชุมชนอยางละเอียด
ถถ่ี ว นเพอื่ ทจี่ ะไดส ามารถนาํ ขอ มลู ดงั กลา วไปใชใ หเ ปน ประโยชนใ นการดาํ เนนิ งานชมุ ชนสมั พนั ธต อ ไป
ซง่ึ สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตไิ ดเ คยกาํ หนดแบบฟอรม และสง่ั การใหส ถานตี าํ รวจทกุ แหง จดั ทาํ ขอ มลู ทอ งถน่ิ
เก่ียวกับภูมิประเทศและเหตุการณใหตรงความเปนจริงและทันสมัยอยูเสมอแลวตามหนังสือ ตร.
ท่ี ๐๖๐๘/๔๑๗๓ ลงวนั ท่ี ๔ เมษายน ๒๕๒๗
นอกจากนั้น เมื่อเจาหนาท่ีชุดปฏิบัติการชุมชนสัมพันธไดออกปฏิบัติงานในชุมชนพื้นท่ี
เปา หมายแลว จกั ตอ งทาํ การศกึ ษาและจดั ทาํ ขอ มลู ทอ งถนิ่ เพม่ิ เตมิ เพอื่ ทจ่ี กั ไดน าํ มาใชป ระโยชนต อ ไป
ท้ังในดานการดําเนินงานชุมชนสัมพันธ และการปองกันอาชญากรรมโดยท่ัวไป ซึ่งในการแสวงหา
ขอมูลทองถ่ินน้ัน เจาหนาที่ตํารวจชุดปฏิบัติการชุมชนสัมพันธจําเปนตองใชปฏิภาณไหวพริบและ
จังหวะโอกาสทเ่ี หมาะสม ในบางครั้งอาจตอ งใชวธิ ีการสงั เกตจดจําแลว กลับมาบนั ทึกเอาเองภายหลงั
เพ่ือมิใหประชาชนเกิดความหวาดระแวงหรือเขาใจวาเจาหนาที่ดังกลาวเขามาจับผิดรายละเอียดท่ี
สมควรรวบรวมนนั้ ไดมกี ารชแี้ นะแลวตามหนงั สอื ตร. ที่ ๐๖๐๘/๔๑๗๘ ลงวนั ท่ี ๔ เมษายน ๒๕๒๗
อยางไรกต็ ามสภาพเหตุการณในแตละชุมชนยอมแตกตา งกนั ออกไป ในบางชุมชนอาจมีความจาํ เปน
ตองใชขอมูลบางอยางเพิ่มเติม ในขณะท่ีบางชุมชนอาจมีความตองการขอมูลนอยลงไป ทั้งนี้ขอมูล
ทอ งถนิ่ ทรี่ วบรวมไวอ ยางนอ ยควรมีสาระสําคัญ ดงั น้ี
๑. สภาพพ้ืนที่และประเภทของสถานที่
๒. ขนบธรรมเนยี มประเพณี และวัฒนธรรมทองถ่นิ
๓. บุคคลสาํ คัญในทองถิ่นหรอื บคุ คลทีน่ าสนใจ

๙๙

๔. บุคคลทต่ี อ งคอยสอดสองพฤตกิ ารณแ ละตดิ ตามความเคลอื่ นไหว
๕. บุคคลท่ีอาศัยอยูในบาน
๖. อาวุธทไี่ ดรับอนุญาต
๗. ยานพาหนะทใ่ี ชอ ยรู วมทั้งสตั วพาหนะท่อี ยใู นครอบครอง
๘. เสนทางเขาออกนาํ ไปสหู มูบา น
๙. วนั เดอื น ป ท่ีสาํ รวจ
๑๐. ชื่อผสู าํ รวจ
๑๑. ขอมลู ทเี่ ปล่ียนแปลงภายหลงั

ลาํ ´ºÑ ¢¹Ñé μ͹¡ÒÃดําà¹¹Ô §Ò¹ªØÁª¹ÊÑÁ¾Ñ¹¸


Click to View FlipBook Version