The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

17_CP21404_หลักการสื่อสารสร้างสัมพันธ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-07-21 07:22:27

17_CP21404_หลักการสื่อสารสร้างสัมพันธ์

17_CP21404_หลักการสื่อสารสร้างสัมพันธ์

๑๐๐

ñ. ¡Òþº»ÐàÂÕèÂÁàÂÕ¹áÅÐÃÇ‹ Á¡¨Ô ¡ÃÃÁ
สัมพันธภาพของมนุษยเริ่มตนดวยการพบปะคุนเคยซ่ึงกันและกัน “วิสาสาปรมาญาติ”

(ความคนุ เคยเปนญาติอยา งยง่ิ ) ระดับความสมั พนั ธท ี่บคุ คลจะมีตอ กนั นัน้ ยอ มขึน้ อยูก บั ความใกลชดิ
ความเขาใจ และไววางใจซ่ึงกันและกัน ซึ่งความรูสึกดังกลาวจะเกิดข้ึนมาไดนั้น จักตองมีการพบปะ
รว มกจิ กรรมเปนพื้นฐานกอน ดงั นัน้ การออกพบปะเยยี่ มเยียนและเขา รว มกิจกรรมกบั ผนู ําชมุ ชนและ
ประชาชนของชดุ ปฏบิ ัตกิ ารชมุ ชนสมั พนั ธ จงึ เปน วิธกี ารสรา งความเขา ใจ ความไวว างใจ ความเชอื่ ม่นั
ความเคารพนับถือ อันจะนําไปสูความรักและความศรัทธา อันจะเปนหนทางใหสามารถดําเนินการ
ขัน้ ตอนตอ ไปอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ เชน

๑. เขา เย่ยี มพบปะผูนําชมุ ชนและประชาชนเปน รายบคุ คลหรอื ทง้ั กลมุ
๒. เขา รว มกจิ กรรมตามประเพณแี ละเทศกาล รวมถงึ กจิ กรรมสาธารณกศุ ล และการพฒั นา
ท่ีชุมชนจัดขึ้น
๓. เขารวมกิจกรรมปกติตามวิถีชวี ติ ประจําวนั ในชุมชน
๔. แนะนาํ ตนเองและชีแ้ จงเกย่ี วกบั งานชุมชนสัมพันธ

ò. ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒªÁØ ª¹áÅÐÇàÔ ¤ÃÒÐË» ˜ÞËÒªØÁª¹
การศึกษาชุมชนและวิเคราะหปญหาชุมชน เปนการเรียนรูและรูจักกับชุมชน ความรู

ความเขาใจเก่ียวกับชุมชนทําใหสามารถอธิบายสถานการณตางๆ ของชุมชนอันเปนพื้นฐานของ
การวางแผนการตัดสนิ ใจ และดาํ เนินการกจิ กรรมรว มกับชมุ ชนไดอ ยา งเหมาะสมและสอดคลอ ง เชน
การศึกษาขอมูลชุมชน, การสํารวจขอมูลเกี่ยวกับทองถ่ินที่สัมพันธกับงานปองกันและปราบปราม
อาชญากรรม อุบัติภัย และส่ิงแวดลอม, การสอบถาม การสัมภาษณผูนําหรือประชาชนหรือบุคคล
ที่เก่ียวของ เพ่ือใหไดขอมูลที่ตองการหรือใชวิธีการเขารวมกิจกรรมในชีวิตประจําวันของชาวบาน

๑๐๑

โดยการอาศยั (รว มอยู รวมกิน รว มนอน รว มศกึ ษา รวมแกปญ หา) และใชช ีวิตรว มอยูกับชาวบานใน
กิจกรรมตา งๆ โดยใชหลัก ๕ รวม คือ

ñ. ÃÇ‹ Á¡¹Ô มกี ารพบปะสงั สรรค งานบญุ งานประเพณตี า งๆ ตามแตโ อกาสทเี่ ออื้ อาํ นวย
(หรอื ไดร บั เชญิ เพอ่ื เปน เกยี รต)ิ การรว มรบั ประทานอาหาร กข็ อใหด จู ากสถานภาพของชาวบา นกลมุ ชน
อยาทาํ ตัวเปนทีน่ าเบื่อหนา ยแกเจาภาพ (มีไกแ ตต าํ รวจจะกนิ หม)ู มอี ยางไรก็ควรกินอยา งนน้ั ตาํ รวจ
ตอ งทําตนใหเ ปน คนเลย้ี งงายสันโดษ

ò. ËÇÁÍÂÙ‹ ตํารวจควรทําตนใหเปนบุคคลท่ีอยูงายกินงาย อยาสรางปญหา เชน
ชาวบานเขามีเส่ือมาใหนอนแตจะนอนฟูกตองคลุกคลีกับชาวบานหรือประชาชน (ตามแตโอกาส)
ทาํ ตัวใหเขา กับชาวบา นเปนกนั เอง

ó. ËÇÁ¤Ô´ ตํารวจหันหนาเขาไปหาประชาชนเพื่อรวมกันคิดรวมกันแกปญหาตางๆ
ท่ีชาวบา นเขาเดือดรอน รวมคดิ ในทางรเิ ริ่มสรา งสรรค

ô. ËÇÁทํา§Ò¹ ตํารวจควรรวมทํางานกับประชาชนในแตละกลุม แตละหมู
เพอื่ การพัฒนาหมูบานถน่ิ ท่ีอยูอาศยั ของประชาชน การพัฒนาสถานท่ี เชน วดั สงิ่ สาธารณประโยชน
ตา งๆ ทีช่ าวบานใชรวมกัน

õ. ÃÇ‹ ÁÈ¡Ö ÉÒ ตํารวจควรเขา ไปรว มศกึ ษาถงึ ปญ หาตา งๆ ทป่ี ระชาชนไดร บั ความเดอื ดรอ น
เพื่อใหการแนะนําเสนอแนะ โดยไมแสดงความรังเกียจ ตองทาํ ดวยความเต็มใจ ทาํ ดวยความต้ังใจ
และเสยี สละ
ó. ¡ÒûÃЪØÁÇҧἹ§Ò¹ÃÇ‹ Á¡Ñº¼ÙŒนาํ ªÁØ ª¹áÅлÃЪҪ¹

การดําเนนิ กจิ กรรมตา งๆ ตอ งอาศยั พลงั ความรว มมอื รว มแรงใจกนั ของทกุ ฝา ย การประชมุ
เปนกิจกรรมที่สามารถสรางความเขาใจในปญหาเน้ือหาสาระ รวมทั้งการมีสวนรวมในการแสดง
ความคิดเห็น ซึ่งการมีสวนรวมในการเลือกการตัดสินใจและการวางแผนนั้นเปนพ้ืนฐานของการ
มสี ว นรว มในการปฏบิ ตั แิ ละรบั ผดิ ชอบรว มกนั นอกจากนก้ี ารประชมุ ยงั เปน การระดมสมองและหลอมรวม
ความคดิ ทีห่ ลากหลายใหเ ปนหนงึ่ เดียว เกดิ พลังสามัคคีสูการปฏบิ ัตแิ ละรับผิดชอบรว มกัน เชน

ñ. »Ã¡Ö ÉÒËÒÃÍ× ¼นŒÙ ํา·àÕè ¡ÂèÕ Ç¢ÍŒ § เชน กรรมการฝา ยปอ งกนั และรกั ษาความสงบเรยี บรอ ย
ฝายสวัสดกิ ารและสงั คมของหมบู า น รวมท้ังผนู าํ อน่ื ๆ เชน หัวหนา กลมุ ครู ผนู ําศาสนา เพ่อื ประชมุ
ปรกึ ษาหารอื เกยี่ วกบั การวางแผน วางโครงการจดั ทาํ กจิ กรรมดา นความปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยส นิ
อบุ ัตภิ ัยและยาเสพตดิ ใหโ ทษ เปน ตน

ò. ¡ÒûÃЪÁØ ã¹¢¹éÑ ¹ÍéÕ Âã‹Ù ¹ÃÐÂТͧ¡ÒÃÃдÁ¤ÇÒÁ¤´Ô เพอ่ื ทาํ ความเขา ใจสถานการณ
สภาพการณแ ละขอ มลู ตา งๆ รว มกัน

ó. ¡ÒûÃЪØÁ¤ÇÃãËŒ¼ÙŒนํา㹪ØÁª¹à»š¹¼ÙŒ¹Ñ´ËÁÒ และเปนเจาของเร่ืองชุดปฏิบัติ
การชุมชนสัมพันธควรเปนผูประสานงาน ติดตอ และอํานวยความสะดวก พรอมสนับสนุนในสวน
ท่ีนอกเหนอื ขดี ความสามารถของผนู ําชมุ ชน

๑๐๒

ô. ãË·Œ »Õè ÃЪÁØ กาํ ˹´¡Ãͺ¹âºÒÂ㹡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ ã¹ªÇÕ μÔ และทรพั ยส นิ
บนหลักการของการพง่ึ ตนเองของชมุ ชนและการรวมใจกันของทกุ ๆ ฝา ยท่ีเกี่ยวของ พรอ มท้ังกําหนด
โครงการหรอื แผนงานที่สามารถลงมือปฏบิ ัติได
ô. ¡ÒÃàμÃÕÂÁ¡ÒèѴÃкº§Ò¹áÅлÃÐàÁÔ¹¤ÇÒÁ¾ÃÍŒ Á

การเตรียมการจัดระบบงานและการตรวจสอบความพรอมในการปฏิบัติงานเปนปจจัยท่ี
สาํ คญั มากเพอื่ ใหก าํ ลงั คนและบคุ ลากรทเี่ กยี่ วขอ งมคี วามพรอ มในการปฏบิ ตั งิ าน ระบบงาน แผนงาน
และข้ันตอนในการปฏิบัติกระชับสอดคลองเหมาะสม วัสดุอุปกรณ เคร่ืองใชไมขัดของพรอมอํานวย
ความสะดวกในการดําเนินการ ซ่ึงการเตรียมการจัดระบบงานและประเมินความพรอมเหลานี้
เปนรากฐานใหก ารปฏบิ ตั ิงานบรรลคุ วามสําเร็จอยา งมีประสิทธิผล เชน

๑. จัดเตรยี มความพรอมทางดา นบุคคลโดยเฉพาะอยา งย่งิ คอื ขวัญกําลงั ใจ จิตสํานึก
อุดมการณ ความรับผิดชอบ ความรูความสามารถ และทกั ษะในการปฏบิ ัติงานชมุ ชนสัมพนั ธ

๒. จดั เตรยี มความพรอ มดา นการจดั ระบบงาน การมอบหมาย และการแบง ภาระหนา ท่ี
รบั ผดิ ชอบ

๓. จดั ใหม ีการสาธติ การใชเ คร่อื งมือเทคโนโลยีและวสั ดอุ ุปกรณต า งๆ
๔. จัดใหมีการประสานงานระหวางบุคลากรขององคกรและหนวยงานตางๆ เพ่ือไมให
เกิดชอ งวา งขณะปฏิบตั ิงาน
õ. ¡ÒÃá¹Ðนาํ ãËŒ¤ÇÒÁÃÙàŒ ¡ÂÕè ǡѺ¡Òû͇ §¡Ñ¹μ¹àͧáÅЪÁØ ª¹
การแนะนําใหความรูแกประชาชนเก่ียวกับการปองกันตนเองและชุมชนจากปญหา
อาชญากรรม ยาเสพตดิ ใหโ ทษ อบุ ตั ิภัย และปญ หาอน่ื ๆ ท่เี กีย่ วขอ งกับปญ หาอาชญากรรมน้นั เปน
วธิ กี ารปอ งกนั อาชญากรรมทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลมากทสี่ ดุ เมอื่ ประชาชนมคี วามรเู กยี่ วกบั
การปองกันตนเองและชุมชนจากปญหาดังกลาว โดยไดเขาใจถึงท่ีมาของปญหา ผลเสียท่ีจะเกิดข้ึน
ตอ ตนเอง ครอบครัวชุมชน ตลอดจนแนวทางการปอ งกนั แกไ ข และมีความรสู ึกรบั ผิดชอบในฐานะ
สมาชิกของชมุ ชนแลว ปญหาตางๆ ยอมทีจ่ ะตองลดนอ ยหรือหมดไปในทสี่ ุด เชน
ñ. ¡Òþº»Ð¾Ù´¤Ø¡Ѻ»ÃЪҪ¹μÒÁà¤Ëʶҹ โดยสอดแทรกความรูเกี่ยวกับ
การปองกันอาชญากรรม ยาเสพติดใหโทษ อุบัติภัย และปญหาอื่นๆ ที่เกี่ยวกับความปลอดภัย
ในชวี ติ และทรัพยส นิ
ò. »ÃÐÊÒ¹§Ò¹âçàÃÕ¹㹷͌ §¶èÔ¹ เพ่อื ขอใหจดั เวลาชว งส้ันๆ ใหช ดุ ปฏิบตั กิ ารชุมชน
สมั พนั ธท ําการบรรยายใหความรูก บั นักเรียน

๑๐๓

ó. ¨´Ñ ͺÃÁãˤŒ ÇÒÁÃŒÙá¡»‹ ÃЪҪ¹à¡èÕÂÇ¡ºÑ
ó.ñ ¡Òû‡Í§¡Ñ¹ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ เชน การปองกันรักษาทรัพยสินในที่พักอาศัย

การปอ งกนั การปลน ทรพั ย การชงิ ทรพั ย การถกู ทํารา ยรา งกาย การปอ งกนั การถกู ลอ ลวง การลอ ลวงหญงิ
การปองกันการโจรกรรมรถยนตและรถจกั รยานยนต ฯลฯ

ó.ò ¡Òû‡Í§¡Ñ¹ÍغÑμÔÀÑ เชน การปองกันอัคคีภัย การใชรถใชถนนที่ปลอดภัย
อบุ ตั ิเหตุ และการปอ งกันอ่ืนๆ

ó.ó ¡ÒÃãˤŒ ÇÒÁÃÙŒà¡ÕÂè Ç¡ºÑ ÂÒàʾμÔ´ãËŒâ·ÉáÅСÒû‡Í§¡Ñ¹
ö. ¡Òè´Ñ Ãкº»ÃÐÊÒ¹¤ÇÒÁÃÇ‹ ÁÁ×ÍÃÐËÇÒ‹ §»ÃЪҪ¹¡ÑºตําÃǨ

การประสานความรวมมือระหวางประชาชนกับตํารวจและการสนับสนุนการปฏิบัติงาน
ของตํารวจเพ่ือแกปญหาอาชญากรรม ยาเสพติดใหโทษ อุบัติภัย และปญหาอ่ืนๆ ในชุมชน
หลังจากท่ีประชาชนในชุมชนไดมีความรูเก่ียวกับสาเหตุและแนวทางแกไขแลว คือ เปาหมาย
สุดทายของงานชุมชนสัมพันธ แตการที่ประชาชนกับตาํ รวจจะมีการประสานงานที่ดี และแตละฝาย
จะตอ งมคี วามรคู วามเขาใจและเห็นชอบกับระบบการประสานงาน และดาํ เนนิ การตามระบบดงั กลาว
อยา งจรงิ จงั ดงั นนั้ ประชาชนกบั ตํารวจจงึ ตอ งเขา มามสี ว นรว มในการพจิ ารณาและจดั วางระบบประสาน
ความรว มมือทด่ี แี ละมปี ระสทิ ธิภาพ เชน

๑. จัดการประชุมระหวา งผูนําชุมชน ประชาชน และตํารวจ ขอความรว มมอื และชี้แจง
เกีย่ วกบั หนาทข่ี องพลเมอื งดี ตลอดจนวิธกี ารแจงขา วสารใหก ับตาํ รวจ

๒. จัดตูรับขาวสารความคิดเหน็ และขอเสนอแนะของประชาชน
๓. นําขอเสนอแนะของประชาชนเก่ียวกับระบบประสานงานและการสนับสนุน
การปฏิบตั งิ านของตาํ รวจมาทาํ การปรบั ปรงุ ใหมีประสิทธภิ าพยิ่งขน้ึ
๔. จัดระบบขอมูลเก่ียวกับผูใหขาวสารและการสนับสนุนการปฏิบัติงานของตํารวจ
ใหมีความทันสมัยและตอเน่ือง โดยคํานึงถึงความปลอดภัยของผูใหขาวและสนับสนุนการปฏิบัติงาน
ของตาํ รวจเปน สําคัญ
÷. ¡ÒÃμÔ´μÒÁ¼Å »ÃÐàÁ¹Ô ¼ÅáÅСÒûÃѺ»Ã§Ø á¡Œä¢
การวัดผลเปนขั้นตอนหน่ึงของกระบวนการทํางาน เปนข้ันสุดทายของการทํางาน
วงจรแรกและเปนข้ันตอนแรกของวงจรการทํางานรอบที่สองตอไป การวัดผลทําใหไดทราบปญหา
และขอมูลตางๆ เพ่ือนําขอมูลเหลาน้ันมาวิเคราะหและประเมินผลวาไดผลตรงตามวัตถุประสงค
หรือเปา หมายมากนอ ยเพยี งใด การปรบั ปรุงแผนงานหรือโครงการการปฏบิ ตั คิ ร้ังตอไป เชน

๑๐๔

ñ. ÊÌҧà¤Ãè×ͧÁ×ÍẺÊͺ¶ÒÁ ẺÊÑÁÀÒɳ แบบบันทึกในการเก็บขอมูล
ผลกระทบตางๆ จากการดําเนนิ งานชมุ ชนสัมพันธ

ò. μ´Ô μÍ‹ »ÃÐÊÒ¹§Ò¹¡ºÑ ˹Nj Â§Ò¹Ç¨Ô ÂÑ ËÃÍ× Ê¶Òº¹Ñ เชน วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ใกลเ คยี ง
ใหช ว ยเหลอื ดาํ เนินการตดิ ตามประเมนิ ผลโครงการ

ó. »ÃЪØÁ»ÃÖ¡ÉÒËÒÃ×ͺؤÅҡ÷èÕà¡èÕÂÇ¢ŒÍ§ เชน ผูนําหมูบาน ผูนํากลุมกรรมการ
ฝา ยตา งๆ รวมท้ังประชาชนเพ่อื ใหแสดงความคิดเหน็ ตอการปฏบิ ตั ิงานและใหขอ เสนอแนะตางๆ

ô. ¨´Ñ ÊÑÁÁ¹ÒÃÐËÇ‹Ò§¼ÃŒÙ Ѻ¼Ô´ªÍº ผูบริหารโครงการ นกั ปฏิบตั ิ นักวิชาการ นักบรหิ าร
และผูทเี่ กย่ี วขอ งเพ่อื ประเมนิ สถานการณแ ละปรบั ปรุงแกไขการทาํ งานในคร้งั ตอ ไป

õ. ºÑ¹·Ö¡ÀÒ¾ ÊäÅ´ Ç´Ô âÕ Í áÅк¹Ñ ·Ö¡àÊÕ§

๑๐๕

¢é¹Ñ μ͹㹡ÒÃÊÌҧ¡ÒÃÁÕÊÇ‹ ¹Ã‹ÇÁ¢Í§»ÃЪҪ¹à¾Íè× »Í‡ §¡Ñ¹ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ

ñ. ¤¹Œ ËÒ᡹นําáÅÐͧ¤¡Ã·ÍŒ §¶¹èÔ
คนหาและสรางแกนนําในชุมชน โดยเนนการทํางานรวมกันระหวางเจาหนาที่ตํารวจ

กบั ผนู าํ หมชู มุ ชนหรอื ชมุ ชน ผนู าํ องคก รทอ งถน่ิ ทปี่ ระชาชนใหก ารยอมรบั นบั ถอื โดยสรา งสมั พนั ธภาพ
ระหวา งเจา หนา ทต่ี าํ รวจกบั แกนนาํ หรอื ผนู าํ กบั สมาชกิ ในชมุ ชน จะเปน จดุ เรมิ่ ตน ในการสรา งการมสี ว นรว ม
ของประชาชนในชุมชน การดําเนินการในขั้นนี้อาจเริ่มจากการทําตารางบัญชีตัวแทนแกนนําของ
ทุกภาคสวนในชุมชน จากน้ันพิจารณาวาผูใดจะสามารถเขามามีสวนรวมในการขับเคล่ือนชุมชน
และชาวชุมชนใหการยอมรับนับถือ
ò. ¨Ø´»ÃСÒ¤ÇÒÁ¤Ô´

ตองใหความเชื่อถือในศักยภาพของแกนนําวา หากกระตุนใหแตละคนมีโอกาสใช
ภูมิปญญา ใชความรูความสามารถอยางเต็มท่ีแลวเทากับเปนการสรางความเขมแข็งของชุมชน
โดยอาจมกี ารอบรมเพมิ่ เตมิ ความรู นาํ แกนนาํ และชาวชมุ ชนไปทศั นศกึ ษาดงู านชมุ ชนทไี่ ดด าํ เนนิ การ
แลว ประสบความสาํ เร็จ เพอื่ นาํ มาเปน แนวทางในการดําเนนิ การ
ó. È¡Ö ÉÒ¾é¹× °Ò¹ªÁØ ª¹

จัดเวทีประชาคมในชุมชน จัดการประชุมกลุมยอย เพื่อปรับแนวคิดของคนในชุมชน
ใหร จู ักคิดเอง ทําเอง และการใหโ อกาสคนในชมุ ชนในการพูด การนําเสนอ การเขารว มกิจกรรม อาทิ
การรวมกันนําเสนอประวตั ิศาสตรช มุ ชน การสํารวจขอมลู การจัดเกบ็ ขอ มลู ครัวเรือน รายรับรายจาย
และการคนหาศกั ยภาพทนุ ของชุมชนในรูปแบบตางๆ กระตนุ ใหช มุ ชนเหน็ ถงึ ส่ิงท่ีไมมีในชมุ ชน ไมใช
การเนน ใหเ หน็ วา ชมุ ชนขาดแคลนสงิ่ ใด การใหช มุ ชนรว มกนั คน หาองคป ระกอบทที่ าํ ใหช มุ ชนสามารถ
ดํารงอยูไดโดยใชเวทีประชาคม รวมกันทําตารางบัญชี หรือแผนท่ีทุนชุมชน จําแนกตามประเภท
อยา งละเอียด เชน ทุนบุคคล ปราชญช มุ ชน ทรัพยากรธรรมชาติ ความรู ทกั ษะ ภูมิปญญาของชุมชน
เปน ตน
ô. ÇÔà¤ÃÒÐË» ˜ÞËÒªØÁª¹ áÅШ´Ñ ลาํ ´ºÑ ¤ÇÒÁสาํ ¤ÑÞ·èμÕ ÍŒ §á¡äŒ ¢

เปนการใชเวทีประชาคมใหชุมชนรวมกันเสนอปญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน อาทิ
การทะเลาะววิ าทของกลมุ เดก็ วยั รนุ ปญ หายาเสพตดิ ปญ หาเศรษฐกจิ และรว มกนั จดั ลาํ ดบั ความสาํ คญั
ความจําเปนเรงดวนของปญหาท่ีตองดําเนินการแกไขกอน-หลัง นอกจากน้ี ใหเวทีประชาคมคนหา
สาเหตแุ ละแนวทางในการแกไ ขปญหา

๑๐๖

õ. ¡Ëҧ¡¨Ô ¡ÃÃÁªØÁª¹
กําหนดกิจกรรมท่ีสามารถปฏิบัติแลวบังเกิดผลเปนรูปธรรมได เชน มาตรการทางสังคม

ของชุมชน โครงการพัฒนาผูนําชุมชนเพื่อเพิ่มศักยภาพในการปองกันอาชญากรรมและยาเสพติด
โครงการคายผูนําเยาวชนปองกันอาชญากรรมและปญหายาเสพติด เพ่ือชวยใหเยาวชนไดทราบถึง
โทษของยาเสพติด เปนตน นอกจากน้ีเจาหนาท่ีตํารวจและชุมชนตองสามารถจัดลําดับความสําคัญ
และรวมพิจารณาวาแผน/โครงการใดชุมชนสามารถดําเนินการไดเองหรือตองขอรับการสนับสนุน
จากองคกรปกครองสวนทองถิ่น ซึ่งจะทําใหทุกคนในชุมชนไดรับรู รวมคิด รวมทํา รวมเปนเจาของ
รว มรบั ผลประโยชนจ ากแผนงาน/โครงการทกี่ าํ หนดขน้ึ อยา งแทจ รงิ โดยกจิ กรรมโครงการตอ งดาํ เนนิ การ
ในกรอบ ดังน้ี

๕.๑ เปน กจิ กรรมเพอื่ การปอ งกนั อาชญากรรมและการกระทาํ ผดิ กฎหมายอยา งตอ เนอื่ ง
รวมท้งั เผยแพรข อมลู ขาวสารทเี่ ปนประโยชน

๕.๒ ปรับปรุงกลไกทางกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับที่เอ้ืออํานวยใหภาคสวนตางๆ
มารวมสนบั สนนุ การสง เสริมใหป ระชาชน ชมุ ชน มีสว นรวมในกจิ การตาํ รวจ

๕.๓ กล่ันกรององคค วามรูใ นชมุ ชน โดย
๕.๓.๑ รวบรวมขอ มลู ชมุ ชนใหเ ปนระบบและปรบั ปรงุ ใหท นั สมยั
๕.๓.๒ จัดใหมีกระบวนการเรียนรูรวมกันในชุมชนอยางสมํ่าเสมอ รวมคิด

รวมทํา รวมกําหนดแนวทางกิจกรรมการปองกันและแกไขปญหาอาชญากรรมในชุมชน โดยยึดหลัก
การพงึ่ พาตนเอง โดยนาํ ขอ มลู ชมุ ชนมาวเิ คราะหห าปญ หาและสาเหตุ คน หากจิ กรรมเพอ่ื นาํ ไปปฏบิ ตั จิ รงิ

๕.๔ สรางภูมคิ ุมกันใหช มุ ชน
๕.๔.๑ สนับสนุนการเสริมสรางชุมชนใหมีความมั่นคงในการดํารงชีวิตท้ังทาง

เศรษฐกจิ และสงั คม
๕.๔.๒ แกไ ขสภาพแวดลอ มของชมุ ชนใหน า อยแู ละปลอดภยั ไมใ หเ ออื้ ตอ การเกดิ

อาชญากรรม
ö. นาํ ¡Ô¨¡ÃÃÁä»ÊÙ¡‹ Òû¯ºÔ ÑμÔ

ปฏิบัติตามขอกําหนดและมาตรการโครงการที่ไดรวมกันจัดทําขึ้นตามข้ันตอนท่ี ๕
เพื่อแกไขปญ หาอาชญากรรมของชมุ ชน
÷. »ÃÐàÁÔ¹¼Å

ใหม กี ารตดิ ตามประเมนิ ผลในการเขา ดําเนนิ โครงการ โดยเจา หนา ทต่ี าํ รวจและชมุ ชน
รว มกนั ประเมนิ ผลภายหลงั จากทดี่ าํ เนนิ โครงการไปแลว ชมุ ชนมคี วามสงบเรยี บรอ ย เกดิ ความปลอดภยั
ในชวี ติ และทรพั ยส ิน ลดความหวาดระแวงภยั และแกไ ขปญ หาอาชญากรรมไดเ พียงใด

๑๐๗

ÊÃØ»

จากการนําข้ันตอนในการสรางการมีสวนรวมของประชาชนเพื่อปองกันอาชญากรรม
ซ่ึงเปนหลักการชุมชนเขมแข็งมาเปนแนวทางในการปฏิบัติดานการปองกันอาชญากรรมและการรักษา
ความสงบเรยี บรอ ยในชุมชน ทาํ ใหประชาชนรูสกึ อบอนุ ใจเปนอยา งยง่ิ ทมี่ ีเจา หนา ท่ีตํารวจคอยมาให
คําแนะนาํ และดแู ลความเปน อยขู องประชาชนในชมุ ชน ตลอดจนการใหค วามเปน กนั เองกบั ประชาชน
โดยเจาหนาที่ตาํ รวจคอยเปนพ่ีเลี้ยงและคอยใหคาํ แนะนาํ ในการปองกันอาชญากรรมและการรักษา
ความสงบเรยี บรอ ย ซง่ึ ในการดําเนนิ การดงั กลา วไดอ าศยั ความรว มมอื จากประชาชนทอ่ี าศยั อยใู นชมุ ชน
คอยสอดสอ งดแู ลชมุ ชนของตนเอง เพอื่ ความสงบเรยี บรอ ยของชมุ ชน และเปน การแบง เบาภาระใหก บั
เจาหนาที่ตํารวจ เพราะปจจุบันกําลังขาราชการตาํ รวจมีไมเพียงพอที่จะไปดูแลใหกับประชาชนใน
เขตพืน้ ที่รบั ผดิ ชอบไดอ ยา งทั่วถึง การท่ีใหประชาชนชวยดูแลกนั เองกจ็ ะเปน การปอ งกันอาชญากรรม
ไดในระดบั หนึง่

¡Ô¨¡ÃÃÁ·ÒŒ º·

ใหน กั เรยี นอธบิ ายขนั้ ตอนในการสรา งการมสี ว นรว มของประชาชนเพอ่ื ปอ งกนั อาชญากรรม
จาํ นวน ๗ ขัน้ ตอน

ÀÒ¤¼¹Ç¡

๑๑๑

ÃÐàºÕº ¡.μ.ª.

ÇÒ‹ ´ŒÇ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃμÃǨÊͺáÅÐμÔ´μÒÁ¡ÒúÃÔËÒçҹตาํ ÃǨ
¾.È.òõôù

อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๑๘ (๖) แหง พระราชบญั ญตั ติ าํ รวจแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๗
โดย มติ ก.ต.ช. ในการประชุมคร้ังที่ ๔/๒๕๔๘ เม่อื วนั ท่ี ๗ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๔๘ และมติ ก.ต.ช.
ในการประชุมครง้ั ท่ี ๖/๒๕๔๘ เมื่อวันท่ี ๒๖ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๘ ก.ต.ช.จงึ ออกระเบียบไวด ังตอไปนี้

ขอ ๑ ระเบียบน้ีเรียกวา “ระเบียบ ก.ต.ช. วา ดวยคณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตาม
การบรหิ ารงานตํารวจ พ.ศ.๒๕๔๙”

ขอ ๒ ระเบยี บนใ้ี หใ ชบ งั คบั ตงั้ แตว นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน ตน ไป
ขอ ๓ ใหผ ูบ ญั ชาการตํารวจแหงชาติรักษาการตามระเบียบน้ี

ËÁÇ´ ñ
¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃμÃǨÊͺáÅÐμÔ´μÒÁ¡ÒúÃËÔ ÒçҹตําÃǨ

ʋǹ·èÕ ñ
¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃμÃǨÊͺáÅÐμ´Ô μÒÁ¡ÒúÃÔËÒçҹตําÃǨ¡Ãا෾ÁËÒ¹¤Ã

*ขอ ๔ คณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารงานตํารวจกรุงเทพมหานคร
เรยี กโดยยอวา “กต.ตร.กทม.” ประกอบดวย
(๑) ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ เปนประธานกรรมการ
(๒) ปลดั กรงุ เทพมหานคร เปน รองประธานกรรมการคนที่ ๑

*ขอ ๔ แกไ ขเพมิ่ เตมิ โดยระเบยี บ ก.ต.ช.วา ดว ยคณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการบรหิ ารงานตาํ รวจ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๕๐
ขอ ๒ (ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๒๔ ตอนพเิ ศษ ๑๐๗ ง วนั ที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๐)

๑๑๒

(๓) อธบิ ดีอัยการฝา ยคดีอาญา เปน รองประธานกรรมการคนท่ี ๒
(๔) ผบู ัญชาการกองบญั ชาการตาํ รวจนครบาล เปนรองประธานกรรมการคนที่ ๓
(๕) รองผูบัญชาการกองบัญชาการตํารวจนครบาล จํานวนสามคน ที่ผูบัญชาการ
กองบญั ชาการตาํ รวจนครบาลมอบหมาย เปนกรรมการ
(๖) ผอู าํ นวยการสาํ นกั ปอ งกนั และแกไ ขปญ หาการคา หญงิ และเดก็ กระทรวงการพฒั นา
สงั คมและความมั่นคงของมนุษย เปน กรรมการ
(๗) กรรมการผูท รงคุณวุฒทิ ป่ี ระธาน กต.ตร.กทม. แตงต้ังจากผแู ทนดานตาง ๆ ดังนี้
(ก) ดา นธรรมาภิบาล จาํ นวนหนงึ่ คน
(ข) ดา นความม่นั คง จํานวนหนึง่ คน
(ค) ดา นการจราจรและอุบตั ิภยั จาํ นวนหน่ึงคน
(ง) ดานการพฒั นา จาํ นวนหนง่ึ คน
(จ) ดานเศรษฐกจิ จํานวนหนึง่ คน
(ฉ) ดานสงั คม จาํ นวนหน่งึ คน
(ช) ดานการมสี วนรวมของประชาชนและชุมชน จาํ นวนหนึ่งคน
(๘) ประชาชนโดยพจิ ารณาแตง ตงั้ จากผทู เี่ คยเปน กต.ตร.สถานตี าํ รวจ และมปี ระสบการณ
ดานใดดา นหน่ึงตามขอ ๔(๗) โดยอนุโลม จํานวนสามคน เปนกรรมการ
ใหผูบังคับการกองบังคับการอํานวยการ กองบัญชาการตํารวจนครบาล เปนเลขานุการ
รองผบู งั คบั การกองบงั คบั การอาํ นวยการ กองบญั ชาการตาํ รวจนครบาล จาํ นวนหนงึ่ คน และขา ราชการ
ตํารวจระดับผูกํากับการข้ึนไปในสังกัดกองบัญชาการตํารวจนครบาล จํานวนหนึ่งคน ท่ีประธาน
กต.ตร.กทม. แตงตง้ั เปน ผูชว ยเลขานุการ”
ขอ ๕ กรรมการผทู รงคณุ วฒุ แิ ละประชาชน ตองมคี ุณสมบตั แิ ละไมมลี กั ษณะตอ งหาม
ดังตอไปน้ี
(๑) มสี ัญชาติไทย
(๒) ไมเ ปน ขาราชการการเมอื ง สมาชกิ รัฐสภา หรอื ผูดาํ รงตาํ แหนง ในพรรคการเมอื ง
(๓) ไมเ ปน ขา ราชการประจาํ พนกั งานและลกู จา งของหนว ยงานของรฐั หรอื รฐั วสิ าหกจิ
ยกเวนกรรมการตามขอ ๔ (๗) (ก) ถงึ (ค)
(๔) ไมเปน ผูบ กพรองในศลี ธรรมอนั ดี
(๕) ไมเ ปน บคุ คลลมละลาย
(๖) ไมเ ปนคนไรความสามารถ หรอื เสมือนไรค วามสามารถ
(๗) ไมเ ปน ผูเคยไดร ับโทษจําคกุ โดยคาํ พพิ ากษาถึงท่ีสดุ ใหจาํ คุก เวน แตเ ปนโทษสําหรับ
ความผดิ ท่ีไดกระทาํ โดยประมาทหรือความผิดลหโุ ทษ

๑๑๓

ขอ ๖ กรรมการผูทรงคุณวุฒิและประชาชนมีวาระการดํารงตําแหนงคราวละสองป
และอาจไดรั บั แตงตง้ั ใหมได แตจ ะดํารงตาํ แหนงเกนิ สองวาระติดตอกนั ไมไ ด

ใหกรรมการผทู รงคณุ วุฒแิ ละประชาชนซึ่งพนจากตาํ แหนง ตามวาระ ปฏิบตั ิหนา ทตี่ อ ไป
จนกวากรรมการผูทรงคุณวุฒแิ ละประชาชนซึ่งไดร ับการแตงต้งั ใหมเขารับหนาท่ี

ขอ ๗ นอกจากการพน จากตาํ แหนง ตามวาระแลว กรรมการผทู รงคณุ วฒุ แิ ละประชาชน
พนจากตาํ แหนง เมื่อ

(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ขาดคณุ สมบัตหิ รือมีลักษณะตองหา มตามขอ ๕
(๔) ขาดการประชุมเกินหกครง้ั ในรอบป นับแตวันทไ่ี ดร บั การแตงตัง้
(๕) กต.ตร.กทม. มีมติดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสองในสามของจํานวนกรรมการ
ทั้งหมด ใหพนจากตําแหนง เนื่องจากมีความประพฤติเส่ือมเสียหรือมีการกระทําที่ไมเหมาะสม
ตอการปฏิบัตหิ นาท่ีกรรมการ
ในกรณีที่กรรมการผูทรงคุณวุฒิหรือประชาชนพนจากตําแหนงกอนวาระ ใหดําเนินการ
สรรหาและแตง ตั้งบคุ คลเปน กรรมการแทน เวนแต วาระการดาํ รงตําแหนง ของกรรมการผูท รงคณุ วุฒิ
หรือประชาชนจะเหลอื ไมถ ึงเกาสิบวนั ในกรณีนีจ้ ะไมด าํ เนินการใหม กี ารสรรหาและแตงตงั้ กไ็ ด
ใหกรรมการผูทรงคุณวุฒิหรือประชาชนซึ่งไดรับการแตงต้ังใหดํารงตําแหนงแทนตาม
วรรคสอง อยูในตาํ แหนง เพยี งเทาวาระทเ่ี หลืออยูข องผซู ่ึงตนแทน
*ขอ ๘ กต.ตร.กทม. มีอํานาจหนา ที่ดงั ตอไปนี้
(๑) รบั แนวทางและนโยบายการพฒั นาและการบรหิ ารงานตํารวจจาก ก.ต.ช. ไปปฏิบัติ
เพือ่ ใหเ กิดผลตามนโยบาย
(๒) ใหคําปรึกษาและขอเสนอแนะการปฏิบัติงานของกองบัญชาการตํารวจนครบาล
และ กต.ตร.สน. ใหเ ปนไปตามนโยบายของ ก.ต.ช.
(๓) สงเสริมใหมีการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจ
และการบริหารงานตาํ รวจ
(๔) ตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจในสังกัด
กองบญั ชาการตาํ รวจนครบาล ใหเ ปนไปตามนโยบายของ ก.ต.ช.
(๕) รับคํารองเรียนของประชาชนเก่ียวกับการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจในสังกัด
กองบญั ชาการตาํ รวจนครบาล และดาํ เนนิ การใหเ ปน ไปตามระเบยี บ ก.ต.ช. วา ดว ยการรบั คาํ รอ งเรยี น
ของประชาชนเกย่ี วกับการปฏิบัติหนาทีข่ องขาราชการตาํ รวจ

*ขอ ๘ แกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยระเบยี บ ก.ต.ช.วา ดว ยคณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการบรหิ ารงานตํารวจ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ.๒๕๕๑
ขอ ๒ (ราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๒๕ ตอนพิเศษ ๑๕๙ ง วนั ที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๑)

๑๑๔

(๖) ใหขอมูลขาวสารและเสนอปญหาความเดือดรอนและความตองการของประชาชน
ในเขตพนื้ ที่

(๗) ใหคําแนะนําและชวยเหลือสนับสนุนการประชาสัมพันธงานของกองบัญชาการ
ตํารวจนครบาล

(๘) เสรมิ สรา งความเขา ใจและความสมั พนั ธอ นั ดรี ะหวา ง กต.ตร.กทม. กบั ขา ราชการตาํ รวจ
ผปู ฏบิ ัตหิ นาที่และประชาชนในพนื้ ที่

(๙) แตง ตงั้ คณะอนกุ รรมการ คณะทาํ งาน หรอื ทป่ี รกึ ษา เพอื่ ดาํ เนนิ การอยา งใดอยา งหนง่ึ
ตามที่ กต.ตร.กทม. มอบหมาย

(๑๐) รายงานผลการปฏิบตั ิงานให ก.ต.ช. ทราบ ตามที่ ก.ต.ช. กาํ หนด
(๑๑) อํานาจหนาทอี่ นื่ ตามท่ี ก.ต.ช. มอบหมาย

ʋǹ·Õè ò
¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃμÃǨÊͺáÅÐμÔ´μÒÁ¡ÒúÃÔËÒçҹตําÃǨ¨Ñ§ËÇÑ´

ขอ ๙ คณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการบรหิ ารงานตาํ รวจจงั หวดั ... โดยออกนาม
ตามช่ือจงั หวดั น้นั เรยี กโดยยอ วา “ กต.ตร.จังหวัด ...” ประกอบดวย
(๑) ผูว า ราชการจงั หวัด เปน ประธานกรรมการ
(๒) ผูบงั คับการตํารวจภธู รจงั หวดั เปน รองประธานกรรมการคนท่ี ๑
(๓) อยั การจงั หวดั เปน รองประธานกรรมการคนท่ี ๒
(๔) พฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษยจ งั หวัด เปนกรรมการ
(๕) นายกองคการบรหิ ารสว นจังหวัด เปน กรรมการ
(๖) ผูบงั คับการกองบังคับการอํานวยการ ตาํ รวจภธู รภาค หรอื ผแู ทน เปน กรรมการ
(๗) รองผบู งั คบั การตํารวจภธู รจังหวัด เปน กรรมการ
(๘) ขาราชการตํารวจซึ่งเปนหัวหนาหนวยงานในสังกัดสํานักงานตรวจคนเขาเมือง
กองบังคับการตํารวจทองเที่ยว กองบังคับการตํารวจทางหลวง กองบังคับการตํารวจน้ํา ซ่ึงปฏิบัติ
ราชการประจาํ อยูในจังหวดั นั้น เปน กรรมการ
กรณมี ีหัวหนา หนวยงานหลายระดับในสังกัดเดยี วกนั ใหผ บู งั คับการหรอื รองผบู ังคบั การ
ทีท่ าํ หนาทห่ี วั หนาหนวยงานมอบหมายหวั หนา หนวยงานดงั กลาวจาํ นวนหนงึ่ คน เปนกรรมการ
(๙) กรรมการผทู รงคุณวุฒทิ ปี่ ระธาน กต.ตร.จังหวัด แตงตง้ั จากผูแทนดา นตาง ๆ ดังน้ี
(ก) การศาสนา หรือวฒั นธรรมซ่ึงดําเนนิ กิจกรรมอยใู นจังหวดั น้ัน จาํ นวนหน่ึงคน
(ข) การศกึ ษาซ่ึงปฏบิ ตั หิ นา ที่หรือประกอบการในจงั หวดั นนั้ จํานวนหนึ่งคน
(ค) การแพทย หรือการสาธารณสขุ ซงึ่ ปฏบิ ัตหิ นา ที่หรือประกอบการในจงั หวดั น้นั
จาํ นวนหน่งึ คน

๑๑๕

(ง) การทองเที่ยว ธุรกิจโรงแรม หรือธุรกิจบริการซึ่งประกอบการในจังหวัดนั้น
จาํ นวนหนงึ่ คน

(จ) พาณิชยกรรมอุตสาหกรรม หัตถกรรมหรือธุรกิจการเงินซึ่งประกอบการ
ในจงั หวัดน้ัน จาํ นวนหน่ึงคน

(ฉ) องคก รเอกชนสาธารณประโยชนซ งึ่ จดั ตงั้ ขน้ึ โดยไมแ สวงหากาํ ไร และมวี ตั ถปุ ระสงค
สว นใดสว นหนง่ึ หรอื ทงั้ หมดในการดาํ เนนิ กจิ กรรม เพอ่ื สาธารณประโยชนใ นจงั หวดั นน้ั จาํ นวนหนงึ่ คน

(ช) เกษตรกรรมซึง่ ประกอบการในจงั หวดั น้นั จาํ นวนหน่งึ คน
(๑๐) ประชาชน จาํ นวนสามคน เปน กรรมการ
ใหผูกํากับการซ่ึงทําหนาที่ดานอํานวยการของตํารวจภูธรจังหวัด เปนเลขานุการ
รองผูกํากับการ ซ่ึงทําหนาที่ดานอํานวยการของตํารวจภูธรจังหวัด จํานวนหนึ่งคน และขาราชการ
ตาํ รวจระดบั สารวตั รขนึ้ ไปในสงั กดั ตาํ รวจภธู รจงั หวดั จาํ นวนหนง่ึ คน ทปี่ ระธาน กต.ตร.จงั หวดั แตง ตง้ั
เปนผชู ว ยเลขานุการ
ขอ ๑๐ ใหน าํ ความในขอ ๕ ขอ ๖ และขอ ๗ มาใชก ับ กต.ตร.จงั หวดั โดยอนุโลม กรณี
ท่ีบทบัญญัติตามขอ ๕ (๓) กลาวถึงยกเวนกรรมการตามขอ ๔ (๗) (ก) ถึง (ค) ใหหมายถึงยกเวน
กรรมการตามขอ ๙ (๙) (ก) ถงึ (ค) และกรณที บ่ี ทบญั ญตั ติ ามขอ ๗ (๕) กลา วถงึ กต.ตร.กทม. ใหห มายถงึ
กต.ตร.จังหวัด
*ขอ ๑๑ กต.ตร.จงั หวัดมอี าํ นาจหนา ท่ดี ังตอไปน้ี
(๑) รับแนวทางและนโยบายการพัฒนาและการบริหารงานตาํ รวจจาก ก.ต.ช. ไปปฏิบัติ
เพอ่ื ใหเ กิดผลตามนโยบาย
(๒) ใหคําปรึกษาและใหขอเสนอแนะการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจในเขตพื้นท่ี
จงั หวัดนน้ั และ กต.ตร.สภ. ใหเ ปน ไปตามนโยบายของ ก.ต.ช.
(๓) สงเสริมใหมีการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจ
และการบรหิ ารงานตาํ รวจ
(๔) ตรวจสอบติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจในเขตพ้ืนท่ี
จงั หวัดนั้นใหเ ปน ไปตามนโยบายของ ก.ต.ช.
(๕) รับคํารองเรียนของประชาชนเก่ียวกับการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจในสังกัด
ตาํ รวจภธู รจงั หวดั และดาํ เนนิ การใหเ ปน ไปตามระเบยี บ ก.ต.ช. วา ดว ยการรบั คาํ รอ งเรยี นของประชาชน
เก่ียวกับการปฏบิ ตั หิ นา ทข่ี องขาราชการตาํ รวจ

*ขอ ๑๑ แกไ ขเพมิ่ เตมิ โดยระเบยี บ ก.ต.ช.วา ดว ยคณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการบรหิ ารงานตาํ รวจ (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ.๒๕๕๑
ขอ ๓ (ราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๒๕ ตอนพเิ ศษ ๑๕๙ ง วันที่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๑)

๑๑๖

(๖) ใหขอมูลขาวสารและเสนอปญหาความเดือดรอนและความตองการของประชาชน
ในเขตพ้ืนที่

(๗) ใหค ําแนะนําและชวยเหลอื สนับสนุนการประชาสัมพันธง านของตํารวจภธู รจงั หวัด
(๘) เสริมสรา งความเขาใจและความสมั พันธอ นั ดีระหวา ง กต.ตร.จังหวัด กบั ขา ราชการ
ตาํ รวจ ผูปฏบิ ัตหิ นา ที่และประชาชนในพืน้ ท่ี
(๙) แตง ตง้ั คณะอนกุ รรมการ คณะทาํ งาน หรอื ทป่ี รกึ ษา เพอื่ ดาํ เนนิ การอยา งใดอยา งหนง่ึ
ตามที่ กต.ตร.จังหวดั มอบหมาย
(๑๐) รายงานผลการปฏิบัติงานให ก.ต.ช.ทราบ ตามที่ ก.ต.ช. กําหนด
(๑๑) อํานาจหนา ที่อน่ื ตามที่ ก.ต.ช. มอบหมาย

ʋǹ·èÕ ó
¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃμÃǨÊͺáÅÐμ´Ô μÒÁ¡ÒúÃÔËÒçҹตําÃǨʶҹตÕ าํ ÃǨ
ขอ ๑๒ คณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการบรหิ ารงานตาํ รวจสถานตี าํ รวจนครบาล ...
โดยออกนามตามชื่อสถานตี าํ รวจนน้ั เรยี กโดยยอ วา “กต.ตร.สน....” ประกอบดว ย
(๑) หวั หนา สถานีตาํ รวจนครบาล เปน กรรมการ
(๒) ผูอํานวยการเขต หรือผูชว ยผอู าํ นวยการเขตท่ผี อู าํ นวยการเขตมอบหมายซงึ่ มีพน้ื ที่
รบั ผดิ ชอบสวนใดสว นหน่ึงอยูในเขตพ้นื ทีข่ องสถานตี าํ รวจนน้ั จาํ นวนเขตละหนง่ึ คน เปน กรรมการ
(๓) ขาราชการตํารวจซึ่งปฏิบตั หิ นา ทีใ่ นแตล ะงานของสถานีตํารวจ ตามทีห่ วั หนาสถานี
ตาํ รวจมอบหมาย จาํ นวนไมเ กินสีค่ น เปน กรรมการ
(๔) ขาราชการตํารวจช้ันประทวนซึ่งดํารงตําแหนงและปฏิบัติหนาท่ีในสถานีตํารวจน้ัน
ท่ีไดรับการเลือกจากขาราชการตาํ รวจช้นั ประทวนดว ยกันเอง จํานวนหนึง่ คน เปน กรรมการ
(๕) ขา ราชการประจาํ อน่ื นอกจากขา ราชการตาํ รวจ หรอื พนกั งาน หรอื ลกู จา งของหนว ยงาน
ของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ ที่ปฏิบัติหนาท่ีประจําในเขตพื้นท่ีสถานีตํารวจน้ัน จํานวนไมเกินสามคน
เปน กรรมการ
(๖) ประชาชน จาํ นวนไมนอ ยกวา หกคนแตไมเ กินเกาคน เปน กรรมการ
* ใหขาราชการตํารวจชั้นสัญญาบัตรท่ีทําหนาท่ีหัวหนางานธุรการของสถานีตํารวจนั้น
เปน เลขานกุ าร และขา ราชการตาํ รวจของสถานตี าํ รวจนน้ั ทหี่ วั หนา สถานตี าํ รวจมอบหมาย จาํ นวนสองคน
เปน ผชู ว ยเลขานกุ าร

*ขอ ๑๒ วรรคสอง แกไขเพ่ิมเติมโดยระเบียบ ก.ต.ช.วาดวยคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารงานตํารวจ
(ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๕๑ ขอ ๔ (ราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๒๕ ตอนพเิ ศษ ๑๕๙ ง วันที่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๑)

๑๑๗

ขอ ๑๓ คณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการบรหิ ารงานตาํ รวจสถานตี าํ รวจภธู ร ...
โดยออกนามตามชือ่ สถานีตํารวจน้นั เรียกโดยยอ วา “กต.ตร.สภ....” ประกอบดว ย

(๑) หวั หนา สถานีตํารวจภูธร เปนกรรมการ
(๒) นายอําเภอหรือปลดั อําเภอทีน่ ายอาํ เภอมอบหมาย จาํ นวนหนง่ึ คน เปนกรรมการ
ยกเวนสถานีตํารวจภูธรตําบลพัทยา ใหปลัดเมืองพัทยาหรือรองปลัดเมืองพัทยาที่ปลัดเมืองพัทยา
มอบหมายจํานวนหนงึ่ คน เปนกรรมการ
(๓) ขา ราชการตาํ รวจซง่ึ ปฏิบตั ิหนาท่ใี นแตละงานของสถานตี ํารวจ ตามท่หี ัวหนาสถานี
ตํารวจมอบหมายจาํ นวนไมเ กินสคี่ น เปนกรรมการ
(๔) นายกเทศมนตรี ที่มีเขตพื้นท่ีสวนใดสวนหนึ่งอยูในเขตพื้นท่ีสถานีตํารวจน้ัน
เปน กรรมการ หากในเขตพนื้ ทส่ี ถานตี าํ รวจนนั้ มนี ายกเทศมนตรหี ลายคนใหน ายกเทศมนตรเี ลอื กกนั เอง
ใหไ ดจํานวนหน่งึ คน เปนกรรมการ
(๕) นายกองคการบริหารสวนตําบล ท่ีมีเขตพื้นที่สวนใดสวนหน่ึงอยูในเขตพื้นท่ีสถานี
ตํารวจน้ัน เปนกรรมการ หากในเขตพ้ืนที่สถานีตํารวจน้ันมีนายกองคการบริหารสวนตําบลหลายคน
ใหนายกองคการบรหิ ารสว นตาํ บลเลอื กกันเองใหไดจํานวนหน่งึ คน เปนกรรมการ
(๖) กํานัน ท่ีมีเขตพ้ืนที่สวนใดสวนหน่ึงอยูในเขตพื้นท่ีสถานีตํารวจนั้น เปนกรรมการ
หากในเขตพนื้ ทส่ี ถานตี าํ รวจนน้ั มกี าํ นนั หลายคน ใหก าํ นนั เลอื กกนั เองใหไ ด จาํ นวนหนง่ึ คน เปน กรรมการ
(๗) ขาราชการตํารวจชั้นประทวนซ่ึงดํารงตําแหนงและปฏิบัติหนาที่ในสถานีตํารวจน้ัน
ทไ่ี ดรบั การเลอื กจากขา ราชการตาํ รวจชั้นประทวนดวยกนั เองจํานวนหน่ึงคน เปน กรรมการ
(๘) ขา ราชการประจาํ อน่ื นอกจากขา ราชการตาํ รวจ หรอื พนกั งาน หรอื ลกู จา งของหนว ยงาน
ของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ ท่ีปฏิบัติหนาท่ีประจําในเขตพ้ืนที่สถานีตํารวจน้ัน จํานวนไมเกินสามคน
เปน กรรมการ
(๙) ประชาชนจํานวนไมนอ ยกวา หกแตไมเ กนิ เกา คน เปน กรรมการ
*ใหขาราชการตํารวจชั้นสัญญาบัตรที่ทําหนาท่ีหัวหนางานธุรการของสถานีตํารวจน้ัน
เปน เลขานกุ าร และขา ราชการตาํ รวจของสถานตี าํ รวจนนั้ ทหี่ วั หนา สถานตี าํ รวจมอบหมาย จาํ นวนสองคน
เปนผูชวยเลขานุการ ในกรณีสถานีตํารวจภูธรใดไมมีขาราชการตํารวจช้ันสัญญาบัตร ทําหนาที่
หัวหนางานธุรการ ใหหัวหนาสถานีตํารวจมอบหมายขาราชการตํารวจชั้นสัญญาบัตรของสถานี
ตาํ รวจนั้นคนหนงึ่ เปน เลขานุการ”
ขอ ๑๔ วิธีการเลือกขาราชการตํารวจชั้นประทวน ตามขอ ๑๒ (๔) และขอ ๑๓ (๗)
และการเลือกนายกเทศมนตรี นายกองคการบริหารสวนตําบลและกํานัน ตามขอ ๑๓ (๔) ถึง (๖)
เปน กรรมการ กต.ตร.สน. หรอื กต.ตร.สภ. แลว แตก รณี ใหเ ปน ไปตามวธิ กี ารทส่ี าํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ
กาํ หนด

*ขอ ๑๓ วรรคสอง และขอ ๑๕ แกไ ขเพ่มิ เติมโดยระเบยี บ ก.ต.ช.วา ดวยคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารงาน
ตํารวจ (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ.๒๕๕๑ ขอ ๕ และขอ ๖ (ราชกจิ จานุเบกษา เลม ๑๒๕ ตอนพเิ ศษ ๑๕๙ ง วันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๕๑)

๑๑๘

ใหหัวหนาสถานีตํารวจประกาศผลการเลือกใหทราบโดยทั่วไป และเสนอประธาน
กต.ตร.กทม. หรือ กต.ตร.จังหวดั มีคําสง่ั แตง ตงั้ พรอมกบั การแตง ตั้งกรรมการ ตามขอ ๑๒ (๕) ถงึ (๖)
หรือ ขอ ๑๓ (๘) ถงึ (๙) แลว แตกรณี

*ขอ ๑๕ ใหม กี ารประชมุ เพอื่ ลงมตเิ ลอื กประธานกรรมการ โดยใหเ ลอื กจากกรรมการอน่ื
ซ่ึงไมเปนขา ราชการตํารวจ

ใหดําเนินการประชุมเพื่อลงมติเลือกประธานกรรมการตามวรรคหน่ึงภายในสามสิบวัน
นับแตวันที่มีการแตงต้ังกรรมการครบถวนแลว สําหรับวิธีการประชุมและลงมติใหเปนไปตามวิธีการ
ประชุมและลงมติ ตามขอ ๓๒

เม่ือเลือกผูใดเปนประธานกรรมการแลว ใหหัวหนาสถานีตํารวจประกาศใหทราบท่ัวไป
และรายงานให กต.ตร.กทม. หรือ กต.ตร.จังหวัด แลวแตกรณีทราบ ภายในสิบหาวันนับแตวันท่ี
ท่ปี ระชมุ มมี ติ

ใหประธานกรรมการสิ้นสุดวาระลงพรอมกับวาระการดํารงตําแหนงของกรรมการ
ตามขอ ๑๒ (๕) ถึง (๖) หรือ ขอ ๑๓ (๘) ถงึ (๙)”

ขอ ๑๖ กรรมการตามขอ ๑๒ (๖) และขอ ๑๓ (๙) ตอ งมีคุณสมบตั แิ ละไมม ลี ักษณะ
ตอ งหาม ดงั ตอ ไปน้ี

(๑) มสี ัญชาตไิ ทย
(๒) มภี มู ลิ าํ เนาหรอื ถน่ิ ทอี่ ยปู ระจาํ หรอื ประกอบอาชพี ในเขตพน้ื ทร่ี บั ผดิ ชอบของสถานี
ตํารวจน้ัน ๆ
(๓) ไมเ ปน ผบู กพรอ งในศลี ธรรมอนั ดี
(๔) ไมเ ปน ขา ราชการการเมอื ง สมาชกิ รฐั สภา ผดู าํ รงตาํ แหนง ในพรรคการเมอื ง สมาชกิ
สภาทอ งถ่นิ หรือผูบ ริหารทองถน่ิ
(๕) ไมเปนขาราชการประจํา หรือพนักงาน หรือลูกจางของหนวยงานของรัฐ
หรอื รฐั วิสาหกิจ
(๖) ไมเ ปน บุคคลลม ละลาย
(๗) ไมเ ปน คนไรความสามารถ หรอื เสมอื นไรความสามารถ
(๘) ไมเปน ผูเคยไดร ับโทษจาํ คกุ โดยคาํ พิพากษาถงึ ทีส่ ุดใหจ าํ คุก เวนแตเปนโทษสาํ หรบั
ความผดิ ที่ไดกระทําโดยประมาทหรอื ความผดิ ลหุโทษ

*ขอ ๑๓ วรรคสอง และขอ ๑๕ แกไขเพม่ิ เติมโดยระเบียบ ก.ต.ช.วา ดวยคณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการบริหารงาน
ตาํ รวจ (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ.๒๕๕๑ ขอ ๕ และขอ ๖ (ราชกจิ จานุเบกษา เลม ๑๒๕ ตอนพเิ ศษ ๑๕๙ ง วันท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๑)

๑๑๙

ขอ ๑๗ กรรมการตามขอ ๑๒ (๕) ถึง (๖) และขอ ๑๓(๘) ถึง (๙) มีวาระการดํารง
ตาํ แหนง คราวละสองป และอาจไดร ับแตงตั้งใหมไ ด แตจะดาํ รงตาํ แหนง เกินสองวาระติดตอกนั ไมได

กรรมการ ตามขอ ๑๒ (๔) และ ขอ ๑๓ (๔) ถึง (๗) ท่ีมาจากการเลือก ใหมีวาระ
การดํารงตําแหนงคราวละสองป และอาจไดร ับการแตง ต้งั ใหมไ ด

ใหกรรมการตามวรรคหน่ึงและวรรคสองซ่ึงพนจากตําแหนงตามวาระปฏิบัติหนาที่ตอไป
จนกวา กรรมการซ่ึงไดร บั การแตง ต้งั ใหมเขา รับหนาท่ี

* ขอ ๑๘ นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระแลว กรรมการตามขอ ๑๒ (๕) ถงึ (๖)
และขอ ๑๓ (๘) ถึง (๙) พนจากตาํ แหนงเมื่อ

(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) สาํ หรบั กรรมการตามขอ ๑๒ (๕) และขอ ๑๓ (๘) เมอื่ ไมส ามารถปฏบิ ตั หิ นา ทปี่ ระจาํ
ในเขตพ้ืนท่ีสถานตี าํ รวจน้นั ได
(๔) สําหรับกรรมการตามขอ ๑๒(๖) และขอ ๑๓(๙) ซ่ึงขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะ
ตอ งหา มตามขอ ๑๖
(๕) ขาดการประชมุ เกนิ หกครัง้ ในรอบป นบั แตว นั ทไี่ ดรับการแตงตั้ง
(๖) กต.ตร.สน. หรือ กต.ตร.สภ. แลวแตกรณี มีมติดวยคะแนนเสียงไมนอยกวา
สองในสาม ของจํานวนกรรมการทั้งหมดใหพนจากตําแหนง เนื่องจากมีความประพฤติเสื่อมเสีย
หรือมกี ารกระทาํ ที่ไมเหมาะสมตอ การปฏิบตั หิ นา ทก่ี รรมการ”
ในกรณที กี่ รรมการพน จากตาํ แหนง กอ นวาระตามวรรคหนงึ่ ใหด าํ เนนิ การสรรหาและแตง ตง้ั
บุคคลอ่ืนเปนกรรมการแทน เวนแตวาระการดํารงตําแหนงจะเหลือไมถึงเกาสิบวัน ในกรณีนี้
จะไมด ําเนนิ การใหม ีการสรรหาและแตงตั้งกไ็ ด
ใหกรรมการซึ่งไดรับการแตงต้ังใหดํารงตําแหนงแทนตามวรรคสองอยูในตําแหนง
เพยี งเทาวาระทเ่ี หลอื อยูของผูซ่ึงตนแทน
ขอ ๑๙ นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระแลวกรรมการตามขอ ๑๒(๔) และ
ขอ ๑๓(๔) ถงึ (๗) ทีม่ าจากการเลือก พนจากตาํ แหนง เมอ่ื
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) พนจากการเปนขาราชการตํารวจชั้นประทวนซ่ึงดํารงตําแหนงและปฏิบัติหนาท่ี
ในสถานีตํารวจนนั้ หรอื พน จากตําแหนง นายกเทศมนตรี นายกองคการบรหิ ารสวนตาํ บล หรือกํานนั
แลว แตกรณี

*ขอ ๑๘ วรรคหน่ึง แกไขเพิ่มเติมโดยระเบียบ ก.ต.ช.วาดวยคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารงานตํารวจ
(ฉบับท่ี ๔) พ.ศ.๒๕๕๓ ขอ ๔ (ราชกจิ จานุเบกษา เลม ๑๒๗ ตอนพิเศษ ๑๑๖ ง วันท่ี ๔ ตุลาคม ๒๕๕๓)

๑๒๐

ในกรณที กี่ รรมการพน จากตาํ แหนง กอ นวาระตามวรรคหนงึ่ ใหด าํ เนนิ การเลอื กและแตง ตง้ั
ผูดํารงตําแหนงคนอ่ืนเปนกรรมการแทน เวนแตวาระการดํารงตําแหนงจะเหลือไมถึงเกาสิบวัน
ในกรณนี ้ีจะไมดําเนนิ การใหม กี ารเลอื กและแตง ตั้งกไ็ ด

ใหกรรมการซึ่งไดรับการแตงต้ังใหดํารงตําแหนงแทนตามวรรคสองอยูในตําแหนง
เพยี งเทา วาระทเี่ หลืออยูของผซู งึ่ ตนแทน

* ขอ ๒๐ ให กต.ตร.สน. หรือ กต.ตร.สภ. มอี ํานาจหนาท่ดี ังตอไปนี้
(๑) รบั แนวทางและนโยบายการพัฒนาและการบริหารงานตาํ รวจจาก ก.ต.ช. ไปปฏิบตั ิ
เพ่ือใหเกดิ ผลตามนโยบาย
(๒) ใหค าํ ปรกึ ษาและขอ เสนอแนะการปฏบิ ตั งิ านของสถานตี าํ รวจใหเ ปน ไปตามนโยบาย
ก.ต.ช.
(๓) สงเสริมใหมีการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจ
และการบริหารงานตํารวจ
(๔) ตรวจสอบ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านของขา ราชการตาํ รวจในสถานตี าํ รวจ
ใหเ ปนไปตามนโยบายของ ก.ต.ช.
(๕) รับคํารองเรียนของประชาชนเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจในสถานี
ตํารวจ และดําเนินการใหเ ปนไปตามระเบียบ ก.ต.ช.วาดว ยการรับคาํ รอ งเรียนของประชาชนเกย่ี วกบั
การปฏบิ ัติหนา ทขี่ องขา ราชการตาํ รวจ
(๖) ใหขอมูลขาวสารและเสนอปญหาความเดือดรอนและความตองการของประชาชน
ในเขตพนื้ ที่
(๗) ใหคําแนะนําและชวยเหลอื สนบั สนุนการประชาสมั พนั ธง านของสถานีตํารวจ
(๘) เสริมสรางความเขาใจและความสัมพันธอ ันดีระหวา ง กต.ตร.สน. หรอื กต.ตร.สภ.
กับขาราชการตํารวจผูป ฏบิ ัติหนา ท่ีและประชาชนในพืน้ ที่
(๙) แตง ตง้ั คณะอนกุ รรมการ คณะทาํ งาน หรอื ทปี่ รกึ ษา เพอื่ ดาํ เนนิ การอยา งใดอยา งหนง่ึ
ตามที่ กต.ตร.สน. หรอื กต.ตร.สภ. มอบหมาย
(๑๐) รายงานผลการปฏบิ ัติงานให ก.ต.ช. ทราบ ตามที่ ก.ต.ช. กาํ หนด
(๑๑) อํานาจหนา ทอ่ี ื่นตามที่ ก.ต.ช. มอบหมาย

*ขอ ๒๐ แกไขเพ่ิมเติมโดยระเบียบ ก.ต.ช.วาดวยคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารงานตํารวจ (ฉบับท่ี ๓)
พ.ศ.๒๕๕๑ ขอ ๗ (ราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๒๕ ตอนพเิ ศษ ๑๕๙ ง วันท่ี ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๑)

๑๒๑

ËÁÇ´ ò
ËÅѡࡳ±á ÅÐÇÔ¸¡Õ ÒÃÊÃÃËÒ¡ÃÃÁ¡ÒüٷŒ ç¤Ø³Ç²Ø áÔ ÅлÃЪҪ¹

ʋǹ·Õè ñ
ËÅѡࡳ±á ÅÐÇ¸Ô ¡Õ ÒÃÊÃÃËÒ¡ÃÃÁ¡Òüٌ·Ã§¤³Ø Ç²Ø áÔ ÅлÃЪҪ¹ã¹¡μ.μÃ.¡·Á.

ขอ ๒๑ ใหกรรมการตามขอ ๔ (๑) ถึง (๖) พิจารณาสรรหาและคัดเลือกกรรมการ
ผทู รงคุณวฒุ ิ ตามขอ ๔ (๗) (ก) ถึง (ช) ดานละหน่งึ คน เสนอประธาน กต.ตร.กทม. มีคําส่งั แตง ต้ัง
โดยใหกําหนด ขน้ั ตอนและวธิ ีการสรรหาและคดั เลือกไดต ามความเหมาะสม

ขอ ๒๒ การคดั เลอื กกรรมการจากประชาชนตามขอ ๔ (๘) ใหดําเนนิ การ ดังนี้
(๑) กต.ตร.สน. พิจารณาคัดเลือกประชาชนผูที่เคยเปนกรรมการใน กต.ตร.สน.
จํานวนหนึ่งคน แลวนาํ เสนอตอ ผูบังคบั การ กองบงั คับการตํารวจนครบาล ตนสงั กัด
(๒) ใหกองบังคับการตํารวจนครบาล ๑ ถึง ๙ แตละกองบังคับการ โดยผูบังคับการ
และรองผบู งั คบั การ พจิ ารณาคดั เลอื กผแู ทนประชาชนที่ กต.ตร.สน. ในเขตพนื้ ทรี่ บั ผดิ ชอบเสนอใหไ ด
กองบังคับการละหนึ่งคน แลว นําเสนอตอ กต.ตร.กทม.
(๓) กรรมการตามขอ ๔ (๑) ถงึ (๖) พจิ ารณาคดั เลอื กประชาชนทกี่ องบงั คบั การเสนอตาม
(๒) ใหไ ดจ าํ นวนสามคนแลว เสนอประธาน กต.ตร.กทม. มีคําส่งั แตงตง้ั
ขอ ๒๓ ใหด าํ เนนิ การสรรหา และแตง ตง้ั กรรมการตามขอ ๒๑ และขอ ๒๒ ใหแ ลว เสรจ็
ภายในสส่ี บิ หา วนั นับแตว ันทก่ี รรมการพนจากตาํ แหนง

ʋǹ·èÕ ò
ËÅ¡Ñ à¡³±áÅÐÇÔ¸Õ¡ÒÃÊÃÃËÒ¡ÃÃÁ¡Òüٌ·Ã§¤³Ø Ç²Ø ÔáÅлÃЪҪ¹ã¹ ¡μ.μÃ.¨Ñ§ËÇ´Ñ

ขอ ๒๔ ใหกรรมการตามขอ ๙ (๑) ถึง (๘) พิจารณาสรรหาและคัดเลือกกรรมการ
ผูท รงคณุ วฒุ ิ ตามขอ ๙ (๙) (ก) ถงึ (ช) ดา นละหนึ่งคน เสนอประธาน กต.ตร.จงั หวัด มคี าํ สัง่ แตง ตั้ง
โดยใหกําหนดขน้ั ตอนและวิธกี ารสรรหาและคดั เลอื กไดตามความเหมาะสม

ขอ ๒๕ การคดั เลอื กกรรมการจากประชาชนตามขอ ๙ (๑๐) ใหด ําเนนิ การ ดงั นี้
(๑) ให กต.ตร.สภ. พิจารณาคัดเลือกประชาชนผูท่ีเคยเปนกรรมการใน กต.ตร.สภ.
จํานวนหนึง่ คน แลวนาํ เสนอ กต.ตร.จังหวัด
(๒) กรรมการตามขอ ๙ (๑) ถงึ (๘) พจิ ารณาคดั เลอื กประชาชนที่ กต.ตร.สภ. เสนอใหไ ด
จาํ นวนสามคน แลวเสนอประธาน กต.ตร.จงั หวัด มีคาํ ส่ังแตงตัง้
ขอ ๒๖ ใหด าํ เนนิ การสรรหา และแตง ตง้ั กรรมการตามขอ ๒๔ และขอ ๒๕ ใหแ ลว เสรจ็
ภายในสส่ี บิ หา วันนับแตวนั ท่กี รรมการพนจากตาํ แหนง

๑๒๒

ʋǹ·Õè ó
ËÅ¡Ñ à¡³±á ÅÐÇ¸Ô ¡Õ ÒÃÊÃÃËÒ¡ÃÃÁ¡ÒÃã¹ ¡μ.μÃ.ʹ. μÒÁ¢ÍŒ ñò (õ) áÅÐ (ö)

áÅСÃÃÁ¡ÒÃã¹ ¡μ.μÃ.ÊÀ.μÒÁ¢ŒÍ ñó (ø) áÅÐ (ù)
ขอ ๒๗ ใหกรรมการตามขอ ๑๒ (๑) ถึง (๓) พิจารณาสรรหาและคัดเลือกกรรมการ
ตาม ขอ ๑๒ (๕) จํานวนไมเกินสามคน เสนอประธาน กต.ตร.กทม. มีคําสั่งแตงตั้ง โดยใหกําหนด
ข้นั ตอน และวิธกี ารสรรหาและคัดเลือกไดตามความเหมาะสม
ขอ ๒๘ ใหก รรมการตามขอ ๑๒(๑) ถงึ (๓) พจิ ารณาสรรหากรรมการตามขอ ๑๒(๖)
ดังน้ี
(๑) คดั เลอื กจากประชาชนผูท ี่มีความรคู วามสามารถจาํ นวนไมเ กินสามคน
(๒) เลือกโดยเปดรับสมัครจากประชาชนท่ัวไป แลวใหขาราชการตํารวจที่ปฏิบัติหนาที่
ประจําสถานีตํารวจน้ัน ลงคะแนนเสียงเลือกใหไดจํานวนไมนอยกวาสามคนแตไมเกินหกคน สําหรับ
วิธกี ารเลือกใหเปน ไปตามที่สํานักงานตํารวจแหงชาติกาํ หนด
ขอ ๒๙ ใหหัวหนาสถานีตํารวจนํารายช่ือผูท่ีไดรับคัดเลือก และเลือกตามขอ ๒๗
และขอ ๒๘ เสนอ ประธาน กต.ตร.กทม. มคี ําสั่งแตง ตงั้
ขอ ๓๐ ใหกรรมการตามขอ ๑๓ (๑) ถงึ (๓) นําความในขอ ๒๗ ขอ ๒๘ และขอ ๒๙
มาใชกับการสรรหากรรมการตามขอ ๑๓(๘) และ (๙) โดยอนุโลม กรณีท่ีบทบัญญัติใดกลาวถึง
กต.ตร.กทม. ใหห มายถงึ กต.ตร.จงั หวดั และกรรมการตามขอ ๑๒(๑) ถงึ (๓) ใหห มายถงึ กรรมการตาม
ขอ ๑๓(๑) ถึง (๓)
ขอ ๓๑ ใหดําเนินการสรรหา และแตงต้ังกรรมการตามขอ ๒๗ ขอ ๒๘ ขอ ๒๙
และขอ ๓๐ ใหแลวเสรจ็ ภายในสีส่ บิ หาวันนับแตว นั ทก่ี รรมการพนจากตาํ แหนง

ËÁÇ´ ó
¡ÒûÃЪÁØ áÅÐŧÁμÔ
ขอ ๓๒ การประชุมของ กต.ตร.กทม. กต.ตร.จังหวัด กต.ตร.สน. หรือ กต.ตร.สภ.
ตอ งมีกรรมการมาประชุมไมน อ ยกวากงึ่ หน่งึ ของจํานวนกรรมการท้ังหมด จึงจะเปนองคประชมุ
สําหรับระเบียบวิธีการประชุมและการลงมติ ใหนําขอบังคับ ก.ต.ช. วาดวยการประชุม
และการลงมตขิ อง ก.ต.ช.และของคณะอนกุ รรมการ ก.ต.ช. มาใชบ งั คบั แกก ารประชมุ ของ กต.ตร.กทม.
กต.ตร.จังหวัด กต.ตร.สน. และ กต.ตร.สภ. โดยใหอํานาจหนาท่ีของประธาน ก.ต.ช. ประธาน
ในท่ี ประชุม ก.ต.ช. เลขานกุ าร ก.ต.ช. และผชู ว ยเลขานกุ าร ก.ต.ช. เปน อาํ นาจหนา ทข่ี องประธาน
กรรมการ ประธานในที่ประชุม เลขานุการ และผูชวยเลขานุการของ กต.ตร.กทม. กต.ตร.จังหวัด
กต.ตร.สน. และ กต.ตร.สภ. โดยอนุโลม

๑๒๓

ขอ ๓๓ กต.ตร.กทม. และ กต.ตร.จงั หวดั ใหม กี ารประชมุ อยา งนอ ยสามเดอื นตอ หนง่ึ ครง้ั
กต.ตร.สน. และ กต.ตร.สภ. ใหม ีการประชมุ อยา งนอยสองเดือนตอหนึ่งครัง้

*ËÁÇ´ ô
ºÑμÃáÊ´§μ¹ à¡ÂÕ ÃμÔºÑμà áÅÐμÃÒÊÑÞÅ¡Ñ É³¢Í§¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃμÃǨÊͺ

áÅÐμ´Ô μÒÁ¡ÒúÃÔËÒçҹตําÃǨ
ขอ ๓๔ ใหม บี ตั รแสดงตนของ กต.ตร.กทม. กต.ตร.จงั หวดั กต.ตร.สน. และ กต.ตร.สภ.
ใหป ระธาน กต.ตร.กทม. เปน ผอู อกบตั รแสดงตน กต.ตร.กทม. และ กต.ตร.สน. และใหป ระธาน กต.ตร.
จังหวัดเปนผอู อกบัตรแสดงตน กต.ตร.จังหวดั และ กต.ตร.สภ.
รูปแบบบัตรแสดงตน ข้ันตอน และวิธีการในการออกบัตรแสดงตนใหเปนไปตามที่
สํานกั งานตาํ รวจแหง ชาตกิ าํ หนด
ขอ ๓๔/๑ ใหมีเกียรติบัตรสําหรับ กต.ตร.กทม. กต.ตร.จังหวัด กต.ตร.สน. กต.ตร.สภ.
อนกุ รรมการ คณะทํางานหรอื ท่ีปรกึ ษา และเกยี รตบิ ัตรสําหรับบุคคล หนวยงาน องคก รที่มสี วนรวม
หรือใหการสนับสนุนในกิจการตํารวจดานตางๆ ท่ี กต.ตร.กทม. กต.ตร.จังหวัด กต.ตร.สน. และ
กต.ตร.สภ. กําหนด
ใหประธาน กต.ตร.กทม. และ ประธาน กต.ตร.จังหวัด เปนผูลงนามในเกียรติบัตร
แลว แตก รณี
รูปแบบใบเกียรติบัตร เงื่อนไข และวิธีการในการออกเกียรติบัตรใหเปนไปตามที่
สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตกิ าํ หนด
ขอ ๓๔/๒ใหมีตราสัญลักษณของคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหาร
งานตํารวจ เพื่อเปนเคร่ืองหมายสําหรับใชในกิจการของ กต.ตร.กทม. กต.ตร.จังหวัด กต.ตร.สน.
และ กต.ตร.สภ.
รูปแบบและเง่ือนไขการใชตราสัญลักษณของคณะกรรมการตรวจสอบและติดตาม
การบริหารงานตาํ รวจใหเ ปนไปตามที่สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตกิ าํ หนด”

*หมวด ๔ แกไขเพิ่มเติมโดยระเบียบ ก.ต.ช.วาดวยคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารงานตํารวจ (ฉบับท่ี ๔)
พ.ศ.๒๕๕๓ ขอ ๕ (ราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๑๒๗ ตอนพิเศษ ๑๑๖ ง วนั ที่ ๔ ตลุ าคม ๒๕๕๓)

๑๒๔

º·à©¾ÒСÒÅ
ขอ ๓๕ ในวาระเร่มิ แรก ใหดาํ เนินการดงั ตอ ไปน้ี
(๑) ใหก รรมการตามขอ ๔ (๑) ถึง (๖) ทําหนาท่ี กต.ตร.กทม. กรรมการตามขอ ๙ (๑)
ถึง (๘) ทําหนา ท่ี กต.ตร.จงั หวัด กรรมการตามขอ ๑๒ (๑) ถึง (๓) ทาํ หนา ท่ี กต.ตร.สน. และกรรมการ
ตามขอ ๑๓ (๑) ถงึ (๓) ทาํ หนา ท่ี กต.ตร.สภ. ไปพลางกอ นจนกวา จะมกี ารแตง ตงั้ กรรมการอน่ื ครบถว น
(๒) ใหดําเนินการสรรหา และแตงตั้งกรรมการอื่นตามระเบียบนี้ใหเสร็จสิ้นภายใน
หกสิบวนั นบั แตวนั ที่ระเบียบนใ้ี ชบังคบั
(๓) ในระหวา งท่ีไมม ีประธานกรรมการใน กต.ตร.สน.และ กต.ตร.สภ. ใหหวั หนาสถานี
ตาํ รวจ ทาํ หนา ทปี่ ระธานกรรมการไปพลางกอ นจนกวา จะมกี ารประชมุ และลงมตเิ ลอื กประธานกรรมการ
และรองประธานกรรมการ

ประกาศ ณ วันท่ี ๓๐ มกราคม พ.ศ.๒๕๔๙
พนั ตาํ รวจโท ทกั ษิณ ชินวัตร
(นายทกั ษณิ ชนิ วัตร)
นายกรฐั มนตรี
ประธานกรรมการนโยบายตํารวจแหงชาติ

ระเบียบ ก.ต.ช.วาดวยคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารงานตํารวจ พ.ศ.๒๕๔๙ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เลม ๑๒๓ ตอนพิเศษ ๓๑ ง วันที่ ๒๘ กุมภาพนั ธ ๒๕๔๙

๑๒๕

ò. ͧ¤» ÃСͺ

ò.ñ ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃμÃǨÊͺáÅÐμÔ´μÒÁ¡ÒúÃÔËÒçҹตําÃǨ¡Ãا෾ÁËÒ¹¤Ã
(¡μ.μÃ.¡·Á.) จาํ แนกตามกลมุ และการไดมาของกรรมการ ดังน้ี

กรรมการผูท รงคุณวุฒิ ¡μ.μÃ.¡·Á. ประชาชน
(÷ ¤¹) จํา¹Ç¹ ñø ¤¹ »ÃСͺ´ŒÇ (ó ¤¹)

กรรมการผทู รงคณุ วฒุ ิ
(÷ ¤¹)

๑. ผบ.ตร. ประธานฯ ๘. ดา นธรรมาภบิ าล โดยพจิ ารณาแตง ตงั้ จากผทู เี่ คยเปน
กต.ตร.สน. และมีประสบการณ
๒. ปลัด กทม. ๙. ดา นความมั่นคง ดานใดดา นหน่งึ ตามขอ ๔ (๗)

รองประธานฯ (๑) ๑๐. ดา นการจราจรและอบุ ตั ภิ ยั

๓. อธิบดีอยั การฝา ยคดอี าญา ๑๑. ดานการพฒั นา

รองประธานฯ (๒) ๑๒. ดา นเศรษฐกจิ

๔. ผบช.น. รองประธานฯ (๓) ๑๓. ดา นสังคม

๕.-๗. รอง ผบช.น. จํานวน ๓ คน ๑๔. ดานการมีสว นรว มของ

ท่ี ผบช.น.มอบหมาย ประชาชนและชุมชน

๘. ผอ.สํานักปองกันและแกไข

ปญหาการคาหญิงและเด็ก

กระทรวงการพัฒนาสังคม

และความมนั่ คงของมนษุ ย

¡ÒÃä´ŒÁҢͧ¡ÃÃÁ¡ÒÃ

เม่ือดํารงตําแหนงทางราชการ กรรมการโดยตําแหนงคดั เลือก กรรมการโดยตาํ แหนง คดั เลอื กจาก
ท่ีระเบียบฯ กําหนดใหเปน กลุมบุคคลที่เคยเปน กต.ตร.สน.
กรรมการฯ ซึ่งผานการคัดเลือกตามลําดับชั้น
จาก กต.ตร.สน. และ บก.น.๑-๙
แลว

๑๒๖

ò.ò ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃμÃǨÊͺáÅÐμ´Ô μÒÁ¡ÒúÃËÔ Òçҹตาํ ÃǨ¨§Ñ ËÇ´Ñ (¡μ.μÃ.¨§Ñ ËÇ´Ñ )
จําแนกตามกลุมและการไดม าของกรรมการ ดังน้ี

¡μ.μÃ.¨§Ñ ËÇ´Ñ
จาํ ¹Ç¹ÃÐËÇÒ‹ § ñù-òó ¤¹ »ÃСͺ´ÇŒ Â

กรรมการโดยตําแหนง กรรมการผทู รงคณุ วุฒิ ตัวแทนประชาชน
(ù-ñó ¤¹) (÷ ¤¹) (ó ¤¹)

๑. ผวจ. ประธานฯ ๙. ดา นการศาสนา

๒. ผบก.ภ.จว. หรือวฒั นธรรม

รองประธานฯ (๑) ๑๐. ดานศึกษา

๓. อยั การจังหวัด ๑๑. ดา นการแพทย

รองประธานฯ (๒) ๑๒. ดา นการทองเท่ยี ว

๔. พัฒนาสังคมและความม่ันคง ธรุ กิจโรงแรม

ของมนษุ ยจงั หวัด หรอื ธุรกิจบริการ

๕. นายก อบจ. ๑๓. ดานพาณชิ ยกรรม

๖. ผบก.อก.ภ. อตุ สาหกรรม หตั ถกรรม หรอื

๗. รอง ผบก.ภ.จว. ธุรกจิ การเงิน

๘. หัวหนาหนวยงานใน สตม., ๑๔. องคกรเอกชนสาธารณ

ทท., ทล. และ รน. ซง่ึ ปฏิบัติ ประโยชน

ราชการประจําอยูใน จว.นั้น ๑๕. ดานเกษตรกรรม

¡ÒÃä´ÁŒ Ңͧ¡ÃÃÁ¡ÒÃ

เม่ือดํารงตําแหนงทางราชการ กรรมการโดยตําแหนงคัดเลือก กรรมการโดยตาํ แหนง คดั เลอื กจาก
ท่ีระเบียบฯ กําหนดใหเปน กลุมบุคคลที่เคยเปน กต.ตร.สภ.
กรรมการฯ ซ่ึงผานการคัดเลือกจาก กต.ตร.
สภ. แลว

๑๒๗

ò.ó ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃμÃǨÊͺáÅÐμ´Ô μÒÁ¡ÒúÃËÔ Òçҹตาํ ÃǨʶҹμÕ Òí ÃǨ¹¤ÃºÒÅ
(¡μ.μÃ.ʹ.) จําแนกตามกลมุ และการไดม าของกรรมการ ดงั นี้

¡μ.μÃ.ʹ.
จาํ ¹Ç¹ÃÐËÇ‹Ò§ ù-ñù ¤¹ »ÃСͺ´ŒÇÂ

กรรมการโดยตําแหนง กรรมการจากการเลือก กรรมการจากการคัดเลอื ก
(ó-ö ¤¹) (ô-÷ ¤¹) (ò-ö ¤¹)

๑. หน.สน. ขา ราชการตาํ รวจ ประชาชน ประชาชน ขาราชการอื่นฯ
๒. ผอ.เขต หรือ ผช.ผอ.เขต ช้นั ประทวน (ó-ö ¤¹) (äÁ‹à¡¹Ô ó ¤¹) (äÁà‹ ¡Ô¹ ó ¤¹)
๓. ขาราชการตํารวจในแตละ (ñ ¤¹)

งานที่ หน.สน.มอบหมาย
(äÁà‹ ¡¹Ô ô ¤¹)

¡ÒÃä´ÁŒ Ңͧ¡ÃÃÁ¡ÒÃ

เม่ือดํารงตําแหนงทางราชการ ขา ราชการตํารวจ ขาราชการ กรรมการโดยตาํ แหนงคัดเลอื ก

ท่ีระเบียบฯ กําหนดใหเปน ชัน้ ประทวน ตํ า ร ว จ ใ น

กรรมการฯ และ/หรือ เม่ือไดรับ ในแตละ สน. แตละ สน.

มอบหมาย เลือกกนั เอง เลอื ก

๑๒๘

ò.ô ¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃμÃǨÊͺáÅÐμÔ´μÒÁ¡ÒúÃÔËÒçҹตําÃǨʶҹÕตําÃǨÀÙ¸Ã
(¡μ.μÃ.ÊÀ.) จําแนกตามกลมุ และการไดม าของกรรมการ ดังนี้

¡μ.μÃ.ÊÀ.
จาํ ¹Ç¹ÃÐËÇÒ‹ § ñò-òò ¤¹ »ÃСͺ´ŒÇÂ

กรรมการจากการเลือก กรรมการจากการคดั เลือก
(÷-ñ𠤹) (ò-ö ¤¹)

กรรมการโดยตําแหนง ขา ราชการ นายกเทศ ประชาชน ประชาชน ขา ราชการอน่ื ฯ
(ó-ö ¤¹) ตํารวจ มนตรี (ó-ö (äÁà‹ ¡Ô¹ ó ¤¹) (äÁà‹ ¡¹Ô ó ¤¹)
ชั้น นายก อบต. ¤¹)
๑. หน.สภ. ประทวน กาํ นนั
๒. นอภ. หรอื ปลัดอําเภอ (ñ ¤¹) อยา งละ
๓. ขา ราชการตาํ รวจในแตล ะงานที่ ๑ คน
หน.สภ.มอบหมาย (ÃÇÁ ó ¤¹)
(äÁà‹ ¡Ô¹ ô ¤¹) (กรณี
มคี นเดยี ว
ไมตอ งเลอื ก)

¡ÒÃä´ÁŒ Ңͧ¡ÃÃÁ¡ÒÃ

เม่ือดํารงตําแหนงทางราชการที่ เลือกกันเอง ขาราชการ กรรมการโดยตาํ แหนง คดั เลอื ก
ระเบยี บฯ กาํ หนดใหเ ปน กรรมการฯ ตํารวจ
และ/หรอื เมื่อไดรับมอบหมาย ในแตละ
สภ. เลอื ก

ó. º·ºÒ·ÀÒáԨ

บทบาทภารกิจของ กต.ตร.กทม. กต.ตร.จังหวดั และ กต.ตร.สถานีตาํ รวจ ถกู กาํ หนดไว
ตาม พ.ร.บ.ตํารวจแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ มาตรา ๑๘(๖) ระเบียบ ก.ต.ช.วาดวยคณะกรรมการ
ตรวจสอบและตดิ ตามการบรหิ ารงานตาํ รวจ พ.ศ.๒๕๔๙ ระเบยี บ ก.ต.ช.วา ดว ยหลกั เกณฑแ ละวธิ กี าร
สงเสริมใหทองถ่ินและชุมชนมีสวนรวมในกิจการตํารวจ พ.ศ.๒๕๔๙ และระเบียบ ก.ต.ช.วาดวย
การรบั คาํ รอ งเรยี นหรอื ขอ เสนอแนะของประชาชน พ.ศ.๒๕๔๙ ซงึ่ สามารถจาํ แนกไดเ ปน ๓ กลมุ ดงั น้ี

๑๒๙

ó.ñ ÀÒá¨Ô ËÅ¡Ñ
ตามมาตรา ๑๘(๖) แหง พ.ร.บ.ตาํ รวจแหง ชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ กาํ หนดให กต.ตร.กทม.

กต.ตร.จังหวัด และ กต.ตร.สถานีตํารวจ มีบทบาทภารกิจในการตรวจสอบ ติดตามและประเมินผล
การปฏิบัติงานของ บช.น./ภ.จว. ใหเปนไปตามนโยบายของ ก.ต.ช. และการบริหารราชการตํารวจ
ใหเปนไปตาม พ.ร.บ.ตาํ รวจแหงชาติ และกฎหมายอื่น ซ่ึง ก.ต.ช.ไดกําหนดอาํ นาจหนาที่ของ
กต.ตร.กทม./จังหวัด และสถานีตาํ รวจในเรื่องดังกลาวไวในระเบียบ ก.ต.ช.วาดวยคณะกรรมการ
ตรวจสอบและตดิ ตามการบรหิ ารงานตํารวจ พ.ศ.๒๕๔๙

นอกจากนที้ ง้ั กต.ตร.กทม. กต.ตร.จงั หวัด และ กต.ตร.สถานีตาํ รวจยังมีภารกิจ
ในการตรวจสอบติดตามผลตามคํารองเรียนหรือขอเสนอแนะตามนัยระเบียบ ก.ต.ช.วาดวย
การรบั คํารอ งเรยี นหรือขอเสนอแนะของประชาชน พ.ศ.๒๕๔๙ อีกสว นหนึ่งดว ย

ó.ò ÀÒáԨʹºÑ ʹ¹Ø
เปนภารกิจตามที่ระเบียบ ก.ต.ช.วาดวยคณะกรรมการตรวจสอบและติดตาม

การบรหิ ารงานตาํ รวจ พ.ศ.๒๕๔๙ กาํ หนดเปนภารกิจในการ
๑) ใหค าํ ปรกึ ษาและขอ เสนอแนะการปฏบิ ตั งิ านของกองบญั ชาการตาํ รวจนครบาล

ตํารวจภธู รจงั หวดั สถานีตาํ รวจนครบาลและสถานีตํารวจภธู ร แลว แตกรณี
๒) สงเสริมการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจ

และการบรหิ ารงานตาํ รวจ
๓) ใหขอมูลขาวสารและเสนอปญหาความเดือดรอนและความตองการของ

ประชาชนในเขตพน้ื ท่ี
๔) แนะนํา และชวยเหลือสนับสนุนการประชาสัมพันธงานของ บช.น./จังหวัด

หรอื สถานีตาํ รวจ แลว แตกรณี
๕) ตง้ั คณะอนุกรรมการ คณะทํางาน หรือทป่ี รึกษา

ó.ó ÀÒá¨Ô ¡ÒÃÁÕÊÇ‹ ¹ÃÇ‹ Á
เน่ืองจากองคกร กต.ตร.ในปจจุบันเปนองคกรที่มีประชาชนในทองถิ่น/ชุมชน

เปนกรรมการในสัดสวนท่ีเทาๆ กันกับขาราชการ ดังน้ันตามระเบียบ ก.ต.ช.วาดวยหลักเกณฑ
และวธิ กี ารสง เสรมิ ใหท อ งถนิ่ และชมุ ชนมสี ว นรว มในกจิ การตาํ รวจ พ.ศ.๒๕๔๙ จงึ กาํ หนดให กต.ตร. เปน
องคก รสาํ คญั มบี ทบาทเปน แกนนาํ ในการใหท อ งถนิ่ /ชมุ ชน เขา มามสี ว นรว มในการปอ งกนั ปราบปราม
อาชญากรรมและการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชน โดยกําหนดบทบาท
ภารกจิ ของ กต.ตร.สน./สภ. กต.ตร.กทม. และ กต.ตร.จงั หวดั ไวดังน้ี

๓.๓.๑ กต.ตร.สน./สภ.
กาํ หนดให กต.ตร.สน./สภ. มบี ทบาทในการกาํ หนดลกั ษณะ รปู แบบและ

วิธกี ารใหทองถ่ินและชมุ ชนมสี วนรวมในกิจการตาํ รวจของ สน./สภ. ดานตางๆ รวม ๖ ดาน
๑) ดานการปองกันและปราบปรามอาชญากรรม
๒) ดานการรักษาความสงบเรียบรอยและรักษาความปลอดภัยของ

ประชาชน

๑๓๐

๓) ดานการปอ งกันปราบปรามยาเสพติด
๔) ดานการจราจร
๕) ดา นการดแู ลสาธารณสมบตั ิ และ
๖) ดานการพฒั นาคุณภาพชีวิตของประชาชนในทองถน่ิ
โดยคํานึงถึงปจจัยทางดานอํานาจหนาที่ตามกฎหมาย สภาพทางภูมิศาสตร
เศรษฐกิจ สังคม ประเพณี วัฒนธรรมและวิถีการดํารงชีวิตของแตละทองถิ่นและชุมชนเปนสําคัญ
ท้ังยังกาํ หนดลกั ษณะของการมีสวนรวมในกจิ การตํารวจ ๕ ลกั ษณะดว ยกนั คือ
๑) มสี ว นรว มในการคดิ ศกึ ษาและคน ควา หาสภาพและสาเหตขุ องปญ หา
ตลอดจนความตอ งการของทอ งถ่ินและชมุ ชน
๒) มสี ว นรว มในการรเิ รมิ่ และตดั สนิ ใจกาํ หนดกจิ กรรมเพอ่ื ลดและแกไ ข
ปญหาของทองถนิ่ และชมุ ชน
๓) มสี ว นรว มในการปฏบิ ัติ และ/หรือการใหความรว มมือในการปฏบิ ตั ิ
และ/หรือการสนับสนุนทรัพยากรตางๆ เพ่ือใชในการปฏิบัติตามกิจกรรมเพ่ือลดและแกไขปญหาของ
ทอ งถ่ินและชมุ ชน
๔) มสี ว นรวมในการตรวจสอบและตดิ ตามการดําเนนิ กจิ กรรม
๕) มีสว นรวมในการเสนอแนะและปรับปรงุ
๓.๓.๒ กต.ตร.กทม./จงั หวดั
กําหนดให กต.ตร.กทม./จังหวัด มีบทบาทในการตรวจสอบ ติดตาม
และใหคําแนะนําการปฏิบัติตามลักษณะ รูปแบบและวิธีการใหทองถิ่นและชุมชนมีสวนรวมในกิจการ
ตาํ รวจของสถานตี ํารวจนครบาลและสถานตี ํารวจภธู รในพ้ืนท่ี
สาํ หรบั ลกั ษณะรปู แบบและวธิ กี ารใหท อ งถน่ิ และชมุ ชนมสี ว นรว มในกจิ การ
ตาํ รวจ อาจดาํ เนนิ การไดห ลายรปู แบบ เชน การจดั ใหม อี าสาสมคั รตาํ รวจบา น อาสาสมคั รจราจร หรอื
กาวไปถึงการสรางความเขมแข็งของชุมชนหรือหมูบานในการปองกันตนเอง ใหมีความปลอดภัยจาก
ภัยอาชญากรรมตางๆ
นอกจากนี้ สํานักงานตํารวจแหงชาติไดวางระเบียบวาดวยการสงเสริม
ใหประชาชน ชุมชน ทองถ่ินและองคกรมีสวนรวมในกิจการตํารวจ พ.ศ.๒๕๕๑ กําหนดรูปแบบ
การมีสวนรวมรูปแบบตางๆ เพ่ือเปนแนวทางให กต.ตร.สน./สภ. พิจารณาดําเนินการไปในแนวทาง
เดียวกนั
บทบาทภารกจิ ของ กต.ตร.กทม. กต.ตร.จงั หวดั และ กต.ตร.สถานตี ํารวจ
ปจจุบันปรากฏตามแผนภูมิที่ ๒ และ ๓ สวนกระบวนการตรวจสอบ ติดตามและประเมินผล
ในภาพรวมปรากฏตามแผนภูมิ ๔

∫∑∫“∑¿“√°®‘ °μ.μ√.°∑¡./®ß— À«—¥ ·ºπ¿Ÿ¡‘ Ò

°μ.μ√.°∑¡./®ß— À«¥—

▼ ▼ ▼

¿“√°‘®À≈—° ¿“√°‘® π—∫ πÿπ ¿“√°‘®°“√¡ ’ «à π√à«¡
(¡“μ√“ Ò¯(ˆ) (μ“¡√–‡∫’¬∫ °.μ.™.«“à ¥«â ¬§≥–°√√¡°“√μ√«® Õ∫ (¡“μ√“ ˜ ·≈–√–‡∫¬’ ∫ °.μ.™.«à“¥«â ¬
À≈°— ‡°≥±å·≈–«∏‘ °’ “√ ßà ‡ √¡‘ „À∑â Õâ ß∂πË‘
μ√«® Õ∫ μ‘¥μ“¡·≈– ·≈–쥑 μ“¡°“√∫√‘À“√ß“πμ”√«® æ.».ÚıÙ˘) ·≈–™ÿ¡™π¡’ à«π√à«¡„π°‘®°“√μ”√«®
ª√–‡¡π‘ º≈°“√ªØ∫‘ μ— ß‘ “π¢Õß æ.».ÚıÙ˘)
∫™.π./¿.®«. μ“¡π‚¬∫“¬ - „À⧔ª√÷°…“·≈–¢âÕ‡ πÕ·π–°“√ªØ‘∫—μ‘ß“π¢Õß
¢Õß °.μ.™. ∫™.π./®—ßÀ«¥— / π./ ¿. ▼

▼ -  à߇ √‘¡°“√æ—≤π“ª√– ‘∑∏‘¿“æ°“√ªØ‘∫—μ‘ß“π - μ√«® Õ∫ 쥑 μ“¡·≈–„À⧔·π–π”
¢Õߢâ“√“™°“√μ”√«®·≈–°“√∫√À‘ “√ß“πμ”√«® °“√ªØ‘∫—μ‘μ“¡≈—°…≥– √Ÿª·∫∫ ·≈–
·π«∑“ß°“√μ√«® Õ∫ «‘∏’°“√„Àâ∑âÕß∂Ë‘π·≈–™ÿ¡™π¡’ à«π√à«¡
- μ√«® Õ∫ μ‘¥μ“¡·≈– - √∫— §”√Õâ ߇√¬’ π¢Õߪ√–™“™π‡°¬Ë’ «°∫— °“√ªØ∫‘ μ— ß‘ “π „π°‘®°“√μ”√«®¢Õß  π./ ¿. „πæπ◊È ∑Ë’
¢Õßμ”√«®
ª√–‡¡‘πº≈§«“¡ ”‡√Á®
¢Õßß“π - „Àâ¢âÕ¡Ÿ≈¢à“« “√·≈–‡ πÕªí≠À“§«“¡‡¥◊Õ¥√âÕπ
- μ√«® Õ∫μ“¡§”√Õâ ߇√¬’ π ·≈–§«“¡μÕâ ß°“√¢Õߪ√–™“™π„π‡¢μæπÈ◊ ∑’Ë

- ·π–π” ™«à ¬‡À≈Õ◊  π∫—  ππÿ °“√ª√–™“ ¡— æπ— ∏¢å Õß ๑๓๑
∫™.π./®ß— À«¥—

- μ—Èߧ≥–Õπÿ°√√¡°“√ §≥–∑”ß“π À√Õ◊ ∑’ªË √÷°…“

∫∑∫“∑¿“√°®‘ °μ.μ√.°∑¡./®ß— À«¥— ·ºπ¿¡Ÿ ‘ Ú ๑๓๒

°μ.μ√.°∑¡./®ß— À«—¥

▼ ▼ ▼

¿“√°‘®À≈—° ¿“√°‘® π—∫ πÿπ ¿“√°®‘ °“√¡ ’ «à π√«à ¡
(¡“μ√“ Ò¯(ˆ)) (μ“¡√–‡∫’¬∫ °.μ.™.«à“¥«â ¬§≥–°√√¡°“√μ√«® Õ∫ (¡“μ√“ ˜ ·≈–√–‡∫¬’ ∫ °.μ.™.«“à ¥â«¬
À≈°— ‡°≥±å·≈–«∏‘ °’ “√ ßà ‡ √¡‘ „À∑â Õâ ß∂π‘Ë
μ√«® Õ∫ μ‘¥μ“¡·≈– ·≈–쥑 μ“¡°“√∫√‘À“√ß“πμ”√«® æ.».ÚıÙ˘) ·≈–™ÿ¡™π¡’ à«π√à«¡„π°‘®°“√μ”√«®
ª√–‡¡π‘ º≈°“√ªØ∫‘ μ— ß‘ “π¢Õß æ.».ÚıÙ˘)
∫™.π./¿.®«. μ“¡π‚¬∫“¬ - „À⧔ª√÷°…“·≈–¢âÕ‡ πÕ·π–°“√ªØ‘∫—μ‘ß“π¢Õß
¢Õß °.μ.™. ∫™.π./®—ßÀ«¥— / π./ ¿. ▼

▼ -  à߇ √‘¡°“√æ—≤π“ª√– ‘∑∏‘¿“æ°“√ªØ‘∫—μ‘ß“π - μ√«® Õ∫ 쥑 μ“¡·≈–„À§â ”·π–π”
¢Õߢâ“√“™°“√μ”√«®·≈–°“√∫√‘À“√ß“πμ”√«® °“√ªØ‘∫—μ‘μ“¡≈—°…≥– √Ÿª·∫∫ ·≈–
·π«∑“ß°“√μ√«® Õ∫ «‘∏’°“√„Àâ∑âÕß∂Ë‘π·≈–™ÿ¡™π¡’ à«π√à«¡
- μ√«® Õ∫ μ‘¥μ“¡·≈– - √∫— §”√Õâ ߇√¬’ π¢Õߪ√–™“™π‡°¬’Ë «°∫— °“√ªØ∫‘ μ— ß‘ “π „π°‘®°“√μ”√«®¢Õß  π./ ¿. „πæ◊Èπ∑Ë’
¢Õßμ”√«®
ª√–‡¡‘πº≈§«“¡ ”‡√Á®
¢Õßß“π - „Àâ¢âÕ¡Ÿ≈¢à“« “√·≈–‡ πÕªí≠À“§«“¡‡¥◊Õ¥√âÕπ
- μ√«® Õ∫μ“¡§”√Õâ ߇√¬’ π ·≈–§«“¡μÕâ ß°“√¢Õߪ√–™“™π„π‡¢μæÈ◊π∑Ë’

- ·π–π” ™«à ¬‡À≈Õ◊  π∫—  ππÿ °“√ª√–™“ ¡— æπ— ∏¢å Õß
∫™.π./®ß— À«¥—

- μ—Èߧ≥–Õπÿ°√√¡°“√ §≥–∑”ß“π À√◊Õ∑’˪√÷°…“

∫∑∫“∑¿“√°®‘ °μ.μ√. π./ ¿. ·ºπ¿¡Ÿ ‘ Û

°μ.μ√. π./ ¿.

▼ ▼ ▼

¿“√°‘®À≈—° ¿“√°®‘  π—∫ ππÿ ¿“√°‘®°“√¡ ’ à«π√«à ¡
(¡“μ√“ Ò¯(ˆ) (μ“¡√–‡∫¬’ ∫ °.μ.™.«à“¥«â ¬§≥–°√√¡°“√ (¡“μ√“ ˜ ·≈–√–‡∫’¬∫ °.μ.™.«“à ¥â«¬
μ√«® Õ∫·≈–쥑 μ“¡°“√∫√‘À“√ß“πμ”√«® À≈°— ‡°≥±å·≈–«∏‘ °’ “√ ßà ‡ √¡‘ „À∑â Õâ ß∂π‘Ë
μ√«® Õ∫ μ‘¥μ“¡ ·≈–™ÿ¡™π¡’ à«π√à«¡„π°‘®°“√μ”√«®
·≈–ª√–‡¡‘πº≈°“√ æ.».ÚıÙ˘) æ.».ÚıÙ˘)
ªØ‘∫—μ‘ß“π¢Õß  π./
 ¿. μ“¡π‚¬∫“¬¢Õß - „À⧔ª√÷°…“·≈–¢âÕ‡ πÕ·π–°“√ªØ‘∫—μ‘ß“π °”Àπ¥≈°— …≥– √ªŸ ·∫∫ ▼
°.μ.™. ¢Õß  π./ ¿. ·≈–«‘∏’°“√„Àâ∑âÕß∂‘Ëπ
·≈–™ÿ¡™π¡’ à«π√à«¡ °®‘ °√√¡„π°“√¡ ’ «à π√à«¡ (¥â“π)
▼ -  à߇ √‘¡°“√æ—≤π“ª√– ‘∑∏‘¿“æ°“√ªØ‘∫—μ‘ß“π „π°‘®°“√μ”√«®¢Õß
¢Õߢ“â √“™°“√μ”√«®·≈–°“√∫√À‘ “√ß“πμ”√«®  π./ ¿. ‚¥¬§”π÷ß Ò) ¥â“π°“√ªÑÕß°—π·≈–ª√“∫ª√“¡
·π«∑“ß°“√μ√«® Õ∫ ∂÷ ß ªí ® ®— ¬ ¥â “ π ÕË◊ π Ê Õ“™≠“°√√¡
- μ√«® Õ∫ μ‘¥μ“¡ - √—∫§”√âÕ߇√’¬π¢Õߪ√–™“™π‡°’ˬ«°—∫°“√ ·≈–«‘∂’°“√¥”√ß™’«‘μ
ªØ‘∫—μ‘ß“π¢Õßμ”√«® ¢ Õ ß · μà ≈ – ∑â Õ ß ∂Ë‘ π Ú) ¥“â π°“√√°— …“§«“¡ ß∫‡√¬’ ∫√Õâ ¬
· ≈ – ª √ – ‡ ¡‘ π º ≈ ·≈–™ÿ¡™π‡ªì𠔧≠— ·≈–√°— …“§«“¡ª≈Õ¥¿¬— ¢Õß
§«“¡ ”‡√Á®¢Õßß“π - „À¢â Õâ ¡≈Ÿ ¢“à « “√·≈–‡ πÕª≠í À“§«“¡‡¥Õ◊ ¥√Õâ π ª√–™“™π
- μ√«® Õ∫μ“¡ ·≈–§«“¡μâÕß°“√¢Õߪ√–™“™π„π‡¢μæÈπ◊ ∑Ë’
§”√Õâ ߇√¬’ π Û) ¥â“π°“√ªÑÕß°—πª√“∫ª√“¡
- ·π–π” ™à«¬‡À≈◊Õ π—∫ πÿπ°“√ª√–™“ —¡æ—π∏å ¬“‡ æμ‘¥
¢Õß  π./ ¿.
Ù) ¥â“π°“√®√“®√
- μ—ßÈ §≥–Õπÿ°√√¡°“√ §≥–∑”ß“π À√◊Õ∑ª’Ë √÷°…“ ı) ¥“â π°“√¥Ÿ·≈ “∏“√≥ ¡∫μ— ‘
ˆ) ¥â“π°“√æ—≤π“§ÿ≥¿“æ™’«‘μ
๑๓๓
¢Õߪ√–™“™π„π∑Õâ ß∂Ë‘π

๑๓๔

ô. ËÅ¡Ñ à¡³±á ÅÐÇ¸Ô ¡Õ ÒÃÊÃÃËÒ¡ÃÃÁ¡Òü·ŒÙ ç¤³Ø Ç²Ø áÔ ÅлÃЪҪ¹ã¹ ¡μ.μÃ.¡·Á.
¡μ.μÃ.¨§Ñ ËÇ´Ñ áÅСÃÃÁ¡ÒÃã¹ ¡μ.μÃ.ʹ. áÅÐ ¡μ.μÃ.ÊÀ.

ô.ñ ¡μ.μÃ.¡·Á.
๔.๑.๑ ผทู รงคณุ วฒุ *ิ ดําเนนิ การสรรหาตามลาํ ดับดงั น้ี
๑) ใหก รรมการโดยตาํ แหนง ดาํ เนนิ การดังนี้
- กาํ หนดขนั้ ตอนและวธิ กี ารสรรหาและคดั เลอื กตามความเหมาะสม
- พจิ ารณาสรรหาและคัดเลอื กผทู รงคุณวฒุ ิ จาํ นวน ๗ ดา นๆ ละ

๑ คน รวม ๗ คน
๒) เมื่อสรรหาและคัดเลือกไดแลวใหเลขานุการ กต.ตร.กทม. จัดทํา

คาํ สง่ั ตามแบบทีก่ ําหนด นาํ เสนอประธาน กต.ตร.กทม. ลงนามแตง ตง้ั
๔.๑.๒ ประชาชน ดาํ เนนิ การสรรหาตามลําดับดงั นี้
๑) ใหเ ลขานกุ าร กต.ตร.กทม. กาํ หนดวนั เวลาให กต.ตร.สน.ดาํ เนนิ การ

พจิ ารณาคดั เลอื กประชาชนผทู เี่ คยเปน กรรมการใน กต.ตร.สน. และกาํ หนดวนั เสนอไปถงึ บก.ตน สงั กดั
และถงึ ประธาน กต.ตร.กทม.

๒) เลขานกุ าร กต.ตร.สน.นาํ เสนอ กต.ตร.สน. (กรรมการโดยตาํ แหนง )
ประชุมพิจารณากาํ หนดแนวทางการสรรหาและคัดเลือกตามความเหมาะสม

๓) กต.ตร.สน.ประชุมพิจารณาคัดเลือกประชาชนผูท่ีเคยเปนกรรมการ
ใน กต.ตร.สน.ใหไ ดจํานวนหนึ่งคน แลว เสนอไปยงั บก.น.ตน สังกัด

๔) ผบก.น.๑-๙ แตละ บก.น. โดย ผบก.น. และรอง ผบก.น. ประชมุ
พิจารณาคัดเลือกประชาชนผูที่เคยเปนกรรมการใน กต.ตร.สน. ท่ี กต.ตร.สน.ในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบ
เสนอใหไ ด บก.น.ละหนง่ึ คนแลวนาํ เรียนประธาน กต.ตร.กทม. (สงไปยงั เลขานกุ าร กต.ตร.กทม.)

๕) เลขานกุ าร กต.ตร.กทม. รวบรวมรายชอื่ ประชาชนผทู เ่ี คยเปน กรรมการ
ใน กต.ตร.สน.ตามท่ี บก.น.๑-๙ เสนอ นําเสนอตอ ทปี่ ระชมุ กต.ตร.กทม. (โดยตําแหนง ) พจิ ารณาให
ไดจาํ นวนสามคน

๖) เลขานกุ าร กต.ตร.กทม.จดั ทาํ คาํ สง่ั ตามแบบทก่ี าํ หนดเสนอประธาน
กต.ตร.กทม.ลงนามแตงตง้ั

*ก.ต.ช.ในการประชมุ ครงั้ ที่ ๕/๒๕๕๐ เมอื่ วนั ท่ี ๒๙ มถิ นุ ายน ๒๕๕๐ มมี ตแิ กไ ขใหผ ทู รงคณุ วฒุ ใิ น กต.ตร.กทม.
ประกอบดว ยผทู รงคุณวุฒดิ า นตา งๆ จํานวน ๗ ดา นๆ ละ ๑ คน ไดแก ดา นธรรมาภบิ าล ดา นความม่ันคง ดา นการจราจร
และอุบัตภิ ัย ดานการพฒั นา ดา นเศรษฐกิจ ดา นสงั คม และดานการมสี วนรวมของประชาชนและชมุ ชน

พรอ มทั้งไดอ อกระเบยี บ ก.ต.ช.วา ดว ยคณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการบรหิ ารงานตํารวจ (ฉบบั ที่ ๒)
พ.ศ.๒๕๕๐ ลงวันที่ ๑๗ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๐ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๒๔ ตอนพิเศษ ๑๐๗ง เม่ือวันท่ี
๓๐ สงิ หาคม ๒๕๕๐ เรียบรอ ยแลว

๑๓๕

๔.๑.๓ ระยะเวลาการดาํ เนินการ
- ใหแ ลว เสร็จภายในสี่สิบวนั นบั แตวนั ท่กี รรมการพน จากตําแหนง
- เฉพาะครงั้ แรกใหแ ลว เสรจ็ ภายในหกสบิ (๖๐) วนั นบั แตว นั ทรี่ ะเบยี บน้ี

ใชบงั คบั (วนั ถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา)
ô.ò ¡μ.μÃ.¨§Ñ ËÇ´Ñ
๔.๒.๑ ผูทรงคุณวฒุ ิ ดําเนินการสรรหาตามลาํ ดับดงั น้ี
๑) ใหกรรมการโดยตาํ แหนง ดาํ เนนิ การดังนี้
- กาํ หนดขน้ั ตอนและวธิ กี ารสรรหาและคดั เลอื กตามความเหมาะสม
- พจิ ารณาสรรหาและคัดเลอื กผูทรงคณุ วฒุ ิ จํานวน ๗ ดา นๆ ละ

๑ คน รวม ๗ คน
๒) เมอื่ สรรหาและคดั เลอื กไดแ ลว ใหเ ลขานกุ าร กต.ตร.จงั หวดั จดั ทาํ คาํ สง่ั

ตามแบบที่กําหนด นําเสนอประธาน กต.ตร.จังหวัด ลงนามแตงตง้ั
๔.๒.๒ ประชาชน ดาํ เนนิ การสรรหาตามลาํ ดบั ดงั น้ี
๑) ใหเ ลขานกุ าร กต.ตร.จงั หวดั กาํ หนดวนั เวลา ให กต.ตร.สภ.ดาํ เนนิ การ

พิจารณาคัดเลือกประชาชนผูท่ีเคยเปนกรรมการใน กต.ตร.สภ. และกําหนดวันเสนอไปถึงประธาน
กต.ตร.จงั หวัด

๒) เลขานุการ กต.ตร.สภ.นาํ เสนอ กต.ตร.สภ. (กรรมการโดยตาํ แหนง )
ประชมุ พจิ ารณากําหนดแนวทางการสรรหาและคัดเลือกตามความเหมาะสม

๓) กต.ตร.สภ.ประชุมพิจารณาคัดเลือกประชาชนผูท่ีเคยเปนกรรมการ
ใน กต.ตร.สภ.ใหไ ดจาํ นวนหนงึ่ คน แลว นําเรียนประธาน กต.ตร.จังหวัด (สงไปยังเลขานุการ กต.ตร.
จงั หวดั )

๔) เลขานุการ กต.ตร.จังหวัด รวบรวมรายชื่อประชาชนผูท่ีเคยเปน
กรรมการใน กต.ตร.สภ.ตามที่ กต.ตร.สภ. เสนอ นําเสนอตอ ทปี่ ระชุม กต.ตร.จงั หวดั (โดยตําแหนง)
พจิ ารณาใหไ ดจ าํ นวนสามคน

๕) เลขานุการ กต.ตร.จังหวัด จัดทําคําส่ังตามแบบที่กําหนด เสนอ
ประธาน กต.ตร.จงั หวดั ลงนามแตงต้ัง

๔.๒.๓ ระยะเวลาการดาํ เนนิ การ
- ใหแลว เสรจ็ ภายในส่ีสิบหาวนั นบั แตว นั ท่ีกรรมการพนจากตําแหนง
- เฉพาะครง้ั แรกใหแ ลว เสรจ็ ภายในหกสบิ (๖๐) วนั นบั แตว นั ทรี่ ะเบยี บนี้

ใชบังคับ (วนั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา)

๑๓๖

ô.ó ¡μ.μÃ.ʶҹÕตําÃǨ¹¤ÃºÒÅ (¡μ.μÃ.ʹ.)
๔.๓.๑ ขา ราชการประจาํ อนื่ นอกจากขา ราชการตาํ รวจ หรอื พนกั งาน หรอื ลกู จา ง

ของหนว ยงานของรฐั หรอื รฐั วสิ าหกจิ ทปี่ ฏบิ ตั หิ นา ทปี่ ระจาํ ในเขตพน้ื ท่ี สน. นนั้ จาํ นวนไมเ กนิ สามคน
ดาํ เนินการตามลําดับดังนี้

๑) ใหเลขานุการ กต.ตร.สน. เสนอหวั หนา สน. (ซึ่งตามระเบียบกาํ หนด
ใหเปนประธาน กต.ตร.สน.ชั่วคราว) กาํ หนดนัดประชุม กต.ตร.โดยตําแหนง เพื่อกําหนดข้ันตอน
และวิธีการสรรหาและคดั เลอื กตามความเหมาะสม

๒) กต.ตร.สน.โดยตาํ แหนง ประชมุ พจิ ารณาคดั เลอื กใหไ ดจ าํ นวนไมเ กนิ
สามคน

๓) เลขานุการ กต.ตร.สน. จัดทําคําส่ังตามรูปแบบที่กําหนดเสนอ
หวั หนา สน. เพอื่ นําเสนอประธาน กต.ตร.กทม.ลงนามในคาํ ส่งั แตง ตัง้

๔.๓.๒ ขา ราชการตาํ รวจชนั้ ประทวนซงึ่ ดาํ รงตาํ แหนง และปฏบิ ตั หิ นา ทใี่ น สน. นนั้
จํานวนหน่ึงคน ดําเนินการตามลําดบั ดังน้ี

๑) เลขานกุ าร กต.ตร.สน.จดั ทาํ บญั ชรี ายชอ่ื ขา ราชการตาํ รวจชน้ั ประทวน
ผูมสี ิทธติ ามแบบทก่ี าํ หนด แลวปดประกาศใหทราบทว่ั กนั

๒) หัวหนา สน. กําหนดวนั ประชมุ แลว เลขานกุ าร กต.ตร.สน. แจงให
ขา ราชการตาํ รวจชนั้ ประทวนผมู สี ทิ ธติ ามรายชอื่ ทป่ี ด ประกาศทราบ โดยอาจใชว ธิ กี ารปด ประกาศหรอื
แจงเวียนเปนหนงั สอื ตามความเหมาะสม กอนวนั ประชุมไมนอยกวาสามวัน

๓) จัดการประชุม โดยจะตองมีขาราชการตํารวจชั้นประทวนผูมีสิทธิ
เขาประชมุ ไมนอ ยกวา กง่ึ หนงึ่ จงึ จะครบองคประชมุ เพ่อื ใหม ีการเลือกใหไดจาํ นวนหนงึ่ คน

๔) ดาํ เนินการเลือก โดย
- ใหขาราชการตํารวจช้ันประทวนผูมีสิทธิท่ีเขาประชุมเสนอ

ชื่อขา ราชการตาํ รวจช้ันประทวนผูท่ีมีความเหมาะสมเปน กต.ตร.สน.
- กรณมี ผี ไู ดรับการเสนอช่อื มากกวา หนง่ึ คน ใหดําเนนิ การดงั นี้
(๑) เลขานุการ กต.ตร.สน.จัดเตรียมบัตรลงคะแนนตามแบบ

ทกี่ ําหนด และกลอ งรบั บัตรลงคะแนน (รปู แบบตามท่ีเห็นสมควร)
(๒) จดั การใหข า ราชการตาํ รวจชนั้ ประทวนผมู สี ทิ ธทิ เ่ี ขา ประชมุ

เขียนช่อื ผทู ่ตี นเลือกจํานวนหนึง่ คน แลวนํามาใสใ นกลอ งรบั บัตรลงคะแนน
๕) ตรวจนับคะแนน ใหดําเนนิ การดังน้ี
- ใหเลขานุการ กต.ตร.สน.ตรวจนับคะแนนโดยเปดเผยหลังจาก

ผูเขา ประชุมลงคะแนนเสร็จสิ้น
- ผไู ดร บั คะแนนมากทสี่ ดุ เปน ผไู ดร บั เลอื กเปน กรรมการใน กต.ตร.สน.

๑๓๗

- กรณีมีผูไดรับคะแนนมากที่สุดเทากัน ใหลงคะแนนเลือกเฉพาะ
ผทู ม่ี คี ะแนนเทา กนั อีกครง้ั ผไู ดรับคะแนนมากทีส่ ดุ เปนผูไ ดร ับเลอื กเปน กรรมการใน กต.ตร.สน.

- หากยงั มคี ะแนนเทา กนั อกี ใหใ ชว ธิ จี บั สลาก โดยใหห วั หนา สน.เปน
ผจู บั สลากจํานวนหนงึ่ รายช่อื และถอื วา ผนู ้ันไดร บั เลอื กเปน กรรมการใน กต.ตร.สน.

๖) เลขานุการ กต.ตร.สน.จัดทําคําสั่งตามรูปแบบที่กําหนดเสนอ
หัวหนา สน. นําเสนอประธาน กต.ตร.กทม.ลงนามในคําส่ังแตงต้ัง (สงใหเลขานุการ กต.ตร.กทม.
เปนผูรวบรวมนาํ เสนอ)

๔.๓.๓ ประชาชนจาํ นวนไมนอยกวา หกคนแตไ มเกินเกาคน
๔.๓.๓.๑ คดั เลอื กจากประชาชนผมู คี วามรคู วามสามารถจาํ นวนไมเ กนิ

สามคนดําเนนิ การ ดังนี้
๑) ใหเลขานุการ กต.ตร.สน.เสนอหัวหนา สน. (ประธาน

กต.ตร.สน.ชัว่ คราว) กําหนดนัดประชุม กต.ตร.สน.โดยตําแหนง เพือ่ กําหนดขนั้ ตอนและวิธีการสรรหา
และคัดเลอื กตามความเหมาะสม

๒) กต.ตร.สน.โดยตําแหนงประชุมพิจารณาคัดเลือกจาก
ประชาชนผูทีม่ ีความรูความสามารถใหไดจาํ นวนไมเ กนิ สามคน

๓) เลขานุการ กต.ตร.สน.จัดทําคําสั่งตามรปู แบบท่กี ําหนด
เสนอหัวหนา สน. เพื่อนําเสนอประธาน กต.ตร.กทม. ลงนามในคาํ สั่งแตงต้ัง (สงใหเลขานุการ
กต.ตร.กทม.เปน ผูร วบรวมนาํ เสนอ)

๔.๓.๓.๒ เลอื กโดยเปด รบั สมคั รจากประชาชนทว่ั ไปจาํ นวนไมน อ ยกวา
สามคน แตไ มเกนิ หกคน ดําเนินการ ดงั น้ี

(ñ) ¡ÒÃàμÃÂÕ Á¡ÒÃ
๑) ใหเ ลขานกุ าร กต.ตร.สน.เสนอหวั หนา สน. (ประธาน

กต.ตร.ชวั่ คราว) ประชมุ กต.ตร.สน.โดยตาํ แหนง เพอื่ กาํ หนดวนั รบั สมคั ร วนั เลอื ก สถานที่ รบั สมคั ร สถานที่
ที่จะทําการเลือกและออกคําส่ังมอบหมายเจาหนาที่ผูรับผิดชอบการจัดการรับสมัคร การตรวจสอบ
คณุ สมบัติ การเลอื กการตรวจนับคะแนน และการประชาสัมพนั ธ

๒) กําหนดวนั รับสมคั รไมนอ ยกวา ๗ วัน
๓) เลขานกุ าร กต.ตร.สน.จดั เตรยี มใบสมคั รแบบตา งๆ
ตามท่กี ําหนดและกลอ งรับบตั รลงคะแนน (ตามความเหมาะสม)
๔) เลขานกุ าร กต.ตร.สน.จดั ทาํ บญั ชรี ายชอ่ื ขา ราชการ
ตาํ รวจผมู สี ิทธเิ ลือกตามแบบท่กี ําหนด แลว ปด ประกาศท่สี ถานตี ํารวจใหท ราบท่ัวไป
๕) หวั หนา สน.ประชมุ ชแ้ี จงขา ราชการตาํ รวจผมู สี ทิ ธิ
เพือ่ ซักซอมความเขาใจวิธกี ารลงคะแนนเลือก

๑๓๘

(ò) ¡ÒûÃСÒÈÃѺÊÁѤÃ
๑) ใหห วั หนา สน.ประกาศกาํ หนดวนั รบั สมคั ร วนั เลอื ก

สถานที่รับสมัคร สถานท่ีที่จะทําการเลือก และสถานที่ปดประกาศรายชื่อผูสมัคร รวมทั้งคุณสมบัติ
และลักษณะตองหามของประชาชนผูมีสิทธิสมัคร ใหประชาชนท่ัวไปทราบกอนวันเปดรับสมัคร
ไมน อยกวาสบิ ส่วี ัน

๒) ดําเนินการประชาสัมพันธใหขาราชการตํารวจ
และประชาชนไดท ราบโดยทั่วไป

(ó) ¡ÒÃÃѺÊÁѤÃ
๑) เปดรับสมัครทุกวันติดตอกันไมนอยกวาเจ็ดวัน

ต้งั แตเ วลา ๐๘.๓๐ น. ถงึ ๑๖.๓๐ น.
๒) เลขานกุ าร กต.ตร.สน.เปน ผรู บั ใบสมคั ร ตรวจสอบ

คุณสมบัติ แลวจัดทําบัญชีรายชื่อผูสมัครที่มีสิทธิไดรับเลือกและบัตรลงคะแนนเรียงลําดับตัวอักษร
ตามแบบทก่ี ําหนด

๓) เลขานุการ กต.ตร.สน.ปดประกาศบัญชีรายชื่อ
ผสู มัครท่ีมสี ิทธิไดรบั เลอื กที่ สน.

(ô) ¡ÒÃŧ¤Ðá¹¹ ในวนั เลือกดาํ เนินการ ดังนี้
๑) กาํ หนดเวลาเลอื กตง้ั แตเ วลา ๐๘.๓๐ น. ถงึ ๑๓.๐๐ น.

(ไมพักเท่ียง)
๒) ขา ราชการตํารวจผมู สี ทิ ธปิ ฏบิ ตั ิ ดังนี้
-แสดงบตั รประจาํ ตวั ขา ราชการตาํ รวจตอ เจา หนา ท่ี

แลวลงลายมอื ชอ่ื รบั บัตรลงคะแนน
-เลือกโดยทําเคร่ืองหมายกากบาท (X) หนาช่ือ

ผสู มัครท่ีตนเลือกจํานวนไมเ กินหกคน
-นาํ บตั รทท่ี าํ เครอื่ งหมายเลอื กแลว ใสก ลอ งรบั บตั ร

(õ) ¡ÒÃμÃǨ¹ºÑ ¤Ðá¹¹ เมอ่ื ถงึ เวลา ๑๓.๐๐ น. ใหป ระกาศ
ปด การลงคะแนน แลวดําเนนิ การดังนี้

๑) กอนเปดกลองรับบัตรเพื่อตรวจนับคะแนน
ใหเ ลขานกุ าร กต.ตร.สน. ตรวจนบั รายชอ่ื ขา ราชการตาํ รวจผมู สี ทิ ธวิ า มาลงคะแนนเลอื กเกนิ กวา กง่ึ หนง่ึ
หรอื ไม แลวปฏบิ ัติ ดังนี้

-ถา มจี าํ นวนนอ ยกวา กงึ่ หนง่ึ ใหจ ดั ใหม กี ารเลอื กใหม
-ถามีจํานวนตั้งแตกึ่งหน่ึงข้ึนไป ใหดําเนินการ
นบั คะแนนตอไป

๑๓๙

๒) ตรวจนับคะแนนโดยเปดเผยใหเสร็จส้ินภายในวัน
เลอื กต้ังแตเวลา ๑๓.๐๐ น. เปน ตนไปจนกวา จะเสรจ็ ส้นิ

๓) จดั เรยี งลาํ ดบั ผไู ดค ะแนนจากมากไปหานอ ย กรณี
มีผไู ดค ะแนนเทากัน ใหหัวหนา สน.จับสลากชือ่ ผูท ี่ไดคะแนนเทา กนั เพื่อเรยี งลําดบั ที่

๔) จัดทําบัญชีรายช่ือผูสมัครที่ไดรับเลือกตามลําดับ
คะแนนตามแบบที่กําหนด

๕) ผทู ไ่ี ดร บั คะแนนลาํ ดบั ทห่ี นง่ึ ถงึ หกเปน ผไู ดร บั เลอื ก
(ö) ¡ÒûÃСÒȼšÒÃàÅ×Í¡áÅСÒÃÍÍ¡คําÊÑè§á싧μéѧ
ดาํ เนินการ ดงั นี้

๑) กอ นประกาศผลการเลอื กให กต.ตร.สน.โดยตาํ แหนง
พจิ ารณากอนวาผูทีไ่ ดรับเลอื กมีจํานวนถงึ หกคนหรอื ไม หากไมถ งึ หกคนใหพ จิ ารณาดาํ เนินการ ดังนี้

- จัดใหมีการรับสมัครและเลือกตามจํานวนที่ยัง
ไมค รบหกคนอีกคร้ัง เชน มผี ูสมัคร ๘ คน เลือกได ๔ คน ยังเหลืออีก ๒ คนจงึ จะครบ ๖ คน กใ็ หม ี
การรบั สมัครและเลือกใหมเพอ่ื ใหไ ดอ ีก ๒ คนที่ยังไมครบนั้น เปนตน หรอื

- หากพิจารณาเห็นวาจํานวนผูไดรับเลือก
เมื่อรวมกับประชาชนท่ีไดรับการคัดเลือกจาก กต.ตร.สน.โดยตําแหนงแลวมีจํานวนหกคนข้ึนไป
ก็เปนการสมควรแลว จะไมดาํ เนินการเปดรบั สมัครและเลือกใหมก ไ็ ด

๒) เมื่อไดผทู ไี่ ดรับเลอื กแลว ดําเนินการ ดงั น้ี
- เลขานุการ กต.ตร.สน.สง รายชอ่ื ผทู ่ีไดรับเลือก

ตามแบบทีก่ ําหนดใหห วั หนา สน.ปดประกาศใหทราบโดยทัว่ ไปตามท่กี าํ หนดไว
- เลขานุการ กต.ตร.สน.ตรวจสอบอีกครั้งวามี

กรณีท่ีไมอาจเสนอชอื่ ผไู ดรับเลือกเพื่อแตงต้ังเปน กต.ตร.สน.หรือไม เชน ตาย ขอถอนตัว
ขาดคณุ สมบัติ หรอื มลี ักษณะตองหา ม เปน ตน หากมีใหเ สนอรายช่อื ผทู ีไ่ ดรับคะแนนลําดับถัดไปแทน

- เลขานกุ าร กต.ตร.สน.จดั ทาํ คาํ สง่ั แตง ตง้ั เสนอ
หัวหนา สน.เพ่ือนําเสนอไปยังประธาน กต.ตร.กทม.ลงนามตอไป (สงใหเลขานุการ กต.ตร.กทม.
เปนผูร วบรวมเสนอ)

ô.ô ¡μ.μÃ.ʶҹตÕ ําÃǨÀ¸Ù à (¡μ.μÃ.ÊÀ.)
๔.๔.๑ ขา ราชการประจาํ อนื่ นอกจากขา ราชการตาํ รวจ หรอื พนกั งาน หรอื ลกู จา ง

ของหนวยงานของรัฐหรอื รัฐวสิ าหกิจ ท่ปี ฏบิ ัติหนาทป่ี ระจําในเขตพน้ื ท่ี สภ.นนั้ จาํ นวนไมเ กินสามคน
ดําเนนิ การทํานองเดยี วกนั กับ กต.ตร.สน.

๔.๔.๒ ขา ราชการตาํ รวจชนั้ ประทวน จํานวนหนง่ึ คน
ดําเนนิ การทํานองเดยี วกนั กับ กต.ตร.สน.

๑๔๐

๔.๔.๓ นายกเทศมนตรีท่ีมีเขตพ้ืนท่ีสวนใดสวนหน่ึงอยูในเขตพื้นที่ สภ.
จํานวนหน่งึ คน

ในกรณที ่ีพืน้ ทมี่ ีนายกเทศมนตรมี ากกวาหน่ึงคน ดําเนนิ การ ดังน้ี
๑) เลขานกุ าร กต.ตร.สภ.เสนอหวั หนา สภ.กาํ หนด วนั เวลา และสถานท่ี
ประชมุ เพือ่ เลือก
๒) เลขานกุ าร กต.ตร.สภ.เตรยี มบตั รลงคะแนนตามแบบและกลอ งรบั บตั ร
ลงคะแนน (ตามความเหมาะสม) เพือ่ ใชในกรณีทที่ ี่ประชมุ มีมตใิ หเลือกดว ยวิธลี บั
๓) เชญิ นายกเทศมนตรปี ระชมุ โดยใหม ผี เู ขา ประชมุ ไมน อ ยกวา กงึ่ หนง่ึ
เพื่อดําเนนิ การลงมตเิ ลอื ก ดงั น้ี

- ใหนายกเทศมนตรีท่ีเขาประชุมเสนอช่ือนายกเทศมนตรีคนหน่ึง
เปน กต.ตร.สภ.

- กรณมี ีการเสนอชือ่ มากกวาหนง่ึ คน ใหด าํ เนินการ ดงั น้ี
(๑) ใหม มี ติเลือกใหเ หลือหนง่ึ คน
(๒) หากที่ประชุมมีมติใหเลือกดวยวิธีลับ ก็ใหเลขานุการ

กต.ตร.สภ.นําบัตรลงคะแนนท่ีเตรียมไวใหนายกเทศมนตรีท่ีเขาประชุมเขียนช่ือผูที่ตนเลือกหนึ่งคน
แลว นาํ ใสไวใ นกลองรบั บตั รลงคะแนน

(๓) ใหเ ลขานกุ าร กต.ตร.สภ. ตรวจนบั คะแนนโดยเปด เผยทนั ที
หลงั จากผูเขาประชุมลงคะแนนเสร็จ ผูไดรบั คะแนนมากที่สดุ เปน ผไู ดร บั เลอื ก

(๔) กรณีมีผูไดรับคะแนนมากที่สุดเทากัน ใหลงคะแนน
เลือกเฉพาะผูทม่ี คี ะแนนเทา กันอกี คร้งั ผไู ดร ับคะแนนมากที่สดุ เปน ผไู ดรับเลือก

(๕) หากคะแนนยงั เทา กนั อกี ใหใ ชว ธิ จี บั สลาก โดยใหห วั หนา สภ.
เปนผูจ บั สลากจํานวนหน่ึงรายชอื่ และถือวาผูนนั้ เปนผไู ดร ับเลอื ก

๔) เลขานกุ าร กต.ตร.สภ. สง รายชอื่ ให หวั หนา สภ.ปด ประกาศใหท ราบ
ทว่ั ไป

๕) เลขานุการ กต.ตร.สภ.จัดทําคําส่ังแตงต้ังเสนอหัวหนา สภ.
เพอื่ นาํ เสนอประธาน กต.ตร.จงั หวดั ลงนามตอ ไป (สง ใหเ ลขานกุ าร กต.ตร.จงั หวดั เปน ผรู วบรวมเสนอ)

๖) ดําเนินการใหแลวเสร็จภายในส่ีสิบหาวันนับแตวันท่ีกรรมการ
พนจากตําแหนง ยกเวนการดําเนินการคร้ังแรกใหดําเนินการใหเสร็จส้ินภายในหกสิบวันนับแตวันท่ี
ระเบียบน้ีใชบ งั คับ (ใชบังคบั ต้งั แตวนั ถดั จากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตน ไป)

๔.๔.๔ นายกองคก ารบรหิ ารสว นตาํ บลจาํ นวนหนง่ึ คนและกาํ นนั จาํ นวนหนงึ่ คน
ดาํ เนินการทํานองเดียวกนั กับการเลอื กนายกเทศมนตรี

๑๔๑

õ. ¡ÒÃàÅ×Í¡»Ãиҹ ¡μ.μÃ.ʹ. áÅÐ ¡μ.μÃ.ÊÀ.

เน่ืองจากระเบียบฯ กําหนดใหมีการเลือกหัวหนา สน./สภ. หรือกรรมการ กต.ตร.สน./
สภ.คนอื่น คนใดคนหนง่ึ เปน ประธาน กต.ตร.สน./สภ. จงึ ใหด ําเนนิ การดังนี้

๑) เมอ่ื มคี าํ สงั่ แตง ตง้ั กต.ตร.สน./สภ.ครบถว นแลว ใหห วั หนา สน./สภ. (ประธาน กต.ตร.
สน./สภ.ช่ัวคราว) กําหนดการประชุม กต.ตร.สน./สภ. คร้ังแรกภายในสามสิบวันนับแตวันที่มีการ
แตง ตงั้ กรรมการ กต.ตร.สน./สภ.ครบถว น (วันทคี่ าํ ส่งั แตงตัง้ กต.ตร.สน./สภ.มีผลใชบ งั คบั )

๒) จัดวาระการประชุมใหมีวาระการเลือกประธาน กต.ตร.สน./สภ.เปนวาระท่ี ๒
ถดั จากวาระที่ ๑ เรอื่ งทป่ี ระธานแจง ใหท ป่ี ระชมุ ทราบ (เปน หนา ทขี่ องหวั หนา สน./สภ. ซงึ่ เปน ประธาน
กต.ตร.สน./สภ.ชั่วคราว เปนผแู จงเรอ่ื งตา งๆ ใหท่ปี ระชมุ ทราบ)

๓) ในวาระการประชมุ เลือกประธาน กต.ตร.สน./สภ. ให กต.ตร.สน./สภ. ทีม่ าประชุม
เสนอชอื่ กรรมการอน่ื นอกจากหวั หนา สน./สภ.หนง่ึ คน เพอื่ ใหท ป่ี ระชมุ เลอื กเปน ประธาน กต.ตร.สน./
สภ. แลวให กต.ตร.สน./สภ.ที่มาประชมุ ลงมติเลอื ก สว นวิธกี ารลงมตอิ าจใชวธิ ีลงมตโิ ดยเปด เผยหรือ
ลงมติลบั แลวแตค วามเหมาะสม

๔) เมอ่ื เลอื กไดผ เู ปน ประธาน กต.ตร.สน./สภ.แลว ใหอ กี คนหนง่ึ เปน รองประธาน กต.ตร.
สน./สภ.

๕) ใหเลขานุการ กต.ตร.สน./สภ. จัดทําเปนประกาศรายชื่อผูไดรับเลือกเปนประธาน
กต.ตร.สน./สภ. (แบบประกาศใชตามระเบียบฯ วาดวยงานสารบรรณฯ) เสนอหัวหนา สน./สภ.
ลงนามแลวปดประกาศใหทราบทั่วไปที่ สน./สภ. แลวรายงานผลการเลือกประธาน กต.ตร.สน./สภ.
ให กต.ตร.กทม. หรือ กต.ตร.จังหวัดแลวแตกรณีทราบภายในสิบหาวันนับแตวันท่ีที่ประชุมมีมติ
(สงไปยงั เลขานุการ กต.ตร.กทม. หรอื กต.ตร.จังหวัด แลว แตกรณ)ี

ö. ÇÒÃСÒÃดําçตาํ á˹§‹

ö.ñ ¡μ.μÃ.¡·Á./¡μ.μÃ.¨§Ñ ËÇ´Ñ
๖.๑.๑ กรรมการผทู รงคณุ วฒุ แิ ละประชาชนใน กต.ตร.กทม. และ กต.ตร.จงั หวดั
- มีวาระการดํารงตําแหนงสองป แตอาจไดรับการแตงตั้งใหมได

แตจ ะดํารงตําแหนงเกนิ สองวาระตดิ ตอ กนั ไมไ ด
- เมอื่ พน วาระแลว จะตอ งปฏบิ ตั หิ นา ทตี่ อ ไปกอ นจนกวา กรรมการผทู รง

คณุ วุฒแิ ละประชาชนซง่ึ ไดรับการแตงตัง้ ใหมเขารับหนา ท่ี
- การพน จากตําแหนง
๑) พน ตามวาระ
๒) ตาย
๓) ลาออก
๔) ขาดคณุ สมบัตหิ รอื มีลกั ษณะตองหา ม

๑๔๒

๕) ขาดการประชมุ เกนิ หกครั้งในรอบปนบั แตวนั ที่ไดร บั การแตงต้งั
๖) กต.ตร.กทม./กต.ตร.จังหวัด มีมติดวยคะแนนเสียงไมนอยกวา
สองในสามของจํานวนกรรมการท้ังหมดใหพนจากตําแหนง เนื่องจากมีความประพฤติเสื่อมเสีย
หรือมกี ารกระทาํ ท่ไี มเหมาะสมตอการปฏิบัตหิ นา ที่กรรมการ
๖.๑.๒ กรณีลาออก ใหมีผลนับแตวันที่เลขานุการ กต.ตร.กทม./กต.ตร.จังหวัด
ลงทะเบียนรับหนังสือลาออกนั้น และใหเลขานุการ กต.ตร.กทม./กต.ตร.จังหวัด รายงานประธาน
กต.ตร.กทม./กต.ตร.จังหวัด และ กต.ตร.กทม./กต.ตร.จังหวัด ตอไป
๖.๑.๓ กรณีพนจากตําแหนงกอนวาระ ใหดําเนินการสรรหาและแตงต้ังบุคคล
เปนกรรมการแทน เวนแตวาระการดํารงตําแหนงไมถึงเกาสิบวันจะไมสรรหาและแตงต้ังแทนก็ได
และกรรมการผทู รงคณุ วฒุ หิ รอื ประชาชนซงึ่ ไดร บั การแตง ตง้ั ใหด าํ รงตาํ แหนง แทนอยใู นตาํ แหนง เพยี ง
เทาวาระที่เหลืออยขู องผูที่ตนแทน
ö.ò ¡μ.μÃ.ʹ./¡μ.μÃ.ÊÀ.
๖.๒.๑ ขา ราชการประจาํ อน่ื นอกจากขา ราชการตาํ รวจ หรอื พนกั งาน หรอื ลกู จา ง
ของหนว ยงานของรัฐ หรอื รฐั วสิ าหกิจและประชาชน
- มวี าระการดาํ รงตําแหนงสองป และอาจไดรับการแตงต้งั ใหมได
- เมอื่ พน จากตาํ แหนง ตามวาระแลว ใหป ฏบิ ตั หิ นา ทต่ี อ ไปจนกวา กรรมการ
ท่ไี ดรบั การแตง ตั้งใหมเ ขา รบั หนา ท่ี
- การพน จากตําแหนง
๑) พน ตามวาระ
๒) ตาย
๓) ลาออก
๔) เฉพาะขาราชการประจํา พนักงาน หรือลูกจางหนวยงานของรัฐ
หรือรัฐวิสาหกิจเม่ือโยกยายไปดํารงตําแหนงนอกพ้ืนที่ หรือพนจากความเปนขาราชการ พนักงาน
หรือลูกจางหนว ยงานของรัฐ หรอื รฐั วสิ าหกจิ
๕) เฉพาะประชาชน ขาดคุณสมบตั ิหรือมีลกั ษณะตอ งหาม
๖) ขาดการประชมุ เกนิ หกครงั้ ในรอบปน บั แตว ันท่ีไดรับการแตง ตัง้
๗) กต.ตร.สน./สภ. มีมติดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสองในสาม
ของจํานวนกรรมการทง้ั หมดใหพ น จากตําแหนง เนือ่ งจากมคี วามประพฤตเิ สื่อมเสียหรือมีการกระทํา
ท่ีไมเหมาะสมตอ การปฏิบัติหนา ทีก่ รรมการ
๖.๒.๒ ขาราชการตํารวจช้ันประทวน นายกเทศมนตรี นายกองคการบริหาร
สว นตาํ บลและกาํ นนั
- มวี าระการดาํ รงตาํ แหนง คราวละสองป และอาจไดร บั การแตง ตงั้ ใหมไ ด

๑๔๓

- เมอ่ื พน จากตาํ แหนง ตามวาระแลว ใหป ฏบิ ตั หิ นา ทต่ี อ ไปจนกวา กรรมการ
ซึง่ ไดรบั การแตงต้งั ใหมเ ขารับหนาท่ี

- การพน จากตาํ แหนง
๑) พนตามวาระ
๒) ตาย
๓) ลาออก
๔) พน จากการเปน ขา ราชการตาํ รวจชน้ั ประทวนซง่ึ ดาํ รงตาํ แหนง และ

ปฏบิ ตั หิ นาทใี่ น สน./สภ. น้ัน พน จากตําแหนง นายกเทศมนตรี นายกองคก ารบริหารสวนตาํ บล หรอื
กํานนั

๖.๒.๓ กรณีลาออก ใหมีผลนับแตวันท่ีเลขานุการ กต.ตร.สน./กต.ตร.สภ.
ลงทะเบียนรับหนงั สือลาออกนน้ั และใหเ ลขานกุ าร กต.ตร.สน./กต.ตร.สภ. รายงานประธาน กต.ตร.
สน./กต.ตร.สภ. และ กต.ตร.สน./กต.ตร.สภ.ตอ ไป

๖.๒.๔ กรณพี น จากตาํ แหนง กอ นวาระ ใหด าํ เนนิ การสรรหาและแตง ตง้ั บคุ คลเปน
กรรมการแทน เวน แตว าระการดาํ รงตาํ แหนง เหลอื ไมถ งึ เกา สบิ วนั จะไมส รรหาและแตง ตง้ั แทนกไ็ ด และ
กรรมการผูทรงคุณวุฒิหรือประชาชนซึ่งไดรับการแตงต้ังใหดํารงตําแหนงแทนอยูในตําแหนงเพียงเทา
วาระทีเ่ หลืออยขู องผูทีต่ นแทน

÷. ¡ÒûÃЪÁØ áÅÐŧÁμÔ

÷.ñ ͧ¤»ÃЪÁØ
๗.๑.๑ การประชุมของ กต.ตร.กทม. กต.ตร.จังหวัด กต.ตร.สน./สภ. ตองมี

กรรมการมาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการท้ังหมด (รวมท้ังประธานกรรมการดวย)
จงึ ครบองคประชมุ

๗.๑.๒ กรณีกรรมการโดยตําแหนงไมสามารถเขาประชุมได สามารถมอบหมาย
เปนลายลักษณอักษรใหผูดํารงตําแหนงระดับรองเขาประชุมแทนได แตกรรมการผูทรงคุณวุฒิ
และประชาชนไมส ามารถมอบหมายผอู ่ืนเขาประชุมแทนได เน่อื งจากเปนกรรมการเฉพาะตัว

÷.ò »Ãиҹ·èÕ»ÃЪÁØ
๗.๒.๑ กรณีประธานกรรมการไมมาประชุมหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ไดให

รองประธานกรรมการเปน ประธานในทป่ี ระชมุ สาํ หรบั กต.ตร.กทม. และ กต.ตร.จงั หวดั มรี องประธาน
หลายคนซึ่งไดจัดลําดับไวแลว ก็ใหรองประธานคนท่ีหนึ่งเปนประธานที่ประชุม ถาไมมาหรือไมอาจ
ปฏิบัติหนา ที่ไดก ็ใหร องประธานลําดบั ถัดไปเปน ประธานทปี่ ระชุม

๗.๒.๒ ถาประธานกรรมการและรองประธานกรรมการไมมาประชุมหรือไมอาจ
ปฏบิ ตั ิหนา ท่ีไดใ หกรรมการทม่ี าประชุมเลือกกรรมการคนใดคนหนง่ึ เปน ประธานทีป่ ระชุม

๑๔๔

÷.ó ÃÐàºÕÂºÇ¸Ô Õ¡ÒûÃЪØÁáÅСÒÃŧÁμÔ
ใหน าํ ขอ บงั คบั ก.ต.ช.วา ดว ยการประชมุ และการลงมตขิ อง ก.ต.ช. และ ของ อ.ก.ต.ช.

มาใชบงั คับโดยอนุโลม
÷.ô กํา˹´ÃÐÂÐàÇÅÒ¡ÒûÃЪÁØ
๗.๔.๑ กต.ตร.กทม. และ กต.ตร.จงั หวดั
ใหมีการประชมุ อยางนอยสามเดือนตอหน่งึ คร้งั
๗.๔.๒ กต.ตร.สน. และ กต.ตร.สภ.
ใหมีการประชมุ อยางนอ ยสองเดือนตอหนง่ึ คร้งั

ø. ºμÑ ÃáÊ´§μ¹ ¡μ.μÃ.¡·Á. ¡μ.μÃ.¨§Ñ ËÇÑ´ ¡μ.μÃ.ʹ. áÅÐ ¡μ.μÃ.ÊÀ.

ø.ñ ÇμÑ ¶Ø»ÃÐʧ¤
บัตรแสดงตนตามระเบียบนี้ จัดใหมีขึ้นเพื่อใหประธานกรรมการและกรรมการ

กต.ตร.กทม. กต.ตร.จังหวัด กต.ตร.สน. และ กต.ตร.สภ. ใชแ สดงในขณะเมือ่ ดํารงตาํ แหนงอยู ทง้ั นี้
เพอ่ื ความสะดวกในการตดิ ตอ ประสานงานกับหนวยงานตางๆ ในสาํ นักงานตํารวจแหงชาติ

ø.ò ÇÔ¸Õ¡ÒÃÍÍ¡ºμÑ Ã
กระบวนการ ขน้ั ตอน วธิ กี ารออกบตั รไดก าํ หนดไวใ นประกาศสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ

เรือ่ ง กําหนดรปู แบบ ขน้ั ตอน และวิธีการออกบัตรแสดงตน กต.ตร.กทม. กต.ตร.จงั หวดั กต.ตร.สน.
และ กต.ตร.สภ. ดังนี้

๘.๒.๑ การดาํ เนนิ การออกบตั รประจําตวั กต.ตร.กทม. และ กต.ตร.จงั หวัด

¬π◊Ë §”¢Õ¡∫’ μ— √ ºâŸ¡’ ‘∑∏‘
æ√âÕ¡√Ÿª∂à“¬

μ√«® Õ∫§«“¡∂Ÿ°μâÕß·≈â« ▼ ▼ ≈ß∑–‡∫’¬π§«∫§ÿ¡‡≈¢∑Ë’∫—μ√
𔇠πÕª√–∏“πœ ‡æÕË◊ Õπ¡ÿ μ— ‘ ª√–∑—∫μ√“ ≈߇≈¢∑’Ë∫—μ√
§”¢Õ¡∫’ μ— √·≈–≈ßπ“¡„π∫μ— √ ‡≈¢“πÿ°“√ °μ.μ√.°∑¡./ «—πÕÕ°∫μ— √ ·≈–«—πÀ¡¥Õ“¬ÿ
®—ßÀ«—¥ ¡Õ∫∫—μ√∑’Ë¥”‡π‘π°“√‡ √Á®
·≈â«„Àâ°—∫‡®“â ¢Õß∫μ— √

Õπ¡ÿ μ— §‘ ”¢Õ¡∫’ μ— √
ª√–∏“π °μ.μ√.°∑¡./®ß— À«—¥ ·≈–≈ßπ“¡„π∫—μ√

๑๔๕

๘.๒.๒ การดําเนินการออกบตั รประจาํ ตัว กต.ตร.สน. และ กต.ตร.สภ.

¬π◊Ë §”¢Õ¡∫’ —μ√ ºŸâ¡’ ‘∑∏‘
æ√âÕ¡√Ÿª∂à“¬

μ√«® Õ∫ ▼ ▼ ≈ ß ∑ – ‡ ∫’ ¬ π § « ∫ §ÿ ¡ ° “ √
§«“¡∂Ÿ°μâÕß ▼ ®“à ¬∫μ— √ ¡Õ∫∫μ— √∑¥’Ë ”‡ππ‘ °“√
‡≈¢“πÿ°“√ °μ.μ√. π./ ¿.▼ ‡ √®Á ·≈â«„Àâ°—∫‡®“â ¢Õß∫—μ√
√«∫√«¡π” à߇æ◊ËÕ
¥”‡ππ‘ °“√ÕÕ°∫μ— √ ▼

À«— Àπâ“ ∂“πμ’ ”√«®

μ√«® Õ∫§«“¡∂Ÿ°μâÕß·≈â« ▼ ≈ß∑–‡∫’¬π§«∫§ÿ¡‡≈¢∑Ë’∫—μ√
𔇠πÕª√–∏“πœ ‡æÕ◊Ë Õπ¡ÿ μ— ‘ ª√–∑—∫μ√“ ≈߇≈¢∑∫’Ë —μ√ «—π
§”¢Õ¡∫’ μ— √·≈–≈ßπ“¡„π∫μ— √ ‡≈¢“π°ÿ “√ °μ.μ√.°∑¡./®ß— À«¥— ÕÕ°∫μ— √·≈–«—πÀ¡¥Õ“¬ÿ

▼ Õπ¡ÿ μ— §‘ ”¢Õ¡∫’ μ— √
·≈–≈ßπ“¡„π∫—μ√
ª√–∏“π °μ.μ√.°∑¡./®ß— À«—¥

๑๔๖

ÃÐàºÂÕ º ¡.μ.ª.

Ç‹Ò´ÇŒ ¡ÒÃÃºÑ คําÃÍŒ §àÃÂÕ ¹ËÃÍ× ¢ŒÍàʹÍá¹Ð¢Í§»ÃЪҪ¹
¾.È.òõôù

----------------
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๘(๑) และ (๖) แหงพระราชบัญญัติตํารวจแหงชาติ
พ.ศ.๒๕๔๗ และมติ ก.ต.ช. ในการประชุมคร้ังที่ ๖/๒๕๔๘ เม่ือวันที่ ๒๖ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๘
จึงออกระเบียบ ก.ต.ช. เพื่อวางแนวทางปฏิบัติเม่ือมีการรองเรียนหรือมีขอเสนอแนะตอ ก.ต.ช.
กต.ตร.กทม. กต.ตร.จังหวัด หรอื กต.ตร.สถานตี ํารวจ ไวด ังตอไปน้ี
ขอ ๑ ระเบียบนีเ้ รยี กวา “ระเบยี บ ก.ต.ช. วาดวยการรับคํารองเรียนหรอื ขอเสนอแนะ
ของประชาชน พ.ศ.๒๕๔๙”
ขอ ๒ ระเบียบนใี้ หใ ชบงั คับตัง้ แตวนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน ตนไป
ขอ ๓ ในระเบียบนี้
“กต.ตร.กทม.” หมายความวา คณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการบรหิ ารงานตาํ รวจ
กรงุ เทพมหานคร
“กต.ตร.จงั หวดั ” หมายความวา คณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการบรหิ ารงานตาํ รวจ
จงั หวดั
“กต.ตร.สถานตี าํ รวจ” หมายความวา คณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการบรหิ ารงาน
ตาํ รวจสถานีตํารวจนครบาล และสถานตี ํารวจภธู ร
“ผรู อ งเรยี น” หมายความวา ผทู ไี่ ดร บั ความเดอื ดรอ นหรอื ความเสยี หาย หรอื อาจจะเดอื ดรอ น
หรอื เสยี หายโดยมอิ าจหลกี เลยี่ งได หรอื เปน ผพู บเหน็ ความเดอื ดรอ นหรอื ความเสยี หาย อนั เนอ่ื งมาจาก
การกระทําหรอื พฤตกิ ารณข องขาราชการตํารวจ
“คํารองเรียน” หมายความวา คํารองเรียนของประชาชนเก่ียวกับการปฏิบัติงานของ
ขาราชการตํารวจที่ไดย่ืน หรือสงตอ ก.ต.ช. กต.ตร.กทม. กต.ตร.จังหวัด หรือ กต.ตร.สถานีตํารวจ
และใหหมายความรวมถึงคํารองเรียนท่ีไดย่ืนหรือสงตอประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ
และกรรมการใน ก.ต.ช. กต.ตร.กทม. กต.ตร.จังหวัด หรือ กต.ตร.สถานีตํารวจ และคํารองเรียน
ทไ่ี ดยืน่ หรอื สง เพอื่ แกไขเพม่ิ เตมิ คํารอ งเรยี นเดมิ โดยมีประเด็นหรือขอ เท็จจรงิ ขน้ึ ใหมด ว ย
“ขอเสนอแนะ” หมายความวา ขอคิดเห็นเชิงแนะนําที่เสนอเพื่อพิจารณาเกี่ยวกับ
การบรหิ ารงานตาํ รวจ หรอื การปฏบิ ตั งิ านของขา ราชการตาํ รวจทไ่ี ดย นื่ หรอื สง ตอ ก.ต.ช. กต.ตร.กทม.
กต.ตร.จังหวัด หรือ กต.ตร.สถานีตํารวจ และใหหมายความรวมถึงขอเสนอแนะท่ีไดย่ืนหรือสงตอ
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการ ใน ก.ต.ช. กต.ตร.กทม. กต.ตร.จังหวัด
หรือ กต.ตร.สถานีตาํ รวจ

๑๔๗

“กฎหมาย” หมายความรวมถงึ กฎ ระเบียบ ขอบงั คบั คําสั่ง และมติคณะรัฐมนตรี
“หนว ยงานในความรบั ผดิ ชอบ” สําหรบั ก.ต.ช. หมายความวา สาํ นกั งานตํารวจแหงชาติ
กต.ตร.กทม. หมายความวา กองบัญชาการตาํ รวจนครบาล กต.ตร.จงั หวดั หมายความวา ตํารวจภูธร
จังหวดั และ กต.ตร.สถานีตาํ รวจ หมายความวา สถานีตํารวจนครบาลหรือสถานีตํารวจภธู ร น้ันๆ
“ผูบังคับบัญชาตนสังกัด” สําหรับ ก.ต.ช. หมายความวา ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ
กต.ตร.กทม. หมายความวา ผูบญั ชาการกองบัญชาการตาํ รวจนครบาล กต.ตร.จงั หวดั หมายความวา
ผูบงั คับการตํารวจภธู รจังหวัด และ กต.ตร.สถานีตํารวจ หมายความวา หวั หนาสถานตี าํ รวจนครบาล
หรือสถานีตาํ รวจภูธรน้ันๆ
ขอ ๔ ใหผูบัญชาการตํารวจแหงชาติรักษาการตามระเบียบนี้ และใหมีอํานาจวินิจฉัย
ปญหาตคี วามเกีย่ วกับการปฏบิ ัติ รวมทง้ั กาํ หนดแนวทางปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บนี้

หมวด ๑
บททัว่ ไป
_____________
ขอ ๕ ผูรองเรียนหรือผูเสนอแนะอาจนําคํารองเรียนหรือขอเสนอแนะมาย่ืนดวยตน
เองมอบใหผ อู น่ื มายนื่ แทน สง ทางไปรษณยี  โทรสาร สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส หรอื โดยวธิ กี ารอน่ื ใดท่ี ก.ต.ช.
กต.ตร.กทม. กต.ตร.จังหวดั หรอื กต.ตร.สถานีตํารวจ กําหนดขึน้ ตามท่ีเหน็ สมควรแลวแตกรณี
ให ก.ต.ช. กต.ตร.กทม. กต.ตร.จงั หวดั หรือ กต.ตร.สถานตี ํารวจ แลวแตก รณีรบั คาํ รอง
เรียนหรือขอเสนอแนะที่สวนราชการอ่ืนแจงใหทราบไวพิจารณา หากเห็นวา มีลักษณะตามขอ ๙
และหรอื ขอ ๑๓ แลว แตก รณี
ขอ ๖ ก.ต.ช. กต.ตร.กทม. กต.ตร.จงั หวดั และ กต.ตร.สถานตี าํ รวจ อาจพจิ ารณาแตง ตงั้
คณะอนุกรรมการกลั่นกรองคํารองเรยี นหรอื ขอเสนอแนะ แลวแตก รณี
ขอ ๗ เมอ่ื ไดร ับคาํ รองเรยี นหรือขอ เสนอแนะให เลขานุการ ใน ก.ต.ช. กต.ตร.กทม.
กต.ตร.จงั หวดั หรอื กต.ตร.สถานตี าํ รวจ แลว แตก รณี สง คาํ รอ งเรยี นหรอื ขอ เสนอแนะใหค ณะอนกุ รรมการ
กลั่นกรองคํารองเรียนหรือขอเสนอแนะ หรือพิจารณานําเสนอ ก.ต.ช. กต.ตร.กทม. กต.ตร.จังหวัด
หรือ กต.ตร.สถานีตํารวจ เพ่ือดําเนินการโดยมิชักชา และแจงใหผูรองเรียนทราบภายใน ๑๕ วัน
นับแตไดร ับคาํ รอ งเรียน
คํารองเรียนหรือขอเสนอแนะเก่ียวกับการบริหารงานตํารวจ หรือการปฏิบัติงาน
ของขา ราชการตาํ รวจนอกสงั กดั หนว ยงานในความรบั ผดิ ชอบ ใหส ง คาํ รอ งเรยี นหรอื ขอ เสนอแนะนน้ั ไป
ยงั เลขานกุ ารใน ก.ต.ช. กต.ตร.กทม. กต.ตร.จงั หวัด หรอื กต.ตร.สถานีตาํ รวจ ท่รี บั ผดิ ชอบหนวยงาน
น้นั ดําเนนิ การตามระเบียบน้ี

๑๔๘

ก.ต.ช. กต.ตร.กทม. กต.ตร.จงั หวดั หรอื กต.ตร.สถานตี าํ รวจ อาจมอบหมายใหห นว ยงานใด
หรือผใู ดผูหนึ่งในความรับผดิ ชอบทําการตรวจสอบขอเทจ็ จริงเบือ้ งตน ตามคาํ รอ งเรยี นกอ นได

ขอ ๘ วิธีการประชุมและการลงมติของคณะอนุกรรมการกล่ันกรองคํารองเรียน
หรือขอเสนอแนะใหนําขอบังคับ ก.ต.ช. วาดวยการประชุมและการลงมติของ ก.ต.ช. และของ
คณะอนกุ รรมการ ก.ต.ช. มาใชบังคบั โดยอนุโลม

หมวด ๒
คํารองเรียน
_____________
ขอ ๙ คํารอ งเรยี นทจี่ ะรับไวพ ิจารณามลี กั ษณะดงั ตอ ไปน้ี
(๑) เปนเร่ืองที่ผูรองเรียนไดรับความเดือดรอนหรือความเสียหาย หรืออาจจะ
เดือดรอนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได หรือเปนผูพบเห็นความเดือดรอนหรือความเสียหาย
และความเดอื ดรอ นหรอื ความเสยี หายนน้ั เนอ่ื งมาจากการกระทาํ หรอื พฤตกิ ารณข องขา ราชการตาํ รวจ
ดงั ตอไปนี้
(ก) ละเลยตอหนาท่ีตามกฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติหรือปฏิบัติหนาท่ี
ดังกลาวลา ชาเกนิ สมควร
(ข) กระทําการนอกเหนืออํานาจหนาที่ ขัดหรือไมถูกตองตามกฎหมาย
หรอื มลี ักษณะเปนการเลอื กปฏบิ ัติ หรอื เปน การสรางภาระแกป ระชาชนโดยไมจ าํ เปน
(ค) กระทาํ การไมถ กู ตอ งตามขน้ั ตอนอนั เปน สาระสาํ คญั ทกี่ าํ หนดไวส าํ หรบั การนน้ั
หรือ
(ง) กระทาํ การโดยไมส ุจรติ หรือโดยไมมีเหตผุ ลอนั สมควร
(๒) กรณีอื่นๆ ท่ี ก.ต.ช. กต.ตร.กทม. กต.ตร.จังหวัด หรือ กต.ตร.สถานีตํารวจ
มีความเห็นใหร บั ไวพิจารณา
ขอ ๑๐ คาํ รองเรียนใดมีลกั ษณะเปนบัตรสนเทห ม ใิ หรับไวพ ิจารณา เวนแต คาํ รอ งเรยี น
นน้ั ระบขุ อ เทจ็ จรงิ พยานหลกั ฐานกรณแี วดลอ ม และหรอื ระบพุ ยานบคุ คล พยานวตั ถหุ รอื พยานเอกสาร
ชี้แนะแนวทางเพียงพอท่ีจะดําเนนิ การสบื สวนได
ขอ ๑๑ คณะอนกุ รรมการกล่นั กรองคาํ รองเรยี นตามขอ ๖ มอี ํานาจหนา ที่ ดังตอไปน้ี
(๑) พิจารณากล่ันกรองคํารองเรียนตามลักษณะขอ ๙ หรือขอ ๑๐ เพ่ือสงให
ผบู ญั ชาการตน สงั กดั พจิ ารณาสงั่ การใหม กี ารสบื สวนขอ เทจ็ จรงิ หรอื ดาํ เนนิ การอยา งใดอยา งหนง่ึ ตาม
ข้นั ตอนของกฎหมาย
(๒) ตรวจสอบและตดิ ตามผลการดาํ เนนิ การของผบู งั คบั บญั ชาตน สงั กดั ใหเ ปน ไปตาม
ขนั้ ตอนของกฎหมาย ในการนอี้ าจเรยี กผบู งั คบั บญั ชาตน สงั กดั หรอื ผแู ทนทร่ี บั ผดิ ชอบมาใหข อ มลู หรอื
ชีแ้ จงผลการดําเนนิ การตามคํารองเรยี นได

๑๔๙

(๓) กรณีตรวจสอบพบการดําเนินการของผูบังคับบัญชาตนสังกัดไมเปนไปตาม
ขนั้ ตอนของกฎหมายใหเ สนอความเหน็ ตอ ก.ต.ช. กต.ตร.กทม. กต.ตร.จงั หวดั หรอื กต.ตร.สถานตี าํ รวจ
แลว แตกรณี เพอ่ื พจิ ารณาดาํ เนนิ การใหม ีการปฏิบตั ใิ หเปน ไปตามขัน้ ตอนของกฎหมาย

(๔) ควบคมุ ใหม กี ารเกบ็ รวบรวมขอ มลู คาํ รอ งเรยี นเปน สถติ สิ าํ หรบั ศกึ ษา เพอื่ ใชเ ปน
แนวทางในการแกไ ขปญ หาหรอื ปรบั ปรงุ การปฏบิ ตั งิ านของขา ราชการตาํ รวจ รวมทงั้ จดั ใหม กี ารรายงาน
ตอ สาธารณะทราบ

(๕) ดาํ เนนิ การอื่นๆ ตามท่ี ก.ต.ช. กต.ตร.กทม. กต.ตร.จงั หวัด หรือ กต.ตร.สถานี
ตํารวจมอบหมาย

ขอ ๑๒ การดําเนินการและระยะเวลาในการดําเนินการเกี่ยวกับคํารองเรียน
ใหผ บู งั คบั บญั ชาตน สงั กดั ถอื ปฏบิ ตั ติ าม กฎ ก.ตร. วา ดว ยการสบื สวนขอ เทจ็ จรงิ และกฎหมายทเี่ กยี่ วขอ ง

หมวด ๓
ขอ เสนอแนะ
_____________
ขอ ๑๓ ขอ เสนอแนะทีจ่ ะรบั ไวพิจารณามีลกั ษณะดังตอ ไปนี้
(๑) เปน เรอ่ื งทนี่ า จะเปน ประโยชนต อ การพฒั นาขา ราชการตาํ รวจ ระบบการบรหิ าร
งานตาํ รวจหรอื ประการอน่ื ๆ อันเปน ประโยชนตอสาธารณะ
(๒) เปนเรื่องการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจ หรือระบบการบริหารงานตํารวจ
ทส่ี มควรแกการยกยอ งชมเชย หรือเหมาะสมท่จี ะนาํ ไปใชเปน แบบอยา งในการปฏบิ ตั ิงาน
(๓) กรณีอื่นๆ ท่ี ก.ต.ช. กต.ตร.กทม. กต.ตร.จังหวัด หรือ กต.ตร.สถานีตํารวจ
มคี วามเห็นใหร บั ไวพ จิ ารณา
ขอ ๑๔ คณะอนกุ รรมการกล่นั กรองขอ เสนอแนะตามขอ ๖ มีอาํ นาจหนาทีด่ งั ตอไปน้ี
(๑) พิจารณากล่นั กรองขอ เสนอแนะตามลักษณะขอ ๑๓ เสนอความเห็นตอ ก.ต.ช.
กต.ตร.กทม. กต.ตร.จังหวัด หรือ กต.ตร.สถานีตํารวจ แลวแตกรณี เพ่ือใหขอเสนอแนะหนวยงาน
ในความรับผดิ ชอบพจิ ารณาดําเนินการ
(๒) ติดตามผลการดําเนนิ การ ตาม (๑) และรายงานผลการดําเนินการในเร่อื งท่เี ห็น
วา มคี วามสําคญั และหรอื เปนเรอื่ งที่นาสนใจของประชาชน ตอ ก.ต.ช. กต.ตร.กทม. กต.ตร.จังหวัด
หรือ กต.ตร.สถานีตํารวจ แลว แตกรณี
(๓) ควบคมุ ใหม กี ารเกบ็ รวบรวมขอ มลู ขอ เสนอแนะเปน สถติ สิ าํ หรบั ศกึ ษาเพอ่ื ใชเ ปน
แนวทางในการแกไ ขปญ หาหรอื ปรบั ปรงุ การปฏบิ ตั งิ านของขา ราชการตาํ รวจ รวมทง้ั จดั ใหม กี ารนาํ เสนอ
ตอ สาธารณะดวย

๑๕๐

(๔) ดําเนินการอืน่ ๆ ตามที่ ก.ต.ช. กต.ตร.กทม. กต.ตร.จงั หวัด หรอื กต.ตร.สถานี
ตํารวจมอบหมาย

ขอ ๑๕ กรณขี อเสนอแนะที่มลี กั ษณะตามขอ ๑๓ (๑) นอกจากพิจารณาใหขอเสนอแนะ
หนวยงานในความรับผิดชอบดําเนนิ การแลว ก.ต.ช. กต.ตร.กทม. กต.ตร.จังหวดั หรือ กต.ตร.สถานี
ตาํ รวจแลวแตก รณี อาจจัดใหม ีการประกาศชมเชย หรือใหรางวัลตอผเู สนอแนะตามความเหมาะสม

กรณขี อ เสนอแนะทม่ี ลี กั ษณะตามขอ ๑๓(๒) ใหห นวยงานในความรบั ผดิ ชอบจดั ใหมีการ
ประกาศชมเชย ใหม รี างวัล หรือพจิ ารณาบาํ เหนจ็ ความชอบตามควรแกก รณี

หมวด ๔
การรายงาน
_____________
ขอ ๑๖ ใหหนวยงานในความรับผิดชอบ แจงผลการรองเรียนใหกับผูรองเรียนหรือ
สว นราชการทสี่ ง คาํ รอ งเรยี นมาใหน นั้ ทราบ พรอ มรายงานผลการรอ งเรยี นในเรอ่ื งนนั้ ๆ ไปยงั อนกุ รรมการ
กล่นั กรองคาํ รอ งเรยี น หรอื ก.ต.ช. กต.ตร.กทม. กต.ตร.จังหวัด หรอื กต.ตร.สถานีตํารวจ แลว แตกรณี
เพ่อื ตรวจสอบผลการดําเนินการโดยมชิ กั ชา ภายใน ๑๕ วัน
ขอ ๑๗ ใหหนวยงานในความรับผิดชอบ รายงานผลการพิจารณาดําเนินการตาม
ขอเสนอแนะให ก.ต.ช. กต.ตร.กทม. กต.ตร.จังหวดั หรือ กต.ตร.สถานีตาํ รวจ แลว แตกรณีทราบ
ขอ ๑๘ ให กต.ตร.กทม. กต.ตร.จังหวัด หรอื กต.ตร.สถานีตํารวจ แลวแตก รณี รายงาน
เกี่ยวกับการรับคํารองเรียนและหรือการรับขอเสนอแนะ การดําเนินการ และผลการดําเนินการ
ดังกลาวรวมท้ังแนวทางหรือกิจกรรมที่จะดําเนินการตอไป โดยใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารตามทีส่ ํานักงานตาํ รวจแหง ชาตกิ ําหนด
ประกาศ ณ วันที่ ๓๐ มกราคม พ.ศ.๒๕๔๙
พนั ตํารวจโท ทกั ษณิ ชินวัตร
นายกรฐั มนตรี
ประธานกรรมการนโยบายตาํ รวจแหง ชาติ

๑๕๑

ÃÐàºÂÕ ºสาํ ¹¡Ñ §Ò¹ตําÃǨáË‹§ªÒμÔ

ÇÒ‹ ´ÇŒ ¡ÒÃʧ‹ àÊÃÁÔ ãË»Œ ÃЪҪ¹ ªÁØ ª¹ ·ÍŒ §¶¹Ôè áÅÐͧ¤¡ ÃÁÊÕ Ç‹ ¹ÃÇ‹ Á㹡¨Ô ¡ÒÃตาํ ÃǨ
¾.È.òõõñ

ตามพระราชบัญญัติตํารวจแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ มาตรา ๗ และมาตรา ๑๘(๑)
และมติคณะกรรมการนโยบายตํารวจแหงชาติในการประชุมครั้งที่ ๖/๒๕๔๘ เมื่อวันที่ ๒๖ ตุลาคม
๒๕๔๘ ไดออกระเบียบ ก.ต.ช. วา ดวยหลกั เกณฑและวิธกี ารสงเสรมิ ใหท องถนิ่ และชุมชนมสี ว นรว ม
ในกิจการตาํ รวจ พ.ศ.๒๕๔๙ ไปแลวน้ัน

เพอ่ื ใหการสงเสริมใหป ระชาชน ชุมชนและทองถนิ่ มสี วนรวมในกจิ การตํารวจเปนไปดว ย
ความเรยี บรอ ยและมปี ระสทิ ธภิ าพ อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๑๑(๔) แหง พระราชบญั ญตั ติ าํ รวจ
แหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ จึงออกระเบียบสาํ นกั งานตาํ รวจแหงชาติ ดงั ตอ ไปนี้

¢ŒÍ ñ ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบสํานักงานตํารวจแหงชาติ วาดวยการสงเสริม
ใหประชาชน ชุมชน ทอ งถิ่น และองคก รมีสว นรวมในกิจการตํารวจ พ.ศ.๒๕๕๑”

¢ÍŒ ò ระเบยี บนีใ้ หใ ชบังคบั ตง้ั แตว ันประกาศเปน ตน ไป
¢ÍŒ ó ใหผูบัญชาการตํารวจแหงชาติรักษาการตามระเบียบนี้ และใหมีอํานาจในการ
วนิ จิ ฉยั และช้ีขาดปญหาเกยี่ วกับการดําเนนิ การตามระเบยี บนี้
¢ŒÍ ô ในระเบียบน้ี

“การสงเสริม” หมายความวา การริเริ่ม ชักนํา ผลักดัน ใหกําลังใจ กระตุน
เชญิ ชวน และใหห มายรวมถึงการกระทําที่มีลักษณะคลา ยคลึงกนั นัน้ ดว ย

“ประชาชน” หมายความวา บคุ คลท่ีพาํ นกั หรอื เขามาทํางานในพ้นื ท่ี (ลกั ษณะ
ประชากรแฝง) รวมตลอดถงึ ชาวตา งชาติที่สมรสกับคนไทยและมีถ่นิ ทีอ่ ยูอาศยั ในประเทศไทย

“ชมุ ชน” หมายความวา การอยูรวมกัน การเกาะเกี่ยวกนั ของประชาชน
“ทอ งถนิ่ ” หมายความวา ชุมชนทมี่ กี ารบรหิ ารการจัดการ และการปกครอง
“องคกร” หมายถึง หนวยงานท้ังภาครัฐและภาคเอกชน ที่มีการรวมตัวกัน
เพอ่ื ดําเนนิ ภารกิจหรอื กิจกรรม อันนาํ ไปสูเปา หมายหรอื วตั ถปุ ระสงคท กี่ ําหนดไว
“เครือขายชุมชนลักษณะปฏิบัติการ” หมายความวา การเขามามีสวนรวม
ในกิจการตํารวจของประชาชนในลักษณะของการเปดเผยแสดงตัว มีการกําหนดใหแตงเคร่ืองแบบ
ชดั เจน มีบตั รประจาํ ตัวสมาชิกและรหสั สมาชกิ


Click to View FlipBook Version