The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

5_LA_22205_พรบที่มีโทษ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-06-28 04:35:09

5_LA_22205_พรบที่มีโทษ

5_LA_22205_พรบที่มีโทษ

วิชา กม. (LA) ๒๒๒๐๕

พระราชบญั ญตั ทิ ม่ี โี ทษทางอาญา

ตาํ ÃÒàÃÕ¹

ËÅÑ¡ÊÙμà ¹¡Ñ àÃÂÕ ¹¹ÒÂÊºÔ ตาํ ÃǨ

ÇªÔ Ò ¡Á. (LA) òòòðõ ¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞÑμÔ·èÕÁÕâ·É·Ò§ÍÒÞÒ

เอกสารนี้ “໚¹¤ÇÒÁÅºÑ ¢Í§·Ò§ÃÒª¡ÒÔ หา มมิใหผหู นึ่งผใู ดเผยแพร คดั ลอก ถอดความ
หรอื แปลสว นหนงึ่ สว นใด หรอื ทง้ั หมดของเอกสารนเี้ พอื่ การอยา งอน่ื นอกจาก “à¾Íè× ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒͺÃÁ”
ของขาราชการตํารวจเทานั้น การเปดเผยขอความแกบุคคลอื่นท่ีไมมีอํานาจหนาที่จะมีความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา
¡Í§ºÞÑ ªÒ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ สํา¹Ñ¡§Ò¹ตําÃǨá˧‹ ªÒμÔ
¾.È.òõöô

คํานํา

หลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจ (นสต.) เปนหลักสูตรการศึกษาอบรมท่ีมีเปาหมาย
เพื่อเสริมสรางใหบุคคลภายนอกผูมีวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) หรือ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา ที่เขารับการฝกอบรมมีความรู ความสามารถ และ
ทักษะวิชาชีพตาํ รวจ รวมถึงพัฒนาบุคลิกภาพรางกายใหเหมาะสมสําหรับการปฏิบัติงานตํารวจ
ในกลุมสายงานปองกันปราบปราม ตลอดจนเตรียมความพรอมทางดานจิตใจและวุฒิภาวะใหมี
จติ สํานกึ ในการใหบ ริการเพอ่ื บําบัดทกุ ขบ ํารุงสขุ ของประชาชนเปน สาํ คญั

กองบัญชาการศึกษา ไดรวมกับ ครู อาจารย และครูฝก ในสังกัดกองบังคับการ
ฝกอบรมตาํ รวจกลาง และกลมุ งานอาจารย กองบัญชาการศึกษา ศูนยฝกอบรมตํารวจภูธรภาค ๑ - ๙
และกองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน ตลอดจนผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก จัดทําตาํ ราเรียน
หลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจชดุ นี้ ซงึ่ ประกอบดว ยองคค วามรตู า งๆ ทจ่ี ําเปน ตอ การพฒั นาศกั ยภาพ
ของนกั เรยี นนายสบิ ตํารวจใหเ ปน ขา ราชการตาํ รวจทพี่ งึ ประสงคข องประชาชน เพอ่ื ใชส ําหรบั ประกอบ
การเรียนการสอนนักเรียนนายสิบตํารวจใหมีความพรอมทั้งดานความรู ความสามารถ กําลังกาย
และจติ ใจ จนสามารถเปน ขา ราชการตาํ รวจทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหบ รกิ ารสงั คมและประชาชนไดอ ยา งตรงตาม
ความตอ งการอยางแทจ รงิ และมคี วามพรอมในการเขาสปู ระชาคมอาเซยี น

ขอขอบคุณครู อาจารย ครูฝก และผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ที่ไดรวมกันระดมความคิด
ใหคาํ ปรึกษา คาํ แนะนาํ ประสบการณที่เปนประโยชน รวมถึงการถายทอดองคความรู
ที่เปนประโยชน จนทาํ ใหการจัดทําตาํ ราเรียนหลักสูตรนักเรียนนายสิบตาํ รวจสําเร็จลุลวงไดดวยดี
ซ่ึงกองบัญชาการศึกษาหวังเปนอยางย่ิงวาตําราเรียนชุดน้ีคงเปนประโยชนตอการจัดการเรียน
การสอนและการจัดการฝกอบรมของครู อาจารย และครูฝก รวมตลอดถึงใชเปนคูมือการปฏิบัติงาน
ของขาราชการตํารวจ อันจะสงผลทาํ ใหสํานักงานตํารวจแหงชาติสามารถสรางความเชื่อมั่น ศรัทธา
และความผาสุกใหแ กประชาชนไดอ ยา งแทจ ริง

พลตํารวจโท
( อภิรตั นยิ มการ )
ผูบ ัญชาการศกึ ษา

ÊÒúÑÞ

ÇÔªÒ ¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞÑμ·Ô èÕÁÕâ·É·Ò§ÍÒÞÒ Ë¹ŒÒ

º··Õè ñ ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμ¡Ô Òþ¹¹Ñ ¾.È.òô÷ø ñ
- ความรทู ่วั ไปเก่ียวกับพระราชบญั ญัติการพนัน พ.ศ.๒๔๗๘ ๒
- ความผิดตามพระราชบัญญตั กิ ารพนัน ๓
- บทกําหนดโทษ ๘

º··èÕ ò ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞμÑ ÍÔ ÒÇظ»„¹ à¤ÃÍ×è §¡ÃÐÊع»„¹ ÇÑμ¶ØÃÐàºÔ´ ñù
´Í¡äÁàŒ ¾ÅÔ§ ʧèÔ à·ÂÕ ÁÍÒÇظ»¹„ ¾.È.òôùð ๒๐
- ความรูทัว่ ไปเกี่ยวกบั พระราชบญั ญตั ิอาวธุ ปน เคร่ืองกระสนุ ปน ๒๗
วัตถรุ ะเบดิ ดอกไมเ พลงิ สง่ิ เทยี มอาวุธปน พ.ศ.๒๔๙๐ ๔๓
- ความผิดตามพระราชบัญญตั อิ าวุธปน เครอ่ื งกระสนุ ปน ôù
วตั ถุระเบิด ดอกไมเพลงิ ส่งิ เทียมอาวุธปน พ.ศ.๒๔๙๐ ๕๐
- บทกาํ หนดโทษ ๕๑
๕๑
º··Õè ó ¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞÑμÊÔ ¶Ò¹ºÃ¡Ô Òà ¾.È.òõðù ๕๒
- ความรูทวั่ ไปเกยี่ วกับพระราชบัญญตั สิ ถานบริการ พ.ศ.๒๕๐๙ ๕๒
- ฐานความผดิ ๕๒
- คณุ สมบัติ ๕๓
- สถานท่ี ๕๓
- ใบอนญุ าต ๕๕
- ใบอนุญาตชํารดุ ๕๖
- การปฏิบัตกิ ับพนักงาน ๕๙
- ขอปฏบิ ัติของสถานบรกิ าร
- อํานาจของเจาพนกั งาน
- โทษตาม พ.ร.บ.สถานบริการ
- ความผดิ ตามพระราชบญั ญตั สิ ถานบรกิ าร พ.ศ.๒๕๐๙

˹ŒÒ

º··Õè ô ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞμÑ ¤Ô Ǻ¤ÁØ à¤ÃèÍ× §´è×ÁáÍÅ¡ÍÎÍŏ ¾.È.òõõñ öñ
- ความรูท ว่ั ไปเก่ียวกบั พระราชบัญญตั ิควบคมุ เครือ่ งดม่ื แอลกอฮอล พ.ศ.๒๕๕๑ ๖๒
- การควบคมุ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอลตามพระราชบญั ญัติควบคมุ ๖๓
เครอื่ งดื่มแอลกอฮอล พ.ศ.๒๕๕๑ ๘๐
- ความผิดตามพระราชบญั ญตั คิ วบคุมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล
พ.ศ.๒๕๕๑

º··èÕ õ ¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞÑμÔ»‡Í§¡Ñ¹áÅлÃÒº»ÃÒÁ¡ÒäŒÒ»ÃÐàÇ³Õ ¾.È.òõóù øó
- ความรทู วั่ ไปเกยี่ วกับพระราชบญั ญัตปิ อ งกันปราบปราม ๘๔
การคาประเวณี พ.ศ.๒๕๓๙ ๘๘
- นยิ าม ๘๘
- ฐานความผิด ๙๐
- มาตรการตามพระราชบัญญัตปิ อ งกันและปราบปราม ๙๒
การคาประเวณี พ.ศ.๒๕๓๙ ๙๔
- อํานาจหนา ทขี่ องพนกั งานเจาหนาที่
- ความผดิ ตามพระราชบัญญตั ปิ อ งกันและปราบปรามการคาประเวณี
พ.ศ.๒๕๓๙

º··Õè ö ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞμÑ ¤Ô ¹à¢ÒŒ àÁ×ͧ ¾.È.òõòò ùõ
- ความรทู ว่ั ไปเกย่ี วกับพระราชบญั ญตั ิคนเขา เมอื ง พ.ศ.๒๕๒๒ ๙๖
- ความผดิ ตามพระราชบัญญตั ิตรวจคนเขา เมือง พ.ศ.๒๕๒๒ ๙๗
ท่มี กี ารจบั กุมดําเนินคดี

º··Õè ÷ ¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞÑμÔ»Ò† äÁŒ ¾.È.òôøô ñðù
- ความรูท่ัวไปเก่ียวกบั พระราชบัญญตั ิปา ไม พ.ศ.๒๔๘๔ ๑๑๑
- การทาํ ไมแ ละเก็บหาของปา ๑๑๒
- การทาํ ไมห วงหา ม ๑๑๔
- ไมท ่ีมใิ ชไ มห วงหา ม ๑๑๖
- ของปา หวงหา ม ๑๑๗
- ตราประทบั ไม ๑๑๘

- ไมและของปาระหวา งเคล่อื นที่ ˹Ҍ
- การควบคมุ ไมในลาํ น้ํา ๑๑๘
- การควบคมุ การแปรรปู ไม ๑๒๐
- แผว ถางปา ๑๒๐
- เบ็ดเตลด็ ๑๒๒
- บทกาํ หนดโทษ ๑๒๓
- การรักษาการพระราชบญั ญตั ิ ๑๒๕
º··Õè ø ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμÀÔ Ò¾Â¹μÃᏠÅÐÇ´Õ ·Ô ÈÑ ¹ ¾.È.òõõð ๑๒๘
- ความรทู ั่วไปเก่ยี วกบั พระราชบัญญตั ภิ าพยนตรแ ละวดี ทิ ัศน พ.ศ.๒๕๕๐ ñòù
- การประกอบกิจการภาพยนตร ๑๓๐
- คุณสมบัตขิ องผขู ออนุญาตโรงภาพยนตร ๑๓๑
- ใบอนญุ าตประกอบกจิ การโรงภาพยนตร ๑๓๕
- การประกอบกจิ การวีดทิ ัศน ๑๓๕
- คณุ สมบตั ิผขู ออนญุ าต ๑๓๖
- ใบอนุญาตประกอบกจิ การวีดิทศั น ๑๓๖
- อาํ นาจเจา พนักงาน ๑๓๗
- ความผดิ ตามพระราชบัญญตั ภิ าพยนตรแ ละวดี ิทศั น พ.ศ.๒๕๕๑ ๑๓๘
º··èÕ ù ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞμÑ ¤Ô ÇÒÁ¼Ô´à¡ÕèÂÇ¡ºÑ ¤ÍÁ¾ÔÇàμÍÏ ¾.È.òõõð ๑๔๑
- ความรูท่วั ไปเก่ียวกับพระราชบัญญัติฯ ñôó
- ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.๒๕๕๐ ๑๔๕
- พนกั งานเจาหนา ท่ี ๑๔๕
º··èÕ ñð ¡®ËÁÒ·èÕà¡ÂèÕ Ç¢ŒÍ§¡ºÑ ¡ÒäҌ Á¹ÉØ Â ๑๕๐
- ความรูทั่วไปเกย่ี วกบั กฎหมายทเ่ี กี่ยวขอ งกบั การคามนุษย ñõ÷
- บททัว่ ไป ๑๕๙
- ความผดิ ตามกฎหมายทีเ่ กยี่ วขอ งกบั การคามนษุ ย ๑๖๐
- อํานาจพนกั งานเจา หนา ท่ี ๑๖๖
- บทกําหนดโทษ ๑๖๘
๑๖๙

º··Õè ññ ¡®ËÁÒ·àÕè ¡ÕèÂǢ͌ §¡ÑºÂÒàʾμÔ´ ˹Ҍ
- ความรทู ่ัวไปเกี่ยวกบั กฎหมายท่ีเก่ยี วขอ งกบั ยาเสพติด ñ÷ó
- ความผิดตามกฎหมายท่เี ก่ียวขอ งกบั ยาเสพตดิ ๑๗๕
๑๗๗



º··Õè ñ

¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞμÑ ¡Ô Òþ¹Ñ¹ ¾.È.òô÷ø

ñ. ÇμÑ ¶Ø»ÃÐʧ¤¡ ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒ»Ù ÃШӺ·

๑.๑ เพ่อื ใหนกั เรยี นมีความรูและความเขาใจใน พ.ร.บ.การพนนั พ.ศ.๒๔๗๘
๑.๒ เพ่ือใหนักเรียนสามารถอธิบายการวิเคราะหวาการกระทําใดมีความผิด หรือไมมี
ความผิดตาม พ.ร.บ.การพนนั พ.ศ.๒๔๗๘
๑.๓ เพื่อใหนักเรียนสามารถอธิบายวิธีการดําเนินการกับผูกระทําความผิดตาม
พ.ร.บ.การพนัน พ.ศ.๒๔๗๘

ò. ÊÇ‹ ¹¹Ó

การพนันนับเปนปญหาแกสังคมปญหาหน่ึงเพราะเปนการมอมเมาประชาชนและเปน
บอเกิดของปญหาสังคม หรือปญหาอาชญากรรม ดังนั้น เพ่ือเปนการควบคุมมิใหการเลนการพนัน
แพรหลายจนเกินไปจนสรางปญหาใหสังคมจึงมีการตรา พ.ร.บ.การพนัน พ.ศ.๒๔๗๘ เพ่ือควบคุม
การเลนการพนนั ใหอยใู นกรอบไมกอ ใหเกิดปญ หาแกส งั คม

ó. à¹éÍ× ËÒμÒÁËÇÑ ¢ŒÍ

๓.๑ ความรูทั่วไปเกยี่ วกับ พ.ร.บ.การพนนั
๓.๒ ความผดิ ตาม พ.ร.บ.การพนัน พ.ศ.๒๔๗๘
๓.๓ บทกาํ หนดโทษ

ô. ÊÇ‹ ¹ÊÃØ»

พ.ร.บ.การพนัน พ.ศ.๒๔๗๘ เปนกฎหมายท่ีมีความสําคัญฉบับหน่ึง เพราะเปน
กฎหมายท่ีคอยควบคุมดูแลไมใหประชาชนในสังคมถูกมอมเมาจากอบายมุข ซ่ึงถาผูบังคับใช
กฎหมายไดมีการบังคับใชกฎหมายอยางเครงครัดก็จะทําใหปญหาสังคมไดรับการแกไข อันจะนําไปสู
ความสงบสุขในสงั คมตอไป

õ. ¡¨Ô ¡ÃÃÁá¹Ð¹Ó

ใหนักเรียนคนหาการพนันที่มีการจับกุมในปจจุบันวามีลักษณะอยางไรและรวมกัน
วเิ คราะหอ ภปิ รายในชนั้ เรียน



การพนันเปนสิ่งท่ีพบเห็นกันอยูทั่วไปและเปนคดีความมาสูศาลมากที่สุดอยางหนึ่ง
ซง่ึ เชอ่ื กนั วา มกี าํ เนดิ มาจากประเทศจนี ลกุ ลามแพรข ยายเขา ไปในนานาประเทศ รวมทงั้ ประเทศไทยดว ย
เมอื่ ประชาชนมวั เมาอยกู บั การเลน การพนนั ยอ มไมค ดิ ทาํ มาหากนิ คอยแตเ ลน การพนนั เพราะไดเ สยี
รวดเร็วทําใหมีผูหวังรวยทางลัดอยูตลอดเวลา แตย่ิงเลนก็ย่ิงยากจนทุกที การพนันจึงเปนเหตุ
อยา งหนงึ่ ทก่ี อ ใหเ กดิ อาชญากรรมขนึ้ ในประเทศ ดงั นน้ั รฐั จงึ จาํ เปน ตอ งตราพระราชบญั ญตั กิ ารพนนั ขน้ึ

อยา งไรก็ตาม ไมว าจะไดม ีการปราบปรามการเลน การพนันอยา งไร ก็ปรากฏวาการเลน
การพนันยงั คงระบาดแพรห ลายอยตู ลอดเวลา

ñ. ¤ÇÒÁÌٷèÇÑ ä»à¡èÕÂÇ¡ºÑ ¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞμÑ Ô¡Òþ¹Ñ¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òô÷ø

แยกเปน ๒ ประการ คอื
๑.๑ ลกั ษณะของการพนนั
๑.๒ สาระสําคัญของพระราชบัญญัติการพนนั
ñ.ñ ÅѡɳТͧ¡Òþ¹Ñ¹ พระราชบัญญัติการพนัน พุทธศักราช ๒๔๗๘ มิไดแยก
วิเคราะหศัพท “การพนนั ” ไวโ ดยเฉพาะ คงมเี พยี งมาตรา ๔ ทวิ บญั ญัตขิ ยายความหมายของคําวา
การเลน ในพระราชบญั ญตั กิ ารพนนั ใหห มายความรวมตลอดถงึ การเขา เลน เสย่ี งโชคซงึ่ ตอ งใชไ หวพรบิ
และฝมือมาพนันเอาทรัพยสินกัน จะโดยชอบหรือมิชอบดวยกฎหมายก็ได เชน การเลนพนัน
ไพป อก ไพผอ ง ไพนกกระจอก หรอื การท่บี คุ คล ๒ ฝายขน้ึ ไปถอื เอาเหตกุ ารณท ่ีจะเกดิ ขึ้นในอนาคต
อันไมแนนอนมาเปนเกณฑตัดสินแพชนะวา ถาเหตุการณเกิด ฝายหน่ึงจะแพและอีกฝายหน่ึง
จะชนะ ฝายแพจ ะตองเสียเงินใหฝา ยชนะตามท่ตี กลงกัน (โดยทง้ั ๒ ฝายไมม สี วนไดเสียแตอ ยางใด)
เชน ใครจะเปน นายกรัฐมนตรคี นตอ ไป เปนตน
ñ.ò ÊÒÃÐÊÓ¤ÞÑ ¢Í§¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞμÑ Ô¡Òþ¹¹Ñ ¾·Ø ¸ÈÑ¡ÃÒª òô÷ø

การพนนั มี ๒ ประเภท คือ
ประเภท ก. หมายถึง การพนันซึ่งเจาพนักงานตามพระราชบัญญัติฉบับน้ี
จะอนุญาตใหผูใดเลน หรือจัดใหมีการเลน หรือการพนันในการเลนไมไดเลย เวนไวแตรัฐบาลจะ
ออกกฎหมายอนญุ าตโดยเฉพาะ
ประเภท ข. หมายถึง การเลนจะตองไดรับอนุญาตจากเจาพนักงานกอน
มฉิ ะน้นั มคี วามผดิ ตามพระราชบัญญตั กิ ารพนนั
การจัดใหมีรางวัลแถมพก หรือรางวัลดวยการเส่ียงโชคในการประกอบกิจการคา
แมไ มใ ชการพนนั กต็ องขออนุญาตจากเจา พนกั งานตามพระราชบัญญตั ิการพนนั
สลากกินแบง สลากกินรวบ และสวีป หรือการเลนอยางใดที่เสี่ยงโชค ตองขอ
อนุญาตจากเจา พนักงานตามพระราชบัญญตั กิ ารพนนั เชนกัน



การฝาฝนพระราชบัญญัติการพนัน มีโทษคือจําคุก ปรับและริบทรัพยสิน และ
ผูนาํ จับตามพระราชบญั ญัติการพนนั มีสิทธิไดรับสนิ บนหรอื รางวลั นําจับตามกฎหมาย

ò. ¤ÇÒÁ¼´Ô μÒÁ¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞμÑ ¡Ô Òþ¹Ñ¹

พระราชบัญญัติการพนัน พ.ศ.๒๔๗๘ มีท้ังหมด ๑๗ มาตรา แตจะขอยกเพียงบาง
มาตราที่สาํ คญั มาอธบิ าย ดงั น้ี

ÁÒμÃÒ ô หา มมใิ หอ นญุ าตจดั ใหม หี รอื เขา เลน หรอื เขา พนนั ในการเลน อนั ระบไุ วใ นบญั ชี
ก. ทายพระราชบัญญตั ินี้ หรือการเลนซง่ึ มีลกั ษณะคลา ยกนั หรอื การเลนอนั รา ยแรงอ่ืนใด ซึง่ รฐั มนตรี
เจาหนาท่ีออกกฎกระทรวงระบุเพิ่มเติมหามไว แตเมื่อรัฐบาลพิจารณาเห็นวา ณ สถานท่ีใดสมควร
จะอนญุ าตภายใตบังคับเง่อื นไขใดๆ ใหมกี ารเลนชนดิ ใด กอ็ นญุ าตไดโดยออกพระราชกฤษฎีกา

การเลนอันระบุไวในบัญชี ข. ทายพระราชบัญญัตินี้หรือการเลนซ่ึงมีลักษณะคลายกัน
หรือการเลนอ่ืนใดซึ่งรัฐมนตรีเจาหนาที่ไดออกกฎกระทรวงระบุเพิ่มเติมไวจะจัดใหมีขึ้นเพื่อเปนทาง
นํามาซ่ึงผลประโยชนแกผูจัดโดยทางตรงหรือทางออมได ตอเม่ือรัฐมนตรีเจาหนาท่ีหรือเจาพนักงาน
ผูออกใบอนุญาตเห็นสมควรและออกใบอนุญาตให หรือมีกฎกระทรวงใหจัดข้ึนไดโดยไมตองมี
ใบอนญุ าต

ในการเลนอันระบุไวในวรรค ๒ ขางตนน้ัน จะพนันกันไดเฉพาะเมื่อไดมีใบอนุญาตให
จัดมีขนึ้ หรือมกี ฎกระทรวงอนุญาตใหจดั ขึน้ ไดโ ดยไมต องมีใบอนญุ าต

การเลนหมายเลข ๕ ถึง ๑๕ ในบัญชี ข. หรือการเลนซ่ึงมีลักษณะคลายกัน
หรือการเลนอ่ืนใดซ่ึงรัฐมนตรีเจาหนาท่ีไดออกกฎกระทรวงระบุเพิ่มเติมไวน้ัน จะใหรางวัลตีราคา
เปนเงินไมได และหามมิใหผูใดรับรางวัลที่ใหไปแลวกลับคืนหรือรับซ้ือหรือแลกเปล่ียนรางวัลนั้น
ในสถานงานหรือการเลน หรือบริเวณตอ เน่อื งในระหวางมงี าน หรอื การเลน

ÁÒμÃÒ ô ·ÇÔ ในการเลน อ่ืนใดนอกจากทีก่ ลาวใน มาตรา ๔ จะพนันกันหรอื จะจัดใหม ี
เพอ่ื ใหพ นนั กันไดเ ฉพาะการเลนทีร่ ะบชุ ื่อและเงือ่ นไขไวในกฎกระทรวง

คาํ วา “การเลน” ในวรรคกอ น ใหหมายความรวมตลอดถึงการทายและการทาํ นายดวย
¤Ó͸ºÔ ÒÂ
การพนันที่ไมไดรับอนุญาตจากเจาพนักงานแบงออกเปน ๒ ประเภทคือ การพนัน
ประเภทที่กฎหมายหามมิใหมีการเลนโดยเด็ดขาด และการพนันท่ีจะเลนไดตอเม่ือไดรับอนุญาตจาก
เจาพนกั งาน
๑) การพนนั ประเภททกี่ ฎหมายหา มมใิ หม กี ารเลน โดยเดด็ ขาด เวน แตเ มอ่ื รฐั บาลเหน็ วา
ณ ท่ีใดสมควรจะอนุญาตภายใตบังคับเงื่อนไขใดๆ ใหมีการเลนชนิดใด ซ่ึงการอนุญาตใหมีการเลน
การพนนั ประเภทน้ีตองออกเปนพระราชกฤษฎกี า



๒) การพนันที่จะเลนไดตอเม่ือไดรับอนุญาตจากเจาพนักงาน เปนการพนันประเภท
ที่หามมิใหมีการเลน จนกวาจะไดใบอนุญาตใหจัดมีข้ึน หรือมีกฎกระทรวงอนุญาตใหจัดขึ้น
โดยไมตองมีใบอนุญาตคือ การเลนการพนันซึ่งระบุไวในบัญชี ข. ทายพระราชบัญญัติการพนัน
พุทธศักราช ๒๔๗๘ หรือการเลน ซึ่งมลี กั ษณะคลา ยคลงึ กัน หรอื การเลน อืน่ ใด ซึ่งรัฐมนตรเี จา หนา ที่
ไดออกกฎกระทรวงระบุเพ่ิมเติมไว สําหรับการพนันประเภทนี้ยังมีเงื่อนไขเฉพาะตามกฎหมาย
กลา วคือ

ก. การเลน การพนันตามบัญชี ข. จะพนนั กันไดเ ฉพาะเม่อื ไดม ใี บอนุญาตใหม ขี ้นึ
หรือมีกฎกระทรวงอนุญาตใหจัดขึ้นโดยไมตองมีใบอนุญาต จะเห็นไดวาการเลนตามบัญชี ข. นั้น
กฎหมายมีวัตถุประสงคจะบังคับเฉพาะผูจัดใหมีข้ึน เพื่อเปนทางนํามาซ่ึงผลประโยชนแกผูจัดจะโดย
ทางตรงหรือทางออมก็ตอเมื่อไดรับอนุญาตเทาน้ัน แมวาการเลนน้ันจะมีการพนันหรือไมไมสําคัญ
ถาปรากฏขอเท็จจริงวาไดรับผลประโยชนก็จะตองไดรับอนุญาตกอนจึงจะเปดใหมีการพนันได
ถาไมไดรับอนุญาตถือวาเปนความผิดแลว เวนแตการเลนที่มีกฎกระทรวงอนุญาตไวเปนการเฉพาะ
วาไมต องขออนญุ าต เชน การเลน บริดจ วง่ิ ววั คน

ข. การเลนตามบัญชี ข. หมายเลข ๕ ถึง ๑๕ ตามบัญชี ข. คือชี้รูป โยนหวง
โยนสตางค ตกเบด็ จับสลาก ยงิ เปา ปาหนาคน เตาขา มดา น หมากแกว หมากหัวแดง บิงโก เหลานี้
จะใหร างวลั ตรี าคาเปน เงนิ ไมไ ดแ ละหา มมใิ หผ ใู ดรบั รางวลั ทใ่ี หไ ปแลว กลบั คนื หรอื รบั ซอ้ื หรอื แลกเปลย่ี น
รางวลั นั้นในสถานงานหรอื การเลน หรอื บริเวณตอเน่อื งในระหวา งมงี านหรอื การเลน

ÁÒμÃÒ ñó “ผใู ดฝาฝน บทบญั ญตั มิ าตรา ๔ อันวา ดว ยการรับกลับคนื หรอื รบั ซ้อื หรือ
แลกเปลี่ยนรางวัลน้นั มคี วามผิดตอ งระวางโทษจําคกุ ไมเกนิ ๓ เดอื น หรอื ปรับไมเ กิน ๕๐๐ บาท หรอื
ท้ังจําทัง้ ปรับ”

¤Ó͸ºÔ ÒÂ
ผูใดไมวาจะเปนผูจัดใหมีการเลน หรือบุคคลอื่นใดก็ตามจะรับรางวัลท่ีใหไปแลวกลับคืน
หรือรับซื้อ หรือแลกเปล่ียนรางวัลท่ีไดจากการเลนตามบัญชี ข. (ดูการพนันประเภท ข. ในความผิด
ตามมาตรา ๑๒) กลบั คนื ในสถานงานหรอื การเลน หรือบรเิ วณตอเน่ืองในระหวา งมงี าน หรือการเลน
ไมได เชน ในงานปใหม งานกาชาด มีการออกรานเลนการพนันประเภท ข. มากมาย อาทิ
การจับสลากพฤกษากาชาด การขายสลากกาชาดชิงรางวัลรถยนตญี่ปุน ปาเปา ยิงธนูเอารางวัล
หากมกี ารรบั ซ้ือแลกเปลยี่ นรางวัลทีล่ กู คา ไดไ ปแลว คนื ยอมมีความผิดตามมาตราน้ี
μÑÇÍ‹ҧ
การหามรับซ้ือของซึ่งเลนไดจากการพนันในสถานท่ีเลนการพนันนั้น กฎหมายหาม
ตลอดถงึ บุคคลท่วั ไปดวยหาไดหามเฉพาะเจาของรา นเทา นน้ั ไม (ฎ. ๑๐๘๐/๒๔๘๐)
ÁÒμÃÒ õ ผูใดจัดใหมีการเลน ซ่ึงตามปกติยอมพนันเอาเงินหรือทรัพยสินอยางอ่ืน
แกกัน ใหสันนิษฐานไวกอนวาผูน้ันจัดใหมีขึ้นเพ่ือนํามาซึ่งผลประโยชนแหงตน และผูใดเขาเลน
อยดู ว ยก็ใหสันนิษฐานไวกอนวา ผูนั้นพนันเอาเงินหรอื ทรพั ยสนิ อยา งอนื่



ÁÒμÃÒ ö ผูใดอยูในวงการเลนอันขัดตอบทแหงพระราชบัญญัติน้ี หรือขัดตอ
ขอความในกฎกระทรวงหรือใบอนุญาตซึ่งออกตามพระราชบัญญัตินี้ ใหสันนิษฐานไวกอนวาผูน้ัน
เลน ดว ย เวน แตผ ซู งึ่ เพยี งแตด กู ารเลน ในงานรนื่ เรงิ สาธารณะ หรอื งานนกั ขตั ฤกษห รอื ในทสี่ าธารณสถาน

¤Ó͸ԺÒÂ
การเขาเลนหรือเขาพนันในการเลน หมายถึง การเขาเส่ียงภัยโดยมีสวนไดเสียนั่นเอง
การพนันขันตอซ่ึงการเขาเลนหรือเขาพนันในการเลนน้ี แมผูนั้นจะมิไดเขาเลนดวย หากแตกระทํา
การใดอันเขาขอสันนิษฐานของกฎหมายก็ใหถือวาเปนผูเลนดวย ผูนั้นยอมมีความผิดตามกฎหมาย
บญั ญัติ เวน แตจ ะนําสืบใหเ หน็ เปนอยา งอน่ื ได
ขอสันนิษฐานของกฎหมายตามพระราชบัญญัติการพนัน พระราชบัญญัติการพนัน
พ.ศ.๒๔๗๘ ไดว างขอ สนั นิษฐานไว ๒ มาตราคือ มาตรา ๕ และมาตรา ๖ ขางตน
ขอ สนั นษิ ฐานของกฎหมาย ๒ มาตรานเี้ กดิ จากการทเี่ จา หนา ทตี่ าํ รวจซง่ึ มหี นา ทร่ี กั ษาการ
ตามพระราชบัญญัติฉบับนี้และยังมีหนาที่รักษาการตามกฎหมายท่ีมีบทบัญญัติความผิดทางอาญา
ทุกประเภท บางคร้ังแมจับตัวผูตองหาไดแตหาหลักฐานฟองรองคดีไมไดเพราะเร่ืองที่จะจับได
ในขณะกระทําความผิดเปนไปไดยาก นักพนันสวนใหญจะเลนในหมูพวกตน เมื่อถูกจับก็ไมมีพยาน
ฝายเจาหนาท่ี คงมีแตต ัวผตู อ งหา สว นของกลางก็เปนของซ่งึ ไมใ ชของทม่ี ีไวเ ปน ความผิด หากจบั มา
ไดแลวขาดพยานหลักฐานกไ็ มอาจเอาผิดแกต ัวนกั การพนนั เหลา นนั้ ได ฉะนัน้ จึงจาํ ตองมีบทบญั ญตั ิ
ท้ัง ๒ มาตราน้ีไว เพ่ือประโยชนในการปองกันและปราบปรามผูกระทําความผิด เมื่อกรณีเขา
ขอสันนษิ ฐานของกฎหมายแลว ศาลยอ มลงโทษผนู นั้ ได
μÇÑ ÍÂÒ‹ §
๑) ยนื อยูใ นวงการพนนั โดยยืนชิดหรือหันหนาเขาวงเลน เขา ขอ สันนิษฐานวาเลน ดว ย
๒) เพยี งแตอ ยใู นหองเลนการพนนั ไมเขา ขอสันนิษฐานวา เลนดวย
๓) สําหรับผูจัดใหมีการเลนพนัน จะลงโทษฐานเปนผูจัดใหมีการเลนไดจะตองได
ความวาจาํ เลยเกย่ี วขอ งในการเลนพนนั นน้ั ในฐานะเปน ผจู ดั ใหม กี ารเลน ขึ้น และอยา งไรเปนความผิด
ตามขอ น้ี โปรดพิจารณาจากตัวอยา งตอ ไปนี้

- ผดู ูตน ทางมฐี านะเปน ผูจัดใหมีการเลน ดว ย
- จัดใหมีการเลนการพนันแลวไมมีความผิดฐานเปนผูสนับสนุนตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๘๖ อกี
- การจัดใหมีการเลนการพนันหลายวงในสถานท่ีเดียวกันและวาระเดียวกัน
เปนความผิดกรรมเดยี ว
- เจาของบานรูเห็นเปนใจในการเลนการพนันโดยเรียกเก็บคาตง ผิดตาม
มาตรา ๑๒ ดวย



ÁÒμÃÒ ÷ ใบอนุญาตทุกฉบับตองกาํ หนด
(๑) ลกั ษณะขอ จํากัดและเงอ่ื นไขของการเลนพนันโดยชดั แจง
(๒) สถานท่ี วัน เดือน ป และกําหนดเวลาท่ีอนุญาตใหเลน ถาเปนใบอนุญาต
สลากกนิ แบง สลากกนิ รวบ และสวปี ใหร ะบจุ าํ นวนสลากทจี่ ะขายกบั สถานที่ วนั และเวลาทจ่ี ะออกดว ย
(๓) จาํ นวนบคุ คลผจู ะเขา เลน มกี าํ หนดหรอื ไมแ ละไมใ หบ คุ คลอายตุ าํ่ กวา ๒๐ ปบ รบิ รู ณ
หรอื ไมบ รรลุนิตภิ าวะเขา เลน ดว ย เวน แตการเลน ตามบญั ชี ข. หมายเลข ๑๖
ÁÒμÃÒ ø การจัดใหมีการแถมพกหรือรางวัลดวยการเส่ียงโชคโดยวิธีใดๆ ในการ
ประกอบกจิ การคาหรอื อาชีพ จะตอ งไดรับอนญุ าตจากเจาพนกั งานผูออกใบอนญุ าตกอนจงึ ทําได
ÁÒμÃÒ ñô “ผูใดฝาฝนบทบัญญัติมาตรา ๘ มีความผิดตองระวางโทษจําคุกไมเกิน
๑ ป หรอื ปรับตั้งแต ๕๐ บาทข้ึนไปจนถงึ ๒,๐๐๐ บาท หรือทง้ั จําทัง้ ปรับ”
¤Ó͸ԺÒÂ
การจัดแถมพกหรือรางวัลดวยการเสี่ยงโชคโดยวิธีการใดๆ ทางการคา ตองไดรับ
อนุญาตจากเจาพนักงานกอนจึงจะทําได หากทําไปโดยไมไดรับอนุญาตยอมมีความผิดท่ีกฎหมาย
บญั ญัติมาตรานข้ี ้นึ มจี ุดมงุ หมาย ๒ ประการ คอื
๑) การจัดใหมีการแถมพกหรือรางวัลดวยการเสี่ยงโชคดวยวิธีใดๆ ในการประกอบ
กิจการคาหรืออาชีพนี้ ปกติผูเลนก็ซ้ือสินคาอยูแลว มีโอกาสไดเส่ียงโชคโดยไมตองเสียอะไรเพิ่มเติม
อีกเลย ถาพิจารณาโดยเครงครัดก็ไมถือวาเปนการเลนการพนัน เปนทางออกของผูจัดใหมีการเลน
อาจจะจัดใหมีการเลนเส่ยี งโชคทีก่ ฎหมายหา มเด็ดขาดคอื การเลนตามบญั ชี ก. ได
๒) เพ่ือเปดทางใหเจาหนาที่ควบคุมการจัดใหมีการเลนแถมพกหรือรางวัลดวยการ
เส่ียงโชค โดยวิธีใดๆ น้ีจัดใหมีการเลนอยูในขอบเขตแหงความยุติธรรม ไมเปนการเอาเปรียบ
หวังหลอกลวงประชาชนจนเกินไป และการจดั น้ีเจาหนา ทส่ี ามารถควบคมุ ไดดว ย
อยางไรจึงจะถือวาเปนการจัดใหมีการแถมพกหรือรางวัลดวยการเสี่ยงโชคท่ีมีความผิด
ซง่ึ ผูซ้ือ อาจไดหรอื ไมไ ดข องแถมหรอื รางวลั
μÑÇÍÂÒ‹ §
๑) ขายของทสี่ อดธนบตั รไวข า งใน (บางหอ ) ในราคาสงู กวา ทอ งตลาด (ฎ. ๑๕๒/๒๔๙๓)
๒) ขายของโดยแถมรูปภาพ หากผูซื้อสะสมรูปภาพไดครบจํานวนท่ีกําหนดจะนําไป
แลกของมีคา ได (ฎ. ๔๕๓/๒๔๘๓)
๓) ขายของโดยแถมบตั รสมนาคุณ ซึ่งมตี ัวเลขเหมอื นสลากกินแบงรฐั บาล หากใครได
บัตรตรงกบั เลขรางวลั สลากกนิ แบงทอ่ี อกจะไดร างวัล (ฎ. ๗๓๓/๒๔๙๘)
แตถาผูซื้อทุกคนมีสิทธิไดเหมือนกันหมดโดยไมตองเส่ียงโชค หรือเปนการใหเปลา
โดยไมตองซื้อยอมไมเปนความผิด เชน แจกบัตรแกทุกคนท่ีเขารานสําหรับทายสลากกินแบง
ผทู ายถกู จะไดรางวลั โดยไมจํากดั วาตอ งซ้ือสนิ คา หรือไมย อมไมมคี วามผดิ (ฎ. ๑๔๙๓/๒๔๗๙)



ÁÒμÃÒ ù สลากกนิ แบง สลากกินรวบ และสวีป หรือการเลน อยา งใดทเ่ี สยี่ งโชคใหเ งนิ
หรือประโยชนอยางอ่ืนแกผูเลนคนหน่ึงคนใดนั้น ตองสงสลากใหเจาพนักงานผูออกใบอนุญาต
ประทบั ตราเสยี กอ น จงึ นําออกจําหนา ยได

ถายังมิไดรับอนุญาตใหมีการเลนที่กลาวไวในวรรคกอน หามมิใหประกาศโฆษณา
หรอื ชกั ชวน โดยทางตรงหรือทางออ มใหบุคคลใดๆ เขารวมในการเลนนัน้

ÁÒμÃÒ ù ·ÇÔ หา มมใิ หผ ใู ดเสนอขายหรอื ขายสลากกนิ แบง ทอี่ อกจาํ หนา ยตามมาตรา ๙
และท่ยี ังมิไดออกรางวลั เกนิ ราคาทก่ี าํ หนดในสลาก

ÁÒμÃÒ ù μÃÕ ผใู ดฝาฝน มาตรา ๙ ทวิ ตองระวางโทษจําคกุ ไมเกิน ๑ เดอื น หรือปรับ
ไมเ กนิ หนึ่งพนั บาท หรือทงั้ จาํ ทั้งปรับ

¤Ó͸ºÔ ÒÂ
การเสนอขายหรอื ขายสลากกนิ แบง ทอ่ี อกจาํ หนา ยตามมาตรา ๙ หมายถงึ การเสนอขาย
สลากกินแบง สลากกินรวบและสวีป หรือการเลนอยางใดท่ีเส่ียงโชคดวยการใหเงินหรือประโยชน
อยางอื่นแกผูเลน เชน สลากกาชาดของกรมอัยการหรือจังหวัด สลากคุมเกลา เปนตน การขาย
สลากเหลาน้ีจะตองไดรับอนุญาตจากพนักงานเจาหนาที่กอน และการอนุญาตนั้น เจาพนักงาน
จะประทับตราอนุญาตลงในสลากนั้นๆ หรือประทับตราอนุญาตลงที่ตนขั้วสลาก และถายังไมไดรับ
อนุญาตดังกลาวกฎหมายหามมิใหมีการประกาศโฆษณาหรือชักชวนไมวาจะโดยทางตรง
หรอื ทางออ มใหบคุ คลใดๆ เขารวมในการเลน ดวย
สวนการขายสลากกินแบงเกินราคานั้น จะตองเปนกรณีท่ีสลากกินแบงน้ันยังมิไดออก
รางวัลจะเปนความผิดฐานน้ี เชน ขายสลากกินแบงรัฐบาลที่ยังไมออกรางวัลใบละ ๒๐ บาท ไปใน
ราคา ๒๒ บาท เปน ตน ถา สลากออกรางวลั แลว ไมว า จะถกู รางวลั หรอื ไม หากขายไปเกนิ ราคาทกี่ าํ หนด
มากนอยเทาใดยอ มไมเ ปน ความผดิ อกี
ÁÒμÃÒ ñð ทรัพยสินพนันกันซ่ึงจับไดในวงการเลนอันขัดตอบทแหงพระราชบัญญัตินี้
หรือขัดตอขอความในกฎกระทรวง หรือใบอนุญาตซ่ึงออกตามพระราชบัญญัติน้ีใหริบเสียท้ังส้ิน
เวนแตทรพั ยสนิ ซ่ึงมไิ ดเอาออกพนัน
เครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ นการเลนน้นั ใหศาลมอี าํ นาจริบไดต ามกฎหมายลกั ษณะอาญา
¤Ó͸ºÔ ÒÂ
ทรพั ยส นิ ทจ่ี บั ไดใ นวงการเลน ซง่ึ เปน ความผดิ ตามพระราชบญั ญตั ฉิ บบั น้ี กฎหมายบงั คบั
ไววาใหริบเสียทรพั ยสนิ ดังกลา ว แยกพจิ ารณาไดดงั นีค้ ือ
๑) ทรัพยสินพนัน หากจับไดในวงการเลนยอมเปนทรัพยสินที่ตองริบเสียท้ังสิ้น
โดยเด็ดขาด เชน เงินทอง ขาวของที่ใชเปนทรัพยสินพนัน แตถาทรัพยสินน้ันมิไดเอาออกพนัน
หากจับไดท ี่ตวั ผูตอ งหาในภายหลงั ยอมริบไมได



๒) เครอื่ งมอื ท่ีใชใ นการเลนพนนั อยูในดลุ พนิ จิ ของศาลทีจ่ ะริบหรอื ไม อาทเิ ชน
- เส่ือและตะเกียงเปนของใชธรรมดา ไมมีสภาพเปนเคร่ืองมือเครื่องใชในการเลน
จะรบิ ไมได
- โทรทัศนที่ผูดูใชทาพนันผลการแขงขันชกมวยไมใชเครื่องมือเคร่ืองใชในการเลน
พนันชกมวย จะริบไมไ ด
- เสื่อที่ใชปูรองการเลนพนัน เปนเครื่องมือเครื่องใชในการกระทําผิดในการเลน
การพนัน ถือไดวาเปนทรัพยที่ใชในการกระทําผิด ศาลริบไดในฐานะท่ีใชเปน
เคร่ืองมอื ท่ีใชในการเลน
- โตะบิลเลียดไฟฟา ริบเปนอุปกรณใชในการเลนพนัน สล็อตแมชชีนที่จับไดใน
วงพนัน ศาลรบิ ได

การกระทาํ ความผดิ ฐานน้แี มไมม เี จตนาก็เปนความผดิ

ó. º·¡Ó˹´â·É

การกระทาํ ความผดิ ฐานนต้ี อ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ ๑ เดอื น หรอื ปรบั ไมเ กนิ ๑,๐๐๐ บาท
หรอื ท้ังจําท้งั ปรับ

ÁÒμÃÒ ñò “ผูใดจัดใหมีการเลน หรือทําอุบายลอชวยประกาศโฆษณาหรือชักชวน
โดยตรงหรือออมใหผูอ่ืนเขาเลนหรือเขาพนันในการเลนซ่ึงมิไดรับอนุญาตจากเจาพนักงาน หรือรับ
อนุญาตแลวแตเลนพลิกแพลง หรือผูใดเขาเลนหรือเขาพนันในการเลนอันขัดตอบทแหงพระราช
บญั ญัตินีห้ รอื กฎกระทรวง หรอื ขอ ความในใบอนุญาต ผนู น้ั มีความผดิ ดงั ตอ ไปนี้

๑. ถาเปนความผดิ ในการเลน ตามบัญชี ก. หมายเลข ๑ ถึงหมายเลข ๑๖ หรอื การเลน
ตามบัญชี ข. หมายเลข ๑๖ เฉพาะสลากกนิ รวบ หรอื การเลน ซ่งึ มีลกั ษณะคลายกันน้ี ตอ งระวางโทษ
จาํ คุกต้งั แต ๓ เดอื นขน้ึ ไป จนถงึ ๓ ป และปรับต้ังแต ๕๐๐ บาทขนึ้ ไปจนถึง ๕,๐๐๐ บาท ดว ยอกี
โสดหนงึ่ เวน แตผ เู ขา เลน หรอื เขา พนนั ทเ่ี รยี กวา ลกู คา ใหจ าํ คกุ ไมเ กนิ ๓ ป หรอื ปรบั ไมเ กนิ ๕,๐๐๐ บาท
หรือทั้งจําทั้งปรับ

๒. ถาเปนความผิดในการเลนอื่นใดตามพระราชบัญญัตินี้ ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน
๒ ป หรอื ปรบั ไมเ กิน ๒,๐๐๐ บาท หรือทั้งจําทั้งปรบั เวน แตค วามผดิ ตามมาตรา ๔ ทวิ ตอ งระวางโทษ
จาํ คุกไมเกิน ๑ ป หรอื ปรบั ไมเกนิ ๑,๐๐๐ บาท หรอื ท้ังจําท้ังปรับ

¤Ó͸ºÔ ÒÂ
การจัดใหผูอื่นเขาเลนการพนัน หรือพนันในการเลน หมายถึง การเปนหัวหนาหรือ
ผนู ําในการเลนทีเ่ รียกกันท่ัวๆ ไปวาหัวหนาบอ นการพนนั หรอื นายวงการพนัน หรอื เจา มือ
การทําอุบายลอใหผูอ่ืนเขาเลนการพนันหรือพนันในการเลน ไดแก การใชอุบายดวย
วิธีใดๆ ก็ไดเพ่ือชักชวนใหผูอ่ืนเขาเลนการพนันดวย พวกทําอุบายลอน้ีรูจักกันดี ในช่ือวา หนามา



เชน ก. จัดใหมีการเลนการพนัน ข. ตองการชวย ก. หาลูกคาในการเลนการพนัน จึงทําอุบายเปน
ลูกคาเลนการพนันกับ ก. เปนทํานองวาการเลนนั้นมีโอกาสจะไดมากกวาเสีย เพื่อใหนาย ค. กับ
นาย ง. ซ่ึงผานไปมาเขาเลนดวย ที่พบเห็นกันทั่วไป เชน การเลนพนันไพสามใบบนรถประจําทาง
มักจะมีหนามาทําอุบายชักชวนเสมอ และการเลนลูกเตา ไฮโล ก็มักจะมีผูกระทําตนเปนหนามา
หรอื นกตอ แกลง ทําเปน ชนะการพนันโดยรกู ันกบั เจา มือเพื่อหลอกใหลูกคา หลงเชอื่ เขา พนนั ดว ย

การชว ยประกาศโฆษณาหรอื ชกั ชวนโดยทางตรงทางออ ม กม็ ที าํ นองเดยี วกนั กบั ทาํ อบุ าย
ดังกลาวมาแลว

ÁÒμÃÒ ñõ นอกจากโทษทม่ี บี ญั ญตั ไิ วแ ลว ในพระราชบญั ญตั นิ ้ี ถา เปน กรณที ม่ี ผี นู าํ จบั
ผูกระทําผิด ใหพนักงานอัยการรองขอตอศาลใหจายสินบนแกผูนําจับดวย และใหศาลส่ังไวใน
คําพิพากษาใหผูกระทําผิดใชเงินสินบนแกผูนําจับก่ึงหน่ึงของจํานวนเงินคาปรับดวยอีกโสดหน่ึง
ถา ผกู ระทาํ ผดิ ไมช าํ ระสนิ บนดงั กลา วใหจ า ยจากเงนิ ทไ่ี ดจ ากของกลางซงึ่ ศาลสง่ั รบิ เมอื่ คดถี งึ ทสี่ ดุ แลว
หรือจายจากเงินคาปรบั ท่ไี ดชําระตอ ศาล
®¡Õ Ò·Õ蹋Òʹã¨

®¡Õ Ò·èÕ õõ/òõñð ในคดีท่ีเจาพนักงานตาํ รวจซึ่งเปนพยานโจทกเบิกความวา
ผูประสงคเงินสินบนนาํ จับมาแจงวา ท่ีบานจาํ เลยลักลอบเลนการพนัน ไดระบุถึงผูเลนและเลนอยู
ตรงสวนไหนของบาน ผูแจงบอกใหเขาทางหลังบาน เจาพนักงานตํารวจอีกผูหน่ึงก็ไดสอบถามผูมา
แจงตามขอเท็จจริง เชนนี้ ถือไดวาผูท ่มี าแจง น้ันเปน ผูน ําจบั ตามความใน พ.ร.บ.การพนนั แลว

®¡Õ Ò·èÕ ó÷ø/òõñö ศาลช้ันตนพิพากษาลงโทษจําเลยฐานเปนผูจัดใหมีการเลนพนัน
โดยเปนเจามอื จาํ คุก ๔ เดือน และปรับ ๖๐๐ บาท ศาลอุทธรณฟง วา จําเลยเปนผเู ขาเลนในฐานะ
ลูกคาเทานั้น พิพากษาแก ลงโทษปรับสถานเดียว ๖๐๐ บาท ดังน้ี แมจะเปนการแกไขมากก็อยูใน
บังคบั แหงมาตรา ๒๒๐ ประมวลกฎหมายวธิ ีพิจารณาความอาญา ฎกี าในปญหาขอเทจ็ จรงิ ไมไ ด

®Õ¡Ò·Õè ñòóø/òõñ÷ เส่ือ แมโดยสภาพจะใชรองนั่งนอนก็ดี แตเม่ือจาํ เลยไดใช
ปูรองเลนการพนัน ก็เปนเครื่องมือท่ีใชในการกระทําผิดในวงเลนการพนัน ถือไดวาเปนทรัพยที่ไดใช
เปนเคร่ืองมือประกอบในการกระทําผิด ศาลยอมมีอํานาจริบได ตาม พ.ร.บ.การพนัน ๒๔๗๘
มาตรา ๑๐ ประกอบกับ ป.อ.มาตรา ๓๓(๑)

®¡Õ Ò·èÕ òöôö/òõòñ การท่ีผูดูโทรทัศนทาพนันผลของการแขงขันชกมวย หาได
ทําใหเคร่ืองรับโทรทัศนเปนเคร่ืองมือเคร่ืองใชในการเลนการพนันการชกมวยตามความหมายแหง
พระราชบญั ญตั กิ ารพนนั โดยแทจ ริงไม จึงไมรบิ เคร่ืองรบั โทรทศั นข องกลาง

®Õ¡Ò·èÕ ñøõù/òõò÷ ผูรองเปนเจาของรานคา ในวันเสารวันอาทิตยจะยก
เครื่องรับโทรทัศนของกลางจากชั้นบนลงมาเปดบริการลูกคาที่ชั้นลาง เพื่อใหลูกคาดูรายการมวย
จะฟงวาเพื่อสนับสนุนใหจาํ เลยเลนการพนันกันหาไดไม ผูท่ีดูมวยโดยไมเลนการพนันมีอยูไมนอย
โทรทศั นข องกลางจงึ ไมเ ปน เครอ่ื งมอื เครอื่ งใชใ นการทา พนนั ผลการแขง ขนั การชกมวย ตอ งคนื แกผ รู อ ง

๑๐

®¡Õ Ò·èÕ òù/òõóñ เครื่องรับโทรทัศนซ่ึงใชในการถายทอดรายการมวยท่ีจาํ เลยที่ ๑
จัดใหจาํ เลยอื่นเลนการพนันนั้น มิใชอุปกรณที่มีสภาพหรือลักษณะที่ใชในการเลนการพนัน ดังน้ัน
การท่ีมีผูตกลงใชรายการใดรายการหนึ่งในการเผยแพรภาพทางเคร่ืองรับโทรทัศนมาใชเสี่ยงทาย
หรือเปนเงื่อนไขในการเลนการพนัน จึงไมทําใหเครื่องรับโทรทัศนเปนเครื่องมือเครื่องใชในการเลน
การพนนั ไปดวย

®Õ¡Ò·èÕ ñðòø/òõóñ ขณะเลนการพนันบิลเลียดเพ่ือความร่ืนเริงในสมาคมท่ีสมาคม
ผูรองซึ่งมีโตะบิลเลียดทั้งหมด ๕ โตะเรียกเก็บคาเกมตามสมควร ยอมอยูในบังคับของกฎกระทรวง
ทใ่ี หจ ดั ขน้ึ ไดโ ดยไมต อ งมใี บอนญุ าตอนั สามารถเลน การพนนั กนั ได ตามบทบญั ญตั แิ หง พระราชบญั ญตั ิ
การพนัน พ.ศ.๒๔๗๘ มาตรา ๔ วรรคสาม โตะบิลเลียด ลูกบิลเลียด และไมคิวของกลางท่ีผูรอง
ขอคืน จึงไมเปนเคร่ืองมือที่ใชในการเลนการพนัน โดยขัดตอบทแหงพระราชบัญญัติดังกลาว
ซ่งึ มาตรา ๑๐ วรรคสอง บญั ญตั ิใหศาลมีอาํ นาจรบิ ได

®¡Õ Ò·Õè øõò/òõóò จําเลยสั่งจายเช็คพิพาทใหโจทกเพื่อชําระหนี้การเลนพนัน
สลากกนิ รวบเปน หนี้ท่ไี มส มบูรณ ฟอ งบงั คับไมไ ด

®Õ¡Ò·Õè ó÷ó÷/òõóò คาํ ฟองของโจทกท ่ีบรรยายวา จําเลยทั้งหมดกบั พวกไดร วมกัน
เลนการพนันปอกแปดเกาหรือการเลนซ่ึงมีลักษณะคลายปอก มีวิธีการเลนซึ่งดัดแปลงมาจาก
การเลนแปดเกา อนั ระบไุ วใ นบญั ชี ก. อันดบั ที่ ๕ และการเลนปอกอันระบไุ วใ นบญั ชี ก. อันดบั ที่ ๑๑
ยอมเปนที่เขาใจไดแลววา จําเลยทั้งหมดกับพวกเขาพนันในการเลนอยางเดียว โดยมีวิธีการเลน
ทพ่ี ลกิ แพลงนาํ เอาการเลน แปดเกา กบั การเลน ปอ กเขา มารวมกนั แลว เรยี กชอ่ื ใหมว า ปอ กแปดเกา จาํ เลย
ใหการรับสารภาพตลอดขอหา แสดงวาเขาใจในวิธีการเลนการพนันตามท่ีโจทกกลาวในฟองแลว
เปนอยางดี คาํ ฟองของโจทกก ็ไมเ คลือบคลุม

®Õ¡Ò·èÕ ø÷ô/òõòò จาํ เลยท่ี ๑ เปนเจามือผูจัดใหมีการเลนการพนันสลากกินรวบ
ซึ่งเปนการพนันที่มอมเมาประชาชน เปนอบายมุขที่กอใหเกิดความเสียหายแกเศรษฐกิจของชาติ
บานเมือง ของกลางที่ยึดไดเปนเงินสด ๑,๖๕๐ บาท และใบโพย ๑๓ แผน คิดเปนจาํ นวนเงินถึง
๒๐,๐๐๐ บาทเศษ แสดงวา จาํ เลยท่ี ๑ เปน เจา มอื รายใหญ ศาลยอมไมร อการลงโทษจาํ เลย

®Õ¡Ò·Õè ñóù/òõóó ฟองวา จาํ เลยบังอาจจัดใหมีการเลนเคร่ืองเลนไฟฟาจักรกล
(ว.ี ด.ี โอ.เกม) อนั เปน การพนนั ตามท่รี ะบุไวในบัญชี ข. ลาํ ดบั ท่ี ๒๘ ทา ย พ.ร.บ.การพนนั พ.ศ.๒๔๗๘
โดยจาํ เลยเกบ็ เงินจากผเู ขา เลน ในอตั ราชัว่ โมงละ ๑๐ บาท อนั เปนทางนาํ มาซ่ึงผลประโยชนแกจําเลย
ผจู ดั โดยมไิ ดร บั อนญุ าตจากเจา พนกั งาน ดงั นฟี้ อ งของโจทกไ ดบ รรยายถงึ การกระทําทงั้ หลายทอี่ า งวา
จาํ เลยไดกระทาํ ผิด อีกท้ังบุคคลและสิ่งของท่ีเก่ียวของพอสมควรท่ีจะใหจาํ เลยเขาใจขอหาไดดีแลว
ฟอ งโจทกจ ึงสมบูรณชอบดวย ป.ว.ิ อ. มาตรา ๑๕๘(๕) แลว

เม่ือจําเลยเปนผูจัดใหมีการเลนเครื่องเลนไฟฟาจักรกล (วี.ดี.โอ.เกม) อันเปนการพนัน
ตามที่ระบุไวในบัญชี ข. ลําดับท่ี ๒๘ เพ่ือนํามาซ่ึงผลประโยชนแกจําเลยโดยไมไดรับอนุญาตจาก

๑๑

เจาพนักงานจําเลยยอมมีความผิดตามท่ีโจทกฟอง โดยไมจําตองบรรยายฟองใหปรากฏวาผูเลน
จะไดเลนพนันเอาทรัพยสินกันหรือไม เพราะแมผูเลนจะไมไดเลนพนันเอาทรัพยสินกัน การกระทํา
ของจําเลยกเ็ ปนความผดิ

®Õ¡Ò·èÕ òðôù/òõóó การพนันสลากกินรวบเปนส่ิงที่มอมเมาประชาชน และเปน
อบายมุขที่กอใหเกิดความเสียหายแกเศรษฐกิจของชาติบานเมือง สมควรแกการกาํ ราบปราบปราม
มิใหมีการเลนอีกตอไป เจาพนักงานจับจาํ เลยได พรอมดวยสมุดจดหมายเลขสลากกินรวบ ๒ เลม
แตละเลมจดรายการเลนการพนันดังกลาวหลายรายการ ถือไมไดวาจาํ เลยเปนผูเลนรายยอย จึงยัง
ไมสมควรที่จะรอการลงโทษจําคุกจาํ เลย เมื่อศาลไมไดลงโทษปรับจําเลย จึงไมอาจสั่งใหจาํ เลย
จายสนิ บนนําจับได

๑๒

ºÞÑ ªÕ ¡.

๑. หวย ก. ข. ๑๗. การเลน ซงึ่ มกี ารทรมานสตั วเชน เอามอื หรอื
๒. โปปน หนามผูกหรือวางยาเบื่อยาเมาใหสัตวชน
๓. โปกํา หรือตอสูกัน หรือสุมไฟบนหลังเตาใหว่ิง
๔. ถั่ว แขงขันหรือการเลนอ่ืนๆ ซ่ึงเปนการ
๕. แปดเกา ทรมานสัตว อันมีลักษณะคลายกับท่ีวา
๖. จับยก่ี ี มานี้
๗. ตอ แตม
๘. เบี้ยโบก หรอื คคู ี่ หรอื อโี จง ๑๘. บลิ เลยี ดรู ตีผี
๙. ไพส ามใบ ๑๙. โยนจม่ิ
๑๐. ไมส ามอัน ๒๐. สเ่ี หงาลัก
๑๑. ชางงา หรอื ปอ ก ๒๑. ขลุกขลกิ
๑๒. ไมด ํา ไมแ ดง หรอื ปลาดาํ ปลาแดง หรือ ๒๒. นํา้ เตาทุกๆ อยาง
๒๓. ไฮโล
อีดาํ อีแดง ๒๔. อกี อย
๑๓. อโี ปงครอบ ๒๕. ปนแปะ
๑๔. กําตดั ๒๖. อโี ปงซดั
๑๕. ไมหมุน หรอื ลอหมุนทกุ ๆ อยา ง ๒๗. บาการา
๑๖. หวั โตทายภาพ ๒๘. สลอ็ ตแมชชีน

๑๓

ºÑÞªÕ ¢.

๑. การเลนตา งๆ ซ่งึ ใหสัตวตอ สูหรอื แขง ขัน ๑๗. โตแตไลเซเตอร สําหรับการเลนอยางใด
เชน ชนโค ชนไก กัดปลา แขงมา ฯลฯ อยางหนง่ึ
นอกจากท่กี ลา วไวใ นหมายเลข ๑๗ แหง
บญั ชี ก. ๑๘. สวีป สาํ หรบั การเลนอยางใดอยา งหนึ่ง
๑๙. บกุ เมกงิ สาํ หรบั การเลน อยา งใดอยา งหนงึ่
๒. วง่ิ วัวคน ๒๐. ขายสลากกินแบง สลากกินรวบหรือสวีป
๓. ชกมวย มวยปล้ํา
๔. แขง เรือพุง แขง เรือลอ ซ่ึงไมใชออกในประเทศไทย แตไดจัดใหมี
๕. ช้ีรูป ข้ึนโดยชอบดวยกฎหมายของประเทศที่
๖. โยนหว ง จัดนนั้
๗. โยนสตางคห รอื วัตถใุ ดๆ ลงในภาชนะ ๒๑. ไพนกกระจอก ไพตอ แตม ไพตางๆ
๒๒. ดวด
ตางๆ ๒๓. บิลเลียด
๘. ตกเบ็ด ๒๔. ของออ ย
๙. จบั สลากโดยวิธใี ดๆ ๒๕. สะบา ทอย
๑๐. ยิงเปา ๒๖. สะบาชุด
๑๑. ปาหนาคน ปาสตั ว หรอื ส่ิงใดๆ ๒๗. ฟุตบอลโตะ
๑๒. เตา ขามดา น ๒๘. เครื่องเลนซ่ึงใชเคร่ืองกล พลังไฟฟา
๑๓. หมากแกว พลังแสงสวาง หรือพลังอ่ืนใดท่ีใชเลน
๑๔. หมากหัวแดง โดยวธิ สี มั ผสั เลอ่ื น กด ดดี ดงึ ดนั ยงิ โยน
๑๕. บงิ โก โยก หมุน หรือวิธีอ่ืนใดซ่ึงสามารถทําให
๑๖. สลากกนิ แบง สลากกนิ รวบ หรอื การเลน แพชนะกันได ไมวาจะโดยมีการนับแตม
หรอื เครอ่ื งหมายใดๆ หรือไมก ็ตาม
อยางใดท่ีเสี่ยงโชคใหเงินหรือประโยชน
อยา งอื่น แกผ เู ลน คนใดคนหนึง่

๑๔

¤Ó¢Í͹ØÞÒμ¨Ñ´ãËÁŒ Õ¡ÒÃàŹ‹ ¡Òþ¹Ñ¹

เขยี นท่ี..........................................
วันที.่ ............เดอื น...............................พ.ศ.................
ขา พเจา ..............................................................อาย.ุ ...............ป สญั ชาต.ิ ......................
บา นเลขท.ี่ ..................หมทู .่ี ........ตาํ บล.......................อาํ เภอ........................จงั หวดั .........................
ย่ืนคาํ ขอตอ เจา พนกั งานผูออกใบอนุญาต.......................................................................................
ดว ยขา พเจา มคี วามประสงคข อรบั ใบอนญุ าตจดั ใหม กี ารเลน การพนนั ............................
จาํ นวน...................มกี าํ หนด..................ณ ทหี่ รอื บา นเลขท.่ี ............................หมทู .ี่ .......................
ตาํ บล.......................................อาํ เภอ.......................................จงั หวัด.........................................
ขาพเจาจะปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยการพนันกับลักษณะขอจํากัด และเงื่อนไขของ
การเลนการพนนั ดังระบุไวหลังใบอนญุ าต
ลายมือช่อื .........................................ผูร องขอ
ลายมือชื่อ.........................................ผเู ขียน

๑๕

รับคาํ ขอวันท่.ี ............/............../..............
ลายมือชื่อ........................................................ผูรบั คาํ ขอ
ตําแหนง .................................................
คาํ ส่ัง....................................................
ลายมือช่ือ........................................................ชอ่ื เจา พนกั งานผอู อกใบอนญุ าต

วันท.ี่ ............./............../..............
ตาํ แหนง..........................................

กรณีการอนญุ าตตอ งไดรับอนุมัติจากผูบ ัญชาการตํารวจนครบาล
ผวู า ราชการจังหวดั หรือกระทรวงมหาดไทย

๑. เสนอ.................................................................................................................
..........................................................................................................................

.........................................................................................................................................................
ลายมือชือ่ ........................................................เจา พนกั งานออกใบอนุญาต
วันท่.ี ............./............../..............
ตาํ แหนง ..........................................
๒. เสนอ................................................................................................................
..........................................................................................................................

.........................................................................................................................................................
ลายมอื ชอ่ื ............................................
วนั ที่............../............../..............
ตําแหนง.........................................
๓. คาํ สงั่ ..................................................................................................................

......................................................................................................................................................
ลายมือช่อื ..............................................ผสู ั่ง
วันท.ี่ ................/................./..................
ตาํ แหนง .................................................

¤ÇÒÁ¼´Ô μÒÁ¡®ËÁÒÂÇÒ‹ ´ÇŒ ¡Òþ¹¹Ñ ๑๖

ÅÓ´ºÑ ¢ŒÍËÒ/°Ò¹¤ÇÒÁ¼´Ô ͧ¤» ÃСͺ¤ÇÒÁ¼´Ô ÁÒμÃÒ ÍÑμÃÒâ·É ËÁÒÂàËμØ

๑. (๑) ผจู ดั ใหมกี ารเลน โดยไมไดรับอนญุ าต ๑.๑ บญั ชี ก. หมายเลข ๑-๑๖ มาตรา ๑๒(๑) - จําคุกตั้งแต ๓ เดือนข้ึนไป จนถึง
(๒) ผูทําอุบายลอ ชวยประกาศโฆษณา หรือ บัญชี ข. หมายเลข ๑๖ ๓ ป และปรับต้ังแต ๕๐๐ บาท
ชกั ชวนโดยตรง หรอื โดยออ มใหผ อู นื่ เขา เลน (เฉพาะสลากกนิ รวบ) ข้นึ ไป จนถึง ๕,๐๐๐ บาท
หรือเขาพนันในการเลนทีไ่ มไดร ับอนุญาต หรอื การเลน ซง่ึ มลี กั ษณะคลา ยกนั
(๓) ผูไดรบั อนญุ าตแลวแตเ ลน พลกิ แพลง ๑.๒ การเลนอ่นื ใดใน มาตรา ๑๒(๒) - จําคุกไมเกิน ๒ ป หรอื ปรับไมเกนิ
บญั ชี ก. นอกจากหมายเลข ๑-๑๖ ๒,๐๐๐ บาท หรอื ทงั้ จาํ ทัง้ ปรบั
บัญชี ข. นอกจากหมายเลข ๑๖
หรอื การเลน ซงึ่ มลี กั ษณะคลา ยกนั
ยกเวน การเลนในขอ ๑.๓
๑.๓ การเลนอื่นใดนอกจากการเลน มาตรา ๑๒(๒) - จาํ คกุ ไมเ กนิ ๑ ป หรือปรบั ไมเ กนิ
ในบัญชี ๑,๐๐๐ บาท หรอื ทง้ั จาํ ทง้ั ปรบั
ก. และบัญชี ข. ที่มิไดระบุช่ือ
และเงอื่ นไขไวใ นกฎกระทรวง
(มาตรา ๔ ทว)ิ

๒. ผเู ขาเลน หรอื เขาพนนั ทีเ่ รียกวา “ลกู คา ” บญั ชี ก. หมายเลข ๑-๑๖ มาตรา ๑๒(๑) - จาํ คกุ ไมเกิน ๓ ป หรอื ปรับไมเกิน
บญั ชี ข. หมายเลข ๑๖ ๕,๐๐๐ บาท หรือทงั้ จําทั้งปรับ
(เฉพาะสลากกินรวบ)
หรอื การเลน ซงึ่ มลี กั ษณะคลา ยกนั

¤ÇÒÁ¼´Ô μÒÁ¡®ËÁÒÂÇ‹Ò´ÇŒ ¡Òþ¹Ñ¹

ÅӴѺ ¢ŒÍËÒ/°Ò¹¤ÇÒÁ¼´Ô ͧ¤»ÃСͺ¤ÇÒÁ¼´Ô ÁÒμÃÒ ÍÑμÃÒâ·É ËÁÒÂàËμØ

๓. ผูเขาเลน หรอื เขา พนนั ในการเลน ทข่ี ัดตอ ๓.๑ การเลน อนื่ ใดใน มาตรา ๑๒(๒) - จําคกุ ไมเ กนิ ๒ ป หรอื ปรับไมเ กิน
- บทบญั ญตั ิแหง พระราชบัญญตั ิน้ี หรือ บญั ชี ก. นอกจากหมายเลข ๑-๑๖ ๒,๐๐๐ บาท หรอื ทงั้ จาํ ท้งั ปรบั
- กฎกระทรวง หรือ บัญชี ข. หมายเลข ๑๖ (เฉพาะ
- ขอความในใบอนญุ าต สลากกินรวบ) หรือการเลนซ่ึงมี - จาํ คุกไมเ กิน ๒ ป หรอื ปรับไมเ กนิ
ลกั ษณะคลา ยกัน ยกเวน การเลน ๑,๐๐๐ บาท หรอื ทัง้ จาํ ทง้ั ปรบั
ในขอ ๓.๒
๓.๒ การเลนอ่ืนใดนอกจากการเลน มาตรา ๑๒(๒)
บัญชี ก. และบญั ชี ข. ทีม่ ไิ ดร ะบุ
ชื่อและเงื่อนไขไวในกฎกระทรวง
(มาตรา ๔ ทวิ)

๔. ผูฝา ฝน มาตรา ๔ วรรคสี่ โดย บญั ชี ข. หมายเลข ๕-๑๕ หรือการเลน มาตรา ๔ วรรคส่ี - จาํ คกุ ไมเ กนิ ๓เดอื นหรอื ปรบั ไมเ กนิ
(๑) ใหร างวลั ตีราคาเปน เงิน หรือ ซง่ึ มลี กั ษณะคลา ยกนั หรอื การเลน อนื่ ใด และมาตรา ๑๓ ๕๐๐ บาท หรอื ท้ังจาํ ทงั้ ปรบั
(๒) รับกลบั คนื รางวัล หรือ ซ่ึงรัฐมนตรีฯ ไดออกกฎกระทรวงระบุ
(๓) รบั ซ้ือรางวัล หรอื เพมิ่ เตมิ ไว
(๔) แลกเปลี่ยนรางวัล
ในสถานงาน หรอื การเลน หรอื บรเิ วณตอ เนอื่ ง
ในระหวางมีงาน หรอื การเลน

๕. ผเู สนอขาย หรอื ขายสลากกนิ แบง ทย่ี งั มไิ ดอ อก บัญชี ข. หมายเลข ๑๖ สลากกนิ แบง มาตรา ๙ ทวิ - จาํ คกุ ไมเ กนิ ๑เดอื นหรอื ปรบั ไมเ กนิ
รางวัลเกินกวา ราคาทีก่ าํ หนดในสลาก และมาตรา ๙ ตรี ๑,๐๐๐ บาท หรือท้ังจําท้งั ปรบั

๑๗

¤ÇÒÁ¼´Ô μÒÁ¡®ËÁÒÂÇ‹Ò´ÇŒ ¡Òþ¹Ñ¹ ๑๘

ÅÓ´ºÑ ¢ÍŒ ËÒ/°Ò¹¤ÇÒÁ¼´Ô ͧ¤» ÃСͺ¤ÇÒÁ¼Ô´ ÁÒμÃÒ ÍμÑ ÃÒâ·É ËÁÒÂàËμØ

๖. ผจู ดั ใหม กี ารแถมพก หรอื รางวลั ดว ยการเสย่ี งโชค แถมพก หรอื ใหร างวลั ดว ยการเสย่ี งโชค มาตรา ๘ และ - จําคุกไมเกิน ๑ ป หรือปรับต้ังแต
โดยวธิ ใี ดๆในการประกอบกจิ การคา หรอื อาชพี โดยวธิ ใี ดๆ มาตรา ๑๔ ๕๐ บาท ถึง ๒,๐๐๐ บาท หรือ
โดยไมไ ดร ับอนญุ าต ทง้ั จําท้งั ปรับ

๑๙

º··èÕ ò

¾ÃÐÃÒªºÑÞÞμÑ ÍÔ ÒÇظ»¹„ à¤ÃÍè× §¡ÃÐÊع»¹„ ÇμÑ ¶ØÃÐàº´Ô ´Í¡äÁàŒ ¾ÅÔ§
ÊèÔ§à·ÂÕ ÁÍÒÇظ»¹„ ¾.È.òôùð

ñ. ÇÑμ¶»Ø ÃÐʧ¤¡ÒÃàÃչ̻٠ÃШӺ·

๑.๑ เพ่ือใหนักเรียนมีความรูและความเขาใจใน พ.ร.บ.อาวุธปน เครื่องกระสุนปน
วตั ถุระเบดิ ดอกไมเพลงิ สิง่ เทยี มอาวธุ ปน พ.ศ.๒๔๙๐

๑.๒ เพ่ือใหนักเรียนสามารถอธิบายการวิเคราะหวาการกระทําใดมีความผิด หรือไมมี
ความผดิ ตาม พ.ร.บ.อาวธุ ปน เครอ่ื งกระสนุ ปน วตั ถรุ ะเบดิ ดอกไมเ พลงิ สงิ่ เทยี มอาวธุ ปน พ.ศ.๒๔๙๐

๑.๓ เพ่ือใหนักเรียนสามารถอธิบายวิธีการดําเนินการกับผูกระทําความผิดตาม
พ.ร.บ.อาวธุ ปน เครือ่ งกระสุนปน วัตถรุ ะเบดิ ดอกไมเ พลิง ส่งิ เทียมอาวธุ ปน พ.ศ.๒๔๙๐

ò. ʋǹ¹Ó

พ.ร.บ.อาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง สิ่งเทียมอาวุธปน
พ.ศ.๒๔๙๐ เปนกฎหมายที่มีความสําคัญ เพราะเปนกฎหมายที่ควบคุม วัตถุท่ีใชประกอบ
อาชญากรรมท่ีมีความรายแรง โดยการนําเอาสิ่งเหลาน้ันเขามาสูระบบเพื่อควบคุมผูท่ีมีสิทธิที่จะถือ
อาวธุ หรอื ควบคมุ ความรา ยแรงของอาวธุ ซงึ่ จะทาํ ใหร ะดบั ความรนุ แรงของอาชญากรรมทเี่ กดิ ขนึ้ ลดลง

ó. à¹é×ÍËÒμÒÁËÑÇ¢ŒÍ

๓.๑ ความรทู ว่ั ไปเกย่ี วกบั พ.ร.บ.อาวธุ ปน เครอ่ื งกระสนุ ปน วัตถรุ ะเบดิ ดอกไมเพลิง
ส่ิงเทยี มอาวุธปน พ.ศ.๒๔๙๐

๓.๒ ความผิดตาม พ.ร.บ.อาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง
สิ่งเทียมอาวธุ ปน พ.ศ.๒๔๙๐

๓.๓ บทกาํ หนดโทษ

ô. ʋǹÊÃØ»

เปนกฎหมายที่มีความสําคัญฉบับหนึ่ง เพราะเปนกฎหมายท่ีคอยควบคุมความรายแรง
ของอาชญากรรม เพราะหากความรายแรงของอาวุธขางตนถูกนํามาใชในการประกอบอาชญากรรม
กจ็ ะทาํ ใหเ กดิ ความสญู เสยี แกส งั คมอยา งมาก หากผบู งั คบั ใชก ฎหมายเขม งวดในการบงั คบั ใชก ฎหมายนี้
ก็เทากับไดควบคุมระดับความรุนแรงของสังคมไปในตัว ซ่ึงเปนหนาที่อันพึงปฏิบัติของพนักงาน
ฝา ยปกครองหรือตํารวจ

õ. ¡¨Ô ¡ÃÃÁá¹Ð¹Ó

ใหนักเรียนคนหาการจับกุมตาม พ.ร.บ.อาวุธปนฯ และนําขอมูลมาวิเคราะหอภิปราย
รวมกันในชนั้ เรยี น

๒๐

¤ÇÒÁÃÙŒ·ÑèÇä»à¡ÂèÕ Ç¡Ñº ¾.Ã.º.ÍÒÇظ»¹„ Ï

โดยท่ีความผิดเก่ียวกับ พ.ร.บ.อาวุธปน เคร่ืองกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง
และสิ่งเทียมอาวุธปนเปนความผิดท่ีกระทบกระเทือนตอชีวิตและทรัพยสินตลอดจนความสงบ
เรียบรอยของประชาชน รัฐบาลจึงใหความสนใจเปนพิเศษ จะเห็นไดจากการที่กระทรวงมหาดไทย
ไดเนนถึงการปราบปรามเก่ียวกับอาวุธปน เครื่องกระสุนปน ฯลฯ ที่ใชในราชการสงครามตลอดถึง
การปกปองอาชญากรรมในรูปแบบตางๆ ที่ไดใชอาวุธรายแรงเขาทําการประหัตประหารจนเกิด
อันตรายตอ ชวี ติ และทรพั ยสินของประชาชน จงึ จาํ เปน ที่จะตองมกี ฎหมายดงั กลาวบัญญตั ิขนึ้

º·¹ÂÔ ÒÁ

ÁÒμÃÒ ô (ñ) ÍÒÇ¸Ø »¹„ ËÁÒ¤ÇÒÁÃÇÁμÅÍ´¶§Ö ÍÒÇ¸Ø ·¡Ø ª¹´Ô «§èÖ ãªÊŒ §‹ à¤ÃÍ×è §¡ÃÐÊ¹Ø »¹„
â´ÂÇÔ¸ÕÃÐàºÔ´ËÃ×ÍกําÅѧ´Ñ¹¢Í§á¡ÊËÃ×ÍÍÑ´ÅÁËÃ×Íà¤Ã×èͧ¡Åä¡Í‹ҧ㴫èÖ§μŒÍ§ÍÒÈÑÂอํา¹Ò¨¢Í§
¾Åѧ§Ò¹áÅÐʋǹ˹èÖ§ÊÇ‹ ¹ã´¢Í§ÍÒÇظ¹¹éÑ æ «èÖ§Ã°Ñ Á¹μÃàÕ Ë¹ç Ç‹Òสํา¤ÞÑ áÅÐä´ÃŒ кØänj㹡®¡ÃзÃǧ

สวนของอาวุธปนท่ีใหถือวาเปนอาวุธปนน้ัน ไดแก สวนใดสวนหน่ึงของอาวุธปน
ตามขอ ๑ แหงกฎกระทรวงมหาดไทย (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ.๒๔๙๑ ดงั น้ี

ก. ลาํ กลอ ง
ข. เครอ่ื งลูกเล่ือน หรอื สวนประกอบสาํ คัญของเครือ่ งลกู เล่อื น
ค. เคร่อื งล่นั ไกหรอื สวนประกอบสาํ คญั ของเคร่อื งลนั่ ไก และ
ง. เคร่อื งสง กระสุน ซองกระสุนหรือสวนประกอบสําคญั ของส่งิ เหลาน้ี
สวนใดสวนหนึ่งที่กําหนดไวในกฎกระทรวงน้ีเปนอํานาจของรัฐมนตรีวาการกระทรวง
มหาดไทย
®Õ¡Ò·èÕ ñùðó/òõòð ปนท่ีไมอาจใชยิงทําอันตรายแกชีวิตและวัตถุไดก็เปนอาวุธปน
ตาม พ.ร.บ.อาวธุ ปนฯ และเปนอาวธุ โดยสภาพ พาไปในเมืองเปน ความผิดตาม ม.๓๗๑
®Õ¡Ò·èÕ ñôõù/òõòó อาวุธปนไมมีลูกโมและแกนลูกโม ไมสามารถใชยิงได
เปนอาวุธโดยสภาพตาม ป.อ.ม.๑ (๕) จําเลยพาไปในทางสาธารณะโดยไมมีเหตุสมควร เปน
ความผดิ ตาม ป.อ. ม.๓๗๑ และ พ.ร.บ.อาวธุ ปนฯ พ.ศ.๒๔๙๐ ม.๘ ทวิ แกไขโดย ป.ร. ฉบบั ที่ ๔๔
ลงวนั ที่ ๒๑ ตลุ าคม ๒๕๑๙ ขอ ๓ ซึ่งเปนบทมโี ทษหนกั
ÁÒμÃÒ ô (ò) à¤ÃèÍ× §¡ÃÐÊ¹Ø »¹„ หมายความรวมตลอดถึง กระสนุ โดด กระสนุ ปราย
กระสนุ แตก ลกู ระเบิด ตอรป โด ทุน ระเบดิ และจรวดท้งั ชนิดทม่ี หี รอื ไมมกี รด แกส เช้ือเพลิง เชื้อโรค
ไอพิษ หมอกหรอื ควนั หรือกระสนุ ระเบดิ ตอรปโด ทนุ ระเบิดและจรวด ที่มคี ณุ สมบตั คิ ลา ยคลึงกัน
หรือเครอื่ งหมายสง่ิ สําหรับอดั หรอื ใชป ระกอบเครื่องกระสนุ ปน
à¤ÃèÍ× §¡ÃÐÊع»¹„ ตามมาตรา ๔ (๒) หมายความดังนี้
(๑) เปนเครื่องหรือสิ่งสําหรับอัดหรือทําหรือใชประกอบเคร่ืองกระสุนปน อันไดแก
ดินปนและลูกกระสุนปน และเคร่ืองจุดระเบิดของดินปน เปนสาระสําคัญของเคร่ืองกระสุนปน

๒๑

ดงั จะเหน็ ไดจ ากลกั ษณะของปน แกป ในยคุ แรกๆ จนกระทง่ั ไดพ ฒั นาเปน กระสนุ ลกู อดั เชน ขนาด .๓๘
หรอื ๑๑ มม.

(๒) เครอ่ื งกระสนุ ปน ยงั หมายความรวมตลอดถงึ กระสนุ โดด กระสนุ ลกู ปราย กระสนุ แตก
ลูกระเบิด ตอรปโด ทุนระเบิดและจรวด ซึ่งใชเปนเคร่ืองมือประหารหรือทําลายดวยแรงปะทะของ
กระสนุ ปน

(๓) เครือ่ งกระสุนปนดังกลา วในขอ (๒) ท่ีมกี รดแกส เชื้อเพลงิ เช้ือโรค ไอพษิ หมอก
หรอื ควัน เชน ปนแกสนา้ํ ตา ปนเพลิง ทีใ่ ชใ นการปราบจลาจล หรือปนท่ีใชยิงหมอกควันหรือแกส พษิ
สาํ หรบั ใชในการสงคราม เปน ตน

(๔) กระสุนของลูกระเบิด ตอรปโด ทุนระเบิดและจรวดที่มีคุณสมบัติคลายคลึงกัน
ซ่ึงตามขอนี้ไดแก กระสุนปนรถถังหรอื ตอรป โ ดท่ยี งิ ไปจากเรอื ดาํ นาํ้ หรือจรวดที่ยิงจากฐานบนพืน้ ดนิ
หรอื จากเครอื่ งบนิ หรอื ทนุ ระเบดิ ทถี่ กู ยงิ จากเรอื รบไปปลอ ยไวใ นนา นนา้ํ ใดนา นนาํ้ หนงึ่ เพอื่ ดกั ทาํ ลาย
ฝา ยขา ศกึ เหลา นเี้ ปน เครอ่ื งกระสนุ ปน ทยี่ งิ มาจากอาวธุ ปน แลว ไประเบดิ ดว ยตวั ของมนั เองอกี ชน้ั หนงึ่

®Õ¡Ò·Õè òö÷/òõò ปลอกกระสุนปนตามสภาพอาจเปนเคร่ืองหรือส่ิงสาํ หรับอัด
หรือทาํ หรือใชประกอบเครื่องกระสุนไดแตการมีอยูเพียง ๒ ปลอก และไดความวามีไวใชสวมปลอก
ไมตะพด ปลอกกระสุนปนน้ันก็ไมมีสภาพเปนเครื่องหรือสิ่งสําหรับอัดหรือทําหรือใชประกอบ
เครอ่ื งกระสุนปนเสยี แลว

®¡Õ Ò·èÕ óõõó/òõòù ลูกระเบิดของกลางอยูในสภาพท่ีใชทาํ การระเบิดไมได เพราะ
ชนวนถกู ทําลายและวัตถุระเบดิ ท.ี เอ็น.ที ที่บรรจุอยูภายในลกู ถูกสํารอกออกหมดแลว และตวั เปลอื ก
ถูกตัดออกเปนชองสเี่ หลย่ี มจงึ ไมเ ปนวตั ถุระเบดิ ยอมไมเปนเครอ่ื งกระสนุ ปน ดวย

ÁÒμÃÒ ô (ó) ÇÑμ¶ØÃÐàºÔ´ คือ วัตถุที่สามารถสงกําลังดันอยางแรงตอสิ่งหอมลอม
โดยฉับพลัน ในเมื่อระเบิดข้ึนโดยมีส่ิงเหมาะมาทําใหเกิดกําลังดัน หรือโดยการสลายตัวของ
วัตถุระเบิดนั้น ทําใหมีแรงทําลายหรือแรงประหาร กับหมายความรวมตลอดถึงเช้ือปะทุตางๆ หรือ
วัตถุอื่นใด อันมีสภาพคลายคลึงกันซ่ึงใชหรือทําขึ้นเพ่ือทําใหเกิดการระเบิด ซึ่งรัฐมนตรีไดประกาศ
ระบุไวในราชกจิ จานุเบกษา

วัตถุระเบดิ ตามมาตรา ๔ (๓) หมายความดังน้ี
(๑) คือวัตถุท่ีสามารถสงกําลังดันอยางแรงตอสิ่งหอมลอมโดยฉับพลันในเมื่อเกิด
ระเบดิ ขนึ้ โดยมสี งิ่ เหมาะมาทาํ ใหเ กดิ กาํ ลงั ดนั อนั เปน ระเบดิ ทที่ าํ ใหเ กดิ กาํ ลงั ดนั เชน เครอ่ื งระเบดิ หนิ
ระเบดิ ตึกทีใ่ ชใ นการกอสรา ง เปนตน
(๒) วัตถุระเบิดที่ทําใหมีแรงทําลายหรือแรงประหาร โดยการสลายตัวของวัตถุระเบิด
นัน้ เอง เชน ลูกระเบิดมอื กบั ระเบิดหรอื ระเบิดเวลา เปน ตน
(๓) วัตถุระเบิดดังกลาวในขอ (๑) และ (๒) น้ัน สวนมากเกิดระเบิดข้ึนจากการปะทุ
ของดินระเบิดทํานองเดียวกับเคร่ืองกระสุนปน แตพระราชบัญญัตินี้ยังเห็นวาไมเพียงพอกับ
ความกา วหนา ทางวทิ ยาศาสตรใ นปจ จบุ นั จงึ ไดก าํ หนดใหห มายความรวมตลอดถงึ เชอื้ ปะทตุ า งๆ หรอื

๒๒

วัตถุอื่นใดอันมีสภาพคลายคลึงกัน (กับเชื้อปะทุเหลาน้ัน) ซึ่งใชหรือทําขึ้นเพ่ือใหเกิดการระเบิด
ซ่ึงรัฐมนตรีจะไดประกาศระบุไวในราชกิจจานุเบกษา ในขอน้ีเปนการบัญญัติเผ่ือไวเพราะอาจมี
การคิดคนระเบิดแบบใหมๆ ขึ้นมา เมื่อรัฐมนตรีเห็นวาจําเปนตองควบคุมก็จะไดประกาศใน
ราชกจิ จานเุ บกษาใหอ ยใู นบงั คบั ของพระราชบญั ญตั นิ ้ี เชน ลกู ระเบดิ ทเี่ กดิ จากนา้ํ มนั เชอื้ เพลงิ เปน ตน

จากบทบัญญัติดังกลาววัตถุที่สลายตัวทําใหเกิดการระเบิดจะตองใหมีแรงทําลายหรือ
แรงประหารเกดิ ข้ึนดว ย ดังนัน้ ในกรณีท่ไี มถ ึงขนาดแรงทําลายไดก ไ็ มใ ชวัตถุระเบดิ เชน แกป กระดาษ
เปนเม็ดเล็กๆ ติดกับกระดาษโตขนาดหัวไมขีดไฟบาง เล็กกวาบาง อยูหางๆ กัน เม่ือมีจํานวน
ไมมากพอจะทําใหมีแรงทําลายหรือแรงประหารขึ้นไดขณะระเบิดแลว ก็ยังไมถึงขนาดท่ีจะถือวาเปน
วตั ถุระเบิดได (ฎีกาท่ี ๑๕๖๐/๒๕๐๕)

®¡Õ Ò·Õè ñôóõ-ñôóö/òõðö ดินดาํ ของกลางในคดีน้ีซ่ึงฟงไดเพียงวาเปนวัตถุท่ีมี
สารเคมีผสมอยู คือ โปแตสเซียมไนเตรท กาํ มะถัน และถาน เทาน้ัน ไมปรากฏวามีอํานาจหรือ
คณุ สมบตั ิตามที่กฎหมายกําหนดไวเ ก่ียวกับความหมายของวตั ถรุ ะเบิด จึงมใิ ชวัตถุระเบิด

®¡Õ Ò·èÕ õøø/òõòò ลกู ระเบดิ ของกลางมเี รอื นชนวนถกู ทําลาย ใชข วา งจะไมเ กดิ ระเบดิ
ไมท าํ ใหม แี รงทําลายหรอื แรงประหาร จึงไมเปน วตั ถรุ ะเบดิ

´Í¡äÁŒà¾ÅÔ§ ตามมาตรา ๔(๔) ไดยกตัวอยางวาไดแก พลุ ประทัดไฟ ประทัดลม
ซ่ึงมีใชกันอยูทั่วไป นอกจากนั้นยังใหหมายความรวมตลอดถึงวัตถุอื่นใดอันมีสภาพคลายคลึงกันกับ
ทีก่ ลา วมานี้ เชน ลูกหนหู รอื ลกู รอกที่ใชจ ดุ เลน ตามงานวัด ก็เปน ดอกไมเพลงิ ตามนยั นี้

Êè§Ô à·ÕÂÁÍÒÇ¸Ø »„¹ ตามมาตรา ๔(๕) หมายความวาส่งิ ซึ่งมีรปู และลักษณะอนั นา จะทาํ ให
“หลงเช่ือ” วาเปนอาวุธปน เชน ปนเด็กเลนที่มีขนาดและลักษณะเทาและเหมือนอาวุธปนจริงๆ
ท่คี นรา ยใชในการจแ้ี ละปลน ทรัพย เปนตน

ÁÒμÃÒ ô(ö) มหี มายความวา มกี รรมสทิ ธห์ิ รอื มไี วในครอบครอง แตไ มห มายความถึง
การมอี าวธุ ปน เครอื่ งกระสนุ ปน วตั ถรุ ะเบดิ ทม่ี ไี วโ ดยชอบดว ยกฎหมาย และตกอยใู นความครอบครอง
ของบคุ คลอน่ื ซง่ึ ไมต อ งหา มมาตรา ๑๓ แหง พระราชบญั ญตั นิ ้ี เทา ทจี่ าํ เปน เพอื่ รกั ษาสงิ่ ทวี่ า นม้ี ใิ หส ญู หาย

¡ÒÃÁäÕ ÇŒ ตามมาตรา ๔(๖) ใหหมายความวา
(๑) มีกรรมสิทธห์ิ รือมีไวในครอบครอง
(๒) การมีกรรมสิทธ์ิหรือมีไวในครอบครองตาม (๑) นั้น ใชบังคับเฉพาะอาวุธปน
เครื่องกระสุนปน และวัตถุระเบิดเทานั้น (มาตรา ๗ และ ๓๘) ไมรวมถึงดอกไมเพลิงและสิ่งเทียม
อาวธุ ปนดวย (มาตรา ๔๗ และ ๕๒)
(๓) ขอยกเวน การมีกรรมสิทธ์ิหรือมีไวในครอบครองดังกลาวใน (๑) และ (๒)
ไมหมายความรวมถึงการที่อาวุธปน เคร่ืองกระสุนปน วัตถุระเบิดท่ีมีไวโดยชอบดวยกฎหมาย
และตกอยูในความครอบครองของบุคคลอื่นซึ่งไมตองหามตามมาตรา ๑๓ แหงพระราชบัญญัติน้ี
เทา ที่จําเปน เพอ่ื รกั ษาส่งิ ท่ีวาน้มี ใิ หส ูญหาย

๒๓

บุคคลตามมาตรา ๑๓ คือบุคคลทต่ี อ งหามมิใหอ อกใบอนญุ าตใดๆ ตามพระราชบญั ญตั ิ
อาวุธปน ฯ

ตอนน้ีหมายความวา อาวุธปน เครอื่ งกระสนุ ปน หรอื วัตถรุ ะเบดิ ทีม่ ที ะเบียนหรือไดรบั
อนุญาตใหบุคคลใดบุคคลหนึ่งมีไวแลว ตกไปอยูในความครอบครองของบุคคลท่ีไมตองหามตาม
มาตรา ๑๓ และบุคคลน้ันไดครอบครองอาวุธปน เครื่องกระสุนปน หรือวัตถุระเบิดน้ันไวเทาที่
จําเปนเพื่อรักษาส่ิงที่วาน้ีไวมิใหสูญหาย เชน เก็บปนตกไดแลวถูกจับระหวางนําไปแจงตํารวจท่ี
โรงพักอยา งนีไ้ มผดิ เปน ตน

¡Ã³μÕ ÍŒ §ËŒÒÁ แยกกลาวดงั นี้
º¤Ø ¤ÅμÍŒ §ËÒŒ ÁÁãÔ ËÍŒ Í¡ãºÍ¹ÞØ Òμ เกย่ี วกบั อาวธุ ปน และเครอื่ งกระสนุ ปน สว นบคุ คล คอื
หามมิใหออกใบอนุญาตทํา ซ้ือ มี ใช สั่งหรือนําเขา ใบอนุญาตใหมีอาวุธปนติดตัว ใบอนุญาตให
มีอาวุธปนไวเพื่อเก็บ (มาตรา ๑๑) ใบอนุญาตใหบุคคลอื่นมีและใชอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปน
เพ่ือรักษาทรัพยสินของตน (มาตรา ๑๔) ไดแก บุคคลที่มีลักษณะและพฤติการณดังตอไปน้ี
(มาตรา ๑๓)
๑. บุคคลซึ่งตอ งโทษจาํ คกุ สาํ หรบั ความผิดตามกฎหมายลักษณะอาญาดังตอ ไปนี้

(ก) มาตรา ๕๗ ถึงมาตรา ๑๑๑ มาตรา ๑๒๐ มาตรา ๑๗๗ ถึง มาตรา ๑๘๓
มาตรา ๒๔๙ มาตรา ๒๕๐ หรอื มาตรา ๒๙๓ ถงึ มาตรา ๓๐๓

(ข) มาตรา ๒๕๔ ถึงมาตรา ๒๕๗ และพน โทษ ยังไมเกนิ ๕ ป นับแตว นั พน โทษ
ถึงวันย่ืนคําขอใบอนุญาต เวนแตในกรณีความผิดท่ีกระทําโดยความจําเปน หรือเพื่อปองกันหรือ
โดยถูกย่วั โทสะ

บทกฎหมายลักษณะอาญาดงั กลาว ตงั้ แตป  พ.ศ.๒๕๐๐ เปน ตน มา ไดเ ปล่ียนเปน
ประมวลกฎหมายอาญาตามขอความท่ีเปนทํานองเดียวกัน กลาวคือในขอ (ก) ตรงกับประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๗๔-๑๑๑ ๑๓๘ ๒๐๙ ๒๑๕ ๒๘๘ ๒๘๙ ๓๓๕ ๓๔๐ ในขอ (ข) ตรงกบั
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๙๕-๒๙๘

๒. บคุ คลซงึ่ ตอ งโทษจาํ คกุ สาํ หรบั ความผดิ อนั เปน การฝา ฝน ตอ พระราชบญั ญตั อิ าวธุ ปน
เคร่ืองกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง พุทธศักราช ๒๔๗๗ มาตรา ๑๑ มาตรา ๒๒
มาตรา ๒๙ หรือมาตรา ๓๓ หรือพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๗ มาตรา ๒๔ มาตรา ๓๓ หรือ
มาตรา ๓๘

๓. บุคคลซึ่งตองโทษจําคุกต้ังแตสองคร้ังข้ึนไป ในระหวางหาปนับยอนขึ้นไปจาก
วนั ยน่ื คาํ ขอสําหรับความผดิ อยา งอน่ื นอกจากทีบ่ ญั ญัติไวใน (๑) และ (๒) เวนแตความผิดที่ไดกระทาํ
โดยประมาทหรือความผดิ ลหุโทษ

๔. บุคคลซ่ึงยังไมบรรลุนิติภาวะ ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยตามปกติอายุ
ย่สี บิ ปบรบิ รู ณ แตบ คุ คลอาจบรรลนุ ิตภิ าวะโดยสมรส หากชายอายุ ๑๗ ป หญิงอายุ ๑๗ ป

๒๔

๕. บุคคลซึ่งไมสามารถจะใชอาวุธปนไดโดยกายพิการหรือทุพพลภาพ เวนแตจะมีไว
เพ่ือเก็บตามมาตรา ๑๑

๖. บุคคลซึ่งเปนคนไรความสามารถหรือเปนคนเสมือนไรความสามารถหรือปรากฏวา
เปนคนวิกลจรติ หรอื จติ ฟนเฟอนไมสมประกอบ

๗. บคุ คลซ่ึงไมม อี าชพี และรายได
๘. บุคคลซง่ึ ไมม ที ่อี ยูเ ปน หลักแหลง
๙. บุคคลซ่ึงมีความประพฤติช่ัวอยางรายแรงอันอาจกระทบกระเทือนถึงความสงบ
เรียบรอ ยของประชาชน
๑๐. สําหรับใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน หามมิใหออกใหแกบุคคลซึ่งมีช่ือใน
ทะเบียนบาน ตามกฎหมายวาดวยการทะเบียนราษฎร และมีถ่ินที่อยูประจําในทองท่ีที่บุคคลน้ัน
ขออนุญาตนอยกวาหกเดือน หมายความวาจะตองมีชื่อในทะเบียนบานและอยูประจําในทองที่
ท่ขี อรบั ใบอนุญาตเกินกวา หกเดือน จึงจะออกใบอนุญาตใหมแี ละใชอาวุธปน ใหได
จากคําวามี มาตรา ๔ (๖) น้ี กฎหมายเนนหนักการมีกรรมสิทธ์ิหรือมีไวในครอบครอง
แตคาํ วา ครอบครอง เปนอยา งไรนั้นกฎหมายไมไ ดบัญญัติไว จงึ เปน เร่อื งท่ตี อ งอาศยั แนวคําพิพากษา
ของศาลฎกี าเปนตวั อยา งในการพจิ ารณาปญหาดงั กลาว ซง่ึ ศาลฎกี าไดว ินจิ ฉัยไวว า
เมื่อกฎหมายไมไดบัญญัติความหมายของการครอบครองไวเปนพิเศษ ตองถือวามี
ความหมายทั่วไปคือตอ งมเี จตนายึดถือเพ่อื ตน ดงั นน้ั การยึดถือปน อยูขณะหนง่ึ ไมไดยดึ ถือเพือ่ ตน
ไมเปน การครอบครอง (ฎกี าที่ ๗๑๑/๒๕๐๙, ๒๒๖๔/๒๕๒๑)
μÑÇÍ‹ҧคาํ ¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒŮաÒ
®Õ¡Ò·èÕ ôðô/òôøù เก็บอาวุธปนได และต้ังใจจะสงแกเจาหนาที่ไมมีความผิด
ตาม พ.ร.บ.อาวุธปน ฯลฯ ถือวาไมม ีความผดิ เพราะไมม ีเจตนา
®¡Õ Ò·Õè ñó÷ö/òôùó ผูไดรับอนุญาตใหคาอาวุธปน รับซื้อจากเจาของผูไดรับ
อนุญาตใหมีไวโดยชอบดวยกฎหมายแลว เม่ือชําระเงินกันเสร็จแลว ก็รับปนที่ซื้อน้ันไวในราน
แลวดําเนินการทําคํารองขออนุญาตโอนตอนายทะเบียน แตถูกเจาพนักงานจับปนรายน้ีเสียกอน
ตอมาจึงไดร บั อนุมตั ิจากอธิบดีกรมตาํ รวจใหโ อนได ดงั นี้ ยอ มถือวา ผูรับซือ้ “ม”ี ปน ไวในครอบครอง
โดยมไิ ดร บั อนญุ าตจากนายทะเบยี นทอ งทก่ี อ นมคี วามผดิ ตามพระราชบญั ญตั อิ าวธุ ปน ฯ พ.ศ.๒๔๙๐
มาตรา ๗, ๗๒ และมคี วามผิดฐานมปี น ไวน อกบญั ชตี ามท่กี ําหนดไวใ นกฎกระทรวง ตามมาตรา ๒๘,
๘๑ ดวย
®Õ¡Ò·Õè ñöòô/òôùô บิดาไดรับอนุญาตใหมีอาวุธปน ๑ กระบอก เม่ือบิดาตาย
บุตรจึงไปแจงตอนายทะเบียนและขออนุญาตมีอาวุธปนกระบอกน้ัน แตนายทะเบียนไมอนุญาต
กลับสัง่ ใหขายปนนั้นเสียภายใน ๖ เดือน แตบ ตุ รขายปน นัน้ ไมได นายทะเบียนกม็ ิไดเ รยี กเอาปนนนั้
ไปขายทอดตลาดเสียเอง และมิไดสั่งอยางไรอีก ปนน้ันจึงคงอยูกับบุตรอยางเดิม ดังนี้ จะวาบุตร
มีอาวุธปน โดยไมรับอนญุ าต เปน การผดิ กฎหมายไมไ ด

๒๕

®Õ¡Ò·èÕ ñõ÷ø/òôùõ ใชใหคนไปหยิบอาวุธปนและกระสุนปนมาจากบานใหนาํ มา
สงใหแกตน ณ ท่ีแหงหนึ่งอันอยูหางกันประมาณ ๑๐ เสน เพ่ือมอบคืนใหแกเจาของผูมีไวโดยชอบ
ดวยกฎหมาย เชนน้ี ยังถือไมไดวาคนท่ีไปหยิบอาวุธปนและกระสุนไดมีอาวุธและกระสุนปนน้ันไว
ในความครอบครอง จึงยังไมเปนผิดฐานมีอาวุธปนและเคร่ืองกระสุนปนไวโดยไมไดรับอนุญาตตาม
พระราชบญั ญัติอาวธุ ปนฯ และผูใ ชใหไ ปหยิบก็ไมม ีความผิดดวย

®Õ¡Ò·èÕ ùøù/òõòù ความผิดฐานมีอาวุธปนที่นายทะเบียนไมอาจออกใบอนุญาต
ใหไดกับความผิดฐานมีเครื่องกระสุนปนท่ีนายทะเบียนไมอาจออกใบอนุญาตใหได เปนความผิด
มาตราเดียวกันเปนวัตถุประเภทเดียวกัน การมีอาวุธปน และเครื่องกระสุนปนดังกลาวในขณะ
เดียวกนั จงึ เปน ความผิดกรรมเดียว

ÁÒμÃÒ ô (÷) ÊÑè§ หมายความวา ใหบุคคลใด สงหรือนาํ เขามาจากภายนอก
ราชอาณาจกั ร

(ø) นําà¢ŒÒ หมายความวา นาํ เขามาจากภายนอกราชอาณาจักรไมวา
โดยวิธใี ดๆ

(ù) Ã°Ñ Á¹μÃÕ หมายความวา รัฐมนตรีผูรกั ษาการตามพระราชบญั ญตั ิน้ี

๒๖

»ÃСÒÈ¡ÃзÃǧÁËÒ´ä·Âñ

àÃ×Íè § á싧μ§éÑ ¹Ò·ÐàºÂÕ ¹ à¨ÒŒ ¾¹¡Ñ §Ò¹áÅÐà¨ÒŒ ˹ŒÒ·èÕ μÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞμÑ ÔÍÒÇ¸Ø »„¹
à¤Ãè×ͧ¡ÃÐÊع»¹„ ÇÑμ¶ÃØ Ðàº´Ô ´Í¡äÁŒà¾ÅÔ§ áÅÐʧÔè à·ÂÕ ÁÍÒÇظ»¹„ ¾.È.òôùð

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ แหงพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน
วตั ถรุ ะเบดิ ดอกไมเ พลงิ และสงิ่ เทยี มอาวธุ ปน พ.ศ.๒๔๙๐ ซงึ่ แกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั อิ าวธุ ปน
เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิงและสิ่งเทียมอาวุธปน ฉบับที่ ๗ (พ.ศ.๒๕๒๒) รัฐมนตรี
วาการกระทรวงมหาดไทยออกประกาศกระทรวงมหาดไทยไว ดงั ตอไปนี้

¢ÍŒ ñ ใหยกเลิกประกาศกระทรวงมหาดไทย เรอื่ ง แตง ต้ังนายทะเบียน เจา พนักงาน
และเจา หนา ทอ่ี นื่ ตามพระราชบญั ญตั อิ าวธุ ปน เครอ่ื งกระสนุ ปน วตั ถรุ ะเบดิ ดอกไมเ พลงิ และสงิ่ เทยี ม
อาวธุ ปน พ.ศ.๒๔๙๐ ลงวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๓๔

¢ŒÍ ò ใหแตง ตงั้ ผูด าํ รงตาํ แหนง ตอ ไปน้ี เปน นายทะเบียน
(๑) อธิบดกี รมการปกครอง ในเขตกรุงเทพมหานคร
(๒) ผวู า ราชการจังหวดั ในเขตจงั หวัดอ่ืน
(๓) นายอาํ เภอ ในเขตอําเภอ
(๔) ปลัดอําเภอผเู ปน หวั หนา ประจําก่ิงอาํ เภอ ในเขตก่งิ อาํ เภอ

¢ŒÍ ó ใหแตงต้ังผูดํารงตําแหนงตอไปนี้ เปนเจาพนักงานผูมีอํานาจอนุมัติการออก
หนังสืออนุญาตพเิ ศษตามมาตรา ๑๔

(๑) ปลดั กระทรวงมหาดไทย ในเขตกรุงเทพมหานคร
(๒) ผวู า ราชการจังหวดั ในเขตจงั หวดั อื่น
¢ÍŒ ô ใหแ ตง ตงั้ ผดู าํ รงตาํ แหนง ตอ ไปน้ี เปน เจา พนกั งานผมู อี าํ นาจออกหนงั สอื อนญุ าต
ตามมาตรา ๗๐
(๑) ปลัดกระทรวงมหาดไทย ในเขตกรุงเทพมหานคร
(๒) ผวู าราชการจงั หวดั ในเขตจงั หวัดอื่น
¢ÍŒ õ ใหผูดํารงตําแหนงตอไปนี้เปนเจาหนาที่ตรวจสอบ จํานวนอาวุธปน
เคร่อื งกระสุนปน วัตถุระเบดิ ดอกไมเ พลิง และสิง่ เทียมอาวธุ ปน ในรา นคาและรา นประกอบซอม
(๑) อธิบดีกรมการปกครอง หรือผูซึ่งอธิบดีกรมการปกครองแตงตั้ง ในเขต
กรุงเทพมหานคร
(๒) ผวู าราชการจังหวดั ในเขตจงั หวัดอน่ื
(๓) นายอาํ เภอ หรอื ปลดั อาํ เภอผเู ปน หวั หนา ประจาํ กง่ิ อาํ เภอและปลดั อาํ เภอ
แหง ทองที่ในเขตอําเภอ หรอื เขตก่ิงอาํ เภอ

๑ ประกาศ ณ วนั ท่ี ๔ มกราคม พ.ศ.๒๕๔๘ โภคนิ พลกลุ รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

๒๗

¤ÇÒÁ¼´Ô ·ÕèÁ¡Õ ÒèºÑ ¡ÁØ ดําà¹¹Ô ¤´Õ

ñ. ทาํ «Íé× ÁÕ ãªŒ ʧèÑ ËÃÍ× นาํ à¢ÒŒ ÍÒÇ¸Ø »¹„ ËÃÍ× à¤ÃÍ×è §¡ÃÐÊ¹Ø »¹„ â´ÂäÁä‹ ´ÃŒ ºÑ ͹ÞØ Òμ¨Ò¡¹Ò·ÐàºÂÕ ¹
·ŒÍ§·èÕ
ÁÒμÃÒ ÷ หามมใิ หผ ใู ดทาํ ซอื้ มี ใช สัง่ หรอื นําเขา ซง่ึ อาวธุ ปน หรอื เครอ่ื งกระสุนปน

เวน แตจ ะไดรบั ใบอนญุ าตจากนายทะเบียนทอ งท่ี
ÁÒμÃÒ ÷ò ÇÃäáá ผูใ ดฝาฝน มาตรา ๗ ตองระวางโทษจําคกุ ตงั้ แตหน่งึ ป ถงึ สิบป

และปรับต้งั แตสองพนั บาทถึงสองหม่นื บาท
¼ÙŒã´ หมายถึง บุคคลใดก็ตาม จะทํา ซ้ือ มี ใช สั่งหรือนําเขาซ่ึงอาวุธปนหรือเครื่อง

กระสุนปนจะตองไดรับอนุญาตจากนายทะเบียนทองท่ีเสียกอน หากผูใดฝาฝนผูนั้นมีความผิดและ
ตอ งระวางโทษตามกฎหมาย

สําหรับกรณีท่ีส่ิงของดังกลาว เปนเพียงสวนหน่ึงสวนใดของอาวุธปน หรือเคร่ือง
กระสุนปนผูฝาฝนตองไดรับโทษนอยลง หรือกรณีเปนเพียงการมีอาวุธปนท่ีเปนของผูอื่นซ่ึงไดรับ
อนุญาตใหมีและใชตามกฎหมายหรือเปนการทําเครื่องกระสุนปนที่ทําดวยดินปนสําหรับใชเอง
โดยไมไ ดรับอนญุ าตจากนายทะเบยี นทอ งทีผ่ ูฝ า ฝนตองระวางโทษนอ ยลง
ò. ÁàÕ ¤Ã×Íè §¡ÃÐÊ¹Ø ª¹´Ô ͹è× «§èÖ ÁãÔ ª‹สาํ ËÃѺ㪌¡ºÑ ÍÒÇظ»„¹·μèÕ ¹ä´ŒÃºÑ ͹ØÞÒμãËŒÁÕáÅÐ㪌

ÁÒμÃÒ ø หามมิใหผูใดมีเคร่ืองกระสุนปน ซึ่งมิใชสําหรับใชกับอาวุธปนที่ตนไดรับ
ใบอนญุ าต ใหม แี ละใช

หมายความวา ไดร บั อนญุ าตใหม แี ละใชอ าวธุ ปน ชนดิ ประเภทใด จะตอ งมเี ครอื่ งกระสนุ ปน
ชนิดประเภทนั้นควบคูกันไป หากมีเครื่องกระสุนปนชนิดประเภทอ่ืน ดังน้ี ใบอนุญาตใหมีและ
ใชอาวุธปน ไมคุมครอง เชน นาย ก. มีปนพกขนาด .๓๘ ไดรับใบอนุญาตใหมีและใชแลว
แตกลบั มกี ระสนุ ปน ขนาด ๑๑ มม. ไวอกี ดวย ดังนี้ถือวา ผดิ มาตรา ๘ เปน ตน

ÁÒμÃÒ õ ¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞμÑ Ô¹éÕ àǹŒ áμÁ‹ ÒμÃÒ ø ·ÇÔ ÁÔãˌ㪺Œ ѧ¤ºÑ á¡‹
(๑) อาวธุ ปน เครอื่ งกระสนุ ปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสง่ิ เทยี มอาวุธปน ของ

(ก) ราชการทหารและตาํ รวจทม่ี หี รือใชใ นราชการ
(ข) หนวยราชการที่มีหรือใชเพ่ือปองกันประเทศหรือรักษาความสงบเรียบรอย
ของประชาชน
(ค) หนวยราชการหรือรัฐวิสาหกิจท่ีมีและใชในการปองกันและรักษาทรัพยสิน
อันสําคัญของประชาชน
(ง) ราชการทหารและตํารวจตาม (ก) หรือหนวยราชการตาม (ข) ท่ีมอบให
ประชาชนมแี ละใชเ พอื่ ชว ยเหลอื ราชการของทหารและตาํ รวจ หรือของหนว ยราชการแลวแตก รณี
(๒) อาวธุ ปนและเคร่อื งกระสุนปน ประจาํ เรอื เดินทะเล รถไฟ และอากาศยานตามปกติ
ซ่ึงไดแสดงและใหพ นักงานศลุ กากรตรวจตามกฎหมายแลว

๒๘

(๓) ดอกไมเ พลงิ สัญญาณประจําเรือเดินทะเล อากาศยาน และสนามบินตามปกติ
หนวยราชการหรือรัฐวิสาหกิจตามวรรคหนึ่ง (๑) (ข) หรือ (ค) รวมท้ังชนิด ขนาดและ
การกําหนดจํานวน ตลอดจนการมีและใช การเก็บรักษา การพาติดตัว การซอมแซมหรือเปล่ียน
ลกั ษณะและการอยา งอื่นท่จี ําเปนเพ่ือการรกั ษาความปลอดภัยอันเกีย่ วกบั อาวุธปน เครือ่ งกระสนุ ปน
วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และส่ิงเทียมอาวุธปน ที่ใหหนวยราชการหรือรัฐวิสาหกิจดังกลาวมีและใช
หรอื มอบใหป ระชาชนมีและใชเ พ่อื ชวยเหลอื ราชการน้นั ใหเ ปนไปตามทีก่ ําหนดในกฎกระทรวง
ó. ¾ÒÍÒÇ¸Ø »¹„ ä»ã¹·Ò§ÊÒ¸ÒóÐâ´ÂäÁä‹ ´ŒÃºÑ ͹ÞØ ÒμãËÁŒ ÕÍÒÇ¸Ø »„¹μÔ´μÇÑ áÅÐäÁ‹ÁàÕ ËμÍØ Ñ¹¤ÇÃ
¡ÒÃÁÍÕ ÒÇ¸Ø »¹„ μ´Ô μÇÑ โดยขอ ๓ แหง คาํ สง่ั ของคณะปฏริ ปู การปกครองแผน ดนิ ฉบบั ที่ ๔๔
ลงวนั ที่ ๒๑ ตลุ าคม ๒๕๑๙ ใหเพิม่ มาตรา ๘ ทวิ ขึน้ ในพระราชบญั ญตั ิอาวธุ ปน พ.ศ.๒๔๙๐ ดังน้ี
“ÁÒμÃÒ ø ·ÇÔ หามมิใหผูใดพาอาวุธปนติดตัวไปในเมือง หมูบานหรือทางสาธารณะ
โดยไมไ ดร ับใบอนญุ าตใหม ีอาวุธปนติดตวั เวน แตเปน กรณีที่ตองมตี ิดตวั เมื่อมีเหตจุ าํ เปน และเรง ดว น
ตามควรแกพ ฤตกิ ารณ
ไมวากรณีใด หามมิใหพาอาวุธปนไปโดยเปดเผย หรือพาไปในชุมนุมชนท่ีไดจัดใหมีขึ้น
เพือ่ นมัสการ การรน่ื เริง การมหรสพ หรือการอ่นื ใด”
สวนความในวรรคสามของมาตรา ๘ ทวิ น้ีไดถูกยกเลิกและแกไขใหมโดยมาตรา ๕
แหง พระราชบญั ญตั ิอาวุธปน ฯ (ฉบบั ท่ี ๗) พ.ศ.๒๕๒๒ ดงั นี้
“ความในมาตราน้ี มใิ หใ ชบงั คับแก
(๑) เจาพนักงานผูมีหนาท่ีรักษาความสงบเรียบรอยของประชาชน ทหารและตํารวจ
ซึ่งอยใู นระหวา งปฏิบัตหิ นา ท่ี
(๒) ขาราชการ พนักงานหรอื ลกู จา งของหนว ยราชการหรือรัฐวสิ าหกิจ ตามมาตรา ๕
วรรคหน่ึง (๑) (ข) หรือ (ค) ซ่ึงอยูในระหวางปฏิบัติหนาท่ีเพื่อปองกันประเทศ หรือรักษาความสงบ
เรียบรอ ยของประชาชน หรือรักษาทรัพยส นิ อนั สําคญั ของรัฐ
(๓) ประชาชนผูไดรับมอบใหมีและใชตามมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง (๑) (ง) ซึ่งอยูใน
ระหวา งการชวยเหลือราชการและมเี หตุจาํ เปนตอ งมีและใชอาวธุ ปนในการน้ัน”
สวนผูมีอํานาจอนุญาตใหมีอาวุธปนติดตัว มีบัญญัติไวในมาตรา ๒๒ ซ่ึงแกไขเพ่ิมเติม
โดยขอ ๕ แหง คาํ สงั่ ของคณะปฏิรปู การปกครองแผน ดนิ ฉบับท่ี ๔๔ ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๑๙ ดังน้ี
“ÁÒμÃÒ òò ใหเจาพนักงานตอไปน้ี มีอํานาจออกใบอนุญาตใหแกบุคคลที่ไดรับ
ใบอนญุ าตใหม แี ละใชอ าวธุ ปน มีอาวธุ ปนติดตัวไปไดตามความทบ่ี ญั ญตั ไิ วใ นพระราชบญั ญัตนิ ้ี
(๑) อธิบดีกรมตาํ รวจ สําหรับในเขตกรงุ เทพมหานคร และท่ัวราชอาณาจกั ร
(๒) ผูวาราชการจังหวัด เฉพาะภายในเขตจังหวัดของตน และเฉพาะผูที่มีถ่ินที่อยูใน
เขตจังหวดั นัน้

๒๙

ËÅ¡Ñ สาํ ¤ÑޢͧÁÒμÃÒ ø ·ÇÔ ¤×Í
(๑) การไดรับใบอนุญาตใหมีอาวุธปนติดตัวตามมาตรา ๘ ทวินั้น มิใชวาจะคุมครอง
ผพู กพาไดใ นทกุ เวลาและสถานที่ กห็ าไม เพราะการพกพาอาวธุ ปน ตดิ ตวั ไปในปา หรอื โดยสารเครอ่ื งบนิ
อาจไมตอ งรบั อนุญาตตามมาตรา ๘ ทวกิ ไ็ ด

คําʧÑè ÍÑ¡ÒÃʧ٠ÊØ´ä´ªŒ ¢éÕ Ò´¤ÇÒÁàËç¹áÂŒ§·Õè öô/òõòô Ç‹Ò (μ´Ô μÑÇ)
“การพาอาวธุ ปน ติดตวั ท่จี ะเปน ความผดิ ตาม พ.ร.บ.อาวุธปน ฯ นน้ั จะตองเปนการ
กระทําทีผ่ ูต องหาน้นั อยูใ นวสิ ยั ทส่ี ามารถอาจใชอาวุธปนน้นั ไดใ นทันที หากตองการจะใชโดยไมต อง
เสยี เวลาในการเตรยี มการเพอื่ การใชใ ดๆ อกี ดงั นน้ั การทผี่ ตู อ งหานําอาวธุ ปน ไป โดยเกบ็ ไวท เี่ กบ็ ทา ยรถ
จงึ ไมใ ชเ ปน การพาอาวุธปนตดิ ตวั ไปตามความหมายของกฎหมาย”
(๒) มาตรา ๘ ทวิ วรรคสอง ยังไดบัญญัติวา ไมวากรณีใด ซึ่งหมายความวาไมวา
เปนกรณีไดรับใบอนุญาตใหมีอาวุธปนติดตัวหรือไมก็ตาม การพกอาวุธปนไปโดยเปดเผย
โดยไมจํากัดวาเปนเวลาและสถานที่ใดก็ดี การพาไปในชุมชนท่ีไดจัดใหมีขึ้นเพ่ือนมัสการ การร่ืนเริง
การมหรสพหรือการอ่ืนใดก็ดี ทั้งสองกรณีนี้ถือเปนการตองหามโดยเด็ดขาด แมผูไดรับใบอนุญาต
ใหม ีอาวธุ ปนตดิ ตวั ก็จะพาอาวุธปนเขา ไปในชมุ ชนทจ่ี ดั ใหม เี พอื่ นมัสการ การรนื่ เรงิ การมหรสพ หรอื
การอื่นใดมิได และนอกจากในสถานท่ีดังกลาวแลว ยังหามพาอาวุธปนไปโดยเปดเผยในสถานที่ใดๆ
อีกดวย หมายความวาการพกพาอาวุธปนโดยเปดเผยหรือประเจิดประเจอในที่สาธารณะหรือ
ในสภาพที่จะปรากฏแกสายตาของสาธารณะไดโดยงาย เปนการตองหามทั้งส้ิน ใบอนุญาตใหมี
อาวุธปนตดิ ตวั ไมคุม ครองดวย
(๓) ขอยกเวนตามมาตรา ๘ ทวิ มสี องประการคือ
๓.๑ ขอยกเวนใหมีอาวุธปนติดตัวได หากเปนกรณีที่ตองมีติดตัวเมื่อมีเหตุ
จําเปนและเรงดวนตามสมควรแกพฤติการณ หมายความวาตองเปนกรณีท่ีจําเปนตองมีอาวุธปน
ตดิ ตวั อยา งเรง ดว น คาํ วา จาํ เปน และเรง ดว นจะตอ งใชค วบคกู นั ไปในทกุ กรณี บางกรณมี แี ตค วามจาํ เปน
แตไมถึงกับรีบดวน เชน นาย ก. ตองขับรถสิบลอบรรทุกสินคาไปสงตางจังหวัด อยางนี้อาจถือวา
จําเปนตองมีอาวุธปนติดตัวไปได แตไมถือวาเปนกรณีเรงดวน เพราะการท่ีนาย ก. อางวา
เพ่ือปองกันการปลนรถบรรทุกของตนซึ่งเปนการจําเปนน้ัน เปนกรณีท่ีจําเปนที่มีอยูตลอดไป
กลาวคือการปลน รถบรรทุกสนิ คา อาจมหี รอื ไมมีเมื่อใดก็ได จึงไมถ อื เปน กรณเี รง ดวน

บางกรณีเปนการเรงดวน แตไมจําเปน เชน นาย ก. ตองนําภรรยา
ซ่ึงเจ็บทองจะคลอดลูกไปสงโรงพยาบาลในตอนดึก อยางน้ีเปนกรณีเรงดวน แตไมมีความจําเปน
ถึงกับตองพกพาอาวุธปนไปดวย เพราะตามปกติไมมีเหตุผลใดที่จะอางไดวาจําเปนตองพกพาไป
เพ่อื ปองกันตวั และทรัพยสินในกรณีเชนน้ี

กรณที ี่จาํ เปนและเรงดว นตามความหมายของมาตรา ๘ ทวิ กเ็ ชน “นาย ก.
เพ่ิงขายขาวไดเงินมาเกือบแสนบาท และจําเปนตองนําไปฝากธนาคารซึ่งอยูหางจากบานไปราว

๓๐

สิบกิโลเมตร ในวันนั้น เพ่ือความปลอดภัยจากโจรปลน ซึ่งในทองที่ของนาย ก. มีอยูบอยๆ ดังนั้น
การท่ีนาย ก. นําปน ที่ไดรับใบอนญุ าตใหมีและใชแลว แตย งั มไิ ดรบั ใบอนุญาตใหพ กตดิ ตวั ติดตวั ไป
พรอ มกับเงินท่ีจะตอ งนาํ ไปฝากธนาคารในวันนัน้ ดงั น้ีถือวา “จําเปน และเรงดว น” ได

อยางไรก็ดี “กรณีจําเปนและเรงดวน” ในที่นี้ยังจะตองคํานึงอีกดวยวา
เปนการสมควรแกพฤติการณแหงความจําเปนและเรงดวนน้ันดวยหรือไม กลาวคือจะตองคํานึงถึง
พฤติการณเ ปน เรื่องๆ ไป อยางกรณี นาย ก. พาปนตดิ ตัวพรอมดวยเงนิ แสนเพ่อื นาํ ไปฝากธนาคาร
ใหทันกอนธนาคารปดในวันน้ัน เพราะมีพฤติการณการจี้ปลนในทองท่ีนั้นอยูเปนประจํา ดังนี้ถือวา
พฤตกิ ารณแหงการจ้ีปลน ในทอ งทีท่ มี่ เี ปนประจํา เปนพฤติการณทสี่ มควรสาํ หรับกรณขี องนาย ก.

๓.๒ ขอยกเวนเก่ียวกับเจาพนักงาน ลูกจาง หรือผูชวยเจาพนักงานเก่ียวกับ
งานของรฐั ซ่ึงใหม ีสิทธพิ กพาอาวธุ ปนไดโดยมิตองมใี บอนญุ าตใหมีอาวธุ ปน ติดตวั ดงั น้ี

(๑) เจาพนักงานผูมีหนาท่ีรักษาความสงบเรียบรอยของประชาชน ทหาร
และตํารวจซึง่ อยใู นระหวา งการปฏิบัตหิ นาที่

(๒) ขาราชการ พนักงานหรือลูกจางของหนวยราชการหรือรัฐวิสาหกิจ
ตามมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง (๑) (ข) หรือ (ค) ซ่ึงอยูในระหวางการปฏิบัติหนาที่เพื่อการปองกัน
ประเทศหรอื รักษาความสงบเรียบรอยของประชาชน หรอื รกั ษาทรัพยส ินอนั สาํ คัญของรัฐ

บคุ คลตามมาตรา ๕ วรรคหนง่ึ (๑) (ข) หรือ (ค) ไดแกบ คุ คลทสี่ ังกดั
ก. หนวยราชการที่มีหรือใชอาวุธปน เพ่ือปองกันประเทศหรือ
รักษาความสงบเรยี บรอ ยของประชาชน
ข. หนวยราชการหรือรัฐวิสาหกิจท่ีมีและใชอาวุธปน ปองกันและ
รกั ษาทรพั ยสินอนั สําคญั ของรัฐ
(๓) ประชาชนผูไดรับมอบหมายใหมีและใชตามมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง (๑)
(ง) ซ่งึ อยใู นระหวา งการชว ยเหลือราชการและมเี หตุจําเปนตองมแี ละใชอาวธุ ปนในการนัน้
ประชาชนตามขอ น้ี ไดแก บุคคลทที่ างราชการทหารและตํารวจ หรอื
หนว ยราชการอน่ื ทมี่ หี นา ทป่ี อ งกนั ประเทศและรกั ษาความสงบเรยี บรอ ยของประชาชน มอบอาวธุ ปน
ใหมีและใชเพื่อชว ยเหลือราชการของทหารและตาํ รวจ หรอื ของหนวยราชการน้ันๆ แลวแตกรณี
การใหพกพาอาวุธปนโดยมิตองมีใบอนุญาตใหมีอาวุธปนติดตัว
ในกรณีน้ีจํากัดเฉพาะกรณี “ซ่ึงอยูในระหวางการชวยเหลือราชการและมีเหตุจําเปนตองมีและใช
อาวุธปนในการนั้น” เทานั้น หากไมอยูในระหวางชวยเหลือราชการก็ดี หรืออยูในระหวางชวยเหลือ
ราชการแตย งั ไมมเี หตุจาํ เปน ตอ งมีและใชอ าวธุ ปน ก็ยังไมไดร ับการคมุ ครองตามนยั นี้
(๔) การออกใบอนญุ าตใหมอี าวธุ ปน ตดิ ตัวตามมาตรา ๒๒ มีขอจํากดั ดังนี้
๔.๑ ออกใบอนุญาตใหมีอาวุธปนติดตัวไดเฉพาะแกบุคคลท่ีไดรับใบอนุญาต
ใหม ีและใชอ าวุธปนจากนายทะเบยี นทอ งท่แี ลวเทานั้น

๓๑

ตามนัยน้ีทําใหเห็นไดวา “ใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน” ไมคุมครองถึง
การพาอาวุธปนติดตัวไปใน “เมอื ง หมบู านหรือทางสาธารณะ”

หากผูรับใบอนุญาต “ใหมีและใชอาวุธปน” ตองการพาอาวุธปนติดตัวไป
“ในเมือง หมูบานหรือทางสาธารณะ” ผูไดรับใบอนุญาตน้ันจะตองไดรับ “ใบอนุญาตใหมีอาวุธปน
ติดตวั ” อีกช้นั หนึ่ง

ในทางกลับกัน ผูมีอาวุธปนโดยไมไดรับอนุญาตพกพาอาวุธปนนั้นไปตาม
มาตรา ๘ ทวิ ก็มคี วามผดิ ฐานพกพาดวย

๔.๒ ขอบเขตอาํ นาจการอนญุ าตของอธบิ ดกี รมตาํ รวจ มอี ยา งกวา งขวางในเขตพนื้ ท่ี
คือ การขอใบอนุญาตใหมีอาวุธปนติดตัวในเขตกรุงเทพมหานครก็ดี หรือตองการมีอาวุธปนติดตัว
ไปทั่วราชอาณาจักรก็ดี จะตองขอตออธิบดีกรมตํารวจแตผูเดียว ในกรณีน้ีทําใหเห็นไดวาหากผูใด
ไดรับใบอนุญาตใหมีอาวุธปนติดตัวจากอธิบดีกรมตํารวจแลว บุคคลน้ันไมจําเปนตองขอรับ
ใบอนุญาตใหมีอาวธุ ปน ติดตัวจากผวู า ราชการจังหวัดทตี่ นมีถิ่นทอ่ี ยูในจังหวดั นน้ั อีกช้นั หนงึ่

๔.๓ ขอบเขตอํานาจของผูวาราชการจังหวัดมีเฉพาะออกใหไดภายในเขต
จังหวัดของตนและออกใหไดแตเฉพาะแกบุคคลที่มีถิ่นท่ีอยูในเขตจังหวัดที่ตนเปนผูวาราชการจังหวัด
น้ันเทา น้นั

®¡Õ Ò·Õè ñõøò/òõóñ (»ÃЪÁØ ãËÞ)‹ ความผดิ ฐานพาอาวธุ ปน ตดิ ตวั ไปในเมอื ง หมบู า น
และทางสาธารณะโดยมไิ ดรบั อนญุ าตเปนความผดิ ท่ีรวมกระทาํ ดวยกนั ได

จาํ เลยท่ี ๒ รว มกับคนรา ย ๗-๘ คน ไปปลนทรพั ยโดยมอี าวุธปนติดตัวไป ๖ กระบอก
แมจะฟงไมไดวาจําเลยท่ี ๒ มีอาวุธปนติดตัวไปดวยก็ตาม แตการที่จําเลยท่ี ๒ รวมกับคนรายอื่น
ไปปลน ทรพั ยแ ละพยายามฆา เจา ทรพั ยโ ดยใชป น ยงิ เสรจ็ แลว กห็ ลบหนไี ปดว ยกนั แสดงวา จาํ เลยที่ ๒
มเี จตนากบั คนรา ยอนื่ มอี าวธุ ปน และเครอ่ื งกระสนุ ปน ไวใ นครอบครอง และพาอาวธุ ปน ตดิ ตวั ไปในเมอื ง
หมบู าน และทางสาธารณะโดยไมไดร บั อนญุ าตดวย

®Õ¡Ò·Õè ñøó÷/òõóñ จาํ เลยกบั ร. ขูบงั คบั ผเู สียหายใหยอมรวมประเวณี โดยจาํ เลย
ใชอาวุธปนไมมีทะเบียนของจาํ เลยจ้ีผูเสียหาย เมื่อสามีผูเสียหายไปตามพลตํารวจ ส. มาจับกุม ส.
เอาปนดังกลาวจากเอว ร. มาเก็บไวโดยถอดอาวุธปนออกหมดแลวจาํ เลยเขาแยงเอาปนคืนจาก ส.
ยกขึ้นจองยิงท่ีหนาอก ส. ดังแชะสามครั้ง ดังนี้ พฤติกรรมที่จาํ เลยกับ ร. ผลัดกันใชอาวุธปน
ของกลางเชนนี้ ถือวารวมกันมีอาวุธปนของกลางไวในครอบครอง และการกระทําของจําเลยเปน
ความผิดฐานพยายามฆาเจาพนักงานซ่ึงกระทาํ การตามหนาที่โดยไมสามารถบรรลุผลอยางแนแท
เพราะเหตปุ จ จัยทใ่ี ชในการกระทาํ ผิดอกี กระทงหนงึ่

¢ŒÍÊѧà¡μ ในกรณีท่ีเปนอาวุธปนของทางราชการมอบใหครอบครอง กรณีน้ีไมเปน
ความผิด เพราะมาตรา ๕ ไดบัญญัติยกเวนไว แตถาหากผูครอบครองไมมีอํานาจหนาที่ดังกลาว
กเ็ ปน ความผดิ

๓๒

®¡Õ Ò·èÕ ñùõø/òôùò จําเลยซึ่งรับราชการทหาร มีอาวุธปนของทางราชการทหาร
เพ่ือนําไปปฏิบัติหนาที่สารวัตรน้ัน ถือวาจาํ เลยมีไวทางราชการทหาร ไมมีความผิดฐานมีอาวุธปน
และเครอ่ื งกระสนุ ปน ไวใ นความครอบครองโดยมไิ ดร บั อนญุ าต แมจ ะเอาปน นน้ั ไปเพอื่ กอ การรา ยกต็ าม

®Õ¡Ò·èÕ ñõõñ/òõñö ของกลางซึ่งเปนอาวธุ ปน ท่ีใชเ ฉพาะในการสงครามเปน ของทาง
ราชการทหาร แตไดหายไป จําเลยเปนทหารแตไมมีอาํ นาจหรือหนาท่ีครอบครองอาวุธปนของกลาง
การครอบครองของจาํ เลยไมใ ชก ารครอบครองในราชการทหาร จาํ เลยจงึ มคี วามผดิ ตามพระราชบญั ญตั ิ
อาวธุ ปน ฯ พ.ศ.๒๔๙๐ มาตรา ๕๕, ๗๘

®¡Õ Ò·èÕ ñùöñ/òõòø จําเลยมีใบอนุญาตพกอาวุธปนของกรมตํารวจซ่ึงจําเลยมีสิทธิ
พาอาวุธปนไดทั่วราชอาณาจักรเพื่อปฏิบัติราชการสืบสวน ไมอยูในบังคับแหง พ.ร.บ.อาวุธปนฯ
มาตรา ๘ ทวิ จําเลยยอมไมมีความผิดตาม มาตรา ๗๒ ทวิ เม่ือปรากฏแกศาลฎีกาวาการกระทํา
ของจําเลย ไมเ ปนความผดิ ศาลฎีกายอ มมอี าํ นาจยกฟอ งไดตาม ป.ว.อ.มาตรา ๑๘๕, ๒๑๕, ๒๒๕

®Õ¡Ò·èÕ ñóöñ/òõóð จําเลยเปนสมาชิก อพป. มีหนาท่ีรักษาความสงบเรียบรอยใน
หมูบานไดรับแจกอาวุธปนคารบินและกระสุนปนของกลาง ซ่ึงเปนของทางราชการไวใชประจาํ ตัว
เพอื่ ปฏบิ ตั หิ นา ทร่ี กั ษาความสงบเรยี บรอ ยในหมบู า น จําเลยจงึ ไมม คี วามผดิ ฐานมอี าวธุ ปน กระสนุ ปน
ที่นายทะเบียนไมสามารถออกใบอนุญาตไวในครอบครอง และไมมีความผิดฐานพาอาวุธปนไปใน
หมูบา นและทางสาธารณะ

¤ÇÒÁ¼´Ô μÒÁ มาตรา ๑๒ ยงิ อาวธุ ปน ทไ่ี ดร บั อนญุ าตใหม ไี วเ พอ่ื เกบ็ และมเี ครอ่ื งกระสนุ ปน
สาํ หรับอาวุธปน ท่ไี ดร ับอนุญาตใหม ไี วเ พื่อเกบ็

การมีอาวุธปนไวเพื่อเก็บ ตองไดรับอนุญาตจากนายทะเบียนทองที่ตามมาตรา ๗
ภายใตข อบงั คับตอ ไปนี้

(๑) ใบอนุญาตใหมีอาวุธปนไวเพ่ือเก็บ ใหออกไดสําหรับ (ก) อาวุธปนท่ี
นายทะเบียนเห็นวาชํารุดจนใชยิงไมได หรือ (ข) อาวุธปนแบบพนสมัย หรือ (ค) อาวุธปนซึ่งไดรับ
เปน รางวัลจากการแขง ขนั ยงิ ปนในทางราชการ (มาตรา ๑๑)

(๒) อาวุธปนซ่ึงไดรับอนุญาตใหมีไวเพ่ือเก็บน้ันตอง (ก) หามมิใหยิง และ (ข)
หา มมิใหมีเครอ่ื งกระสุนปนไวสําหรบั อาวธุ ปน นั้นดวย (มาตรา ๑๒)
ô. äÁ‹á¨Œ§àËμ¼Ø ÅáÅÐʧ‹ ÁͺãºÍ¹ØÞÒμÍÒÇ¸Ø »¹„ ¶¡Ù ·Òí ÅÒ ËÃÍ× ÊÞÙ ËÒÂμÍ‹ ¹Ò·ÐàºÂÕ ¹

ÁÒμÃÒ òñ ถาอาวุธปนท่ีไดรับอนุญาตแลวถูกทาํ ลายหรือสูญหายโดยเหตุใดๆ ก็ดี
ใหผ รู บั ใบอนญุ าตแจง เหตแุ ละผลสง มอบใบอนญุ าตตอ นายทะเบยี นทอ งทซ่ี ง่ึ ตนอยหู รอื ทเ่ี กดิ เหตภุ ายใน
สิบหา วนั นบั แตว ันทราบเหตุ

ÁÒμÃÒ øó ผูใดฝา ฝน มาตรา ๒๑ ตอ งระวางโทษปรบั ไมเกินหนงึ่ พนั บาท
¼ŒÙã´ หมายถึง บุคคลใดก็ตามท่ีอาวุธปนของตนที่ไดรับอนุญาตน้ันสูญหายหรือ
ถูกทาํ ลายโดยเหตุใดๆ ก็ตาม ใหผูรับใบอนุญาตแจงเหตุและสงมอบใบอนุญาตตอนายทะเบียน

๓๓

ทองที่ภายใน ๑๕ วัน นับแตวันที่ทราบถึงเหตุการณ บุคคลใดฝาฝนตองมีความผิด และตอง
ระวางโทษตามกฎหมาย
õ. ทํา »ÃСͺ «Í‹ Áá«Á à»ÅÂÕè ¹Å¡Ñ É³Ð Ê§Ñè นําà¢ÒŒ ÁËÕ ÃÍ× จาํ ˹ҋ ÂÍÒÇ¸Ø »¹„ à¤ÃÍ×è §¡ÃÐÊ¹Ø »¹„ สาํ ËúÑ

¡ÒÃทําâ´ÂäÁä‹ ´ŒÃºÑ ͹ØÞÒμ¨Ò¡¹Ò·ÐàºÂÕ ¹
ÁÒμÃÒ òô หามมิใหผูใด ทาํ ประกอบ ซอมแซม เปลี่ยนลักษณะ สั่ง นาํ เขา มีหรือ

จาํ หนายซ่ึงอาวุธปนหรือเคร่ืองกระสุนปนสําหรับการคา เวนแตจะไดรับใบอนุญาตจากนายทะเบียน
ทอ งที่

ÁÒμÃÒ ÷ó ผูใดฝาฝน มาตรา ๒๔ ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสองปถึงยี่สิบป
และปรับต้ังแตส พ่ี ันบาทถงึ สห่ี มื่นบาท

¼ÙŒã´ หมายถึง บุคคลใดก็ตามที่จะทาํ ประกอบ ซอม มี หรือจําหนายอาวุธปน
เครื่องกระสุนปนเพ่ือการคาจะตองไดรับอนุญาตจากนายทะเบียนทองที่ หากบุคคลใดฝาฝน
ไมปฏิบัติตามมีความผิดและตองระวางโทษตามกฎหมาย

ใบอนุญาตใหทาํ ประกอบ ซอมแซม เปลี่ยนลักษณะ มี หรือจําหนายอาวุธปนหรือ
เครอื่ งกระสนุ ปนสําหรบั การคานั้น เม่ือไดรับอนุมตั จิ ากรัฐมนตรแี ลว จงึ ใหน ายทะเบียนทองที่ออกให

ใบอนญุ าตนี้ มีอายุ ๑ ป นบั แตว นั ออก
ö. ÃÒŒ ¹¤ÒŒ ÍÒÇ¸Ø »¹„ จํา˹ҋ ÂÍÒÇ¸Ø »¹„ ËÃÍ× à¤ÃÍ×è §¡ÃÐÊ¹Ø »¹„ ãËጠ¡¼‹ ·ŒÙ äèÕ Áä‹ ´ÃŒ ºÑ ãºÍ¹ÞØ ÒμãË«Œ Íé× ËÃÍ× ÁÕ

áÅÐ㪌
ÁÒμÃÒ óô หามมิใหจาํ หนายอาวุธปน หรือเครื่องกระสุนปนแกผูท่ีไมไดรับ

ใบอนุญาตใหซอื้ หรอื มแี ละใชอาวุธปน และเครือ่ งกระสนุ ปน
ÁÒμÃÒ ÷ó ·ÇÔ ผูใดฝาฝนมาตรา ๓๔ ตองระวางโทษจาํ คุกตั้งแตหกเดือนถึงสิบป

และปรบั ต้ังแตห นงึ่ พนั บาทถงึ สองหม่นื บาท
เจา ของรา นคา อาวธุ ปน หมายถงึ บคุ คลซงึ่ เปน เจา ของรา นคา อาวธุ ปน จะจําหนา ยอาวธุ ปน

และกระสุนปนไดเฉพาะกับบุคคลท่ีไดรับใบอนุญาตใหซ้ือหรือมีและใชเทานั้น หากบุคคลซ่ึงเปน
เจา ของรา นคา อาวุธปนฝา ฝน ตองถือวา บคุ คลนน้ั มคี วามผิดและตอ งระวางโทษตามกฎหมาย
÷. ทาํ «Íé× ÁÕ Ê§Ñè นาํ à¢ÒŒ ÁÒ¤ÒŒ ËÃÍ× จาํ ˹ҋ ÂÇμÑ ¶ÃØ Ðàº´Ô â´ÂäÁä‹ ´ÃŒ ºÑ ͹ÞØ Òμ¨Ò¡¹Ò·ÐàºÂÕ ¹·ÍŒ §·èÕ

ÁÒμÃÒ óø หามมิใหผูใด ทํา ซื้อ มี ใช สั่ง นาํ เขา คาหรือจาํ หนายดวยประการใด
ซึ่งวตั ถรุ ะเบดิ เวน แตไ ดร บั ใบอนญุ าตจากนายทะเบยี นทอ งที่

ÁÒμÃÒ ÷ô ผูใดฝาฝนมาตรา ๓๘ ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหน่ึงปถึงยี่สิบป และ
ปรบั ตง้ั แตสองพันบาทถึงสี่หมน่ื บาท

¼ŒÙã´ หมายถึง บุคคลใดก็ตาม ในการท่ีจะ ทาํ ซ้ือ มี ใช สั่ง นาํ เขามา หรือคาวัตถุ
ระเบิดตองไดรับอนุญาตจากนายทะเบียนทองที่กอน ผูใดฝาฝนตองมีความผิดและตองรับโทษตาม
กฎหมาย

๓๔

ø. ÂŒÒÂÇÑμ¶ÃØ ÐàºÔ´¨Ò¡·Õèá˧‹ ˹§èÖ ä»ÍÕ¡á˧‹ ˹֧è â´ÂÁäÔ ´ÃŒ Ѻ͹ÞØ Òμ
ÁÒμÃÒ ôó หามมิใหยายวัตถุระเบิดจากที่แหงหนึ่ง เวนแตไดรับหนังสืออนุญาตจาก

เจาพนกั งานซึ่งรัฐมนตรกี ําหนดให และในการยา ยตองปฏบิ ัตติ ามเงื่อนไขในหนงั สืออนญุ าตน้นั แลว
ÁÒμÃÒ øð ผใู ดฝา ฝนมาตรา ๔๓ ตอ งระวางโทษปรบั ต้งั แตหา รอ ยบาทถึงหา พนั บาท
¼ÙŒã´ หมายถึง บุคคลใดก็ตาม ถาจะทําการยายวัตถุระเบิดจะตองขออนุญาตจาก

เจาพนักงาน ซ่ึงรัฐมนตรีกําหนดไว ในกรณีท่ียายโดยไดรับอนุญาต จะตองปฏิบัติตามเง่ือนไขท่ี
กําหนดไวในหนังสืออนุญาตนั้นดวย ซึ่งถาหากผูใดฝาฝน ถือวาบุคคลน้ันมีความผิด และตอง
ระวางโทษตามทก่ี ฎหมายกําหนด
ù. ทํา Êѧè นาํ ࢌÒËÃÍ× ¤ÒŒ ´Í¡äÁŒà¾Å§Ô â´ÂäÁä‹ ´ÃŒ Ѻ͹ÞØ Òμ¨Ò¡¹Ò·ÐàºÂÕ ¹·ÍŒ §·èÕ

ÁÒμÃÒ ô÷ หา มมใิ หผ ใู ดทาํ สงั่ นาํ เขา หรอื คา ซงึ่ ดอกไมเ พลงิ เวน แตจ ะไดร บั ใบอนญุ าต
จากนายทะเบียนทองที่

ÁÒμÃÒ ÷÷ ผูใดฝาฝนมาตรา ๔๗ ตองระวางโทษจาํ คุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือ
ปรับไมเ กินหนงึ่ พนั บาทหรือทัง้ จาํ ทัง้ ปรับ

¼ÙŒã´ หมายถึง บุคคลใดก็ตาม จะทํา สั่ง นําเขาหรือคาดอกไมเพลิง จะตองไดรับ
อนญุ าตจากนายทะเบียนทอ งทเ่ี สยี กอน บคุ คลใดฝา ฝน บุคคลนน้ั ตอ งมคี วามผดิ และตองระวางโทษ
ตามกฎหมายกาํ หนด
ñð. ã˼Œ ͌٠è׹㪌ãºÍ¹ÞØ ÒμÍÒÇ¸Ø »„¹¢Í§μ¹

ÁÒμÃÒ õø ใบอนุญาตท่ีออกใหตามความในพระราชบัญญัตินี้ ใหใชไดเฉพาะตัวผูรับ
ใบอนญุ าต

ÁÒμÃÒ ÷ò ·ÇÔ ผูใ ดฝา ฝน มาตรา ๕๘ ตองระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กินสบิ ปหรือปรับไมเกิน
สองหม่นื บาทหรอื ทงั้ จําทง้ั ปรับ

¼ÙŒã´ หมายถึง บุคคลใดก็ตามท่ีมีใบอนุญาต ยินยอมใหผูอ่ืนนําใบอนุญาตอาวุธปน
ของตนไปใชโดยเจตนา บคุ คลน้นั มคี วามผิดตอ งระวางโทษตามกฎหมาย
ññ. â͹ÍÒÇظ»¹„ à¤Ã×Íè §¡ÃÐÊ¹Ø »„¹ ËÃÍ× ÇμÑ ¶ØÃÐàº´Ô ãˌ᡼‹ ŒÙ·èÕÁÔä´ÃŒ ºÑ ãºÍ¹ØÞÒμ

ÁÒμÃÒ õù หามมิใหโอนอาวุธปน เคร่ืองกระสุนปน หรือวัตถุระเบิดใหแกผูท่ีมิไดรับ
ใบอนญุ าต

ÁÒμÃÒ ÷ò ·ÇÔ ผูใดฝาฝนมาตรา ๕๙ ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน ๑๐ ป หรือ
ปรับไมเกินสองหมืน่ บาทหรอื ทงั้ จาํ ท้งั ปรับ

¼ãÙŒ ´ หมายถึง บุคคลใดก็ตามท่ีจะโอนอาวุธปน เครื่องกระสนุ ปน หรือวตั ถุระเบิดใหกบั
ผูใดน้ันผูรับโอนจะตองเปนบุคคลที่ไดรับใบอนุญาตเทาน้ัน ถาหากบุคคลใดโอนอาวุธปน
เคร่ืองกระสุนปนหรือวัตถุระเบิดใหกับบุคคลท่ีไมมีใบอนุญาต การกระทําของผูนั้นถือวาเปน
ความผดิ ตอ งระวางโทษตามกฎหมาย

๓๕

ñò. ¼·ŒÙ èÕä´ÃŒ ºÑ ãºÍ¹ØÞÒμãËÁŒ ÕáÅÐ㪌ÍÒÇظ»¹„ ŒҶèÔ¹·ÍÕè Âã‹Ù ˌᨧŒ ÂŒÒÂá¡‹¹Ò·ÐàºÂÕ ¹
ÁÒμÃÒ öò ผูที่ไดรับอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนคนใดยายถิ่นที่อยูใหแจงการยายแก

นายทะเบียนทองที่ ภายในสิบหาวันนับแตวันยาย และถายายไปอยูในตางทองที่ ใหแจงการยายแก
นายทะเบียนทองทีใ่ หมใหท ราบภายในสิบหา วนั นับแตว ันที่ยายไปถงึ อกี ดวย

ÁÒμÃÒ øó ผูใ ดฝาฝน ตองระวางโทษปรับไมเกนิ หนึ่งพันบาท
ñó. äÁä‹ »Âè¹× ¤íÒ¢ÍÃºÑ ãºá·¹ãºÍ¹ÞØ Òμ·ÊÕè ÞÙ ËÒÂËÃ×ÍźàÅ×͹ÍÒ‹ ¹äÁÍ‹ Í¡μ‹Í¹Ò·ÐàºÂÕ ¹

ÁÒμÃÒ öù เมื่อใบอนุญาตสูญหาย เปนอันตราย หรือลบเลือนอานไมออก ใหผูรับ
ใบอนญุ าตยนื่ คาํ ขอรบั ใบแทนใบอนญุ าตตอ นายทะเบยี นทอ งทภ่ี ายในสามสบิ วนั ทน่ี บั แตท ราบเหตนุ นั้
ถานายทะเบียนเห็นวามีเหตุผลเปนที่เชื่อถือไดใหออกใบแทนใหตามเงื่อนไขของใบอนุญาตเดิม
แตถาใบอนุญาตท่ีสูญหายไดคืนในภายหลัง ก็ใหสงใบแทนน้ันแกนายทะเบียนทองที่ภายในกาํ หนด
สิบหาวันนบั แตวนั ทีไ่ ดค นื

ÁÒμÃÒ øó ผูใดฝาฝนมาตรา ๖๙ ตองระวางโทษปรับไมเกินหนงึ่ พันบาท
¼ÙŒã´ หมายถึง บุคคลใดก็ตาม เมื่อใบอนุญาตสูญหายหรือลบเลือนอานไมออกตอง
ย่ืนขอใบแทนตอนายทะเบียนทองที่ภายใน ๓๐ วัน นับแตวันทราบเหตุ ถาหากไมยื่นขอรับใบแทน
จนพนกําหนด ผนู น้ั มีความผิดตองระวางโทษตามกฎหมาย
แตถาใบอนุญาตท่ีสูญหายแลวน้ันไดคืนภายหลัง ผูน้ันจะตองสงใบแทนท่ีเจาหนาท่ี
ออกใหคืนแกนายทะเบียนทองที่ภายในกําหนด ๑๕ วัน นับแตวันไดคืน ผูใดละเลยมีความผิด
และตอ งรบั โทษตามกฎหมาย

๓๖

ẺãºÍ¹ÞØ ÒμμÒ‹ §æ
¼¹Ç¡ ¡.

Ẻ ».ñ
เรอื่ ง.......................................................................

เขยี นที.่ ...................................................
วนั ที.่ .........เดือน..............................พ.ศ..................
ขาพเจา.......................................................................................อายุ......................ป
เชอื้ ชาต.ิ ..........................สญั ชาต.ิ ..........................ภมู ลิ าํ เนาบา นเลขท.่ี ........................หมทู .่ี ............
ตาํ บล.......................................อาํ เภอ.......................................จงั หวดั ...........................................
ยนื่ คาํ ขอตอ นายทะเบยี นทอ งทป่ี ระจาํ ...............................................................................................
ดว ยขา พเจา มคี วามประสงค. ...........................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
(ลงชอื่ )..........................................................

ผขู ออนุญาต

๓๗

¼¹Ç¡ ¢.

Ẻ ». ò

ãºÍ¹ÞØ ÒμãËŒÊѧè ËÃÍ× ¹Òí à¢ÒŒ «§èÖ ÍÒÇظ»¹„
à¤Ã×èͧ¡ÃÐÊع»„¹ ÇμÑ ¶ØÃÐàºÔ´ ´Í¡äÁŒà¾Å§Ô ËÃ×ÍÊÔ§è à·ÕÂÁÍÒÇ¸Ø »¹„

ใบอนุญาตท่ี
สถานท่อี อกใบอนุญาต
วัน เดอื น ป ท่ีออก
วนั เดือน ป ที่ส้ินอายุ
ชอื่ อายุ ผูรับใบอนุญาต
เช้ือชาติ สญั ชาติ
ภมู ลิ าํ เนาบา นเลขท่ี หมูที่ ตําบล
อําเภอ จังหวดั
ชนดิ ขนาด จํานวน ทไี่ ดรับอนุญาต
ใหส ่ัง หรือนําเขา
ส่งั หรือนาํ เขาจาก
คาธรรมเนยี ม

.................................................................
นายทะเบียนทอ งท่ี

ประทับตราประจําตาํ แหนง

๓๘

¼¹Ç¡ ¤.

Ẻ ». ó

ãºÍ¹ØÞÒμãË«Œ Í×é ÍÒÇ¸Ø »¹„ ËÃ×Íà¤Ãè×ͧ¡ÃÐÊع»¹„ ÊÇ‹ ¹ºØ¤¤Å
ãËÁŒ ÍÕ ÒÇ¸Ø »„¹ ËÃÍ× à¤ÃÍè× §¡ÃÐÊ¹Ø »„¹ÊíÒËÃѺ¡ÒäŒÒ

ใบอนญุ าตท่ี
สถานที่ออกใบอนญุ าต
วนั เดอื น ป ท่อี อก
วัน เดอื น ป ท่สี ิน้ อายุ
ช่อื อายุ ผรู ับใบอนญุ าต
เชือ้ ชาติ สัญชาติ
ภูมิลาํ เนาบา นเลขที่ หมทู ี่ ตําบล
อาํ เภอ จังหวดั
ชนิด ขนาด จํานวน
ทีไ่ ดรบั อนญุ าต หรือมี
จาก
คาธรรมเนยี ม

................................................................. (แบบนม้ี ี ๓ ตอน)
นายทะเบียนทองท่ี

ประทับตราประจาํ ตําแหนง

๓๙

¼¹Ç¡ §.

Ẻ ». ô

ãºÍ¹ØÞÒμãËŒÁáÕ ÅÐ㪌ÍÒÇظ»„¹ ãËÁŒ ÕÍÒÇظ»¹„ äÇàŒ ¾Í×è ࡺç
ãËÁŒ áÕ ÅÐ㪌ÍÒÇ¸Ø »¹„ áÅÐà¤ÃÍ×è §¡ÃÐÊ¹Ø »„¹ ªÑèǤÃÒÇ

ใบอนญุ าตที่
สถานทอ่ี อกใบอนุญาต
วนั เดือน ป ทอี่ อก
วนั เดือน ป ทีส่ ้ินอายุ
ชือ่ อายุ ผรู ับใบอนุญาต
เชอ้ื ชาติ สญั ชาติ
ภูมลิ าํ เนาบา นเลขท่ี หมูท่ี
ตําบล อําเภอ จังหวดั
ชนิด ขนาด อาวุธปน
เลขหมายประจาํ ปน และช่อื ผูทาํ ปน
เคร่อื งหมายทะเบียน
ไดมาโดยซือ้ สง่ั นาํ เขา หรือมี
โดยซอื้ หรอื รับโอนจากใคร ทีใ่ ด
คา ธรรมเนียม

..................................................
นายทะเบียนทองท่ี

ประทบั ตราประจําตาํ แหนง

๔๐

àºç´àμÅç´

*ÁÒμÃÒ õõ “ประเภท ชนดิ และขนาดของอาวธุ ปน เคร่อื งกระสนุ ปนหรือวัตถุระเบิดท่ี
นายทะเบียนจะออกใบอนุญาตใหไดตามมาตรา ๗ มาตรา ๒๔ หรือ มาตรา ๓๘ ใหเปนไปตามท่ี
กําหนดในกฎกระทรวง”

ÁÒμÃÒ õö รฐั มนตรมี อี าํ นาจหา มมใิ หอ อกใบอนญุ าตอาวธุ ปน หรอื เครอ่ื งกระสนุ ปน
เฉพาะบางชนิดในบางทองทีห่ รือทัว่ ราชอาณาจกั รตามที่กําหนดไวใ นกฎกระทรวง

ÁÒμÃÒ õ÷ ในคราวมีเหตุฉุกเฉินหรือมีความจําเปนเพ่ือรักษาความสงบเรียบรอย
ของประชาชน รัฐมนตรีมีอํานาจออกคําส่ังหามหรือจํากัดการออกใบอนุญาตทุกประเภท หรือ
บางประเภทในช่ัวระยะเวลาที่กําหนดจะออกคําสั่งโดยประกาศ หรือแจงเปนหนังสือ ใหผูรับ
ใบอนุญาตสงมอบอาวุธปน เครื่องกระสุนปน หรือวัตถุระเบิดแกเจาพนักงาน เพ่ือเก็บรักษาไวหรือ
จะสั่งใหจําหนายเสียก็ได ในกรณีท่ีส่ังใหจําหนายใหนํามาตรา ๖๗ มาใชบังคับโดยอนุโลมและ
ถาไมอ าจปฏิบัติตามทกี่ ลาวแลว จะส่งั ใหจ าํ หนา ยแกทางราชการในราคาอนั สมควรกไ็ ด

คาํ สั่งนจ้ี ะกาํ หนดใหใ ชบ งั คบั ในบางทอ งท่ีหรอื ท่ัวราชอาณาจักรกไ็ ด
ÁÒμÃÒ õø ใบอนุญาตที่ออกใหตามความในพระราชบัญญัติน้ี ใหใชเฉพาะตัวผูรับ
ใบอนุญาต
ÁÒμÃÒ õù หามมิใหโอนอาวุธปน เคร่ืองกระสุนปน หรือวัตถุระเบิดใหแกผูที่มิไดรับ
ใบอนญุ าต
ÁÒμÃÒ öð เมอื่ ผรู บั ใบอนญุ าตไดร บั อาวธุ ปน เครอ่ื งกระสนุ ปน วตั ถรุ ะเบดิ ดอกไมเ พลงิ
หรือสิ่งเทียมอาวุธปน ซึ่งไดสงเขามาตามใบอนุญาตใหส่ัง ฉบับใดพนจากอารักขาของเจาพนักงาน
ศุลกากรแลว แมวา ผูรับใบอนุญาตจะมิไดส ง่ั อาวุธปน เคร่ืองกระสนุ ปน วัตถรุ ะเบดิ ดอกไมเ พลิง หรือ
สิ่งเทียมอาวุธปนเชนวาน้ีเขามาครบตามที่อนุญาตไวในใบอนุญาตก็ดี ใบอนุญาตฉบับนั้นเปนอัน
ใชสง่ั ไมไ ดอีกตอไป
ÁÒμÃÒ öñ อาวธุ ปน เครอ่ื งกระสนุ ปน วตั ถรุ ะเบดิ ดอกไมเ พลงิ หรอื สง่ิ เทยี มอาวธุ ปน
ท่ีสั่งเขามาในราชอาณาจักรโดยไมมีผูรับใบอนุญาต ใหสั่งใหตกเปนของแผนดินแตถาภายในสี่เดือน
นับแตวันท่ีของเขามาถึง ผูสั่งไดยื่นคํารองขอสงกลับออกนอกราชอาณาจักร รัฐมนตรีวาการ
กระทรวงการคลงั จะสง่ั อนญุ าตก็ได เมือ่ เปน ที่พอใจวา ผสู ัง่ ไมม ีสวนในการกระทาํ ผิดกฎหมาย
ÁÒμÃÒ öò ผูที่ไดรับอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนคนใดยายถ่ินที่อยูใหแจงการยายแก
นายทะเบียนทองที่ภายในสิบหาวันนับแตวันยาย และถายายไปอยูในตางทองที่ใหแจงการยายแก
นายทะเบียนทอ งที่ใหมใ หท ราบภายในสบิ หา วนั นบั แตว ันทีย่ ายไปถึงอกี ดว ย

*มาตรา ๕๕ น้ี แกไ ขหลงั สุดโดย พ.ร.บ.อาวธุ ปน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ.๒๕๒๒ นัย ม.๖
สวนของอาวุธปน ซง่ึ ถอื วา เปน “อาวุธปน” ตาม ม.๕๖ ดกู ฎกระทรวง ฉ.๓ การแจง ยา ยถนิ่ ที่อยู ตาม ม.๖๒
ดกู ฎกระทรวง ฉ.๑ ขอ ๑๐

๔๑

ÁÒμÃÒ öó ถานายทะเบียนทองท่ีปฏิเสธการออกใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้
ผูย่ืนคําขออนุญาตอาจอุทธรณตอรัฐมนตรีภายในกําหนดสามสิบวัน นับแตวันท่ีไดรับแจง
การปฏเิ สธเปน หนงั สอื คาํ อทุ ธรณใ หย น่ื ตอ นายทะเบยี นทอ งท่ี และใหน ายทะเบยี นเสนอคาํ อทุ ธรณน น้ั
ตอ รฐั มนตรี โดยมิชักชา คาํ วินจิ ฉัยของรฐั มนตรีใหแจงเปนหนังสือไปยงั ผูย ่ืนคําขอใบอนุญาต

ในกรณีท่ีมีการอุทธรณ ระยะเวลาที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติน้ี เพื่อการปฏิบัติตาม
คําสั่งของนายทะเบียนทองที่ใหสงกลับออกนอกราชอาณาจักร ซึ่งอาวุธปนหรือเคร่ืองกระสุนปน
ตามมาตรา ๑๗ หรือใหจัดการจําหนายอาวุธปน เคร่ืองกระสุนปน หรือวัตถุระเบิดตามมาตรา ๖๔
ใหนับแตวันที่ผูยื่นคําขอใบอนุญาตไดรับหนังสือแจงคําวินิจฉัยของรัฐมนตรีและเมื่อไดยื่นอุทธรณตอ
รฐั มนตรีแลว การปฏบิ ัติตามคําสัง่ ของนายทะเบยี นทอ งทนี่ น้ั ใหพ กั ไวจ นถึงวันท่ผี ูย ื่นคําขอใบอนุญาต
ไดร บั หนังสือแจง คําวนิ จิ ฉยั ของรัฐมนตรี

คําวนิ จิ ฉัยของรัฐมนตรใี หเ ปน ทสี่ ดุ
ÁÒμÃÒ öô ถา ผไู ดร บั อนญุ าตตาย ใหผ ซู ง่ึ มอี าวธุ ปน เครอื่ งกระสนุ ปน หรอื วตั ถรุ ะเบดิ
หรือใบอนุญาตของผูตายอยูในความครอบครอง แจงการตายตอนายทะเบียนทองท่ีซ่ึงตนอยู หรือ
นายทะเบียนทองที่ท่ีออกใบอนุญาตหรือนายทะเบียนทองท่ีท่ีผูรับใบอนุญาตตายภายในกําหนด
สามสบิ วนั นบั แตว ันท่ีทราบการตายของผูร ับใบอนญุ าต
นายทะเบียนมีอํานาจส่ังใหเก็บรักษาอาวุธปน เคร่ืองกระสุนปน หรือวัตถุระเบิดของ
ผรู ับใบอนุญาตที่ตายไวอ ยางไร และ ณ ท่ีใดก็ไดต ามควรแกกรณีและถามีขอ โตเ ถยี งถงึ เรอื่ งสิทธขิ อง
ทายาท กใ็ หเก็บรักษาไวจนกวา ขอโตเ ถียงนน้ั ถึงทสี่ ดุ
ภายในกําหนดหกเดือนนับแตวันที่ผูรับใบอนุญาตตาย หรือถามีขอโตเถียงถึงเร่ืองสิทธิ
ของทายาทนับแตวันท่ีขอโตเถียงน้ันถึงท่ีสุด ผูจัดการมรดกหรือทายาทในกรณีที่ไมมีผูจัดการมรดก
อาจขอใบอนญุ าตใหมไ ด เมอื่ นายทะเบยี นไดอ อกใบอนญุ าตใหแ ลว ใหม อบอาวธุ ปน เครอ่ื งกระสนุ ปน
หรือวัตถุระเบิดนั้นแกผูรับใบอนุญาตใหม ถาไมออกใบอนุญาตใหใหม ก็ใหแจงความใหผูขอ
ทราบและสั่งใหผูจัดการจําหนายส่ิงเหลานั้นภายในกําหนดหกเดือน นับแตวันรับคําส่ัง มิฉะน้ัน
ใหนายทะเบียนทองท่ีมีอํานาจจัดการขายทอดตลาดสิ่งเหลาน้ัน ไดเงินจํานวนสุทธิเทาใดใหสงมอบ
แกผ มู ีสทิ ธิ
ÁÒμÃÒ öõ ผูรับใบอนุญาตคนใดตกเปนผูซึ่งจะออกใบอนุญาตใหไมไดตามความใน
พระราชบญั ญตั นิ ้ี ใหแ จงพฤตกิ ารณน ัน้ และสง มอบอาวุธปน เคร่ืองกระสุนปน หรือวตั ถรุ ะเบิด และ
ใบอนุญาตใหแกนายทะเบียนทองที่โดยไมชักชา และใหนายทะเบียนทองที่หรือรัฐมนตรีส่ังเพิกถอน
ใบอนุญาตนนั้ เสยี
ถา ผรู บั ใบอนุญาตเปนคนไรค วามสามารถ หรอื เปน คนเสมอื นไรค วามสามารถ หรือเปน
คนวิกลจริต หรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ ใหผูอนุญาต ผูพิทักษ หรือผูควบคุมดูแล แลวแตกรณี
มหี นา ที่ตองปฏิบัติตามความในวรรคกอ น
ÁÒμÃÒ öö ถาปรากฏวาผูที่ไดรับใบอนุญาตตามความในพระราชบัญญัติน้ีเปนผูซ่ึง
จะออกใบอนญุ าตใหไ มไ ด ใหน ายทะเบยี นทอ งทห่ี รอื รฐั มนตรสี ง่ั เพกิ ถอนใบอนญุ าตนนั้ เสยี เมอื่ ไดร บั

๔๒

คําสั่งเพิกถอนใบอนุญาตแลว ใหผูรับใบอนุญาตสงมอบอาวุธปน เครื่องกระสุนปนหรือวัตถุระเบิด
และใบอนญุ าตแกนายทะเบียนทอ งท่โี ดยไมชักชา

ถาผูรับใบอนุญาตเปนคนไรความสามารถ หรือเปนคนเสมือนไรความสามารถหรือเปน
คนวิกลจริต หรือฟนเฟอนไมสมประกอบ ใหผูอนุบาล ผูพิทักษ หรือผูควบคุมดูแลแลวแตกรณี
มหี นาทตี่ อ งปฏิบัติตามความในวรรคกอ น

ÁÒμÃÒ ö÷ อาวุธปน เครือ่ งกระสนุ ปน หรือวัตถุระเบิด ซึง่ สงมอบไวต ามมาตรา ๖๕
หรือมาตรา ๖๖ นั้น ใหผูสงมอบจัดการโอนเสียภายในเกาสิบวัน นับแตวันท่ีสงมอบ ถาโอนได
นายทะเบียนทองท่ีท่ีมอบแกผูรับโอนไป แตถาโอนไมไดใหนายทะเบียนจัดการขายทอดตลาด
ภายหลังทไี่ ดป ระกาศและแจงใหผูสง มอบทราบแลวตามสมควร ไดเงนิ สทุ ธิเทาใดมอบใหแ กผมู สี ิทธิ

ÁÒμÃÒ öø เมอ่ื พฤตกิ ารณอ นั สมควรสงสยั วา ผรู บั ใบอนญุ าตคนใดจะเปน ผตู อ งหา ม
ในการออกใบอนุญาตตามมาตรา ๑๓(๘) หรือ (๙) นายทะเบียนทองที่มีอํานาจเรียกประกันหรือ
ทัณฑบน จากผนู ้นั ได

ถาผูรับใบอนุญาตดังกลาวแลวหาประกันใหเปนท่ีเช่ือถือไมได หรือไมยอมทําทัณฑบน
ภายในเวลาอันสมควรตามท่ีนายทะเบียนไดกําหนดให ซ่ึงตองไมนอยกวาสามสิบวัน ใหถือวาผูรับ
ใบอนุญาตนั้นเปนผูซ ึ่งจะออกใบอนุญาตใหไมไ ด และใหนาํ มาตรา ๖๖ และมาตรา ๖๗ มาใชบงั คับ
โดยอนุโลม

ÁÒμÃÒ öù เม่ือใบอนุญาตสูญหายเปนอันตรายหรือลบเลือนอานไมออก ใหผูรับ
ใบอนญุ าต ยน่ื คาํ ขอรบั ใบแทนอนญุ าตตอ นายทะเบยี นทอ งทภี่ ายในสามสบิ วนั นบั แตว นั ทท่ี ราบเหตนุ นั้
ถานายทะเบียนเห็นวามีเหตุผลเปนที่เช่ือถือไดก็ใหออกใบแทนใหตามเงื่อนไขของใบอนุญาตเดิม
แตถาใบอนุญาตที่สูญหายไดคืนในภายหลัง ก็ใหสงใบแทนนั้นแกนายทะเบียนทองท่ีภายในกําหนด
สิบหาวันนบั แตว ันท่ไี ดคืน

ÁÒμÃÒ ÷ð หามไมใหผูใดนําอาวุธปน เครื่องกระสุนปน หรือวัตถุระเบิดผาน
ราชอาณาจกั ร เวน แตจ ะไดร บั หนงั สอื อนญุ าตจากรฐั มนตรี หรอื เจา พนกั งานซงึ่ รฐั มนตรแี ตง ตง้ั เพอื่ การนี้

ผูน าํ หนงั สืออนญุ าตใหนําอาวธุ ปน เคร่อื งกระสุนปน หรอื วตั ถุระเบิดผา นราชอาณาจกั ร
จะนําสิ่งเชนวานั้นผานราชอาณาจักรไดเฉพาะแตทางดานศุลกากรซึ่งรัฐมนตรีกําหนดไว และตอง
แจง ความตามแบบพิมพข องกรมศลุ กากรแกพ นักงานศลุ กากร

เม่ือพนักงานศุลกากรไดรับแจงความตามวรรคกอนแลว ใหแจงเร่ืองใหนายทะเบียน
ทองท่ีทราบ ถานายทะเบียนทองท่ีเห็นเปนการจําเปนเพ่ือความปลอดภัยของประชาชนจะจัดการ
ควบคุม อาวุธปน หรือวัตถุระเบิด ในระหวางท่ีอยูในราชอาณาจักรก็ได และผูรับหนังสืออนุญาต
เปน ผอู อกคา ใชจ า ยในการนน้ั

ÁÒμÃÒ ÷ñ ใหรัฐมนตรีมีอํานาจจํากัดจํานวนรานคา และกําหนดจํานวนชนิดและ
ขนาดอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปนสําหรับการคา
ตามท่ีเหน็ สมควร

๔๓

º·¡Ó˹´â·É

*ÁÒμÃÒ ÷ò “ผูใดฝาฝนมาตรา ๗ ตองระวางโทษจําคุกต้ังแตหน่ึงปถึงสิบป และ
ปรบั ตั้งแตสองพนั บาทถึงสองหม่นื บาท

ถาการฝาฝนตามวรรคหนึ่งเปนเพียงกรณีเกี่ยวกับสวนหน่ึงสวนใดของอาวุธปนตามที่
กําหนดไวในกฎกระทรวง หรือเปนกรณีมีเครื่องกระสุนปน ผูฝาฝนตองระวางโทษจําคุกไมเกินสิบป
หรอื ปรับไมเ กนิ สองหมื่นบาทหรือทัง้ จําทั้งปรับ

ถาการฝาฝนตามวรรคหน่ึงเปนเพียงการมีอาวุธปนที่เปนของผูอ่ืนซึ่งไดรับใบอนุญาต
ใหมีและใชตามกฎหมาย ผูฝาฝนตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหกเดือนถึงหาป และปรับตั้งแต
หนง่ึ พนั บาทถงึ หน่งึ หมืน่ บาท”

“ถา การฝา ฝน ตามวรรคหนงึ่ เปน การทาํ เครอื่ งกระสนุ ปน ทท่ี าํ ดว ยดนิ ปน มคี วนั สําหรบั ใชเ อง
โดยไมไ ดรบั อนุญาตจากนายทะเบยี นทอ งที่ ผูฝาฝนตองระวางโทษปรับไมเกินหนง่ึ พันบาท”

®¡Õ Ò·Õè ÷øðó/òõôó รับจํานาํ ปน มีความผิดตาม พ.ร.บ.อาวุธปนฯ พ.ศ.๒๔๙๐
มาตรา ๗๒ วรรคสาม

*ÁÒμÃÒ ÷ò ·ÇÔ ผูใดฝาฝนมาตรา ๘ มาตรา ๑๒ มาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง หรือวรรคสาม
มาตรา ๒๐ มาตรา ๕๘ มาตรา ๕๙ มาตรา ๖๕ มาตรา ๖๖ หรอื มาตรา ๗๐ วรรคหนึ่ง หรอื วรรคสอง
ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเกินสบิ ป หรือปรบั ไมเกนิ สองหมน่ื บาทหรอื ท้งั จาํ ท้งั ปรับ

ผูใดฝาฝนมาตรา ๘ ทวิ วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาปหรือปรับไมเกิน
หน่ึงหมื่นบาท หรือท้ังจําทั้งปรับ ถาผูน้ันฝาฝนมาตรา ๘ ทวิ วรรคสองดวย ตองระวางโทษจําคุก
ต้งั แตห กเดอื นถงึ หา ป และปรบั ตงั้ แตห น่ึงพนั บาทถงึ หนึง่ หม่นื บาท

ผูไดรับใบอนญุ าตใหมีอาวุธปนติดตวั ผใู ดฝาฝนมาตรา ๘ ทวิ วรรคสอง ตองระวางโทษ
จําคกุ ไมเ กนิ หนึ่งป หรือปรบั ไมเ กนิ สองพนั บาท หรอื ทงั้ จาํ ทั้งปรบั

*ÁÒμÃÒ ÷ó ผูใดฝาฝนมาตรา ๒๔ ตองระวางโทษจําคุกต้ังแตสองปถึงยี่สิบปและ
ปรบั ตั้งแตสพ่ี ันบาทถงึ ส่หี มน่ื บาท

*ÁÒμÃÒ ÷ó ·ÇÔ ผใู ดฝา ฝนมาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ หรอื มาตรา ๓๔ ตอ งระวางโทษ
จาํ คุก ตง้ั แตหกเดอื นถงึ สบิ ป และปรับตงั้ แตห นง่ึ พนั บาทถึงสองหมื่นบาท

*ÁÒμÃÒ ÷ô ผูใดฝาฝนบทบัญญัติเกี่ยวกับวัตถุระเบิดตามมาตรา ๑๖ วรรคหนึ่งหรือ
วรรคสาม ซ่ึงไดนํามาใชบังคับโดยอนุโลมตามมาตรา ๔๑ หรือฝาฝนมาตรา ๓๘ ตองระวางโทษ
จาํ คกุ ตัง้ แตห นง่ึ ปถึงยส่ี ิบป และปรับตั้งแตส องพันบาทถงึ ส่ีหมืน่ บาท

* มาตรา ๗๒ แกไขหลงั สดุ ตามคาํ สงั่ ของคณะปฏริ ูปฯ (ฉ.๔๔) พ.ศ.๒๕๑๙ นัยขอ ๖
* มาตรา ๗๒ วรรคส่ี เพมิ่ เตมิ พ.ร.บ.อาวธุ ปน (ฉ.๗) พ.ศ.๒๕๒๒ นยั ม.๗ เจา พนกั งานอนมุ ตั ิ ม.๗๐ ดรู ะเบยี บกรมตาํ รวจ ขอ ๒
* มาตรา ๗๒ ทวิ-๗๗ แกไ ขหลงั สุดตามคาํ สงั่ ของคณะปฏิรูปฯ (ฉ.๔๔) พ.ศ.๒๕๑๙ นัยขอ ๗, ๘ และ ๙ ตามลาํ ดับ


Click to View FlipBook Version