The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

12_TC22602_กฎหมายที่เกียว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-07-07 09:27:45

12_TC22602_กฎหมายที่เกียว

12_TC22602_กฎหมายที่เกียว

วชิ า จร. (TC) ๒๒๖๐๒

กฎหมายทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั งานจราจร

ตาํ ÃÒàÃÂÕ ¹

ËÅÑ¡ÊμÙ Ã ¹¡Ñ àÃÂÕ ¹¹ÒÂÊºÔ ตําÃǨ

ÇªÔ Ò ¨Ã. (TC) òòöðò ¡®ËÁÒ·àÕè ¡ÕèÂǢ͌ §¡Ñº§Ò¹¨ÃÒ¨Ã

เอกสารน้ี “໹š ¤ÇÒÁÅѺ¢Í§·Ò§ÃÒª¡ÒÔ หา มมใิ หผูหน่ึงผูใดเผยแพร คัดลอก ถอดความ
หรอื แปลสว นหนง่ึ สว นใด หรอื ทง้ั หมดของเอกสารนเ้ี พอ่ื การอยา งอน่ื นอกจาก “à¾Íè× ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒͺÃÁ”
ของขาราชการตํารวจเทานั้น การเปดเผยขอความแกบุคคลอ่ืนท่ีไมมีอํานาจหนาที่จะมีความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา

¡Í§ºÑÞªÒ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ สาํ ¹Ñ¡§Ò¹ตํา¾ÃÇ.Ȩá.òËõ‹§ªöÒôμÔ

คํานํา

หลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจ (นสต.) เปนหลักสูตรการศึกษาอบรมท่ีมีเปาหมาย
เพื่อเสริมสรางใหบุคคลภายนอกผูมีวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) หรือ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา ที่เขารับการฝกอบรมมีความรู ความสามารถ และ
ทักษะวิชาชีพตาํ รวจ รวมถึงพัฒนาบุคลิกภาพรางกายใหเหมาะสมสําหรับการปฏิบัติงานตํารวจ
ในกลุมสายงานปองกันปราบปราม ตลอดจนเตรียมความพรอมทางดานจิตใจและวุฒิภาวะใหมี
จติ สํานกึ ในการใหบ ริการเพอ่ื บําบัดทกุ ขบ ํารุงสขุ ของประชาชนเปน สาํ คญั

กองบัญชาการศึกษา ไดรวมกับ ครู อาจารย และครูฝก ในสังกัดกองบังคับการ
ฝกอบรมตาํ รวจกลาง และกลมุ งานอาจารย กองบัญชาการศึกษา ศูนยฝกอบรมตํารวจภูธรภาค ๑ - ๙
และกองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน ตลอดจนผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก จัดทําตาํ ราเรียน
หลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจชดุ นี้ ซงึ่ ประกอบดว ยองคค วามรตู า งๆ ทจ่ี ําเปน ตอ การพฒั นาศกั ยภาพ
ของนกั เรยี นนายสบิ ตํารวจใหเ ปน ขา ราชการตาํ รวจทพี่ งึ ประสงคข องประชาชน เพอ่ื ใชส ําหรบั ประกอบ
การเรียนการสอนนักเรียนนายสิบตํารวจใหมีความพรอมทั้งดานความรู ความสามารถ กําลังกาย
และจติ ใจ จนสามารถเปน ขา ราชการตาํ รวจทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหบ รกิ ารสงั คมและประชาชนไดอ ยา งตรงตาม
ความตอ งการอยางแทจ รงิ และมคี วามพรอมในการเขาสปู ระชาคมอาเซยี น

ขอขอบคุณครู อาจารย ครูฝก และผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ที่ไดรวมกันระดมความคิด
ใหคาํ ปรึกษา คาํ แนะนาํ ประสบการณที่เปนประโยชน รวมถึงการถายทอดองคความรู
ที่เปนประโยชน จนทาํ ใหการจัดทําตาํ ราเรียนหลักสูตรนักเรียนนายสิบตาํ รวจสําเร็จลุลวงไดดวยดี
ซ่ึงกองบัญชาการศึกษาหวังเปนอยางย่ิงวาตําราเรียนชุดน้ีคงเปนประโยชนตอการจัดการเรียน
การสอนและการจัดการฝกอบรมของครู อาจารย และครูฝก รวมตลอดถึงใชเปนคูมือการปฏิบัติงาน
ของขาราชการตํารวจ อันจะสงผลทาํ ใหสํานักงานตํารวจแหงชาติสามารถสรางความเชื่อมั่น ศรัทธา
และความผาสุกใหแ กประชาชนไดอ ยา งแทจ ริง

พลตํารวจโท
( อภิรตั นยิ มการ )
ผูบ ัญชาการศกึ ษา

ÊÒúÑÞ Ë¹ÒŒ

ÇªÔ Ò ¡®ËÁÒ·àèÕ ¡ÂÕè Ǣ͌ §¡Ñº§Ò¹¨ÃҨà ñ
õ
º··èÕ ๑ º·นํา ôù
º··Õè ò öáÅÐãºÍ¹ØÞÒμ¢ºÑ Ã¶ ๔๙
º··èÕ ó á¹Ç·Ò§»¯ºÔ μÑ ãÔ ¹¡Òú§Ñ ¤ºÑ 㪌¡®ËÁÒ¨ÃҨà ๖๙
๙๑
๓.๑ การแจงขอ กลา วหา และการออกใบสั่งจราจร ùó
๓.๒ พระราชบญั ญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๖๓ มาตรา ๕๙ ๙๓
๙๙
เรือ่ ง การเคลือ่ นยา ยรถและการใชเ คร่อื งมอื บังคับไมใ หเคล่อื นยา ยรถ ๑๑๒
๓.๓ สรปุ แนวทางการปฏิบัตคิ วามผดิ กฎหมายจราจร ññõ
º··èÕ ô ¡Òú§Ñ ¤ºÑ 㪌¡®ËÁÒÂà¾èÍ× ¡ÒûÅÍ´ÀÂÑ ·Ò§¶¹¹ ๑๑๕
๔.๑ ความเขา ใจเบื้องตนเกย่ี วกบั อบุ ตั ิเหตุทางถนน ๑๓๖
๔.๒ การบังคบั ใชกฎหมายเพื่อความปลอดภยั ทางถนน ๑๔๖
๔.๓ การบังคบั ใชกฎหมายท่ีเกยี่ วขอ งกับความเร็ว ๑๕๒
º··Õè õ °Ò¹¤ÇÒÁ¼´Ô μÒÁ¡®ËÁÒ·Õèà¡ÂÕè Ç¢ŒÍ§¡Ñº¡Òû¯ºÔ ÑμËÔ ¹ŒÒ·Õè¨ÃҨà ñõ÷
๕.๑ พระราชบัญญตั ิจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ๑๕๙
๕.๒ พระราชบญั ญัติรถยนต พ.ศ. ๒๕๒๒ ๑๗๓
๕.๓ พระราชบญั ญตั ขิ นสงทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ๒๒๕
๕.๔ กฎหมายอ่ืนๆ ทเ่ี กย่ี วขอ ง ๒๗๗
ÀÒ¤¼¹Ç¡ ๓๐๑
ผนวก ก : พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ทแ่ี กไ ขลาสุด พ.ศ. ๒๕๖๒ ๓๖๕
ผนวก ข : พ.ร.บ.รถยนต พ.ศ. ๒๕๒๒ ó÷ø
ผนวก ค : พ.ร.บ.การขนสงทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ผนวก ง : พ.ร.บ.ทางหลวง พ.ศ. ๒๕๓๕
ผนวก จ : พ.ร.บ.คมุ ครองผปู ระสบภัยจากรถ พ.ศ. ๒๕๓๕
ทตี่ ั้งสํานักงาน คปภ.ภาค/จังหวัด/เขต
ºÃóҹ¡Ø ÃÁ



º··èÕ ñ

º·นํา

กฎหมายที่มีอยูทั่วไปนั้น เปนกลไกการบริหารประเทศของรัฐที่สรางข้ึน เพ่ือรักษา
ความสงบเรียบรอยของบานเมือง โดยควบคุมพฤติกรรมของประชาชนใหเปนไปในทางเดียวกัน
การฝา ฝน กฎหมายยอ มมบี ทลงโทษ กฎจราจรเปน กฎหมายเพอื่ ความปลอดภยั ทบี่ ญั ญตั ขิ น้ึ เพอื่ ควบคมุ
ผูใชรถ ใชถนน ใหถือปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน จุดมุงหมายสําคัญในการบังคับใชกฎหมายจราจร
ก็เพ่ือความสะดวกและความปลอดภัยในการเดินทาง ปุระชัย เปยมสมบูรณ (๒๕๒๖) กลาววา
ในการบังคับใชกฎหมายจราจร เปนเพียงการขมขวัญ ผูละเมิด หรือผูมีแนวโนมจะละเมิดกฎหมาย
หรือระเบียบเก่ียวกับการจราจร แนวทางสําหรับการบังคับใชกฎหมายจราจรของเจาหนาที่ตํารวจ
ระดับปฏิบตั ิ จงึ ควรครอบคลมุ สาระสําคญั ดังตอ ไปนี้

๑. การใชด ลุ ยพนิ จิ ของตาํ รวจ เจา หนา ทต่ี าํ รวจไมค วรเครง ครดั ในการบงั คบั ใชก ฎหมาย
จราจรในลกั ษณะตคี วามตามตวั อกั ษร หมายความวา ในการบงั คบั ใชก ฎหมายจราจร เจา หนา ทต่ี าํ รวจ
ควรผอนปรนโดยตระหนักถึงโอกาสความผิดพลาด คลาดเคล่ือน ทั้งที่เกี่ยวของกับมนุษยและหรือ
เคร่ืองยนตกลไกที่อาจเกิดข้ึน นักบริหารงานตํารวจควรกําหนดนโยบายเพ่ือยอมรับการใชดุลยพินิจ
ของเจาหนา ท่ีตาํ รวจผปู ฏิบตั กิ ารในระดบั และขอบเขตทีเ่ หมาะสม ซง่ึ เปน เจตนารมณข องกฎหมาย

๒. การวากลาวตักเตือน ซ่ึงเปนมาตรการจําเปนอันหนึ่งในการบังคับใชกฎหมาย
แตอ ยา งไรก็ดี มาตรการนย้ี อมคลายความศักด์สิ ิทธิ์ หากใชกันพรํา่ เพร่อื โดยไมคํานงึ ถึงสถานการณ

๓. การจบั ผลู ะเมดิ กฎหมายโดยไมไ ดต งั้ ใจ การบงั คบั ใชก ฎหมายจราจรควรมจี ดุ มงุ หมาย
เพื่อการขมขวัญ ยับย้ังและเพ่ือใหการศึกษาแกผูละเมิดกฎหมายมิใชเพื่อจุดมุงหมายอ่ืน ดังนั้น
นกั บรหิ ารงานตาํ รวจจงึ มนี โยบายทแ่ี นน อนในการหลกี เลย่ี งการจบั ผดิ ผลู ะเมดิ กฎหมายโดยไมไ ดต งั้ ใจ
เพราะนอกจากจะไมกอใหเกิดผลดีตอการควบคุมการจราจรแลวยังสรางความเกลียดชังตอเจาหนาท่ี
ตาํ รวจอีกดว ย

๔. การเลอื กบงั คบั ใชก ฎหมายซง่ึ นบั วา เปน ความจาํ เปน ทหี่ ลกี เลยี่ งไมไ ด เพราะหนว ยงาน
ตาํ รวจ ไมม อี ตั รากาํ ลงั เพยี งพอทจ่ี ะบงั คบั ใชก ฎหมายทกุ บททกุ มาตราทว่ั ทกุ มมุ เมอื ง ตลอด ๒๔ ชวั่ โมง
การเลอื กบงั คบั ใชก ฎหมายจราจรทเี่ หมาะสมตอ งอาศยั ขอ มลู และการวางแผนโดยอาศยั ผลการวเิ คราะห
เพอ่ื จดั วางกาํ ลงั ตาํ รวจอยา งเหมาะสม รวมทงั้ กาํ หนดการแกไ ขสาเหตขุ องความไมค ลอ งตวั ในการจราจร
และสาเหตุของการเกดิ อบุ ัตเิ หตุจราจร

ในการบังคับใชกฎหมายในปจจุบันตํารวจจราจรมักจะถูกกลาวหาในเรื่องไมมีความ
เปนธรรม จับกุมโดยไมมีความรู กลั่นแกลงจับกุม การทาํ ยอดเรียกผลประโยชน เปนตน ดังนั้น
การปฏิบัติของตาํ รวจจราจรตองปฏิบัติหนาที่เกี่ยวกับการบังคับใชกฎหมายใหมีความโปรงใส
และเปน ธรรม โดยตอ งมหี ลกั ๓ ศ. ไดแ ก ศาสตร ศลิ ป และศลี ธรรม ศาสตร หมายถงึ ระบบวชิ าความรู



ในบทบาท อํานาจและหนา ทข่ี องตนเอง สว นศลิ ป ในทน่ี ห้ี มายถงึ ฝม อื ในการจดั การทใ่ี หค วามสนใจปจ จยั ทาง
ดา นสงั คม อารมณแ ละความรสู กึ มาเปน องคป ระกอบในการตดั สนิ ใจดว ย การทํางานหรอื การแกป ญ หาตา ง ๆ
จะใชแตศ าสตร (วิชาความรู) อยางเดยี วไมพอก็คงตองใชท ้งั ศาสตรและศิลปใ นการทาํ งาน ศิลปใ นการ
ทํางาน คือ การรูจักนําศาสตรความรูมาใชใหเกิดประโยชนเปนท่ีพอใจของประชาชน และประการ
สดุ ทายทีส่ ําคญั ท่สี ดุ คอื ศีลธรรม ตามจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณของผูปฏบิ ตั ิหนา ท่ีจราจร กฎหมาย
ทเ่ี ก่ียวของกับการปฏิบตั หิ นาทดี่ านการจราจร มจี ํานวนมากหลายฉบับดว ยกัน การบูรณาการความรู
ในการบังคับใชกฎหมายกับผูกระทําผิดกฎหมายจราจร จึงตองอาศัยความรูจากกฎหมายหลายๆ
เรอ่ื งดวยกนั

¡®ËÁÒ·èàÕ ¡ÂÕè Ǣ͌ §¡ºÑ §Ò¹´ŒÒ¹¡ÒèÃҨ÷èÕÁ¼Õ ź§Ñ ¤ÑºãªãŒ ¹»˜¨¨ºØ ¹Ñ
ปจ จุบนั มีกฎหมายที่เกี่ยวขอ งกบั งานดา นการจราจรหลายฉบับท่ีสาํ คญั ๆ มดี ังน้ี
๑) พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉับบท่ี ๑๒)
พ.ศ. ๒๕๖๒ เปน กฎหมายทม่ี หี ลกั การเกย่ี วกบั รถ การใชร ถใชถ นนและการจราจร จงึ ใชบ งั คบั กบั เจา ของรถ
ผูขบั ข่ี คนเดนิ เทา และผูใชรถใชถ นนทุกคน โดยไดบญั ญัตเิ ก่ยี วกับลักษณะของรถทใ่ี ชในทาง การใชไฟ
หรือเสียงสัญญาณของรถ การบรรทุก สัญญาณจราจรและเครื่องหมายจราจร การใชทางเดินรถ
และไดก าํ หนดรายละเอยี ดในการขบั รถ การขบั แซง และผา นขน้ึ หนา การออกรถ การเลยี้ วรถ และการ
กลับรถ ฯลฯ นอกจากน้ียังไดกําหนดอํานาจหนาที่ของเจาพนักงานจราจรและพนักงานเจาหนาท่ี
ในการควบคมุ ดูแล และการจัดการจราจร
๒) พระราชบญั ญตั กิ ารขนสง ทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ เปน กฎหมายทตี่ ราขนึ้ โดยมเี จตนารมณ
เพอื่ จดั ระเบยี บและควบคมุ กาํ กบั ดแู ลการขนสง ทางถนน ใหม คี วามสะดวก รวดเรว็ ปลอดภยั ประหยดั
เปน ธรรม และเกดิ ความคุมคาทางเศรษฐกิจ โดยมีคณะกรรมการนโยบายการขนสงทางบก ทําหนา ที่
กาํ หนดนโยบายและมาตรการดา นการขนสง และมคี ณะกรรมการควบคมุ ขนสง ทางบกทาํ หนา ทก่ี าํ หนด
รายละเอยี ดเกย่ี วกบั การขนสง ใหเ ปน มาตรฐาน นอกจากน้ี กฎหมายยงั ไดก าํ หนดลกั ษณะการประกอบ
การขนสง การชดใชคาเสียหายท่ีเกิดจากการขนสง การรับจัดการขนสง มีบทบัญญัติรถ ผูประจํารถ
ผโู ดยสารตลอดจนสถานขี นสง
๓) พระราชบัญญัติรถยนต พ.ศ. ๒๕๒๒ เปนกฎหมายท่ีตราขึ้นโดยมีเจตนารมณ
เพื่อควบคุมการจดทะเบียนรถและการเสียภาษีประจําป โดยมีการกําหนดประเภทและลักษณะของ
รถยนตท ส่ี ามารถใชว ง่ิ บนทาง ตลอดจนใบอนญุ าตขบั ขเ่ี พอื่ ใหเ กดิ ความปลอดภยั ในการใชท างรว มกนั
๔) พระราชบญั ญัติทางหลวง พ.ศ. ๒๕๓๕ เปน กฎหมายท่ตี ราข้ึนเพือ่ บังคบั กบั กจิ การ
หรือกระทําใด ๆ ที่เก่ียวของบนทางหลวง โดยกําหนดประเภทของทางหลวง การกํากับตรวจตรา
และควบคมุ ทางหลวง และงานทาง ตลอดจนการควบคุม การรักษา การขยายและสงวนเขตทางหลวง
และทางหลวงพเิ ศษ ท้งั น้ี เพ่อื ใหส ภาพการใชทางหลวงเกิดความสะดวก ฯลฯ
๕) กฎหมายอื่น ๆ เชน กฎหมายขององคกรสวนทองถ่ิน พระราชบัญญัติคุมครอง
ประกนั ภัยจากรถ เปนตน



การกระทําความผิดกฎหมายเก่ียวกับการจราจรเปนการกระทําผิดที่มีโทษทางอาญา
ประเภท Mala Prohibita ซ่ึงหมายถงึ การกระทําผดิ ท่ีกฎหมายไดบญั ญัติไววา เปน ความผิด กลาวคอื
การกระทํานั้น ๆ ไมไดเปนความชั่วหรืออาชญากรรมดวยตัวของมันเองแตอยางใด อยางไรก็ตาม
เม่ือกฎหมายบัญญัติความผิดเก่ียวกับการจราจร ผูบังคับใชกฎหมายก็จะตองบังคับใชกฎหมาย
อยา งเสมอภาคและเปน ธรรมตอ ทกุ คน ดงั นัน้ ผูบ ังคับใชกฎหมายทกุ ฝายจะตองมคี วามรู ความเขาใจ
ในกฎหมายทเ่ี ก่ยี วกบั การจราจรเปน อยา งดี

â·ÉáÅÐÁÒμáÒú§Ñ ¤ºÑ μÒÁ¡®ËÁÒ·Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡ºÑ §Ò¹´ŒÒ¹¡ÒèÃÒ¨Ã
กฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ งกบั งานดา นการจราจรประกอบดว ยพระราชบญั ญตั หิ ลายฉบบั ดว ยกนั
ในพระราชบญั ญตั แิ ตล ะฉบบั ตา งกไ็ ดบ ญั ญตั ถิ งึ โทษและสภาพบงั คบั ทคี่ ลา ยคลงึ กนั ซง่ึ ไดแ ก โทษจาํ คกุ
โทษปรบั และมาตรการบังคับทางปกครอง ดังนี้
๑) โทษจาํ คกุ หมายถงึ การนาํ ตวั ผกู ระทาํ ผดิ ซง่ึ ศาลพพิ ากษาลงโทษจาํ คกุ ไปควบคมุ ตวั
ในเรอื นจาํ หรอื ทณั ฑสถาน การลงโทษจาํ คกุ ไมว า จะเปน การจาํ คกุ ตลอดชวี ติ หรอื การจาํ คกุ ทมี่ กี าํ หนด
เวลาก็ตาม เปนมาตรการการลงทัณฑที่ทําใหผูไดรับโทษขาดเสรีภาพซึ่งนิยมใชกันอยางแพรหลาย
ในการลงโทษผูกระทําผิด ท้ังนี้โทษจําคุกจะทําใหผูตองโทษสํานึกในการกระทํา ซ่ึงมีลักษณะทั้ง
การแกแคน การยบั ยงั้ การปองกนั และการแกไขผกู ระทาํ ความผิด เปนตน แมวา ในปจจบุ นั จะไดมกี าร
ปรบั ปรงุ ใหม คี วามกา วหนา ทงั้ ในดา นสถานท่ี การจดั ระบบในการปกครอง การฝก อบรม การใหก ารศกึ ษา
การใหก ารรกั ษาพยาบาล โดยมงุ แกไ ขความประพฤตขิ องผกู ระทาํ ผดิ ใหไ ดป รบั ตวั เปน คนดกี ต็ าม แตโ ดย
ลกั ษณะของโทษจาํ คกุ แลว ไมเ หมาะกบั ผกู ระทาํ ความผดิ เลก็ ๆ นอ ย ๆ ซง่ึ การเขา ไปอยรู ว มกบั ผกู ระทาํ
ผิดอื่น อาจทําใหไดรับผลรายจากการจําคุกได เชน มีพฤติกรรมการเลียนแบบของผูถูกจําคุกรายอื่น
หรอื ไดร บั การแนะนาํ จากผถู กู จาํ คกุ ไปในทางทผ่ี ดิ การลงโทษสาํ หรบั ผฝู า ฝน กฎหมายจราจรในปจ จบุ นั
แมก ฎหมายจะกาํ หนดโทษจําคุกไวใ นความผดิ บางมาตรากต็ าม แตศาลมักไมใ ชโทษจําคกุ แกผกู ระทาํ
ความผดิ กฎหมายจราจร ดวยเหตผุ ลดงั กลาว
๒) โทษปรับ เปนโทษที่ใชสําหรับกรณีความผิดเล็กนอย โดยผูกระทําความผิดจะตอง
ชําระเงินตามจํานวนที่กําหนดไวในคําพิพากษาของศาล หรือตามที่เจาพนักงานเปรียบเทียบปรับ
โทษปรับเปนโทษที่ใชกันมาก นอกจากจะเปนการลงโทษเพ่ือมิใหผูถูกลงโทษกระทําความผิดน้ันอีก
และใหผ อู นื่ เหน็ เปน ตวั อยา งและเกดิ ความเกรงกลวั ไมก ลา กระทาํ ผดิ เชน นนั้ ในภายหนา อกี และนอกจากนี้
การลงโทษปรบั เงนิ คาปรับยงั เปนรายไดของรฐั อีกดว ย
จากการท่ีไดศึกษามาตรการลงโทษตอผูกระทําผิดกฎหมายท่ีเก่ียวของกับงานดานการ
จราจร โดยสวนใหญจะเปนโทษปรับมากกวาโทษจําคุก ดวยเหตุผลท่ีเปนที่ยอมรับในนานาประเทศ
มาเปนเวลานานแลววา การกระทําความผิดทางอาญาในคดีเล็กนอยท่ีผูกระทําผิดไมควรจะตอง
รับโทษถึงจําคกุ โทษปรับเปนการลงโทษในทางทรัพยสินท่ีดที ่สี ดุ ทางหนึ่ง และจะหลกี เลย่ี งการลงโทษ
จาํ คกุ ระยะสน้ั ซงึ่ ไมม ีประโยชนต อ ตัวผกู ระทําผิดไมว ากรณใี ด



๓) มาตรการทางปกครอง ไดแก การยึดใบอนุญาตขับข่ี การสั่งพักการใชใบอนุญาต
ออกปายภาษีประจําปช่ัวคราว ๓๐ วัน ตัดคะแนนความประพฤติของผูขับขี่ หรือการสั่งเพิกถอน
ใบอนุญาตขับขี่ของผูกระทําผิด โดยเจาพนักงานหรือโดยคําพิพากษาของศาล แลวแตกรณี ซึ่งมี
จดุ ประสงคเ พอื่ ลงโทษ และเปน สภาพบงั คบั เพอื่ ใหเ กดิ ความปลอดภยั โดยการทาํ ใหไ มม สี ทิ ธใิ นการใชร ถ



º··Õè ò

öáÅÐãºÍ¹ÞØ Òμ¢ºÑ Ã¶

ËÑÇ¢ŒÍสํา¤ÑÞ·èÕ¼ÙŒºÑ§¤ÑºãªŒ¡®ËÁÒÂà¡ÕèÂǡѺ¡ÒèÃҨ÷ء¤¹¨ÐμŒÍ§ÁÕ¤ÇÒÁÃÙŒáÅÐࢌÒã¨
㹡®ËÁÒ·Õàè ¡èÕÂǢ͌ §à»š¹ÍÂÒ‹ §´Õ 䴌ᡋ

ñ. ö
เรือ่ งของ “ö” กฎหมายทเ่ี กยี่ วกับการจราจรไดใ หความหมายไว ดังน้ี
ก. พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ (มาตรา ๔ (๑๕ - ๒๖)) “รถ” หมายความวา

ยานพาหนะทางบกทกุ ชนิด เวนแต รถไฟ และรถราง (ชนิดของรถ ยังแยกออกเปน ชนิดตาง ๆ อกี เชน
รถยนต รถจกั รยานยนต รถจกั รยาน รถฉกุ เฉนิ รถบรรทกุ รถบรรทกุ คนโดยสาร รถโรงเรยี น รถโดยสาร
ประจําทาง รถแทก็ ซ่ี รถลากจูง รถพว ง ซ่งึ มีหมายความหรอื คําจาํ กดั ความตางกนั ไป

ข. พ.ร.บ.รถยนต พ.ศ. ๒๕๒๒ “รถ” หมายความวา รถยนต รถจักรยานยนต
รถพวง รถบดถนน รถแทรกเตอร และรถอ่ืนตามท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง (รถยนต รถยนตส าธารณะ
รถยนตบ รกิ าร รถยนตส ว นบคุ คล รถจกั รยานยนต รถพว ง รถบดถนน รถแทรกแตอร กม็ คี าํ จาํ กดั ความ
ตา งกนั ออกไปอกี )

ค. พ.ร.บ.การขนสงทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ “รถ” หมายความวา ยานพาหนะทกุ ชนดิ
ทใ่ี ชใ นการขนสง ทางบก ซงึ่ เดนิ ดว ยกาํ ลงั เครอ่ื งยนต กาํ ลงั ไฟฟา หรอื พลงั งานอนื่ และหมายความรวม
ตลอดถึงรถพว งของรถนนั้ ดวย ทง้ั น้ี เวน แตร ถไฟ

¢ŒÍÊѧà¡μ คําวา “รถ” ตามหมายความของกฎหมายแตละฉบับน้ันมีความหมาย
ไมเหมอื นกนั

ปจจุบันลักษณะของรถ เครื่องอุปกรณและสวนควบของรถ ถูกกําหนดไวตาม
พระราชบญั ญตั ริ ถยนต พ.ศ. ๒๕๒๒ และพระราชบญั ญตั กิ ารขนสง ทางบก สาํ หรบั ผบู งั คบั ใชก ฎหมาย
เมื่อพบเห็น “รถ” อันดับแรก ควรพิจารณาใหไดวา เปนรถที่จดทะเบียนตามพระราชบัญญัติรถยนต
พ.ศ. ๒๕๒๒ หรือตามพระราชบัญญัติการขนสงทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ โดยพิจารณาจากลักษณะรถ
และปา ยทะเบยี น หลงั จากนนั้ ตอ งพจิ ารณาวา คนขบั รถมใี บอนญุ าตขบั รถถกู ตอ งตามประเภทรถหรอื ไม
มกี ารใชร ถตรงตามประเภททจ่ี ดทะเบยี นไวห รอื ไม และพจิ ารณาวา รถคนั ดงั กลา วนนั้ ดาํ เนนิ การถกู ตอ ง
ตามทก่ี ฎหมายกําหนดไวหรอื ไม เชน การจดทะเบยี น การเสยี ภาษปี ระจาํ ป และการมีเครอ่ื งอุปกรณ
สวนควบครบถูกตองตามกฎหมาย หรือเปนรถท่ีไดรับการยกเวนตามขอกฎหมายหรือไม (พ.ร.บ.
รถยนตฯ มาตรา ๘, ๙)



ñ.ñ “ö” μÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμÃÔ ¶Â¹μ ¾.È. òõòò
รถตามพระราชบัญญัติรถยนต พ.ศ. ๒๕๒๒ สามารถแบงตามลักษณะ

และการใชงานของรถไดเ ปน ประเภท ดงั นี้
๑. รถยนตนั่งสวนบคุ คลไมเ กิน ๗ คน (รย. ๑)
๒. รถยนตน ่ังสวนบุคคลเกิน ๗ คน (รย. ๒)
๓. รถยนตบ รรทกุ สว นบุคคล (รย. ๓)
๔. รถยนตส ามลอ สว นบคุ คล (รย. ๔)
๕. รถยนตร บั จางระหวา งจังหวดั (รย. ๕)
๖. รถยนตรบั จางคนโดยสารไมเกนิ ๗ คน (รย. ๖)
๗. รถยนตส ีล่ อ เล็กรับจา ง (รย. ๗)
๘. รถยนตรบั จางสามลอ (รย. ๘)
๙. รถยนตบริการธรุ กิจ (รย. ๙)
๑๐. รถยนตบรกิ ารทัศนาจร (รย. ๑๐)
๑๑. รถยนตบ ริการใหเ ชา (รย. ๑๑)
๑๒. รถจักรยานยนต (รย. ๑๒)
๑๓. รถแทรกเตอร (รย. ๑๓)
๑๔. รถบดถนน (รย. ๑๔)
๑๕. รถใชงานเกษตรกรรม (รย. ๑๕)
๑๖. รถพว ง (รย. ๑๖)
๑๗. รถจักรยานยนตส าธารณะ (รย. ๑๗)



ÀÒ¾ÅѡɳТͧöáμÅ‹ лÃÐàÀ·μÒÁ ¾.Ã.º.Ã¶Â¹μ ¾.È. òõòò
ñ. Ã¶Â¹μ¹ ѧè ÊÇ‹ ¹º¤Ø ¤ÅäÁà‹ ¡¹Ô ÷ ¤¹ (ÃÂ. ñ)

๑.๑ เกงตอนเดยี ว ๑.๒ เกงสองตอน ๑.๓ เกงสองตอนแวน

๑.๔ เกงสามตอน ๑.๕ เกงสามตอนแวน ๑.๖ น่งั สองตอน

๑.๗ น่ังสองตอนแวน ๑.๘ นงั่ สามตอน ๑.๙ นั่งสามตอนแวน

๑.๑๐ นัง่ สองแถว ๑.๑๑ นง่ั สองตอนสองแถว ๑.๑๒ นง่ั สองตอนทา ยบรรทกุ

๑.๑๓ ประทนุ ตอนเดียว ๑.๑๔ ประทุนสองตอน ๑.๑๕ ตูนง่ั สามตอน
๑.๑๖ รถเฉพาะกิจ

รถเฉพาะกจิ (มอเตอรโฮม) รถเฉพาะกิจ (ถา ยทอดสญั ญาณ) รถเฉพาะกิจ (พยาบาล)
๑.๑๗ รถลักษณะอน่ื



ò. Ã¶Â¹μ¹ è§Ñ ʋǹºØ¤¤Åà¡Ô¹ ÷ ¤¹ (ÃÂ. ò)

๒.๑ เกง สามตอน ๒.๒ เกง สามตอนแวน ๒.๓ เกงสามตอน

๒.๔ นัง่ สามตอนแวน ๒.๕ นงั่ สองตอนสองแถว ๒.๖ นัง่ สองแถว

๒.๗ ตูน ัง่ สามตอน ๒.๘ ตนู ่ังสต่ี อน
๒.๙ รถเฉพาะกิจ

รถเฉพาะกิจ (ตูพ ยาบาล) รถเฉพาะกิจ (มอเตอรโ ฮม)
๒.๑๐ รถลกั ษณะอื่น



ó. Ã¶Â¹μºÃ÷¡Ø ʋǹº¤Ø ¤Å (ÃÂ. ó)

๓.๑ เกงทึบบรรทุก ๓.๒ กระบะบรรทกุ พน้ื เรยี บ ๓.๓ กระบะบรรทกุ (ไมม หี ลงั คา)

๓.๔ กระบะบรรทกุ ๓.๕ กระบะบรรทกุ ๓.๖ กระบะบรรทุก
(มีหลังคา) (เสรมิ กระบะขา ง) (มหี ลงั คาฝาปด ดา นขา ง-ทา ย)

๓.๗ ตูบรรทุก ๓.๘ รถดบั เพลงิ
๓.๙ รถเฉพาะกิจ

รถเฉพาะกจิ (ขยะมลู ฝอย) รถเฉพาะกิจ (ขยะมูลฝอย) รถเฉพาะกจิ (คอนกรีต)

รถเฉพาะกจิ (นํา้ อดั ลม) รถเฉพาะกจิ (น้าํ ) รถเฉพาะกิจ (ซเี มนตผง)
๓.๑๐ รถลักษณะอ่ืน

๑๐

ô. ö¹μʏ ÒÁÅÍŒ ʋǹºØ¤¤Å (ÃÂ. ô)

๔.๑ ประทนุ สองตอน ๔.๒ ประทุนสามตอน ๔.๓ ประทุนสองแถว

๔.๔ กระบะบรรทุกพ้นื เรยี บ ๔.๕ กระบะบรรทุก (ไมม ีหลังคา) ๔.๖ กระบะบรรทกุ (มหี ลงั คา)

๔.๗ กระบะบรรทกุ ๔.๘ กระบะบรรทกุ ๔.๙ ตูบรรทุก
(เสริมกระบะขา ง) (มหี ลงั คาปด ดา นขา ง-ทาย)

๔.๑๐ ลกั ษณะอื่น

õ. ö¹μÃºÑ ¨ŒÒ§ÃÐËÇ‹Ò§¨§Ñ ËÇÑ´ (ÃÂ. õ)

๕.๑ เกงสองตอน ๕.๒ เกงสองตอนแวน ๕.๓ เกง สามตอน

๕.๔ เกง สองตอนแวน ๕.๕ นัง่ สองตอน ๕.๖ นัง่ สองตอนแวน

๕.๗ นง่ั สามตอน ๕.๘ น่งั สามตอนแวน

๑๑

ö. ö¹μÃºÑ ¨ŒÒ§ºÃ÷ء¤¹â´ÂÊÒÃäÁ‹à¡Ô¹ ÷ ¤¹ (ÃÂ. ö)

๖.๑ เกง สองตอน ๖.๒ เกงสองตอนแวน ๖.๓ เกง สามตอน

๖.๔ เกงสามตอนแวน ๖.๕ นง่ั สองตอน ๖.๖ นั่งสองตอนแวน

๖.๗ น่งั สามตอน ๖.๘ นง่ั สามตอนแวน

÷. ö¹μʏ ÅÕè ÍŒ àÅ¡ç ÃºÑ ¨ÒŒ § (ÃÂ. ÷)

น่งั สองตอน

ø. ö¹μÃºÑ ¨ÒŒ §ÊÒÁÅŒÍ (ÃÂ. ø)

๘.๑ ประทุนสองตอน ๘.๒ ประทุนสองแถว

๑๒

ù. Ã¶Â¹μº ÃÔ¡ÒøØáԨ (ÃÂ. ù)

๙.๑ เกงสองตอน ๙.๒ เกง สองตอนแวน ๙.๓ เกง สามตอน

๙.๔ เกงสามตอนแวน ๙.๕ นง่ั สองตอน ๙.๖ นั่งสองตอนแวน

๙.๗ นง่ั สามตอน ๙.๘ นง่ั สามตอนแวน

ñð. Ã¶Â¹μº Ã¡Ô Ò÷ÑȹҨà (ÃÂ. ñð)

๑๐.๑ เกงสองตอน ๑๐.๒ เกงสองตอนแวน ๑๐.๓ เกง สามตอน

๑๐.๔ เกง สามตอนแวน ๑๐.๕ นั่งสองตอน ๑๐.๖ น่ังสองตอนแวน

๑๐.๗ น่งั สามตอน ๑๐.๘ นง่ั สามตอนแวน

๑๓

ññ. Ã¶Â¹μº Ã¡Ô ÒÃãËŒàªÒ‹ (ÃÂ. ññ)

๑๑.๑ เกง สองตอน ๑๑.๒ เกง สองตอนแวน ๑๑.๓ เกงสามตอน

๑๑.๔ เกง สามตอนแวน ๑๑.๕ นั่งสองตอน ๑๑.๖ น่งั สองตอนแวน

๑๑.๗ นง่ั สามตอน ๑๑.๘ นงั่ สามตอนแวน

ñò. ö¨Ñ¡ÃÂҹ¹μÊÇ‹ ¹ºØ¤¤Å (ÃÂ. ñò)

๑๒.๑ จักรยานยนต ๑๒.๒ จักรยานยนตพว งขาง (มีหรือไมม ีหลงั คา)

ñó. öá·Ã¡àμÍÏ (ÃÂ. ñó) กํา˹´ÅѡɳÐμÒÁ¡ÒÃ㪧Œ Ò¹

๑๓.๑ รถขดุ ตกั ๑๓.๒ รถแทรกเตอร ๑๓.๓ รถแทรกเตอรท ใี่ ชใ นการเกษตร

ñô. öº´¶¹¹ (ÃÂ. ñô) äÁμ‹ ÍŒ §กํา˹´ÅѡɳÐ

๑๔

ñõ. ö㪌§Ò¹à¡ÉμáÃÃÁ (ÃÂ. ñõ) äÁμ‹ ŒÍ§กํา˹´ÅѡɳÐ

ñö. ö¾‹Ç§ (ÃÂ. ñö) äÁ‹μÍŒ §กํา˹´Å¡Ñ ɳÐ

ñ÷. ö¨¡Ñ ÃÂҹ¹μʏ Ò¸ÒóР(ÃÂ. ñ÷) äÁ‹μŒÍ§กาํ ˹´ÅѡɳÐ

ที่มา : กรมการขนสง ทางบก
»Ò‡ ·ÐàºÂÕ ¹Ã¶ ตาม พ.ร.บ.รถยนต พ.ศ. ๒๕๒๒ ทะเบียนรถถอื เปน หลักฐานสําคญั
ในการระบุตัวตนของรถที่ถูกตองตามกฎหมาย และใชในการตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎหมาย
กฎหมายจงึ กาํ หนดใหต อ งมกี ารตดิ แผน ปา ยทะเบยี นรถไวใ นตาํ แหนง ทส่ี ามารถเหน็ ไดช ดั เจน และหา ม
เปลย่ี นแปลงหรอื นาํ วสั ดใุ ด ๆ มาปด บงั ทง้ั หมดหรอื บางสว น โดยในกรณแี ผน ปา ยทะเบยี นรถชาํ รดุ หรอื
ลบเลือน ตองมาย่ืนขอรับใหมโดยเร็ว มิฉะนั้นจะมีความผิด อยางไรก็ตามสําหรับปายทะเบียนท่ีถูก
กฎหมายนน้ั กรมการขนสง ทางบก ซงึ่ เปน ผคู วบคมุ ดแู ลรถตามกฎหมาย ๒ ฉบบั คอื พระราชบญั ญตั ริ ถยนต
พ.ศ. ๒๕๒๒ และพระราชบญั ญัตกิ ารขนสง ทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ กําหนดแผน ปา ยทะเบียนรถโดยแบง
ตามประเภทของรถ ดังนี้
แผน ปา ยทะเบยี นรถตามกฎหมายวา ดวยรถยนตมี ๑๗ ลักษณะ ดังนี้
๑. รถยนตนั่งสวนบคุ คลไมเ กิน ๗ คน ปา ยสขี าวอกั ษรดํา
๒. รถยนตน ัง่ สวนบคุ คลเกนิ ๗ คน ปายขาวอกั ษรฟา
๓. รถยนตบ รรทุกสวนบคุ คล ปายสีขาวอักษรสีเขยี ว
๔. รถยนตสามลอสวนบคุ คล ปายสีขาวอักษรสแี ดง
๕. รถยนตรับจา งระหวา งจังหวดั ปา ยสเี หลืองอักษรสแี ดง
๖. รถยนตร ับจา งบรรทุกคนโดยสารไมเ กนิ ๗ คน ปายสีเหลืองอักษรสดี ํา
๗. รถยนตส ี่ลอเล็กรับจาง ปา ยสเี หลอื งอกั ษรสีฟา
๘. รถยนตรบั จา งสามลอ ปายสีเหลอื งอักษรสเี ขียว
๙. รถยนตบรกิ ารธุรกิจ ปา ยสเี ขียวอกั ษรสขี าว

๑๕

๑๐. รถยนตบ รกิ ารทัศนาจร ปายสีเขียวอกั ษรสีขาว
๑๑. รถยนตบ ริการใหเชา ปา ยสเี ขยี วอักษรสขี าว
๑๒.รถจกั รยานยนต ปายสีขาวอักษรสีดาํ
๑๓.รถแทรกเตอร ปา ยสีแสดอกั ษรสดี าํ
๑๔.รถบดถนน ปา ยสีแสดอักษรสีดาํ
๑๕.รถใชง านเกษตรกรรม ปา ยสแี สดอักษรสดี าํ
๑๖. รถพว ง ปายสแี สดอักษรสีดาํ
๑๗.รถจกั รยานยนตรบั จาง ปา ยสเี หลืองอกั ษรสีดาํ

นอกจากน้ยี งั มปี ายแสดงเครอ่ื งหมายพิเศษอ่ืนๆ เชน

ปายแดง สําหรับติดรถเพอ่ื ขายหรอื เพ่ือซอม
ปา ยทะเบียนรถทูต ปายสีขาวอกั ษรสีดาํ
ปา ยทะเบยี นกราฟก สาํ หรบั เลขทะเบยี นทเี่ ปน ทต่ี อ งการหรอื เปน ทน่ี ยิ มทน่ี าํ ออกประมลู
พนื้ แผน ปา ยเปนรูปสถานทีส่ ําคญั หรือเอกลกั ษณแ ตล ะจงั หวัด ตวั อักษรสดี าํ

»ÃÐàÀ·Ã¶ Å¡Ñ É³Ð»‡Ò áÅÐÍμÑ ÃÒÀÒÉÕ สําหรับรถท่ีจดทะเบยี นตามกฎหมายวา ดวย
รถยนต มีดังตอไปนี้

๑. รถยนตนง่ั สวนบุคคลไมเกนิ ๗ คน (รย.๑)
ความยาวไมเ กนิ ๑๒.๐๐ เมตร ความกวา งไมเ กนิ
๒.๕๕ เมตร ความสูงไมเกิน ๔.๐๐ เมตร
กรณคี วามกวา งไมเ กนิ ๒.๓๐ เมตร สูงไดไมเกนิ
๓.๒๐ เมตร

ÍμÑ ÃÒÀÒÉÕ»ÃÐจํา»à‚ ¡çºμÒÁ CC ö

๒. รถยนตน ั่งสวนบคุ คลเกนิ ๗ คน (รย.๒)

ÍÑμÃÒÀÒÉ»Õ ÃÐจํา»‚ࡺç μÒÁนํ้า˹¡Ñ ö ความยาวไมเ กนิ ๑๒.๐๐ เมตร ความกวา งไมเ กนิ
๒.๕๕ เมตร ความสงู ไมเ กนิ ๔.๐๐ เมตร ความสงู
ภายในตองไมนอยกวา ๑.๖๐ เมตร เวนแต
รถนั้นมีความยาวตลอดชองทางเดินไมเกิน
๒ เมตร ความสงู ภายในจะนอ ยกวา ๑.๖๐ เมตร
ก็ได แตต อ งไมนอ ยกวา ๑.๒๐ เมตร
กรณกี วา งไมเ กนิ ๒.๓๐ เมตร สงู ไดไ มเ กนิ ๓.๒๐ เมตร

๑๖

๓. รถยนตบรรทกุ สวนบุคคล (รย. ๓)

อตั ราภาษปี ระจําปเ กบ็ ตามนา้ํ หนักรถ ความยาวไมเ กนิ ๑๒.๐๐ เมตร ความกวา งไมเ กนิ
๒.๕๕ เมตร ความสูงไมเ กิน ๔.๐๐ เมตร
กรณีกวางไมเกิน ๒.๓๐ เมตร สูงไดไมเกิน
๓.๐๐ เมตร

๔. รถยนตส ามลอ สวนบุคคล (รย. ๔)

ความกวางไมเกนิ ๑.๕๐ เมตร ความยาวไมเ กนิ
๔.๐๐ เมตร ความสงู ๒.๐๐ เมตร

อัตราภาษปี ระจาํ ปเ กบ็ ตาม CC
๕. รถยนตร ับจา งระหวางจงั หวดั (รย. ๕)
บรรทุกคนโดยสารไมเกินเจ็ดคน ความกวาง
ไมเ กนิ ๒.๕๐ เมตร ยาวไมเ กนิ ๖ เมตร สงู ไมเ กนิ
๒ เมตร เคร่ืองยนตตองมีความจุกระบอกสูบ
เครอื่ งยนตไ มต าํ่ กวา ๑,๕๐๐ ลกู บาศกเ ซนตเิ มตร

อตั ราภาษีประจําปเ ก็บตามน้าํ หนกั รถ

๖. รถยนตรับจา งบรรทุกคนโดยสารไมเกนิ ๗ คน (รย. ๖)

อัตราภาษปี ระจําปเ ก็บตามน้ําหนักรถ บรรทกุ คนโดยสารไมเ กนิ เจด็ คน ความกวา งไมเ กนิ
๒.๕๐ เมตร ยาวไมเ กนิ ๖ เมตร สงู ไมเ กนิ ๒ เมตร
เคร่ืองยนตตองมีความจุกระบอกสูบเคร่ืองยนต
ไมต ่ํากวา ๑,๕๐๐ ลกู บาศกเซนตเิ มตร
- กรณเี ปน รถแทก็ ซี่ท่ตี ดิ ตง้ั GPS (Taxi OK)
ตองมคี วามกวางไมน อ ยกวา ๑.๗๕ เมตร แตไ ม
เกิน ๒.๕๐ เมตร ยาวไมนอ ยกวา ๔.๕๐ เมตร
แตไ มเ กนิ ๖ เมตร สงู ไมเ กนิ ๒ เมตร และมกี าํ ลงั
ของเครอื่ งยนตหรอื มอเตอรไฟฟา ดังนี้

(๑) กรณใี ชเ ครอ่ื งยนต ตอ งมกี าํ ลงั เครอ่ื งยนต
ไมน อ ยกวา ๘๐ กโิ ลวตั ต

๑๗

(๒) กรณีใชเครื่องยนตและมอเตอรไฟฟา
ตอ งมกี าํ ลงั รวมไมนอ ยกวา ๘๐ กิโลวัตต

(๓) กรณีใชมอเตอรไฟฟาตองมีกําลังพิกัด
ของมอเตอรไฟฟาไมนอยกวา ๑๕ กิโลวัตต
และสามารถขับเคลื่อนรถใหมีความเร็วสูงสุด
ไมน อ ยกวา ๙๐ กม./ชม.
- กรณีเปนรถ Taxi VIP ตองมีความกวาง
ไมน อ ยกวา ๑.๘๐ เมตร แตไมเ กนิ ๒.๕๐ เมตร
แตไ มเ กนิ ๖ เมตร สงู ไมเ กนิ ๒ เมตร และมกี าํ ลงั
ของเคร่อื งยนตห รอื มอเตอรไ ฟฟา ดงั นี้

(๑) กรณใี ชเ ครอื่ งยนต ตอ งมกี าํ ลงั เครอื่ งยนต
ไมน อยกวา ๑๐๐ กโิ ลวัตต

(๒) กรณีใชเคร่ืองยนตและมอเตอรไฟฟา
ตอ งมีกาํ ลงั รวมไมน อยกวา ๑๐๐ กิโลวัตต

(๓) กรณใี ชม อเตอรไ ฟฟา ตอ งมกี าํ ลงั พกิ ดั ของ
มอเตอรไ ฟฟาไมนอ ยกวา ๑๐๐ กิโลวัตต

๗. รถยนตสี่ลอ เล็กรบั จา ง (รย. ๗)

อตั ราภาษปี ระจําปเก็บตามน้าํ หนักรถ ความกวางไมเกนิ ๑.๕๐ เมตร ความยาวไมเกิน
๔ เมตร ความสูงไมเ กิน ๒ เมตร ความสูงภายใน
ไมนอยกวา ๑.๒๐ เมตร เคร่ืองยนตมีความจุ
ในกระบอกสูบรวมกันไมเกิน ๘๐๐ ลูกบาศก
เซนตเิ มตร

๘. รถยนตรบั จางสามลอ (รย. ๘)

ความกวางไมเกนิ ๑.๕๐ เมตร ความยาวไมเ กนิ
๔ เมตร ความสงู ไมเ กนิ ๒ เมตร ความสงู ภายใน
ไมนอยกวา ๑.๒๐ เมตร เครือ่ งยนตม คี วามจใุ น
กระบอกสบู รวมกนั ไมเ กนิ ๖๖๐ ลกู บาศกเ ซนตเิ มตร

อตั ราภาษปี ระจําปเก็บตามนํา้ หนักรถ

๑๘

๙. รถยนตบริการธรุ กจิ (รย. ๙)
ความกวางไมเกนิ ๒.๕๐ เมตร ความยาวไมเ กนิ
๖ เมตร ความสูงไมเกิน ๒ เมตร เครื่องยนต
ตองมีความจุกระบอกสูบเคร่ืองยนตไมตํ่ากวา
๑,๕๐๐ ลูกบาศกเ ซนตเิ มตร

อัตราภาษีประจาํ ปเก็บตามนา้ํ หนกั รถ
๑๐. รถยนตบ ริการทัศนาจร (รย. ๑๐)
ความกวา งไมเ กนิ ๒.๕๐ เมตร ความยาวไมเกนิ
๖ เมตร ความสงู ไมเ กนิ ๒ เมตร เครอื่ งยนตข นาด
ความจกุ ระบอกสูบเครอ่ื งยนตไ มต ํา่ กวา ๑,๕๐๐
ลกู บาศกเซนติเมตร

อตั ราภาษปี ระจาํ ปเก็บตามนํ้าหนกั รถ
๑๑. รถยนตบรกิ ารใหเ ชา (รย. ๑๑)
ความกวา งไมเกิน ๒.๕๐ เมตร ความยาวไมเกิน
๖ เมตร ความสูงไมเกิน ๒ เมตร เคร่ืองยนต
มีขนาดความจุกระบอกสูบเครื่องยนตไมตํ่ากวา
๑,๕๐๐ ลกู บาศกเ ซนติเมตร

อตั ราภาษปี ระจําปเ ก็บตามนาํ้ หนกั รถ
๑๒. รถจกั รยานยนตสว นบคุ คล (รย. ๑๒)
กวางไมเกิน ๑.๑๐ เมตร ความยาวไมเกิน
๒.๕๐ เมตร ความสูงไมเกิน ๒ เมตร กรณีท่ี
เครอื่ งยนตม คี วามจใุ นกระบอกสบู รวมกนั เกนิ กวา
๒๕๐ ลูกบาศกเซนติเมตร ใหมีความยาวได
ไมเกิน ๓ เมตร

อตั ราภาษเี ก็บเปน รายคัน คนั ละ ๑๐๐ บาท

๑๙

๑๓. รถแทรกเตอร (รย. ๑๓)
กวางไมเกิน ๒.๕๕ เมตร ความยาวไมเกิน
๑๒ เมตร ความสูงไมเกิน ๔ เมตร
กรณีที่รถมีความกวางไมเกิน ๒.๓๐ เมตร ใหมี
ความสูงไดไ มเกนิ ๓ เมตร

อัตราภาษีประจาํ ป
- ไมไดใ ชในการเกษตรเก็บตามนา้ํ หนกั รถ
- ใชใ นการเกษตรเกบ็ เปน รายคนั คนั ละ ๕๐ บาท

๑๔. รถบดถนน (รย. ๑๔)
กวางไมเกิน ๒.๕๕ เมตร ความยาวไมเกิน
๘ เมตร ความสูงไมเ กิน ๔ เมตร

อตั ราภาษีประจําปเกบ็ เปนรายคนั
คันละ ๒๐๐ บาท
๑๕. รถใชง านเกษตรกรรม (รย. ๑๕)
น้ําหนักรถไมเกิน ๑,๖๐๐ กก. ขนาดกวา งไมเ กนิ
๒ เมตร ยาวไมเ กิน ๖ เมตร เคร่อื งยนตต องมี
ความจุกระบอกสูบไมเ กิน ๑,๒๐๐ CC

ไดร ับยกเวนภาษปี ระจําป

๒๐

๑๖. รถพว ง (รย. ๑๖)
กวางไมเกิน ๒.๕๕ เมตร ความยาวไมรวม
แขนพวงไมเกิน ๘ เมตร สูงไมเกิน ๔ เมตร
เวนแตรถมีความกวางไมเกิน ๒.๓๐ เมตร
ใหมคี วามสงู ไดไมเ กนิ ๓ เมตร

ภาษปี ระจาํ ปค นั ละ ๑๐๐ บาท
๑๗. รถจกั รยานยนตส าธารณะ (รย. ๑๗)
กวางไมเกิน ๑.๑๐ เมตร ความยาวไมเกิน
๒.๕๐ เมตร ความสูงไมเกิน ๒ เมตร ความจุ
ในกระบอกสูบรวมกันไมเกิน ๑๒๕ ลูกบาศก
เซนตเิ มตร

อตั ราภาษปี ระจาํ ปจดั เกบ็ เปน รายคนั
คนั ละ ๑๐๐ บาท

อางอิง :
- กฎกระทรวงกําหนดลักษณะ ขนาด หรือกําลังของเคร่ืองยนตและของรถที่จะรับจดทะเบียน

เปน รถประเภทตางๆ พ.ศ. ๒๕๔๘
- พระราชบญั ญัติรถยนต พ.ศ. ๒๕๒๒ (อัตราคา ธรรมเนยี ม)

ขอ มลู จาก : กรมการขนสง ทางบก

ñ.ò “ö” μÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμÔ¢¹Ê§‹ ¾.È. òõòò
ประเภทรถทอี่ ยใู นบงั คบั พระราชบญั ญตั กิ ารขนสง ทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ มดี งั น้ี
๑) รถโดยสารรับจางทุกชนิดที่บรรทุกคนโดยสารไดเกิน ๗ คน (แผนปาย

ทะเบยี นทม่ี ีพื้นเปนสีเหลือง ตวั อกั ษรและตัวเลขเปน สดี าํ )
๒) รถยนตบรรทุกรับจางทุกขนาดน้ําหนัก (แผนปายทะเบียนท่ีมีพื้นเปน

สีเหลอื ง ตวั อกั ษรและตวั เลขเปน สดี ํา)
๓) รถโดยสารสว นบคุ คลมนี า้ํ หนกั รถเกนิ ๒,๒๐๐ กโิ ลกรมั (แผน ปา ยทะเบยี น

ทม่ี พี ื้นเปนสีขาว ตัวอักษรและตัวเลขเปน สีดํา)
๔) รถบรรทกุ สว นบคุ คลทม่ี นี าํ้ หนกั รถเกนิ ๒,๒๐๐ กโิ ลกรมั (แผน ปา ยทะเบยี น

ที่มพี ้นื เปนสีขาว ตวั อักษรและตวั เลขเปนสีดาํ )

๒๑

แบง ตามลักษณะของรถท่ีใชมี ๒ ประเภท คอื รถทใี่ ชในการขนสงผูโ ดยสาร
และรถท่ีใชใ นการขนสง สัตวหรอื สิ่งของ
๑. ลักษณะของรถที่ใชในการขนสงผูโดยสาร แบงออกเปน ๗ มาตรฐาน
ตามกฎกระทรวงฉบบั ที่ ๔ พ.ศ.(๒๕๒๔) ออกตามความในพระราชบญั ญตั กิ ารขนสง ทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
มาตรฐาน ๑ รถปรับอากาศพเิ ศษ
มาตรฐาน ๒ รถปรบั อากาศ
มาตรฐาน ๓ รถท่ไี มมีเครอ่ื งปรบั อากาศ
มาตรฐาน ๔ รถสองช้นั
มาตรฐาน ๕ รถพวง
มาตรฐาน ๖ รถกง่ึ พวง
มาตรฐาน ๗ รถโดยสารเฉพาะกจิ
๒. ลักษณะของรถที่ใชในการขนสงสัตวหรือสิ่งของ แบงเปน ๙ ลักษณะ
ตามกฎกระทรวงฉบบั ที่ ๔ พ.ศ.(๒๕๒๔) ออกตามความในพระราชบญั ญตั กิ ารขนสง ทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
ลักษณะ ๑ รถกระบะบรรทุก
ลกั ษณะ ๒ รถตูบรรทกุ
ลกั ษณะ ๓ รถบรรทุกของเหลว
ลักษณะ ๔ รถบรรทกุ วัตถอุ นั ตราย
ลกั ษณะ ๕ รถบรรทุกเฉพาะกิจ
ลักษณะ ๖ รถพวง
ลกั ษณะ ๗ รถกึ่งพว ง
ลกั ษณะ ๘ รถก่งึ พวงบรรทุกวสั ดุยาว
ลกั ษณะ ๙ รถลากจงู
¡ÒÃ椄 à¡μ ประเภทของรถที่จดทะเบียนตาม พ.ร.บ.การขนสงทางบกฯ สามารถสงั เกต
ไดจาก รหสั ตวั เลข ๒ ตัว จะแสดงประเภทการขนสง แลว ตามดว ยตวั เลขอกี ๔ ตัว ซงึ่ เลขรหัส ๒ ตัว
ขางหนาน้ันมกี ารใชแสดงประเภทของรถขนสง ดังน้ี
๑. รถโดยสารประจาํ ทาง ใชห มายเลขต้งั แต ๑๐ ถึง ๑๙
๒. รถขนาดเล็ก ใชหมายเลขต้งั แต ๒๐ ถงึ ๒๙
๓. รถโดยสารไมประจําทาง ใชห มายเลขต้ังแต ๓๐ ถงึ ๓๙
๔. รถโดยสารสวนบคุ คล ใชหมายเลขตง้ั แต ๔๐ ถึง ๔๙
๕. รถบรรทุกไมป ระจําทาง ใชหมายเลขตงั้ แต ๖๐ ถึง ๖๙ และ ๗๐ ถงึ ๗๙
๖. รถบรรทกุ สวนบคุ คล ใชหมายเลขตง้ั แต ๕๐ ถึง ๕๙ และ ๘๐ ถงึ ๙๙

๒๒

»‡Ò·ÐàºÕ¹ แบงออกเปน รถโดยสารและรถบรรทุก โดยใชแผน ปา ยทะเบยี นดังน้ี
รถโดยสาร
๑. รถโดยสารประจาํ ทาง เลขทะเบยี นขน้ึ ตน ดว ยเลข ๑๐-๑๙ ปา ยสเี หลอื งอกั ษรสดี าํ
๒. รถโดยสารขนาดเล็ก เลขทะเบียนขนึ้ ตนดว ย ๒๐-๒๙ ปา ยสีเหลืองอักษรสีดาํ
๓. รถโดยสารไมป ระจาํ ทาง เลขทะเบยี นข้นึ ตนดวย ๓๐-๓๙ ปา ยสเี หลอื งอักษรสดี าํ
เวนแตรถโดยสารไมประจําทางชนิดพิเศษ (VIP) จะใชเลขทะเบียนขึ้นตนดวย ๓๖ พื้นแผนปาย
เปน สีขาวตัวอักษรสีฟา
๔. รถโดยสารสวนบคุ คล เลขทะเบยี นขน้ึ ตนดวย ๔๐-๔๙ ปา ยสขี าวอกั ษรสีฟา

รถบรรทุก
๑. รถบรรทกุ ไมประจําทาง พื้นแผนปายสเี หลอื ง เลขทะเบยี นขน้ึ ตน ดว ย ๗๐-๗๙
๒. รถบรรทุกสวนบุคคล พ้ืนแผนปายสีขาว เลขทะเบียนขึ้นตนดวย ๕๐ - ๖๙
และ ๘๐ - ๙๙
หมายเหตุ ปจ จบุ ันยังไมมีการจดทะเบียนรถบรรทุกประเภทประจําทาง

ประเภทรถ ลักษณะแผน ปายทะเบยี น สาํ หรับรถตามกฎหมายวาดว ยการขนสงทางบก

มาตรา ๔(๑) การขนสง หมายความวา การขน คน สัตว หรอื สิ่งของ โดยทางบกดวยรถ

ประเภทการขนสง ผูโดยสาร ประเภทการขนสงสัตวและส่ิงของ

ประเภท ตวั อยา งปายทะเบียน ประเภท ตวั อยางปา ยทะเบยี น

๑. การขนสงประจําทาง ๑. การขนสง ไมป ระจาํ ทาง
หมายความวา การขนสง หมายความวา การขนสง
เพื่อสินจางตามเสนทาง เพ่ือสินจางโดยไมจํากัด
ที่คณะกรรมการกาํ หนด เสนทาง

๒. การขนสง ไมป ระจาํ ทาง ๒. การขนสง สว นบคุ คล
หมายความวา การขนสง หมายความวา การขนสง
เพื่อสินจางโดยไมจํากัด เพ่ือการคาหรือธุรกิจ
เสน ทาง ของตนเองดวยรถท่ีมี
นํ้ า ห นั ก เ กิ น ส อ ง พั น
สองรอยกิโลกรัม

๒๓

มาตรา ๔(๑) การขนสง หมายความวา การขน คน สตั ว หรอื ส่งิ ของ โดยทางบกดว ยรถ

ประเภท ตวั อยางปายทะเบียน ประเภท ตวั อยางปายทะเบียน

๓. การขนสงโดยรถ ๔. รถโดยสารสว นบคุ คล
ขนาดเลก็ หมายความวา หมายความวา การขนสง
การขนสงคนหรือสิ่งของ เพ่ือการคาหรือธุรกิจ
หรอื คนและสง่ิ ของรวมกนั ของตนเองดวยรถที่มี
เพื่อสินจางตามเสนทาง น้ํ า ห นั ก เ กิ น ส อ ง พั น
ที่คณะกรรมการกําหนด สองรอยกโิ ลกรัม
ดวยรถท่ีมีน้ําหนักรถ
และนา้ํ หนกั บรรทกุ รวมกนั
ไมเกินสี่พนั กิโลกรัม

öμÒÁ¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞμÑ Ô¡Òâ¹Ê‹§·Ò§º¡
»ÃСͺ´ÇŒ  (ñ) ö·ãèÕ ªãŒ ¹¡Òâ¹Ê‹§¼ŒÙâ´ÂÊÒÃ/(ò) ö·ãèÕ ªŒã¹¡Òâ¹Ê§‹ ÊμÑ ÇᏠÅÐʧèÔ ¢Í§/

(ó) ö¢¹Ò´àÅ¡ç

(๑) รถท่ใี ชในการขนสงผูโดยสาร มี ๗ มาตรฐาน

มาตรฐาน (หลัก)/ มาตรฐาน (ยอย)/ ตวั อยางรถ
ความหมาย ความหมาย

(๑) มาตรฐาน ๑ คอื (ก) หอ งผโู ดยสารแยกจากหอ ง
รถปรบั อากาศพิเศษ ผูขับรถมีเคร่ืองปรับอากาศ

มีหองสุขภัณฑ มีที่เก็บ
สมั ภาระเฉพาะจดั วางทน่ี งั่ ตาม
ความกวา งตวั รถสะดวกสบาย
กวาแบบ (ข) แถวละไมเกิน
๓ ทนี่ ง่ั มอี ปุ กรณป ระชาสมั พนั ธ

(ข) มเี ครอื่ งปรบั อากาศ มหี อ ง
สขุ ภณั ฑ มที เี่ กบ็ สมั ภาระเฉพาะ
จัดวางท่ีนั่งตามความกวาง
ตวั รถ มอี ปุ กรณป ระชาสมั พนั ธ

๒๔

(๑) รถท่ีใชในการขนสงผูโดยสาร มี ๗ มาตรฐาน

มาตรฐาน (หลัก)/ มาตรฐาน (ยอ ย)/ ตวั อยางรถ
ความหมาย ความหมาย

(๒) มาตรฐาน ๒ คอื (ก) จดั วางทนี่ งั่ ผโู ดยสาร เกนิ
รถปรับอากาศ ๓๐ ทน่ี งั่ มเี ครอ่ื งปรบั อากาศ

ไมก าํ หนดทสี่ าํ หรบั ผโู ดยสาร
ยนื

(ข) จดั วางทนี่ ง่ั ผโู ดยสารเกนิ
๓๐ ทน่ี งั่ มเี ครอื่ งปรบั อากาศ
กาํ หนดทสี่ าํ หรบั ผโู ดยสารยนื

(ค) จดั วางทนี่ ง่ั ผโู ดยสารตง้ั แต
๒๑-๓๐ ท่ีน่ัง มีเครื่องปรับ
อากาศ ไมกําหนดที่สําหรับ
ผูโ ดยสารยนื

(ง) จัดวางท่ีนั่งผูโดยสาร
ตง้ั แต ๒๑-๓๐ ทน่ี ง่ั มเี ครอ่ื ง
ปรบั อากาศ กาํ หนดทส่ี าํ หรบั
ผูโดยสารยนื

(จ) จัดวางท่ีนั่งผูโดยสาร
ไมเ กนิ ๒๐ ทนี่ งั่ มเี ครอ่ื งปรบั
อากาศ ไมกําหนดท่ีสําหรับ
ผูโ ดยสารยืน

๒๕

(๑) รถทีใ่ ชใ นการขนสงผูโดยสาร มี ๗ มาตรฐาน

มาตรฐาน (หลัก)/ มาตรฐาน (ยอ ย)/ ตวั อยา งรถ
ความหมาย ความหมาย

(๓) มาตรฐาน ๓ คอื (ก) จดั วางทน่ี งั่ ผโู ดยสารเกนิ
รถไมมีเคร่ืองปรับ ๓๐ ท่ีนงั่ กําหนดที่สาํ หรับ
อากาศ ผูโ ดยสารยืน

(ข) จดั วางทน่ี งั่ ผโู ดยสารเกนิ
๓๐ ทนี่ ง่ั ไมก าํ หนดทสี่ าํ หรบั
ผโู ดยสารยนื

(ค) จัดวางที่นั่งผูโดยสาร
ตง้ั แต ๒๑-๓๐ ทน่ี ง่ั กาํ หนด
ทีส่ ําหรบั ผูโดยสารยนื
(ง) จดั วางทนี่ งั่ ผโู ดยสารตงั้ แต
๒๑-๓๐ ท่ีน่ัง ไมกําหนดท่ี
สําหรับผูโดยสารยืน
(จ) จดั วางทน่ี งั่ ผโู ดยสารตงั้ แต
๑๓-๒๔ ทน่ี งั่ กาํ หนดทส่ี าํ หรบั
ผโู ดยสารยนื หรอื ไมก ็ได

๒๖

(๑) รถทีใ่ ชใ นการขนสงผูโดยสาร มี ๗ มาตรฐาน

มาตรฐาน (หลัก)/ มาตรฐาน (ยอ ย)/ ตัวอยา งรถ
ความหมาย ความหมาย

(ฉ) จัดวางที่นั่งผูโดยสาร
ไมเ กนิ ๑๒ ที่นงั่ ไมก ําหนด
ที่สาํ หรับผโู ดยสารยนื

(๔) มาตรฐาน๔คอื รถ (ก) รถ ๒ ช้ันปรับอากาศ
๒ ชนั้ มหี อ งผโู ดยสาร พิเศษ ท่ีมีแบบ และการจัด
ทง้ั ชนั้ บนและชนั้ ลา ง ที่นั่งผูโดยสารสะดวกสบาย
โดยพนื้ ของผโู ดยสาร กวา (ข) โดยไมกําหนด
ท้งั สองชั้น แยกออก ทส่ี าํ หรบั ผโู ดยสารยนื มเี ครอื่ ง
จากกนั เดด็ ขาด มที าง ปรบั อากาศ มที เ่ี กบ็ สมั ภาระไว
ขน้ึ - ลง ชั้นลา งอยู โดยเฉพาะ มที ส่ี าํ หรบั อาหาร
ดา นขา ง และ มีทาง และเครื่องดื่ม มีอุปกรณ
ขึน้ - ลง ช้ันบน อยู ใหเสียงและประชาสัมพันธ
ภายในตวั รถ อยา งนอ ย และมีหองสุขภัณฑ
๑ ทาง

(ข) รถ ๒ ช้ันปรับอากาศ
ไมก าํ หนดทส่ี าํ หรบั ผโู ดยสารยนื
มีเครื่องปรบั อากาศ มที เ่ี ก็บ
สมั ภาระไวโ ดยเฉพาะ มที ส่ี าํ หรบั
อาหารและเครอ่ื งดมื่ มอี ปุ กรณ
ใหเสียงและประชาสัมพันธ
และมหี องสขุ ภณั ฑ
(ค) รถ ๒ ชั้นปรับอากาศ
ไมก าํ หนดทส่ี าํ หรบั ผโู ดยสาร
ยืนมีเครื่องปรับอากาศแต
ไมมีหองสุขภัณฑ (ท่ีเก็บ
สมั ภาระทสี่ าํ หรบั อาหารและ
เครอื่ งดม่ื อปุ กรณใ หเ สยี งและ
ประชาสมั พนั ธม หี รอื ไมก ไ็ ด)

๒๗

(๑) รถทีใ่ ชใ นการขนสง ผูโดยสาร มี ๗ มาตรฐาน

มาตรฐาน (หลัก)/ มาตรฐาน (ยอ ย)/ ตัวอยา งรถ
ความหมาย ความหมาย

(ง) รถ ๒ ชั้น ปรับอากาศ
ช้ันลาง กําหนดท่ีสําหรับ
ผูโดยสารยืนมีเครื่องปรับ
อากาศแตไมมีหองสุขภัณฑ
และท่ีสําหรับอาหารและ
เครื่องด่ืม (ที่เก็บสัมภาระ
อุ ป ก ร ณ  ใ ห  เ สี ย ง แ ล ะ
ประชาสมั พนั ธม หี รอื ไมก ไ็ ด)

(จ) รถ ๒ ช้ัน ไมมีเคร่ือง
ปรบั อากาศชน้ั ลา ง กาํ หนดที่
สาํ หรับผูโดยสารยืน แตไมมี
หองสุขภัณฑและท่ีสําหรับ
เตรียมอาหารและเครือ่ งดม่ื

(ฉ) รถ ๒ ชนั้ ไมม เี ครอ่ื งปรบั
อากาศ ไมกําหนดท่ีสําหรับ
ผโู ดยสารยนื มที เ่ี กบ็ สมั ภาระ
แตไมมีหองสุขภัณฑและ
ที่สําหรับเตรียมอาหารและ
เครื่องดื่ม

(๕) มาตรฐาน ๕ คอื (ก) รถพวงปรับอากาศ ที่
รถพวง ซ่ึงไมมีแรง สําหรับผูโดยสารยืน ที่เก็บ
ขับเคล่ือนในตัวเอง สัมภาระ ท่ีสําหรับเตรียม
จําเปนตองใชรถอื่น อาหารและเครอ่ื งดมื่ อปุ กรณ
ลากจงู และนา้ํ หนกั รถ ใหเสียงและประชาสัมพันธ
รวมน้ําหนักบรรทุก หรือไมก็ได และสุขภัณฑ
ทั้งหมด ลงบนเพลา หรอื ไมก ไ็ ด
ลอสมบูรณในตัวเอง
มที างขน้ึ -ลงดา นขา ง

๒๘

(๑) รถท่ีใชในการขนสงผโู ดยสาร มี ๗ มาตรฐาน

มาตรฐาน (หลัก)/ มาตรฐาน (ยอ ย)/ ตวั อยางรถ
ความหมาย ความหมาย

(ข) รถพวงไมมีเครื่องปรับ
อากาศ ทส่ี าํ หรบั ผโู ดยสารยนื
ทเ่ี กบ็ สมั ภาระ ทสี่ าํ หรบั เตรยี ม
อาหารและเครอ่ื งดมื่ อปุ กรณ
ใหเสียงและประชาสัมพันธ
หรือไมก็ได และสุขภัณฑ
หรือไมก ็ได

(๖) มาตรฐาน ๖ คอื (ก) รถก่ึงพวงปรับอากาศ
รถกง่ึ พว ง ซง่ึ มี ๒ ตอน ทส่ี ําหรบั ผโู ดยสารยนื ทีเ่ กบ็
ตอนทายมีเพลาลอ สมั ภาระ ทสี่ าํ หรบั เตรยี มอาหาร
ชดุ เดยี ว นาํ มาตอ พว ง และเครอื่ งดมื่ อปุ กรณใ หเ สยี ง
กบั ตอนหนา ทาํ ใหมี และประชาสมั พนั ธห รอื ไมก ไ็ ด
ทางเดินตอถึงกันได และสุขภัณฑห รอื ไมก็ได

(ข) รถกง่ึ พว งไมม เี ครอื่ งปรบั
อากาศ ทส่ี าํ หรบั ผโู ดยสารยนื
ทเ่ี กบ็ สมั ภาระ ทส่ี าํ หรบั เตรยี ม
อาหารและเครอ่ื งดม่ื อปุ กรณ
ใหเสียงและประชาสัมพันธ
หรือไมก็ได และสุขภัณฑ
หรอื ไมกไ็ ด

(๗) มาตรฐาน ๗ คอื
รถโดยสารเฉพาะกิจ
ซ่ึงหมายความวา
รถท่ีใชในการขนสง
ผโู ดยสาร มีลกั ษณะ
พิเศษ เพ่ือใชใน
กจิ การใดกจิ การหนง่ึ
โดยเฉพาะ เชน
รถพยาบาล รถใน
การซอมบํารุงรักษา
รถบริการธนาคาร
เปนตน

๒๙

(๒) รถที่ใชในการขนสงสัตวและส่ิงของมี ๙ ลักษณะ ไดแ ก

ลักษณะรถทีใ่ ชใ นการบรรทุกสัตวหรอื สิง่ ของ ภาพตัวอยา ง

(๑) ลกั ษณะ ๑ คอื รถกระบะบรรทกุ ซงึ่ หมายความวา กระบะบรรทุกพนื้ เรียบ กระบะบรรทุกติดต้งั เคร่ืองทนุ แรง
รถซ่ึงสวนที่ใชในการบรรทุก มีลักษณะเปนกระบะ
โดยจะมีหลังคาหรือไมก็ได รถที่มีเคร่ืองทุนแรง
สําหรบั ยกสง่ิ ของท่จี ะบรรทกุ ในกระบะนั้นๆ รถทม่ี ี
กระบะบรรทุกสามารถยกเทและใหหมายความ
รวมถงึ รถซง่ึ สว นทใี่ ชบ รรทกุ ไมม ดี า นขา งหรอื ดา นทา ย

(๒) ลกั ษณะ ๒ คอื รถตบู รรทกุ หมายความวา รถซงึ่
สว นทใ่ี ชใ นการบรรทกุ มลี กั ษณะเปน ตทู บึ มหี ลงั คา
ถาวร ตวั ถงั บรรทกุ กบั หอ งผขู บั รถจะเปน ตอนเดยี วกนั
หรือแยกกัน และจะมีบานประตู ปด-เปด สําหรับ
การบรรทกุ ท่ดี านขา ง หรอื ดา นทา ยก็ได

(๓) ลกั ษณะ ๓ คอื รถบรรทกุ ของเหลว ซง่ึ หมายความ
วา รถซ่ึงสวนที่ใชในการบรรทุก มีลักษณะเปนถัง
สําหรับบรรทุกของเหลวตามความเหมาะสมกับ
ของเหลวที่บรรทุกน้ัน

(๔) ลักษณะ ๔ คือ รถบรรทุกวัสดุอันตราย ซึ่ง
หมายความวา รถซงึ่ สว นทใ่ี ชใ นการบรรทกุ มลี กั ษณะ
เฉพาะ เพอ่ื ใชใ นการบรรทกุ วสั ดอุ นั ตราย เชน นา้ํ มนั
เชอ้ื เพลิง กาซเหลว สารเคมี เปนตน

(๕) ลกั ษณะ ๕ คอื รถบรรทกุ เฉพาะกจิ ซง่ึ หมายความ รถบรรทุกถังผสมคอนกรตี รถบรรทกุ เครื่องทนุ แรง
วา รถซ่ึงสวนที่ใชในการบรรทุกมีลักษณะพิเศษ
เพื่อใชในกิจการใดกิจการหน่ึงโดยเฉพาะ เชน
รถบรรทกุ ขวดเคร่อื งดื่ม รถผสมซเี มนต เปน ตน

๓๐ ภาพตัวอยาง

(๒) รถท่ใี ชใ นการขนสง สตั วและสงิ่ ของมี ๙ ลักษณะ ไดแ ก

ลกั ษณะรถท่ใี ชในการบรรทุกสัตวห รือสง่ิ ของ
(๖) ลักษณะ ๖ คือ รถพว ง ซึ่งหมายความวา รถท่ี
ไมมีแรงขับเคลื่อนในตัวเอง จําเปนตองใชรถอ่ืน
ลากจูง และน้ําหนักรถรวมนํ้าหนักบรรทุกทั้งหมด
ลงบนเพลาลอสมบูรณในตวั เอง

(๗) ลักษณะ ๗ คือ รถกึ่งพวง ซึ่งหมายความวา
รถทไ่ี มม แี รงขบั เคลอื่ นในตวั เอง จาํ เปน ตอ งใชร ถอน่ื
ลากจูง และนํ้าหนักรถรวมนํ้าหนักบรรทุกบางสวน
เฉลี่ยลงบนเพลาลอของรถคนั ลากจงู
(๘) ลักษณะ ๘ คือ รถก่ึงพวงบรรทุกวัสดุยาว
ซงึ่ หมายความวา รถกง่ึ พว งทม่ี ลี กั ษณะเพอื่ ใชบ รรทกุ
สงิ่ ของทมี่ คี วามยาว โดยมโี ครงโลหะทส่ี ามารถปรบั
ความยาวของชว งลอ ระหวา งรถลากจงู กบั รถกง่ึ พว งได

(๙) ลักษณะ ๙ คือ รถลากจูง ซึ่งหมายความวา
รถทมี่ ลี กั ษณะเปน รถสาํ หรบั ลากจงู รถพว ง รถกง่ึ พว ง
และรถกงึ่ พวงบรรทกุ วสั ดุยาวโดยเฉพาะ

(๓) รถขนาดเลก็ ภาพตวั อยา ง

รถขนาดเล็ก
(๑) รถขนาดเลก็ ไดแก (เปนรถมาตรฐาน ๓ จ หรือ
๓ ฉ ก็ได) รถท่ใี ชในการขนสงผโู ดยสาร และสิ่งของ
รวมกัน มีการขึ้นลงดานขางหรือที่ดานทายของรถ
ทนี่ ง่ั จาํ นวนไมเ กนิ ๒๐ ทนี่ ง่ั และไมก าํ หนดทสี่ าํ หรบั
ผูโดยสาร และมีที่สําหรับบรรทุกสิ่งของรวมไปกับ
ผูโดยสาร (น้ําหนักรถรวมน้ําหนักบรรทุกไมเกิน
สี่พนั กโิ ลกรมั )

๓๑

อางองิ : ๑. พระราชบัญญตั ิการขนสงทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
๒. กฎกระทรวงฉบับท่ี ๔ (พ.ศ. ๒๕๒๔) ออกตามความในพระราชบัญญัติการขนสงทางบก

พ.ศ.๒๕๒๒

ò. ãºÍ¹ÞØ Òμ¢ºÑ Ã¶ã¹»ÃÐà·Èä·Â
ระบบกฎหมายวาดวยใบอนุญาตขับรถของไทยในปจจุบัน พระราชบัญญัติรถยนต

พ.ศ. ๒๕๒๒ และพระราชบัญญัติการขนสงทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ซ่ึงกําหนดใหผูที่ขับรถจะตองมี
ใบอนุญาตขับรถหรือใบอนุญาตเปนผูขับรถ เวนแตผูฝกหัดขับรถยนตตามพระราชบัญญัติรถยนต
พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งมผี ไู ดรับอนุญาตขับรถยนตม าแลว ไมน อยกวา ๓ ป ควบคมุ อยู

ò.ñ ãºÍ¹ØÞÒμ¢ÑºÃ¶μÒÁ ¾.Ã.º.Ã¶Â¹μ ¾.È. òõòò
มาตรา ๔๒ แหงพระราชบัญญัติรถยนต พ.ศ. ๒๕๒๒ บัญญัติใหผูขับรถ

ตองไดร ับใบอนุญาตขบั รถ โดยชนดิ ของใบอนุญาตขับรถตามกฎหมายวา ดว ยรถยนต มีดังน้ี
๑. ใบอนญุ าตขบั รถชนิดชั่วคราว มอี ายุการใชงาน ๒ ป
- ใบอนญุ าตขับรถยนตช ่วั คราว
- ใบอนุญาตขับรถยนตสามลอ ชว่ั คราว
- ใบอนญุ าตขับรถจกั รยานยนตส ว นบคุ คลชวั่ คราว
๒. ใบอนญุ าตขบั รถยนตส วนบุคคล มีอายกุ ารใชงาน ๕ ป
๓. ใบอนุญาตขับรถยนตส ามลอ สวนบคุ คล มอี ายกุ ารใชงาน ๕ ป
๔. ใบอนญุ าตขับรถยนตส าธารณะ มอี ายกุ ารใชง าน ๓ ป
๕. ใบอนุญาตขับรถยนตสามลอสาธารณะ มอี ายุการใชง าน ๓ ป
๖. ใบอนญุ าตขับรถจักรยานยนตสว นบุคคล มีอายกุ ารใชงาน ๕ ป
๗. ใบอนญุ าตขับรถจักรยานยนตส าธารณะ มีอายุการใชง าน ๓ ป
๘. ใบอนุญาตขับรถบดถนน มีอายกุ ารใชง าน ๕ ป
๙. ใบอนญุ าตขับรถแทรกเตอร มีอายกุ ารใชง าน ๕ ป
๑๐. ใบอนุญาตขับรถชนิดอ่ืนนอกจาก (๑) ถงึ (๙)
๑๑. ใบอนญุ าตขบั รถตามความตกลงระหวา งประเทศทป่ี ระเทศไทยเปน ภาคี

(ใบอนุญาตขับรถระหวา งประเทศ) มีอายกุ ารใชง านไมเกนิ ๑ ป

๓๒

รายละเอียด ลักษณะใบอนุญาตขบั รถ แตละประเภท ดังน้ี

มาตรา ๔๓ ใบอนุญาตขับรถ มีดงั นี้

ชนิดใบอนญุ าต ตัวอยาง

(๑) ใบอนญุ าตขบั รถยนตส ว นบคุ คล รถยนต
สามลอ สว นบคุ คล หรอื รถจกั รยานยนต
สวนบคุ คลชั่วคราว

(๒) ใบอนญุ าตขบั รถยนตสว นบคุ คล

(๓) ใบอนุญาตขับรถยนตสามลอ
สวนบุคคล

(๔) ใบอนุญาตขบั รถยนตสาธารณะ

๓๓

ชนิดใบอนุญาต ตวั อยาง

(๕) ใบอนญุ าตขบั รถยนตส ามลอ สาธารณะ

(๖) ใบอนุญาตขับรถจักรยานยนต
สวนบุคคล

(๗) ใบอนญุ าตขบั รถจกั รยานยนตส าธารณะ

(๘) ใบอนุญาตขบั รถบดถนน
(๙) ใบอนุญาตขับรถแทรกเตอร
(๑๐) ใบอนุญาตขับรถชนดิ อืน่ นอกจาก

(๑) ถงึ (๙)

๓๔ ตัวอยา ง

ชนิดใบอนญุ าต

(๑๑) ใบอนุญาตขับรถตามความตกลง
ระหวางประเทศที่ประเทศไทย
เปน ภาคี (ใบอนุญาตขับรถระหวา ง
ประเทศ)

หมายเหตุ :
• ใบอนุญาตเปนผูขับรถในประเภท การขนสงประจําทาง การขนสงไมประจําทาง การขนสงโดยรถ

ขนาดเลก็ ตามกฎหมายวา ดว ยการขนสง ทางบกใหใ ชแ ทนใบอนญุ าตขบั รถยนตส ว นบคุ คลและใบอนญุ าต
ขบั รถยนตส าธารณะได
• ใบอนุญาตเปนผูขับรถในประเภท การขนสงสวนบุคคลตามกฎหมายวาดวยการขนสงทางบกใหใชแทน
ใบอนุญาตขบั รถยนตสวนบุคคลได
อา งอิง : พระราชบญั ญตั ริ ถยนต พ.ศ. ๒๕๒๒
ทม่ี า : ขอ มูลจากกรมการขนสง ทางบก

๓๕

ò.ò ãºÍ¹ØÞÒμ໚¹¼ÙŒ¢ÑºÃ¶μÒÁ ¾.Ã.º.¢¹Ê‹§·Ò§º¡ ¾.È. òõòò แบงเปน
๔ ชนดิ

ชนดิ ที่ ๑ ใบอนุญาตเปนผูขับรถสําหรับขับรถบรรทุกท่ีมีนํ้าหนักรถ และนํ้าหนัก
บรรทกุ รวมกนั ไมเ กนิ สามพนั หา รอ ยกโิ ลกรมั หรอื สาํ หรบั ขบั รถโดยสารทใ่ี ชข นสง ผโู ดยสารไมเ กนิ ยส่ี บิ คน

ชนดิ ที่ ๒ ใบอนุญาตเปนผูขับรถสําหรับขับรถบรรทุกที่มีนํ้าหนักรถและน้ําหนัก
บรรทกุ รวมกนั เกนิ สามพนั หา รอ ยกโิ ลกรมั หรอื สาํ หรบั ขบั รถโดยสารทใี่ ชข นสง ผโู ดยสารเกนิ กวา ยสี่ บิ คน

ชนดิ ท่ี ๓ ใบอนุญาตเปนผูขับรถสําหรับขับรถซ่ึงโดยสภาพใชสําหรับลากจูงรถอ่ืน
หรอื ลอเลอ่ื นทบี่ รรทุกส่งิ ใด ๆ บนลอเลอ่ื นน้ัน

ชนิดท่ี ๔ ใบอนุญาตเปนผขู บั รถสําหรับขบั รถที่ใชขนสง วัตถอุ ันตรายตามประเภท
หรือชนดิ และลักษณะการบรรทุกตามที่อธบิ ดีกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา

ใบอนุญาตแตละชนดิ ใชส บั เปลย่ี นกันไมได เวนแต
(๑) ใบอนญุ าตขบั รถชนดิ ท่ี ๒ ชนดิ ที่ ๓ และชนดิ ท่ี ๔ ใชเ ปน ใบอนญุ าตขบั รถชนดิ ท่ี ๑ ได
(๒) ใบอนญุ าตขบั รถชนดิ ที่ ๓ และชนดิ ท่ี ๔ ใชเ ปน ใบอนญุ าตขบั รถชนดิ ท่ี ๑ และชนดิ ท่ี ๒ ได
(๓) ใบอนญุ าตขบั รถชนดิ ท่ี ๔ ใชเ ปน ใบอนญุ าตขบั รถชนดิ ที่ ๑ ชนดิ ท่ี ๒ และชนดิ ท่ี ๓ ได
ใบอนญุ าตขบั รถแตล ะชนิดขางตน ยงั แบงยอยออกเปน ๒ ประเภท คอื
(๑) สวนบุคคล (บ.) ใชสําหรับขับรถเฉพาะประเภทการขนสงสว นบคุ คลเทา นน้ั
(๒) สาธารณะทุกประเภท (ท.) ใชสําหรับขับรถประเภทการขนสงประจําทาง
การขนสงไมประจําทาง การขนสงโดยรถขนาดเล็ก และยังสามารถขับรถในประเภทการขนสง
สว นบุคคลไดอกี ดว ย

๓๖

แตละชนิด ดงั นี้ รายละเอียด ลักษณะใบอนุญาตขับรถ ตาม พ.ร.บ.ขนสงทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒

ชนิดใบอนญุ าต ตัวอยา งใบอนญุ าต

(๑) ชนิดที่หนึ่ง ใบอนุญาตเปนผูขับรถ
สําหรับรถที่มีน้ําหนักรถ และน้ําหนัก
บรรทุกรวมกันไมเกิน ๓,๕๐๐ กิโลกรัม
ที่ไมไดใชขนสงผูโดยสาร หรือสําหรับ
รถขนสงผูโดยสารไมเกนิ ๒๐ คน

(๒) ชนิดที่สอง ใบอนุญาตเปนผูขับรถ
สาํ หรบั รถทม่ี นี า้ํ หนกั รถ และนา้ํ หนกั บรรทกุ
รวมกันเกินกวา ๓,๕๐๐ กิโลกรัม ท่ีไม
ไดใชขนสงผูโดยสารและสําหรับรถขนสง
ผโู ดยสารเกิน ๒๐ คน

(๓) ชนิดที่สาม ใบอนุญาตเปนผูขับรถ
ซ่ึงโดยสภาพใชสําหรับลากจูงรถอื่น
ลอ เลอื่ นทบ่ี รรทกุ สงิ่ ใดๆ บนลอ เลอื่ นนนั้

(๔) ชนดิ ทสี่ ี่ ใบอนญุ าตเปน ผขู บั รถ สาํ หรบั
รถที่ใชขนสงวัสดุอันตราย ตามประเภท
ชนดิ และลกั ษณะการบรรทกุ ตามทอี่ ธบิ ดี
กาํ หนด

¢ŒÍ¤ÇÃจํา
- ใบอนุญาตเปนผูขับรถ ประเภทสวนบุคคล ตามกฎหมายวาดวยการขนสงทางบก

สามารถใชแทน ใบอนุญาตขบั รถยนตสวนบุคคลตามกฎหมายวาดว ยรถยนตไ ด
- ใบอนุญาตเปนผูขับรถ ประเภททุกประเภท ตามกฎหมายวาดวยการขนสงทางบก

สามารถใชแทน ใบอนุญาตขับรถยนตสวนบุคคล และใบอนุญาตขับรถยนตสาธารณะตามกฎหมาย
วา ดว ยรถยนตได

๓๗

μÇÑ Í‹ҧãºÍ¹ÞØ Òμ¢ÑºÃ¶Â¹μáÅШ¡Ñ ÃÂҹ¹μã¹»¨˜ ¨ºØ ¹Ñ

ภาพใบอนญุ าตขบั รถยนต
ที่มา : โครงการศกึ ษาเพือ่ พฒั นาระบบใบอนุญาตขบั รถใหเ หมาะสมกับประเทศไทย หนา ๒-๒, ๒-๓

๓๘

ภาพใบอนญุ าตขับรถจกั รยานยนต

๓๙

ทมี่ า : สน่ัน จําปา, กรมการขนสง ทางบก, ๒๕๖๐

๔๐

ที่มา : สนั่น จาํ ปา, กรมการขนสง ทางบก, ๒๕๖๐

๔๑

ทมี่ า : สน่ัน จําปา, กรมการขนสง ทางบก, ๒๕๖๐

๔๒

ที่มา : สนั่น จาํ ปา, กรมการขนสง ทางบก, ๒๕๖๐

๔๓

¡Òú§Ñ ¤Ñºãª¡Œ ®ËÁÒ¡óÕท่เี กีย่ วขอ งกบั ใบอนุญาตขบั รถ (㺢ºÑ ¢è)Õ
กฎหมายจราจรที่มีบทบัญญัติเก่ียวของกับเร่ืองใบอนุญาตขับขี่น้ันมี ๓ ฉบับ คือ
พระราชบัญญัติรถยนต พ.ศ. ๒๕๒๒ และพระราชบัญญัติขนสงทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ และพระราช
บญั ญตั จิ ราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ โดยแบง เปน ประเดน็ ตางๆ ดังน้ี
º·ºÑÞÞμÑ Ô·àèÕ ¡ÂèÕ Ç¡ÑºãºÍ¹ØÞÒμ¢ÑºÃ¶ ตามพ.ร.บ.รถยนต ๒๕๒๒
ตามพ.ร.บ.รถยนต ๒๕๒๒ มาตรา ๔๓ ไดกําหนดชนิดของใบอนุญาต¢ÑºÃ¶
ẋ§Í͡໹š ññ ª¹´Ô ´§Ñ ¹éÕ
ชนิดท่ี ๑ ใบอนญุ าตขบั รถช่วั คราว

- ใบอนุญาตขบั รถยนตส ว นบุคคลช่ัวคราว
- ใบอนญุ าตขบั รถยนตสามลอ สวนบุคคลชว่ั คราว
- ใบอนุญาตขับรถจักรยานยนตสว นบคุ คลชัว่ คราว
ชนดิ ท่ี ๒ ใบอนุญาตขับรถยนตส ว นบุคคล
ชนิดที่ ๓ ใบอนุญาตขับรถยนตสาธารณะ
ชนิดที่ ๔ ใบอนญุ าตขบั รถยนตส ามลอ สวนบคุ คล
ชนดิ ที่ ๕ ใบอนญุ าตขับรถยนตส ามลอสาธารณะ
ชนดิ ที่ ๖ ใบอนญุ าตขับรถจักรยานยนตส วนบุคคล
ชนดิ ที่ ๗ ใบอนุญาตขบั รถจักรยานยนตส าธารณะ
ชนิดที่ ๘ ใบอนญุ าตขบั รถบดถนน
ชนดิ ที่ ๙ ใบอนุญาตขบั รถแทรกเตอร
ชนดิ ที่ ๑๐ ใบอนญุ าตขับรถชนิดอืน่ นอกจาก (๑) ถงึ (๙)
ขนิดที่ ๑๑ ใบอนญุ าตขบั รถตามความตกลงระหวา งประเทศทป่ี ระเทศไทยเปน ภาคี
ใบอนุญาตขับรถตาม ๑ ใชสําหรับขับรถยนตบริการใหเชา เฉพาะในกรณีที่ผูขับรถ
เปนผูเชาไดดวย ใบอนุญาตขับรถตาม ๒ ใชสาํ หรับขับรถยนตบริการใหเชาไดดวย ใบอนุญาตขับรถ
ตาม ๔ ใชสําหรับขับรถยนตบริการและใชแทนใบอนุญาตขับรถตาม ๒ ไดดวย ใบอนุญาตขับรถ
ตาม ๕ ใชแ ทนใบอนญุ าตขับรถตาม ๓ ไดดว ย และใบอนุญาตขบั รถตาม ๗ ใชแ ทนใบอนุญาตขบั รถ
ตาม ๖ ไดด วย นอกน้ันใชแทนกนั ไมไ ด
นอกจากนี้ มาตรา ๔๓ ทวิ ใบอนญุ าตเปนผขู ับรถในประเภทการขนสงประจาํ ทาง
การขนสงไมประจําทางหรือการขนสงโดยรถขนาดเล็กตามกฎหมายวาดวยการขนสงทางบก ใหใช
แทนใบอนุญาตขับรถยนตสวนบุคคลตามมาตรา ๔๓ (๒) และใบอนุญาตขับรถยนตสาธารณะตาม
มาตรา ๔๓ (๔) ได
ใบอนญุ าตเปน ผขู บั รถในประเภทการขนสง สว นบคุ คล ตามกฎหมายวา ดว ยการขนสง
ทางบกใหใชแ ทนใบอนุญาตขับรถยนตสว นบคุ คลตามมาตรา ๔๓ (๒) ได

๔๔

¤Ø³ÊÁºμÑ Ô¢Í§¼ÙŒ»ÃÐʧ¤¢ÍãºÍ¹ØÞÒμ¢Ñº¢Õè
มาตรา ๔๖ พระราชบญั ญตั ริ ถยนต บญั ญตั วิ า ผขู อใบอนญุ าตขบั รถตามมาตรา ๔๓ (๑)
ตอ งมีคณุ สมบตั ิและไมมลี กั ษณะตอ งหาม ดงั ตอไปนี้
(๑) มีอายุไมตํ่ากวาสิบแปดปบริบูรณ แตถาเปนผูขอใบอนุญาตขับรถจักรยานยนต
ชั่วคราว สําหรับรถจักรยานยนตความจุกระบอกสูบขนาดไมเกินหนึ่งรอยสิบลูกบาศกเซนติเมตร
ตองมอี ายุไมต ํ่ากวาสิบหาปบรบิ รู ณ
(๒) มีความรูและความสามารถในการขับรถ
(๓) มีความรูในขอบังคับการเดินรถตามพระราชบัญญัติน้ีและตามกฎหมายวาดวย
การจราจรทางบก ในมาตรา ๔๖ น้ี เปนการกําหนดคุณสมบัติของผูที่จะขอใบอนุญาตขับรถยนต
สว นบคุ คล รถยนตส ามลอ สว นบคุ คล หรอื รถจกั รยานยนตช ว่ั คราว ตามมาตรา ๔๓ (๑) โดยกาํ หนดอายวุ า
จะตอ งมอี ายไุ มต ่ํากวา ๑๘ ปบ รบิ รู ณน น้ั แสดงวา รฐั ยอ มเหน็ วา บคุ คลทม่ี อี ายตุ าํ่ กวา ๑๘ ปบ รบิ รู ณน น้ั
ยงั ไมม วี ฒุ ภิ าวะมากพอทจี่ ะควบคมุ ยานพาหนะและขบั ขยี่ านพาหนะอยา งปลอดภยั ได และยงั กําหนด
ใหบุคคลผูที่จะขอใบอนุญาตขับข่ีจะตองมีความรูความสามารถในการขับรถ และมีความรูในขอบังคับ
การเดนิ รถ โดยผขู อใบอนุญาตขับขีจ่ ะตองผานการอบรมกฎหมายจราจร และผานการทดสอบความรู
ในการขบั ขีแ่ ละกฎหมายจราจรท่ีเกี่ยวของในขัน้ ตอนการสอบใบขับข่ี
นอกจากบุคคลท่ีขอใบอนุญาตขับข่ีจะตองมีคุณสมบัติครบถวนตามท่ีบัญญัติไว
ขา งตนแลว บุคคลผขู อใบอนญุ าตขบั ขี่จะตองไมมีลกั ษณะตองหาม ตามทีต่ ามในมาตรา ๔๖ (๑)–(๘)
พระราชบัญญัติรถยนต พ.ศ. ๒๕๒๒ ซ่ึงไดบัญญัติไววา ผูขอใบอนุญาตขับข่ีตามมาตรา ๔๓ (๑)
จะตอ งไมม ีลักษณะตอ งหา มดังตอ ไปนี้
(๑) มีอายุไมต่าํ กวาสิบแปดปบริบูรณ แตถาเปนผูขอใบอนุญาตขับรถจักรยานยนต
สวนบุคคลช่ัวคราว สําหรับรถจักรยานยนตที่มีขนาดความจุของกระบอกสูบรวมกันไมเกินที่กําหนด
ในกฎกระทรวง ตอ งมอี ายุไมต า่ํ กวา สบิ หาปบรบิ รู ณ
(๒) มคี วามรูและความสามารถในการขบั รถ
(๓) มีความรูในขอ บงั คบั การเดนิ รถตามพระราชบัญญัติน้ี และตามกฎหมายวา ดวย
การจราจรทางบก
(๔) ไมเ ปนผมู รี า งกายพกิ ารจนเปน ทเ่ี หน็ ไดวา ไมสามารถขบั รถได
(๕) ไมม โี รคประจําตวั ทผ่ี ปู ระกอบวชิ าชพี เวชกรรมเหน็ วา อาจเปน อนั ตรายขณะขบั รถ
(๖) ไมเ ปน บคุ คลวกิ ลจรติ หรือจิตฟน เฟอน
(๗) ไมมใี บอนุญาตขับรถชนิดเดียวกันอยูแ ลว
(๘) ไมเ ปน ผูอยูในระหวางถกู ยดึ หรอื เพกิ ถอนใบอนุญาตขบั รถ

๔๕

¡ÒâÍÁÕãºÍ¹ØÞÒμ¢ºÑ ¢Õè
มาตรา ๔๕ พระราชบัญญัติรถยนต พ.ศ. ๒๕๒๒ บัญญัติวา ผูใดประสงคจะขอ
ใบอนญุ าตขับรถ ตอ งเปนผมู ีคณุ สมบตั แิ ละไมม ลี กั ษณะตองหา มตามพระราชบัญญตั ิน้ี และยน่ื คาํ ขอ
ตอนายทะเบยี นแหงทองท่ที ี่ตามที่มีภมู ลิ ําเนาหรอื มีถ่ินที่อย”ู
การขอมีใบอนุญาตขับข่ีจึงตองทําการย่ืนคําขอตอนายทะเบียนแหงทองที่
ซ่ึงนายทะเบียนตามมาตรา ๔ พระราชบัญญัติรถยนตมีความหมายวา ขาราชการซึ่งรัฐมนตรีวาการ
กระทรวงคมนาคม แตงต้ังใหเปนนายทะเบียน การออกใบอนุญาตขับข่ีน้ันจึงเปนอํานาจของ
กรมการขนสง ทางบก กระทรวงคมนาคม โดยกําหนดใหห ากผใู ดประสงคจ ะขอใบอนญุ าตขบั รถกส็ ามารถ
ขอใบอนุญาตไดท่ีสํานักงานขนสงจังหวัด ไดทุกจังหวัด เนื่องจากกรมการขนสงทางบกไดมีการแบง
สวนราชการเปนสํานักงานขนสงสวนภูมิภาค ๑๒ ภูมิภาค และแบงสวนราชการเปนสาํ นักงานขนสง
จงั หวดั มีนายทะเบยี นประจาํ อยทู กุ จังหวดั
ÊÃØ» การขอมีใบอนุญาตขับขี่น้ันนอกจากจะตองยื่นคาํ ขอตอนายทะเบียนแลว
ผยู น่ื คําขอยงั จะตอ งมคี ณุ สมบตั คิ รบถว น ไมม ลี กั ษณะตอ งหา มตามพระราชบญั ญตั ริ ถยนต พ.ศ. ๒๕๒๒
และตองมีการทดสอบความรูความสามารถในการขับรถตามกฎหมายจราจรเสียกอน นายทะเบียน
จึงจะสามารถออกใบอนุญาตขับข่ีใหไดซึ่งกรมการขนสงทางบก ไดแบงการทดสอบการขับรถยนต
และรถจักรยานยนตเปน ๓ ข้ันตอน คือ ๑) การทดสอบสมรรถภาพของรางกาย ๒) การทดสอบ
ขอเขยี น และ ๓) การทดสอบขบั รถ
ÍÒÂ¢Ø Í§ãºÍ¹ØÞÒμ¢ºÑ ¢èÕ
พ.ร.บ.รถยนต (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๔๖ มผี ลใชต งั้ แต ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๔๖ เปน ตน ไป
ไดกาํ หนดอายขุ องใบอนุญาตขับขไ่ี วในมาตรา ๔๔ ดังน้ี
๑) ยกเลกิ การออกใบอนญุ าตขบั รถตลอดชพี เวน แตผ ไู ดร บั อยกู อ นแลว สามารถใช
ตอ ไปได
๒) กาํ หนดใบอนญุ าตขบั รถชัว่ คราว มีอายุ ๒ ป
๓) กาํ หนดใหใบอนุญาตขับรถดังตอไปน้ี มีอายุ ๕ ป นับแตวันออกใบอนุญาต
ขบั รถ คอื

๓.๑) ใบอนุญาตขบั รถยนตสว นบุคคล
๓.๒) ใบอนุญาตขับรถยนตส ามลอสวนบคุ คล
๓.๓) ใบอนุญาตขับรถจกั รยานยนต
๓.๔) ใบอนญุ าตขับรถบดถนน
๓.๕) ใบอนญุ าตขบั รถแทรกเตอร
๓.๖) ใบอนญุ าตขับรถชนิดอนื่ ตามมาตรา ๔๓ (๙)

๔๖

๔) กาํ หนดใหใ บอนญุ าตขบั รถยนตส าธารณะ และใบอนญุ าตขบั รถสามลอ สาธารณะ
มอี ายุ ๓ ป นบั แตว นั ออกใบอนญุ าต และลดอายขุ องผรู บั ใบอนญุ าตจากเดมิ อายไุ มต ่ํากวา ๒๕ ปบ รบิ รู ณ
เปน อายไุ มตํา่ กวา ๒๒ ปบ รบิ รู ณ

๕) กาํ หนดใหวันครบกาํ หนดใบอนญุ าต ซ่งึ ไมต รงกับวนั ครบรอบวนั เกิดของผูไ ดรบั
ใบอนุญาตขับรถ ใหขยายตอไปจนถงึ วันครบรอบวนั เกดิ ของผูไ ดร ับใบอนญุ าตขบั รถในปน นั้ หรือในป
ถดั ไปแลว แตก รณี โดยใหถ อื วา วนั ครบรอบวนั เกดิ เปน วนั ทใี่ บอนญุ าตขบั รถครบกาํ หนดอายุ สว นกรณี
ที่ผไู ดรบั ใบอนุญาตขบั รถเกิดในวนั ท่ี ๒๙ กมุ ภาพนั ธ และในปที่ใบอนุญาตขับรถครบกําหนดอายุ ไมม ี
วันท่ี ๒๙ กุมภาพันธ ใหถ อื เอาวันที่ ๒๘ กุมภาพนั ธ เปนวนั ครบรอบวันเกดิ

การขอตออายุใบอนุญาตขับรถ และการอนุญาต ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ
และเงือ่ นไขทก่ี าํ หนดในกฎกระทรวง

¡Ã³¼Õ ¢ŒÙ ºÑ ö໹š ªÒÇμÒ‹ §´ÒŒ Ç
พระราชบญั ญตั ริ ถยนต พ.ศ. ๒๕๒๒ มาตรา ๔๒ วรรค ๒ ไดก าํ หนดไวว า ในกรณี
ท่ีผูขับรถเปนคนตางดาวซ่ึงไดรับอนุญาตใหอยูในราชอาณาจักรเปนการช่ัวคราวตามกฎหมายวาดวย
คนเขา เมอื ง ผขู บั รถซง่ึ เปน คนตา งดา วนนั้ จะใชใ บอนญุ าตขบั รถตามมาตรา ๔๒ ทวิ ขบั รถในราชอาณาจกั ร
ก็ได และในกรณีนี้จะตองมีใบอนุญาตขับรถดังกลาวพรอมดวยเอกสารตามท่ีระบุไวในอนุสัญญาและ
หรอื ความตกลงทม่ี อี ยรู ะหวา งรฐั บาลไทยกบั รฐั บาลของประเทศนนั้ ๆ เพอ่ื แสดงตอ เจา พนกั งานไดท นั ที
มาตรา ๔๒ ทวิ ในกรณีที่มีความตกลงระหวางรัฐบาลไทยและรัฐบาลตางประเทศ
วาดวยการยอมรับใบอนุญาตขับรถภายในประเทศซ่ึงกันและกัน คนตางดาวซึ่งไดรับอนุญาตใหอยู
ในราชอาณาจักรเปนการช่ัวคราวตามกฎหมายวาดวยคนเขาเมือง และมีใบอนุญาตขับรถท่ีออก
โดยพนักงานเจาหนาท่ีหรือสมาคมยานยนตท่ีไดรับอนุญาตจากรัฐบาลของประเทศท่ีมีความตกลง
ดังกลาวกับรัฐบาลไทย อาจใชใบอนุญาตขับรถของประเทศน้ันขับรถในราชอาณาจักรไดตามประเภท
และชนิดของรถท่ีระบุไวในใบอนุญาตขับรถน้ัน แตตองปฏิบัติตามอนุสัญญาและหรือความตกลง
ที่มีอยูระหวางรัฐบาลไทยกับรัฐบาลของประเทศนั้นๆ และตามบทบัญญัติทั้งหลายในสวนที่เก่ียวกับ
หนาทขี่ องผขู ับรถตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
อํา¹Ò¨¢Í§à¨ÒŒ ¾¹Ñ¡§Ò¹¨ÃÒ¨Ã
มาตรา ๔๒ พระราชบัญญัติรถยนต พ.ศ. ๒๕๒๒ บัญญัติวา “ผูขับรถตองไดรับ
ใบอนุญาตขับรถ และตองมีใบอนุญาตขับรถและสําเนาภาพถายใบคูมือจดทะเบียนรถในขณะขับ
หรอื ควบคมุ ผฝู ก หดั ขับรถเพื่อแสดงตอ เจาพนกั งานไดท นั ที เวน แตผฝู กหัดขับรถยนตต ามมาตรา ๕๗”
มาตรา ๖๔ ผใู ดขบั รถโดยไมไ ดร บั ใบอนญุ าตขบั รถ ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ หนง่ึ เดอื น
หรือปรบั ไมเกนิ หน่ึงพันบาท หรือท้ังจําท้งั ปรบั
มาตรา ๖๕ ผใู ดขบั รถเมอื่ ใบอนญุ าตขบั รถสน้ิ อายหุ รอื ระหวา งถกู เพกิ ถอนใบอนญุ าต
ขบั รถหรอื ถูกยดึ ใบอนญุ าตขับรถ ตอ งระวางโทษปรับไมเกนิ สองพนั บาท


Click to View FlipBook Version