The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

17_CP21404_หลักการสื่อสารสร้างสัมพันธ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-07-21 07:22:27

17_CP21404_หลักการสื่อสารสร้างสัมพันธ์

17_CP21404_หลักการสื่อสารสร้างสัมพันธ์

๑๕๒

“เครือขายชุมชนลักษณะแนวรวม” หมายความวา การเขามามีสวนรวม
ในกิจการตํารวจของประชาชน ท้ังในลักษณะของการเปดเผยแสดงตัว หรือในลักษณะที่ไมตองการ
เปด เผยตวั โดยทไ่ี มต อ งกาํ หนดใหแ ตง เครอ่ื งแบบ อาจมหี รอื ไมม บี ตั รประจาํ ตวั สมาชกิ และรหสั สมาชกิ

“อาสาสมคั รตาํ รวจบา น” หมายความวา แนวรว มประชาชนทเี่ ขา มามสี ว นรว มใน
กจิ การตาํ รวจลกั ษณะปฏบิ ตั กิ าร เพอื่ การรกั ษาความสงบเรยี บรอ ยและปอ งกนั ปราบปรามอาชญากรรม

“อาสาจราจร” หมายความวา แนวรวมประชาชนที่เขามามีสวนรวมในกิจการ
ตํารวจลกั ษณะปฏบิ ัตกิ าร เพอ่ื สนบั สนนุ การจดั การจราจร

“กต.ตร.สน.” หมายความวา คณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการบรหิ ารงาน
ตํารวจสถานีตํารวจนครบาล ตามระเบียบ ก.ต.ช. วาดวยคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการ
บริหารงานตํารวจ

“กต.ตร.สภ.” หมายความวา คณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการบรหิ ารงาน
ตาํ รวจสถานตี าํ รวจภูธร ตามระเบียบ ก.ต.ช. วา ดวยคณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการบริหาร
งานตาํ รวจ

ËÁÇ´ ñ
¡ÒÃÁÕÊÇ‹ ¹Ã‹ÇÁ¢Í§»ÃЪҪ¹ ªÁØ ª¹ ·ŒÍ§¶èÔ¹áÅÐͧ¤¡ Ã㹡Ԩ¡ÒÃตาํ ÃǨ
¢ÍŒ õ รูปแบบการมีสว นรวม

(๑) การมสี ว นรว ม แบง เปน ๓ รูปแบบท่สี ําคัญ คอื
(๑.๑) การมสี ว นรวมของประชาชนท่วั ไป
(๑.๑.๑) เครอื ขา ยชุมชนลกั ษณะปฏิบัตกิ าร
(๑.๑.๒) เครือขา ยชุมชนลกั ษณะแนวรวม
(๑.๒) การมีสวนรว มขององคก ร ไดแ ก องคก รหรือมลู นิธติ างๆ
(๑.๓) การมีสว นรวมของพนักงานรกั ษาความปลอดภยั เอกชน

¢ŒÍ ö วัตถปุ ระสงค
(๑) เพ่ือสนับสนุนสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน ชุมชน ทองถิ่น

และองคกรในกิจการตํารวจ
(๒) เพอื่ กาํ หนด ปรบั และยกระดบั ลกั ษณะการมสี ว นรว มตา งๆ ใหเ ปน รปู แบบ

และมาตรฐานเดยี วกนั ทว่ั ประเทศ โดยเลือกใชร ูปแบบตามสถานการณ
(๓) เพ่ือเสนอใหการมีสวนรวมแตละรูปแบบ มีกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ

รองรบั อยางถกู ตอ ง

๑๕๓

(๔) เพ่ือใหการมีสวนรวมของสวนตางๆ ทั้ง ๓ รูปแบบ เปนเครือขายโยงใย
ซึง่ กนั และกนั สามารถสนับสนนุ และเก้อื กูลกันไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล

(๕) เพอ่ื ใหส ถานตี าํ รวจนาํ รปู แบบมาตรฐานทก่ี าํ หนดไวไ ปปรบั ใชใ หเ หมาะสม
ตามสภาพของสถานีตํารวจ

¢ÍŒ ÷ การมสี ว นรวมของประชาชนทว่ั ไป
เปน การแสวงหาความรวมมือจากประชาชนของสถานีตาํ รวจ แบง เปน ๒ สว น

ไดแ ก
(๑) เครอื ขา ยชมุ ชนลกั ษณะปฏบิ ตั กิ าร เปน การเขา มามสี ว นรว มของประชาชน

ในการรวมปฏิบัติกับตํารวจเพื่อปองกันปราบปรามอาชญากรรม รักษาความสงบเรียบรอยและรักษา
ความปลอดภัยใหแกชมุ ชนและทอ งถนิ่ ชว ยเหลอื และสนบั สนุนการจัดการจราจร รวมถึงการเขา รวม
ในการปอ งกันภยั ระงบั เหตแุ ละชวยเหลือหรอื กูภ ยั จากอุบัตภิ ยั ตา งๆ

(๒) เครือขายชุมชนลักษณะแนวรวม เปนการเขามามีสวนรวมในการสงเสริม
และสนับสนุนการปฏิบัตงิ านของเจา พนักงานตาํ รวจ

¢ŒÍ ø เครือขา ยชุมชนลกั ษณะปฏบิ ตั ิการ
(๑) วัตถปุ ระสงค
(๑.๑) เพอื่ แสวงหาความรว มมอื จากประชาชน/ชมุ ชน/ทอ งถนิ่ ใหม สี ว นรว ม

ในการปฏิบัติงานเพ่อื ปอ งกนั และปราบปรามอาชญากรรม คมุ ครองตนเองและชุมชน
(๑.๒) เพื่อเสริมสรางบทบาทของกลุมพลังในการรักษาความปลอดภัย

และความสงบเรยี บรอ ยของชุมชน/ทอ งถนิ่
(๒) ประเดน็ /ขอบเขตการดาํ เนินงาน
(๒.๑) อาสาสมัครตํารวจบา น
(๑) รูปแบบการจดั แนวรวมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร
เปนการแสวงหาความรวมมือจากประชาชนใหเขามารวม

ปฏิบัติกับเจาพนักงานตํารวจในการปองกันปราบปรามอาชญากรรม ยาเสพติด และอุบัติภัยตางๆ
รวมท้งั การตรวจตราของตาํ รวจสายตรวจ

(๒) กลุมเปา หมาย
(๒.๑) ประชาชนท่ัวไป ซึ่งมีภูมิลําเนาในเขตพื้นที่ของ

สถานีตาํ รวจ
(๒.๒) ผูนําชุมชน หรือผูนําทองถ่ิน และสมาชิกอาสาสมัคร

ปองกันภยั ฝายพลเรือน (อปพร.)
(๒.๓) บุคคลในสถาบันตางๆ ที่สมัครใจในการปฏิบัติหนาที่

และอุทิศเวลาใหกบั ชมุ ชนท่ตี นพักอาศัย หรือสามารถชวยเหลือทางราชการไดต ามสมควร

๑๕๔

(๓) บทบาทหนาทคี่ วามรับผิดชอบ
(๓.๑) เปน ผชู ว ยเหลอื เจา พนกั งานตาํ รวจตามประมวลกฎหมาย

วิธพี ิจารณาความอาญา
(๓.๒) เปนผูชวยเหลือเจาพนักงานตํารวจในการรักษา

ความสงบเรียบรอย การบรกิ ารและอาํ นวยความสะดวกดา นการจราจร
(๓.๓) แจงเหตุดวนเหตุราย ขอมูลอาชญากรรม เบาะแส

คนราย คดอี าญาทัว่ ไปและคดยี าเสพตดิ
(๓.๔) รวมกบั เจา หนา ที่ตํารวจตั้งจดุ ตรวจ จดุ สกัดในพืน้ ท่ี
(๓.๕) ประสานงานระหวางเจาหนาท่ีตํารวจกับผูนําชุมชน

ในหมบู า น รวมทัง้ เปน เครือขา ยของฝา ยเจา หนาท่ีตาํ รวจและเจาหนา ท่ีฝายปกครองในพื้นท่ี
(๓.๖) นอกเหนอื จาก (๓.๑) ถงึ (๓.๕) อํานาจในการจบั กมุ

ผูก ระทาํ ความผดิ ใหเปน ไปตามบทบญั ญัตแิ หง ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
(๔) วธิ /ี ขนั้ ตอนการดําเนนิ งาน
(๔.๑) ใหสถานีตาํ รวจรวมกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น

กาํ นัน ผูใหญบาน ผูนาํ ชุมชนคัดเลือกบุคคลท่ีสมัครใจเปนสมาชิกอาสาสมัครตํารวจบาน โดยใช
หลกั เกณฑก ารคัดเลอื กสมาชกิ หมูบา นละ ๕-๑๐ คน

(๔.๒) ใหสถานีตํารวจจัดทําโครงการฝกอบรมใหมีความรู
ทั้งภาคทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ัติ

(๔.๓) อาสาสมคั รตาํ รวจบา นทผ่ี า นการฝก อบรมทง้ั ภาคทฤษฎี
และภาคปฏบิ ตั ิ ใหห วั หนา สถานตี าํ รวจมอบวฒุ บิ ตั รและบตั รประจาํ ตวั อาสาสมคั รตาํ รวจบา นตามแบบ
ทายระเบยี บ พรอมทง้ั ออกคาํ สั่งแตง ต้งั เปน ผชู ว ยเหลือเจา พนกั งานตาํ รวจ

(๔.๔) ใหส ถานตี าํ รวจจดั ฝก ทบทวนในเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแกส มาชกิ
อาสาสมคั รตาํ รวจบา น ปล ะ ๑ ครงั้ และซกั ซอ มการปฏบิ ตั อิ ยา งตอ เนอ่ื งเพอื่ เปน ผชู ว ยเหลอื เจา พนกั งาน

(๔.๕) ใหสถานีตํารวจจัดทํารายงานผลการปฏิบัติงาน
และอุปสรรค ปญหา ขอ ขดั ของทุก ๖ เดือน

(๒.๒) อาสาจราจร
(๑) รปู แบบการจัดแนวรว มเชิงปฏบิ ัติการ
เปนการดําเนินการจัดกลุมเยาวชน ราษฎรอาสาสมัคร

ผแู ทนชุมชน หนวยงานเอกชน เปน ตน โดยผา นการฝกอบรมอาสาจราจรใหม ีความรูเ ก่ยี วกบั ระเบียบ
กฎหมายดา นการจราจร ทักษะและการใชรถใชถนนทถ่ี กู ตอง เพื่อรว มแกไขปญหาจราจร โดยใหเ ปน
ผูชวยเหลอื เจา พนกั งาน

๑๕๕

(๒) กลุมเปา หมาย
(๒.๑) เยาวชนจากสถานศึกษาในพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสถานี

ตํารวจ
(๒.๒) พนักงานรักษาความปลอดภัยเอกชนของบริษัท

หางรานตางๆ
(๒.๓) เจา หนา ที่อาสาสมัครปอ งกันภัยฝายพลเรอื น
(๒.๔) หนว ยสารวตั รทหารในพนื้ ทร่ี บั ผดิ ชอบของสถานตี าํ รวจ
(๒.๕) ผูน าํ ชุมชน หรือผูนําทอ งถิน่
(๒.๖) บุคคลที่สมัครใจในการปฏิบัติหนาท่ีและอุทิศเวลา

ใหแ ก ชุมชนทต่ี นพักอาศยั หรอื สามารถชว ยเหลอื ทางราชการไดต ามสมควร
(๓) บทบาทหนาที่ความรบั ผดิ ชอบ
เมอื่ เปน ผทู ผ่ี า นการฝก อบรมและทดสอบความรขู องหลกั สตู ร

อาสาจราจรแลว จะไดรับการพิจารณาแตง ตัง้ เปน อาสาจราจร โดยใหหนว ยงานหรือสถานตี าํ รวจเปน
ผูจ ดั การฝก อบรม จดั ทําทะเบียน ประวตั ิ กําหนดหมายเลขประจําตวั และทําหนา ท่ี ดังน้ี

(๓.๑) การตรวจ ควบคุม และการจัดการจราจรบริเวณที่มี
การจราจรติดขัด คับค่ัง ในกรณที เ่ี กิดเหตฉุ ุกเฉนิ หรอื กรณีพนักงานเจาหนาที่รอ งขอ เวนแตกรณีไมมี
พนักงานเจาหนาท่ีอยูใ นทีน่ ้ันก็สามารถปฏิบัตหิ นา ที่ไดโ ดยลําพงั

(๓.๒) ดูแล การหยุดรถ จอดรถ การขา มทาง ในบรเิ วณทีม่ ี
การฝา ฝน กฎหมายจนการจราจรไมส ะดวก เพื่อใหการจราจรมีความสะดวก และปลอดภยั

(๓.๓) ช้ีแจง ตักเตือน แนะนํา ตลอดจนประชาสัมพันธ
ใหผ ใู ชรถใชถนนทราบถึงระเบียบวิธกี ารทถี่ กู ตอ งและปฏิบัตติ ามวินยั จราจร

(๓.๔) รายงานการกระทําผิดของผูขับรถ การชํารุดเสียหาย
ขอ ขดั ขอ งของเครอ่ื งหมายและสญั ญาณจราจรใหเ จา หนา ทต่ี าํ รวจทราบเพอื่ ดาํ เนนิ การในขนั้ ตอนตอ ไป

(๓.๕) แจงอุบัติเหตุการจราจรใหพนักงานเจาหนาที่ทราบ
โดยมิชกั ชา

(๔) วธิ ี/ข้ันตอนการดาํ เนนิ งาน
(๔.๑) ใหสถานีตํารวจแตงต้ังคณะทํางานดําเนินการอาสา

จราจรประกอบดวย
(๔.๑.๑) ท่ีปรึกษา แบงเปน ๒ สวน คือ สวนกลาง

กรุงเทพมหานคร ไดแก ผูแทนสถาบันการศึกษา ผูแทนสํานักงานเขต ผูแทนผูประกอบธุรกิจ
กต.ตร.สน. สว นภมู ภิ าค ไดแ ก ผแู ทนนายอาํ เภอ นายกเทศมนตรี เทศบาล นายกองคก ารบรหิ ารสว นตาํ บล
ผูอ าํ นวยการสถานศึกษา ภาคเอกชน กต.ตร.สภ.

๑๕๖

(๔.๑.๒) คณะทาํ งาน ไดแ ก เจา หนา ทตี่ าํ รวจผปู ฏบิ ตั งิ าน
จราจรประชาชนในพน้ื ที่ และอาสาจราจร

(๔.๒) ใหสถานีตํารวจศึกษาขอมูล จัดประชุมคณะทํางาน
เพ่อื วางแผนกําหนดแนวทางดาํ เนนิ การ ระยะเวลาการดาํ เนินการ และการประเมินผล

(๔.๓) ใหส ถานตี ํารวจฝกอบรมอาสาจราจร
(๔.๔) ใหสถานีตํารวจจัดทําบัตรประจําตัวอาสาจราจรตาม
แบบทายระเบยี บ
(๔.๕) ใหสถานีตํารวจจัดทํารายงานผลการปฏิบัติงาน และ
อุปสรรค ปญหา ขอขดั ขอ งทกุ ๖ เดือน
¢ŒÍ ù เครอื ขายชมุ ชนลกั ษณะแนวรว ม
(๑) วัตถปุ ระสงค
(๑.๑) เพื่อแสวงหาความรวมมือจากประชาชน/ชุมชน/ทองถ่ิน
โดยการเขาถึงประชาชน สรา งศรัทธา ใหความรู และนาํ วิธีการปฏบิ ัติ
(๑.๒) เพอื่ เสรมิ สรา งความรว มมอื ในการปอ งกนั ปราบปรามอาชญากรรม
การปอ งกันตัวเองของประชาชน และการปองกันอบุ ตั ิภัย
(๒) ประเดน็ /ขอบเขตการดําเนนิ งาน
(๒.๑) รปู แบบลักษณะแนวรวม
เปนการแสวงหาความรวมมือจากประชาชนในพื้นที่ท่ีรับผิดชอบ
เชน ตั้งเครือขายเพื่อติดตอส่ือสารระหวางสมาชิกเพื่อแจงขาวอาชญากรรม การสรางชุมชนเขมแข็ง
และความรว มมอื ในลกั ษณะเพ่อื นบานเตอื นภยั เปน ตน
(๒.๒) กลมุ เปาหมาย
(๒.๒.๑) ประชาชนทัว่ ไป ทพี่ กั อาศยั ในเขตพ้ืนท่ีของสถานตี ํารวจ
หรือ พื้นท่ใี กลเคยี ง หรือประกอบอาชพี ในพน้ื ทสี่ ถานีตํารวจ
(๒.๒.๒) ผูน าํ /กรรมการชุมชน หรือผูนํา/กรรมการทองถนิ่
(๒.๒.๓) นักเรยี น นสิ ิต นักศกึ ษา พนักงานรฐั วิสาหกจิ ทสี่ มคั รใจ
พรอมที่จะเขารวมกิจกรรมของตํารวจเพ่ือปองกันชุมชน/ทองถ่ินของตนเองใหปราศจากอาชญากรรม
และยาเสพตดิ
(๒.๒.๔) พนกั งานรกั ษาความปลอดภยั เอกชน
(๒.๒.๕) ผขู ับขีร่ ถยนตส าธารณะและรถจักรยานยนตร ับจา ง
(๒.๓) บทบาทหนา ท่ีความรับผดิ ชอบ
(๒.๓.๑) ผูผ า นการอบรมเปน แกนนําใหคําปรึกษา ใหความรูด าน
ตางๆ แกประชาชนในพืน้ ท่ีทีพ่ ักอาศยั หรือประกอบอาชพี

๑๕๗

(๒.๓.๒) เปนตัวแทนในการประชาสัมพันธ ขอความรวมมือจาก
ชมุ ชน/ทองถ่นิ

(๒.๓.๓) จดั ขอ มลู เบอื้ งตน ของชมุ ชน/ทอ งถนิ่ เกย่ี วกบั พฤตกิ ารณ
ของบุคคลในพ้ืนที่ เพื่อใชป ระกอบการปฏิบตั งิ านรวมกบั เจาหนา ทีต่ ํารวจ

(๒.๓.๔) แจงขอมูลเบาะแส ขาวสารเก่ียวกับอาชญากรรม
ยาเสพติดและอุบัติภยั

(๒.๔) วิธี/ข้นั ตอนการดําเนินงาน
(๒.๔.๑) กต.ตร.สน./สภ. พิจารณาคัดเลือกผูเขารับการฝกอบรม

โดยมที ่ีปรกึ ษา แบงเปน ๒ สว น คอื สว นกลาง กรงุ เทพมหานคร ไดแก ผแู ทนสาํ นักงานเขต ผูแทน
สถาบนั การศกึ ษา หวั หนา สถานตี าํ รวจ กต.ตร.สน. สว นภมู ิภาค ไดแ ก ผูแ ทนฝา ยปกครอง หวั หนา
สถานีตํารวจ ผบู รหิ ารองคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ ผแู ทนภาครฐั กต.ตร.สภ. และเอกชน

(๒.๔.๒) ใหส ถานตี าํ รวจประชมุ วางแผนรว มกบั ผนู าํ ชมุ ชน/ทอ งถน่ิ
ประชาชน และกลมุ เปาหมายเครือขายชุมชนลกั ษณะแนวรวม

(๒.๔.๓) ใหสถานีตํารวจจัดใหมีการฝกอบรมสมาชิกอาสาสมัคร
แนวรวม

(๒.๔.๔) ใหส ถานตี าํ รวจจดั ทาํ ประวตั สิ มาชกิ อาสาสมคั รแนวรว ม
ออกบัตรหมายเลขสมาชกิ บนั ทึกผลงาน ควบคมุ การตอ อายุ การเปลยี่ นแปลงบตั ร

(๒.๔.๕) ใหสถานีตํารวจกําหนดระบบและแนวทางการประสาน
งานระหวางสมาชกิ อาสาสมคั รแนวรวมกับเจาหนาทตี่ าํ รวจ

(๒.๔.๖) ใหสถานีตํารวจควบคุม และติดตามผลการปฏิบัติงาน
ของสมาชกิ อาสาสมัครแนวรว มท้ังในและนอกพื้นที่รบั ผิดชอบของสถานีตาํ รวจ

¢ŒÍ ñð การมสี วนรวมขององคกร
เปนการประสานงาน ชวยเหลือหรือสนับสนุนการปฏิบัติหนาที่แกเจาหนาท่ี

ตาํ รวจ ขององคกรหรือมลู นิธิ ประกอบดวย องคกร ไดแก ศูนยกชู พี นเรนทร หนวยกูภยั หรอื บรรเทา
สาธารณภัยอาสาสมคั รปอ งกนั ฝายพลเรอื น เปนตน มูลนธิ ิ ไดแ ก ปอ เต็กตงึ๊ รวมกตญั ู เปน ตน

(๑) วตั ถุประสงค
เพ่ือสรางเครือขายและแสวงหาความรวมมือจากองคกรหรือมูลนิธิตางๆ

ใหม สี ว นรว ม หรอื สนบั สนนุ การปอ งกนั ปราบปรามอาชญากรรม รกั ษาความสงบเรยี บรอ ย และบรรเทา
สาธารณภัย

(๒) ประเดน็ /ขอบเขตการดาํ เนินงาน
(๒.๑) รูปแบบลักษณะการมสี วนรวม

๑๕๘

เปน การแสวงหาความรว มมอื จากองคก รหรอื มลู นธิ ติ า งๆ ซงึ่ มคี วาม
เก่ียวขอ งกบั งานในภารกจิ ของตาํ รวจ โดยการประสานงาน กาํ หนดแนวทางในลักษณะการปฏิบตั งิ าน
รว มกนั กบั เจา หนาทตี่ ํารวจหรือการรักษาความสงบเรียบรอ ยรว มกนั

(๒.๒) กลุมเปา หมาย
องคกรหรือมูลนิธิของหนวยงานราชการ เชน กรมการปกครอง

ทหาร ตาํ รวจ องคก รปกครองสว นทองถ่นิ เปน ตน รวมทง้ั องคกรเอกชน
(๒.๓) บทบาทหนา ท่คี วามรบั ผดิ ชอบ
(๒.๓.๑) ใหความรวมมือและสนับสนุนขาราชการตํารวจในการ

ปองกนั ปราบปรามอาชญากรรม การรกั ษาความสงบเรยี บรอ ยและบรรเทาสาธารณภัย
(๒.๓.๒) แจง ขอ มลู เบาะแส ขา วสารเกย่ี วกบั อาชญากรรมยาเสพตดิ

และอบุ ตั ิภยั
(๒.๔) วิธ/ี ขน้ั ตอนการดาํ เนนิ งาน
(๒.๔.๑) ใหส ถานตี าํ รวจประสานงานกบั องคก รหรอื มลู นธิ ทิ เี่ กย่ี วขอ ง

ในการปฏบิ ตั หิ นา ทป่ี อ งกนั ปราบปรามอาชญากรรม รกั ษาความสงบเรยี บรอ ย และบรรเทาสาธารณภยั
(๒.๔.๒) ใหส ถานตี าํ รวจประชมุ ปรกึ ษาหารอื เพอ่ื วางแผน กาํ หนด

แนวทางการปฏบิ ัตงิ านและนําแนวทางที่ไดไ ปใชในการปฏิบตั ิงานรวมกนั
(๒.๔.๓) ใหส ถานีตาํ รวจนําเสนอปญหา อุปสรรค รายงานตอผูมี

อาํ นาจเพื่อส่งั การ แกไ ขปญ หา อุปสรรคและขอขดั ขอ งตอไป
¢ÍŒ ññ การมสี วนรว มของพนักงานรกั ษาความปลอดภยั เอกชน
เปนการแสวงหาความรวมมือจากพนักงานรักษาความปลอดภัยเอกชน

ทที่ าํ หนา ทร่ี กั ษาความปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยส นิ รกั ษาความสงบเรยี บรอ ยใหก บั บคุ คลและสถานที่
(๑) วัตถุประสงค
(๑.๑) เพ่ือสรางเครือขายแนวรวมสนับสนุนตํารวจในการรักษา

ความปลอดภัยใหก บั ประชาชน ชุมชน และทองถิ่น
(๑.๒) เพ่ือสงเสริมการมีสวนรวมจากภาคเอกชนและธุรกิจการรักษา

ความปลอดภยั ในการเสริมสรา งความสงบเรียบรอยในสงั คม
(๒) ประเด็น/ขอบเขตการดําเนนิ งาน
(๒.๑) รปู แบบลกั ษณะการมสี ว นรวม
เปน การแสวงหาความรว มมอื จากผปู ระกอบธรุ กจิ รกั ษาความปลอดภยั

และพนักงานรักษาความปลอดภัยเอกชน ใหสนับสนุนกิจการตํารวจในการรักษาความปลอดภัย
และรักษาความสงบเรียบรอ ยในชมุ ชน/ทอ งถน่ิ

๑๕๙

(๒.๒) กลมุ เปา หมาย
ผูประกอบธุรกิจรักษาความปลอดภัยและพนักงานรักษา

ความปลอดภัยเอกชนทป่ี ฏบิ ตั งิ านในพน้ื ท่รี บั ผดิ ชอบของสถานีตํารวจ
(๒.๓) บทบาทหนาทค่ี วามรับผดิ ชอบ
(๒.๓.๑) เปนผูช ว ยเหลือเจาพนกั งานตามกฎหมาย
(๒.๓.๒) แจง เหตดุ ว นเหตรุ า ย ขอ มลู อาชญากรรม เบาะแสคนรา ย

คดอี าญาทั่วไปและคดยี าเสพตดิ
(๒.๓.๓) ประสานงานระหวางเจาหนาที่ตํารวจกับพนักงานรักษา

ความปลอดภัยเอกชนที่มีหนา ทร่ี กั ษาความสงบเรียบรอยใหก ับบคุ คลและสถานที่
(๒.๔) วิธี/ขัน้ ตอนการดาํ เนินงาน
(๒.๔.๑) ใหส ถานตี าํ รวจเชญิ ผปู ระกอบธรุ กจิ การรกั ษาความปลอดภยั

ท่ีมีสํานักงานอยูในเขตพื้นท่ีมารวมประชุมหารือ แลกเปล่ียนขอมูลและความรวมมืออยางสมํ่าเสมอ
อยา งนอยเดอื นละ ๑ คร้งั

(๒.๔.๒) ใหสถานีตํารวจประสานกับผูประกอบธุรกิจการรักษา
ความปลอดภัย จัดอบรมใหความรูใหกับพนักงานรักษาความปลอดภัยเอกชนในเขตพ้ืนท่ี
เพ่อื ใหช ว ยเหลอื สนบั สนนุ การปฏิบตั ิงานของเจา พนกั งานตาํ รวจ

๑๖๐

เลม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๒๐๗ ง หนา ๓ ๑๕ กนั ยายน ๒๕๕๘
ราชกิจจานุเบกษา

ÃÐàºÂÕ º ¡.μ.ª.

ÇÒ‹ ´ÇŒ ÂËÅѡࡳ±á ÅÐÇÔ¸¡Õ Òè´Ñ Ãкº¡ÒúÃÔËÒà ¡Òû¯ÔºμÑ §Ô Ò¹´ÒŒ ¹¡Òû͇ §¡Ñ¹áÅлÃÒº»ÃÒÁ
¡ÒáÃÐทาํ ¤ÇÒÁ¼Ô´·Ò§ÍÒÞÒ ¡ÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁʧºàÃÕºÃÍŒ  áÅСÒÃÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ
¢Í§»ÃЪҪ¹ãËàŒ ËÁÒÐÊÁ¡Ñº¤ÇÒÁμŒÍ§¡ÒâͧáμÅ‹ зŒÍ§¶¹Ôè áÅЪØÁª¹
¾.È.òõõù

เพื่อใหภารกิจของสํานักงานตํารวจแหงชาติในการปองกันและปราบปรามการกระทํา
ความผิดทางอาญา การรักษาความสงบเรียบรอย และการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน
ของประชาชนมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับความตองการของแตละทองถิ่นและชุมชน โดยให
องคก รปกครองสวนทอ งถิ่นและองคกรภาคเอกชนสามารถเขา มามีสวนรว มในกจิ การตํารวจ

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๗ แหงพระราชบัญญัติตํารวจแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๗
ซึ่งแกไขเพ่ิมเติมโดยประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ ฉบับที่ ๑๑๑/๒๕๕๗ เร่ือง การแกไข
เพ่ิมเติมกฎหมายวาดวยตํารวจแหงชาติ ลงวันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗ และมาตรา ๑๘ (๑)
แหงพระราชบัญญัติตํารวจแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ และมติ ก.ต.ช. ในการประชุมครั้งท่ี ๑/๒๕๕๙
เมือ่ วันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๕๙ จงึ วางระเบียบไว ดงั ตอ ไปนี้

ขอ ๑ ระเบียบน้ีเรียกวา “ระเบียบ ก.ต.ช. วาดวยหลักเกณฑและวิธีการจัดระบบ
การบริหารการปฏิบัติงานดานการปองกันและปราบปรามการกระทําความผิดทางอาญา การรักษา
ความสงบเรยี บรอ ยและการรกั ษาความปลอดภยั ของประชาชนใหเ หมาะสมกบั ความตอ งการของแตล ะ
ทองถนิ่ และชุมชน พ.ศ.๒๕๕๙”

ขอ ๒ ระเบยี บนใี้ หใ ชบ งั คบั ตง้ั แตว นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน ตน ไป
ขอ ๓ ในระเบียบนี้
“องคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ ” หมายความวา องคก ารบรหิ ารสว นจงั หวดั เทศบาล องคก าร
บรหิ ารสวนตําบล กรุงเทพมหานคร เมืองพทั ยา รวมถึงองคก รปกครองสว นทองถนิ่ อ่ืน ท่มี ีกฎหมาย
จัดตง้ั
“องคกรภาคเอกชน” หมายความวา องคกรที่จัดตั้งและจดทะเบียนตามกฎหมาย
และหมายความรวมถึงองคกรที่จัดต้ัง หรือท่ีมีการรวมตัวกัน เพื่อดําเนินภารกิจหรือกิจกรรมตาม
เปาหมายหรือวัตถุประสงคท่ีกําหนดไว เชน หอการคา สภาอุตสาหกรรม สมาคม ธุรกิจทองเท่ียว
บริษทั หา งหนุ สว นจาํ กดั ชมรม เปน ตน
“อาสาสมคั ร” หมายความวา ประชาชน กลมุ บคุ คล เจา พนกั งานองคก รปกครองสว นทอ งถนิ่
บคุ คลในองคก รภาคเอกชน ทเี่ ขา มาชว ยเหลอื หรอื สนบั สนนุ การปฏบิ ตั หิ นา ทข่ี องเจา พนกั งานตาํ รวจ เชน

๑๖๑

เลม ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๒๐๗ ง หนา ๔ ๑๕ กนั ยายน ๒๕๕๘
ราชกจิ จานุเบกษา

อาสาสมคั รตาํ รวจบาน อาสาจราจร และอาสาสมัครในรูปแบบอืน่ ๆ ตามทส่ี าํ นกั งานตาํ รวจแหงชาติ
กําหนด

“ผบู รหิ ารองคกรปกครองสวนทอ งถ่นิ ” หมายความวา นายกองคก ารบริหารสว นจงั หวัด
นายกเทศมนตรี นายกองคการบริหารสวนตําบล ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร นายกเมืองพัทยา
รวมถึงผูบริหารองคก รปกครองสวนทองถิ่นอ่ืนทีม่ ีกฎหมายจัดตงั้

“การรักษาความสงบเรียบรอย” หมายถึง
(๑) การจัดและอาํ นวยความสะดวกการจราจร
(๒) การใชบ รกิ ารและชวยเหลือประชาชนในอาํ นาจหนาทข่ี องตํารวจ
(๓) การอาํ นวยความยตุ ธิ รรมทางอาญา
(๔) การแกไ ขปญหายาเสพตดิ
(๕) การปฏบิ ตั กิ ารอน่ื ใดในการชว ยเหลอื สง เสรมิ หรอื สนบั สนนุ สว นราชการ หนว ยงาน
ของรฐั หรือองคก รปกครองสว นทอ งถ่นิ ในการดาํ เนินการ ซ่งึ เกีย่ วขอ งกับความสงบสุขของประชาชน
ขอ ๔ เพอ่ื ใหก ารปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ในการปอ งกนั และปราบปรามการกระทาํ ความผดิ ทางอาญา
การรกั ษาความสงบเรยี บรอ ย และการรกั ษาความปลอดภยั ของประชาชนของสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ
เปนไปโดยเหมาะสมกับความตองการของแตละทองถิ่นและชุมชน ใหผูบัญชาการตํารวจนครบาล
ผบู งั คบั การตาํ รวจภธู รจงั หวดั หวั หนา สถานตี าํ รวจ มหี นา ทเี่ ชญิ องคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ และองคก ร
ภาคเอกชน มารว มใหข อ คิดเหน็ ในเรื่องนโยบาย แผน หรือโครงการ ตามภารกจิ ของสาํ นักงานตาํ รวจ
แหง ชาติ ขางตน
ขอ ๕ ในการจัดทําแผนหรือโครงการตามขอ ๔ ผูบัญชาการตํารวจนครบาล
ผบู ังคบั การตํารวจภธู รจังหวดั หัวหนาสถานีตาํ รวจ อาจขอรับการสนับสนนุ งบประมาณ อาสาสมคั ร
วสั ดุ ครุภณั ฑ หรอื อ่ืนๆ จากองคก รปกครองสวนทอ งถ่นิ หรอื องคก รภาคเอกชนไดต ามความจาํ เปน
และเหมาะสม โดยเสนอแผนหรือโครงการตอองคกรปกครองสวนทองถิ่นหรือองคกรภาคเอกชน
ทจี่ ะขอรับการสนบั สนนุ
ขอ ๖ เพื่อใหการเสนอแผนหรือโครงการตอองคกรปกครองสวนทองถิ่นเพ่ือขอรับ
การสนับสนุนตามขอ ๕ สามารถดําเนินการไดภายในระยะเวลาการจัดทําคําของบประมาณรายจาย
ประจาํ ปแ ละงบประมาณรายจา ยเพม่ิ เตมิ ขององคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ ใหผ บู ญั ชาการตาํ รวจนครบาล
ผบู งั คบั การตาํ รวจภธู รจงั หวดั หวั หนา สถานตี าํ รวจ ประสานงานกบั ผบู รหิ ารองคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ
เพอื่ ขอทราบกรอบแนวทางแผนพฒั นาทอ งถนิ่ และปฏทิ นิ การจดั ทาํ คาํ ของบประมาณรายจา ยประจาํ ป
และงบประมาณรายจา ยเพิ่มเตมิ ลวงหนา กอ นการประชมุ พิจารณางบประมาณรายจา ยประจาํ ปและ
งบประมาณรายจา ยเพิ่มเติมของสภาองคก รปกครองสวนทองถ่ินไมนอยกวา ๖๐ วัน

๑๖๒

เลม ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๒๐๗ ง หนา ๕ ๑๕ กนั ยายน ๒๕๕๘
ราชกิจจานเุ บกษา

ขอ ๗ แผน หรอื โครงการทเี่ สนอตอ องคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ เพอ่ื ขอรบั การสนบั สนนุ
งบประมาณตามขอ ๕ จะตอ งเปน ภารกจิ ทส่ี อดคลอ งกบั อาํ นาจหนา ทข่ี ององคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ
ผสู นับสนุน และตอ งมรี ายละเอยี ด ดังนี้

(๑) เหตผุ ลและรายละเอยี ดวา แผน หรอื โครงการมงี บประมาณไมเ พยี งพอ ในการดาํ เนนิ การ
และมีความจําเปนตองไดร บั การสนบั สนุน

(๒) ตองแสดงใหเห็นถึงกิจกรรมในแผน หรือโครงการที่เสนอ โดยแบงสวนที่ผูรับการ
สนับสนนุ มีงบประมาณของตนเอง และสวนท่ีจะขอรบั การสนบั สนนุ ใหชัดเจน

(๓) หากมีความจําเปนเรงดวน หรือเปนกรณีฉุกเฉิน ใหระบุเพ่ิมเติมโดยแสดงเหตุผล
ความจาํ เปนใหช ัดเจน

แผน หรือโครงการตามวรรคหน่งึ ตอ งเปน ไปตามนโยบายของสวนราชการ ในสํานกั งาน
ตาํ รวจแหง ชาติ และองคก รปกครองสว นทองถิ่นนน้ั

ขอ ๘ เงินที่ไดรับสนับสนุนจากองคกรปกครองสวนทองถิ่นและองคกรภาคเอกชน
ใหน าํ ไปจา ยหรอื กอ หนผี้ กู พนั ไดต ามวตั ถปุ ระสงคภ ายในวงเงนิ ทไี่ ดร บั สาํ หรบั วธิ ปี ฏบิ ตั ใิ นการใชจ า ยเงนิ
การจดั ซอ้ื จัดจาง การรับเงิน การจายเงนิ การเบกิ เงนิ จากคลงั การนาํ เงินสง คลงั การเก็บรักษาเงิน
หลักฐานการจายและเงนิ เหลือจา ย ใหถ อื ปฏิบตั ิตามระเบยี บหลกั เกณฑของทางราชการ

ขอ ๙ ใหส ว นราชการในสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตทิ ไ่ี ดร บั การสนบั สนนุ ตามขอ ๕ ดาํ เนนิ
การตามแผนหรอื โครงการ แลว รายงานตอ องคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ และองคก รภาคเอกชนทใ่ี หก าร
สนับสนุนทราบ เพือ่ ตรวจสอบและประเมนิ ผลการดําเนนิ การ

ขอ ๑๐ นอกจากผบู ญั ชาการตาํ รวจนครบาล ผบู งั คบั การตาํ รวจภธู รจงั หวดั และหวั หนา
สถานีตํารวจแลว ใหสวนราชการในสํานักงานตํารวจแหงชาติ ที่มีหนาท่ีรักษาความสงบเรียบรอย
ซึง่ ผบู ัญชาการตํารวจแหงชาติใหความเหน็ ชอบ สามารถดาํ เนินการทําความตกลงกบั องคกรปกครอง
สว นทอ งถิ่นและองคก รภาคเอกชนตามระเบยี บนไ้ี ด

ขอ ๑๑ ใหผูบัญชาการตํารวจแหงชาติรักษาการตามระเบียบนี้ และใหมีอํานาจในการ
กาํ หนดแนวทางปฏิบตั เิ พอ่ื ใหเ ปนไปตามระเบียบนี้

ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๙ สงิ หาคม พ.ศ.๒๕๕๙
พลเอก ประยทุ ธ จันทรโอชา
นายกรัฐมนตรี

ประธานกรรมการนโยบายตํารวจแหงชาติ

๑๖๓

คําÊè§Ñ สํา¹Ñ¡§Ò¹ตําÃǨáË‹§ªÒμÔ

·èÕ õñó/òõõô
àÃ×Íè § â¤Ã§¡ÒÃμíÒÃǨªÁØ ª¹

----------------

ตามพระราชบัญญตั ิตาํ รวจแหง ชาติ พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๗ มาตรา ๗ บญั ญัติใหส าํ นักงาน
ตํารวจแหงชาติสงเสริมใหทองถิ่น และชุมชนมีสวนรวมในกิจการตํารวจ เพื่อปองกันและปราบปราม
การกระทาํ ความผดิ ทางอาญา รกั ษาความสงบเรยี บรอ ย และรกั ษาความปลอดภยั ของประชาชน ชมุ ชน
ตามความเหมาะสมและความตองการของแตละพื้นท่ี ทง้ั น้ี การดาํ เนนิ การมีสวนรว ม ใหเ ปนไปตาม
หลักเกณฑและวิธีการท่ีคณะกรรมการนโยบายตํารวจแหงชาติกําหนดและสํานักงานตํารวจแหงชาติ
ไดม คี าํ สงั่ ที่ ๒๔๘/๒๕๕๔ ลงวนั ที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๕๔ ประกาศใชย ทุ ธศาสตรก ารสง เสรมิ ใหป ระชาชน
ชมุ ชนทองถ่นิ และองคกร มสี วนรว มในกจิ การตาํ รวจ นน้ั

เพอื่ ใหก ารปฏบิ ตั งิ านของตาํ รวจสามารถเขา ถงึ และสนองตอบความตอ งการของประชาชน
สามารถแกไขปญหาอาชญากรรมท่ีเกิดข้ึนในชุมชนใหมีประสิทธิภาพมากข้ึน โดยใหประชาชนเขามา
มีสวนรวมในการดําเนินการ สํานักงานตํารวจแหงชาติ จึงไดจัดทําโครงการตํารวจชุมชนข้ึนโดยมี
หลักการใหประชาชนในชุมชนมีบทบาทในการปองกันอาชญากรรมและรักษาความสงบเรียบรอยใน
ชมุ ชน และใหเ จา หนา ทตี่ าํ รวจทาํ หนา ทท่ี ปี่ รกึ ษาและผปู ระสานงาน ทงั้ น้ี เพอ่ื ใหก ารดาํ เนนิ การเกย่ี วกบั
การสง เสรมิ ใหป ระชาชนมีสว นรว มในกจิ การตํารวจเปนไปอยา งตอเนื่อง มีประสทิ ธิภาพ และมีความ
เปนเอกภาพมากยงิ่ ขึ้น

จงึ ใหท กุ หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ ง และสถานตี าํ รวจทกุ แหง นาํ โครงการตาํ รวจชมุ ชนไปดาํ เนนิ การ
โดยใหทุกหนว ยงานของสาํ นกั งานตํารวจแหงชาติใหก ารสนบั สนุนในทุกๆ ดาน เพ่ือใหการดําเนนิ การ
ตามโครงการ ประสบผลสําเรจ็ ตามวตั ถุประสงคท ่ีไดตง้ั ไว โดยคําส่งั หรือบนั ทึกส่งั การใดๆ ท่แี ยงกบั
คาํ สั่งนใ้ี หย กเลกิ และใหถ อื ปฏิบัติตามคาํ สง่ั นี้

ทัง้ น้ี ต้ังแตบดั นี้เปนตนไป
สัง่ ณ วันที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๔
พลตํารวจเอก วเิ ชียร พจนโ พธิ์ศรี
(วเิ ชยี ร พจนโพธิศ์ ร)ี
ผูบัญชาการตํารวจแหง ชาติ

๑๖๔

â¤Ã§¡ÒÃตาํ ÃǨªØÁª¹

ñ. ËÅ¡Ñ ¡ÒÃáÅÐàËμؼÅ

การรักษาความสงบเรียบรอยและการปองกันปราบปรามอาชญากรรม เปนภารกิจหลัก
ของเจาหนาที่ตํารวจ แตการที่จะดําเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพนั้น เจาหนาท่ีตํารวจไมสามารถ
ดําเนินการไดเพียงลําพัง จําเปนที่จะตองอาศัยความรวมมือจากประชาชนหรือชุมชน โดยเจาหนาท่ี
ตํารวจจะตองเขาไปดําเนินการเสริมสรางแนวความคิดการมีสวนรวมของประชาชน และสนับสนุน
ชวยเหลือในการจัดตั้งองคกรชุมชน หรือประชาคมเพื่อความรวมมือในการปองกันอาชญากรรม
โดยเจา หนา ทตี่ าํ รวจจะทาํ หนา ทเี่ ปน ทปี่ รกึ ษาและผปู ระสานงานในการดาํ เนนิ การดงั กลา ว ตามสภาพ
ปญ หาและความตอ งการของชมุ ชน โดยพระราชบญั ญตั ติ าํ รวจแหง ชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ มาตรา ๗ บญั ญตั ใิ ห
สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ สง เสรมิ ใหท อ งถน่ิ และชมุ ชนมสี ว นรว มในกจิ การตาํ รวจเพอื่ ปอ งกนั และปราบปราม
การกระทาํ ความผดิ ทางอาญา รักษาความสงบเรียบรอยและรกั ษาความปลอดภัยของประชาชน ตาม
ความเหมาะสมและความตองการของแตละพื้นท่ีการดําเนินการมีสวนรวมใหเปนไปตามหลักเกณฑ
และวธิ ีการทีค่ ณะกรรมการนโยบายตํารวจแหง ชาติ กําหนด ซึ่งคณะกรรมการนโยบายตาํ รวจแหง ชาติ
ไดก าํ หนดระเบยี บวา ดว ยหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารสง เสรมิ ใหท อ งถนิ่ และชมุ ชนมสี ว นรว มในกจิ การตาํ รวจ
พ.ศ.๒๕๔๙ โดยให คณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารงานตํารวจ ระดับสถานีตํารวจ
มีอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบในการกําหนดลักษณะรูปแบบและวิธีการ ใหทองถิ่นและชุมชน
มสี ว นรว มในกจิ การตาํ รวจ โดยใหค าํ นงึ ปจ จยั ทางดา นอาํ นาจหนา ทต่ี ามกฎหมาย สภาพทางภมู ศิ าสตร
เศรษฐกิจ สังคม ประเพณี วัฒนธรรมและวิถีการดํารงชีวิตของแตละทองถ่ิน และชุมชนเปนสําคัญ
และระเบียบสํานักงานตํารวจแหงชาติวาดวยการสงเสริมใหประชาชน ชุมชน ทองถิ่น และองคกร
มีสวนรว มในกจิ การตาํ รวจ พ.ศ.๒๕๕๑

เพอื่ สง เสรมิ ใหป ระชาชนมสี ว นรว มในกจิ การตาํ รวจเปน ไปอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ และเปน
แนวทางเดียวกัน ตามพระราชบัญญัตติ ํารวจแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ ระเบยี บสํานกั งานตาํ รวจแหง ชาติ
วาดวยการสงเสริมใหประชาชน ชุมชน ทองถิ่น และองคกรมีสวนรวมในกิจการตํารวจ พ.ศ.๒๕๕๑
และคาํ สง่ั สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ ท่ี ๒๔๘/๒๕๕๔ ลงวนั ท่ี ๑๑ เมษายน ๒๕๕๔ เรอื่ ง ยทุ ธศาสตรก าร
สงเสรมิ ใหประชาชน ชุมชน ทองถิน่ และองคกรมสี วนรวมในกจิ การตํารวจ สํานกั งานตํารวจแหง ชาติ
จงึ จดั ทาํ โครงการตาํ รวจชมุ ชนขนึ้ โดยใหท กุ สถานตี าํ รวจสง เสรมิ ใหป ระชาชนมสี ว นรว ม ในการปอ งกนั
อาชญากรรม ในชุมชนใหม ีประสทิ ธิภาพ ปฏบิ ตั งิ านรว มกับเครอื ขายชมุ ชนลกั ษณะปฏิบตั ิการในการ
ปอ งกันอาชญากรรม การรักษาความสงบเรยี บรอ ยและรักษาความปลอดภัยใหแกชุมชนและทองถ่ิน

ò. ÇÑμ¶»Ø ÃÐʧ¤

๒.๑ เพอื่ แสวงหาความรว มมอื จากประชาชน ชมุ ชน ทอ งถนิ่ และองคก รตา งๆ ในชมุ ชน
ใหเ ขา มามสี ว นรว มในกจิ การตาํ รวจ โดยการเขา ถงึ สรา งความเขา ใจ สรา งศรทั ธาและสรา งการมสี ว นรว ม

๑๖๕

๒.๒ เพอ่ื สนับสนนุ สง เสรมิ ใหประชาชน ชุมชน ทอ งถนิ่ และองคก รใหเขา มามีสว นรว ม
ในกจิ การตาํ รวจ

๒.๓ เพอื่ ใหเ ครอื ขา ยชมุ ชนมเี จา หนา ทต่ี าํ รวจปฏบิ ตั หิ นา ทป่ี ระสานงาน และใหค าํ ปรกึ ษา
ในการดําเนินงานเก่ียวกบั กิจการตาํ รวจ และการดาํ เนนิ งานดานอื่นๆ ทเ่ี ก่ียวของ

๒.๔ เพอื่ ใหอ าสาสมคั รตาํ รวจชมุ ชน เปน ผชู ว ยเหลอื เจา พนกั งานตาํ รวจไดต ามกฎหมาย
ในขณะปฏบิ ตั หิ นา ที่

๒.๕ เพ่ือสรางเครือขายการมีสวนรวมของประชาชน ชุมชน ทองถิ่นและองคกรตางๆ
ในพนื้ ท่ีใหม กี ารเช่ือมโยงการทาํ งานใหประสานสอดคลองซง่ึ กนั และกัน ซงึ่ จะทําใหช มุ ชนและทองถิ่น
มีความเขม แข็ง สามารถปองกันตนเองจากภัยอาชญากรรมได

๒.๖ เพอื่ เปน การสรา งขวญั กาํ ลงั ใจใหก บั ขา ราชการตาํ รวจ ทไี่ ดร บั มอบหมายใหป ฏบิ ตั งิ าน
เปน ตาํ รวจชมุ ชน

ó. ¡®ËÁÒ ÃÐàºÕºáÅÐคาํ ʧÑè ·èÕà¡ÂÕè Ç¢ŒÍ§

๓.๑ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา ๘๗ บัญญัติใหรัฐตอง
ดาํ เนินการตามแนวนโยบายดา นการมสี ว นรว มของประชาชน ดงั นี้

๑) สงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายและวางแผนพัฒนา
เศรษฐกจิ และสงั คมทง้ั ในระดับชาตแิ ละระดับทอ งถิน่

๒) สง เสรมิ และสนบั สนนุ การมสี ว นรว มของประชาชนในการตดั สนิ ใจทางการเมอื ง
การวางแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คม รวมทงั้ การจดั ทําบริการสาธารณะ

๓) สงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชนในการตรวจสอบการใช
อาํ นาจรฐั ทกุ ระดับ ในรูปแบบขององคกรทางวชิ าชพี หรือตามสาขาอาชีพ หรอื รปู แบบอื่น

๓.๒ พระราชบัญญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการแผนดนิ (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ.๒๕๔๕ กําหนด
หลักการบริหารราชการแผนดินวา ตองมีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี โดยเนนการมีสวนรวม
ของประชาชน เพือ่ ประโยชนส ขุ ของประชาชนและตอบสนองความตอ งการของประชาชน

๓.๓ พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี
พ.ศ.๒๕๔๖ กําหนดใหประชาชนเขามามีสว นรวมในการบริหารกิจการชมุ ชนเมอื ง

๓.๔ พระราชบัญญัติตํารวจแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ มาตรา ๗ บัญญัติใหสํานักงาน
ตํารวจแหงชาติสงเสริมใหทองถิ่นและชุมชนมีสวนรวมในกิจการตํารวจเพื่อปองกันและปราบปราม
การกระทําความผิดทางอาญา รักษาความสงบเรียบรอยและรักษาความปลอดภัยของประชาชน
ตามความเหมาะสมและความตองการของแตละพื้นที่ ท้ังน้ีการดําเนินการมีสวนรวมใหเปนไป
ตามหลกั เกณฑ และวธิ ีการท่ีคณะกรรมการนโยบายตํารวจแหง ชาตกิ าํ หนด

๑๖๖

๓.๕ ระเบียบคณะกรรมการนโยบายตํารวจแหงชาติ วาดวยหลักเกณฑและวิธีการ
สงเสริมใหทองถ่ิน และชุมชน มีสวนรวมในกิจการตํารวจ พ.ศ.๒๕๔๙ กําหนดให คณะกรรมการ
ตรวจสอบและติดตามการบริหารงานตํารวจ ระดับสถานีตํารวจ มีอํานาจหนาท่ีและความรับผิดชอบ
ในการกาํ หนดลกั ษณะรปู แบบและวธิ กี ารใหท อ งถนิ่ และชมุ ชนมสี ว นรว มในกจิ การตาํ รวจ โดยใหค าํ นงึ
ปจ จยั ทางดา นอํานาจหนาท่ีตามกฎหมาย สภาพทางภมู ศิ าสตร เศรษฐกิจ สงั คม ประเพณี วัฒนธรรม
และวถิ กี ารดาํ รงชวี ติ ของแตละทองถ่ิน และชมุ ชนเปน สาํ คญั

๓.๖ ระเบียบสาํ นักงานตํารวจแหง ชาติ วา ดว ยการสง เสรมิ ใหป ระชาชน ชุมชน ทองถน่ิ
และองคกรมีสวนรว มในกิจการตาํ รวจ พ.ศ.๒๕๕๑

๓.๗ คําสั่งสํานักงานตํารวจแหงชาติ ท่ี ๒๔๘/๒๕๕๔ ลงวันท่ี ๑๑ เมษายน ๒๕๕๔
เร่ือง ยุทธศาสตรก ารสงเสรมิ ใหป ระชาชน ชมุ ชน ทอ งถิ่นและองคกรมีสว นรวมในกจิ การตํารวจ

ô. คาํ ¹ÂÔ ÒÁμÒÁâ¤Ã§¡ÒÃ

๔.๑ “ชมุ ชน” ตามระเบยี บ คณะกรรมการนโยบายตาํ รวจแหง ชาติ วา ดว ยหลกั เกณฑแ ละ
วิธีการสงเสริมใหทองถิ่นและชุมชนมีสวนรวมในกิจการตํารวจ หมายถึง กลุมประชาชนที่มีภูมิลําเนา
พกั อาศัย หรือประกอบกิจการในเขตพื้นทีค่ วามรับผิดชอบของสถานีตาํ รวจนครบาลหรือสถานีตํารวจ
ภูธรนน้ั

๔.๒ “ตํารวจชุมชน” หมายถึง ขาราชการตํารวจ ท่ีผานการคัดเลือกตามขั้นตอนที่
กาํ หนด และไดร บั มอบหมายใหป ฏบิ ตั งิ านเปน ตาํ รวจชมุ ชน เพอ่ื ทาํ หนา ทท่ี ปี่ รกึ ษาและผปู ระสานงาน
ตามโครงการตาํ รวจชมุ ชน เพอ่ื เสรมิ สรา งการมสี ว นรว มของประชาชนในชมุ ชน ใหส ามารถปอ งกนั และ
แกไขปญ หาอาชญากรรม และปญหาอ่นื ๆ ที่เกดิ ข้ึนในชุมชน

๔.๓ “อาสาสมัครตาํ รวจชมุ ชน” หมายถงึ ประชาชนในชมุ ชนที่มีจติ อาสา เขารว มเปน
อาสาสมคั รเพอ่ื สรา งความเขม แขง็ ใหก บั ชมุ ชน ในการรกั ษาความสงบเรยี บรอ ยและปอ งกนั อาชญากรรม

õ. ໇ÒËÁÒÂâ¤Ã§¡ÒÃ

สถานีตํารวจทุกสถานีท่ัวประเทศ ตองดําเนินการตามโครงการตํารวจชุมชนอยางนอย
สถานลี ะ ๑ ชมุ ชน

ö. ÇÔ¸¡Õ ÒÃดําà¹¹Ô ¡ÒÃ

๖.๑ การคดั เลอื กชมุ ชนในการดาํ เนนิ การตามโครงการ ใหเ ปน ไปตามทกี่ าํ หนด (¼¹Ç¡ ¡)
๖.๒ จัดใหมีเจาหนาที่ตํารวจ ๑ นาย ปฏิบัติหนาท่ีในชุมชนท่ีไดดําเนินการโครงการ
ตาํ รวจชมุ ชน เรยี กวา ตาํ รวจชมุ ชน เพอื่ สง เสรมิ การมสี ว นรว มของประชาชนในชมุ ชน การจดั ตง้ั องคก ร
ชุมชน หรอื ประชาคมในการปองกันและแกไขปญ หาอาชญากรรม และปญหาอ่นื ๆ ท่ีเกดิ ขน้ึ ในชมุ ชน

๑๖๗

โดยหนาที่ความรับผิดชอบ คุณสมบัติ และการพนจากหนาท่ีตํารวจชุมชน ใหเปนไปตามท่ีกําหนด
(¼¹Ç¡ ¢)

๖.๓ ในชุมชนที่ดําเนินการโครงการตํารวจชุมชน ควรสรรหาประชาชนในชุมชนท่ีมี
จิตอาสา ใหทําหนาที่อาสาสมัครตํารวจชุมชน อยางนอยชุมชนละ ๑๐ คน ทั้งนี้ ตามความพรอม
และความเหมาะสมของแตละสถานีตํารวจ โดยหนาที่ความรับผิดชอบ คุณสมบัติ และการพนจาก
หนาทีข่ องอาสาสมคั รตาํ รวจชุมชน ใหเ ปนไปตามทีก่ าํ หนด (¼¹Ç¡ ¤)

๖.๔ ข้ันตอนในการสรางการมีสวนรวมของประชาชน องคกรชุมชน และประชาคม
เพอ่ื ปอ งกนั อาชญากรรม ใหต าํ รวจชมุ ชนและอาสาสมคั รตาํ รวจชมุ ชน ดาํ เนนิ การตามขน้ั ตอนทก่ี าํ หนด
(¼¹Ç¡ §)

๖.๕ การรายงานผลการปฏิบัติงานตามโครงการตํารวจชุมชน ใหเปนไปตามที่กําหนด
(¼¹Ç¡ ¨)

๖.๖ ดําเนินการฝกอบรมตํารวจชุมชน และอาสาสมัครตํารวจชุมชน ใหเปนไปตาม
หลักสูตรการฝก อบรมทกี่ ําหนด (¼¹Ç¡ ©)

÷. ÃÐÂÐàÇÅÒดาํ à¹¹Ô ¡ÒÃ

เรมิ่ ตง้ั แต ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๔ เปน ตน ไป ซง่ึ สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตจิ ะมคี าํ สงั่ ใหด าํ เนนิ การ
เปนคราวๆ ไป

ø. ¼ÃŒÙ ºÑ ¼Ô´ªÍºâ¤Ã§¡ÒÃ

๘.๑ ʶҹตÕ าํ ÃǨ·¡Ø ʶҹÕ
รบั ผดิ ชอบดําเนนิ การตามâ¤Ã§¡ÒÃตาํ ÃǨªÁØ ª¹ สรา งการมสี ว นรว มของประชาชน

ในกิจการตํารวจภายในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ ตามแนวทางท่ีกําหนด แลวรายงานผลให¡Í§ºÑ§¤Ñº¡ÒÃ
μ¹Œ Êѧ¡Ñ´ ทราบ ตามแบบการรายงาน และระยะเวลาทีก่ ําหนด

๘.๒ ¡Í§ºÑ§¤Ñº¡ÒÃตําÃǨ¹¤ÃºÒÅ áÅÐตําÃǨÀٸèѧËÇ´Ñ
รับผิดชอบตรวจสอบควบคุมการปฏิบัติของ˹‹Ç§ҹã¹Êѧ¡Ñ´ ในการสราง

การมสี ว นรวมของประชาชนในกจิ การตาํ รวจ ใหเปนไปตามแนวทางการปฏบิ ัตติ ามโครงการน้ี
การติดตามประเมินผลและมาตรฐานการปฏิบัติ ใหเปนไปตามขอกําหนดของ

สํานักงานตํารวจแหงชาติ แลวรายงานผลให¡Í§ºÑÞªÒ¡ÒÃμŒ¹Êѧ¡Ñ´ทราบ ตามแบบการรายงาน
และระยะเวลาที่กาํ หนด

๘.๓ ¡Í§ºÑÞªÒ¡ÒÃตําÃǨ¹¤ÃºÒÅ ตําÃǨÀ¸Ù ÃÀÒ¤ ñ-ù áÅÐȹ٠»¯ºÔ ÑμÔ¡ÒÃตําÃǨ
¨§Ñ ËÇ´Ñ ªÒÂá´¹ÀÒ¤ãμŒ

รบั ผดิ ชอบกาํ กบั ดแู ลการปฏบิ ตั ขิ อง˹Nj §ҹã¹Ê§Ñ ¡´Ñ ในการสรา งการมสี ว นรว ม
ของประชาชนในกจิ การตํารวจ ใหเปน ไปตามแนวทางการปฏิบตั ิตามโครงการน้ี

๑๖๘

การติดตามประเมินผลและมาตรฐานการปฏิบัติ ใหเปนไปตามขอกําหนดของ
สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ แลว รายงานผลใหÊ Òí ¹¡Ñ §Ò¹μÒí ÃǨá˧‹ ªÒμทÔ ราบ ตามแบบการรายงานและ
ระยะเวลาที่กําหนด

ù. Ê·Ô ¸Ô»ÃÐ⪹

เจา หนา ท่ีตํารวจทป่ี ฏิบตั หิ นา ทตี่ าํ รวจชมุ ชน ท่ีมีอายไุ มน อยกวา ๕๐ ป และรว มปฏบิ ัติ
หนา ที่ตามโครงการนีเ้ ปน ระยะเวลาไมน อ ยกวา ๕ ป (ใหร วมระยะเวลาทีเ่ คยปฏบิ ตั ิหนา ทใ่ี นโครงการ
ตํารวจชมุ ชน ท่สี าํ นักงานตาํ รวจแหง ชาติ อนุมัติใหจ ัดตง้ั โครงการฯ เมอ่ื ป พ.ศ.๒๕๔๑-๒๕๔๒ ดวย)
โดยมีผลงานอยางเปนรูปธรรม เปนที่ประจักษ จะมีสิทธิท่ีจะสมัครเขารับการคัดเลือกเปนขาราชการ
ตํารวจช้ันสัญญาบัตร ตามหลักเกณฑและวิธีการที่สํานักงานตํารวจแหงชาติ กําหนด ท้ังน้ี ภายใต
เงอ่ื นไขท่ีสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติมอี ตั ราเงินเดอื นและงบประมาณเพยี งพอทจ่ี ะสนับสนนุ ในแตล ะป

ñð. §º»ÃÐÁÒ³

๑๐.๑ สํานักงานตํารวจแหงชาติใหการสนับสนุนงบประมาณการฝกอบรม และอาจจะ
พิจารณาสนับสนุนเบ้ียเล้ียงและอ่ืนๆ ใหแกตาํ รวจชุมชน และอาสาสมัครตํารวจชุมชน หากไดรับ
การสนบั สนนุ งบประมาณจากสาํ นกั งบประมาณ

๑๐.๒ ผูบังคับบัญชาของสถานีตํารวจ กองบังคับการ และกองบัญชาการ แสวงหา
ความรวมมอื และขอรับการสนับสนนุ จากองคกรปกครองทองถิ่น กรงุ เทพมหานคร หนว ยงานภาครฐั
และเอกชน ดว ยอกี สวนหนึง่

ññ. ¡ÒûÃÐàÁ¹Ô ¼Å

ใหส าํ นักงานยทุ ธศาสตรตาํ รวจ (¡Í§ÇÔ¨ÑÂ) ดาํ เนนิ การ ดังนี้
๑๑.๑ กําหนดรปู แบบและแนวทางการประเมนิ ผลโครงการตํารวจชมุ ชน
๑๑.๒ ประเมนิ ผลโครงการตาํ รวจชมุ ชนปล ะ ๑ ครง้ั โดยใหเ สรจ็ สน้ิ ภายในเดอื นกนั ยายน
ของทกุ ป เวนแตสาํ นกั งานตาํ รวจแหงชาติจะไดม คี าํ ส่ังเปน อยางอ่นื

ñò. »ÃÐ⪹·Õ¤è Ò´Ç‹Ò¨Ðä´ÃŒ Ѻ

๑๒.๑ ประชาชนในชมุ ชนมคี วามตน่ื ตวั ในการเขา มามสี ว นรว มในการแกไ ขปญ หาชมุ ชน
ดวยแผนและโครงการของชุมชน

๑๒.๒ ชมุ ชนมแี ผนในการปอ งกนั อาชญากรรม และแกไ ขปญ หาอาชญากรรมของชมุ ชน
ท่มี คี ณุ ภาพสามารถดาํ เนินการไดจ ริงและตอเน่ือง

๑๖๙

๑๒.๓ ประชาชนในชมุ ชนมวี ถิ ชี วี ติ ความเปน อยทู ด่ี ขี นึ้ ลดความหวาดกลวั ภยั ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ
ในชมุ ชน

๑๒.๔ สามารถเสริมสรางความเขมแข็งใหเกิดขึ้นในชุมชน และดําเนินการปองกันแกไข
ปญหาอาชญากรรมได

๑๒.๕ ชุมชนมีเครือขายการทํางานดานการปองกันอาชญากรรมท่ีประสานสอดคลอง
และเช่ือมโยงกัน ตอบสนองตามยุทธศาสตรการสงเสริมใหประชาชน ชุมชน ทองถิ่น และองคกร
มสี วนรว มในกจิ การตาํ รวจ

๑๗๐

¼¹Ç¡ ¡ : ¡Òä´Ñ àÅÍ× ¡ªÁØ ª¹¢Í§Ê¶Ò¹ตÕ าํ ÃǨ㹡ÒÃดาํ à¹¹Ô ¡ÒÃâ¤Ã§¡ÒÃตาํ ÃǨªÁØ ª¹
ñ. ¡Òä´Ñ àÅ×Í¡ªÁØ ª¹

๑.๑ การคดั เลอื กชมุ ชน ควรพจิ ารณาจากความพรอ มของชมุ ชนและประชาชนในชมุ ชน
ดงั นี้

๑.๑.๑ มสี ถานทท่ี าํ การ ซงึ่ อาจไดร บั การสนบั สนนุ จากองคก ารบรหิ ารสว นทอ งถนิ่
องคกร ภาคเอกชนอื่นๆ หรือชุมชน สําหรับปฏิบัติงานไดอยางเหมาะสมท่ีจะใหประชาชนในชุมชน
นัน้ ๆ สามารถใชบ รกิ ารไดอยางสะดวกและรวดเร็ว

๑.๑.๒ มวี สั ดุ อปุ กรณ เครอื่ งมอื เครอื่ งใช ทใ่ี ชใ นการปฏบิ ตั งิ านไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ
ซึ่งอาจขอรับการสนับสนุนจากองคการบริหารสวนทองถ่ิน องคกร หรือภาคเอกชนอ่ืนๆ ไดแก
เครื่องมือสอ่ื สาร รถจกั รยานยนต ตูเก็บเอกสาร และโตะทาํ งาน เปนตน

๑.๑.๓ มงี บประมาณ โดยสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตอิ าจจะพจิ ารณาใหก ารสนบั สนนุ
งบประมาณอบรมและเบ้ยี เลย้ี งใหแ กตํารวจชมุ ชน และอาสาสมคั รตาํ รวจชมุ ชน หากไดร ับการจดั สรร
งบประมาณจากสํานักงบประมาณ และอาจขอรับการสนับสนุนจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น
กรุงเทพมหานคร หนวยงานภาครัฐ และเอกชนอ่นื ๆ ได

๑.๑.๔ มีประชาชนในชุมชนที่มีจติ อาสา มีความประพฤตดิ ี ไมนอยกวา ๑๐ คน
เพอ่ื มอบหมายใหท าํ หนา ที่อาสาสมคั รตาํ รวจชมุ ชน

๑.๑.๕ มีเจาหนาท่ีตํารวจตามคุณสมบัติที่กําหนด ที่สามารถปฏิบัติหนาท่ีตํารวจ
ชมุ ชน โดยไมสงผลกระทบตอ ปญ หากําลงั พล

๑.๒ การคดั เลอื กชมุ ชนทมี่ คี วามพรอ มตามขอ ๑.๑ ควรพจิ ารณาตามสภาพภมู ลิ กั ษณะ
และความสาํ คัญของปญหาของแตล ะชมุ ชน ตามลําดบั ความสําคญั เรงดวน ดังน้ี

๑.๒.๑ เปน ชุมชนท่มี ปี ญหาพิเศษทจี่ ะตองสรางภมู ิคุมกนั ใหก บั ชุมชน
๑.๒.๒ เปน ชุมชนท่มี ปี ญหาอาชญากรรมสงู
๑.๒.๓ เปนชมุ ชนยา นธรุ กจิ ลอแหลมตอการเกิดปญหาอาชญากรรม
๑.๒.๔ เปนชุมชนแออดั ของประชาชนผูมรี ายไดนอย
๑.๒.๕ เปนชุมชนทอ่ี ยใู นพื้นท่หี างไกล

ò. ¢¹éÑ μ͹¡ÒäѴàÅÍ× ¡ªÁØ ª¹

๒.๑ ใหสถานีตํารวจคัดเลือกชุมชนตามหลักเกณฑตามขอ ๑ จํานวน ๑ ชุมชน หรือ
มากกวา แลว เสนอ คณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการบรหิ ารงานตาํ รวจ สถานตี าํ รวจ พจิ ารณา
ใหค วามเหน็ ชอบ แลวเสนอกองบงั คบั การตนสังกัด พรอ มช้แี จงเหตุผล

๒.๒ คณะกรรมการระดับกองบังคับการ ใหความเห็นชอบตามขอ ๒.๑ แลวเสนอ
กองบัญชาการและสํานักงานตํารวจแหงชาติ เพ่ือทราบ พรอมท้ังสั่งใหสถานีตํารวจดําเนินการตาม
โครงการในชมุ ชนท่ไี ดร บั การคดั เลอื ก

๒.๓ ในกรณที ก่ี องบญั ชาการ หรอื สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตมิ คี วามจาํ เปน หรอื ความเหน็
เปนอยา งอนื่ สามารถสงั่ ใหพจิ ารณาทบทวนได

๑๗๑

¼¹Ç¡ ¢ : อาํ ¹Ò¨Ë¹ÒŒ ·Õè ¤³Ø ÊÁºμÑ Ô ¡Òä´Ñ àÅÍ× ¡ áÅСÒþ¹Œ ¨Ò¡Ë¹ÒŒ ·¢èÕ Í§ตาํ ÃǨªÁØ ª¹
ñ. อํา¹Ò¨Ë¹ÒŒ ·è¢Õ ͧตาํ ÃǨªØÁª¹

๑.๑ แสวงหาความรวมมือจากประชาชน ชุมชน ทองถิ่น และองคกรในชุมชน
ใหเ ขามามีสว นรวมในกิจการตํารวจ

๑.๒ ทําหนาท่ีใหคําปรึกษาแกอาสาสมัครตํารวจชุมชนและประชาชนในชุมชนในการ
ดาํ เนนิ การตามโครงการตํารวจชมุ ชน

๑.๓ ทาํ หนา ทปี่ ระสานงานระหวา งสถานตี าํ รวจกบั อาสาสมคั รตาํ รวจชมุ ชน และประชาชน
ในชุมชน เพอ่ื ใหก ารดาํ เนนิ การตามโครงการตํารวจชมุ ชนเปน ไปอยางมปี ระสทิ ธิภาพ

๑.๔ ตอ งเขา ปฏิบัตหิ นา ท่ใี นชุมชนอยา งนอ ยสปั ดาหล ะ ๑ ครั้ง
๑.๕ สามารถทาํ หนาที่ตาํ รวจชุมชน ไดมากกวา ๑ ชมุ ชน
๑.๖ รายงานผลการปฏิบตั ใิ หห วั หนาสถานตี าํ รวจทราบตามระยะเวลาท่ีกาํ หนด

ò. ¤³Ø ÊÁºμÑ ¢Ô ͧ¢ÒŒ ÃÒª¡ÒÃตาํ ÃǨ·¨èÕ Ðä´ÃŒ ºÑ ÁͺËÁÒÂãË»Œ ¯ºÔ μÑ ËÔ ¹ÒŒ ·ตÕè าํ ÃǨªÁØ ª¹
μÍŒ §ÁÕ¤³Ø ÊÁºÑμÔ ´Ñ§¹Õé

๒.๑ เปนขาราชการตํารวจช้ันประทวน ยศ ด.ต. หรือ จ.ส.ต. มีอายุตัวไมนอยกวา
๔๕ ป และมอี ายรุ าชการไมนอยกวา ๑๕ ป

๒.๒ ปฏิบตั หิ นา ท่ีในสายงานปอ งกนั ปราบปราม มีความรคู วามชํานาญในพืน้ ท่ี รวมท้งั
ควรพดู และเขา ใจภาษา วัฒนธรรมทอ งถนิ่ นัน้ ๆ ได

๒.๓ มีความประพฤติดีไมเคยถูกลงทัณฑทางวินัยสูงกวาโทษภาคภัณฑ ในรอบ ๒ ป
นับถงึ วันพจิ ารณา

๒.๔ เปน ผทู ไ่ี ดร บั การยอมรบั และความเชอ่ื ถอื จากประชาชนในชมุ ชนนนั้ ๆ และสามารถ
เขากับประชาชนไดเปน อยางดี

๒.๕ เปนผูท่ีสามารถแกไขปญหาและใหคําแนะนํากับประชาชนและประสานงานกับ
องคก รปกครองทอ งถนิ่ องคก รภาครฐั และเอกชนในขอบเขตอาํ นาจหนา ทไี่ ดเ ปน อยา งดี มปี ระสทิ ธภิ าพ
และทนั ตอเหตุการณ

๒.๖ สมัครใจปฏบิ ัตหิ นาทใี่ นโครงการตาํ รวจชมุ ชน
๒.๗ ผา นการอบรมหลักสตู รตามทสี่ ํานกั งานตํารวจแหงชาติกําหนด

ó. ¡Òä´Ñ àÅÍ× ¡¢ÒŒ ÃÒª¡ÒÃตาํ ÃǨ·¨èÕ Ðä´ÃŒ ºÑ ÁͺËÁÒÂãË»Œ ¯ºÔ μÑ ËÔ ¹ÒŒ ·ตÕè าํ ÃǨªÁØ ª¹

๓.๑ ใหหัวหนาสถานีตํารวจเสนอรายช่ือขาราชการตํารวจที่มีคุณสมบัติตามขอ ๒
และสมัครใจใหค ณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการบริหารงานตาํ รวจสถานตี าํ รวจ เปนผูค ัดเลอื ก
โดยพิจารณาตามลาํ ดบั ดังน้ี

๑๗๒

๓.๑.๑ ใหพิจารณาคัดเลือกจากขาราชการตํารวจท่ีปฏิบัติหนาที่ในโครงการ
ตํารวจชุมชนเดิมเปนลําดับแรก หากมีหลายคน ใหพิจารณาผูที่มีระยะเวลาในการปฏิบัติหนาท่ีใน
โครงการตาํ รวจชมุ ชนเดมิ มากกวา และหากมรี ะยะเวลาปฏบิ ตั งิ านเทา กนั ให คณะกรรมการตรวจสอบ
และตดิ ตามการบริหารงานตาํ รวจ สถานตี ํารวจพิจารณาตามความเหมาะสม

๓.๑.๒ หากไมม ขี า ราชการตาํ รวจตามขอ ๓.๑.๑ ใหพ จิ ารณาคดั เลอื กจากขา ราชการ
ตาํ รวจทปี่ ฏบิ ตั หิ นา ทใี่ นชดุ ปฏบิ ตั กิ ารชมุ ชนสมั พนั ธ เปน ลาํ ดบั แรกโดยพจิ ารณาตามความรคู วามสามารถ
และความเหมาะสมของแตละพ้ืนที่ หากยังไมมี ใหพ จิ ารณาคดั เลอื กจากขาราชการตํารวจในสายงาน
ปองกันปราบปราม

๓.๒ ใหหัวหนาสถานีตํารวจ แจงผลการพิจารณาใหขาราชการตํารวจท่ีสมัครใจปฏิบัติ
หนาท่ีตํารวจชมุ ชนทุกคนทราบ พรอมท้ังอธบิ ายเหตุผล

ô. ¡Òþ¹Œ ¨Ò¡Ë¹ÒŒ ·èÕตําÃǨªØÁª¹

๔.๑ ลาออก
๔.๒ ตาย
๔.๓ ออกจากราชการตาม พ.ร.บ.ตาํ รวจแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๗
๔.๔ ไดรบั การเล่ือนยศเปน ขา ราชการตํารวจชน้ั สัญญาบตั ร
๔.๕ ไดรบั การแตง ตั้งไปดํารงตาํ แหนง ในสถานีตาํ รวจแหงอืน่
๔.๖ ขาดคณุ สมบตั ิอยา งใดอยางหนึง่ ที่กําหนดไวใ นขอ ๒
๔.๗ คณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการบรหิ ารงานตาํ รวจสถานตี าํ รวจมคี วามเหน็
เกนิ กวา กง่ึ หนงึ่ ใหเ จา หนา ทต่ี าํ รวจผนู น้ั พน จากหนา ทตี่ าํ รวจชมุ ชน เนอ่ื งจากมคี วามประพฤตไิ มเ หมาะสม

๑๗๓

¼¹Ç¡ ¤ : ˹Ҍ ·¤èÕ ÇÒÁÃºÑ ¼´Ô ªÍº ¤³Ø ÊÁºμÑ Ô áÅСÒþ¹Œ ¨Ò¡Ë¹ÒŒ ·¢èÕ Í§ÍÒÊÒÊÁ¤Ñ Ã
ตาํ ÃǨªÁØ ª¹
ñ. ˹ŒÒ·¤Õè ÇÒÁÃºÑ ¼´Ô ªÍº¢Í§ÍÒÊÒÊÁѤÃตาํ ÃǨªØÁª¹

๑.๑ ดําเนินการตามข้ันตอนในการสรางการมีสวนรวมของประชาชนเพื่อรักษา
ความสงบเรียบรอยและปองกนั อาชญากรรมในชุมชน ตามทก่ี าํ หนดไวใน ผนวก ง

๑.๒ ปฏิบตั ิหนา ที่ในการปอ งกนั อาชญากรรมในชมุ ชน
๑.๓ แสวงหาความรวมมือจากประชาชนในชุมชนและสรางเครือขายประชาชน
ในการรักษาความสงบเรียบรอยและปองกันอาชญากรรมในชุมชน

ò. ¤³Ø ÊÁºÑμ¢Ô ͧÍÒÊÒÊÁ¤Ñ Ãตาํ ÃǨªÁØ ª¹

๒.๑ เล่ือมใสในการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน
พระประมขุ

๒.๒ มสี ัญชาตไิ ทย มีอายุไมตํา่ กวา ๒๐ ป และมีภมู ิลําเนา หรือถน่ิ ทีอ่ ยูในชมุ ชนนนั้ ๆ
๒.๓ มีความประพฤติดี ไมบกพรองในศีลธรรมอันดี หรือมีพฤติการณอันควรสงสัย
วาพัวพันเกี่ยวของกับการทําผิดกฎหมาย หรือสรางความเดือดรอนแกประชาชน หรือกอใหเกิด
ความเสยี หายตอสงั คมสว นรวม
๒.๔ สมัครใจและมีจิตอาสาท่ีจะเขามาชวยเหลอื ชุมชน/ทองถน่ิ

ó. ¡Òþ¹Œ ¨Ò¡Ë¹ŒÒ·èÕÍÒÊÒÊÁ¤Ñ Ãตาํ ÃǨªØÁª¹

๓.๑ ขาดคณุ สมบัตอิ ยางใดอยางหนงึ่ ตามท่ีกําหนดไวในขอ ๒
๓.๒ ลาออก
๓.๓ ตาย
๓.๔ คณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการบรหิ ารงานตาํ รวจ สถานตี าํ รวจมคี วามเหน็
เกินกวา ก่ึงหนึง่ ใหพ นจากหนา ทีอ่ าสาสมคั รตํารวจชุมชน เน่อื งจากมคี วามประพฤติไมเ หมาะสม

๑๗๔

º¹Ñ ·¡Ö ¢ÍŒ ¤ÇÒÁ

ÊÇ‹ ¹ÃÒª¡ÒÃ......บ...ก...อ...ก...บ..ช...ต...ช..ด..........โ.ท..ร.....๐...๒...๒...๗..๙.....๙...๕..๒...๐..-..๓...๔.....ต..อ....๕...๑..๖...๐..๓...,..๕...๑..๑...๑..๓...................
·.Õè ...๐..๐...๓..๐....๑..(.พ...)/..................................................Ç¹Ñ ·.Õè ..............ธ..ัน..ว..า..ค..ม.....๒...๕...๖..๐...............................
àÃÍè× §.....แ..จ..ง..ป...ร..ะ..ม..ว..ล..ร..ะ..เ..บ..ยี..บ...ก..า..ร..ต..ํา..ร..ว..จ..ไ..ม..เ..ก..ีย่ ..ว..ก..ับ...ค..ด...ี .ล..ัก...ษ..ณ...ะ...ท..ี่.๔...๑....(.เ.ด...ิม..).........................................
ผกก.ตชด.๑๓, ๑๔, ๒๑, ๒๔, ๓๒, ๓๔, ๔๒, ๔๓ และ ผกก.ฝสสน.๒ บก.สสน.บช.ตชด./ผอ.สถานี

ดว ย สส.(ฝา ยเลขานกุ าร กนว.) มหี นงั สอื ที่ ๐๐๓๓.๒(๑๐)/๔๕๖๓ ลง ๑๒ ธ.ค. ๖๐ แจง วา
ตร. ไดปรับปรุงระเบียบสํานักงานตํารวจแหงชาติ วาดวยประมวลระเบียบการตํารวจไมเกี่ยวกับคดี
ลักษณะที่ ๔๑ (เดิม) การสือ่ สาร พ.ศ.๒๕๖๐ เพอื่ ใหเปนไปตามโครงสรางสว นราชการของสํานกั งาน
ตํารวจแหงชาติ และเหมาะสม สอดคลองกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ ขอบังคับ และอ่ืนๆ
ทเี่ กย่ี วขอ ง โดยมผี ลตงั้ แต ๑๐ ต.ค. ๖๐ เปน ตน ไป ซง่ึ ตามระเบยี บฯ ดงั กลา ว จะเกย่ี วขอ งกบั การดาํ เนนิ งาน
สถานวี ทิ ยุกระจายเสยี งในเครอื ขาย ตร. ในบทที่ ๗ การรบั และจา ยเงินบํารุงสถานวี ทิ ยกุ ระจายเสยี ง
และสถานวี ทิ ยโุ ทรทศั น และบทท่ี ๘ การดาํ เนนิ กจิ การสถานวี ทิ ยกุ ระจายเสยี งและสถานวี ทิ ยโุ ทรทศั น
ทัง้ นี้ สามารถดาวนโ หลดระเบยี บฯ ดังกลา วไดทางเวบ็ ไซต บช.ตชด. www.bpp.go.th

จึงแจง มาเพื่อทราบและดาํ เนนิ การในสว นเกี่ยวของตอไป

พล.ต.ต.
( ณัฐ สงิ หอ ดุ ม )

ผบก.อก.บช.ตชด./เลขานกุ าร
คณะกรรมการดาํ เนินงานสถานวี ทิ ยุฯ ตชด.

๑๗๕

ÃÐàºÕºสาํ ¹Ñ¡§Ò¹ตาํ ÃǨáË‹§ªÒμÔ

ÇÒ‹ ´ÇŒ »ÃÐÁÇÅÃÐàºÂÕ º¡ÒÃตําÃǨäÁà‹ ¡ÕÂè ǡѺ¤´Õ
Å¡Ñ É³Ð·Õè ôñ (à´ÔÁ)
¾.È.òõöð

โดยทเี่ ปน การสมควรปรบั ปรงุ ประมวลระเบยี บการตาํ รวจไมเ กย่ี วกบั คดี ลกั ษณะท่ี ๔๑ (เดมิ )
การสอ่ื สาร เพอื่ ใหเ ปน ไปตามโครงสรา งสว นราชการของสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ และเหมาะสมสอดคลอ ง
กับกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ ขอบังคับ และอ่ืน ๆ ท่เี กี่ยวของ ตลอดจนสถานการณปจจุบัน

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๑ แหงพระราชบญั ญัตติ าํ รวจแหง ชาติ พ.ศ.๒๕๔๗
ซง่ึ แกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยคาํ สง่ั หวั หนา คณะรกั ษาความสงบแหง ชาติ ที่ ๗/๒๕๕๙ เรอื่ ง การกาํ หนดตาํ แหนง ของ
ขา ราชการตาํ รวจซงึ่ มอี าํ นาจหนา ทใ่ี นการสอบสวน ลงวนั ท่ี ๕ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๙ ผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาติ
จงึ วางระเบียบไว ดงั ตอไปน้ี

ขอ ๑ ใหยกเลิกความในลักษณะที่ ๔๑ (เดิม) การสื่อสาร แหงประมวลระเบียบการ
ตํารวจไมเ กยี่ วกบั คดี และใหใชความทแ่ี นบทา ยระเบียบนี้แทน

ขอ ๒ ใหใ ชระเบยี บนี้ ต้งั แตบดั น้ีเปน ตน ไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑๐ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๐
พลตาํ รวจเอก
( จกั รทพิ ย ชยั จินดา )
ผบู ัญชาการตาํ รวจแหง ชาติ

๑๗๖

ลักษณะท่ี ๔๑ (เดิม)
การส่อื สาร
บทที่ ๗

การรับและจา ยเงนิ บํารงุ สถานวี ิทยกุ ระจายเสียงและสถานีวทิ ยโุ ทรทัศน

ขอ ๑ ในบทนี้
“สถาน”ี หมายความวา สถานวี ทิ ยกุ ระจายเสยี งหรอื สถานวี ทิ ยโุ ทรทศั นใ นสงั กดั สาํ นกั งาน
ตาํ รวจแหง ชาติ ซงึ่ ใหบ รกิ ารตามกฎหมายวา ดว ยการประกอบกจิ การกระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั น
และหรอื กฎหมายวา ดว ยองคก รจดั สรรคลนื่ ความถแี่ ละกาํ กบั การประกอบกจิ การวทิ ยกุ ระจายเสยี ง วทิ ยุ
โทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม
“เงินรายได” หมายความวา เงินท่ีสถานีไดรับไวเปนกรรมสิทธิ์เนื่องจากดําเนินงาน
ในกจิ การสถานแี ละการประชาสัมพันธ รวมทงั้ ดอกผลนอกเหนือจากเงนิ งบประมาณ ดังน้ี
(๑) เงินทไ่ี ดรบั จากการใหบรกิ ารถา ยทอดรายการ
(๒) เงินท่ีไดรับจากการใหบริการโฆษณา และเงินท่ีไดรับจากการแบงเวลาใหผูอื่น
ดําเนนิ รายการ
(๓) เงนิ ท่ีไดรับจากการแสดงกจิ กรรมตา ง ๆ ทางสถานี
(๔) เงินท่ไี ดรับจากการใหบ รกิ ารประชาสมั พันธ
(๕) เงินทไี่ ดร ับจากการใหบ ริการอืน่ ๆ ที่เกยี่ วกับสถานี
“คณะกรรมการดําเนินงานสถานี” หมายความวา คณะกรรมการดําเนินงานสถานีวิทยุ
กระจายเสยี งหรอื คณะกรรมการดาํ เนนิ งานสถานวี ทิ ยโุ ทรทศั นใ นสงั กดั สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ ซง่ึ แตง ตง้ั
ตามระเบยี บสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตวิ า ดว ยการดาํ เนนิ กจิ การสถานวี ทิ ยกุ ระจายเสยี งและสถานวี ทิ ยุ
โทรทัศน
“ประธานกรรมการดาํ เนนิ งานสถาน”ี หมายความวา ประธานกรรมการดําเนินงานสถานี
วทิ ยกุ ระจายเสยี งหรอื ประธานกรรมการดาํ เนนิ งานสถานวี ทิ ยโุ ทรทศั นใ นสงั กดั สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ
ซ่ึงแตงตั้งตามระเบียบสํานักงานตํารวจแหงชาติวาดวยการดําเนินกิจการสถานีวิทยุกระจายเสียง
และสถานีวิทยโุ ทรทศั น
ขอ ๒ การรบั และจายเงิน

๒.๑ เงนิ รายรบั ของสถานี ใหน าํ ไปเปน เงนิ หมนุ เวยี นตามคาํ สง่ั หวั หนา คณะปฏวิ ตั ิ
ที่ ๓๑/๒๕๑๕ ลงวนั ท่ี ๘ มิถุนายน ๒๕๑๕ และนาํ สง ภาษีรายไดต ามระเบียบของกรมสรรพากร

๑๗๗

๒.๒ การรับเงิน ใหออกใบเสรจ็ รับเงนิ ตามระเบียบท่ีกระทรวงการคลงั กําหนด
โดยอนุโลม

๒.๓ การจายเงนิ ตองมีหลกั ฐานการจา ยเงิน โดยจดั ทําหลกั ฐานตามระเบียบ
ที่กระทรวงการคลงั กําหนดโดยอนุโลม

๒.๔ การเกบ็ รกั ษาเงนิ ใหแ ตล ะสถานเี กบ็ เงนิ สดไวห มนุ เวยี นไดไ มเ กนิ สถานลี ะ
๒๐,๐๐๐ บาท นอกนัน้ ใหนําฝากธนาคารรัฐวสิ าหกิจ

๒.๕ การบัญชี
๒.๕.๑ ใหทุกสถานีบันทึกรายการทางบญั ชตี ามหลกั การบญั ชสี ากล
๒.๕.๒ ใหม กี ารตรวจสอบภายในเกย่ี วกบั การดาํ เนนิ งาน การเงนิ การบญั ชี
๒.๕.๓ ใหจัดทาํ งบเทียบยอดเปนประจาํ ทุกเดือน
๒.๕.๔ ใหจัดทาํ แผนการรับจายเงินประจําป
๒.๕.๕ การคํานวณคาเสื่อมราคาและการตั้งสํารองคาเส่ือมใหเปนไป

ตามหลักเกณฑท่กี ระทรวงการคลงั กําหนดโดยอนโุ ลม
๒.๕.๖ ใหท ุกสถานจี ดั ทาํ สถานภาพการเงินประจาํ เดือน รายงาน กนว.

ผา นเลขานุการ กนว. ภายในวนั ท่ี ๑๐ ของเดอื นถัดไป
๒.๕.๗ ในรอบปบัญชีใหทําการปดบัญชีประจําปและจัดทํางบการเงิน

ตามหลักบัญชีท่รี องรับทวั่ ไป รายงาน กนว. ผานเลขานุการ กนว. ภายในเกา สิบวนั นับแตวนั ปด บัญชี
๒.๕.๘ ใหสถานีจัดเก็บหลักฐานและเอกสารทางการเงินและบัญชีไวใน

ทปี่ ลอดภัยตามระเบยี บของทางราชการ
๒.๖ การดาํ เนนิ การเกย่ี วกบั พสั ดุ ใหป ฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย กฎ ระเบยี บ ขอ บงั คบั

เกยี่ วกบั การจดั ซอ้ื จา งและการบรหิ ารพสั ดภุ าครฐั รวมทง้ั มตคิ ณะรฐั มนตรที เ่ี กย่ี วกบั พสั ดุ การจดั ซอื้ จดั จา ง
หรอื การบริหารพัสดุของหนวยงานของรฐั

ขอ ๓ หลักเกณฑก ารจายเงิน
การจา ยเงนิ เปน คา ใชจ า ยในการดาํ เนนิ กจิ การของสถานหี รอื ทเ่ี กยี่ วเนอ่ื งกบั การดาํ เนนิ กจิ การ
ของสถานีได ในกรณี ดงั น้ี

๓.๑ เปน คา สว นลดใหผ นู าํ โฆษณาเขา ไมเ กนิ รอ ยละยส่ี บิ หา ของการนาํ โฆษณา
เขาน้ัน

๓.๒ เปน เงินรางวัล เบี้ยประชมุ หรอื คาตอบแทนอ่นื ๆ ใหแ กคณะกรรมการ
ดําเนินงานสถานี ท่ปี รึกษา อนกุ รรมการ เจาหนา ที่ ลกู จา ง หรอื ผูทีป่ ฏิบัตงิ านใหแ กสถานี

๓.๓ เปนเงินบํารุงสวัสดิการขาราชการตํารวจในสังกัดหนวยงานท่ีเปนผูจัดตั้ง
สถานตี ามทคี่ ณะกรรมการดาํ เนนิ งานสถานกี าํ หนด และจา ยเปน เงนิ บาํ รงุ สวสั ดกิ ารอน่ื ๆ ตามท่ี กนว.
กําหนด

๑๗๘

๓.๔ เปน คา จดั ซอ้ื วสั ดุ ครภุ ณั ฑ คา จา งแรงงาน คา จา งเหมาบรกิ าร คา ซอ มแซม
บาํ รุงรักษาครภุ ณั ฑและสิ่งกอ สรา ง

๓.๕ เปนคาใชจ ายในการเดนิ ทางไปราชการ
๓.๖ เปน คาอาหาร คาจดั เลีย้ ง คา รบั รอง และคาใชจ ายอ่นื ๆ ในการประชุม
สัมมนาและกจิ กรรมของสถานี
๓.๗ เปน คา เชา ทรพั ยส นิ และคา ใชจ า ยอนื่ ๆ เพอ่ื ประโยชนใ นการดาํ เนนิ กจิ การ
และบรหิ ารสถานี
๓.๘ เปนคาใชจายในการฝกอบรม ศึกษาดูงานของกรรมการ เจาหนาท่ี
เพ่ือเพ่ิมประสทิ ธิภาพการดาํ เนนิ กิจการของสถานี
๓.๙ สํารองไวเปนคา ใชจ า ยอ่นื ๆ ตามทีก่ ฎหมายกาํ หนด
๓.๑๐ เปนคาใชจายอื่นตามท่ีคณะกรรมการดําเนินงานสถานี กนว. หรือ
ผูบ ัญชาการตาํ รวจแหงชาตใิ หค วามเห็นชอบ
การเบิกจายตาม ๓.๔ ถึง ๓.๙ ใหใชหลักเกณฑการเบิกคาใชจายตามระเบียบของทาง
ราชการ โดยอนุโลม
ขอ ๔ อํานาจการจัดสรร การส่ังใช และการส่งั จายเงนิ
๔.๑ ใหประธานกรรมการดําเนินงานสถานีมีอํานาจในการจัดสรรเงินรายได
ตาม ๓.๑ ถึง ๓.๙ ใหเหมาะสมกับเงินรายไดประจําเดือนของสถานี โดยไดรับความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการดําเนนิ งานสถานีนน้ั ๆ
๔.๒ อาํ นาจการสงั่ ใชเ งินตาม ๓.๑ ถงึ ๓.๙ มีดงั น้ี

๔.๒.๑ ประธานกรรมการดําเนินงานสถานีมีอํานาจส่ังใชเงินไดภายใน
วงเงินไมเ กิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท

๔.๒.๒ การสงั่ ใชเ งนิ เกนิ กวา ๑๐๐,๐๐๐ บาท แตไ มเ กนิ ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท
ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการดาํ เนนิ งานสถานีไมน อ ยกวา ก่งึ หน่งึ

๔.๒.๓ การสงั่ ใชเ งนิ เกนิ กวา ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท ตอ งไดร บั ความเหน็ ชอบ
จากคณะกรรมการดําเนินงานสถานีไมนอยกวากึ่งหน่ึงและไดรับความเห็นชอบจากผูบัญชาการ
ตาํ รวจแหง ชาติ

๔.๓ ใหประธานกรรมการดําเนินงานสถานีมีอํานาจส่ังจายเงินตามขอ ๓
เทา ทจี่ ายจรงิ

๔.๔ ใหประธานกรรมการดําเนินงานสถานีมีอํานาจจายเงินยืมเพ่ือใชทดรอง
จา ยในการปฏิบัติงานของสถานีภายในวงเงินไมเกนิ ๑๐๐,๐๐๐ บาท

๑๗๙

๔.๕ สถานวี ทิ ยทุ มี่ หี นสี้ นิ ผกู พนั ทจ่ี ะตอ งจา ยตามสญั ญา ใหป ระธานกรรมการ
ดาํ เนนิ งานสถานีมีอาํ นาจสง่ั จา ยได

ขอ ๕ ใหผูบัญชาการตํารวจแหงชาติแตงต้ังเจาหนาท่ีตรวจสอบงบการเงินและบัญชี
ของสถานีตามท่เี ห็นสมควร

(ระเบยี บสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ วา ดว ยประมวลระเบยี บการตาํ รวจไมเ กย่ี วกบั คดี
ลกั ษณะท่ี ๔๑ (เดิม) การสอื่ สาร พ.ศ.๒๕๖๐ ลงวันท่ี ๑๐ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๖๐)

๑๘๐

ลักษณะท่ี ๔๑ (เดมิ )
การสอ่ื สาร
บทที่ ๘

การดําเนินกิจการสถานวี ทิ ยุกระจายเสยี งและสถานวี ิทยุโทรทศั น

ขอ ๑ ความหมายหรือคําจํากัดความใหเปนไปตามพระราชบัญญัติและหรือระเบียบ
ประกาศท่เี ก่ียวขอ ง ดงั น้ี

๑.๑ พระราชบัญญัติวทิ ยคุ มนาคม พ.ศ.๒๔๙๘
๑.๒ พระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน
พ.ศ.๒๕๕๑
๑.๓ พระราชบัญญัติองคกรจัดสรรคลื่นความถ่ีและกํากับการประกอบกิจการ
วิทยุกระจายเสยี ง วทิ ยุโทรทศั น และกจิ การโทรคมนาคม พ.ศ.๒๕๕๓

หมวด ๑
คณะกรรมการกาํ หนดนโยบายและควบคุมการบรหิ ารสถานวี ิทยกุ ระจายเสยี ง

และสถานีวทิ ยโุ ทรทัศน สาํ นักงานตาํ รวจแหง ชาติ

ขอ ๒ ใหมีคณะกรรมการข้ึนคณะหน่ึง เรียกวา “คณะกรรมการกําหนดนโยบาย
และควบคุมการบริหารสถานีวิทยุกระจายเสียงและสถานีวิทยุโทรทัศน สํานักงานตํารวจแหงชาติ”
เรยี กโดยยอวา “กนว.” ประกอบดว ย

๒.๑ ผบู ัญชาการตาํ รวจแหง ชาติ เปน ประธานกรรมการ
๒.๒ รองผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาติ หรอื ตาํ แหนง เทยี บเทา ทไ่ี ดร บั มอบหมาย
ใหรบั ผดิ ชอบงานสาํ นกั งานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร เปน รองประธานกรรมการ
๒.๓ ผชู ว ยผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาติ หรอื ตาํ แหนง เทยี บเทา ทไ่ี ดร บั มอบหมาย
ใหรบั ผิดชอบงานสาํ นกั งานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร เปนรองประธานกรรมการ
๒.๔ ผูบัญชาการสาํ นกั งานกฎหมายและคดี เปน กรรมการ
๒.๕ ผบู ัญชาการสํานกั งานงบประมาณและการเงนิ เปนกรรมการ
๒.๖ ผูบัญชาการหนวยงานที่มีสถานีวิทยุกระจายเสียงในความรับผิดชอบ
เปน กรรมการ
๒.๗ ผบู ังคบั การกองกฎหมาย เปนกรรมการ

๑๘๑

๒.๘ ผูบังคบั การกองคดปี กครองและคดีแพง เปน กรรมการ
๒.๙ ผูบังคบั การกองการเงิน เปนกรรมการ
๒.๑๐ ผูบ งั คับการกองสารนเิ ทศ เปนกรรมการ
๒.๑๑ ขาราชการตํารวจผูทรงคุณวุฒิ หรือขาราชการตํารวจที่มีความรู
ความสามารถทีผ่ ูบ ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาตเิ ห็นสมควร จํานวนไมเกินหาคน เปน กรรมการ
๒.๑๒ ผบู งั คับการกองตาํ รวจสื่อสาร เปนกรรมการและเลขานุการ
๒.๑๓ รองผูบังคับการกองตํารวจส่ือสาร ที่ไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบงาน
กลมุ งานระบบวิทยกุ ระจายเสียงและวิทยุโทรทศั น กองตาํ รวจสื่อสาร เปนผชู ว ยเลขานุการ
ใหผูชวยเลขานุการไดรับเงินรางวัลเทากับคณะกรรมการกําหนดนโยบายและควบคุม
การบรหิ ารสถานีวทิ ยกุ ระจายเสียงและสถานวี ิทยโุ ทรทศั น สํานกั งานตาํ รวจแหง ชาติ
ขอ ๓ ในการประชุม กนว. ตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวาก่ึงหนึ่งของจํานวน
กรรมการทงั้ หมดจงึ เปน องคป ระชมุ ถา ในการประชมุ คราวใดประธานกรรมการและรองประธานกรรมการ
ไมอ ยใู นทป่ี ระชมุ หรอื ไมส ามารถปฏบิ ตั หิ นา ทไี่ ด ใหก รรมการทมี่ าประชมุ เลอื กกรรมการดว ยกนั คนหนง่ึ
เปนประธานในท่ปี ระชมุ
มติของที่ประชุม กนว. ใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหน่ึงใหมีเสียงหน่ึงเสียงในการ
ลงคะแนน ถา มคี ะแนนเสยี งเทา กนั ใหป ระธานในทป่ี ระชมุ ออกเสยี งเพมิ่ ขน้ึ อกี หนงึ่ เสยี งเปน เสยี งชขี้ าด
ขอ ๔ กนว. มอี าํ นาจหนาท่ี ดังนี้
๔.๑ กาํ หนดนโยบายในการดาํ เนนิ กจิ การสถานวี ทิ ยกุ ระจายเสยี งและสถานวี ทิ ยุ
โทรทศั นใ นสงั กดั สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ เพอ่ื ใหค ณะกรรมการดาํ เนนิ งานสถานใี ชใ นการบรหิ ารและ
ดําเนินกจิ การสถานี
๔.๒ กาํ หนดเงอื่ นไขและพจิ ารณาคาํ ขอจดั ตง้ั หรอื ยา ยสถานใี นสงั กดั สาํ นกั งาน
ตํารวจแหงชาติ ทั้งนี้ ภายใตหลักเกณฑและวิธีการของคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ
โทรทศั น และกจิ การโทรคมนาคมแหง ชาติ (กสทช.)
๔.๓ กาํ หนดหลกั เกณฑใ นการกาํ กบั ดแู ลการดาํ เนนิ กจิ การสถานใี หเ ปน ไปตาม
นโยบายท่สี าํ นกั งานตํารวจแหงชาติและตามกฎ ระเบยี บที่ กสทช. กาํ หนด
๔.๔ ตง้ั อนกุ รรมการเพอ่ื ดาํ เนนิ การควบคมุ ดแู ล และตรวจสอบการบรหิ ารงาน
ดานรายการ ดา นการเงินของสถานี ใหเปน ไปตามนโยบายทส่ี าํ นกั งานตํารวจแหงชาตกิ ําหนด
๔.๕ ใหค าํ แนะนาํ กาํ กบั ดแู ล และตรวจสอบการบรหิ ารงานของสถานี รวมทงั้
มีสิทธิเรียกคณะกรรมการดําเนินงานสถานีในสังกัดมาช้ีแจงรายละเอียดการดําเนินกิจการวา เปนไป
ดวยความเรียบรอย ถกู ตอง ตามเงื่อนไข ขอ บังคับท่ีสํานกั งานตาํ รวจแหงชาติ และ กสทช. กาํ หนด
หรือไม เพยี งใด

๑๘๒

๔.๖ ส่ังการและกําหนดโทษหนวยงานหรือคณะกรรมการดําเนินงานสถานี
ท่ไี มปฏิบัตหิ รือฝาฝน ระเบียบ ขอบงั คับ หรอื มติตามท่ี กนว. กาํ หนด

๔.๗ ปฏบิ ตั หิ นา ทอี่ น่ื ตามทกี่ าํ หนดไวใ นบทนแ้ี ละตามทผ่ี บู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาติ
มอบหมาย

ขอ ๕ ใหก องตาํ รวจสอื่ สารรบั ผดิ ชอบงานธรุ การ งานประชมุ งานตรวจสอบ งานการเงนิ
งานทะเบียน งานสถิติ และงานอื่น ๆ ท่ี กนว. มอบหมาย ตลอดจนเปนศูนยกลางในการติดตอ
ประสานงานกบั สถานวี ทิ ยกุ ระจายเสยี งและสถานวี ทิ ยโุ ทรทศั นท กุ สถานใี นสงั กดั สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ

ใหผ บู งั คบั การกองตาํ รวจสอ่ื สารแตง ตงั้ เจา หนา ทเ่ี พอื่ ปฏบิ ตั หิ นา ทตี่ ามวรรคหนงึ่ มจี าํ นวน
ตามที่ กนว. กําหนด

หมวด ๒
วตั ถุประสงคก ารสงวิทยกุ ระจายเสยี งหรอื วิทยโุ ทรทศั น

ขอ ๖ การใหบริการสงวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศนใหเปนไปตามเจตนารมณ
ของการผลิตสอ่ื เพอ่ื เปน การบริการสาธารณะและเปนประโยชนต อสาธารณชนอยา งแทจรงิ

การสงวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศนนอกจากจะใหเปนไปตามวรรคหน่ึงแลว ใหมี
วัตถุประสงค ดงั น้ี

๖.๑ สง เสรมิ ความรู ความเขา ใจ ความรบั ผดิ ชอบ และจติ สาํ นกึ เรอ่ื งการปกครอง
ในระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยทรงเปนประมุข

๖.๒ เปนสื่อกลางในการใหขอ มลู ขา วสาร แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพ่ือความ
เขา ใจอันดีและถูกตอง โดยคํานึงถึงสิทธิและความเสมอภาคในการรบั รขู อ มูลขาวสารของประชาชน

๖.๓ สงเสริมการศึกษา จริยธรรม ศิลปวัฒนธรรม ใหความรู ความบันเทิง
โดยไมข ัดกบั ขนบธรรมเนยี มประเพณีและศลี ธรรมอันดงี ามของชาติ

๖.๔ สง เสรมิ ใหเ กดิ ความรู ความเขา ใจ ในการพฒั นาเศรษฐกจิ สงั คม คณุ ภาพชวี ติ
ทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ ม

หมวด ๓
การจัดต้ังหรือการยายสถานี ลักษณะทางเทคนคิ และคณุ สมบตั ขิ องเจา หนาที่สถานี

ขอ ๗ หนวยงานใดในสังกัดสํานักงานตํารวจแหงชาติประสงคจะต้ังหรือยายสถานี
ใหปฏิบัติ ดังนี้

๑๘๓

๗.๑ การยน่ื คาํ ขอจดั ตงั้ หรอื ยา ยสถานี ใหห นว ยงานตงั้ แตร ะดบั กองบงั คบั การ
หรือเทียบเทาขึ้นไป แสดงวัตถุประสงค จัดทําแผน กําหนดพ้ืนที่ และจัดทํารายละเอียดเอกสาร
หลักฐาน ขอ มลู ท่จี ําเปน หรอื มีรายละเอียดถูกตอ งและครบถวนตามแบบท่ี กสทช. กาํ หนดไวสําหรับ
การย่ืนคําขอในเร่ืองน้ัน ๆ เปนการเฉพาะ รวมถึงเอกสารหลักฐานอ่ืนใดท่ีเกี่ยวของใหเพียงพอ
ทจ่ี ะเขาใจและสามารถพิจารณาได

๗.๒ ใหส ง เอกสารพรอ มรายละเอยี ดตาม ๗.๑ มายงั กองตาํ รวจสอื่ สารในฐานะ
เลขานกุ าร กนว. พิจารณากล่นั กรองใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ขอ บงั คับท่ีเกยี่ วขอ ง
นาํ เสนอ กนว. เมอื่ กนว. มคี วามเหน็ ชอบ ใหก องตาํ รวจสอื่ สารจดั ทาํ หนงั สอื ยน่ื ตอ กสทช. โดยใหห นว ยงาน
ทย่ี ่นื คาํ ขอจัดตง้ั หรือยา ยสถานเี ปน ผูรับผิดชอบชาํ ระคาธรรมเนยี มตามที่ กสทช. ประกาศกําหนด

๗.๓ เม่ือไดปฏิบัติตาม ๗.๑ ถึง ๗.๒ และไดรับอนุญาตตามกฎหมายแลว
จึงจะดําเนินกจิ การวทิ ยุกระจายเสยี งหรอื กจิ การวิทยโุ ทรทัศนไ ด

ขอ ๘ เครอ่ื งสง ของสถานจี ะตอ งมคี ณุ ลกั ษณะถกู ตอ งตามขอ บงั คบั วา ดว ยวทิ ยคุ มนาคม
ในภาคผนวกตอ ทา ยอนสุ ญั ญาระหวา งประเทศวา ดว ยการโทรคมนาคม และมลี กั ษณะพงึ ประสงคท าง
เทคนิคอ่นื ๆ เชน กาํ ลงั สง การควบคุมความถ่ขี องเครื่องสง แถบความกวางของชอ งคล่ืน วงจรขจดั
ฮาโมนคิ ระบบสายอากาศและสายดนิ ตลอดจนเครอ่ื งอปุ กรณท ดสอบตา ง ๆ ทจี่ าํ เปน ใหเ ปน ไปตาม
ท่ีกฎหมายและหรอื ระเบยี บกําหนด

ขอ ๙ สถานตี อ งมคี ณะกรรมการดาํ เนนิ งานสถานซี งึ่ ผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาตแิ ตง ตง้ั
จากขา ราชการตาํ รวจผทู ่ีมีคุณสมบัตติ ามกฎหมายท่เี กีย่ วของตามคําเสนอของผอู ํานวยการสถานี

ใหห วั หนา หนว ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบสถานเี ปน ผอู าํ นวยการสถานหี รอื ประธานกรรมการดาํ เนนิ งาน
สถานี และเปนผูพิจารณาเสนอแตงต้ังคณะกรรมการดําเนินงานสถานีตอผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ
โดยผา นเลขานกุ าร กนว.

สําหรับหนวยงานที่มีสถานีมากกวาหน่ึงสถานีใหมีคณะกรรมการดําเนินงานสถานีเพียง
คณะเดยี ว

ขอ ๑๐ ใหค ณะกรรมการดาํ เนนิ งานสถานมี อี าํ นาจแตง ตง้ั คณะอนกุ รรมการเทา ทจี่ าํ เปน
ตอ การดําเนินกิจการของสถานี

ใหประธานกรรมการดําเนินงานสถานีมีอํานาจแตงต้ังหัวหนาสถานีและเจาหนาท่ีฝาย
ตา ง ๆ ใหเ พยี งพอตอ การดาํ เนนิ กจิ การของสถานภี ายใตก รอบอตั ราทค่ี ณะกรรมการดาํ เนนิ งานสถานี
กําหนด

ขอ ๑๑ ใหผ บู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาตใิ นฐานะผรู บั อนญุ าตหรอื ผรู บั ใบอนญุ าตแตง ตงั้
หัวหนาหนวยงานที่รับผิดชอบสถานีเปนผูอํานวยการสถานี ทําหนาที่รับผิดชอบดูแลการจัดรายการ
การดาํ เนนิ รายการ และการออกอากาศของสถานี ใหเ ปน ไปโดยถกู ตอ งตามกฎหมายวา ดว ยการประกอบ
กจิ การกระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั นและประกาศท่ีเกย่ี วของ

๑๘๔

การเปลยี่ นแปลงผอู าํ นวยการสถานี ใหผบู ัญชาการตํารวจแหง ชาตใิ นฐานะผูรับอนุญาต
หรอื ผูรับใบอนญุ าตแจง ให กสทช. ทราบภายในสามสิบวนั นับต้งั แตว นั ทมี่ กี ารเปลีย่ นแปลง

ขอ ๑๒ เมื่อมีการแตง ตง้ั หัวหนาสถานี ตลอดจนเจา หนา ทส่ี ถานอี ่ืน ๆ และทกุ ครง้ั ทีม่ ี
การเปลี่ยนตัวบุคคลดังกลาว ทุกสถานีจะตองแจงเปนลายลักษณอักษรให กนว. และหนวยงาน
ทเี่ กีย่ วของทราบ

หมวด ๔
การดาํ เนนิ การของสถานี

ขอ ๑๓ สถานีจะตองดําเนินการตามวัตถุประสงคในขอ ๖ และตามเง่ือนไขท่ี กสทช.
ระบไุ วใ นการอนญุ าต

ขอ ๑๔ สถานีจะตองแจงกําหนดเวลาออกอากาศผังรายการหลักให กนว. ตรวจสอบ
กอ นใหผ บู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาตใิ นฐานะผรู บั อนญุ าตหรอื ผรู บั ใบอนญุ าตแจง กสทช. ตามกฎหมาย
วา ดวย การประกอบกิจการกระจายเสียงและกจิ การโทรทัศน และใหเรมิ่ บริการกิจการกระจายเสียงได
เมือ่ ไดร บั ความเห็นชอบแลว

ในกรณมี คี วามประสงคจ ะเปลยี่ นแปลงผงั รายการ ใหเ สนอขอรบั ความเหน็ ชอบกอ นทาํ การ
เปล่ยี นแปลงทกุ ครั้ง

ขอ ๑๕ สถานีจะตองสงวิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศนโดยใชชื่อสถานี กําลัง
สงออกอากาศ ความถี่ และกําหนดเวลาออกอากาศตามที่ไดรบั อนุญาต

ขอ ๑๖ เวลาออกอากาศท้ังหมดของสถานี สถานีตองดําเนินการเอง โดยจะตอง
แบง เวลาใหผ ูอ่นื ดําเนนิ รายการไดต ามหลกั เกณฑ วธิ ีการ เงื่อนไขที่ กสทช. ประกาศกาํ หนด

ขอ ๑๗ ทุกสถานีจะตอ งสงออกอากาศเปน ภาษาไทย ยกเวน
๑๗.๑ การแจงชื่อ ท่ีตั้ง และขนาดความถ่ีคลื่นวิทยุของสถานีเปนภาษา

ตางประเทศ
๑๗.๒ เพลงท่ีมีคํารองเปนภาษาตางประเทศ หรือการแสดงเพ่ือการบันเทิง

โดยมีการพดู ประกอบเปน ภาษาตางประเทศ
๑๗.๓ คาํ ใหสัมภาษณของบุคคลทกี่ ลา วเปน ภาษาตา งประเทศ
๑๗.๔ การกลาวอางขอความเพ่ือประกอบบทความ ขาว หรือสารคดี หรือ

ขอ ความเกยี่ วกบั การโฆษณาในทางการคา
๑๗.๕ การถา ยทอดเสียงในฟล มจากภาพยนตรต างประเทศ
๑๗.๖ รายการทางวชิ าการ

๑๘๕

๑๗.๗ ถายทอดรายการสด
๑๗.๘ รายการท่เี ปน รายการแลกเปล่ยี นระหวางประเทศ
๑๗.๙ รายการอื่นท่ี กสทช. ใหความเหน็ ชอบ
คาํ วา “ภาษาไทย” ใหห มายความรวมถงึ ภาษาพน้ื เมอื งในทอ งถนิ่ ตา ง ๆ ของประเทศไทย
ดวย
ขอ ๑๘ หา มมใิ หอ อกอากาศรายการทมี่ เี นอื้ หาสาระทก่ี อ ใหเ กดิ การลม ลา งการปกครอง
ในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมขุ หรอื ทมี่ ผี ลกระทบตอ ความมน่ั คงของรฐั
ความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือมีการกระทําซ่ึงเขาลักษณะลามกอนาจาร
หรือท่ีมผี ลกระทบตอการใหเ กิดความเสอื่ มทรามทางจิตใจหรือสขุ ภาพของประชาชนอยา งรา ยแรง
ผูอํานวยการสถานีมีหนาที่ตรวจสอบและใหระงับการออกอากาศรายการที่มีลักษณะ
ตามวรรคหน่ึง หากสถานีไมดําเนินการ ใหคณะกรรมการดําเนินงานสถานีมีอํานาจสั่งดวยวาจาหรือ
เปนหนังสือ ใหระงับการออกอากาศรายการน้ันไดทันที และใหดําเนินการสอบสวนขอเท็จจริงกรณี
ดงั กลาวโดยพลัน
ขอ ๑๙ การดําเนินการตอไปน้ีตองไดรับอนุมัติจาก กนว. และ กสทช. กอน
จึงจะดาํ เนินการได คอื
๑๙.๑ ให ใหเชา โอน หรือเอาทรัพยสินหรืออุปกรณที่จําเปนตองใชในการ
ดาํ เนนิ การสง วทิ ยกุ ระจายเสยี งหรอื วทิ ยโุ ทรทศั นเ ปน ประกนั ในการชาํ ระหนี้ หรอื ใหผ อู น่ื เขา รว มดาํ เนนิ การ
๑๙.๒ เปล่ยี นช่อื สถานี
๑๙.๓ เปล่ียนคลื่นความถี่
๑๙.๔ เพิ่มหรอื ลดกําลังสง
๑๙.๕ ติดตั้งเครื่องสงหรือเคร่ืองรับ-สงเพื่อขยายรัศมีการถายทอดรายการ
เพ่มิ ขึน้ จากที่ไดร บั อนุมตั ิ
๑๙.๖ ยา ยทีต่ ง้ั เครอ่ื งสง หรอื ทที่ าํ การ
๑๙.๗ เลกิ สถานี หรือหยดุ ทาํ การสง ออกอากาศ

หมวด ๕
หนา ทรี่ ับผิดชอบของเจาหนาที่สถานี

ขอ ๒๐ คณะกรรมการดําเนินงานสถานีมีหนาที่รับผิดชอบท่ัวไปในการดําเนินงานของ
สถานี เพอื่ ใหก ารปฏบิ ตั งิ านของสถานเี ปน ไปโดยถกู ตอ งตามบทนแี้ ละตามระเบยี บ ประกาศ ขอ บงั คบั
หรือคาํ สงั่ อ่ืน ๆ และรับผดิ ชอบในเร่ืองการเงินของสถานี

๑๘๖

ขอ ๒๑ ผูอํานวยการสถานีมอบหมายใหหัวหนาสถานีมีหนาที่รับผิดชอบและควบคุม
ดูแล เจาหนา ทสี่ ถานใี หปฏิบตั ติ ามระเบียบ ขอ บงั คับ หรือคําสัง่ และรับผิดชอบงานทค่ี ณะกรรมการ
ดําเนินงานสถานีกาํ หนด

หมวด ๖
การดาํ เนนิ รายการ

ขอ ๒๒ สถานจี ะตอ งจดั วางผงั รายการหลกั โดยจดั แบง รายการของสถานเี ปน ๒ ประเภท
ประกอบดว ย ประเภทขา วสารและสาระทเ่ี ปน ประโยชน ประเภทสาระความรแู ละบนั เทงิ โดยมสี ดั สว น
รายการ ดังน้ี

๒๒.๑ ตองกําหนดใหมีรายการท่ีเปนขาวสารหรือสาระที่เปนประโยชน
ตอสาธารณะในสัดสวนไมนอยกวารอ ยละเจ็ดสิบ

๒๒.๒ ตอ งเสนอผงั รายการตอ กนว. ผา นกองตาํ รวจสอ่ื สารในฐานะเลขานกุ าร
กนว. ลว งหนา ไมน อ ยกวา หกสบิ วนั กอ นเรม่ิ ออกอากาศ และจะเรม่ิ ออกอากาศไดเ มอื่ ไดร บั ความเหน็ ชอบ
จาก กนว. และ กสทช. แลว

๒๒.๓ ในกรณีท่ีผังรายการไมเปนไปตามท่ีกําหนด ใหสถานีดําเนินการแกไข
และเสนอมาใหมภ ายในเจ็ดวนั นับแตวนั ท่ไี ดรบั แจง

สถานีตองจัดทําผังรายการใหเหมาะสมกับวัตถุประสงคของการประกอบกิจการที่ไดรับ
ใบอนุญาตและวัตถปุ ระสงคข องการสงวทิ ยุกระจายเสียงและวิทยโุ ทรทศั นต ามขอ ๖ ทงั้ น้ี ใหเปนไป
ตามหลกั เกณฑท ่ี กสทช. ประกาศกําหนดสาํ หรบั ใบอนุญาตแตละประเภท

ขอ ๒๓ สถานวี ทิ ยกุ ระจายเสยี งและวทิ ยโุ ทรทศั นจ ะตอ งถา ยทอดขา วหรอื รายการอน่ื ๆ
ทส่ี าํ คญั ตามท่ี กสทช. รอ งขอหรอื กาํ หนด และจะตอ งถา ยทอดขา วหรอื รายการตามทส่ี าํ นกั งานตาํ รวจ
แหง ชาตกิ ําหนด

ขอ ๒๔ ในการดําเนินบริการสงวิทยุกระจายเสียงและดําเนินบริการสงวิทยุโทรทัศน
สถานีจะตอ ง

๒๔.๑ ประกาศช่อื สถานี ที่ตัง้ และแจง เวลาอยางนอ ยชวั่ โมงละหน่ึงครง้ั หรือ
ทุกคร้ังที่มีการเปลย่ี นรายการ

๒๔.๒ จดั ใหม รี ายการประเภทขา วสารและความรใู นการสง ออกอากาศตามที่
กสทช. กาํ หนด

๒๔.๓ เผยแพรร ายการสนับสนุนนโยบายของรฐั ตามที่ กสทช. กําหนด
๒๔.๔ ปฏบิ ัติตามกฎหมายสําหรบั บริการโฆษณา

๑๘๗

๒๔.๕ ไมอ อกอากาศในเรอ่ื งที่ทาํ ใหป ระชาชนตน่ื ตระหนก เสยี ขวัญ เกดิ การ
อลหมา น เกดิ ความแตกแยก หรอื กระทบกระเทอื นตอ ความมน่ั คงปลอดภยั ของชาตหิ รอื ความสมั พนั ธ
อันดีกับตางประเทศ

๒๔.๖ ไมออกอากาศขา วหรือขอความอันเปน เทจ็ หรอื บดิ เบอื นขอ เท็จจรงิ
๒๔.๗ ออกอากาศขา วเตือนภัยที่ทางราชการสงมาเปนระยะ ๆ ตามควรแก
กรณี
๒๔.๘ ออกอากาศรายการที่มีเสียงพูดทุกรายการดวยเสียงของเจาหนาท่ี
ผปู ระกาศหรือผูจ ดั โดยใหถ อื ปฏิบัติตามที่ กสทช. ประกาศกาํ หนด เวน แตรายการถายทอดนอกสถานี
ทม่ี รี ายการสมั ภาษณบ คุ คล รายการของทางราชการ รายการบนั เทงิ และรายการบรรยายของวทิ ยากร
๒๔.๙ สถานตี อ งจดั ใหม กี ารบนั ทกึ รายการทไี่ ดอ อกอากาศไปแลว โดยอาจบนั ทกึ
ไวใ นเทปหรอื วสั ดโุ ทรทศั นอ ยา งอน่ื หรอื ดว ยวธิ กี ารใด ๆ ทส่ี ามารถถา ยทอดกลบั มาเปน รายการนน้ั ได
และเก็บรกั ษาไวเพือ่ ใหทําการตรวจสอบไดต ามเง่ือนไขท่ี กสทช. ประกาศกําหนด
ขอ ๒๕ สถานจี ะตอ งไมฝ กใฝหรอื กระทําการเปน ฝา ยหนงึ่ ฝายใดในทางการเมอื ง
ขอ ๒๖ ในการประกอบกจิ การกระจายเสยี งและกจิ การโทรทศั น สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ
ในฐานะผูรับอนุญาตหรือผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการกระจายเสียงหรือกิจการโทรทัศนท่ีมี
วตั ถปุ ระสงคห ลกั เพอ่ื ความมน่ั คงของรฐั หรอื ความปลอดภยั สาธารณะ ใหห ารายไดจ ากการโฆษณาได
เทาที่เพียงพอตอการประกอบกิจการโดยไมเนนการแสวงหากําไร ตองใชเวลาสําหรับการโฆษณา
ไมเ กนิ กวา เวลาท่ี กสทช. ประกาศกําหนด
(ระเบียบสํานักงานตํารวจแหงชาติ วาดวยประมวลระเบียบการตํารวจไมเกี่ยวกับคดี
ลกั ษณะท่ี ๔๑ (เดิม) การสือ่ สาร พ.ศ.๒๕๖๐ ลงวนั ท่ี ๑๐ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๐)

๑๘๘

ºÑÞª¤Õ ÁØ ¢Ò‹ ÇÃѺ

ÅÒí ´ºÑ ·èÕ ·Õè ¢Ò‹ Çŧ ¢Ò‹ Ç ÃѺ¢‹ÒÇ ª×èÍ ¹íÒʧ‹ ª×Íè ËÁÒÂàËμØ
¢Í§¢‹ÒÇ ¢Í§ Çѹ ¨Ò¡ ¶§Ö àÊèç àÁ×èÍ ¼ÃŒÙ ºÑ ¼ÊŒÙ §‹ à¨ÒŒ ˹Ҍ ·Õ袋ÒÇ ¼ÃŒÙ ºÑ ¼ÙÊŒ ‹§
¢Ò‹ Ç à´Í× ¹ ¢Ò‹ Ç ¢‹ÒÇ àÁÍè× Ç¹Ñ à´Í× ¹ ¢‹ÒÇ ¢Ò‹ Ç
»‚ Çѹ
à´×͹ »‚ »‚ àÇÅÒ

๑๘๙

º¹Ñ ·Ö¡¢ŒÍ¤ÇÒÁ

ÊÇ‹ ¹ÃÒª¡Òà ตร. โทร. ๐ ๒๒๐๕ ๓๑๗๔ โทรสาร ๐ ๒๒๐๕ ๓๑๗๓
·Õè ๐๐๗.๒๔/ว ๖๘ Çѹ·Õè ๑๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒
àÃÍè× § แนวทางการปฏิบัติงานจิตอาสาชุมชนสัมพันธและการมีสวนรวมของประชาชน สํานักงาน
ตาํ รวจแหง ชาติ ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓

ผบช.น., ก., ภ.๑ - ๙, ตชด., พตร., ศ., รร.นรต., สยศ.ตร.
ผบก.ศฝร.ภ.๑ - ๙ และ วพ.รพ.ตร.

ภายใตยุทธศาสตรชาติ ระยะ ๒๐ ป (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ยุทธศาสตรท่ี ๖ ดานการ
ปรบั สมดุลและพฒั นาระบบบริหารจัดการภาครฐั ประเด็นเรง ดว นในชวง ๕ ปแรกของยุทธศาสตรชาติ
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) นโยบายความมน่ั คงแหง ชาติ
(พ.ศ.๒๕๕๘ - ๒๕๖๔) นโยบายรฐั บาล ยทุ ธศาสตรส าํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ ๒๐ ป (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐)
ยุทธศาสตรท่ี ๓ การมีสวนรวมของประชาชนในการรักษาความสงบเรียบรอยของสังคมอยางยั่งยืน
ระเบียบ ตร. วา ดวยการสง เสริมใหประชาชน ชมุ ชน ทองถ่ิน และองคก รมสี วนรวมในกิจการตาํ รวจ
พ.ศ.๒๕๕๑ นโยบายผูบ ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาติ ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ และแผนปอ งกนั
ปราบปรามอาชญากรรมของสาํ นกั งานตํารวจแหง ชาติ ประจําปง บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ จงึ ไดก ําหนด
กลยุทธ เพื่อมุงเนนใหขาราชการตํารวจมีความรอบรูตามแนวยุทธศาสตรพระราชทาน เขาใจ เขาถึง
พฒั นา โดยนอ มนําแนวทางการดําเนนิ งานโครงการจติ อาสาพระราชทานตามแนวพระราชดํารมิ าเปน
แนวทางในการปฏิบัติงาน เพ่ือใหประชาชนมีความเช่ือมั่น ศรัทธา และรวมมือสนับสนุนการปฏิบัติ
งานของตาํ รวจ โดยใหหนวยงานในสังกัด นําไปปฏิบัติเพ่ือใหปญหาอาชญากรรมลดนอยลงดวยการ
แสวงหาความรวมมือจากประชาชน ควบคูไปกับการประชาสัมพันธในทุกเครือขาย เปดโอกาสให
ประชาชน ชมุ ชน ทอ งถน่ิ และองคก รตา งๆ เขา มามสี ว นรว มในการแกไ ขปญ หาอาชญากรรม มลี กั ษณะ
เปด กวา ง เชื่อมโยงถงึ กนั และเปด โอกาสใหทุกภาคสวนเขา มามสี วนรว ม เพ่ือตอบสนองความตองการ
ของประชาชนไดอ ยา งสะดวก รวดเรว็ และโปรง ใส โดยทกุ ภาคสว นในสงั คมตอ งรว มกนั ปลกู ฝง คา นยิ ม
ความซ่อื สัตยส จุ รติ ความมธั ยสั ถ และสรางจิตสาํ นึกในการปฏเิ สธไมย อมรบั การทจุ รติ ประพฤตมิ ิชอบ
เพอื่ สรา งความสงบสุขใหเกดิ แกส ังคมและใหป ระชาชนอยูอยางปลอดภยั

ดังน้ัน เพ่ือใหการปฏิบัติงานจิตอาสาชุมชนสัมพันธ และการมีสวนรวมของประชาชน
สํานักงานตํารวจแหงชาติ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และ
เพอื่ ใหส อดคลอ งกบั งบประมาณทไ่ี ดร บั การจดั สรร จงึ ไดก าํ หนดแนวทางการปฏบิ ตั ใิ หห นว ยทเ่ี กยี่ วขอ ง

๑๙๐

นําไปใชในการบริหารงานตามภารกิจหนาท่ีความรับผิดชอบ ใหมีประสิทธิภาพสูงสุด และบรรลุ
ตามเปา หมายท่ีกาํ หนด ดังนี้

ñ. ½Ò† »¯ºÔ ÑμÔ¡ÒÃ
ñ.ñ ºª.¹., ¡.(º¡.ÿ.) áÅÐ À.ñ - ù จดั ชดุ จติ อาสาชมุ ชนสมั พนั ธเ ขา ดาํ เนนิ การ

ในพ้ืนท่ีหมูบาน/ชุมชนเปาหมาย และพื้นที่ดําเนินงานโครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนว
พระราชดําริ ภายใตก รอบงบประมาณที่ไดรับจดั สรร

๑.๒ รพ.ตร. ดาํ เนนิ กจิ กรรมหนว ยแพทยเ คลอื่ นท่ี โดยใหจ ดั ทาํ แผนเพอื่ เตรยี มพรอ ม
เขา ดาํ เนนิ การในพน้ื ทท่ี มี่ สี ถานการณฉ กุ เฉนิ เชน นา้ํ ทว ม แผน ดนิ ไหว หรอื ในพนื้ ทที่ เี่ กดิ ภยั พบิ ตั ติ า งๆ
ภายใตกรอบงบประมาณท่ไี ดร ับจัดสรร

๑.๓ บช.ตชด. นาํ แนวทางการปฏบิ ตั งิ านจติ อาสาชมุ ชนสมั พนั ธแ ละการมสี ว นรว ม
ของประชาชน สาํ นักงานตาํ รวจแหง ชาติ ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ ไปปรับใชใหเหมาะสมกบั
สถานการณ และสภาพแวดลอ มในแตล ะพน้ื ที่ใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

ò. ½†ÒÂอาํ ¹Ç¡ÒÃ
ò.ñ ´ŒÒ¹¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ หนวยงานทรี่ ับผิดชอบ ไดแก บช.ศ., รร.นรต., ศฝร.ภ.๑ - ๙

และ วพ.รพ.ตร. บรรจวุ ชิ า/เนอ้ื หาการฝก อบรม การดาํ เนนิ งานโครงการจติ อาสาพระราชทานตามแนว
พระราชดาํ ริ และงานการมสี ว นรว มของประชาชน ในหลกั สตู รประจาํ และหลกั สตู รพเิ ศษของสาํ นกั งาน
ตํารวจแหงชาติ เพอ่ื พฒั นาขา ราชการตาํ รวจทกุ ระดบั ใหมีความรู ความเขาใจ áÅÇŒ ÃÒ§ҹãËŒ μÃ.
(¼Ò‹ ¹ ¼Í.ÊÂÈ.μÃ.) ÀÒÂã¹Çѹ·Õè óñ Á¹Õ Ò¤Á òõöó

ò.ò ´ŒÒ¹¡ÒûÃÐàÁÔ¹¼Å หนวยงานรับผิดชอบ ไดแก สยศ.ตร.(วจ.) ดําเนินการ
ประเมนิ ผล และรายงานผลการประเมนิ เสนอสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ

ò.ó ´ÒŒ ¹§Ò¹¨μÔ ÍÒÊÒªÁØ ª¹ÊÁÑ ¾¹Ñ ¸ áÅСÒÃÁÊÕ Ç‹ ¹ÃÇ‹ Á¢Í§»ÃЪҪ¹ ในภาพรวม
ตร. หนวยงานรบั ผิดชอบ ไดแ ก สยศ.ตร.(ผอ.) ดําเนนิ การดงั น้ี

๑) จดั สรรงบประมาณรายจา ย ประจาํ ป ๒๕๖๓ กจิ กรรม การบงั คบั ใชก ฎหมาย
และบริการประชาชน ใหกับหนวยตางๆ เปนไปดวยความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน
สูงสดุ

๒) จดั ทําละแจกจา ยสอื่ เกย่ี วกบั งานจติ อาสาชมุ ชนสมั พนั ธแ ละการมสี ว นรวม
ของประชาชน เชน คมู อื แผน ปลวิ แผน พบั สอื่ วดี ทิ ศั น และสอื่ อน่ื ๆ เพอื่ เปน เครอื่ งมอื ในการปฏบิ ตั งิ าน

๓) รวบรวมขอมูลจิตอาสาเสริมสรางความปลอดภัย องคกร มูลนิธิ
และพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต ท่ีเขามามีสวนรวมในกิจการตํารวจเพื่อเปนฐานขอมูล
และงายตอการใชป ระโยชน

๔) จัดฝกอบรมขาราชการตํารวจเพื่อปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนและเพ่ิม
ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ัตงิ านจติ อาสาชมุ ชนสมั พันธ และการมีสวนรวมของประชาชน

๑๙๑

๕) สงเสริมสนับสนุนการดําเนินโครงการและเผยแพรความรูการปฏิบัติงาน
จติ อาสาตามโครงการจติ อาสาพระราชทานตามแนวพระราชดาํ ริ

๖) จัดเจาหนาที่ตํารวจในสังกัด ออกสังเกตการณ แนะนํา ชี้แจง ติดตาม
การปฏิบัติงานของหนวยท่ีเก่ียวของเพ่ือรับทราบผลการปฏิบัติงานและปญหาอุปสรรค รวมทั้งรับฟง
ความคิดเหน็ และทศั นคตขิ องประชาชนในพนื้ ท่ี

๗) ขบั เคลอื่ น ควบคมุ กาํ กบั ดแู ล ชแี้ จง และใหค าํ แนะนาํ การปฏบิ ตั งิ านของ
ชุดจติ อาสาชมุ ชนสัมพนั ธของหนวยปฏิบัติตา งๆ อยางใกลช ดิ เพือ่ ใหการปฏบิ ตั ิงานเปนไปในทิศทาง
เดยี วกนั

๘) รวบรวมปญหา อุปสรรค จากการปฏิบัติงาน และขอเสนอแนะของ
ผปู ฏบิ ตั จิ ติ อาสาชมุ ชนสมั พนั ธ และการมสี ว นรว มของประชาชน เพอ่ื เปน ขอ มลู ในการปรบั ปรงุ แนวทาง
การปฏบิ ัติในปต อ ไป

ó. á¹Ç·Ò§¡ÒÃÊÌҧ¡ÒÃÁÕʋǹËÇÁ¢Í§»ÃЪҪ¹ â´Âนําá¹Ç·Ò§¡ÒÃดําà¹Ô¹§Ò¹
â¤Ã§¡ÒèÔμÍÒÊÒ¾ÃÐÃÒª·Ò¹μÒÁá¹Ç¾ÃÐÃÒªดําÃÔ ÁÒ໹š á¹Ç·Ò§¡Òû¯ºÔ ÑμÔ㹡Òû͇ §¡Ñ¹á¡Œä¢
»˜ÞËÒÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ

๓.๑ เสรมิ สรา งการมสี ว นรว มของประชาชน โดยนาํ แนวทางการดาํ เนนิ งานโครงการ
จิตอาสาพระราชทานตามแนวทางพระราชดําริ มาเปนแนวทางการปฏิบัติในการปองกันแกไขปญหา
อาชญากรรม

๑) สรางเครือขายการปฏิบัติงานรวมกับหนวยงานบังคับใชกฎหมาย โดยนํา
แนวทางการดาํ เนนิ งานโครงการจติ อาสาพระราชทานตามแนวพระราชดาํ ริ มาเปน แนวทางการปฏบิ ตั ิ
ในการปอ งกนั แกไขปญหาอาชญากรรม

๒) ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนของขาราชการตํารวจและเปาหมายการทํางาน
ของหนวยงานทุกระดับ โดยนําแนวทางการดําเนินงานโครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนว
พระราชดาํ ริ มาเปน แนวทางการปฏบิ ัตใิ นการปองกันแกไขปญ หาอาชญากรรม

๓) ประชาสัมพันธและสรางการรับรูความเขาใจ แนวทางการดําเนินงาน
โครงการจติ อาสาพระราชทานตามแนวพระราชดาํ ริ รวมถงึ กระบวนงานดา นตา งๆ ใหป ระชาชนไดร บั รู
อยางตอ เนอ่ื ง

๔) สรางเครือขายอาสาสมัครจิตอาสาเสริมสรางความปลอดภัย/เยาวชน
จิตอาสา รวมกับสถาบันการศึกษา คณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารงานตํารวจ
วัด ศาสนสถานของศาสนาตางๆ ประชาชน องคก รภาครัฐและภาคเอกชน

๓.๒ ปรับทัศนคติ วิธีการทํางานที่มุงเนนผลสัมฤทธิ์ โดยยึดประชาชนและชุมชน
เปน ศนู ยก ลาง พรอ มทงั้ นาํ แนวทางการดาํ เนนิ งานโครงการจติ อาสาพระราชทานตามแนวพระราชดาํ ริ
มาเปนแนวทางการปฏิบัตใิ นการปองกันแกไ ขปญหาอาชญากรรม

๑๙๒

๑) สงเสริมและผลักดันการมีสวนรวมของประชาชนในการปฏิบัติหนาที่
ของขา ราชการตาํ รวจ โดยนาํ แนวทางการดาํ เนนิ งานโครงการจติ อาสาพระราชทานตามแนวพระราชดาํ ริ
มาเปนแนวทางการปฏิบัติในการปอ งกันแกไ ขปญหาอาชญากรรม

๒) เสรมิ สรา งทศั นคติ วธิ กี ารทาํ งานเกยี่ วกบั งานการมสี ว นรว มของประชาชน
แกขาราชการตํารวจทุกระดับ โดยนําแนวทางการดําเนินงานโครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนว
พระราชดาํ ริ มาเปน แนวทางการปฏบิ ตั ใิ นการปองกนั แกไขปญ หาอาชญากรรม

๓) ดาํ เนนิ กจิ กรรมทม่ี งุ เนน ใหป ระชาชนมสี ว นรว มในการแกไ ขปญ หาของชมุ ชน
โดยนาํ แนวทางการดาํ เนนิ งานโครงการจติ อาสาพระราชทานตามแนวพระราชดาํ ริ มาเปน แนวทางการ
ปฏบิ ัติในการปอ งกันแกไ ขปญ หาอาชญากรรม

๓.๓ สง เสรมิ สนับสนนุ ใหประชาชน ชมุ ชน องคกรปกครองสว นทอ งถิน่ เครอื ขา ย
ภาครฐั และภาคเอกชนเขา มามสี ว นรว มตามระเบยี บและหลกั เกณฑท ก่ี าํ หนด โดยนาํ แนวทางการดาํ เนนิ งาน
โครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดําริ มาเปนแนวทางการปฏิบัติในการปองกันแกไข
ปญ หาอาชญากรรม

๑) บรู ณาการกลไกการทาํ งานทงั้ ภายในและภายนอกองคก รใหม กี ารเชอ่ื มโยง
การดําเนนิ งานการมสี ว นรว มของประชาชน ชุมชน องคก รปกครองสวนทองถ่ิน เครอื ขายภาครัฐและ
ภาคเอกชน โดยนาํ แนวทางการดาํ เนนิ งานโครงการจติ อาสาพระราชทานตามแนวพระราชดาํ ริ มาเปน
แนวทางการปฏิบัตใิ นการปอ งกนั แกไ ขปญหาอาชญากรรม

๒) ปรับปรุงแกไขกฎหมาย กฎ ระเบียบ คําสั่ง และขอบังคับตางๆ ที่เปน
อุปสรรคตอการเปดโอกาสใหประชาชน ชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น เครือขายภาครัฐและ
ภาคเอกชนเขา มามสี ว นรว มในกจิ การตาํ รวจ โดยนาํ แนวทางการดาํ เนนิ งานโครงการจติ อาสาพระราชทาน
ตามแนวพระราชดําริ มาเปน แนวทางการปฏิบตั ใิ นการปองกันแกไขปญ หาอาชญากรรม

๓) ปรับปรุง พัฒนารูปแบบ วิธีการปฏิบัติ และแนวทางการประเมินผลการ
เขามามีสวนรวมของประชาชน เครอื ขา ยภาครัฐและภาคเอกชนใหมีประสทิ ธภิ าพมากขน้ึ

๔) ปรับปรุง พัฒนารูปแบบ วิธีการปฏิบัติ และแนวทางการประเมินผล
การเขา มามสี ว นรว มของสถาบนั การศกึ ษา คณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการบรหิ ารงานตาํ รวจ
และภาคประชาชน ใหมีประสิทธิภาพมากข้นึ

๓.๔ สงเสรมิ ยกยอ ง เชิดชูเกยี รติ ประชาชนจติ อาสา องคกรปกครองสวนทอ งถิ่น
เครือขายภาครัฐ ภาคเอกชน ที่เขามามีสวนรวมในกิจการตํารวจ โดยนําแนวทางการดําเนินงาน
โครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดําริ มาเปนแนวทางการปฏิบัติในการปองกันแกไข
ปญหาอาชญากรรม

๑) จดั สรรงบประมาณประจาํ ปเ พอื่ เปน คา ตอบแทนใหก บั ประชาชนทผี่ า นการ
อบรมการสรา งจติ สาํ นกึ ตอ สถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ  ทเี่ ปน อาสาสมคั รชว ยเหลอื งานตาํ รวจ

๑๙๓

ในการปองกันปราบปรามอาชญากรรม และประชาสัมพันธ บริการขอมูล การจัดกิจกรรมจิตอาสา
และดูแลตอ นรบั ประชาชนทีม่ าเขา รว มกจิ กรรม

๒) สนบั สนนุ เงนิ คา ตอบแทนและสวสั ดกิ ารใหก บั ประชาชน เครอื ขา ยภาครฐั
และภาคเอกชน ท่ีเขามามีสวนรวมในกิจการของตํารวจตามความเหมาะสมและความตองการของ
ประชาชนในพ้ืนท่ี

๓.๕ ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนของขาราชการตํารวจและเปาหมายการทํางานของ
หนวยงานทุกระดับใหยึดถือประชาชนเปนศูนยกลางและรูปแบบประชารัฐโดยเนนการมีสวนรวมของ
ประชาชน โดยนําแนวทางการดําเนนิ งานโครงการจติ อาสาพระราชทานตามแนวพระราชดาํ ริ มาเปน
แนวทางการปฏิบัติในการปอ งกันแกไขปญหาอาชญากรรม

๑) ฝก อบรมบคุ ลากรใหม คี วามรเู กย่ี วกบั การมสี ว นรว มของประชาชน โดยนาํ
แนวทางการดาํ เนนิ งานโครงการจติ อาสาพระราชทานตามแนวพระราชดาํ ริ มาเปน แนวทางการปฏบิ ตั ิ
ในการปอ งกนั แกไ ขปญ หาอาชญากรรม

๒) อบรมสรางจิตสํานึก ใหความรูความเขาใจ ปรับทัศนคติและบูรณาการ
เกย่ี วกบั งานการมสี ว นรว มของประชาชน แกข า ราชการตาํ รวจทกุ ระดบั โดยนาํ แนวทางการดาํ เนนิ งาน
โครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดําริ มาเปนแนวทางการปฏิบัติในการปองกันแกไข
ปญ หาอาชญากรรม

ô. ¡Òû¯ºÔ μÑ Ô§Ò¹¨ÔμÍÒÊÒªØÁª¹ÊÁÑ ¾Ñ¹¸
๔.๑ เนน การใหบ รกิ ารเชงิ รกุ ออกพบปะเยยี่ มเยยี นประชาชน เผยแพรป ระชาสมั พนั ธ

ความรูความเขาใจเก่ียวกับสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และนโยบายของสํานักงานตํารวจ
แหงชาติ ใหประชาชนเกิดความเช่ือม่ัน ศรัทธา โดยใหสถานีตํารวจ ¨Ñ´ªØ´¨ÔμÍÒÊÒªØÁª¹ÊÑÁ¾Ñ¹¸
เขา ปฏบิ ตั งิ านในพนื้ ทเี่ ปา หมาย โดยนาํ แนวทางการดาํ เนนิ งานโครงการจติ อาสาพระราชทานตามแนว
พระราชดําริ มาเปนแนวทางการปฏิบัติในการปองกันแกไขปญหาอาชญากรรม และดําเนินกิจกรรม
ทเ่ี ปน สาธารณประโยชน อบรมใหค วามรเู กย่ี วกบั การปอ งกนั อาชญากรรม การปอ งกนั การแพรร ะบาด
ของยาเสพติด กฎหมายจราจร การใหบริการดานตรวจสุขภาพของหนวยแพทยเคล่ือนท่ี โดยให
ผบู งั คับบญั ชาในระดับ บช., บก. และ สน./สภ. มอบหมายผบู ังคบั บญั ชาระดบั รองลงมา รบั ผิดชอบ
ควบคุม กํากับ ดูแล การปฏิบัติงานชุดจิตอาสาชุมชนสัมพันธอยางใกลชิด ใหเปนไปตามแนวทาง
ที่กําหนดและรายงานผลการปฏิบัติตามแบบรายงานให ตร. (ผาน ผอ.สยศ.ตร.) ทราบ ตามหวง
ระยะเวลาที่กําหนด

๔.๒ การจดั ชดุ จิตอาสาชมุ ชนสมั พนั ธ ใหห ัวหนา สน./สภ. แตงตัง้ เจาหนา ทต่ี ํารวจ
ที่มคี วามรู ความเขาใจ มีทัศนคติท่ีดีตอ ชาติ ตอ สถาบัน ทม่ี ีความสมัครใจและผา นการอบรมการสราง
จติ สาํ นกึ ตอ สถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ  โดยตอ งเปน ทย่ี อมรบั ของประชาชน และมคี วามเสยี สละ
คาํ นงึ ถึงประโยชนสว นรวม และมจี ิตใจบริการ ดงั นี้

๑๙๔

๑) ระดบั ผกก. เปน หวั หนา สถานี ใหจ ดั ª´Ø ¨μÔ ÍÒÊÒªÁØ ª¹ÊÁÑ ¾¹Ñ ¸ อยา งนอ ย
จาํ นวน ๕ นาย ประกอบดว ย หวั หนา ชดุ เปนระดบั สญั ญาบตั ร ๑ นาย และเจาหนา ทปี่ ระจาํ ชุดเปน
ระดับสญั ญาบัตร หรอื ประทวนไมนอยกวา ๔ นาย

๒) ระดบั สวญ. เปน หวั หนา สถานี ใหจ ดั ª´Ø ¨μÔ ÍÒÊÒªÁØ ª¹ÊÁÑ ¾¹Ñ ¸ อยา งนอ ย
จํานวน ๔ นาย ประกอบดวย หัวหนาชุดเปนระดับสัญญาบัตร ๑ นาย และเจาหนาที่ประจําชุด
เปนระดบั สัญญาบตั ร หรอื ประทวนไมนอ ยกวา ๓ นาย

๓) ระดับ สว. เปนหวั หนา สถานี ใหจ ดั ªØ´¨ÔμÍÒÊÒªÁØ ª¹ÊÁÑ ¾¹Ñ ¸ อยา งนอย
จํานวน ๓ นาย ประกอบดวย หัวหนาชดุ เปน ระดับสัญญาบตั ร ๑ นาย และเจาหนาทป่ี ระจําชุดเปน
ระดับสญั ญาบัตร หรือประทวนไมน อ ยกวา ๒ นาย

๔.๓ การกําหนดพื้นที่ในการดําเนินงาน โดยทุกสถานีตํารวจจะตองเขาปฏิบัติงาน
อยางนอ ย จํานวน ๕ หมบู าน/ชุมชน และใหป ฏิบตั งิ านตลอดปงบประมาณ เนนการดาํ เนินกิจกรรม/
โครงการ ในพน้ื ท่ี ทงั้ ในสว นของการปอ งกนั ปราบปรามอาชญากรรมและการเขา รว มในการปอ งกนั ภยั
ระงับเหตุ และชวยเหลือหรือกูภัยจากอุบัติภัยตางๆ โดยไมใหกระทบตอภารกิจประจําวันในการ
ประกอบอาชีพและการประกอบพธิ กี รรมทางศาสนาของประชาชน

๔.๔ การคัดเลือกหมูบาน/ชุมชน ใหสํารวจคนหาปญหาความตองการของพื้นที่
รวมกับผนู ําชมุ ชนและประชาชนจิตอาสาในพนื้ ท่ี โดยยดึ หลักการทรงงานของรัชกาลที่ ๙ “ระเบิดจาก
ขางใน” ใหประชาชนรวมคิด รวมทํา และรวมกันแกไขปญหาของพ้ืนท่ีใหสอดคลองกับแนวทางจิต
อาสาพระราชทานตามแนวพระราชดาํ ริ โดยนาํ ปญ หาทไ่ี ดจ ากการประชมุ มาจดั ลาํ ดบั ความสาํ คญั และ
ความจาํ เปน เรง ดว น และให บช. รวบรวมบญั ชรี ายชอื่ ชดุ จติ อาสาชมุ ชนสมั พนั ธ พรอ มหมายเลขโทรศพั ท
และรายช่ือหมูบาน/ชุมชน ในการดําเนินงานของหนวยงานในสังกัด สงให ตร. (ผาน ผอ.สยศ.ตร.)
ÀÒÂã¹Çѹ·Õè óñ ¸Ñ¹ÇÒ¤Á òõöò

๔.๕ ดําเนินกิจกรรมเผยแพร ขยายผล การสรางจิตสํานึกตอสถาบันชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริย จัดแสดงนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติเพ่ือเผยแพรพระราชกรณียกิจและกิจกรรม
จิตอาสาตามโครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดําริ

๔.๖ ดาํ เนนิ กจิ กรรมหรอื เขา รว มกจิ กรรม จติ อาสาพฒั นาชมุ ชนเขม แขง็ ประชามสี ขุ
กิจกรรมสาธารณประโยชน อาทิ การขุดลอกคูคลอง การดูแลรักษาความสะอาดเรียบรอยของ
ศาสนสถานหรือสถานที่สาธารณะ รวมทั้งการพัฒนาโครงการตางๆ ท่ีสรางความเปนอยูของชุมชน
ใหเขม แขง็ ประชาชนมีความสุขอยางย่ังยืน

๔.๗ ดําเนินกิจกรรมจิตอาสาภัยพิบัติ เฝา ตรวจ เตือน และเตรียมการรองรับ
ภัยพิบัติทั้งที่เกิดจากธรรมชาติและเกิดจากสาเหตุอื่นๆ ท่ีสงผลกระทบตอประชาชนในพ้ืนท่ีโดยรวม
และการเขา ชว ยเหลอื บรรเทาความเดอื ดรอ นของประชาชนจากภยั พบิ ตั ิ เชน อทุ กภยั วาตภยั อคั คภี ยั
เปนตน

๑๙๕

๔.๘ ดําเนินกิจกรรมจิตอาสาเฉพาะกิจ เปนการใชกําลังจิตอาสารวมปฏิบัติกับ
สวนราชการที่เกี่ยวของในการชวยเหลือหรืออํานวยความสะดวกแกประชาชนท่ีมารวมงานรวมท้ัง
การเตรียมการ การเตรียมสถานที่และการฟนฟูสถานท่ีภายหลัง การปฏิบัติในพระราชพิธี
และการเสด็จฯ นัน้ ๆ ใหเปน ไปดว ยความเรยี บรอ ย

๔.๙ สรางเครือขายอาสาสมัครแนวรวมจิตอาสาเสริมสรางความปลอดภัยและ
จัดทําขอมูลเครือขายอาสาสมัครแนวรวมทุกประเภท อาสาสมัครอื่นๆ อาสาจราจร องคกร มูลนิธิ
และพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต ที่เขามามีสวนรวมในกิจการตํารวจเพ่ือเปนฐานขอมูล
และงายตอการใชป ระโยชน

๔.๑๐ สรางเครือขายอาสาสมัครแนวรวมเยาวชนจิตอาสา โดยอบรมใหความรู
ความเขา ใจการดาํ เนนิ การตามโครงการจติ อาสาพระราชทานตามแนวพระราชดาํ ริ การยดึ มนั่ ในสถาบนั ชาติ
ศาสนา พระมหากษตั รยิ  การเสยี สละประโยชนส ว นตนเพอื่ ประโยชนส ว นรวม และความมน่ั คงของชาติ
การปองกันอาชญากรรม ยาเสพติด การลดอุบัติภัย การลดความขัดแยงแกนักเรียน นักศึกษา
ตามสถานศึกษาในระดับตางๆ ทั้งสายสามัญและสายอาชีพ โดยเขาดําเนินการอยางตอเน่ือง
อยา งนอ ยสปั ดาหละ ๑ ครั้ง

๔.๑๑ เรงสรางความเชื่อมั่นใหกับประชาชน ในหมูบาน/ชุมชนเปาหมาย โดยทํา
ใหต าํ รวจเปน ทพ่ี ง่ึ ของประชาชนในทกุ โอกาส ทาํ งานอยา งมศี กั ดศ์ิ รี และยดึ แนวทางตามหลกั ธรรมาภบิ าล
ในการปฏิบัตหิ นาท่ี

๔.๑๒ จดั ทาํ โครงการตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งในหมบู า น/ชมุ ชนเปา หมาย
โดยเขาไปรวมสนับสนุน สงเสริม อบรมใหความรูแกประชาชนในการดําเนินการตามหลักเศรษฐกิจ
พอเพยี ง อยา งนอ ย ๑ หมบู า น/ชมุ ชน และตอ งมผี ลการดาํ เนนิ การเปน รปู ธรรม อยา งนอ ย ๑ ครวั เรอื น
เพื่อเปน ตวั อยางแกป ระชาชนในหมูบา น/ชมุ ชนขา งเคยี ง

๔.๑๓ จัดทําโครงการประชาคมชุมชนหมูบาน ในการปองกันอาชญากรรมและ
การรักษาความสงบเรียบรอยภายในชุมชน ในพ้ืนที่หมูบาน/ชุมชนเปาหมาย โดยนําแนวทาง
การดําเนินงานโครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดําริ มาเปนแนทางการปฏิบัติในการ
ปอ งกนั แกไขปญ หาอาชญากรรม ผลกั ดนั ใหเ กดิ กระบวนการมสี วนรวม ดว ยความรว มมอื ของสมาชิก
ในหมูบ าน/ชุมชนทุกคนและทุกภาคสวน

๔.๑๔ เผยแพรค วามรใู นการเสรมิ สรา งความม่นั คงของประเทศ เก่ียวกับการยดึ มนั่
ในสถาบนั ชาติ ศาสนา และจงรกั ภักดีตอสถาบนั พระมหากษัตริย ใหก ับประชาชน

๔.๑๕ รับเรื่องรองเรียนเกี่ยวกับปญหาอาชญากรรม ยาเสพติด และอบายมุขจาก
ประชาชนในหมบู า น/ชมุ ชนเปา หมาย แลว นาํ เสนอเขา ทป่ี ระชมุ ประจาํ เดอื นของสถานตี าํ รวจดาํ เนนิ การ
แกไ ขปญหาโดยเรงดว น

๑๙๖

õ. ¡Òû¯ÔºÑμÔ§Ò¹¡ÒÃÁÕÊÇ‹ ¹ÃÇ‹ Á¢Í§»ÃЪҪ¹
๕.๑ สง เสริมสนับสนนุ ใหประชาชน ชมุ ชน องคกรปกครองสว นทอ งถ่นิ เครอื ขา ย

ภาครัฐ และภาคเอกชนเขามามีสวนรวมตามระเบียบ ก.ต.ช. วาดวยหลักเกณฑและวิธีการจัดระบบ
การบริหาร การปฏิบัติงานดานการปองกันและปราบปรามการกระทําความผิดทางอาญา การรักษา
ความสงบเรียบรอย และการรักษาความปลอดภัยของประชาชนใหเหมาะสมกับความตองการของ
แตละทองถ่ินและชุมชน พ.ศ.๒๕๕๙ โดย ผบช.น., ผบก.ภ.จว., หน.สภ. ตองประสานงานกับ
ผบู รหิ ารองคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ เพอื่ จดั ทาํ บนั ทกึ ขอ ตกลงความรว มมอื ในสว นทเ่ี กยี่ วกบั นโยบาย
งบประมาณและอาสาสมัคร ตลอดจนการติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานของตํารวจ โดยหากเปน
โครงการทตี่ อ งขอรบั เงนิ อดุ หนนุ จากทอ งถนิ่ ใหป ระสานงานเพอ่ื บรรจโุ ครงการไวใ นแผนพฒั นาทอ งถนิ่
ตามวงรอบปฏทิ นิ การจดั ทาํ คาํ ของบประมาณรายจา ยประจาํ ป และงบประมาณรายจา ยเพมิ่ เตมิ ลว งหนา

๕.๒ แสวงหาความรว มมอื จาก พนกั งานรกั ษาความปลอดภยั รบั อนญุ าต ใหเ ขา มา
มีสว นรวมในกิจการตํารวจ ดังนี้

๑) ชวยเหลือตํารวจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ในการ
จบั กมุ ผกู ระทําความผิด

๒) รักษาความปลอดภัยในชีวิต รางกาย และทรัพยสินของบุคคล รวมท้ัง
ระงับเหตุและรกั ษาความสงบเรียบรอ ยภายในบรเิ วณหรอื สถานที่ทรี่ บั ผดิ ชอบรกั ษาความปลอดภัย

๓) เมื่อมีการกระทําความผิดอาญาหรือนาเช่ือวามีเหตุรายเกิดข้ึนภายใน
บริเวณหรือสถานท่ีที่รับผิดชอบ รักษาความปลอดภัย ตองแจงเหตุน้ันใหตํารวจทองที่ท่ีปฏิบัติหนาที่
ประจําอยูทราบโดยทันที รวมทั้งปดกั้นและรักษาสถานท่ีเกิดเหตุใหคงสภาพเดิมไวจนกวาตํารวจ
ผมู ีอํานาจหนาทจ่ี ะเดนิ ทางมาถงึ สถานทเ่ี กิดเหตุ

๕.๓ สถานีตํารวจท่ีมีหนวยบริการประชาชน (สถานีตํารวจชุมชน (Koban))
ใหข บั เคลอ่ื นการดาํ เนนิ การอยา งตอ เนอื่ ง เพอ่ื กระจายการบรกิ ารอยา งทวั่ ถงึ ตามสภาพพน้ื ทที่ เ่ี หมาะสม
และความตองการของประชาชน

ö. ¡ÒÃÃÒ§ҹ¼Å¡Òû¯ºÔ ÑμÔ§Ò¹μÒÁá¼¹§Ò¹ â¤Ã§¡ÒÃ/¡¨Ô ¡ÃÃÁ ´§Ñ ¹Õé
๖.๑ การรายงานผลการปฏิบัติงาน (จาํ นวนหมบู าน/ชมุ ชนเปา หมาย) และผลการ

ใชจ า ยงบประมาณกจิ กรรมการบงั คบั ใชก ฎหมายและบรกิ ารประชาชน โดยใหร วบรวมผลการดําเนนิ การ
ทกุ วนั ท่ี ๒๕ ของแตล ะเดอื น แลว รายงานตามแบบ สงป.๓๐๑ และ สงป.๓๐๒ ให ตร. (ผา น ผอ.สยศ.ตร.)
ภายในวันท่ี ๓๐ ของทุกเดอื น (หามผดั สง) (หากไมม ีผลการปฏบิ ัตงิ านและผลการใชจายงบประมาณ
รายจายในแตละเดือน ใหรายงานใหทราบดวย) และกาํ ชับเรื่องการรายงานจาํ นวนหมูบาน/ชุมชน
โดยใช สน./สภ. รายงานจํานวนหมูบาน/ชุมชน ตามแบบรายงานเพียงคร้ังแรกในเดือนท่ีเขาไป
ดําเนินการเทาน้ัน หากเดือนตอไปเขาไปดําเนินการซํ้าหมูบาน/ชุมชนเดิม หามรายงานจํานวนหมู/
ชมุ ชนซํ้าอกี

๑๙๗

๖.๒ การรายงานผลการปฏิบัติงาน โครงการ/กิจกรรมของ บช.น., ก. (บก.รฟ.)
ภ.๑ - ๙ และ รพ.ตร. ให ตร. (ผาน ผอ.สยศ.ตร.) (¼¹Ç¡ ¡) ครั้งท่ี ๑ รอบ ๖ เดอื น (๑ ต.ค. ๖๒ -
๓๑ ม.ี ค. ๖๓) ภายในวันท่ี ๕ เม.ย. ๖๓ คร้งั ท่ี ๒ รอบ ๑๒ เดือน (๑ ต.ค. ๖๒ - ๓๐ ก.ย. ๖๓)
ภายในวนั ที่ ๕ ต.ค. ๖๓

๖.๓ การรายงานผลการปฏิบัติงานของอาสาสมัครแนวรวมจิตอาสาเสริมสราง
ความปลอดภยั (เฉพาะ สน./สภ. ทไี่ ดร บั การสนบั สนนุ งบประมาณจาก ตร.) ให ตร. (ผา น ผอ.สยศ.ตร.)
(¼¹Ç¡ ¢) คร้งั ที่ ๑ รอบ ๖ เดือน (๑ ต.ค. ๖๒ - ๓๑ มี.ค. ๖๓) ภายในวันที่ ๕ เม.ย. ๖๓ คร้ังท่ี ๒
รอบ ๑๒ เดือน (๑ ต.ค. ๖๒ - ๓๐ ก.ย. ๖๓) ภายในวนั ที่ ๕ ต.ค. ๖๓

๖.๔ การรายงานผลการปฏิบัติของสถานีตํารวจชุมชน (Koban) ใหรายงานผล
พรอ มภาพถา ย สง ให ตร. (ผา น ผอ.สยศ.ตร.) (¼¹Ç¡ ¤) ภายในวันท่ี ๕ ของเดือนถัดไป

๖.๕ การรายงานขอมูลอาสาสมัครแนวรวมจิตอาสาเสริมสรางความปลอดภัย
(อาสาสมคั รตาํ รวจบา น อาสาสมคั รตาํ รวจชมุ ชน อาสาจราจร สมาชกิ แจง ขา วอาชญากรรม อาสาสมคั ร
อื่นๆ) องคกร มูลนิธิ และพนักงานรักษาความปลอดภัยรับอนุญาต ใหจัดเก็บขอมูลตามแบบฟอรม
ที่กําหนด (¼¹Ç¡ §) แลว รวบรวมขอมลู ทงั้ หมด ลงในแผนบนั ทึกขอ มลู (แผน CD) ในรปู แบบไฟล
Excel สง ให ตร. (ผาน ผอ.สยศ.ตร.) ภายในวนั ท่ี ๓๑ มี.ค. ๖๓

๖.๖ การรายงานผลการปฏิบัติ ความรวมมือจากพนักงานรักษาความปลอดภัย
รับอนญุ าต ทเ่ี ขามามสี ว นรวมในกิจการตาํ รวจ (¼¹Ç¡ ¨) คร้งั ที่ ๑ รอบ ๖ เดอื น (๑ ต.ค. ๖๒ -
๓๑ มี.ค. ๖๓) ภายในวนั ที่ ๕ เม.ย. ๖๓ ครงั้ ที่ ๒ รอบ ๑๒ เดือน (๑ ต.ค. ๖๒ - ๓๐ ก.ย. ๖๓)
ภายในวันท่ี ๕ ต.ค. ๖๓

๖.๗ การรายงานผลการจัดทาํ บันทึกขอตกลงความรวมมือกับองคกรปกครอง
สว นทอ งถน่ิ ตามระเบยี บ ก.ต.ช. วา ดว ยหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารจดั ระบบการบรหิ าร การปฏบิ ตั งิ านดา น
การปอ งกนั และปราบปรามการกระทําความผดิ ทางอาญา การรกั ษาความสงบเรยี บรอ ย และการรกั ษา
ความปลอดภัยของประชาชนใหเหมาะสมกับความตองการของแตละทองถ่ินและชุมชน พ.ศ.๒๕๕๙
(¼¹Ç¡ ©) ครงั้ ท่ี ๑ รอบ ๖ เดอื น (๑ ต.ค. ๖๒ - ๓๑ ม.ี ค. ๖๓) ภายในวนั ท่ี ๒๕ ม.ี ค. ๖๓ ครง้ั ท่ี ๒
รอบ ๑๒ เดือน (๑ ต.ค. ๖๒ - ๓๐ ก.ย. ๖๓) ภายในวันที่ ๒๕ ก.ย. ๖๓

๖.๘ การรายงานผลการดําเนินกิจกรรมตามแนวทางการดําเนินงานโครงการ
จติ อาสาพระราชทานตามแนวพระราชดาํ ริ ใหร ายงานผลพรอ มภาพถา ย (ผนวก ช) ครงั้ ท่ี ๑ รอบ ๖ เดอื น
(๑ ต.ค. ๖๒ - ๓๑ มี.ค. ๖๓) ภายในวันที่ ๕ เม.ย. ๖๓ ครั้งท่ี ๒ รอบ ๑๒ เดอื น (๑ ต.ค. ๖๒ -
๓๐ ก.ย. ๖๓) ภายในวนั ท่ี ๕ ต.ค. ๖๓

๑๙๘

๖.๙ การรายงานผลใหรายงานผลตามหวงเวลาท่ีกําหนดและสงขอมูลผานทาง
E-mail address : [email protected] ทราบ อีกทางหนึง่

เพ่อื ทราบและถือปฏิบัติโดยเครงครดั

พล.ต.ต.
( ศตวรรษ หริ ญั บรู ณะ )

ประจาํ (สบ ๙) ตร.ปรท.ผบ.ตร.

ẺÃÒ§ҹ¼Å¡Òû¯ºÔ μÑ Ô§Ò¹ μÒÁá¼¹§Ò¹ â¤Ã§¡ÒÃ/¡¨Ô ¡ÃÃÁ Ẻ ʧ».óðñ

Ẻ¨´Ñ ทาํ á¼¹/ÃÒ§ҹ¼Å¡Òû¯ºÔ ÑμÔ§Ò¹áÅСÒÃ㪌¨Ò‹ §º»ÃÐÁÒ³ »ÃÐจํา»‚§º»ÃÐÁÒ³ ¾.È.òõöó
§ºÊÇ‹ ¹ÃÒª¡ÒÃ/Ã°Ñ ÇÊÔ ÒË¡¨Ô
§ºดําà¹Ô¹§Ò¹
¡ÃзÃǧ : ÃËÑÊ ¨´Ñ ทาํ á¼¹
ÊÇ‹ ¹ÃÒª¡ÒÃ/ÃÑ°ÇÔÊÒË¡¨Ô : สํา¹Ñ¡§Ò¹ตาํ ÃǨáË‹§ªÒμÔ ÃËÊÑ ÃÒ§ҹ¼ÅäμÃÁÒÊ·èÕ
˹Nj ¹ºÑ : ÅÒŒ ¹ºÒ· (·È¹ÂÔ Á ô ตาํ á˹§‹ )

»ÃÐà´ç¹Â·Ø ¸ÈÒÊμÏ á¼¹§º»ÃÐÁÒ³ à»Ò‡ »ÃÐʧ¤àªÔ§Â·Ø ¸ÈÒÊμÏ ˹Nj ¹Ѻ ÃÇÁ·é§Ñ ÊéÔ¹ äμÃÁÒÊ ñ äμÃÁÒÊ ò äμÃÁÒÊ ó äμÃÁÒÊ ô
à»Ò‡ ËÁÒ¡ÒÃãËŒºÃÔ¡ÒáÃзÃǧ໇ÒËÁÒ¡ÒÃã˺Œ Ã¡Ô ÒÃ˹‹Ç§ҹ á¼¹ ¼Å (μ.¤.-¸.¤.) (Á.¤.-ÁÕ.¤.) (àÁ.Â.-ÁÔ.Â.) (¡.¤.-¡.Â.)
คดีตอประชากร á¼¹ ¼Å á¼¹ ¼Å á¼¹ ¼Å á¼¹ ¼Å
¼Å¼ÅÔμ/â¤Ã§¡Òà ¡Ô¨¡ÃÃÁ หน่ึงแสนคน
ÂØ·¸ÈÒÊμᏠÒè´Ñ ÊÃ纻ÃÐÁÒ³ : ท่ี ๖ ยทุ ธศาสตรดา นการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการ คดตี อ ประชากร ๑๙๙
บริหารจัดการภาครฐั หนงึ่ แสนคน
á¼¹§Ò¹ : ดา นการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั
໇ÒËÁÒ¡ÒÃã˺Œ ÃÔ¡ÒÃ˹Nj §ҹ : ประชาชนมคี วามปลอดภัยในชีวติ และทรัพยส ิน
และไดรบั ความคมุ ครองตามกฎหมายอยางเสมอภาคและเปน ธรรม
¡ÅÂ·Ø ¸Ë¹‹Ç§ҹ : เสริมสรางประสิทธิภาพในการปอ งกันปราบปรามอาชญากรรม
¾²Ñ ¹Òระบบการสบื สวนปราบปราม ขยายเปา หมายงานจติ อาสาชมุ ชนสมั พนั ธ โดยใหป ระชาชน
และชมุ ชนมสี ว นรวม ตลอดจนการบริหารจดั การตา งๆ
เพอ่ื สนับสนุนการปฏิบตั ภิ ารกจิ
¼Å¼ÅÔμ·èÕ ñ : การบงั คบั ใชกฎหมาย อาํ นวยความยตุ ธิ รรมและบริการประชาชน
ñ. μÇÑ ªÇÕé Ñ´

ñ.ñ á¼¹¡Òû¯ºÔ Ñμ§Ô Ò¹
ñ.ñ.ñ àªÔ§»ÃÔÁÒ³
๑.๑.๑.๑ กลุมคดคี วามผิดเกย่ี วกับทรัพย ไมเ กิน รอยละ ๔.๘๕

๑.๑.๑.๒ กลมุ คดคี วามผดิ เกย่ี วกบั ชวี ติ รา งกาย และเพศ ไมเ กนิ รอ ยละ ๑๗.๒๔

ñ.ñ.ò àªÔ§¤³Ø ÀÒ¾ : ความหวาดกลวั ภยั อาชญากรรมของประชาชน ไมเ กิน รอยละ ๔๐

Ẻ ʧ».óðñ ๒๐๐
ẺÃÒ§ҹ¼Å¡Òû¯ÔºμÑ §Ô Ò¹ μÒÁá¼¹§Ò¹ â¤Ã§¡ÒÃ/¡Ô¨¡ÃÃÁ

---------------------------------------------------------------------------------------

»ÃÐà´ç¹Â·Ø ¸ÈÒÊμÏ á¼¹§º»ÃÐÁÒ³ à»Ò‡ »ÃÐʧ¤àªÔ§ÂØ·¸ÈÒÊμÏ ˹Nj ¹ºÑ ÃÇÁ·Ñé§ÊéÔ¹ äμÃÁÒÊ ñ äμÃÁÒÊ ò äμÃÁÒÊ ó äμÃÁÒÊ ô
໇ÒËÁÒ¡ÒÃãËŒºÃ¡Ô ÒáÃзÃǧà»Ò‡ ËÁÒ¡ÒÃã˺Œ Ã¡Ô ÒÃ˹‹Ç§ҹ (μ.¤.-¸.¤.) (Á.¤.-ÁÕ.¤.) (àÁ.Â.-Á.Ô Â.) (¡.¤.-¡.Â.)
á¼¹ ¼Å á¼¹ ¼Å á¼¹ ¼Å á¼¹ ¼Å á¼¹ ¼Å
¼Å¼ÅμÔ /â¤Ã§¡Òà ¡Ô¨¡ÃÃÁ
ñ.ò ¡¨Ô ¡ÃÃÁËÅ¡Ñ

ñ.ò.ò ¡¨Ô ¡ÃÃÁËÅÑ¡·èÕ ò : การปอ งกันปราบปรามอาชญากรรม คดี

ñ.ò.ó ¡¨Ô ¡ÃÃÁËÅÑ¡·èÕ ó : การชมุ ชนสัมพนั ธ หมูบาน
** หมบู า น ** ใหร ายงานจํานวนเพยี งครงั้ แรก ทเี่ ขา ไปดําเนนิ การในหมบู า น/ชมุ ชน นน้ั ๆ หากเดอื นตอ ไป จาํ นวนครั้ง
เขาไปทําการซํา้ หมูบ า นเดมิ ใหรายงานเฉพาะจํานวนครัง้ ไมตองรายงานจํานวนหมบู า น ซ้ําอีก
ò. á¼¹¡ÒÃ㪌¨‹Ò§º»ÃÐÁÒ³ (ò.ñ)

ò.ñ à§¹Ô §º»ÃÐÁÒ³

ò.ñ.ò ¡Ô¨¡ÃÃÁËÅ¡Ñ ·èÕ ò :....................................................

ò.ñ.ó ¡¨Ô ¡ÃÃÁËÅ¡Ñ ·Õè ó : การชุมชนสัมพันธ ลานบาท

๒.๒ เงินงบประมาณกันไวเ บิกเหลื่อมปท่ีผา นมา

๒.๓ เงนิ นอกงบประมาณ

โครงการท่ี ๑ : .................................................................................................
ÃÇÁà§¹Ô §º»ÃÐÁÒ³·§éÑ ÊÔ¹é

¤íÒªéÕᨧà¾èÁÔ àμÁÔ :

ËÁÒÂàËμØ : ปง บประมาณ ๒๕๖๓ แนวทางการปฏิบัตงิ านจิตอาสาชุมชนสมั พันธ และการมีสว นรวมของประชาชน สํานักงานตาํ รวจแหงชาติ กําหนดพ้นื ที่เปา หมายในการปฏิบัตงิ านชมุ ชนสัมพันธ
ในพ้ืนที่ บช.น., ก.(บก.รฟ.) และ ภ.๑-๙ จํานวน ๗,๔๑๕ หมูบา น/ชุมชน โดยใหทกุ สถานตี ํารวจเขา ปฏบิ ตั งิ านจิตอาสาชมุ ชนสัมพนั ธ ในพน้ื ท่ีเปาหมาย ในป ๒๕๖๒ อยา งตอ เนื่องไวด วย

ผรู ายงาน ยศ ชือ่ สกุล ................................................... หัวหนา สว นราชการ ยศ ช่อื สกุล ...................................................
(...................................................) (...................................................)
ตาํ แหนง ................................................... ตําแหนง ...................................................
วนั /เดอื น/ป โทร. วัน/เดอื น/ป โทร.

Ẻ¨Ñ´ทําá¼¹/ÃÒ§ҹ¼Å¡ÒÃ㪌¨‹Ò§º»ÃÐÁÒ³μÒÁ¼Å¼ÅμÔ /â¤Ã§¡Òà จาํ ṡμÒÁ¼ÅÃÒ¨ҋ  »ÃÐจาํ »‚§º»ÃÐÁÒ³ ¾.È.òõöó Ẻ ʧ».óðò
สวนราชการ/รฐั วสิ าหกจิ
รรหหัสสั 02 งบ05กลา00ง รา40ยกา7ร..............เแ.ป.ผ..าน..ห.ง.ม.บ.า.ป.ย..ร.กะ.ามราใณหบรกิ าร
กสรวะนทรารวชงกา:รส/รําัฐนวักิสงาาหนกติจําร:วสจําแนหักงงชาานตยิ ทุ ธศาสตรตาํ รวจ รรหหัสสั จราดั ยทงาํ าแนผผนล
ผลผลติ : การบงั คับใชกฎหมาย และบรกิ ารประชาชน (งานชุมชนสัมพนั ธ) ผลผลติ /โครงการ รหสั ประจาํ เดอื น ตลุ าคม ๒๕๖๒
»ÃÐàÀ·ÃÒ¨ҋ Â
ÃÇÁ·§éÑ Ê¹Ôé äμÃÁÒÊ ñ (μ.¤.-¸.¤.) äμÃÁÒÊ ò (Á.¤.-Á.Õ ¤.) äμÃÁÒÊ ó (àÁ.Â.-Á.Ô Â.) äμÃÁÒÊ ô (¡.¤.-¡.Â.)
á¼¹ ¼Å á¼¹ μ.¤. ¾.Â. ¸.¤. ¼Å á¼¹ Á.¤. ¡.¾. Á.Õ ¤. ¼Å á¼¹ àÁ.Â. ¾.¤. Á.Ô Â. ¼Å á¼¹ ¡.¤. Ê.¤. ¡.Â. ¼Å
ñ. §ºº¤Ø ÅÒ¡Ã ÃÒ¡ÒÃ

ò. §º´íÒà¹Ô¹§Ò¹
¼Å¼ÅÔμ : การบนั ทกึ ใชก ฎหมาย และบรกิ าร
ประชาชน (งานชุมชนสมั พันธ)

¤‹Òμͺ᷹ ãªÊŒ ÍÂáÅÐÇÑμ¶Ø
(ñ) ¤Ò‹ μͺ᷹
คาอาหารทําการสอนนอกเวลา
คาตอบแทนตาํ รวจบาน
(ò) ¤Ò‹ ãªÊŒ ÍÂ
คาเบ้ียเลย้ี ง ท่ีพกั และพาหนะ
(ó) ¤Ò‹ ÇÊÑ ´Ø
วสั ดุเชอื้ เพลิงและหลอ ล่นื
ó. §ºÅ§·Ø¹

ó.ñ ¤ÃØÀ³Ñ ±
ó.ò ·Õè´¹Ô
ó.ó ʧÔè ¡Í‹ ÊÌҧ
ô. §ºà§Ô¹Í´Ø ˹ع
ÃÇÁà§¹Ô §º»ÃÐÁÒ³ (ñ+ò+ó+ô+õ)
à§¹Ô §º»ÃÐÁÒ³·èաѹäÇàŒ »š¹àËÅè×ÍÁ»‚·¼Õè ‹Ò¹ÁÒ
à§¹Ô ¹Í¡§º»ÃÐÁÒ³ ตพวนัาํ.ตแ/เ.หดอนอื. งน(.../..ป......................ต......ร...ว...จ.....แ...โ.ล.ท....ว .ร...ถ.....กู....ต....อ......ง...........................)

๒๐๑


Click to View FlipBook Version