The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

9_CI22501_การสืบสวนสอบสวน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-07-05 10:03:34

9_CI22501_การสืบสวนสอบสวน

9_CI22501_การสืบสวนสอบสวน

วิชา สส. (CI) ๒๒๕๐๑

การสืบสวนสอบสวน

ตําÃÒàÃÂÕ ¹

ËÅÑ¡ÊÙμà ¹Ñ¡àÃÂÕ ¹¹ÒÂÊºÔ ตําÃǨ

ÇÔªÒ ÊÊ. (CI) òòõðñ ¡ÒÃÊº× ÊǹÊͺÊǹ

เอกสารนี้ “໚¹¤ÇÒÁÅѺ¢Í§·Ò§ÃÒª¡ÒÔ หามมใิ หผูหนงึ่ ผใู ดเผยแพร คดั ลอก ถอดความ
หรอื แปลสว นหนงึ่ สว นใด หรอื ทง้ั หมดของเอกสารนเ้ี พอ่ื การอยา งอนื่ นอกจาก “à¾Í×è ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒͺÃÁ”
ของขาราชการตํารวจเทาน้ัน การเปดเผยขอความแกบุคคลอ่ืนท่ีไมมีอํานาจหนาที่จะมีความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา

¡Í§ºÞÑ ªÒ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ สาํ ¹¡Ñ §Ò¹ตํา¾ÃÇ.Ȩá.òËõ§‹ ªöÒôμÔ

คํานํา

หลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจ (นสต.) เปนหลักสูตรการศึกษาอบรมท่ีมีเปาหมาย
เพื่อเสริมสรางใหบุคคลภายนอกผูมีวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) หรือ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา ที่เขารับการฝกอบรมมีความรู ความสามารถ และ
ทักษะวิชาชีพตาํ รวจ รวมถึงพัฒนาบุคลิกภาพรางกายใหเหมาะสมสําหรับการปฏิบัติงานตํารวจ
ในกลุมสายงานปองกันปราบปราม ตลอดจนเตรียมความพรอมทางดานจิตใจและวุฒิภาวะใหมี
จติ สํานกึ ในการใหบ ริการเพอ่ื บําบัดทกุ ขบ ํารุงสขุ ของประชาชนเปน สาํ คญั

กองบัญชาการศึกษา ไดรวมกับ ครู อาจารย และครูฝก ในสังกัดกองบังคับการ
ฝกอบรมตาํ รวจกลาง และกลมุ งานอาจารย กองบัญชาการศึกษา ศูนยฝกอบรมตํารวจภูธรภาค ๑ - ๙
และกองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน ตลอดจนผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก จัดทําตาํ ราเรียน
หลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจชดุ นี้ ซงึ่ ประกอบดว ยองคค วามรตู า งๆ ทจ่ี ําเปน ตอ การพฒั นาศกั ยภาพ
ของนกั เรยี นนายสบิ ตํารวจใหเ ปน ขา ราชการตาํ รวจทพี่ งึ ประสงคข องประชาชน เพอ่ื ใชส ําหรบั ประกอบ
การเรียนการสอนนักเรียนนายสิบตํารวจใหมีความพรอมทั้งดานความรู ความสามารถ กําลังกาย
และจติ ใจ จนสามารถเปน ขา ราชการตาํ รวจทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหบ รกิ ารสงั คมและประชาชนไดอ ยา งตรงตาม
ความตอ งการอยางแทจ รงิ และมคี วามพรอมในการเขาสปู ระชาคมอาเซยี น

ขอขอบคุณครู อาจารย ครูฝก และผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ที่ไดรวมกันระดมความคิด
ใหคาํ ปรึกษา คาํ แนะนาํ ประสบการณที่เปนประโยชน รวมถึงการถายทอดองคความรู
ที่เปนประโยชน จนทาํ ใหการจัดทําตาํ ราเรียนหลักสูตรนักเรียนนายสิบตาํ รวจสําเร็จลุลวงไดดวยดี
ซ่ึงกองบัญชาการศึกษาหวังเปนอยางย่ิงวาตําราเรียนชุดน้ีคงเปนประโยชนตอการจัดการเรียน
การสอนและการจัดการฝกอบรมของครู อาจารย และครูฝก รวมตลอดถึงใชเปนคูมือการปฏิบัติงาน
ของขาราชการตํารวจ อันจะสงผลทาํ ใหสํานักงานตํารวจแหงชาติสามารถสรางความเชื่อมั่น ศรัทธา
และความผาสุกใหแ กประชาชนไดอ ยา งแทจ ริง

พลตํารวจโท
( อภิรตั นยิ มการ )
ผูบ ัญชาการศกึ ษา

ÊÒúÑÞ Ë¹ÒŒ

ÇªÔ Ò ¡ÒÃÊº× ÊǹÊͺÊǹ ñ

º··èÕ ñ º··èÑÇä» ๒
๑.๑ ความหมายการสบื สวน ๓
๑.๒ ผูม อี ํานาจในการสบื สวนและเขตอาํ นาจของการสืบสวน ๖
๑.๓ คณุ สมบตั ิของผสู บื สวน ๑๐
๑.๔ งานสืบสวนในสถานีตาํ รวจ ๑๖
๑.๕ ประเภทและวิธกี ารสบื สวน ñù
๑.๖ การสอบสวน ๑๙
๑๙
º··èÕ ò ¢ÍŒ à·ç¨¨Ã§Ô ๑๙
๒.๑ ความหมาย ๒๗
๒.๒ ขอเทจ็ จรงิ กบั ขอ คิดเห็น ó÷
๒.๓ การแสวงหาขอ เทจ็ จรงิ จากการซักถาม ๓๗
๒.๔ การแสวงหาขอ เทจ็ จริงโดยวิธกี ารอน่ื ๔๕
öù
º··èÕ ó ¡ÒÃáÊǧËÒ¾ÂÒ¹ËÅÑ¡°Ò¹ ๖๙
๓.๑ การแสวงหาพยานหลกั ฐานจากการจับ/คน/ยึด ๗๒
๓.๒ พยานหลักฐานท่ีไดจากการลอ ซอ้ื ๗๔
÷ù
º··èÕ ô °Ò¹¢ŒÍÁÙÅ㹡ÒÃÊ׺Êǹ ๗๙
๔.๑ ฐานขอ มูลการสบื สวนระดับสถานตี ํารวจ ๘๑
๔.๒ ฐานขอ มลู การสืบสวนระดบั สํานักงานตาํ รวจแหงชาติ ๘๓
๔.๓ ฐานขอ มูลการสืบสวนจากหนวยงานอน่ื ๙๘
๑๐๐
º··Õè õ à·¤¹Ô¤¡ÒÃÊ׺Êǹ
๕.๑ เทคนคิ การสังเกตจดจํา
๕.๒ เทคนิคการสาํ รวจสถานท่ี
๕.๓ เทคนคิ การเฝา จดุ ติดตามสะกดรอย
๕.๔ การอําพราง
๕.๕ เทคนคิ การถายภาพในงานสืบสวน

๕.๖ เทคนกิ การไลก ลอ งวงจรปด ˹Ҍ
๕.๗ เทคนคิ การสืบคนขอ มลู ทางอนิ เทอรเ น็ต ๑๐๕
๕.๘ การวิเคราะหขอ มลู ดว ยโปรแกรม I๒ ๑๐๗
๕.๙ เทคนคิ เครอ่ื งมอื พิเศษ ๑๐๙
º··èÕ ö àÍ¡ÊÒÃสาํ ËÃºÑ ¡ÒÃÊ׺Êǹ ๑๑๐
๖.๑ เอกสารทว่ั ไป ññ÷
๖.๒ เอกสารหมายอาญา ๑๑๗
º··èÕ ÷ á¹Ç·Ò§¡ÒÃÊº× Êǹ¤´áÕ μ‹ÅлÃÐàÀ· ๑๕๘
๗.๑ แนวทางการสืบสวนคดปี ระทษุ รา ยตอ ชวี ติ รางกาย ñöù
๗.๒ แนวทางการสืบสวนคดปี ระทุษรา ยตอ ทรพั ย ๑๖๙
๗.๓ แนวทางการสบื สวนคดีเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร ๑๗๔
๗.๔ แนวทางการสืบสวนคดียาเสพตดิ ๑๗๕
º··èÕ ø ÃÐàºÂÕ º·Õèà¡ÂèÕ Ç¢ÍŒ §¡Ñº¡ÒÃÊ׺Êǹ ๑๗๘
๘.๑ ระเบยี บเก่ียวกับการสบื สวน ñøó
๘.๒ ระเบียบเกยี่ วกับการจบั /คน/ควบคุม ๑๘๓
๑๘๔



º··Õè ñ

º··èÇÑ ä»

ñ.ñ ¤ÇÒÁËÁÒ¡ÒÃÊ׺Êǹ

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ÁÒμÃÒ ò (ñð) “การสืบสวน หมายความถึง การแสวงหาขอเท็จจริงและหลักฐาน
ซ่ึงพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจไดปฏิบัติไปตามอํานาจและหนาที่ เพ่ือรักษาความสงบเรียบรอย
ของประชาชน และเพื่อที่จะทราบรายละเอยี ดแหงความผดิ ”
จากบทบัญญัติของมาตรา ๒ (๑๐) อาจจําแนกองคประกอบของการสบื สวนไดดงั น้ี
๑. เปน การแสวงหาขอ เท็จจริง
๒. เปน การแสวงหาหลักฐาน
๓. กระทําโดยเจา พนกั งานฝายปกครองหรือตํารวจ
๔. โดยมีอาํ นาจและหนา ท่ี
๕. เพือ่ รักษาความสงบเรยี บรอ ยของประชาชน
๖. เพอื่ ทราบรายละเอียดแหงความผดิ
จากความหมายของการสบื สวนดงั กลา วนน้ั จงึ อาจสรปุ ไดว า การสบื สวนเปน การดาํ เนนิ การ
ขน้ั ตน ของพนกั งานฝา ยปกครองหรอื ตาํ รวจ ซงึ่ ไดป ฏบิ ตั ไิ ปตามอาํ นาจหนา ทเี่ พอ่ื บรรลถุ งึ วตั ถปุ ระสงค
ในดานการรักษาความสงบเรียบรอยของประชาชน และเพื่อท่ีจะทราบรายละเอียดแหงความผิดใน
สาระสําคัญ ๓ ประการ อันเปนหลักสากล คือ จะตองสืบสวนใหพบไดวามีการกระทําผิดกฎหมาย
เกดิ ขนึ้ จรงิ หรอื ไม ถา มกี ารกระทาํ ผดิ เกดิ ขนึ้ จรงิ แลว เปน คดอี ะไร ใครเปน ผกู ระทาํ ผดิ ในคดนี น้ั จนกระทง่ั
เขา สกู ระบวนการนําตวั คนรา ยมาดําเนนิ คดีตามกฎหมาย
ËÇÑ ã¨¢Í§¡ÒÃÊ׺Êǹ



ñ.ò ¼ÁÙŒ อÕ ํา¹Ò¨ã¹¡ÒÃÊ׺ÊǹáÅÐà¢μอาํ ¹Ò¨¢Í§¡ÒÃÊº× Êǹ

ประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา
“ÁÒμÃÒ ò (ñö) พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ หมายความถึง เจาพนักงาน
ซง่ึ กฎหมายใหม อี าํ นาจและหนา ทร่ี กั ษาความสงบเรยี บรอ ยของประชาชน ใหร วมทงั้ พศั ดี เจา พนกั งาน
กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร กรมเจาทา พนักงานตรวจคนเขาเมืองและเจาพนักงานอื่นๆ ในเมื่อ
ทาํ การอนั เกย่ี วกบั การจบั กมุ ปราบปรามผกู ระทาํ ผดิ กฎหมาย ซง่ึ ตนมหี นา ทต่ี อ งจบั กมุ หรอื ปราบปราม”
“ÁÒμÃÒ ñ÷ พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจมีอํานาจทําการสืบสวนคดีอาญาได”
ผูท่ีจะมีอํานาจในการสืบสวนคดีอาญาไดนั้น หากดูตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญาแลว ผูมีอํานาจในการสืบสวนได คือ พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจนั้นเอง ทั้งน้ี
ไมจํากัดวาเปนชั้นยศใด จะเปนสิบตํารวจตรีจนถึงพลตํารวจเอก ก็มีอํานาจสืบสวนไดเชนเดียวกัน
อกี ทงั้ เจาพนักงานตาํ รวจทกุ ตาํ แหนง ทุกสายงาน เชน อาํ นวยการ จราจร มอี าํ นาจในการสืบสวน
ไดท้ังส้ิน ไมจํากัดวาจะตองเปนเจาพนักงานตาํ รวจท่ีไดรับการแตงตั้งใหดาํ รงตาํ แหนงในสายงาน
สืบสวนเทาน้นั
ฎีกาที่ ๒๓๙๐/๒๕๒๗จาสิบตํารวจประสงค รับราชการเปนตาํ รวจซ่ึงมีหนาท่ีปฏิบัติ
หนาที่ราชการโดยไดรับการแตงตงั้ ตามกฎหมาย ยอ มเปน เจาพนักงาน แมข ณะเกดิ เหตจุ ะถูกสง ตวั ไป
ชวยราชการกองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายใน มีตาํ แหนงหนาที่เปนหัวหนาชุดคุมครองตําบล
ปากหมัน มีหนาท่ีคุมครองหมูบานและตาํ บล ปองกันการกระทําอันเปนคอมมิวนิสต แตโดยท่ัวไป
จาสิบตํารวจประสงคยังมีอํานาจสืบสวนคดีอาญาไดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๑๗
ฎีกาที่ ๑๖๗๐/๒๕๐๙ ตํารวจประจําการกองบังคับการตํารวจดับเพลิงจับกุมผูเสียหาย
ฐานขายยาผิดประเภท แลวเรียกเงินเพ่ือไมใหจับกุม เปนการกระทําที่ทุจริตตอหนาที่ จะอางวา
เปนตํารวจดับเพลิงมีอํานาจดับเพลิงเทานั้น ไมไดมีอํานาจหนาท่ีในการสืบสวนจับกุมผูกระทําผิด
หาไดไม เพราะหนาทีด่ ับเพลงิ เปนหนาทีเ่ ฉพาะตามทีท่ างราชการแตงตง้ั ใหปฏบิ ัติ แตโดยทั่วไปแลวจําเลย
ยอมมีอํานาจทําการสืบสวนคดีอาญาไดตามกฎหมาย การที่จําเลยเรียกและรับเงินจากผูเสียหาย
เพอื่ ไมทาํ การจับกมุ ยอ มมีความผิดฐานทจุ ริตตอหนาที่
ในสวนของฝายปกครองนั้นหมายความรวมถึง นายอําเภอ ปลัดอําเภอ กํานัน
ผใู หญบ า น รวมถงึ เจา พนกั งานอน่ื ๆ กม็ อี าํ นาจสบื สวนไดท งั้ สนิ้ เหตทุ เ่ี ปน เชน ดงั กลา วกเ็ พราะพนกั งาน
ฝายปกครองหรือตํารวจนั้น หมายความถึงเจาพนักงาน ซ่ึงกฎหมายใหมีอํานาจและหนาท่ีรักษา
ความสงบเรียบรอยของประชาชน ทั้งนี้ ใหรวมถึงพัศดี เจาพนักงานสรรพสามิต กรมศุลกากร
กรมเจา ทา พนกั งานตรวจคนเขา เมอื งและเจา พนกั งานอนื่ ๆ ในเมอ่ื ทาํ การเกย่ี วกบั การจบั กมุ ปราบปราม
ผกู ระทาํ ผิด ซงึ่ ตนมีหนาทีต่ อ งจับกมุ หรอื ปราบปราม
สาํ หรับในเรือ่ งเขตอาํ นาจการสืบสวนคดอี าญานนั้ ในประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความ
อาญามไิ ดม บี ทบญั ญตั ริ ะบเุ รอ่ื งเขตอาํ นาจการสบื สวนไวโ ดยเฉพาะ เชน เรอ่ื งเขตอาํ นาจการสอบสวน
ดงั นนั้ ตาํ รวจจงึ มอี าํ นาจและหนา ทสี่ บื สวนคดอี าญา เหตกุ ารณท งั้ หลายทเ่ี กย่ี วแกค วามสงบเรยี บรอ ย
ไดทัว่ ราชอาณาจักร



»ÃÐÁÇÅÃÐàºÕº¡ÒÃตําÃǨà¡ÂèÕ Ç¡ºÑ ¤´Õ Å¡Ñ É³Ð ò ¡ÒÃÊ׺Êǹ º··Õè ñ ËÅ¡Ñ ·èÑÇä»
¢ŒÍ ö เมอื่ กฎหมายใหอ าํ นาจพนกั งานฝา ยปกครองและตาํ รวจ มหี นา ทร่ี กั ษาความสงบ
เรียบรอยของประชาชน เชนนี้ ตาํ รวจจงึ มีอํานาจและหนา ที่สบื สวนคดีอาญา และเหตุการณท งั้ หลาย
ท่ีเก่ียวแกความสงบเรยี บรอยไดท ่วั ราชอาณาจกั ร
ฎกี าที่ ๔๗๑๑/๒๕๔๒ จําเลยท่ี ๓ เปนเจาพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ มีอํานาจ
จบั กมุ ผกู ระทาํ ความผดิ อาญาไดท ว่ั ราชอาณาจกั ร แมข ณะเกดิ เหตจุ าํ เลยที่ ๓ จะมหี นา ทใ่ี นการบรรเทา
สาธารณภัยก็ไมทําใหอํานาจท่ีจําเลยท่ี ๓ มีอยูตามกฎหมายสูญส้ินไป จําเลยท่ี ๓ ยังคงมีอํานาจ
อยูโดยบริบูรณในฐานะเจาพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจผูมีอํานาจหนาที่สืบสวนจับกุมผูกระทํา
ความผิดอาญา ตามประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญามาตรา ๒(๑๖) การทีจ่ ําเลยท่ี ๓ จับกมุ โจทก
โดยมไิ ดร บั อนุญาตจากผบู งั คับบัญชากอนไมม ีผลกระทบกระทง่ั ตอ อาํ นาจทีจ่ าํ เลยท่ี ๓ มีอยแู ลวตาม
กฎหมาย
ฎีกาท่ี ๑๒๕๙/๒๕๔๒ แมจาสิบตาํ รวจ ส.เปนเจาพนักงานตํารวจประจาํ สถานี
ตาํ รวจนครบาลบางขนุ เทียนกต็ าม แตต าม ป.ว.ิ อ.มาตรา ๒ (๑๖) จา สิบตาํ รวจ ส.มีอาํ นาจและหนา ที่
รักษาความสงบเรียบรอยของประชาชน ทําการจับกุมปราบปรามผูกระทําผิดกฎหมายได และยังมี
อํานาจทาํ การสบื สวนคดอี าญาได ตาม ป.วิ.อ.มาตรา ๑๗ อํานาจจบั กมุ ผกู ระทําผิดและสบื สวนคดีอาญา
ดงั กลา วน้ี ไมม บี ทบญั ญตั กิ ฎหมายใด จํากดั ใหป ฏบิ ตั หิ นา ทไ่ี ดเ ฉพาะในเขตทอ งทท่ี เี่ จา พนกั งานตํารวจ
ผูนั้นประจาํ การอยูเทานั้น เจาพนักงานตาํ รวจดังกลาว จึงมีอาํ นาจจับกุมผูกระทาํ ผิดและสืบสวน
คดีอาญาไดทั่วราชอาณาจักร ดังน้ัน จาสิบตํารวจ ส.ยอมมีอํานาจที่จะไปจับกุมจําเลยท่ี ๑ ซ่ึงมีที่อยูใน
เขตทองที่ สถานีตํารวจนครบาลวัดพระยาไกร ได เวนแตลักษณะการจับที่ไมมีหมายจับเปนไป
โดยมิชอบตาม ป.ว.ิ อ.มาตรา ๗๘, ๘๑ และ ๙๒ หรอื ไมเ ทา น้นั
แตเขตอํานาจการสืบสวนของพนักงานฝายปกครอง มีอํานาจสืบสวนในเขตอํานาจท่ีอยู
ในความรบั ผดิ ชอบเทา นนั้ ถา เปน กาํ นนั กเ็ ฉพาะในเขตตาํ บลทตี่ นมเี ขตพน้ื ทรี่ บั ผดิ ชอบ ถา เปน ผใู หญบ า น
กเ็ ฉพาะในเขตหมบู า นเทา นนั้ เนอ่ื งจากพนกั งานฝา ยปกครองมบี ทบญั ญตั ขิ องพระราชบญั ญตั ลิ กั ษณะ
ปกครองทอ งท่ี พ.ศ.๒๔๕๗ กําหนดเขตอํานาจหนา ทีไ่ วโ ดยเฉพาะ
¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞμÑ ÔÅѡɳл¡¤Ãͧ·ÍŒ §·èÕ ¾.È.òôõ÷
ÁÒμÃÒ ñð ผใู หญบ า นมอี ํานาจหนา ทีป่ กครองบรรดาราษฎรท่ีอยูในเขตหมูบ า น
ฎกี าท่ี ๑๔๐/๒๔๙๐ ตํารวจมอี ํานาจสบื สวนคดอี าญาไดท่วั ราชอาณาจักร สวนพนกั งาน
ฝา ยปกครองมีอาํ นาจสืบสวนไดอ ยา งจาํ กดั เฉพาะในเขตทองท่ที ต่ี นประจาํ อยูเทา นน้ั

ñ.ó ¤Ø³ÊÁºμÑ Ô¢Í§¼ŒÊÙ º× Êǹ

การเปนนักสืบนั้นเปนไดทุกคนไมวาจะเปนราษฎรหรือตํารวจทุกชั้นยศ แตทุกคนควรรูถึง
เทคนิควิธีการในการสืบสวน การท่ีจะเปนนักสืบที่เกงหรือที่ดีมีประสิทธิภาพนั้นเปนเร่ืองท่ียาก ตองมี
ความมานะอดทนและใชความพยายามสูง บางคดีตองอดทน บางคดีตองใชเวลาสืบสวนหารองรอย
เปน ระยะเวลานานมาก สาํ หรบั คณุ สมบตั ขิ องนกั สบื ทด่ี จี งึ ควรยดึ ËÅ¡Ñ ø Ã. คอื “Ã¡Ñ ÃͺÌ٠ÃàÔ ÃÁèÔ ÃÇ´àÃÇç
Ãͺ¤Íº ÃѺ¼Ô´ªÍº äÃÃŒ ‹Í§ÃÍ àÃÍ×è §Ã‹Ò§¡Ò” ซึง่ มรี ายละเอียดดงั นี้



ñ. μŒÍ§ÁÕã¨ÃÑ¡ บุคคลที่จะเขามาเปนสายลับหรือนักสืบที่ดีไดน้ัน อันดับแรกตองมีใจ
รักงานสืบสวน กลาวคือ งานใดก็ตามโดยธรรมชาติของมนุษยแลวถาไดทาํ งานที่ตนเองรักและชอบ
แลวยอมประสบความสาํ เร็จ และงานนั้นก็จะบรรลุผลตามที่ตองการ แตถาหากถูกบังคับใหทํางานท่ี
ไมชอบและเปนงานท่ีไมถนัดและไมมีใจรักแลว ก็อาจกอใหเกิดปญหาในงานนั้น โดยเฉพาะงานดาน
การสืบสวนเปน งานท่ีจะตอ งใชความอดทนอดกล้ันและตอ งมคี วามขยันหมนั่ เพียร จึงจะทําใหผลงาน
ออกมาอยางมีประสิทธิภาพเพราะงานสืบสวนเปนงานยากและตอเนื่อง สําหรับผูท่ีจะปฏิบัติงาน
ในดา นนคี้ นทจี่ ะมาเปน นกั สบื ทด่ี นี น้ั จะตอ งมคี วามชอบ ความรกั ความเสยี สละเพอ่ื งาน อกี ทงั้ ตอ งเตม็
ไปดวยความอดทน อดกล้นั ขยนั และกระตอื รอื รน ในการทาํ งานอยตู ลอดเวลา

ò. μÍŒ §Á¤Õ ÇÒÁÃͺÃÙŒ นกั สบื ท่ีดีตอ งมคี วามรอบรูดงั น้ี
๒.๑ ตองรูตัวบทกฎหมาย ระเบียบ คําสั่ง กฎ ขอบังคับระเบียบงานสารบรรณ

ตลอดจนการเขยี นรายงานการสบื สวน ตอ งมกี ารศกึ ษาคน ควา อยตู ลอดเวลาเนอ่ื งจากปจ จบุ นั ทงั้ ระเบยี บ
คาํ สงั่ และกฎหมายบางอยา งไดเ ปลยี่ นแปลงแกไ ขใหม ถา ยดึ หลกั เกา อยกู อ็ าจจะผดิ พลาดและเกดิ ปญ หา
กับระบบงาน นําความเสียหายมาสหู นว ยงานและตนเองได

๒.๒ ตองรูจักวิธีการสืบสวนกอนเกิดเหตุเปนอยางดี นักสืบที่ดีตองรูจักคนทุกวัย
ทุกอาชีพ ทุกประเภทและจะตองมีการสังเกตจดจาํ ที่ดี การสืบสวนนั้นแมวาความผิดยังไมเกิดนักสืบ
ตองเสาะแสวงหา และมีความรูถึงขอมูลตางๆ ใหมากท่ีสุด เพ่ือท่ีจะใชเปนแนวทางในการสืบสวน
และปอ งกันอาชญากรรมได

ความรทู ว่ั ไปในทอ งถน่ิ ตอ งรจู รงิ หลบั ตามองเหน็ ภาพตรอกซอยตา งๆ บา น
บคุ คลสาํ คญั บา นนกั ธรุ กจิ บา นในยา นชมุ ชนแออดั โดยเฉพาะบา นในยา นทมี่ กี ารกระทาํ ผดิ กฎหมาย

ความรูเกี่ยวกบั ประวัตบิ ุคคล ไมวาจะเปน บุคคลตอ งหาคดอี าญาหรือบคุ คล
พนโทษบคุ คลที่เปน ภัยตอ สังคม เจา มอื สถานบรกิ าร บอนการพนัน พวกซือ้ ของเกา มอื ปน

๒.๓ รูจักแสวงหาขาวจากแหลงขาวสารจากสถานท่ีตางๆ เชน รานอินเทอรเน็ต
รา นตดั ผม อูซอมรถยนตต างๆ ไนตค ลบั หญิงบริการ หญิงเสิรฟ อาหาร พนกั งานตอ นรับ รานถา ยรปู
รานถายเอกสาร พนกั งานกรรมการบรษิ ทั ขนสง บุรษุ ไปรษณีย เปน ตน บุคคลเหลานี้เปน แหลงขาวท่ี
จําเปนสําหรับงานสืบสวนอยางมาก จึงตองรูจักบุคคลหลากหลายประเภท โดยเฉพาะชาวบานตอง
สรา งความรวมมือใหเ กดิ ขน้ึ ตองใหเกียรตแิ ละยกยองผูอ ่ืนไมด ถู กู

๒.๔ ตอ งมคี วามรเู ร่อื งยทุ ธวิธตี าํ รวจ นักสบื ที่ดจี ะตองหมั่นฝก ฝนหาความรเู ร่ือง
ยทุ ธวธิ ตี ํารวจทง้ั หลาย ไมว า จะเปน ยทุ ธวธิ กี ารปด ลอ ม ตรวจคน การจบั กมุ การใชอ าวธุ และควรศกึ ษา
ขอ มูลของคนรายใหด ีกอ นวา เปน คนรายประเภทใด เมายาบา บาคลงั่ จับตวั ประกนั หรือมอื ปนรบั จา ง
ขอมูลเหลานี้จะเปนเครื่องบงชี้ในการตัดสินใจของนักสืบวาจะตองใชวิธีใดเขาทําการจับกุม เพื่อลด
ความสญู เสียทีจ่ ะเกิดขึน้ ไดต ลอดเวลา



ó. μŒÍ§ÁÕ¤ÇÒÁÃÔàÃèÔÁ นักสืบที่ดีจะตองมีความคิดริเร่ิมหาแนวทางในการปรับปรุง
และพัฒนางานสบื สวนใหเกิดความสะดวกรวดเรว็ และมีประสิทธิภาพจึงควรดําเนนิ การดังนี้

๓.๑ ปรับปรุงตัวบุคคลฝายสืบสวนใหมีจํานวนเพียงพอและมีคุณภาพ มีความรู
ความสามารถไดร บั การฝก อบรมใหท นั ตอ วทิ ยาการตาํ รวจแผนใหม ซงึ่ มกี ารพฒั นากา วหนา อยตู ลอดเวลา

๓.๒ ปรับปรุงพัฒนาการเก็บขอมูลทะเบียนประวัติอาชญากรรมตางๆ ภาพถาย
คนรา ยและขอ มลู ทอ งถน่ิ ทกุ ระดบั ใหม รี ะบบการเกบ็ รวบรวมทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ มกี ารแยกแยะประเภท
ของการกระทาํ ความผดิ งา ยตอการคน หา เมือ่ ตอ งการและใหม ีการแลกเปลยี่ นขาวสารประสานงานกนั
ระหวา งหนว ยงานเสมอ

๓.๓ นําเทคโนโลยีเขามาชวยในการสืบสวน เชน คอมพิวเตอร กลองซีซีทีวี
เครอ่ื งถายวดี โี อ โทรศัพทมอื ถือ กลอ งถายรูป เปนตน

ô. μŒÍ§Á¤Õ ÇÒÁÃÇ´àÃçÇ นกั สบื ท่ีดจี ะตอ งยึดหลัก รุก รบ รวดเรว็ ทันทีทันใดเม่ือมีเหตุ
หรือคดีเกดิ ข้นึ จะตองปฏบิ ตั ดิ ังน้ี

๔.๑ ตองรีบไปท่ีเกิดเหตุโดยทันที เพราะถาคนรายหลบหนีไปไมไกลสามารถ
ติดตามจับกุมไดทันหรือถาคนรายหลบหนีไปแลวก็จะพบเห็นพยานหลักฐานไดมากที่สุดและทําให
ชาวบานเชอ่ื ถือวา ตํารวจใหความสนใจและอาจพบปะพยานท่ีเห็นเหตุการณอ ยบู รเิ วณท่ีเกิดเหตุ

๔.๒ ตองรกั ษาสถานท่เี กิดเหตเุ พือ่ ใหวทิ ยาการมาทําการตรวจสถานท่เี กิดเหตุ
๔.๓ พยายามตรวจคนท่ีเกิดเหตุและบริเวณใกลเคียงใหละเอียดเพ่ือแสวงหา
พยานหลักฐานทค่ี นรายท้งิ ไว
๔.๔ สอบถามพยานในที่เกิดเหตุเพ่ือหาขอเท็จจริงเบื้องตนใหมากท่ีสุดสําหรับ
ใชเปนแนวทางในการสืบสวน
õ. Ãͺ¤Íº ผสู บื สวนจะตอ งมคี วามละเอียดรอบคอบในการทํางานไมว า จะเปน การ
ตรวจสถานทเี่ กิดเหตุ การตดิ ตามจับกมุ คนราย การหาขา ว การสังเกตจดจาํ มไี หวพริบปฏภิ าณในการ
ทํางาน ไมตกใจงาย ไมประมาท กระทําการดวยปญ ญา ดังนั้นจงึ ตองมกี ารเตรียมการที่ดี ตองมีการ
วางแผนลว งหนาและตอ งวางแผนภายในขีดจํากดั ของหนวยใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ
ö. ÃºÑ ¼Ô´ªÍº นักสบื ทด่ี จี ะตอ งรบั ผิดชอบตอตนเอง เชน มคี วามซ่อื สตั ย ไมมนี ิสัยคดิ โกง
ไมส รางความเดอื ดรอ นใหกับผูอ่นื ไมเ ลน การพนนั ไมป ระพฤติผิดลกู เมียผอู น่ื ไมพ ูดปดหรอื โกหก
รบั ผดิ ชอบตอ งาน เชน มกี ารรายงานผลการปฏบิ ตั ิ ไมท งิ้ งานโดยไมม เี หตผุ ล รกั ษาความลบั ของหนว ย
มีความจริงใจตองานและเพ่ือนรวมงาน และรับผิดชอบตอสวนรวม เชน มีความสามัคคีในหมูคณะ
ชว ยเพ่ือนทํางาน ไมเอารัดเอาเปรยี บเห็นแกสว นรวมมากกวา สวนตัว เปนตน
÷. äÌËͧÃÍ นักสืบที่ดีตองทํางานโดยไรรองรอย ทั้งกอนหนาและหลังทํางานแลว
ตอ งวางแผนในการสบื สวนใหรอบคอบ
๗.๑ กอนทํางานตองมีการพรางตัวหรือปลอมตัวเขาไปปฏิบัติงาน โดยไมใหผูใด
เห็นรอ งรอยวา มาทําอะไร ทีใ่ ด เพือ่ เขา กบั ประชาชนและทอ งถิ่นไดอยา งกลมกลืน



๗.๒ หลังทํางานตองปกปดไมใหผูใดรูวาเปนตํารวจหรือสายสืบเขาไปหาขาว
เพอ่ื ความปลอดภยั ของตนเองและผูท ่ีเราเขา ไปขอขา ว

ø. àÃÍ×è §ÃÒ‹ §¡Ò นกั สบื ทดี่ จี ะตอ งมกี ารฝก ฝนออกกาํ ลงั กาย เตรยี มพรอ มในเรอ่ื งกาํ ลงั
ทจี่ ะทาํ งานไดท กุ สถานการณ มสี ภาพจติ ใจทเี่ ขม แขง็ อดทน โดยเฉพาะการตดิ ตามจบั กมุ คนรา ยในพน้ื ท่ี
ทรุ กันดารหรือพ้นื ท่ปี า

โดยสรุปนักสืบที่มีคุณภาพน้ันตองมีใจรัก มีความวิริยะอุตสาหะ มีความฉลาด
ไหวพริบดีและมุงมั่นท่ีจะทํางานนั้นใหประสบผลสําเร็จไมทอถอยหรือสืบสวนเพียงครึ่งๆ กลางๆ
แลวก็หยุด บางคร้ังเมื่อพบอุปสรรค ก็หมดความพยายามไมทดลองหาวิธีการสืบสวนดานอ่ืนตอไป
จึงตองระลึกเสมอวาอาชญากรรมทุกประเภทตองทิ้งรองรอยหรือพยานหลักฐานไวเสมอ
พยานหลักฐานน้ันพบไดในท่ีเกิดเหตุหรือบริเวณใกลเคียงน่ันเอง ขึ้นอยูกับตัวนักสืบวาสามารถที่จะ
คน พบพยานหลกั ฐานดงั กลา วหรอื ไม นอกจากนนั้ จะตอ งอาศยั ความรทู างวทิ ยาการตาํ รวจเขา มาปรบั
ใชใ นการสบื สวน การนําพยานหลกั ฐานท่ีไดจ ากการสืบสวนเขา มาสูส ํานวน ซ่งึ มีรายละเอยี ดในการ
สบื สวนตงั้ แตก อ นเกดิ เหตจุ นสามารถจบั กมุ คนรา ยได และสามารถนาํ พยานบคุ คลมาเบกิ ความยนื ยนั
การกระทําผดิ จนศาลพพิ ากษาคดีลงโทษผูก ระทําผดิ จงึ ถอื วา ไดทําหนาที่โดยครบถว นสมบรู ณแ ลว

ñ.ô §Ò¹Êº× Êǹã¹Ê¶Ò¹ÕตําÃǨ

ตามคําส่ัง สํานักงานตํารวจแหงชาติ ท่ี ๕๓๗/๒๕๕๕ เร่ือง กําหนดอํานาจหนาท่ีของ
ตาํ แหนงในสถานี ไดก ําหนดอํานาจหนาท่ีของตาํ แหนงฝา ยสืบสวนในสถานตี ํารวจไว ดังตอไปน้ี

ËÑÇ˹ŒÒ§Ò¹Êº× Êǹ มีหนาทดี่ งั นี้
เปน หวั หนา ผปู ฏบิ ตั งิ านสบื สวน รบั ผดิ ชอบเกย่ี วกบั การวางแผน อาํ นวยการ สงั่ การ ควบคมุ
กํากับ ดแู ล ตรวจสอบ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล ตลอดจนการปฏิบตั ิงานในดานการสืบสวนท่เี กย่ี วกบั
คดอี าญาทเ่ี กดิ ข้นึ รวมท้งั งานอนื่ ๆ ทมี่ ีลักษณะเกี่ยวของหรอื เปนสวนประกอบของงานน้ใี นเขตพ้นื ท่ี
ของสถานีตํารวจ เพื่อแสวงหาพยานหลักฐานและผูกระทําความผิดอันเปนการอํานวยความยุติธรรม
ใหแ กป ระชาชนในการสบื สวนคดอี าญาใหเ กดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ โดยจาํ แนกออกเปน งานตา ง ๆ ดงั น้ี
๑. งานสืบสวนการกระทําความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา การกระทําความผิด
ตามพระราชบัญญัติตาง ๆ ท่ีมีโทษทางอาญา และการปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา
๒. งานพัฒนากําลังพล งบประมาณ วัสดุอุปกรณ เทคโนโลยี และวิทยาการตางๆ
เพ่อื ใชในการสืบสวน
๓. งานสืบสวนหาขา วและระบบขอมลู อาชญากรรม
๔. งานวางระบบการงบประมาณทเ่ี กีย่ วกับงานสบื สวน
๕. งานตรวจสอบ ติดตามและประเมนิ ผล งานวิจยั และพัฒนาการปฏิบตั ติ ามนโยบาย
ยุทธศาสตร แผนงานและโครงการตาง ๆ รวมทงั้ การศึกษาและเกบ็ รวบรวมสถิตขิ อ มลู ทเ่ี กย่ี วของกบั
งานสืบสวนคดีอาญาทีเ่ กดิ ข้ึน



๖. งานวางแผนสบื สวน
๗. งานสบื สวนหาขอ เทจ็ จรงิ และหลกั ฐานเพอ่ื ทราบรายละเอยี ดของการกระทาํ ความผดิ
ท่ีเกดิ ขึ้นแลว
๘. งานสบื สวนภายหลงั จากรตู วั ผกู ระทําความผดิ ทั้งที่เปนคดที ี่อยูในความรับผดิ ชอบ
ของสถานตี าํ รวจ และกรณจี บั กมุ คนรา ยตามหมายจบั ของสถานตี าํ รวจอนื่ เพอ่ื รแู หลง และรายละเอยี ด
เพอ่ื ใหมีการจบั กุม
๙. ดําเนินการเพ่ือใหประชาชนมีสวนรวมในการสืบสวน โดยสรางความสัมพันธกับ
ประชาชนในพืน้ ท่โี ดยใกลชิดเพือ่ ประโยชนในการหาขา ว
๑๐. กรณพี บการกระทาํ ความผดิ ใหพ จิ ารณาสงั่ การใหผ ใู ตบ งั คบั บญั ชาดาํ เนนิ การจบั กมุ
หรือดําเนนิ การจับกมุ ดวยตนเอง
๑๑. ปฏิบตั หิ นา ทีถ่ วายความปลอดภยั แดอ งคพ ระมหากษัตริย พระราชนิ ี และพระบรม
วงศานวุ งศ ทีเ่ สด็จพระราชดาํ เนนิ เขา มาในพ้ืนท่ขี องสถานตี ํารวจ
๑๒. ปฏบิ ตั งิ านรว มกบั งานปอ งกนั ปราบปราม ในการควบคมุ ความสงบเรยี บรอ ยกรณมี ี
เหตุพิเศษตา ง ๆ เชน การจดั งานตามประเพณี การชุมนุมประทวง และอนื่ ๆ
๑๓. ปฏิบตั ิงานรว มกับงานปองกนั ปราบปราม เพอื่ ทําการตรวจคนจบั กมุ
๑๔. งานปกปดใหค วามคุม ครองแหลงขา ว และพยาน
๑๕. ประสานการปฏบิ ตั งิ านกบั งานอน่ื ๆ ในสถานตี าํ รวจและหนว ยงานอนื่ ๆ ทเี่ กย่ี วขอ ง
อยางใกลช ิดจรงิ จงั เพอ่ื ใหผ ลในการปอ งกัน ระงบั ปราบปราม กระทําความผดิ
๑๖. ใหคําปรึกษา แนะนํา ตลอดจนปรับปรุงแกไขการปฏิบัติงานของผูใตบังคับบัญชา
ในงานสบื สวน
๑๗. งานควบคมุ ตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ านของขา ราชการตาํ รวจ ทงั้ ในดา นการปฏบิ ตั งิ าน
ความประพฤติและระเบียบวินัย
๑๘. การปฏบิ ตั หิ นา ทหี่ ากมเี หตจุ าํ เปน เรง ดว น ใหม อี าํ นาจมอบหมายใหผ ใู ตบ งั คบั บญั ชา
ปฏิบัติหนาท่อี ่ืนไดตามความเหมาะสม แตท ้ังนีต้ องไมเ สียหายตอ หนาท่กี ารงานประจาํ
๑๙. ปฏิบตั ิงานอืน่ ๆ ทีเ่ กยี่ วขอ งกบั งานสบื สวน
๒๐. ปฏิบตั ิงานอื่น ๆ ตามที่ผบู ังคบั บญั ชามอบหมาย
¼Ù»Œ ¯ºÔ μÑ §Ô Ò¹Êº× Êǹ
ÊÒÃÇÑμÃÊ׺Êǹ มีหนาทด่ี งั น้ี
๑. ควบคุม ตรวจสอบ ใหคําปรกึ ษา แนะนาํ ตลอดจนปรบั ปรุงแกไขการปฏิบตั ิงานของ
ผใู ตบังคบั บัญชาในงานสบื สวน
๒. ศกึ ษาเก็บขอมูลในสวนทเ่ี กี่ยวของ และนาํ วิทยาการตางๆ มาใชในการสบื สวน
๓. งานวางแผนสบื สวน



๔. สบื สวนหาขา วและรวบรวมขอ มลู ขอ เทจ็ จรงิ หลกั ฐาน รวมทง้ั ประสานการปฏบิ ตั กิ บั
งานอน่ื ในสถานตี าํ รวจหรอื หนว ยงานอนื่ เพอื่ ประโยชนใ นการรกั ษาความสงบเรยี บรอ ยของประชาชน
อนั ไดแ ก การปองกันเหตรุ าย เหตุรุนแรง การกระทําผดิ ตา ง ๆ ทง้ั จากแหลงขา วทว่ั ไปและแหลง ขาว
ที่จดั ต้ังข้นึ

๕. สืบสวนหาขอเท็จจริง และหลักฐานเพ่ือทราบรายละเอียดของการกระทําความผิด
ทเี่ กิดข้นึ แลว

๖. สืบสวนภายหลังจากรูตัวผูกระทําความผิด ทั้งท่ีเปนคดีท่ีอยูในความรับผิดชอบ
ของสถานตี าํ รวจ และกรณจี บั กมุ คนรา ยตามหมายจบั ของสถานตี าํ รวจอนื่ หรอื หนว ยงานอน่ื เพอื่ รแู หลง
และรายละเอยี ดเพือ่ ใหม ีการจบั กมุ

๗. ดําเนินการเพ่ือใหประชาชนมีสวนรวมในการสืบสวน โดยสรางความสัมพันธกับ
ประชาชนในพื้นที่อยา งใกลช ิดเพอื่ ประโยชนใ นการหาขาว

๘. กรณีการกระทําความผิดใหดําเนินการจบั กุม โดยพจิ ารณาใชก าํ ลงั ตาํ รวจตามความ
เหมาะสมแลว รายงานหัวหนา งานสบื สวนทราบ

๙. ปฏิบัติหนาที่ถวายความปลอดภัยแดองคพระมหากษัตริย พระราชินีและพระบรม
วงศานวุ งศ ทเี่ สดจ็ พระราชดาํ เนนิ เขามาในพื้นทีข่ องสถานีตํารวจ

๑๐. ปฏบิ ตั งิ านรว มกบั งานปอ งกนั ปราบปราม ในการควบคมุ ความสงบเรยี บรอ ย กรณมี ี
เหตุพเิ ศษตา ง ๆ เชน การจัดงานตามประเพณี การชมุ นมุ ประทว ง และอื่น ๆ

๑๑. ปฏิบตั ิงานรวมกบั งานปอ งกันปราบปราม เพ่อื ทาํ การตรวจคน จบั กมุ
๑๒. เมื่อไดรับคําส่ังไมวาจะเปนคําส่ังโดยฉับพลันทันทีหรือตามแผนที่ผูบังคับบัญชา
กําหนดใหป ฏิบัติอยา งหนึ่งอยางใดในการเขาระงับ ปราบปราม จบั กมุ สกดั จับ กใ็ หป ฏิบตั ิตามคําส่ัง
๑๓. งานควบคมุ ตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ านของขา ราชการตาํ รวจทงั้ ในดา นการปฏบิ ตั งิ าน
ความประพฤตแิ ละระเบียบวินัย
๑๔. การปฏบิ ตั หิ นา ทห่ี ากมเี หตจุ าํ เปน เรง ดว น ใหม อี าํ นาจมอบหมายใหผ ใู ตบ งั คบั บญั ชา
ปฏิบัติหนาที่อ่ืนไดตามความเหมาะสม แตทั้งน้ีตองไมเสียหายตอหนาที่การงานประจําและตองรีบ
รายงานใหหัวหนางานสืบสวนทราบในทันที
๑๕. ปฏบิ ตั งิ านอ่นื ๆ ทีเ่ กีย่ วของกับงานสืบสวน
๑๖. ปฏบิ ตั ิงานอื่น ๆ ตามทผ่ี บู ังคบั บญั ชามอบหมาย
ÃͧÊÒÃÇÑμÃÊº× Êǹ มีหนา ที่ดังนี้
๑. ปฏบิ ัตงิ านตามท่หี ัวหนางานสบื สวน หรอื สารวัตรสบื สวนมอบหมาย
๒. ปฏบิ ัติงานเชนเดยี วกับสารวตั รสบื สวนตามขอ ๑ – ๑๓
๓. การปฏบิ ตั หิ นา ทหี่ ากมเี หตจุ าํ เปน เรง ดว น ใหม อี าํ นาจมอบหมายใหผ ใู ตบ งั คบั บญั ชา
ปฏิบัติหนาที่อื่นไดตามความเหมาะสม แตท้ังน้ีตองไมเสียหายตอหนาท่ีการงานประจําและตองรีบ
รายงานใหห ัวหนา งานสืบสวนหรือสารวัตรสืบสวนทราบในทันที



๔. ปฏบิ ัตงิ านอื่น ๆ ท่เี กยี่ วของกับงานสืบสวน
๕. ปฏิบัติงานอนื่ ๆ ตามทีผ่ ูบงั คับบัญชามอบหมาย
ÃͧÊÒÃÇÑμà (ตาํ á˹‹§¤Çº¼ÙŒºÑ§¤ÑºËÁÙ‹ ¶§Ö ÃͧÊÒÃÇÑμÃ) งานสบื สวน มหี นา ท่ีดงั น้ี
๑. ปฏบิ ตั งิ านในหนา ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบของตาํ แหนง ระดบั ผบู งั คบั หมทู ป่ี ฏบิ ตั อิ ยเู ดมิ
โดยปฏบิ ตั หิ นา ทใ่ี นสายงานสบื สวน ภายใตก ารกาํ กบั ตรวจสอบโดยทว่ั ไป และอาจไดร บั มอบหมายให
ควบคุมตรวจสอบการปฏิบตั ิงานของขาราชการตาํ รวจจาํ นวนหนึง่
๒. ตดั สนิ ใจ วินจิ ฉยั ส่งั การ แกไ ขปญ หาในงานท่ีรับผดิ ชอบใหเสรจ็ ส้ิน ณ จุดเดยี ว
๓. ปฏบิ ัตหิ นา ที่หัวหนาสายสบื
๔. ปฏิบัติงานดวยตนเองในลักษณะของผูมีประสบการณในงานดานสืบสวนของ
หนว ยงานนน้ั ๆ
๕. ชว ยเหลอื งานของขาราชการตํารวจระดบั ตาํ แหนง สารวตั รหรือเทียบเทา
๖. ปฏิบตั หิ นาท่ีอ่ืนท่ีเก่ียวของหรือตามทีไ่ ดร บั มอบหมายจากผูบังคบั บัญชา
¼ºŒÙ §Ñ ¤ºÑ ËÁÙ‹ Ê׺Êǹ
ทํา˹ŒÒ·è¸Õ ÃØ ¡Òà มีหนาทด่ี ังนี้
(๑) งานธรุ การท่ัวไปของงานสบื สวน
(๒) ปฏบิ ัติหนาทถี่ วายความปลอดภัยแดอ งคพระมหากษตั ริย พระราชินี และพระบรม
วงศานวุ งศ ทีเ่ สดจ็ พระราชดาํ เนินเขามาในพ้ืนทีข่ องสถานีตาํ รวจ
(๓) ปฏิบัติงานรวมกับงานปองกันปราบปราม ในการควบคุมความสงบเรียบรอย
กรณมี เี หตพุ ิเศษตาง ๆ เชน การจัดงานตามประเพณี การชุมนมุ ประทว ง และอ่ืน ๆ
(๔) ปฏบิ ัติงานรวมกบั งานปอ งกันปราบปราม เพ่อื ทาํ การตรวจคนจับกมุ
(๕) ปฏิบตั งิ านอนื่ ๆ ท่เี กย่ี วขอ งกบั งานสบื สวน
(๖) ปฏบิ ตั ิงานอื่น ๆ ตามทผี่ บู ังคบั บญั ชามอบหมาย
ทํา˹ŒÒ·èÕÊ׺Êǹ มีหนา ท่ีดังน้ี
(๑) สบื สวนการกระทาํ ความผดิ ตามประมวลกฎหมายอาญาและการปฏบิ ตั ติ ามประมวล
กฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา
(๒) เก็บรวบรวมสถิติขอมูลในสวนที่เกี่ยวของกับงานสืบสวน รายงานขอมูลสืบสวนตอ
รองสารวัตรสบื สวน หรือสารวัตรสบื สวน หรอื หัวหนา งานสืบสวน
(๓) สบื สวนหาขา วและรวบรวมขอ มลู ขอ เทจ็ จริง หลักฐาน รวมท้ังประสานการปฏิบัติ
กบั งานอน่ื ในสถานตี าํ รวจหรอื หนว ยงานอนื่ เพอื่ ประโยชนใ นการรกั ษาความสงบเรยี บรอ ยของประชาชน
อันไดแก การปองกันเหตุราย เหตุรุนแรงการกระทําผิดตางๆ ทั้งจากแหลงขาวท่ัวไปและแหลงขาว
ท่จี ดั ตัง้ ขน้ึ
(๔) สืบสวนหาขอเท็จจริง และหลักฐานเพื่อทราบรายละเอียดของการกระทําความผิด
ทีเ่ กดิ ขึ้นแลว

๑๐

(๕) สืบสวนภายหลังจากรูตัวผูกระทําความผิดท้ังที่เปนคดีท่ีอยูในความรับผิดชอบของ
สถานีตํารวจ และกรณีจับกุมคนรายตามหมายจับของสถานีตํารวจอื่นหรือหนวยงานอื่น เพื่อรูแหลง
และรายละเอียดเพอื่ ใหมีการจบั กุม

(๖) ดําเนินการเพื่อใหประชาชนมีสวนรวมในการสืบสวนโดยสรางความสัมพันธกับ
ประชาชนในพ้นื ทอี่ ยางใกลช ิดเพื่อประโยชนใ นการหาขา ว

(๗) ปฏิบัติหนาท่ถี วายความปลอดภยั แดองคพ ระมหากษัตริย พระราชินี และพระบรม
วงศานวุ งศ ท่ีเสด็จพระราชดาํ เนินเขา มาในพืน้ ที่ของสถานตี ํารวจ

(๘) ปฏิบัติงานรวมกับงานปองกันปราบปราม ในการควบคุมความสงบเรียบรอย
กรณีมเี หตุพเิ ศษตา ง ๆ เชน การจดั งานตามประเพณี การชมุ นมุ ประทวง และอ่นื ๆ

(๙) ปฏบิ ตั ิงานรว มกับงานปอ งกันปราบปราม เพ่อื ทาํ การตรวจคนจบั กุม
(๑๐) ปฏิบัติการจบั กมุ เมอ่ื พบการกระทาํ ความผดิ หรอื ไดรบั คําส่ังจากผูบ ังคับบัญชา
(๑๑) เมื่อไดรับคําสั่งไมวาจะเปนคําส่ังโดยฉับพลันทันทีหรือตามแผนท่ีผูบังคับบัญชา
กาํ หนดใหปฏิบตั ิอยา งหน่ึงอยางใดในการเขาระงบั ปราบปราม จบั กุม สกดั จับ กใ็ หปฏบิ ัติตามคําส่ัง
(๑๒) งานท่ีปฏิบัติใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ คําสั่ง ขอบังคับวาดวยเร่ืองน้ันๆ
หรอื ตามทผ่ี บู งั คับบญั ชามอบหมาย
(๑๓) ปฏิบตั ิงานอื่น ๆ ทีเ่ กีย่ วขอ งกับงานสบื สวน
(๑๔) ปฏบิ ัตงิ านอ่นื ๆ ตามที่ผูบงั คบั บัญชามอบหมาย

ñ.õ »ÃÐàÀ·áÅÐÇ¸Ô ¡Õ ÒÃÊ׺Êǹ

ñ. ¡ÒÃÊº× Êǹ·ÇèÑ ä» ËÃÍ× ¡ÒÃÊº× Êǹ¡Í‹ ¹à¡´Ô àËμØ คอื การสบื สวนรวบรวมขอ มลู ตา งๆ
อันเปน ประโยชนในทางทจ่ี ะนาํ มาใชเ กีย่ วกบั การรกั ษาความสงบเรยี บรอ ยของประชาชน การสืบสวน
ประเภทน้ีเจาพนักงานตํารวจทุกคนตองกระทําเปนปกติเพ่ือหาทางระงับหรือหาทางปองกันมิใหมี
เหตรุ า ยเกดิ ข้ึน โดยถือหลกั ดาํ เนินการสืบสวน ดงั นี้

๑.๑ ภูมิประเทศ ตองรูจักสภาพพ้ืนท่ีในเขตท่ีตนรับผิดชอบ ตลอดจนพื้นที่
ใกลเ คยี ง เสน ทางคมนาคมทง้ั ทางบก และทางนาํ้ เสน ทางสญั จรของประชาชน ทง้ั เสน ทางหลกั ตรอก
ซอกซอย เสน ทางลดั การเชอ่ื มตอ กนั ของเสน ทางตา งๆ รวมทงั้ พน้ื ทหี่ รอื เสน ทางทลี่ อ แหลมตอ การเกดิ
อาชญากรรมหรอื เหตรุ ายตา ง ๆ โดยใหหม่ันไปตรวจตราและหาทางปอ งกันเหตุ

๑.๒ สถานท่ี ตองรูจักอาคารสถานท่ีสําคัญท่ีควรสนใจเปนพิเศษ เชน สถานทูต
ทีพ่ กั อาศยั ของบุคคลสาํ คญั สถานศกึ ษา โรงงาน โรงมหรสพ โรงแรม สถานบรกิ าร ธนาคาร สถานที่
ราชการหรอื สถานที่อ่ืน ซึ่งลอ แหลมตอการกอความไมสงบ วาอยูท ใ่ี ด มที างเขาออกอยางไร และใคร
เปน ผดู แู ลรับผดิ ชอบ เปนตน โดยใหส ถานีตาํ รวจทุกแหง ทาํ แผนทีแ่ สดงทตี่ ้งั อาคารและสถานทต่ี างๆ
ไวป ระจําสถานี และตอ งตรวจตราแกไขแผนที่ใหตรงกับความเปน จรงิ เสมอ

๑๑

๑.๓ ประเภทและความประพฤตขิ องบคุ คล เจา พนกั งานตาํ รวจตอ งรวู า ประชาชน
ในพ้ืนที่รับผิดชอบผูใดประกอบอาชีพใด ผูใดเปนผูมีอิทธิพล ผูมีประวัติทางโจรกรรม เปนซองโจร
รับของโจร ผูท่ีเคยตองโทษ ผูเสพสุรา ยาเสพติดเปนอาจิณ ผูประพฤติเท่ียวเตรไมประกอบอาชีพ
และไมม ที อี่ ยเู ปน หลกั แหลง คนเหลา นท้ี กุ สถานตี าํ รวจตอ งทาํ บญั ชไี วโ ดยทางลบั และสบื สวนอยา งใกลช ดิ
วา คนจาํ พวกนย้ี งั ประพฤตชิ วั่ หรอื กลบั ตนเปน คนดปี ระการใด แกไ ขเพม่ิ เตมิ บญั ชใี หต รงตามความเปน จรงิ
อยูเสมอ และควรสืบสวนใหรูจักบุคคลท่ีควรสนใจเปนพิเศษ เชน บุคคลสาํ คัญ ทูตานุทูต สมาชิก
รัฐสภา เปนตน นอกจากน้ีควรสืบสวนถึงกิริยาเปนพิรุธหรือนาสงสัยของบุคคลอีกดวย เชน มั่วสุม
ประชมุ เล้ยี งสรุ ากนั หรอื มอี าวธุ เที่ยวเตร ไปมาไมม ีทอี่ ยเู ปนหลกั แหลง เพ่อื เปน แนวทางการสืบสวน
ข้ันตอ ไปวา บคุ คลเหลานั้นจะไปกระทําผิด หรอื ไดก ระทําผิดในทางอาญาแลว หลบหนีมาหรือไม

๑.๔ บุคคลหรือส่ิงของที่ควรสงสัย โดยมีเหตุและรายละเอียดตามสมควร
เจา พนักงานตํารวจตอ งสืบสวนและตรวจคน เชน คนทมี่ ีอาวธุ เปอ นคราบโลหติ และทํากริ ิยาซอ นเรน
เปน พิรุธ หรอื คนที่มสี ิ่งของเกินกวาฐานะซ่ึงบุคคลธรรมดาไมอ าจจะมไี ดหรอื มขี อพิรุธอืน่ ๆ ทน่ี าสงสัย
วาไดมาโดยไมสุจริต ตองพยายามสืบสวนใหไดทราบและเก็บไวเปนขอมูล เพื่อดําเนินการตามควร
แกก รณีตอ ไป

ò. ¡ÒÃÊ׺ÊǹμÒÁàËμ¡Ø Òó· àèÕ ¡´Ô ¢Öé¹ ËÃÍ× ¡ÒÃÊº× ÊǹËÅ§Ñ à¡Ô´àËμØ คอื การสบื สวน
ในเมื่อมีเหตุเกิดข้ึนแลว เพ่ือแสวงหาขอเท็จจริงและหลักฐานประกอบคดี เพื่อใหไดรายละเอียดวา
ความผิดเกิดข้ึนท่ีใด เม่ือใด ใครเปนผูกระทําผิด วิธีการกระทําความผิดเปนเชนใด ตลอดจนสืบสวน
ถงึ มูลเหตุจงู ใจในการกระทําผดิ และใหไ ดตัวผกู ระทําความผิด

¢¹Ñé μ͹¢Í§¡ÒÃÊ׺Êǹ ñõ ¢é¹Ñ μ͹

๑. การแสวงหาขอ เทจ็ จรงิ
๒. การแสวงหาพยานหลกั ฐานมาพิสจู นยนื ยันขอเทจ็ จริง ตามขอ ๔.๑
๓. การวเิ คราะหข อเท็จจริงและพยานหลักฐาน
๔. การสรปุ ขอเท็จจริงและพยานหลักฐาน เพอ่ื พสิ จู นความผดิ และคนผิด
๕. การสงมอบพยานหลกั ฐานใหพ นักงานสอบสวนผรู ับผดิ ชอบ

๑๒

๖. การตดิ ตามผูกระทาํ ผิดเพอื่ จบั กมุ มาดําเนินคดี
๗. การเลือกใชวธิ กี ารจบั กมุ ท่มี ีประสิทธิภาพและปลอดภัย
๘. การซกั ถามปากคาํ ผตู อ งหาและพยานทเี่ กย่ี วขอ งเพอ่ื ทราบขอ เทจ็ จรงิ อกี ครง้ั หนงึ่
๙. การแสวงหาขอเทจ็ จรงิ และพยานหลักฐานเพิม่ เตมิ
๑๐. การตรวจสอบและสรุปขอเท็จจริงพยานหลักฐานเพ่ือพิสูจนความผิดคนผิด
กอ นสง ฟองศาล
๑๑. การใหค วามคุม ครองและดูแลพยานบุคคล
๑๒. การใหการเปนพยานในกระบวนการยุติธรรม นับแตช้ันพนักงานสอบสวน
อัยการ และศาล
๑๓. การสืบสวนขยายผลใหถ ึงท่ีสุด
๑๔. การเก็บรวบรวมขอมลู ของการกระทําผิด คนผิด การสืบสวน สอบสวน ไวเ ปน
แฟมคดีสบื สวนอยางเปน ระบบ
๑๕. การนาํ ขอมลู อาชญากรรมจากแฟม คดีสบื สวนไปใชป ระโยชน
ñ. ¡ÒÃáÊǧËÒ¢ŒÍà·ç¨¨ÃÔ§·àèÕ ¡ÂÕè ǡѺ¡ÒáÃÐทาํ ¼´Ô
เปนการแสวงหาขอเท็จจริงและพยานหลักฐานตาง ๆ ทุกชนิดของนักสืบท้ังกอน
เกดิ เหตุ ขณะเกดิ เหตุ และหลงั เกดิ เหตุ เพอื่ นาํ ไปใชใ นการรกั ษาความสงบเรยี บรอ ย วางแผนการปอ งกนั
ปราบปรามอาชญากรรม และการคลี่คลายคดี
ซ่ึงนักสืบจะตองมีความรูเร่ืองพยานหลักฐานในกระบวนการยุติธรรม ไดแก
พยานบุคคล พยานวัตถุ พยานเอกสาร และพยานพฤตกิ รรมขอ เทจ็ จรงิ อกี ทัง้ นักสืบยังจะตองรูล กึ
ไปอกี วา พยานหลกั ฐานทส่ี ามารถใชไ ดใ นกระบวนพจิ ารณาชน้ั ศาล พยานหลกั ฐานทใ่ี ชไ มไ ดใ นกระบวน
พิจารณาช้นั ศาล พยานหลกั ฐานใดมีน้าํ หนกั ไมม นี า้ํ หนัก การกระทาํ ใดของเจาหนาทท่ี ี่จะทาํ ใหศาล
ตัดพยานหลักฐานออกจากสํานวนคดี เปนตน เพราะการสืบสวนมิไดจบอยูแคนักสืบ จะตอง
นาํ ขอ เทจ็ จรงิ และหลกั ฐานทแี่ สวงหาไดไ ปดาํ เนนิ การออกหมายจบั และสง ใหพ นกั งานสอบสวนรวบรวม
เพอ่ื ใหพนกั งานอยั การสงฟอ งและนําตัวผูต อ งหาไปสืบพยานดาํ เนินคดชี น้ั ศาลอีกตอ ไป
¢ŒÍà·¨ç ¨ÃÔ§áÅоÂÒ¹ËÅ¡Ñ °Ò¹·Õàè ¡èÂÕ Ç¡ºÑ ¡ÒáÃÐทาํ ¼´Ô ầ‹ Í͡໹š

Ášµn š¸ÉÁ®Èœ Ä®o
Ášµn š¸¦É ¼o ‡¦™ªo œ
­¤¼¦–r

¤µ„„ªµn š¸¦É ´¦o¼

๑๓

¡ÒÃáÊǧËÒ¢ŒÍà·ç¨¨ÃÔ§·Õèà¡ÕèÂǡѺ¡ÒáÃÐทํา¼Ô´ à·‹Ò·èÕàËç¹à·‹Ò·èÕÃÙŒ ไดแก การสืบสวน
กอนเกิดเหตุ (ขอมูลทองถ่ิน, ฐานขอมูลการสืบสวน เปนตน) การสืบสวนหลังเกิดเหตุ (ส่ิงที่พบเห็น
ในท่ีเกิดเหตุจากการตรวจสถานท่เี กิดเหตุ เปน ตน) ซึ่งเปนขอ เทจ็ จริงและพยานหลักฐานที่นกั สบื หาได
ในวงรอบแรกในการสบื สวนคดี สว นขอ เทจ็ จรงิ ทเี่ กย่ี วกบั การกระทาํ ผดิ ขณะเกดิ เหตนุ น้ั เปน ขอ เทจ็ จรงิ
ทนี่ กั สืบไมร ซู ่ึงนกั สบื จะตอ งหาวิธกี ารใหรับรูใ นวงรอบการสบื สวนตอ ๆ ไป

¡ÒÃáÊǧËÒ¢ŒÍà·ç¨¨ÃÔ§·èÕà¡èÕÂǡѺ¡ÒáÃÐทาํ ¼Ô´ÁÒ¡¡Ç‹Ò·ÕèÃѺÃÙŒ ไดแก สวนขอเท็จจริง
ที่เก่ียวกับการกระทําผิดกอนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ หลังเกิดเหตุ และขอเท็จจริงและพยานแวดลอม
กรณที น่ี กั สืบยงั ไมร ู ซ่ึงนักสบื จะตองหาวิธีการใหร ับรูต อ ไป เชน

๑. จุดท่ีพบศพเปนท่ีเกิดเหตุจริงหรือไม ที่เกิดเหตุหลัก (first crime scene)
ท่ีเกดิ เหตรุ อง (secondary crime scene)

๒. ผตู าย เปนใคร
๓. ผตู ายตายเมอื่ ไหร
๔. ผตู ายมาจากไหน จะไปไหน เปน ตน
¡ÒÃáÊǧËҢ͌ à·¨ç ¨Ã§Ô ·àÕè ¡ÂÕè Ç¡ºÑ ¡ÒáÃÐทาํ ¼´Ô ãˤŒ ú¶ÇŒ ¹ÊÁºÃÙ ³ คอื การหาขอ เทจ็ จรงิ
และพยานหลักฐานในสว นจ๊กิ ซอวท่ีขาดหายไปใหครบถวนสมบรู ณ เชน
๑. ประวตั ภิ มู ิหลงั ผูตาย
๒. มูลเหตกุ ารณฆาตกรรม เหตุขดั แยง ของผูตาย
๓. ขอ มลู การใชโ ทรศพั ทเ ปรยี บเทยี บยนื ยนั คาํ ใหก ารของผตู อ งหา พยาน เปน ตน
๔. ผลการตรวจพยานหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตรจากกองพิสูจนหลักฐาน
นติ เิ วชวิทยา เปนตน
ò. áÊǧËÒ¾ÂÒ¹ËÅ¡Ñ °Ò¹¾Ôʨ٠¹Â ×¹Âѹ¢ŒÍà·ç¨¨Ã§Ô
เปน การหาขอ เทจ็ จรงิ และพยานหลกั ฐานมายนื ยนั กบั ขอ เทจ็ จรงิ ทร่ี ทู เ่ี หน็ (เทา ทเี่ หน็
เทา ท่ีรู) มากกวาที่รับรขู องนกั สืบ เชน การสอบพยานยืนยันประวัติภูมิหลงั ของผตู าย เปน ตน
ó. ÇÔà¤ÃÒÐˏ¢ŒÍà·ç¨¨ÃÔ§áÅоÂÒ¹ËÅÑ¡°Ò¹»ÃСͺ¡Ñ¹ à¾è×Í·ÃҺNjҾÄμÔ¡ÒóáË‹§
¡ÒáÃÐทํา¤ÇÒÁ¼Ô´·èÕá·Œ¨Ãԧ໚¹Í‹ҧäà คือ การประชุมวิเคราะหขอเท็จจริงทางคดี มีหลักปฏิบัติ
ดังน้ี
๑. ตอ งรับฟง เหตุผลของผูรว มประชมุ วเิ คราะห
๒. หลักและเหตุผลการประชุมวิเคราะหขอเท็จจริง ตองอาศัยพยานหลักฐาน
ประกอบ จึงจะไดขอเท็จจรงิ ทางคดี
ô. ÊÃØ»¢ŒÍà·ç¨¨ÃÔ§áÅоÂÒ¹ËÅÑ¡°Ò¹ à¾×è;ÔÊÙ¨¹¤ÇÒÁ¼Ô´ ¤¹¼Ô´ เปนการสรุป
ขอ เทจ็ จรงิ ทางคดี ซงึ่ มีพยานหลกั ฐานประกอบ เพื่อพิสจู นความผิด และเพอื่ ทราบตวั คนราย
๑. ไดข อเท็จจรงิ
๒. มีพยานหลกั ฐานประกอบพรอม
๓. ทราบตวั ผกู ระทําผดิ

๑๔

õ. Ê‹§Áͺ¾ÂÒ¹ËÅÑ¡°Ò¹ãËŒ¾¹Ñ¡§Ò¹ÊͺÊǹ¼ÙŒÃѺ¼Ô´ªÍº หลักงานสืบสวนตองทํา
ควบคไู ปกับงานสอบสวน ดงั นี้

๑. เปน การนาํ พยานหลักฐานเขาสสู ํานวนการสอบสวน
๒. รายงานการสืบสวนประกอบเอกสารที่เก่ียวของ เชน เอกสารการตรวจสอบ
การใชโทรศัพทของผูตาย ผูตองสงสัย ขอมูลการวิเคราะหการใชโทรศัพทของผูตองหาจากโปรแกรม
Analysis link notebook (I๒) เปน ตน
๓. พนกั งานสอบสวนขออนุมตั ศิ าลออกหมายจับ
ö. Ê׺Êǹμ´Ô μÒÁ¼Œ¡Ù ÃÐทาํ ¼Ô´à¾èÍ× ¨Ñº¡ÁØ ÁÒดําà¹¹Ô ¤´Õ ตรวจสอบตามแนวทางตอไปน้ี
๑. ตรวจสอบจากการใชโทรศพั ทเ คลือ่ นท่ี (Cell Side Mobile Phone)
๒. ตรวจสอบจากประกันสงั คม เพ่อื ทราบวาทาํ งานทไี่ หน
๓. ตรวจสอบประกนั สุขภาพ
๔. ตรวจสอบจากเครอื ญาติ
๕. ตรวจสอบจากบุคคลผูกวางขวาง
๖. ใชส ายลบั
๗. ตัง้ รางวลั นําจบั เปน ตน
÷. àÅ×͡㪌ÇÔ¸Õ¡ÒèѺ¡ØÁ·èÕÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾áÅлÅÍ´ÀÑ เชน กดดันใหมอบตัว
เรยี กมาแจง ขอ กลา วหา เจรจาผา นบุคคลผูก วางขวางในพ้นื ท่ี เปนตน
ø. «Ñ¡¶ÒÁ»Ò¡คาํ ¼ŒÙμŒÍ§ËÒáÅоÂÒ¹·èÕà¡èÕÂÇ¢ŒÍ§à¾è×Í·ÃÒº¢ŒÍà·ç¨¨ÃÔ§ÍÕ¡¤ÃÑé§Ë¹Öè§
ในการสบื สวน ผูส ืบสวนตอ งมีทักษะและความชํานาญในการซกั ถาม ไดแ ก
๑. การซักถามผูตองสงสัย ตามหลักวิชาเพ่ือใหไดขอเท็จจริงและพยานหลักฐาน
ครบถว นสมบรู ณ เพอื่ จับขอพิรุธ หรือเพื่อขยายผลคดี เปน ตน
๒. การซักถามประจักษพยาน ตามประเด็นเพ่ือใหไดประโยชนแกรูปคดี
การซักถามน้ัน ผูซักถามจะวางตัวอยางไร ใหพยานเช่ือถือและวางใจท่ีจะใหขอเท็จจริง
เปน ไปตามหลกั วชิ า
๓. การซักถามพยานแวดลอม เพ่ือกาํ ชับขอเท็จจริงและพยานหลักฐานที่เปน
ประจกั ษพยาน หรอื พยานนติ ิวทิ ยาศาสตร ใหมีความแนนแฟนมากยง่ิ ขนึ้ เพ่ือเปนประโยชนต อรูปคดี
การซกั ถามเพมิ่ เติมเพอื่ ประโยชน ดังน้ี
- เพ่อื ทราบขอ เทจ็ จรงิ เพิ่มเตมิ ใหไดร ายละเอียด
- เพื่ออุดชองวา งรายละเอยี ดใหส มบูรณ
- เพ่ือหาพยานหลกั ฐานเพมิ่ เตมิ ใหล ะเอยี ด
ù. áÊǧËҢ͌ à·¨ç ¨ÃÔ§áÅоÂÒ¹ËÅÑ¡°Ò¹à¾èÁÔ àμÔÁ
๑. เพื่อใหคดีสมบรู ณ
๒. เพื่อใหห ลกั ฐานทางคดพี รอ มในการดาํ เนินคดีกับผูต องหา

๑๕

ñð. μÃǨÊͺáÅÐÊÃØ»¢ŒÍà·ç¨¨ÃÔ§áÅоÂÒ¹ËÅÑ¡°Ò¹à¾è×;ÔÊÙ¨¹¤ÇÒÁ¼Ô´ ¤¹¼Ô´
¡Í‹ ¹Ê§‹ ¿‡Í§ÈÒÅ

๑. ชดุ สืบสวนและพนกั งานสอบสวน ชวยกนั ตรวจสอบ
๒. หวั หนาสถานตี าํ รวจควบคุมตรวจสอบกอ นมีคาํ สง่ั ทางคดี
ññ. ãËŒ¤ÇÒÁ¤ŒØÁ¤ÃͧáÅдá٠žÂÒ¹ºØ¤¤Å
๑. ศึกษาดูระเบยี บการคมุ ครองพยาน
๒. เพื่อความปลอดภยั ของพยานท่ีจะเบิกความตอศาล
๓. เพื่อไมใหพ ยานถกู ขม ขแู ละกลบั คาํ ใหการ โดยเฉพาะพยานท่ถี กู กนั ตวั มาจาก
ผตู อ งหามาเปน พยาน
ñò. ãËŒ¡ÒÃ໚¹¾Âҹ㹡Ãкǹ¡ÒÃÂØμÔ¸ÃÃÁ ¹Ñºá싪éѹ¾¹Ñ¡§Ò¹ÊͺÊǹ ÍÑ¡ÒÃ
áÅÐÈÒÅ
๑. นักสืบตองอานและตรวจคําใหการอยางละเอียดกอนลงชื่อในคําใหการ
เพราะสวนใหญพนักงานสอบสวนไมไดสอบตอหนา จะสอบอางอิงบันทึกการจับกุมและรายงาน
การสืบสวนเพราะบางประเดน็ ซงึ่ เปน ประเดน็ สาํ คัญจะขาดหายไป
๒. นกั สืบที่จะเบกิ ความตอศาล ตอ งเตรยี มตวั กอ นเบิกความ โดยเฉพาะพยานคู
ตองเบิกความสอดคลองตรงกัน หากเบิกความขัดแยงกันในขอเท็จจริง อาจทําใหศาลยกฟองเสียรูป
คดีได ในคดีสาํ คัญนกั สืบควรไปดูสถานทเี่ กิดเหตุอกี ครง้ั เพราะท่เี กิดเหตุทนายจาํ เลยจะใชประโยชน
ในการถามคา น
๓. พยานซึ่งเปนบุคคลธรรมดา นักสืบและพนักงานสอบสวน ควรนัดมาซอม
คําใหการกอนเบิกความ เพราะปจจุบันทางอัยการจะไมคอยซอมพยาน ไมใชไมเช่ือถืออัยการ
แตร ะยะหลงั ฝา ยผูตอ งหาจะมกี ารวิง่ เตนอัยการ หรือวิ่งผา นทนายความ
ñó. Êº× Êǹ¢ÂÒ¼Åã˶Œ Ö§·ÊèÕ Ø´ โดยดวู า
๑. สามารถจบั กุมขยายผลผรู วมกระทําผดิ ท้ังหมด ครบถวนไหมหากไมค รบถว น
ดําเนนิ การขยายผลใหครบถว น
๒. เคร่ืองมือเครือ่ งใช อาวุธ หรอื พยานหลกั ฐานอืน่ ๆ ท่ีนา จะมีเหลอื อยเู พิม่ เตมิ
ดําเนนิ การตรวจสอบใหค รบถวน
๓. ทรัพยสินของผูเสียหายท่ีถูกประทุษรายยังไมไดคืน ติดตามมาเปนของกลาง
และคืนแกเจาทรัพย ซึ่งจะเปนประโยชนแกรูปคดี และสรางความศรัทธาแกประชาชนผูไดรับความ
เสยี หาย
๔. สรปุ สาเหตหุ รอื แรงจูงใจในการกระทําผิดสุดทายทีแ่ ทจ รงิ อกี ครั้งหนงึ่
๕. การกระทําผิดในคดีอ่ืนกอนเกิดเหตุและกอนจับกุม เพื่อฟองลงโทษผูตองหา
ใหม ากท่ีสุดเทา ทจี่ ะทําได

๑๖

ñô. ࡺç ÃǺÃÇÁ¢ŒÍÁÅÙ ¢Í§¡ÒáÃÐทํา¼Ô´ ¤¹¼´Ô ¡ÒÃÊº× ÊǹÊͺÊǹ änj໹š á¿Á‡ ¤´Õ
Êº× ÊǹÍ‹ҧ໚¹Ãкº

๑. เพอื่ สบื สวนคดีตอใหส าํ เร็จ
๒. เพอ่ื ศกึ ษาวเิ คราะหค ดอี าชญากรรมและบนั ทกึ แนวทางสบื สวนไวเ ปน กรณศี กึ ษา
ตอ ไป
ñõ. นํา¢ÍŒ ÁÅÙ ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ¨Ò¡á¿Á‡ ¤´ÊÕ º× Êǹä»ãª»Œ ÃÐ⪹ ในการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ
การปองกันปราบปรามอาชญากรรม และการรักษาความสงบเรียบรอยของประชาชนใหมากย่ิงขึ้น
ตอไป

ñ.ö ¡ÒÃÊͺÊǹ

»ÃÐÁÇÅ¡®ËÁÒÂÇÔ¸Õ¾¨Ô ÒóҤÇÒÁÍÒÞÒ ÁÒμÃÒ ò
(๑๑) “การสอบสวน หมายความถึง การรวบรวมพยานหลักฐานและการดําเนินการ
ท้ังหลายอื่นตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้ ซึ่งพนักงานสอบสวนไดทําไปเกี่ยวกับความผิด
ที่กลาวหาเพ่ือที่จะทราบขอเท็จจริงหรือการพิสูจนความผิด และเพื่อจะเอาตัวผูกระทําผิด
มาฟอ งลงโทษ”
การสอบสวนจะมีไดเฉพาะกรณีหลังกระทําผิดเทาน้ัน เพราะกฎหมายบัญญัติคํานิยาม
ขางตนวาเปนการรวบรวมพยานหลักฐานดําเนินการท้ังหลายอ่ืนซ่ึงพนักงานสอบสวนไดทําไป
เก่ียวกับความผิดที่กลาวหา ดังนั้น หากยังไมมีการกลาวหา กลาวคือ ยังไมมีคํารองทุกขหรือ
คาํ กลา วโทษ พนักงานสอบสวนไมมีอํานาจสอบสวน และเม่อื พนักงานสอบสวนไมม ีอํานาจสอบสวน
พนักงานอัยการก็ไมมีอํานาจฟองคดีตอศาลเพราะกฎหมายหามมิใหพนักงานอัยการยื่นฟองคดีใด
ตอศาล โดยมิไดมีการสอบสวนในความผิดน้ันกอนซ่ึงแตกตางจากการสืบสวน ซ่ึงมิไดท้ังกอนการ
กระทาํ ผดิ และหลงั กระทาํ ผดิ โดยทกี่ รณกี อ นการกระทาํ ผดิ เปน การทาํ ไปเพอ่ื รกั ษาความสงบเรยี บรอ ย
เชน การสง รถตาํ รวจสายตรวจออกพนื้ ทห่ี าขา วและปอ งกนั ปราบปรามจบั กมุ ผกู ระทาํ ผดิ ซง่ึ หนา เปน ตน
คํารองทุกข ไดแก การที่ผูเสียหายไดกลาวหาตอเจาหนาท่ีตามบทบัญญัติแหงประมวล
กฎหมายนี้ วามีผูกระทําความผิดขึ้น จะรูตัวผูกระทําความผิดหรือไมก็ตาม ซ่ึงกระทําใหเกิดความ
เสยี หายแกผ ูเสยี หาย และการกลา วหาเชนนนั้ ไดก ลา วโดยมีเจตนาจะใหผูกระทําความผิดไดร บั โทษ
คาํ กลาวโทษ ไดแ ก การทบ่ี ุคคลอื่นซ่งึ ไมใชผ ูเสยี หายไดกลาวหาตอเจาหนาที่ วามบี ุคคล
รตู ัวหรือไมก็ดี ไดก ระทําความผิดอยางหนึง่ ขน้ึ
ผมู อี าํ นาจสอบสวนคดอี าญา กฎหมายกาํ หนดใหเ ปน หนา ทข่ี องพนกั งานสอบสวนเทา นนั้
ซง่ึ ไดแ ก พนกั งานฝา ยปกครองหรอื ตาํ รวจชนั้ ผใู หญ ปลดั อาํ เภอ และขา ราชการตาํ รวจซง่ึ มยี ศตงั้ แตช น้ั
นายรอยตาํ รวจตรี หรือเทียบเทานายรอ ยตาํ รวจตรขี ึน้ ไป มอี ํานาจสอบสวนความผิดอาญาซึ่งไดเกิด
หรอื อา ง หรอื เชอ่ื วา ไดเ กดิ ภายในเขตอาํ นาจของตน หรอื ผตู อ งหามที อ่ี ยู หรอื ถกู จบั ภายในเขตอาํ นาจ

๑๗

ของตนได ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา มาตรา ๑๘ หรอื มาตรา ๑๙ และจะมอี าํ นาจ
สอบสวนเฉพาะภายในเขตอํานาจของตนเทานั้น แตห ากมีกฎหมายพเิ ศษกาํ หนดใหผ ใู ดเปน พนกั งาน
สอบสวน ก็เปนไปตามขอยกเวนน้ันๆ เชน พ.ร.บ.ปองกันปราบปรามยาเสพติดใหโทษ พ.ศ.๒๕๑๙
ใหอ าํ นาจคณะกรรมการ ป.ป.ส. มอี าํ นาจในการสบื สวน สอบสวน และการฟอ งคดคี วามผดิ ตามกฎหมาย
เก่ียวกับยาเสพติดใหโทษ หรือ พ.ร.บ.ปองกันและปราบปรามการกระทําเปนโจรสลัด พ.ศ.๒๕๓๔
ใหอ าํ นาจเจา หนา ทที่ หารเรอื ทาํ การสอบสวนในเบอื้ งตน ในความผดิ ฐานโจรสลดั ในทะเลหลวง เปน ตน

จากหลักเกณฑของกฎหมายดังกลาวจะเห็นไดวา การสืบสวนสอบสวนในคดีอาญาน้ัน
แบงออกเปนงานสืบสวนและงานสอบสวนแยกจากกัน แตงานทั้งสองมีกระบวนการท่ีปฏิบัติควบคู
กันไป มีความสัมพันธเช่ือมโยงเปาหมายเดียวกัน น่ันก็คือการรักษาความสงบเรียบรอยใหเกิดขึ้น
ในสังคม ซึ่งสังคมจะปลอดภัยไดก็ตอเม่ือมีการบังคับใชกฎหมายอยางสอดลองและมีประสิทธิภาพ
นน่ั เอง

¡ÒÃÊ׺Êǹ¡ºÑ ¡ÒÃÊͺÊǹ â´ÂËÅÑ¡¨ÐÁ¤Õ ÇÒÁáμ¡μ‹Ò§·àèÕ Ë¹ç ä´ŒªÑ´ ó »ÃСÒÃ

ñ. ¡ÃͺàÇÅÒ
- การสบื สวน อาจจะสบื สวนไดท งั้ กอ นมกี ารกระทาํ ความผดิ เพอื่ รกั ษาความสงบเรยี บรอ ย
เชน การไปสืบหาบุคคลท่ีมีพฤติการณไมนาไววางใจมาบันทึกไวในฐานขอมูลเก็บไวกอน หรืออาจ
สืบสวนภายหลังจากมีการกระทาํ ความผดิ แลว เพอ่ื ใหไดรายละเอียดของความผดิ
- การสอบสวน ตองกระทําภายหลังมีการกระทําความผิดเกิดขึ้นแลวเทาน้ัน
เพราะการสอบสวนเปน การรวบรวมพยานหลักฐานเพ่อื นําตัวผูกระทําผดิ มาลงโทษ
ò. à¢μอาํ ¹Ò¨
- การสืบสวน มีเขตอํานาจท่ัวราชอาณาจักร ไมวาเจาหนาที่ทองที่ใดก็มีอํานาจสืบสวน
ทง้ั สนิ้
- การสอบสวน ตอ งกระทําโดยเจา หนา ท่ขี องทอ งทท่ี ีม่ เี ขตอํานาจ เชน ทองท่ที ีค่ วามผดิ เกิด
เชอ่ื วา ไดเกิด อา งวาไดเกดิ หรือทองทท่ี ่ีผูตองหาถกู จับ หรอื ผูตอ งหามีทอี่ ยู เปน ตน
ó. ¼ŒÙÁอÕ าํ ¹Ò¨
- ผมู อี าํ นาจสบื สวน ไดแ ก พนกั งานฝา ยปกครองและตาํ รวจ ไมว า จะมชี นั้ ยศใด หรอื หนา ที่
อยางไร ก็มอี าํ นาจสบื สวนทง้ั สน้ิ
- ผูมีอํานาจสอบสวน ไดแก พนักงานฝายปกครอง หรือตํารวจช้ันผูใหญ ปลัดอําเภอ
และขาราชการตํารวจซ่ึงมียศต้ังแตช้ันนายรอยตํารวจตรีหรือเทียบเทา นายรอยตํารวจตรีข้ึนไป
ซง่ึ มเี ขตอาํ นาจและมหี นาทีส่ อบสวน (เชน สว.จราจร สอบสวนไมไ ด เพราะไมมีหนา ที่สอบสวน)

๑๙

º··èÕ ò

¢ŒÍà·¨ç ¨Ã§Ô

ò.ñ ¤ÇÒÁËÁÒÂ

(ตามพจนานุกรมฉบบั บณั ฑติ ยสถาน ๒๕๒๕) หมายถึง
- ความจรงิ , ความเปนจรงิ , ขอ สรุป, ขอพสิ จู น
- เร่ืองหรือประเด็นที่เก่ียวของกับเหตุการณ พฤติกรรม หรือสิ่งใดที่เกิดข้ึน ที่มีอยูจริง
หรือเปน ไป
- (ขอเท็จจริงของกฎหมาย) ขอความหรือเหตุการณที่วินิจฉัยวาเปนจริง (แตกตางจาก
ขอ กฎหมาย)

ò.ò ¢ŒÍà·ç¨¨ÃÔ§¡Ñº¢ÍŒ ¤´Ô àËç¹

ò.ò.ñ ÅѡɳТͧ¢ÍŒ à·ç¨¨Ã§Ô
(๑) มคี วามเปนไปได
(๒) มีความสมจรงิ
(๓) มีหลกั ฐานเชอื่ ถอื ได
(๔) มีความสมเหตุสมผล

ò.ò.ò ÅѡɳТͧ¢ŒÍ¤Ô´à˹ç
(๑) เปนขอ ความแสดงความรสู ึก
(๒) เปนขอความแสดงความคาดคะเน
(๓) เปน ขอ ความแสดงการเปรียบเทยี บหรืออุปมาอปุ ไมย
(๔) เปน ขอ เสนอแนะหรือความคดิ เห็นของผพู ูดหรือผเู ขยี นเอง

ò.ò.ó ¢ÍŒ áμ¡μ‹Ò§ÃÐËÇÒ‹ §¢ŒÍà·¨ç ¨Ã§Ô áÅТ͌ ¤´Ô àËç¹
¢ŒÍà·¨ç ¨ÃÔ§ สามารถพิสูจน สนบั สนนุ ยืนยันได
¢ŒÍ¤Ô´à˹ç เปน ความเหน็ ความรสู กึ นกึ คดิ ของผสู ง สารทสี่ อดแทรกอยใู นเนอ้ื หา

ไมส ามารถสนบั สนนุ ยืนยนั ได

ò.ó ¡ÒÃáÊǧËÒ¢ŒÍà·ç¨¨Ã§Ô ¨Ò¡¡Òë¡Ñ ¶ÒÁ

การซักถามเจา ทุกข ผูเสยี หาย พยาน ผูตอ งสงสยั หรือผูต อ งหาเบอื้ งตนนั้น เปน การซกั ถาม
ที่ตองรีบดําเนินการหลังเกดิ เหตใุ หม ๆ เพราะ

- ยงั อยูในความจําท่ยี งั ไมลมื เหตุการณทีต่ นไดเหน็ มา
- ยงั ไมมผี ูใดมาช้แี นะวาตองพดู อยางไร

๒๐

- ยังไมมีเวลาท่ีจะคิดหรือออกความเห็นที่จะตอเติม หรือคาดคะเนวา เหตุการณนาจะ
เปน อยางนั้น นาจะเปน อยางน้ี หรือผลนา จะเปนอยา งไร

- ยังไมมีความเกรงกลวั ตออิทธิพลของฝายใดฝายหนึง่
- ยังไมคิดทจี่ ะชวยเหลือ หรอื เอนเอยี งเขาขา งฝา ยใดฝายหน่งึ

ÈÔÅ»Ð㹡Òëѡ¶ÒÁ¤´ÍÕ ÒÞÒ¤Í× ÍÐäÃ

คอื กลวธิ ที เ่ี ฉลยี วฉลาดในการซกั ถาม เจา ทกุ ข ผเู สยี หาย พยาน ผตู อ งสงสยั หรอื ผตู อ งหา
ดวยวิธีการตางๆ เพ่ือใหผูถูกซักถามพูดความจริงตามท่ีเขาไดเห็นเหตุการณมา แลวนาํ มารวบรวม
เปนขอมูลที่มีประโยชนในการสืบสวนหาพยานหลักฐาน และติดตามตัวผูกระทําความผิดมาดาํ เนินคดี
และพิสูจนการกระทาํ ความผิดของผูตองหา (และจะตองคอยประสานกับพนักงานสอบสวนทุกระยะ
เพ่ือใหการสืบสวนและการสอบสวนเปนไปในทิศทางเดียวกัน และรวดเร็วข้ึนในกรณีที่ผูซักถามมิได
เปนพนักงานสอบสวน)

ʶҹ·èÕ㹡Òë¡Ñ ¶ÒÁ¤ÇÃ໚¹ÍÂÒ‹ §äÃ

- เปนหอ งธรรมดา เงยี บ ไมมีเสยี งรบกวน
- ไมควรมีเสียงวิทยุ โทรทัศน โทรศพั ท หรือรปู ภาพตา ง ๆ ประดับ หรอื ติดตามผนัง
- มแี สงสวา งตามปกติทว่ั ๆ ไป อยาใหผ ิดแปลกจากท่ัว ๆ ไป
- อยา ใหผ ถู กู ซักถามเกดิ ความวิตกกงั วล หรอื เกดิ ความกลัว
- ทนี่ ัง่ จัดตามแบบปกติ ไมห รหู ราเกนิ ไป

¡Òë¡Ñ ¶ÒÁμ‹Ò§ æ Á¨Õ Ø´»ÃÐʧ¤· Õμè ŒÍ§¡Ò÷ÃÒºàËμØ ö »ÃСÒà ¤×Í

๑. ใคร หมายถงึ ใครเปน เจา ทกุ ข ผเู สยี หาย ผกู ลา วหา
- ใคร หมายถึง ใครเปน เจา ทกุ ข ผูเสียหาย ผูกลาวหา
- คนรา ย ผตู องสงสัย หรอื ผตู องหา
- พยานบอกเลา ประจกั ษพ ยานทเ่ี ห็นเหตุการณ
- คนตาย คนพบศพ คนนาํ ผูบ าดเจ็บสงโรงพยาบาล
- คนจับกุมผตู องหา หรอื รว มกบั เจา หนาท่ีตาํ รวจจับกุมตัวผูตอ งหา
- เกยี่ วของเปน พอ แม สามี ภรรยา

๒. ทาํ อะไร หมายถงึ เกิดอะไร คดีเร่ืองอะไร เชน ทํารายรางกาย วง่ิ ราวทรัพย ชิงทรพั ย
ปลน ทรัพย หรือฆา เปน ตน

๓. ท่ไี หน หมายถงึ สถานที่เกิดเหตุ เหตเุ กดิ ทไี่ หน เชน เหตุเกดิ ทีบ่ านเลขที.่ ................
ซอย...................ถนน................(ใกลกบั .............) แขวง....................... เขต.............................กทม.

๒๑

๔. เม่อื ใด หมายถึง เหตเุ กิดเมอ่ื ใด วนั อะไร วนั ท่ีเทา ใด เดอื นใด ปใ ด เวลาใด
- จบั คนรายไดเมือ่ ใด
- ผูบ าดเจบ็ ตายเมื่อใด
- จบั ผตู อ งหาไดเพ่มิ หรอื ยึดของกลางไดเ พ่มิ เมื่อใด วัน เวลาปใ ด

๕. อยางไร หมายถึง คดีนน้ั เกิดอยางไร คนรา ยใชม ดี เปนอาวุธแทงทําราย หรอื ใชอาวธุ
ปนยิง หรือคนรายใชรถจักรยานยนตเปนพาหนะว่ิงราวทรัพยกระเปาถือสตรีไป หรือคนรายจํานวน
สามคนใชอาวธุ ปน ยงิ เจา ทรัพยตายแลว ปลน เอาทรัพยสนิ ในบา นไป เปนตน

๖. ทําไม หมายถึง สาเหตุของคดีนั้น ซึง่ จะหมายถงึ มูลเหตุจงู ใจในการกระทาํ ความผดิ
เชน เรือ่ งชสู าว ประสงคตอ ทรัพย ขัดผลประโยชน วิวาทกนั คาของเถื่อน ยาเสพติด บอ นการพนัน
เปน ตน

ËÅѡ㹡Òëѡ¶ÒÁãËäŒ ´¼Œ ÅμÒÁ¤ÇÒÁÁ§‹Ø ËÁÒÂ

¡. ·èÕÁҢͧ¢ÍŒ ÍÒŒ § ขออางหมายถึงอะไร
¢ÍŒ ͌ҧ หมายถงึ คําบอกเลา คาํ ใหก ารของผเู สยี หาย พยาน ผตู อ งหา หรอื ผตู อง

สงสัย ท่ีบอกหรือตอบขอซักถาม แลวนาํ มาพิจารณาวาผูบอกเลาหรือผูใหการ อางหรือบอกอะไร
บางอยา ง ตวั อยา งเชน เม่อื วนั ที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๔๐ นายเอเหน็ นายบีลักนาิกาขอ มอื ของนายขาว
ทีว่ างอยหู ลงั ตเู ย็นในรานกาแฟของนายเขยี ว มนี ายแดงและนายดาํ เหน็ เหตุการณดวย

ตามคําบอกเลา ดังกลาวนี้ จะเห็นไดว ามีขอ อางทกี่ ลา วถงึ คอื
- ใคร นายเอ เหน็ นายบี
- ทาํ อะไร ลักนากิ าขอมือของนายขาว
- ทไ่ี หน หลงั ตูเยน็ ในรานกาแฟของนายเขยี ว
- เม่อื ใด วนั ที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๔๐
- อยางไร นายบหี ยิบไปโดยมีนายแดงและนายดาํ เห็นเหตกุ ารณ
จากขออางดังกลาวขางตน ถือเปนขออางที่จะตองซักถามผูเสียหาย พยาน ผูตองหา
หรือผูตองสงสัย ถาเปนเรื่องจริง หรือเหตุการณจริง ก็จะไดคําตอบท่ีสอดคลองในทํานองเดียวกัน
หมายถึงเปนหลักฐานที่ใชยืนยันการกระทําความผดิ

ËÑǢ͌ ·Õè¤Çëѡ¶ÒÁ·ÇÑè ä»

กอนที่จะซกั ถามจะตองพิจารณากอนวา ผูถ กู ซักถามมคี วามรสู กึ อยางไรขณะน้นั ประสาท
พรอมหรอื ไม อยใู นสภาวะที่จะใหข อ เท็จจริงไดห รอื ไม เชน กําลังตกใจกลัวหรือต่นื เตน กบั เหตุการณ
ที่เห็นมาสด ๆ รอน ๆ หรือไม หรือมีความเก่ียวพันเปนญาติพี่นอง พรรคพวกเพื่อนฝูง
หรอื มีสว นไดเสียกบั ใครหรือไม

๒๒

การต้ังหัวขอคําถามแตละคดีไมเหมือนกัน แลวแตประสบการณ ความชาํ นาญ ปฏิภาณ
ไหวพริบของผูซักถาม ที่จะกลาวตอไปน้ีเปนหัวขอหลักๆ ท่ีสามารถใชไดเกือบทุกสถานการณ
หัวขอทจี่ ะซกั ถาม

- มาอยางไร ตัวเขาไปมาอยางไร ทําไมจึงอยูท่ีนั่น หรือเปนเสนทางท่ีตองผาน
เปน ประจํา ผา นเวลาใด ฯลฯ

- เหตุใดจึงรูเห็นเหตุการณ ผานมาเห็นพอดี หยุดยืนรอรถเมล รถแท็กซี่ หรือน่ังด่ืม
กาแฟอยูท่รี านพอดี ฯลฯ

- แสงสวางมีหรือไม ถามีเปนแสงสวางจากอะไร ท่ีใด จากหนาบาน หลังบาน
หรือรานคามีเสาไฟฟาอยูตรงไหน จุดใด สวางมากนอยเพียงใด หางจากจุดที่เกิดเหตุเทาใด
(ขอ นีห้ มายถึงเปนเวลากลางคนื หรือในทมี่ ืด)

- อยูห า งเปน ระยะเทา ใด ใกล ไกล เพียงใด ขณะเห็นเหตุการณ เพื่อยนื ยนั วา อยูหา ง
ระยะเทาใด เห็นหนา ตาชัดเจนไหม จําเหตกุ ารณไ ดช ดั เจนหรือไม แลวตรวจสอบจากที่เกิดเหตอุ ีกคร้งั
วา เปน ไปไดห รอื ไม

- เห็นเหตุการณนานเพียงใด เห็นผานหนาแวบเดียว หรือยืนดูอยู ๓-๔ นาที
เพ่ือยืนยนั วา จําหนาตาไดแนน อน เปนตน)

- ขณะท่ีเหน็ ไดท ําอยา งไรบาง (รอ งตะโกนใหค นทราบ รองใหคนเขามาชวย ยืนดูอยู
เฉยๆ หรือโทรศัพทแจง เหตุตาํ รวจ ฯลฯ)

- หลังจากไดร เู หน็ เหตุการณแลว ไดท ําอยา งไรบา ง (จดบันทึกไว เลาใหคนอืน่ ฟง หรอื
โทรศัพทแ จง ตาํ รวจ ฯลฯ)

- เห็นคนรายหนีไปทางไหน มีใครตามไปบางหรือไม คนรายท้ิงอะไรไวบางหรือไม
อาจมพี ยานหลกั ฐานตกอยู เปน ตน

¢. àÃÍè× §ÊÀÒ¾¢Í§¢ÍŒ ÍÒŒ § เมอื่ ซกั ถามขอ อา งหลกั แลว จะตอ งซกั ถามสภาพของขอ อา ง
ประกอบดวย เพอื่ ใหมีพยานหลกั ฐานหนกั แนนยิ่งขึน้ หรอื เพอ่ื ตรวจสอบวาผถู กู ซักถามพูดความจรงิ
หรอื ไม เชน

- วันเดือนปท่ีผูถูกซักถามอางน้ัน มีสภาพดินฟาอากาศเปนอยางไร มีฝนตก
หรอื ไม ขางขึน้ หรอื ขางแรม มแี สงจันทรสวา งเวลากลางคืนหรอื ไม

- บุคคลที่อางถึงท่ีอยูในท่ีเกิดเหตุน้ัน แตละคนแตงกายอยางไร กาํ ลังทําอะไรอยู
มีตาํ หนิรูปพรรณอยางไร ชื่ออะไร นามสกุลอะไรทราบหรือไม อายุเทาใด เพื่อพิจารณาวาเขาเห็น
เหตุการณจริงหรือไม

- สี ไมวาจะเปนการแตงกายของคน วตั ถสุ ่ิงของ รถทีอ่ ยูใ นทีเ่ กดิ เหตหุ รอื ทเี่ ขา มา
เก่ยี วของ มสี ีอะไร เพ่ือพิจารณาวาผถู ูกซกั ถามอยูใ นทเี่ กิดเหตหุ รือไม

๒๓

- เสยี ง เสยี งคน เสยี งสตั ว เสยี งรถ จาํ หรอื สงั เกตไดจ ากอะไร เสยี งมคี วามแตกตา ง
กนั อยา งไร รถยนต รถจักรยานยนต ไดย ินเสยี งจาํ เจทุกวัน จนจาํ เสียงไดว า เปนเสียงรถอะไร ของใคร
ท่ีมาจอดประจาํ หรือเสยี งบุคคลพูดคยุ กนั ไดยินบอ ย ๆ กจ็ ะจําได

- กลิน่ มีหรอื ไม ถา มกี ลิ่นอะไร
- รส เปน รสอะไร
- ตําหนิ ทกุ ส่งิ ตองมีตาํ หนิถา สงั เกตใหดี
- ขนาดไมวา จะเปน อาวุธปน มดี ไม รถยนต รถจกั รยานยนต รถปคอพั เปนขนาดใด
- จาํ นวน ไมวาจะเปนฝายใด แตละฝายมีจาํ นวนเทาใด ใครทําอยางไร
หรือมีคนรา ยจํานวนกีค่ น การแตงกายอยางไร ตําหนิรปู พรรณอยางไร
- ชนิดหรือประเภทของทุกอยาง เปนยี่หออะไร ชนิดใด ประเภทใด ถาไมทราบ
ใหห าตวั อยางขนาดหรอื ชนดิ ประเภทอยางเดียวกนั หรือใกลเ คยี งกนั ใหดู
¤. ÊÔè§áÇ´ÅÍŒ Á¢Í§¢ŒÍÍÒŒ § จากการสอบถามขออา งหลกั สภาพของขอ อา งแลวอาจจะ
ซกั ถามถงึ สง่ิ แวดลอ มของขอ อา งเพอ่ื ประกอบพยานใหห นกั แนน ยง่ิ ขนึ้ ถา ผถู กู ซกั ถามอยใู นเหตกุ ารณ
จริงนอกจากจะกลาวถึงขออางแลว ยังสามารถบอกถึงสภาพของขออางและส่ิงแวดลอมของขออาง
ในท่เี กิดเหตุไดอ กี ทําใหน า เชือ่ ไดวา ผูนัน้ อยใู นเหตุการณจ รงิ สง่ิ แวดลอมของขอ อา งควรแยกเปน
- ประเภทคน นอกจากพยานจะเห็นเหตุการณอยูแลว ยังมีคนอ่ืน ๆ ท่ีผานมา
บรเิ วณน้ันอีกหรอื ไม จาํ ไดบางหรือไม มีลกั ษณะอยา งไร อาชพี อะไร เชน มคี นงานกาํ ลงั ซอ มถนนอยู
บริเวณนนั้ เปน ตน
- ประเภทวตั ถุ มีวัตถสุ ิง่ ของอยางอน่ื อีกหรอื ไม ชนดิ ใด ใชทําอะไร อยูตรงน้ันอกี
หรือจุดใดอีกหรอื ไม
- ประเภทสัตว มีสัตวอะไรบางหรือไม เชน เลี้ยงนก เล้ียงสุนัข เลี้ยงแมว เล้ียง
นกเขา ฯลฯ เล้ยี งไวที่จดุ ใด ใสกรงไวห รอื ไม

¡Òëѡ¶ÒÁàËμ¼Ø ÅáÅТ͌ ͌ҧÁËÕ ÅÑ¡´§Ñ ¹éÕ

ผูที่มาใหถอยคําเก่ียวกับคดีตางๆ เมื่อเห็นเหตุการณก็สามารถที่จะมาใหการตาม
ความจรงิ แลว จะตอ งมขี อ อา งเสมอ มากนอ ยเพยี งใดขนึ้ อยกู บั สภาวะทเ่ี กดิ เหตุ บางรายเหน็ เหตกุ ารณ
มากกม็ ีขออางมาก บางรายเห็นเหตกุ ารณน อยก็มีนอ ย การซักถามจึงตอ ง

๑. ถามเรอ่ื งไปตามลาํ ดบั ขออางอยา ใหส ลับกัน จนเสรจ็ เปน ขอๆ
๒. เอาเหตุผลท่ีหางขออางขึ้นมาถามกอน แลวถามเหตุผลที่ชิดขออาง (เหตุผลหาง
ขอ อาง หมายถึง หา งประเดน็ เหตผุ ล ชิดขอ อา ง หมายถงึ เขา ประเดน็ )
๓. ถามีวัตถุพยานหรือเอกสารเปนพยานหลายชิ้น เอาช้ินที่เปนหลักฐานแนนอน
มาถามกอน (ชิน้ ทีเ่ ปน ของกลางใชใ นการกระทําผิด)

๒๔

ÇÔ¸«Õ Ñ¡¶ÒÁ

เราทราบแลว วา พยานแตละคนมขี ออางหลายขอ และมีการซักถามเปนขอ ๆ ดังกลา วแลว
ดังนัน้ การซักถามจึงตอ งถามเหตุผลท่ีหางขอ อางกอน และเขา มาหาชิดขอ อา ง (การซกั ถามโดยละเอยี ดน้ี
เปนเรอื่ งของพนักงานสอบสวนที่จะซกั ถามสอบสวนปากคาํ เพ่ือประโยชนใ นการพิจารณาคดีในชนั้ ศาล
แตสาํ หรับฝายสืบสวนไมจาํ เปนตองละเอียดถึงกับตองสอบสวน) การถามเหตุผลที่หางขออางกอน
เพ่ือใหผูถูกซักถามยังไมรูคุณหรือโทษของถอยคําที่จะตอบ เพราะถาเขาจะตอบขอที่ชิดขออางกอน
กจ็ ะเปน คณุ หรอื โทษทนั ที ถา เขาไมร ตู วั เขาสามารถจะพดู ไดม ากและมปี ระโยชนต อ รปู คดดี ว ย เทา กบั วา
ไมใหเ ขารตู วั วา เรากําลงั จะถามใหเ ขา ไปถึงจดุ ท่ีเราตองการแลวน่นั เอง

ËÅѡ㹡Òëѡ¶ÒÁ

๑. ควรรีบซกั ถามโดยเร็วท่ีสุด
๒. ถาเขายังต่ืนเตน หรือตกใจกลัวตอเหตุการณที่เกิดขึ้น ตองใหเขาพักผอนกอน
จนหายต่ืนเตน ตกใจ หรอื พรอ มท่ีจะใหก ารซกั ถามจงึ ลงมือซกั ถาม
๓. มกี ารเตรียมการลวงหนา
๔. แสดงความเปน กันเองกบั ผถู ูกซกั ถาม
๕. ควบคุมใหต อบตรงประเด็น และอยาใหข ัดกัน
๖. อยาถามนําใหเ ขาตอบวา ใชห รือไมใ ช
๗. ตัง้ ปญหาใหต อบทีละขอ จากขออา งทีห่ างเขามาชดิ ขออา ง
๘. ต้งั ปญ หาทจ่ี ะซักถามใหเ ขาใจงายใหมาก
๙. ควรเลย่ี งคําถามทตี่ อบวา ไมร ไู มเหน็
๑๐. ถาเขาตอบไมตรงตามเปาที่เราตั้งไวอยาโมโห หรือใชอารมณถึงกับแสดงความ
ไมพ อใจออกมา
๑๑. คาํ ตอบขอ ใดทข่ี ดั กนั ควรซกั ถามภายหลงั อกี ครงั้ เพราะบางครงั้ อาจไมพ ดู ความจรงิ

àËμؼŪԴ¢ŒÍ͌ҧ áÅÐàËμؼÅË‹Ò§¢ŒÍÍÒŒ § ËÁÒ¤ÇÒÁÇ‹ÒÍ‹ҧäÃ

àËμؼŪԴ¢ŒÍ͌ҧ ตรงกับกฎหมายใชคําวา เขาประเด็น หมายความวา เปนเหตุผล
ท่ีตรงตอขอ อา ง หรอื เปน เหตผุ ลโดยตรงของขอ อางมิใชโดยออม เชน เห็นนาย ก. ลกั วิทยนุ าย ข.

àËμؼÅË‹Ò§¢ŒÍ͌ҧ ตรงกบั กฎหมายใชค าํ วา หา งประเด็น ซง่ึ เปน เหตผุ ลทีห่ า งออกไปจาก
ขออางอาจจะหางมากนอยแตกตางกัน ไมสามารถชี้ไดวาหางมากเพียงใด ตองถามกอนหลัง
ใหพิจารณาวาเมื่อถามแลวผูถูกซักถามจะไมรูสึกวา คําตอบน้ันมีคุณหรือโทษกับเขา เขาสามารถ
พูดไดอยางสบายหรือพูดงายๆ ก็คือวา ซักถามกอนเกิดเหตุ เร่ิมต้ังแตตัวผูถูกซักถามกอนมาถึง
ทเี่ กิดเหตุนัน่ เองซงึ่ เรียกวา ¡Òëѡ¶ÒÁàËμؼÅ

๒๕

ËÅ¡Ñ ¡Òëѡ¶ÒÁàËμؼŠáÅТ͌ ÍÒŒ §

๑. ถามเหตุผลอดีต คือ ถามเหตุผลกอนเกิดการรูเห็นวา เหตุใดจึงมารูเห็น เพ่ือเปน
พน้ื ฐานรับรองเหตปุ จ จุบัน

๒. ถามเหตปุ จ จบุ นั คอื ถามถงึ เหตผุ ลขณะเกดิ เหตุ หรอื เวลาขณะเกดิ เหตวุ า ขณะรเู หน็
ไดท าํ อยางไรบา ง เพ่อื เปนเหตุผลรองรบั เหตผุ ลอนาคต

๓. ถามเหตุผลอนาคต คือ ถามถึงเหตุผลตอนหลังจากการรูเห็นวา จากการรูเห็น
มาแลว น้นั ไดทําอยา งไรบา ง

เหตผุ ลท้งั สามขอน้ีตองสอดคลอ งกนั แตใ หไดความวา ใคร ทําอะไร ทไ่ี หน เมื่อไร อยา งไร
ทําไมเชนกัน

¡Í‹ ¹ทาํ ¡Òë¡Ñ ¶ÒÁμŒÍ§àμÃÂÕ ÁμÇÑ Í‹ҧäÃ

¡. ¹Ñ¡Ê׺¼ŒÙ«Ñ¡¶ÒÁ
๑. จะตอ งไปดทู ี่เกิดเหตกุ อนทกุ คดี เพ่อื ทราบรายละเอยี ดแหง คดนี น้ั วา
- เกดิ เหตุอยา งไร เมอื่ ไร
- ในทเ่ี กดิ เหตมุ พี ยานหลกั ฐานอะไรบา ง ทเ่ี ปน รอ งรอยของคนรา ยทงิ้ ไว มกี าร

ตอ สู หลกั ฐานสว นตวั ของคนรา ยตกในอยทู ่ีเกิดเหตุ
- เวลากลางคนื มแี สงสวา งหรอื ไม จากทใ่ี ด ขนาดใด เหน็ ชดั เจนไหม หา งเทา ใด

ฯลฯ
๒. เมือ่ ดทู ีเ่ กดิ เหตแุ ลว ตอ งวางข้ันตอนในการสืบสวนทําอะไรบาง
- เตรยี มตวั เตรยี มใจใหพ รอ ม ไมม นี ดั กบั ผใู ดเพอื่ เขา มาขดั จงั หวะในการซกั ถาม

ไมรบั โทรศัพท ไมเขา หองนา้ํ ไมท านอาหารหรือไปพกั ผอ นกอ น เปนตน
- ส่ิงใดท่ีรูลวงหนา เพ่ือประโยชนในการช่ังน้าํ หนักวา จริงหรือไมจริง

ตองเตรยี มขอมูลและขอ เทจ็ จริงเก่ยี วกบั เรอื่ งนน้ั ไวก อน
๓. เตรียมคําถามไววาควรถามอะไรบาง ต้ังคําถามใหมาก คาํ ตอบท่ีมีประโยชน

พยายามแยกไวพิจารณาอะไรจริงไมจริง ควรซักถามขออางหางประเด็นกอน แตตองดูวาพยานนั้น
เปนพยานประเภทใดดว ย

ก. ประเภทประจกั ษพ ยาน เห็นเหตกุ ารณต ลอด เตม็ ใจใหถอ ยคาํ
ข. ประเภทเหน็ เหตกุ ารณแ ตไ มต ลอด เหน็ กอ นเกดิ เหตุ เหน็ ขณะเกดิ เหตุ เหน็
หลังเกิดเหตุ มีความตกใจกลัวมาก หรือต่ืนเตน อาจตอเติม หรือมีความเห็นวา ควรจะเปนอยางน้ัน
อยางนี้
ค. ประเภทรูเ หตุการณ แตไมเ ตม็ ใจใหก ารเปนพยาน เนอื่ งจาก

- กลัวอทิ ธิพลของคนราย จะแกแคน หรอื ทํารายคนในครอบครัว
- กลัวเสียเวลาในการไปใหการเปนพยาน

๒๖

- กลัวเปนขาวในหนา หนงั สือพิมพ
- ถาเปนพวกที่รวมมอื ทาํ ผิดดว ย กลบั ใจมาใหก ารกลวั ถูกจําคุก
¢. ¼ŒÙ¶¡Ù «¡Ñ ¶ÒÁ¾ÃŒÍÁáÅŒÇËÃÍ× äÁ‹
๑. พิจารณาวาเขามีความรูสึก หรือประสาทพรอมแลวหรือยัง กาํ ลังตกใจกลัว
ตน่ื เตนหรือไม มสี วนไดเสยี กบั คนรายหรือไม เปนญาตพิ นี่ อ งกันหรือไม
๒. ใหเขานัง่ ตามสบาย ชวนคยุ เร่ืองอ่ืนกอน ไมใ หเ ขาเครยี ดหรือมีความกงั วล

à·¤¹¤Ô ¡Òëѡ¶ÒÁ

การซักถามแหลง ขาวท่ีไดผ ลที่สุด
๑. แหลง ขาวไมรูตัววา ถกู ซกั ถาม
๒. หลกี เล่ียงการจด บันทกึ หรือทาํ อะไรตอหนาแหลงขาวใหเขารวู า ถกู ซักถาม

หากตองการบันทึกการซักถาม ใหใชเครื่องมือพิเศษในลักษณะซอน หรืออาํ พราง
ในการบนั ทกึ โดยไมใหแหลง ขาวทราบได

ÁÕ¨μÔ Ç·Ô ÂÒ㹡Òëѡ¶ÒÁ
๑. คนจะพูดมากหลังจากประสบเหตุการณข มขืน่ มาใหมๆ
๒. คนมักจะคลอยตามความคดิ เหน็ ของผมู อี ํานาจเหนอื ตน
๓. คนมกั จะใหเ หตุผล เมอื่ ตนเองทําผดิ (แกต ัว)
๔. คนมกั จะตกตะลึง เมอื่ เกดิ เหตุการณค ับขนั
๕. คนมกั จะโกรธเมือ่ ถูกลบหลูดูหม่นิ
๖. คนมกั จะชอบการยกยอปอปน
๗. คนมักจะเห็นความสาํ คญั ของตนเอง มากวาเหน็ ความสาํ คญั ของผูอ น่ื
๘. คนมักจะตอบสนองความเมตตาปราณี และเหน็ อกเหน็ ใจทีม่ ีผูอน่ื มอบให
Å¡Ñ É³Ðคาํ ¶ÒÁ
๑. ต้งั คาํ ถามงา ยๆ
๒. ตัง้ คาํ ถามตรงไปตรงมาไมออมคอม
๓. ตัง้ คําถามแบบแนบเนยี น และถูกตอ งตามกาลเวลา
๔. มีคาํ ถามมูลฐานอยู ๖ ประการ คอื หลัก ๕ W ๑ H

Who (ใคร)
What (ทําอะไร)
When (เมอ่ื ไหร)
Where (ท่ีไหน)
Why (ทําไม)
How (อยา งไร)

๒๗

ÇÔ¸Õá¡»Œ ˜ÞËÒ㹡Òëѡ¶ÒÁáËŧ‹ ¢‹ÒÇ
๑. พูดออมคอ ม

- อดทนฟงเขาพดู ตอ ไป
- คอยจบั ผดิ ใหไ ด
- ถามย้าํ ใหพดู ยนื ยันอกี ครง้ั
๒. ด้อื ถอื ดี หัวแข็ง
- พดู แหย พูดเร็วอยา ใหต งั้ ตัวติด
- พดู ดูถกู ดแู คลนดาวา
- พูดโอโลม แสดงเหตผุ ล
๓. โกหกเกง
- ปลอยใหเขาพูดไปกอน แลวคอยจบั โกหกใหได
- เมอ่ื พูดจบ ใหพูดอีกคร้งั วาตรงกนั หรอื ไม
- หยดุ ถาม แลวเรียกมาซักถามใหม

ò.ô ¡ÒÃáÊǧËҢ͌ à·¨ç ¨ÃÔ§â´ÂÇ¸Ô Õ¡ÒÃÍè×¹

¢‹ÒÇ ¡ÒÃËÒ¢Ò‹ Ç áËŧ‹ ¢‹ÒÇ
ปจจบุ ันอาชญากรรมนับวาเปนปญหาที่สําคัญ ซึง่ นับวนั จะทวีความรุนแรงมากข้ึน ตํารวจ
ถือวาเปนเคร่ืองมือของรัฐบาลท่ีมีหนาท่ีในการปองกันปราบปราม แตทวาความสําเร็จดังกลาวจะมี
มากนอ ยเพยี งใด จงึ ตอ งพจิ ารณาในดา นการหาขา ว การทต่ี ํารวจจะสามารถดาํ เนนิ การ วางแผนรบั มอื
อาชญากรรมจําเปนตองมีขอมูลขาวสารจากแหลงตางๆ และมีการวิเคราะหอยางเปนระบบ ดังน้ัน
การขาวจึงนบั ไดวามีความสําคญั
¢Ò‹ Ç คอื อะไร
¢‹ÒÇ คอื ปรากฏการณที่เกิดข้นึ จากการได ดู อา น ฟง
¢Ò‹ Ç แบง ออกเปน ๓ ประเภท คือ
๑. ขาวเปด คือ ขาวที่หาไดจากส่ือมวลชนตางๆ เชน หนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน
ซ่งึ ไดจ ากการดู การฟง และการอา น ถือวา เปน ขาว ๙๕ เปอรเซน็ ตของขาวท้งั หมด
๒. ขา วกง่ึ เปด กึ่งปด คือ ขาวท่ีไมส ามารถหาซือ้ ได แตไดจ ากการตรวจสอบ จากเจาหนา ที่
ท่ีเก่ียวของ เชน งานทะเบยี นตางๆ หรอื หนว ยงานเอกชน โดยใชห นังสือของทางราชการขอความรว มมือ
๓. ขาวปด คือ ขาวท่ีไมมีการเปดเผย อาจหมายถึง ขาวลับ การที่จะใหไดมา
ซึ่งขาวดังกลาว จะตองใชวิธีอ่ืนๆ เชน การใชสาย การสงคนสะกดรอยติดตาม หรือการเฝาจุด
ซง่ึ ตอ งเสยี คาใชจ า ยสงู

๒๘

¡ÒÃãªáŒ Ëŧ‹ ¢Ò‹ ÇËÃ×ÍÊÒÂźÑ

“แหลงขาว หรือ สายลับนั้นก็คือ บุคคลผูซ่ึงยินยอมตกลงท่ีจะมีความสัมพันธในทางลับ
ตกลงทจ่ี ะถกู ควบคมุ ในระดับหนงึ่ และจะเปนผจู ัดหาขาวสารหรือการบรกิ ารอ่ืนใดใหแ กเจา หนา ที่”

องคประกอบของแหลงขาวหรอื สายลบั นน้ั กค็ อื
(๑) มีความสมั พันธใ นทางลบั กับเจา หนาที่
(๒) ตกลงทจ่ี ะถกู เจา หนาท่ีควบคมุ ในระดบั หนงึ่
(๓) ตกลงท่ีจะจดั หาขาวสาร หรอื บรกิ ารแกเจาหนา ทีไ่ ด
ดังนั้น “แหลงขาว หรือสายลับเพ่ืองานการสืบสวน” ก็คือ ผูที่ไดตกลงท่ีจะกระทําการใด
อนั เปน ประโยชนต อ เจาหนา ที่ เพือ่ การสบื สวนปอ งกนั ปราบปรามอาชญากรรมนัน้ เอง
ซึง่ วธิ กี าร “RECRUIT” แหลง ขาว หรอื สายลับนั้น แบง ออกเปน ๒ วธิ ดี วยกันคือ
(๑) แบบ Positive หรือ Reward คอื มีผลประโยชนต างตอบแทน
(๒) แบบ Negative หรือ Punishment คอื แบบการลงโทษ
แบบที่หนึ่ง (Positive หรือ Reward) นั้น เปนระบบท่ีนิยมใชในประเทศที่เจริญแลว
เชน ในสหรัฐอเมริกา แคนาดา ฯลฯ เปนการทํางานระหวาง C/O (Case Officer) หรือ
เจาหนาท่ีควบคุมกับ C/I (Case Information) หรือแหลงขาวน้ันเอง โดยตางฝายตางไดรับ
ผลตอบแทนซง่ึ กนั และกัน คอื เจาหนาที่ไดร ับขอมลู ขา วสาร สวนแหลง ขา วหรือสายลับนั้น จะไดร ับ
เปน ผลประโยชนต อบแทน เชน เงินหรอื ส่งิ ของอื่นใดทีแ่ หลงขาวหรือสายตองการ แตทงั้ นตี้ องอยูใน
ภาวะท่ีเจาหนาที่ผูควบคุม (C/O) น้ันสามารถใหไดโดยไมขัดตอกฎหมายและระเบียบ
ตลอดจนไมเปนการกระตุนใหแหลงขาวนํา “ขอมูลไมจริง” มาใหแบบไมรับผิดชอบและอาจสงผล
กระทบตอการปฏิบัตงิ านของผเู ก่ียวขอ งได
แบบท่ีสอง (Negative ËÃ×Í Punishment) น้ันเปนระบบท่ีนิยมใชในประเทศ
สังคมนิยมหรือประเทศคอมมิวนิสต เนื่องจากเปนประเทศที่ขาดงบประมาณหรือมีงบประมาณนอย
หรือชอบใชความรุนแรง เชน ในสมัยสงครามโลก พวกนาซีไดใชพวกยิวในการหาขอมูลขาวสาร
หากไมทําตามที่ไดสั่งการไวอาจถูกจับกุม หรือเปดเผยฐานะตนเองทําใหถูกฆาได วิธีน้ีปจจุบัน
ยงั มกี ารกระทํากนั อยู เนือ่ งจากไมต องลงทุนแตอ ยา งไร
จะเห็นไดวา ประเทศในโลกสวนใหญมักนิยมใชแบบแรกมากกวา เนื่องจาก “แหลงขาว
หรือสายลับ” น้ัน จะมีประสิทธิภาพในการทํางานมากกวา มีความจริงใจในการทํางานและมีนํ้าหนัก
ของพยานที่ดีกวา แบบทส่ี อง
ในเมื่อแหลงขาวหรือสายลับ สวนใหญเปนระบบ (Positive หรือ Reward)
เราในฐานะเปน เจา หนา ทตี่ าํ รวจ จงึ ตอ งควรอา นใหอ อกวา แหลง ขา วหรอื สายลบั ตอ งการอะไรเพอื่ เปน
แรงจูงใจในการทํางานและเปนเคร่ืองชี้ใหเราทราบวา แหลงขาวหรือสายลับของเราไมได
ทํางานเพือ่ หวงั มาทาํ ลายงานของเรา สง่ิ จงู ใจนน้ั ไดแ ก

๒๙

(๑) MONEY คือ พวกตอ งการเงนิ
(๒) FAMILY คือ พวกตอ งการใหครอบครัวเปนสุข
(๓) SECURITY คอื พวกตองการความปลอดภัยของตนเองหรือครอบครวั
(๔) IDEALISM คือ พวกมีแนวความคดิ หรือมอี ุดมคติ
(๕) PATRIOTISM คอื พวกรักชาติ
(๖) EGOTISM คอื พวกทชี่ อบใหคนอน่ื ใหความสําคญั
(๗) FRIENDSHIP คือ มไี มตรีจติ กบั เจา หนาท่ี
(๘) ADVANGER คือ พวกชอบทํางานต่นื เตน เสี่ยงภัย
(๙) REVENGER คือ พวกตองการลา งแคน
ดังน้ันเมื่อเจาหนาท่ีตํารวจหรือ C/O ไดทํางานกับแหลงขาวหรือสายลับประเภทตางๆ
ดังที่กลาวมาแลว ก็ควรจะใหสิ่งจูงใจตามที่พวกเขาตองการ หากทําไดจะมีผลทําใหพวกเขาเหลาน้ัน
มีแรงจูงใจในการทํางานมากข้ึน แตทั้งนี้จะตองควบคุมพิจารณาใหดี เพราะแหลงขาวหรือสายลับ
แตล ะประเภทมีขอดีขอ เสียแตกตางกันไป

áËÅ‹§¢Ò‹ Ç

การทจ่ี ะไดม าซง่ึ ขา วสารและขอ มลู ทเ่ี กย่ี วกบั การกระทาํ ความผดิ ของคนรา ย จาํ เปน จะตอ ง
ทราบถงึ สถานทต่ี า ง ๆ อนั จะทาํ ใหไ ดข า วสารทเ่ี ปน ประโยชนต อ การสบื สวน ซง่ึ สามารถใหค วามหมาย
ของคําวา “แหลง ขา ว” ไดด งั นี้

แหลงขาว หมายถึง แหลงหรือสถานที่ ซึ่งคาดคะเนวาจะไดขาวสารที่เปนประโยชนท่ีจะ
รูตัวผูกระทําผิด ไดพยานหลักฐานตลอดจนการจับกุมผูกระทําผิด แหลงหรือสถานที่ซึ่งคาดคะเนวา
จะไดขาวสารอันเปนประโยชนดังกลาวนั้นมีอยูหลายประการดวยกัน คดีใดควรจะสืบสวนจากที่ใด
เพยี งแหง เดียวหรือหลายแหง ก็สดุ แตค วามเหมาะสมและเหตุการณซงึ่ ทส่ี าํ คญั ๆ มดี ังตอ ไปน้ี

ñ. ʶҹ·àÕè ¡´Ô àËμØ นบั วา เปน หลกั ฐานสาํ คญั ขอ แรกของคดที งั้ หลายทเ่ี กดิ ขนึ้ ผสู บื สวน
ควรจะสนใจและถาสามารถไปดูสถานท่ีเกิดเหตุไดดวยตนเองก็จะเปนประโยชนอยางย่ิงแกการท่ีจะ
ทําการตอไป เพราะบรรดาพยานหลักฐานทั้งหลายท่ีไดภายหลังนั้น จะตองไมเปนการขัดกับสถานท่ี
เกิดเหตแุ ละเพ่อื

ก. พสิ จู นว า ไดม เี หตกุ ารณท เี่ กดิ ขน้ึ จรงิ ตามทก่ี ลา วหาหรอื ไม เพราะคดบี างเรอ่ื ง
บางรายอาจแกลงกลาวหากันได เรื่องที่ไมจริงแลวแกลงกลาวหากัน หลักฐานหรือรองรอยตาง ๆ
ยอมแสดงพิรธุ หรือไมสมเหตผุ ล

ข. เพ่ือจะทราบวามีหลักฐานรองรอย ส่ิงของ หรือสิ่งหน่ึงสิ่งใดซึ่งเปนพยาน
หรอื หลกั ฐานในการสบื สวนหาคนรา ยหรอื ผเู กยี่ วขอ งหรอื ไม ในขอ นผ้ี สู บื สวนจะตอ งใชค วามรคู วามชาํ นาญ
และความละเอียดรอบคอบในการพจิ ารณา เชน รองเทา ลายน้วิ มอื ปลอกกระสนุ หยดโลหติ ฯลฯ
ทต่ี กอยทู เ่ี กดิ เหตเุ ปน ของใคร เกย่ี วขอ งกบั คดอี ยา งไร ยอ มเปน หลกั ฐานทเี่ กยี่ วขอ งในเหตกุ ารณน น้ั ไดด ี

๓๐

ค. เพ่ือทราบสภาพหรือกิริยาอาการของสถานที่ ของบุคคล ของศพ บาดแผล
หรือส่ิงของตาง ๆ ในสถานท่ีน้ันเปนอยูอยางไร ภาพของสถานท่ีซึ่งถูกปลนหรือถูกลักทรัพยก็ยอม
ปรากฏมีรองรอยการถูกงัดและแตกหัก หรือมีลายนิ้วมือดังกลาวมาแลว กิริยาอาการของบุคคล
ซงึ่ อยทู บ่ี า น หรือใกลท่ีเกดิ เหตุ มีพิรธุ นาสงสัยหรือไม ถา หากมีผูต ายกต็ องมีการตรวจชนั สูตรพลกิ ศพ
โดยเจา พนักงานตาม ป.วิ.อาญา อีกสวนหนงึ่

ง. ทิศทางการเขาออกของบุคคลหรือเหตุการณท่ีเกิดข้ึนเมื่อไดตรวจสอบ
ถามเหตุการณตางๆ ไดความแลวก็ควรจะตองทาํ แผนท่ีเกิดเหตุแสดงรายละเอียดได แผนท่ีน้ี
เปน สง่ิ สําคญั ยงิ่ จะตอ งใชเ ปน พยานในชนั้ ศาลตอ ไป จะตอ งเขยี นโดยอาศยั วทิ ยาการทางแผนทปี่ ระกอบ
ยิ่งใชมาตราสวนที่ถูกไดก็ยิ่งดี ถาหากเหตุการณสับสนยุงยากหรือมีรายละเอียดมากควรทาํ แผนท่ี
สองฉบับแสดงระยะทางติดตอระหวางท่ีเกิดเหตุกับบาน พยานที่รูเห็น สภาพแหงหมูบานน้ัน
โดยละเอียดเปนทํานองแผนผังอีกแผนหนึ่ง การตรวจติดตอชองทางเขาออกของคนรายเปน
สง่ิ สาํ คญั เพราะสงิ่ ทจี่ ะเปน หลกั ฐานนนั้ อาจจะตกอยทู ท่ี างเขา ออกนน้ั บา งกไ็ ด เชน พวกปลน ขนทรพั ย
พาหนไี ป อาจมสี งิ่ ของบางอยา งอยตู ามทางทห่ี นไี ปนน้ั เปน การบอกทศิ ทางทคี่ นรา ยหนี ถา คนรา ยไดร บั
บาดเจ็บไปกอ็ าจมรี อยเลอื ด ไดติดตามตอ ไปถงึ ตวั คนรายไดโดยงาย

ò. º¤Ø ¤Å·ÍÕè Ò¨ÃËÙŒ ÃÍ× ·ÃÒºàËμ¡Ø Òó บคุ คลทอ่ี าจรหู รอื ทราบเหตกุ ารณม หี ลายประเภท
ดว ยกนั แตจ ะกลา วเฉพาะทเี่ หน็ วา เคยไดผ ลในการสบื สวนมาแลว เปน สว นมากเทา นน้ั ซง่ึ อาจแบง แยก
ออกเปนไดด งั นี้

ก. ผูเสียหายหรือพรรคพวกของผูเสียหาย ตามปกติแลวบุคคลประเภทน้ีรูเห็น
เหตุการณสิ่งใด ยอมไมปกปด มักจะบอกเลาแกพนักงานเจาหนาที่เพราะเปนสวนไดเสียของตน
หรอื ของพรรคพวกแตจ ะเช่ือไดเ พียงใดหรือไมจะตอ งพิจารณาตามเหตผุ ล คอื

๑) ตงั้ ใจบอกความจรงิ ตามเหตกุ ารณทเี่ กิดขนึ้ แตอ าจมีบางอยา งท่ีเจา ทกุ ข
หรอื ผเู สยี หายสงสยั ไมแ นใ จ แตไ มช แ้ี จงในรายละเอยี ดและมอี ปุ าทานหลงเชอื่ และเดาวา เปน ความจรงิ
อาจทาํ ใหเกิดการจับตัวคนรายผิด โดยมีเหตุโกรธเคืองหรือโดยการคะเน และบางส่ิงบางอยาง
อาจเกินความจริงไปบางโดยตองการใหคนรายถูกลงโทษอยางหนัก หรือเผื่อเอาไวดังท่ีกลาวกันวา
“ปลาตกนํา้ ตวั โต” ก็อาจเปนได

๒) ไมเปดเผยความจริงใหทราบทั้งหมดเพราะเจาทุกขหรือผูเสียหายนั้น
มีสวนผิดอยูดวยบาง เชน ลักลอบเลนการพนันเกิดทะเลาะทาํ รายกัน ในชั้นแรกคงจะเลาใหฟง
แตเรื่องทํารายกัน สวนสาเหตุท่ีวาทําไมจึงทํารายกันอาจปกปดไว บางรายอาจบอกเปนความเท็จ
ท้ังสนิ้ เพือ่ แกลงใสร า ยหรอื แกลง กลา วทาํ โดยเรือ่ งมไิ ดเกิดข้นึ จริง

๓) เจาทุกขบางคนอาจเกรงกลัวคนราย ต่ืนเตนตกใจกลัวมากเกินไป
สติยังไมเปนปกติหรือไมไววางใจเจาหนาท่ีซ่ึงไปทําการสอบสวนอาจยังไมบอกความจริงหรือบอก
ผิดพลาด ไปไดบาง การสอบถามเจาทุกขในระยะแรก คือ ในตอนสืบสวนเพื่อใหไดความสาํ หรับ

๓๑

การสืบสวนตอไป จึงควรจดบนั ทึกเปน การสบื สวนโดยจดไวเองเพื่อเตือนความจาํ และควรใหเ จาทุกข
มีสติดแี ละไววางใจเสียกอ น

๔) ในกรณีที่เจาทุกขผูเสียหายหรือพยานรูเห็นระบุตัวผูตองหาโดยชัดแจง
เมื่อปรากฏเปนความจริงแลวจะตองรีบดําเนินการสืบสวนจับกุมผูตองหาโดยดวน มิฉะน้ันแลว
อาจทาํ ใหคดีเปนที่นาระแวงสงสัยซ่ึงตรงกันขามกับท่ีเจาทุกขหรือผูเสียหายใหการวาไมรูจักชื่อคนราย
แตจาํ หนาไดย อมทําใหก ารสืบสวนจับตัวคนรายเปนไปดวยความลาํ บาก

ข. บุคคลซึ่งเกี่ยวของหรือเห็นในการกระทําผิด บุคคลที่รูเห็นในจํานวนน้ีมักจะ
เกย่ี วขอ งไปในทางทเี่ ปน พรรคพวกของผตู อ งหาหรอื มสี ว นสมรรู ว มคดิ หรอื การทาํ ความผดิ รว มดว ยกนั
กับผตู องหา แตภายหลงั เกิดแตกพวกกันหรอื ทรยศกนั หรือเมื่อถูกจับกมุ แลวรูสึกผิด และรับสารภาพ
หรอื ถกู พนกั งานสอบสวนกนั เปนพยาน เปน ตน

ค. กํานัน ผูใหญบาน ผูท่ีกวางขวาง หรือเปนท่ีเคารพนับถือของราษฎร กาํ นัน
ผูใหญบาน เปนทั้งเจาหนาท่ีและผูอยูใกลชิดติดตอกับราษฎร ถายิ่งเปนผูที่เคารพนับถือดวยแลว
ก็ยิ่งเปนผูที่จะใหขอมูลขอเท็จจริงในคดีท่ีเกิดไดอยางดีที่สุด ผูสืบสวนมักจะไดกํานันผูใหญบาน
เปน กําลงั สําคญั ในการสบื สวนแสวงหาขอ เทจ็ จรงิ ในตาํ บลใด หมบู า นใด กํานนั หรอื ผใู หญบ า น มเี หลย่ี ม
นักเลงกวางขวาง ซื่อสัตยและทาํ จริง เหตุการณโจรผูรายมักจะสงบไมกลารบกวน ในเขตตําบล
หรือบา นนัน้ บางทียงั อาจคมุ ครองไปถึงตาํ บล หรือหมูบา นอน่ื อีกดว ย

- ผูกวางขวางรูจักคนมาก ก็เปนประโยชนซ่ึงอาจจะทราบเร่ืองหรือรูเห็น
เหตุการณไดดี เพราะเหตุที่กวางขวางอาจมีคนคุยหรือเลาใหฟง หรืออาจเก่ียวของ มีแนวทางตอไป
ใหไดความ บางคนเปนผทู ีเ่ คารพนบั ถอื ของราษฎรนัน้ ถา พวกเขารเู รอื่ งทราบขาวอะไรมกั จะไมป ดบงั
หรือไมก็อาจนําเรอื่ งนนั้ ๆ มาปรกึ ษาหารือหรือขอความชวยเหลอื

ง. ผูมีอิทธพิ ลทางนักเลง ผูเ ทีย่ วเตรซ อกแซก คนขับรถรับจาง
- ผูมีอิทธิพลในทางนักเลงยอมคบหาสมาคมติดตอกับพวกนักเลง

หรือประพฤติมิชอบตางๆ จึงนับไดวา เปนบุคคลท่ีอาจจะรูเห็นเหตุการณไดดี อาจใกลความจริง
ดยี ่งิ กวา บคุ คลในจาํ พวก ค.ขา งตน

- ผูเท่ียวเตรซอกแซก หมายถึง คนท่ีชอบคบหาสมาคมติดตอกับคนที่
ทาํ มาหากินในทางมิชอบซึ่งตนเองอาจจะไมไดรวมดวย แตเปนคนชอบสนุกหรือไมขัดคอจึงพลอย
ไปกับเขาดวย บุคคลชนิดนี้ยอมเปนประโยชนในการสืบสวน และอาจจะเปนสายของเจาพนักงาน
ซง่ึ ปลอมแปลงเขา ไปกไ็ ด

- คนขับรถรับจาง ปกติยอมขับรถตระเวนรับสงคนในเวลาตางๆ
กลางวัน หรือกลางคืน สถานท่ีที่ไปอาจเปนสถานท่ีท่ีนาสงสัย อาจรูเห็นและทราบเหตุการณตางๆ
ไดดี บางคราวอาจเปนผูรับสงผูกระทําผิด เปนผูสมรูรวมคิดกับคนรายหรือเห็นเหตุการณ
การกระทําผดิ ดว ย

๓๒

จ. บุคคลที่อยูในแหลงอบายมุขตางๆ เชน ซองโสเภณี รานคาจําหนายสุรา
บอนการพนัน โรงรับจาํ นาํ ตลอดจนสถานบริการตางๆ เชน อาบอบนวด คาราโอเกะ บุคคล
ทอ่ี ยใู นแหลง เหลา นี้ ยอ มมโี อกาสมัว่ สุม หรอื พบปะคนราย ไดท ราบเหตกุ ารณตา งๆ ทาํ นองเดยี วกับ
บุคคลจาํ พวก

ง. จะมีการแตกตางกันบางก็ดวยสถานที่เหลานี้อาจจะเปนที่พักพิงของคนราย
หรือเปน บอ เกดิ อาชญากรรมรายแรงเสียเอง

- แหลงรับซ้ือของโจร อูรถเถ่ือน อาจเปนสถานที่ดัดแปลง หรือชําแหละ
ชิ้นสว นเพอ่ื ขายเปน อะไหล

- รานตัดผม เจาของรานหรือชางตัดผม อาจจะไดยินไดฟงบุคคล
หลายประเภทท่ีมาตัดผมพูดคุยกัน ถอยคําที่พูดคุยอาจติดหู และอาจมีประโยชนในการสืบสวน
เชน สาํ เนียงการพูด มลี กั ษณะมาจากภาคใด เปนตน

- พอคา หรือคนขายของ อาจสังเกตเห็นลักษณะอันผิดสังเกตบางอยาง
ของลูกคาท่ีมาซื้อของ เชน มีเงินมากผิดปกติหรือใชจายอยางฟุมเฟอยเกินฐานะ ชวนใหสงสัยวา
อาจไดม าโดยไมสุจริต

- เจา ของสถานบรกิ ารตา งๆ หรอื พนกั งานในสถานทเ่ี หลา น้ี ยอ มรจู กั บคุ คล
ทม่ี าใชบ รกิ าร และความเปน ไปของบุคคลนนั้ ไดเ ปนอยา งดี

- รา นถา ยรปู เจา ของรา นอาจรเู รอ่ื งราวเกย่ี วกบั รปู ภาพของบคุ คลทมี่ าจา ง
ถา ยรูป ลา ง อดั รูป หรอื มีรปู ทบ่ี ุคคลมาถายไว

- พนักงานขนของในบริษัทเดินอากาศสายการบินตางๆ บุคคลเหลานี้
อาจรูเห็นและจดจําลักษณะพิเศษ หรือแปลกประหลาดของหีบหอ กระเปาเดินทาง หรืออาจจํา
ผูโดยสารและบุคคลท่ีมาสงผูโดยสารได หากบุคคลหรือหีบหอดังกลาวอยูในขายแหงการสืบสวนแลว
พนักงานเหลา น้อี าจใหความสวา งแกผูส บื สวนได

- โรงพยาบาล คลินิกทันตกรรม แพทย พยาบาล ทันตแพทย ตลอดจน
บุคคลท่ีทํางานในสถานท่ีดังกลาวยอมรูเรื่องเกี่ยวกับอาการความเจ็บปวย หรือบาดแผลตางๆ ได
เปน อยา งดโี ดยเฉพาะแผลอนั เกดิ จากอาวธุ ชนดิ ตา งๆ หรอื ของมคี ม เปน ตน โรงพยาบาลยอ มมขี อ มลู
วันเวลาทบี่ ุคคลมาทําการรักษาอยู

- ผูมีอาชีพทางการขนสงเคร่ืองอุปโภคบริโภคตามบานเรือนยอมรูจัก
ตัวบุคคล ท่ีอยูอาศัย ตลอดจนความเปนไปและนิสัยใจคอของบรรดาบุคคลในเขตทองท่ีที่ตนตอง
ทํางานเกย่ี วขอ ง

- ชา งซอ มประปา ไฟฟา หรือพนักงานเก็บคา ประปา ไฟฟา บุคคลเหลานี้
อาจเปนประโยชนใ นการใหขอมลู ทางการสืบสวนไดท งั้ สน้ิ

๓. สิ่งของตาง ๆ ที่เปนวัตถุพยานในท่ีเกิดเหตุ และของกลางท่ียึดได เปนหลักฐาน
อยา งหนึง่ ที่สามารถสืบสวนใหไ ดมูลเหตุ หรอื รตู ัวคนรา ย ซ่ึงวิธสี บื สวนจากสงิ่ เหลาน้ีใชไ ด ๒ วธิ ี คือ
ใชท างดา นวิทยาการเขา ชว ย และสบื หาจากตวั บุคคล ในทนี่ จ้ี ะกลาวแตเฉพาะสบื จากบคุ คล

๓๓

ก. ผเู คยใช ผเู คยเหน็ หรือเกย่ี วขอ ง ซ่ึงจาํ สง่ิ ของนนั้ ได ในขอ นมี้ กั จะเปน ปญ หา
สําคัญในการพิจารณาเก่ียวกับการโตเถียงกรรมสิทธ์ิในส่ิงของน้ันวาเปนของใคร และการยืนยัน
ในขอท่ีวาจําได การใหการวาจาํ ไดโดยไมมีเหตุผลยอมไมอาจรับฟงได เชน ในเรื่องคดีลักทรัพย
หรือรับของโจร ถาผูตองหาตอสูกรรมสิทธ์ิของกลางท่ีจับได ถาไมมีหลักฐานยืนยันในเร่ืองของกลาง
โดยมีเหตุผลท่มี นี ้าํ หนกั แลว เปนการยากทีจ่ ะใหศ าลลงโทษ ของกลางบางอยางมสี ภาพไมเหมือนกัน
หรือมีแตเฉพาะคนบางกลุมบางพวก เชน พระเคร่ือง ภาพถาย เคร่ืองแตงบาน ฯลฯ
เปนการงายที่จะสืบหาเจาของ และมักจะไมคอยมีขอโตเถียงกรรมสิทธิ์สิ่งของท่ีตกอยูในท่ีเกิดเหตุ
เชน มีดพก หมวกคนราย เปนตน อาจจะสืบหาคนรายไดโดยสอบถามจากคนที่เคยเห็นหรือจําได
โดยถือหลกั ดังกลา วขา งตน

ข. ผเู ปน เจา ของ หรอื ผปู ระดษิ ฐห รอื จดั ทาํ สง่ิ ของนน้ั บคุ คลในประเภทนย้ี อ มเปน
ผูที่จะยืนยันในสิ่งของน้ันมีนํา้ หนักดีกวาการที่เคยเห็นใช เชน เสื้อผาท่ีตัดจากรานเย็บเส้ือผา
โดยวิธีวดั ตัด และตดิ ช่ือหรอื ยหี่ อ ของราน ผเู ยบ็ หรอื ตดั ยอ มระลึกไดว า เสอ้ื ที่ตนเยบ็ นนั้ มีรอยตําหนิ
หรือรปู ลักษณพ เิ ศษอยา งไร ใครเปนคนวาจา ง และมบี ัญชบี นั ทกึ ขนาดของเสอื้ นั้นปรากฏอยู

ค. แหลงหรือสํานักที่อาจรับหรือมีสิ่งของนั้นไว เชน โรงรับจาํ นาํ บางราน
หรือบุคคลที่เคยรับซื้อของโจร การที่ติดตามสิ่งของที่หายไป ถาผูสืบสวนรูเบาะแสดังกลาว
ยอมสกัดจับของกลางหรือจับของที่ตองการน้ันไดโดยงาย นอกจากน้ัน ยังอาจจะบอกช่ือเจาของ
หรือบคุ คลซ่งึ สงสยั วา จะมหี รือใชสง่ิ ของเชนน้นั ได

áËŧ‹ ¢ŒÍÁÙÅ·èÕà¡ÂèÕ Ç¡Ñº»ÃЪҡÃáÅкؤ¤Å

ในการสืบสวนคดีที่เกิดขึ้นนั้นภายหลังจากการตรวจท่ีเกิดเหตุของผูสืบสวนอาจทราบถึง
ตัวคนรายหรือผูกระทาํ ผิดในทันที การติดตามจับกุมโดยเรงรีบจะตองกระทําในเวลานั้น ผูสืบสวน
จะตอ งสบื สวนซักถามพยานใหร ถู งึ รปู พรรณของคนรา ย เส้ือผา ที่สวมใสใ นเวลาเกดิ เหตุ ความจําเปน
ในการจดจาํ รูปรางหนาตาของคนรายไดดีที่สุดก็คือ ภาพถายของคนรายน้ันเอง การที่จะไดมา
ซึ่งภาพถา ยของคนรายหรอื บุคคล ผสู ืบสวนจะตอ งรถู ึงแหลง ขอมูลทีเ่ ก่ียวของกับประชากรและบคุ คล
ดังน้ี

๑. กองทะเบียนประวัติอาชญากร เปนหนวยงานหน่ึงในสาํ นักงานตํารวจแหงชาติ
เปนหนวยงานระดับกองบังคับการในสังกัด สํานักงานพิสูจนหลักฐานตาํ รวจเปนแหลงขอมูลชวย
ในการสบื สวน เปน สถานทเี่ กบ็ รวบรวมประวตั ิ รปู ถา ย และแผนประทษุ กรรมของคนรา ย ทาํ ใหผ สู บื สวน
สามารถท่จี ะคนหาขอมูลบางอยางทีต่ อ งการได

๒. งานทะเบยี นราษฎรและงานทะเบยี นบตั รประจาํ ตวั ประชาชนของหนว ยงานปกครอง
สว นกลางและสวนทองถน่ิ เปนแหลง ขอ มลู ทผ่ี สู บื สวนสามารถท่ีจะติดตอ ประสาน เพ่ือทราบถ่นิ ท่ีอยู
สถานะบคุ คลในครอบครวั สถานทอ่ี ยใู นปจ จบุ นั ของบคุ คล ภาพถา ยของบคุ คล สามารถใชเ ปน แนวทาง
ในการตดิ ตามบคุ คลหรือจบั กุมคนรายได

๓๔

๓. เรือนจําในสังกัดกรมราชทัณฑ เปนแหลงขอมูลเกี่ยวกับตัวผูตองขังหรือนักโทษ
ในกรณีท่ีมีการหลบหนีจากเรือนจาํ ของนักโทษ การติดตามจับกุมตัวน้ันจะกระทาํ ไดบรรลุผลก็จะตอง
อาศัยขอมูลท่ีทางเรือนจําตางๆ มี เชน รูปถาย และประวัตินักโทษน้ันๆ ท่ีทางเรือนจาํ ไดจัดทาํ ไว
ผูสืบสวนสามารถที่จะประสานงานขอความรว มมอื ได

๔. สถานประกอบการภาครฐั และเอกชน เปน สถานทท่ี อี่ าจรบั บคุ คลเขา ทํางาน ในสาขา
วชิ าชพี ตา งๆ ซง่ึ จะตอ งมขี อ มลู เกยี่ วกบั บคุ คล ในบางครง้ั ผสู บื สวนมคี วามจาํ เปน ทจ่ี ะตอ งประสานงาน
เพือ่ ใหไ ดข อมลู มาใชป ระโยชนใ นการติดตามบุคคลหรอื คนรา ยทตี่ องการไดอยา งมีประสิทธภิ าพ

¡ÒÃÊÌҧáËÅ‹§¢Ò‹ Ç
¹Ñ¡Ê׺·Ø¡¹ÒÂμŒÍ§

๑. มีแหลงขาวในแหลง และกลุม ชน ดังนี้
๑.๑ ทกุ กลุมอาชีพ และชั้นของสังคม
๑.๒ ทกุ แหลงสถานทีท่ ีเ่ ช่อื วามีขาวสารอาชญากรรม เชน
๑.๒.๑ โรงแรม
๑.๒.๒ แฟลต
๑.๒.๓ สถานบรกิ ารใหเชา รถ
๑.๒.๔ ยานชุมชนแออัด

๒. สรา งแหลงขา วเพม่ิ เตมิ และปรบั ปรุงใหท นั สมัยอยูเ สมอ

¡ÒäǺ¤ØÁáÅл¯ºÔ ÑμÔμÍ‹ áËŧ‹ ¢Ò‹ Ç

ñ. ¡ÒäǺ¤ÁØ áËÅ‹§¢Ò‹ Ç
ใหจ ดั ทาํ เอกสารควบคุมแหลง ขา วซ่ึงไดแ ก
๑.๑ สมดุ คุมแหลง ขาวประจําตัวนกั สบื ทกุ นาย เพ่อื ใหนกั สบื ผนู ้ันทราบวา
๑.๑.๑ ตนเองมีผใู หข าวกคี่ น อยูที่ใดบาง แตละคนมีความสามารถทางใด
๑.๑.๒ ผูใหขาวแตละคน ใหขาวเรื่องอะไรบาง ผลของการสืบสวนในขาว

แตล ะเรอื่ งเปน อยา งไร เพอ่ื วดั ความสามารถและความเชื่อถือตวั ผูใหข า วคนนัน้
๑.๒ สมุดคุมแหลงขาวของหนวยงาน แยกตามประเภทของแหลงขาว เพ่ือให

นักสืบไดท ราบวา
๑.๒.๑ มีแหลงขาวอยูที่ใดบางในทองท่ีของตน ใครเปนผูใหขาวในแตละ

แหลงขาว นักสืบผูใดมีหนาที่รับผิดชอบควบคุมแหลงขาวใดบาง เม่ือมีความจาํ เปนตองหาขาวจาก
แหลง ขา วเหลา น้ัน กส็ ามารถใชไ ดถูกตอ ง

๓๕

ò. ¡Òû¯ºÔ μÑ μÔ ‹ÍáËÅ‹§¢‹ÒÇ
๒.๑ ผูรับผิดชอบแหลงขาวตองติดตอประสานงานกับผูใหขาวตามแหลงตางๆ

ท่ีตนรับผิดชอบอยูอยางสมํ่าเสมอ เพื่อกอใหเกิดความใกลชิด ไววางใจและติดตามการแจงขาว
ของผูใหข าวอยางตอ เน่อื ง

๒.๒ ผูรับผิดชอบแหลงขาวตองกาํ หนดวิธีการรับ-สงขาว ระหวางตัวนักสืบ
กับผูใหขาว

¡ÒûÃÐàÁÔ¹¤‹Ò¢Í§áËŧ‹ ¢Ò‹ ÇáÅÐμÇÑ ¢Ò‹ Ç

¡ÒûÃÐàÁ¹Ô ¤Ò‹ ¢Í§áËÅ‹§¢Ò‹ Ç ¡ÒûÃÐàÁÔ¹¤‹Ò¢Í§μÑÇ¢‹ÒÇËÃÍ× à¹Íé× ËҢͧ¢‹ÒÇ
(¹‹ÒàªÍè× ¶×Í/äÁ‹¹‹Òàªè×Ͷ×Í) (¹Ò‹ àª×Íè ¶×Í/äÁ¹‹ ‹Òàª×Íè ¶×Í)

- ตวั แหลงขาว (สายขา ว/สายลับ) มี ๖ ระดบั - การประเมิน เน้ือขาว (มี ๖ ระดบั )
ก. เชอื่ ไดเ ตม็ ที่ ๑. ไดรับการยนื ยนั จากแหลง ขา วอ่นื
ข. เชื่อถอื ได ๒. นา จะเปน ความจริง
ค. พอจะเช่อื ถือได ๓. อาจจะเปน ความจรงิ
ง. ยงั ไมค วรจะเช่ือถือ ๔. สงสัยวาจะเปนความจรงิ
จ. เช่อื ถือไมได ๕. ไมนาจะเปน ไปได
ฉ. ไมสามารถกาํ หนดความเชือ่ ถือได ๖. ไมนาตัดสนิ ความจรงิ ได
- (ของตางประเทศ) - (ของตา งประเทศ)
A * โดยปราศจากขอสงสัยวาเชื่อได ๑. รูวาเปนความจริงโดยปราศจาก
แนน อน (ทีม่ าเชอ่ื มน่ั ไดอยา งสมบรู ณ) ขอ สงสยั
B * ทผ่ี า นมาเชอ่ื ถอื ไดเปนสวนใหญ ๒. ขาวเปนที่รูจากแหลงแตยังไมได
C * ทผี่ า นมาเชื่อถือไมไดเ ปนสว นใหญ รายงานใหเ จา หนา ท่ี
X * ไมสามารถตัดสินได (เปนแหลงที่ ๓. ขาวไมเปนท่ีรูจักจากแหลงแตรูมาจาก
ไมเ คยใชมากอน) ผูอน่ื และไดมีการบนั ทกึ ไวแ ลว
๔. ไมสามารถตัดสินได* ขาวไมสามารถ
รูไ ดจ ากแหลงและผูอน่ื

๓๖

μÒÃÒ§¡ÒûÃÐàÁÔ¹¤‹Ò¡Òâҋ Ç â´Â»ÃÒȨҡ ·Õ輋ҹÁÒ ·èÕ¼Ò‹ ¹ÁÒ äÁ‹ÊÒÁÒö
¢ÍŒ ʧÊÂÑ ÇÒ‹ àªèÍ× ¶×Íä´Œ àª×Íè ¶Í× äÁä‹ ´Œ μ´Ñ ÊԹ䴌
ÁÒμäÇÒÁàª×èÍÁè¹Ñ ¢Í§áËŧ‹ ¢‹ÒÇ àªÍè× ä´Œá¹¹‹ ͹ ໹š ʋǹãËÞ‹ ໹š ʋǹãËÞ‹
มาตรความเท่ียงตรงของขา ว
A B CX

รวู า เปน ความจรงิ โดยปราศจากขอ สงสยั ๑ A๑ B๑ C๑ X๑
ขาวเปนที่รูจากแหลงแตยังไมได ๒ A๒ B๒ C๒ X๒
รายงานใหเจา หนาท่ี

ขาวไมเปนท่ีรูจักจากแหลงแตรูมา ๓ A๓ B๓ C๓ X๓
จากผูอน่ื และไดม กี ารบันทึกไวแลว

ไมส ามารถตดั สนิ ได ๔ A๔ B๔ C๔ X๔

¢‹ÒÇ·Õè ¹‹ÒàªÍè× ¶×Í·ÕèÊ´Ø ¤×Í Añ
¢‹ÒÇ·èÕ äÁ¹‹ ‹Òàª×èͶ×Í·ÊèÕ Ø´ ¤Í× Xô

๓๗

º··èÕ ó

¡ÒÃáÊǧËÒ¾ÂÒ¹ËÅ¡Ñ °Ò¹

áËŧ‹ ·Õ¨è оºÇÑμ¶Ø¾ÂÒ¹

๑. สถานทเี่ กดิ เหตุ ซงึ่ เปน สถานทท่ี เ่ี กดิ เหตขุ นึ้ และเปน แหลง รวมของบรรดาวตั ถพุ ยาน
สวนใหญ เชน รอยลายนว้ิ มือแฝง ปลอกกระสนุ ปน ศพ รอ งรอยคนรา ย เราถอื วาสถานทเี่ กิดเหตคุ อื
หัวใจของการสืบสวนหรือขุมทรัพยพยานหลักฐาน คนรายจะท้ิงรองรอยไวเสมอไมมากก็นอยขึ้นกับ
เจา หนาทจี่ ะมีความรูค วามสามารถในการทจี่ ะคนหาและเกบ็ วัตถพุ ยานไดม ากนอ ยเพยี งใด

๒. ทต่ี วั ของผเู สยี หาย เชน ในศพ หรอื ในกรณผี ถู กู อาวธุ ปน และมกี ระสนุ ฝง อยใู นรา งกาย
หรอื คดีขมขนื กระทาํ ชาํ เรา ซง่ึ วัตถุพยานสําคัญ เชน บาดแผล เสนขน เน้อื เย่อื อสุจิ เปนตน จะอยใู น
รางกายผเู สยี หาย

๓. ท่ตี วั คนราย เพราะหากคนรา ยเขาไปในท่ีเกิดเหตแุ ลวนาจะตอ งนาํ สง่ิ ของบางอยา ง
หรอื มีส่งิ ของบางอยางตดิ ตวั ไป เชน ทรัพยสิน เศษหิน ดนิ ทราย (ไปกบั พน้ื รองเทา ) หรอื ทิง้ รองรอยไว
เชน คราบโลหิต นา้ํ ลาย ลายน้ิวมอื เปน ตน

๔. ที่อ่ืนๆ เชน คนรายยิงคนตายแลวหลบหนีไปพรอมอาวุธปนของกลาง ระหวาง
หลบหนีไดนาํ ปน ไปโยนทิ้งแมน ํ้า เปนตน

ó.ñ ¡ÒÃáÊǧËÒ¾ÂÒ¹ËÅ¡Ñ °Ò¹¨Ò¡¡ÒèºÑ /¤Œ¹/´Ö

¢Í§¡ÅÒ§
คําวาของกลางในคดีอาญา ไมปรากฏคําอธิบายในกฎหมายใดซ่ึงจะไดอธิบายไว
โดยชดั แจง เกย่ี วกบั ความหมาย นอกจากคาํ วา “สงิ่ ของ” ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา
มาตรา ๒(๑๘) ซึง่ หมายถงึ สังหาริมทรัพยใด ซึ่งอาจใชเ ปนพยานหลกั ฐานในคดีอาญาได ใหรวมทงั้
จดหมาย โทรเลขและเอกสารอยางอื่นๆ ซึ่งแทจริงแลวคาํ วาของกลางยังมีความหมายอยางกวาง
มากกวาคาํ วา “ส่ิงของ” ดังนั้น จึงตองอาศัยการตีความจากหลักของเจตนารมณของกฎหมายตางๆ
ทีเ่ กี่ยวขอ งซงึ่ ไดกลาวอธิบายไว อาทเิ ชน
การสบื สวน คือ การแสวงหาขอ เท็จจรงิ และหลักฐาน ซึ่งในบางครง้ั หลักฐานที่สบื สวนพบ
ก็กลายสภาพเปนของกลางในคดีอาญา ดังนั้น ตองทําความเขาใจและควรเรียนรูเกี่ยวกับของกลาง
ในคดอี าญาไวป ระกอบ เพราะมฉิ ะนน้ั แลว จะพบเหน็ เจา พนกั งานตาํ รวจไปตรวจคน และยดึ สงิ่ ของตา งๆ
มาจํานวนมากมาย แตกลับไมถูกนํามาใชเปนพยานหลักฐานหรือไมไดแปรสภาพมาเปนของกลาง
ในคดอี าญาแตอ ยา งใด จงึ มขี อ พพิ าทจาํ นวนมากเกดิ ขน้ึ ตามมาเกยี่ วกบั อาํ นาจการยดึ และระยะเวลา
ในการยดึ สงิ่ ของเหลา นน้ั รวมถงึ ปญ หาในการเกบ็ รกั ษาวา ใครจะเปน ผรู บั ผดิ ชอบ ตลอดจนเกดิ ปญ หา
เก่ียวกบั การสงมอบสิง่ ของเหลา นนั้ คืนแกเจา ของหรอื ผูมีสิทธ์เิ มือ่ มกี ารยืน่ คํารองขอรบั สง่ิ ของคืน

๓๘

จึงเปนเรื่องจําเปนท่ีเจาพนักงานตํารวจผูมีหนาท่ีในการสืบสวนคดีอาญา ตองมีความรู
และทราบถึงเจตนารมณของกฎหมายในการที่จะใหอํานาจเจาพนักงานในการยึดหรืออายัดส่ิงของ
เพ่ือประโยชนในการบังคับใชกฎหมาย ซ่ึงเมื่อพิจารณาถึงเจตนารมณของกฎหมายแลว พอจะวาง
หลักเกณฑเ กยี่ วกับคาํ วาของกลางในคดีอาญา ไดดังนี้

๑. หมายถงึ สงิ่ ของทยี่ ึดไวเ พื่อใหศาลมคี ําสั่งริบ (สง่ิ ของทีม่ ไี วเปนความผิด)
๒. หมายถึงสิ่งของทยี่ ึดไวเพราะสงสัยวา เปนส่ิงของทไี่ ดใช มไี วเพื่อใช หรือไดมาจาก
การกระทาํ ความผิด (บางสิ่งคืนเจา ของท่แี ทจรงิ บางส่งิ ศาลมีคาํ ส่งั รบิ )
๓. หมายถงึ สง่ิ ของทยี่ ดึ ไวเ พอ่ื ใชเ ปน พยานหลกั ฐานในคดอี าญา (สว นใหญใ ชเ ปน พยาน
หลักฐานในคดีอาญา และอาจส้ินสภาพไปเพราะการตรวจพิสจู น)
๔. หมายถึงสิ่งของที่ยึดไวเพราะหาเจาของที่แทจริงไมได รัฐรักษาผลประโยชนไว
เพ่อื ปองกันการโตแยง ทางแพง ของเอกชน (เชน ส่งิ ของตกหลน ทมี่ ผี เู ก็บได)
ó.ñ.ñ ÊÔ觢ͧ·ÂèÕ ´Ö äÇŒà¾Íè× ãËŒÈÒÅÁคÕ ําʧÑè úÔ

ของกลางในคดีอาญาตามความหมายน้ี หมายถึง สิ่งของท่ีเจาพนักงานผูมี
หนา ทส่ี บื สวนตอ งยดึ หรอื อายดั ไวเ สมอ เพอื่ ใหศ าลมคี าํ สง่ั รบิ ซงึ่ ถอื วา เปน การรบิ เดด็ ขาด เปน ไปตาม
หลกั กฎหมายในประมวลกฎหมายอาญา ดงั นี้

ÁÒμÃÒ óò ทรัพยสินใดท่ีกฎหมายบัญญัติไววา ผูใดทําหรือมีไวเปนความผิด
ใหรบิ เสยี ท้ังส้นิ ไมวา เปน ของผูกระทําความผิด และมีผถู กู ลงโทษตามคําพิพากษาหรอื ไม

ÁÒμÃÒ óõ ทรัพยสินซ่ึงศาลพิพากษาใหริบใหตกเปนของแผนดิน แตศาลจะ
พิพากษาใหทําใหทรพั ยสินนนั้ ใชไ มไ ดห รือทําลายทรพั ยสินน้ันเสยี กไ็ ด

ดังนั้น เม่ือเจาพนักงานตํารวจผูมีหนาท่ีในการสืบสวนคดีอาญา ไดสืบสวนพบ
ส่ิงของซึ่งมีลักษณะตามท่ีไดอธิบายแลวขางตน จะตองยึดไวเปนของกลางเสมอ โดยมิตองคํานึงวา
จะมีผูตองหาหรือผูที่ตองไดรับโทษตามกฎหมายสําหรับความผิดนั้นๆ หรือไม และระยะเวลา
ในการยดึ น้ัน กย็ ึดไวไ ดจ นกวาศาลจะมีคาํ สง่ั รบิ

ó.ñ.ò ÊèÔ§¢Í§·èÕÂÖ´äÇŒà¾ÃÒÐʧÊÑÂÇ‹Ò໚¹ÊèÔ§¢Í§·èÕ䴌㪌 ÁÕäÇŒà¾è×Í㪌 ËÃ×Íä´ŒÁÒ¨Ò¡
¡ÒáÃÐทาํ ¼Ô´

ของกลางในคดีอาญาตามความหมายนี้ หมายถงึ ส่งิ ของทีเ่ จาพนักงานผมู ีหนาที่
สบื สวนไดทราบขอ เท็จจรงิ หรือเพราะมีเหตุอนั ควรสงสยั วาจะเปนสง่ิ ของท่ีไดใ ช มไี วเ พ่อื ใช หรอื ไดม า
จากการกระทําผิด จึงตองยึดไวเปนของกลาง เพราะเหตุท่ีหากเปนสิ่งของท่ีไดใช หรือมีไวเพ่ือใช
ในการกระทาํ ผดิ จรงิ ทาํ ใหพ สิ จู นไ ดว า มกี ารกระทาํ ผดิ อาญาเกดิ ขนึ้ และทาํ ใหพ อจะทราบรายละเอยี ด
แหง ความผดิ นน้ั ๆ นอกจากนน้ั ยงั สามารถนาํ ไปใชเ ปน พยานหลกั ฐานสาํ คญั ในคดอี าญาในชน้ั สอบสวน
และการพิจารณาคดีของศาลเพ่ือพสิ จู นค วามผิดผูตองหาหรอื จําเลย

สําหรับส่ิงของที่สงสัยวาจะไดมาจากการกระทําผิดก็ตองยึดไวใชเปนพยาน
หลักฐานเพ่ือพิสูจนความผิดของผูตองหาหรือจําเลย อาทิเชน ความผิดฐานลักทรัพยหรือรับของโจร
นอกจากนคี้ วามสาํ คญั ทต่ี อ งยดึ สง่ิ ของประเภทนไี้ วเ ปน ของกลางคอื กรณที ย่ี ดึ ไวเ พอื่ สง คนื แกเ จา ของ
ทแี่ ทจ รงิ หรือผมู ีสทิ ธิในส่งิ ของน้ัน

๓๙

ซง่ึ ของกลางประเภทนเี้ ปน ไปตามหลกั ประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา
ÁÒμÃÒ öù เหตุที่จะออกหมายคน ไดมีดังตอไปนี้
(๑) เพ่ือพบและยึดสิ่งของซ่ึงจะเปนพยานหลักฐานประกอบการสอบสวน
ไตส วนมลู ฟองหรือพจิ ารณา
(๒) เพ่ือพบและยึดส่ิงของซ่ึงมีไวเปนความผิด หรือไดมาโดยผิดกฎหมาย
หรอื มีเหตุอันควรสงสัยวาไดใ ชห รอื ตงั้ ใจจะใชใ นการกระทาํ ความผิด
(๓) เพื่อพบและชวยบุคคลซ่ึงไดถูกหนวงเหนี่ยวหรือกักขัง โดยมิชอบดวย
กฎหมาย
(๔) เพ่อื พบบคุ คลซ่งึ มหี มายใหจับ
(๕) เพอ่ื พบและยดึ สงิ่ ของตามคาํ พพิ ากษาหรอื ตามคาํ สงั่ ศาล ในกรณที จี่ ะพบ
หรือจะยดึ โดยวิธีอน่ื ไมไดแลว และหลักประมวลกฎหมายอาญา
ÁÒμÃÒ óó ในการริบทรัพยสิน นอกจากศาลจะมีอํานาจริบตามกฎหมาย
ท่บี ญั ญัตไิ วโ ดยเฉพาะแลว ใหศ าลมอี าํ นาจสง่ั ใหริบทรพั ยสินดังตอไปน้อี ีกดว ย คือ
(๑) ทรพั ยสนิ ซ่งึ บคุ คลไดใช หรือมีไวเ พอื่ ใชใ นการกระทาํ ความผดิ หรือ
(๒) ทรัพยสนิ ซึ่งบคุ คลไดมาโดยไดกระทาํ ความผิด
เวนแตทรพั ยสินเหลานีเ้ ปน ทรัพยส ินของผอู ื่นซ่งึ มไิ ดรเู หน็ เปน ใจดวยในการกระทาํ ความผดิ
ÁÒμÃÒ óô บรรดาทรัพยสนิ
(๑) ซงึ่ ไดใ หต ามความในมาตรา ๑๔๓ มาตรา ๑๔๔ มาตรา ๑๔๙ มาตรา ๑๕๐
มาตรา ๑๖๗ มาตรา ๒๐๑ หรือมาตรา ๒๐๒ หรอื
(๒) ซึ่งไดใหเพื่อจูงใจบุคคลใหกระทําความผิด หรือเพ่ือเปนรางวัลในการ
ที่บุคคลไดกระทําความผิด ใหริบเสียท้ังส้ิน เวนแตทรัพยสินนั้นเปนของผูอื่นซึ่งมิไดรูเห็นเปนใจดวย
ในการกระทาํ ความผิด
ÁÒμÃÒ óö ในกรณีท่ศี าลส่งั ใหร บิ ทรพั ยส ินตามมาตรา ๓๓ หรอื มาตรา ๓๔
ไปแลว หากปรากฏในภายหลงั โดยคาํ เสนอของเจาของแทจ ริงวา ผูเปน เจา ของแทจ รงิ มิไดร เู หน็ เปนใจ
ดวยในการกระทําความผดิ ก็ใหศาลส่งั ใหค นื ทรัพยส นิ ถาทรพั ยส ินนั้นยังคงมีอยใู นความครอบครอง
ของเจาพนักงานแตคําเสนอของเจาของแทจริงนั้นจะตองกระทําตอศาลภายในหน่ึงปนับแตวัน
คาํ พิพากษาถงึ ทสี่ ดุ
ขอ สงั เกต ประการสาํ คญั ของการยดึ ของกลางประเภทนี้ คอื การตคี วามเกยี่ วกบั คาํ วา เหตุ
อันควรสงสัย ซ่ึงตองมีหลักฐานขอเท็จจริงพอสมควรท่ีจะสนับสนุนขออางของเจาพนักงานผูมีหนาที่
ในการสืบสวนอาญา นอกจากนี้ยังมีขอสังเกตเก่ียวกับระยะเวลาในการยึด อายัด วาจะมีกําหนด
ถึงเมื่อใด เพราะมูลเหตุอันควรสงสัยน้ัน บางคร้ังไดส้ินสุดลงแลว อํานาจในการยึด อายัด
จงึ ควรจะหมดตามไปดว ย เวน แตจ ะมขี อ เทจ็ จรงิ อนื่ มาสนบั สนนุ หรอื ไดเ ปลยี่ นมลู เหตอุ นั ควรสงสยั เปน
มูลเหตจุ ริง

๔๐

นอกจากนี้ยังมีขอสังเกตเก่ียวกับหลักเกณฑขอน้ี ในเรื่องการคืนหรือสั่งคืนของกลางที่ยึด
หรืออายัดวา ไดก ระทาํ ไปโดยมีการตรวจสอบสทิ ธิ์อยา งแนชัดแลวหรอื ไม กระทบสิทธิข์ องผใู ดหรือไม
และผูบุคคลน้ันมีสิทธ์ิไลเบี้ยเอากับผูกระทาํ ความผิดอาญาไดหรือไม ซึ่งในกรณีจะเกี่ยวของสัมพันธ
ดังปรากฏอยใู นประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญา

ÁÒμÃÒ ôó คดีลักทรัพย ว่ิงราว ชิงทรัพย ปลนทรัพย โจรสลัด กรรโชก
ฉอโกง ยักยอกหรือรับของโจร ถาผูเสียหายมีสิทธิที่จะเรียกรองทรัพยสิน หรือราคาท่ีเขาสูญเสียไป
เน่ืองจากการกระทําผิดคืน เมื่อพนักงานอัยการย่ืนฟองคดีอาญา ก็ใหเรียกทรัพยสินหรือราคา
แทนผเู สียหายดว ย

ÁÒμÃÒ ôô การเรียกทรัพยสินหรือราคาคืนตามมาตรากอน พนักงานอัยการ
จะขอรวมไปกับคดีอาญาหรือจะย่ืนคํารองในระยะใดระหวางท่ีคดีอาญากาํ ลังพิจารณาอยูในศาลชั้นตน
ก็ได

คําพพิ ากษาในสว นเรยี กทรพั ยส นิ หรอื ราคาใหร วมเปน สว นหนง่ึ แหง คาํ พพิ ากษา
ในคดีอาญา

ÁÒμÃÒ ôô/ñ ในคดที ่พี นักงานอัยการเปน โจทก ถา ผเู สยี หายมีสิทธทิ ่จี ะเรยี กเอา
คา สนิ ไหมทดแทนเพราะเหตไุ ดร บั อนั ตรายแกช วี ติ รา งกาย จติ ใจ หรอื ไดร บั ความเสอื่ มเสยี ตอ เสรภี าพ
ในรางกาย ช่ือเสียงหรือไดรับความเสียหายในทางทรัพยสินอันเน่ืองมาจากการกระทาํ ความผิดของ
จาํ เลย ผูเสียหายจะย่ืนคาํ รองตอศาลท่ีพิจารณาคดีอาญาขอใหบังคับจาํ เลยใหคาสินไหมทดแทน
แกต นกไ็ ด

การยน่ื คํารอ งตามวรรคหน่ึง ผูเสียหายตองย่นื คํารองกอนเริม่ สืบพยาน ในกรณี
ที่ไมมีการสืบพยานใหย่ืนคาํ รองกอนศาลวินิจฉัยช้ีขาดคดี และใหถือวาคํารองดังกลาวเปนคาํ ฟอง
ตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงและผูเสียหายอยูในฐานะโจทกในคดี
สว นแพง นนั้ ทงั้ นี้ คาํ รอ งดงั กลา วตอ งแสดงรายละเอยี ดตามสมควรเกยี่ วกบั ความเสยี หาย และจํานวน
คา สนิ ไหมทดแทนทเ่ี รยี กรอ ง หากศาลเหน็ วา คาํ รอ งนน้ั ยงั ขาดสาระสาํ คญั บางเรอ่ื ง ศาลอาจมคี ําสง่ั ให
ผูรองแกไ ขคาํ รอ งใหช ัดเจนกไ็ ด

คํารองตามวรรคหน่ึงจะมีคาํ ขอประการอ่ืนท่ีมิใชคาํ ขอบังคับใหจาํ เลยชดใช
คาสินไหมทดแทนอันเนื่องมาจากการกระทาํ ความผิดของจาํ เลยในคดีอาญามิได และตองไมขัดขืน
หรอื แยง กบั คําฟอ งในคดอี าญาทพี่ นกั งานอยั การเปน โจทก และในกรณที พ่ี นกั งานอยั การไดด าํ เนนิ การ
ตามความใน มาตรา ๔๓ แลว ผเู สยี หายจะยน่ื คํารอ งตามวรรคหนง่ึ เพอ่ื เรยี กทรพั ยส นิ หรอื ราคาทรพั ย
อกี ไมได

ÁÒμÃÒ ôô/ò เมอ่ื ไดร ับคาํ รอ งตาม มาตรา ๔๔/๑ ใหศ าลแจง ใหจําเลยทราบ
หากจาํ เลยใหการประการใดหรือไมประสงคจะใหการใหศาลบันทึกไว ถาหากจําเลยประสงคจะทํา
คําใหการเปน หนังสือใหศาลกําหนดระยะเวลายื่นคาํ ใหก ารตามท่ีเหน็ สมควร และเม่อื พนกั งานอัยการ

๔๑

สืบพยานเสร็จศาลจะอนุญาตใหผูเสียหายนาํ พยานเขาสืบถึงคาสินไหมทดแทนไดเทาท่ีจําเปน
หรือศาลจะพิจารณาพิพากษาคดอี าญาไปกอนแลวพจิ ารณาพิพากษาคดสี ว นแพงในภายหลัง

ถาความปรากฏตอศาลวาผูย่ืนคํารองตาม มาตรา ๔๔/๑ เปนคนยากจน
ไมส ามารถจดั หาทนายความไดเ อง ใหศ าลมอี าํ นาจตัง้ ทนายความใหแ กผูนั้น โดยทนายความทไ่ี ดรบั
แตงต้งั มีสิทธไิ ดรับเงนิ รางวัลและคา ใชจา ยตามระเบยี บทีค่ ณะกรรมการบรหิ ารศาลยุตธิ รรมกําหนด

ÁÒμÃÒ ôõ คดีเรื่องใดถึงแมวาไดฟองในทางอาญาแลวก็ไมตัดสิทธิผูเสียหาย
ทจี่ ะฟองในทางแพง อีก

ÁÒμÃÒ ôö ในการพิพากษาคดีสว นแพง ศาลจําตอ งถือขอเทจ็ จริงตามทป่ี รากฏ
ในคาํ พพิ ากษาคดสี วนอาญา

ÁÒμÃÒ ô÷ คาํ พิพากษาคดีสวนแพงตองเปนไปตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย
อันวาดวยความรับผิดของบุคคลในทางแพงโดยไมตองคํานึงถึงวาจําเลยตองคาํ พิพากษาวาไดกระทํา
ความผดิ หรอื ไม

ราคาทรัพยสินที่ส่ังใหจําเลยใชแกผูเสียหายใหศาลกาํ หนดตามราคาอันแทจริง
สวนจาํ นวนเงินคาสินไหมทดแทนที่ผูเสียหายจะไดรับนั้น ใหศาลกาํ หนดใหตามความเสียหายแตตอง
ไมเ กนิ คาํ ขอ

ÁÒμÃÒ ôø เมื่อศาลพิพากษาใหคืนทรพั ยสนิ แตย งั ไมปรากฏตัวเจา ของ เมอื่ ใด
ปรากฏตัวเจา ของแลว ใหเจาหนาทีซ่ ึง่ รักษาของคนื ของนน้ั ใหแกเ จาของไป

ในกรณีที่ปรากฏตัวเจาของ ใหศาลพิพากษาส่ังใหเจาหนาที่ซ่ึงรักษาของคืน
ของนน้ั ใหแ กเจา ของไป

เมื่อมีการโตแยงกัน ใหบุคคลท่ีอางวาเปนเจาของอันแทจริงในทรัพยสินน้ัน
ฟองเรียกรอ งยังศาลท่มี ีอาํ นาจชาํ ระ

ÁÒμÃÒ ôù แมจะไมม ีฟอ งคดสี วนแพง กต็ าม เมื่อพิพากษาคดี สว นอาญาศาล
จะสัง่ ใหค นื ทรพั ยสนิ ของกลางแกเจาของก็ได

ÁÒμÃÒ õð ในกรณีท่ีศาลสง่ั ใหคืนหรอื ใชร าคาทรัพยส ิน หรอื คาสนิ ไหมทดแทน
แกผูเสียหายตามมาตรา ๔๓ และ มาตรา ๔๔ หรือ มาตรา ๔๔/๑ ใหถือวาผูเสียหายน้ันเปน
เจา หนีต้ ามคาํ พพิ ากษา

ÁÒμÃÒ øõ เจาพนักงานผูจับหรือรับตัวผูถูกจับไว มีอํานาจคนตัวผูตองหา
และยดึ สิ่งของตาง ๆ ทอี่ าจใชเ ปนพยานหลกั ฐานได

การคน นน้ั จกั ตองทาํ โดยสุภาพ ถา คน ผูห ญิงตอ งใหห ญิงอน่ื เปน ผคู น
สง่ิ ของใดท่ยี ดึ ไว เจา พนกั งานมอี ํานาจยึดไวจ นกวาคดถี งึ ทีส่ ุด เม่ือเสรจ็ คดีแลว
กใ็ หคนื แกผตู อ งหาหรือแกผอู ่ืน ซึ่งมีสทิ ธิเรยี กรอ งขอคนื ส่ิงของนน้ั เวน แตศ าลจะสั่งเปน อยา งอ่นื

๔๒

ÁÒμÃÒ ùó หามมิใหทําการคนบุคคลใดในที่สาธารณสถาน เวนแต พนักงาน
ฝายปกครองหรือตํารวจเปนผูคนในเม่ือมีเหตุอันควรสงสัยวา บุคคลนั้นมีส่ิงของในความครอบครอง
เพื่อจะใชในการกระทาํ ความผิด หรือซึ่งไดมาโดยการกระทําความผิดหรือซึ่งมีไวเปนความผิดจะเห็น
ไดวาแมแตศาลยังใหความสําคัญกับการส่ังคืนของกลางประเภทน้ี และก็ยังมีปรากฏอยูในประมวล
กฎหมายอาญา

ÁÒμÃÒ óó ÇÃä·ÒŒ  เวน แตท รพั ยส นิ เหลา นเ้ี ปน ทรพั ยส นิ ของผอู น่ื ซงึ่ มไิ ดร เู หน็
เปนใจดวยในการกระทาํ ความผดิ

ÁÒμÃÒ óô ÇÃ䷌Ҡเวน แตทรัพยส ินนน้ั เปน ของผูอื่นซ่ึงมิไดร เู หน็ เปน ใจดว ย
ในการกระทาํ ความผิด

ÁÒμÃÒ óö ในกรณที ศ่ี าลสงั่ ใหร ิบทรัพยส นิ ตามมาตรา ๓๓ หรอื มาตรา ๓๔
ไปแลว หากปรากฏในภายหลังโดยคําเสนอของเจา ของแทจริงวา ผูเ ปนเจาของแทจริงมไิ ดร ูเห็นเปนใจ
ดว ยในการกระทาํ ความผิด กใ็ หศาลส่งั ใหคืนทรพั ยสนิ ถา ทรพั ยสินน้นั ยังคงมีอยใู นความครอบครอง
ของเจาพนักงาน แตคําเสนอของเจาของแทจริงน้ันจะตองกระทําตอศาลภายในหน่ึงปนับแตวัน
คําพพิ ากษาถึงทส่ี ดุ

ดังน้นั จงึ เปน เร่ืองสําคญั ทีต่ อ งทําความเขาใจอยา งจรงิ จังและใสใจ โดยเฉพาะ
อยา งย่งิ เร่อื งของระยะเวลาในการยดึ อายดั และการคืนของกลาง แมในบางครัง้ จะเปนการปฏบิ ตั ขิ อง
พนกั งานสอบสวนกต็ าม แตต อ งไมล มื วา เจา พนกั งานผมู หี นา ทส่ี บื สวนคดอี าญา เพราะเปน ผใู ชอ าํ นาจแรก
ในการยึดสงิ่ ของเหลาน้นั มาเพยี งเพราะเหตอุ ันควรสงสยั

ó.ñ.ó ÊÔ§è ¢Í§·Õè嫅 äÇŒà¾èÍ× ãªàŒ »¹š ¾ÂÒ¹ËÅ¡Ñ °Ò¹ã¹¤´ÍÕ ÒÞÒ
ของกลางในคดีอาญาตามความหมายน้ี หมายถึง ส่ิงที่เจาพนักงานผูมีหนาท่ี

สืบสวนคดีอาญาเห็นวาเปน หลกั ฐานสําคญั ท่ีทําใหทราบรายละเอยี ดแหง ความผิด และยงั สามารถใช
เปน พยานหลกั ฐานในชน้ั สอบสวนเพอ่ื พสิ จู นว า ผตู อ งหากระทาํ ผดิ หรอื บรสิ ทุ ธ์ิ ซง่ึ ของกลางประเภทน้ี
มวี ตั ถปุ ระสงคห รอื เจตนารมณข องกฎหมายตา งจากของกลางประเภทท่ี ๒ ขา งตน กลา วคอื ของกลาง
ประเภทนี้นอกจากใชพิสูจนหรือยืนยันความผิดของผูตองหาหรือจําเลยในการสอบสวนหรือพิจารณา
คดีแลว ยังอาจยึดมาเพื่อใชเปนพยานหลักฐานในการยืนยันความบริสุทธ์ิของผูตองหาหรือจําเลย
ซงึ่ อาจมาจากการแสวงหาและยดึ อายดั ของเจา พนกั งานตาํ รวจผมู อี าํ นาจสบื สวนคดอี าญาเอง หรอื มา
จากคํากลา วอางของผตู อ งหาหรือจาํ เลยก็ได

หลกั กฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ งกบั ของกลางประเภทน้ี คอื ประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณา
ความอาญา

ÁÒμÃÒ öù เหตทุ ่จี ะออกหมายคน ไดม ีดงั ตอ ไปนี้
(๑) เพอื่ พบและยดึ สง่ิ ของซงึ่ จะเปน พยานหลกั ฐานประกอบการสอบสวนไตส วน
มลู ฟองหรือพจิ ารณา

๔๓

ÁÒμÃÒ ùò หามมิใหคนในท่ีรโหฐานโดยไมมีหมายคนหรือคาํ ส่ังของศาล
เวน แตพ นักงานฝา ยปกครองหรือตํารวจเปน ผูคน และในกรณีดังตอ ไปนี้

(๔) เม่ือมีพยานหลักฐานตามสมควรวาส่ิงของท่ีมีไวเปนความผิดหรือไดมา
โดยการกระทาํ ความผดิ หรอื ไดใ ชห รอื มไี วเ พอื่ จะใชใ นการกระทาํ ความผดิ หรอื อาจเปน พยานหลกั ฐาน
พสิ จู นก ารกระทาํ ความผดิ ไดซ อ นหรอื อยใู นนนั้ ประกอบทงั้ ตอ งมเี หตอุ นั ควรเชอ่ื วา เนอ่ื งจากการเนน่ิ ชา
กวาจะเอาหมายคนมาไดส ิง่ ของนั้นจะถกู โยกยายหรือทาํ ลายเสยี กอ น

ÁÒμÃÒ ùø การคน ในทรี่ โหฐานนน้ั จะคน ไดแ ตเ ฉพาะเพอ่ื หาตวั คน หรอื สง่ิ ของ
ทีต่ อ งการคน เทานนั้ แตมขี อ ยกเวนดงั น้ี

(๑) ในกรณีที่คนหาส่ิงของโดยไมจํากัดส่ิง เจาพนักงานผูคนมีอาํ นาจยึด
สงิ่ ของใดๆ ซงึ่ นาจะใชเปนพยานหลกั ฐานเพอ่ื เปนประโยชน หรือยนั ผูตองหาหรอื จาํ เลย

ÁÒμÃÒ ñóñ ใหพนักงานสอบสวนรวบรวมหลักฐานทุกชนิดเทาท่ีสามารถ
จะทําได เพ่ือประสงคจะทราบขอเท็จจริงและพฤติการณตางๆ อันเกี่ยวกับความผิดที่ถูกกลาวหา
เพอ่ื จะรตู ัวผกู ระทาํ ผดิ และพสิ จู นใ หเหน็ ความผิดหรือความบรสิ ุทธิ์ของผูตอ งหา

ÁÒμÃÒ ñóò เพ่ือประโยชนแหงการรวบรวมหลักฐาน ใหพนักงานสอบสวน
มอี ํานาจดังตอไปนี้

(๑) ตรวจตวั ผเู สยี หายเมอื่ ผนู นั้ ยนิ ยอม หรอื ตรวจตวั ผตู อ งหา หรอื ตรวจสงิ่ ของ
หรอื ท่ที างอันสามารถอาจใชเ ปนพยานหลักฐานได ใหรวมทั้งทาํ ภาพถา ย แผนท่ี หรอื ภาพวาดจาํ ลอง
หรือพิมพลายน้ิวมือ ลายมือหรือลายเทา กับใหบันทึกรายละเอียดทั้งหลายซึ่งนาจะกระทําใหคดี
แจมกระจางข้ึน

ในการตรวจตัวผูเสียหายหรือผูตองหาตามวรรคหนึ่ง หากผูเสียหาย
หรอื ผตู องหาเปนหญงิ ใหจดั ใหเจาพนกั งานซ่ึงเปนหญิงหรอื หญงิ อ่นื เปนผตู รวจ ทั้งน้ี ในกรณีท่มี เี หตุ
อันสมควร ผเู สียหายหรือผตู อ งหาจะขอนําบุคคลใดมาอยรู วมในการตรวจนน้ั ดว ยก็ได

(๒) คนเพื่อพบส่ิงของ ซ่ึงมีไวเปนความผิด หรือไดมาโดยการกระทําผิด หรือ
ไดใ ช หรอื สงสยั วา ไดใ ชใ นการกระทาํ ผดิ หรอื ซง่ึ อาจใชเ ปน พยานหลกั ฐานได แตต อ งปฏบิ ตั แิ หง ประมวล
กฎหมายนี้วาดว ยคน

(๓) หมายเรียกบุคคลซึ่งครอบครองส่ิงของ ซ่ึงอาจใชเปนพยานหลักฐานได
แตบุคคลท่ีถูกหมายเรียกไมจําตองมาเองเมื่อจัดสงส่ิงของมาตามหมายแลว ใหถือเสมือนไดปฏิบัติ
ตามหมาย

(๔) ยึดไวซงึ่ ส่งิ ของท่ีคน พบหรอื สง มาดงั กลาวไวในมาตรา (๒) และ (๓)
ÁÒμÃÒ òóø ตนฉบับเอกสารเทานั้นท่ีอางเปนพยานได ถาหาตนฉบับไมได
สําเนาทร่ี ับรองวา ถูกตอ งหรือพยานบคุ คลทรี่ ูข อ ความ ก็อา งเปนพยานได
ถา อา งหนงั สอื ราชการเปน พยาน แมต น ฉบบั ยงั มอี ยจู ะสง สาํ เนาทเ่ี จา หนา ทร่ี บั รอง
วาถูกตอ งก็ได เวน แตในหมายเรียกจะบง ไวเปน อยา งอ่นื

๔๔

ÁÒμÃÒ òóù เอกสารใดซึ่งคูความอาง แตมิไดอยูในความยึดถือของเขา
ถา คคู วามนนั้ แจง ถงึ ลกั ษณะและทอี่ ยขู องเอกสารตอ ศาล ใหศ าลหมายเรยี กบคุ คลผยู ดึ ถอื นําเอกสารนนั้
มาสง ศาล

ÁÒμÃÒ òôñ สง่ิ ใดใชเ ปนพยานวตั ถตุ องนํามาศาล
ในกรณีท่นี าํ มาไมไ ด ใหศ าลไปตรวจจดรายงานยังทีท่ ่ีพยานวัตถุนัน้ อยตู ามเวลา
และวธิ ีซ่ึงศาลเหน็ สมควรตามลักษณะแหงพยานวตั ถุ
ÁÒμÃÒ òôò ในระหวางสอบสวน ไตสวนมูลฟองหรือพิจารณาส่ิงของซึ่งเปน
พยานวตั ถุตองใหคูความหรอื พยานตรวจดู
ถามีการแกหอหรือทําลายตราการหอหรือตีตราใหมใหทําตอหนาคูความ
หรือพยานท่เี กย่ี วขอ งนน้ั
สําหรบั ระยะเวลาในการยดึ อายดั ของกลางประเภทน้ี โดยปกตจิ ะตองยดึ อายดั
ไวจนกวาคดีจะถึงท่ีสุด เพราะพยานหลักฐานน้ันจะตองถูกนํามาใชตลอดการพิจารณาคดี ทั้งในช้ัน
อทุ ธรณแ ละฎีกา ดงั ปรากฏตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา
ÁÒμÃÒ øõ/ñ ในระหวา งสอบสวน สง่ิ ของทเ่ี จา พนกั งานไดย ดึ ไว ซงึ่ มใิ ชท รพั ยส นิ
ท่ีกฎหมายบัญญัติไววา ผูใดทําหรือมีไวเปนความผิด ถายังไมไดนําสืบหรือแสดงเปนพยานหลักฐาน
ในการพจิ ารณาคดี เจา ของหรอื ผูซ ่งึ มสี ิทธเิ รียกรอ งขอคนื สงิ่ ของทเี่ จาพนักงานยึดไว อาจยนื่ คาํ รอ งตอ
พนกั งานสอบสวนหรอื พนกั งานอยั การแลว แตก รณี เพอื่ ขอรบั สงิ่ ของนน้ั ไปดแู ลรกั ษาหรอื ใชป ระโยชน
โดยไมม ปี ระกนั หรอื มีประกนั หรือมปี ระกันและหลักประกันก็ได
การส่ังคืนสิ่งของตามวรรคหน่ึงจะตองไมกระทบถึงการใชส่ิงของนั้นเปนพยาน
หลักฐาน เพ่ือพิสูจนขอเท็จจริงในภายหลัง ท้ังน้ี ใหพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการมีคําสั่ง
โดยมิชักชา โดยอาจเรียกประกันจากผูยื่นคํารองหรือกาํ หนดเง่ือนไขอยางหน่ึงอยางใดใหบุคคลนั้น
ปฏิบัติ และหากไมปฏิบัติตามเง่ือนไขหรือบุคคลดังกลาวไมยอมคืนสิ่งของนั้นเมื่อมีคาํ สั่งใหคืน
ใหพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการ แลวแตกรณี มีอํานาจยึดส่ิงของน้นั กลับคืนและบังคับตาม
สัญญาประกันเชนวาน้ันได วิธีการยื่นคํารอง เง่ือนไขและการอนุญาตใหเปนไปตามท่ีกาํ หนด
ในกฎกระทรวง
ในกรณีที่พนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการมีคาํ ส่ังไมอนุญาต ผูยื่นคาํ รอง
มีสิทธิยื่นคํารองอุทธรณคาํ สั่งตอศาลช้ันตน ท่ีมีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาดังกลาวไดภายใน
สามสิบวัน นับแตวันท่ีไดรับแจงการไมอนุญาต และใหศาลพิจารณาใหแลวเสร็จภายในสามสิบวัน
นับแตว นั ทไ่ี ดรับอุทธรณ ในกรณที ่ศี าลมคี ําส่งั อนญุ าต ศาลอาจเรียกประกนั หรอื กาํ หนดเงอ่ื นไขอยางหนึ่ง
อยา งใดไดตามท่เี หน็ สมควร คาํ สั่งของศาลใหเปน ที่สุด
ÁÒμÃÒ ñùô ถามีอุทธรณแตในปญหาขอกฎหมาย ในการวินิจฉัย ปญหา
ขอ กฎหมายนนั้ ๆ ศาลอทุ ธรณจ ะตอ งฟง ขอ เทจ็ จรงิ ตามทศี่ าลชน้ั ตน วนิ จิ ฉยั มาแลว จากพยานหลกั ฐาน
ในสาํ นวน

๔๕

ÁÒμÃÒ òòò ถาคดีมีปญหาแตเฉพาะขอกฎหมาย ในการวินิจฉัยปญหาขอ
กฎหมายน้ัน ศาลฎีกาจะตองฟงขอเท็จจริงตามท่ีศาลอุทธรณไดวินิจฉัยมาแลวจากพยานหลักฐานใน
สํานวน

ดังน้ัน ของกลางประเภทน้ีจึงถูกยึดอายัดจากเจาพนักงานเปนระยะเวลานาน
บางครงั้ อาจเสยี หายไปกบั การตรวจพสิ จู นแ ละบางครงั้ ไมม คี าํ สงั่ เกยี่ วกบั ของกลางประเภทน้ี เนอ่ื งจาก
พนักงานอัยการอาจไมไดมีคําขอทายฟองไป เพราะอาจไมมีผูใดแสดงความประสงคขอรับของกลาง
ประเภทน้ีคืน แตมิไดหมายความวาผูเปนเจาของหรือมีสิทธ์ิจะมาใชสิทธิ์เรียกรองในภายหลังไมได
เนื่องจากศาลไมไดมีคําสั่งริบ เชนน้ี เปนกรณีที่พนักงานสอบสวนและเจาพนักงานตํารวจผูมีหนาท่ี
สืบสวนคดอี าญา ทีร่ วมกันตรวจยึดอายดั มานน้ั ตอ งแสวงหาขอ เทจ็ จรงิ ใหไ ดวา ผมู ีสทิ ธิใ์ นของกลาง
ประเภทน้ีเมื่อคดีถึงที่สุดแลว ติดใจเกี่ยวกับของกลางประเภทน้ีอยางไร หรือไม เพ่ือใหขอเท็จจริง
ปรากฏตอ พนักงานอยั การเกยี่ วกับการจดั ทาํ คาํ ขอทา ยฟองเกีย่ วกับของกลางประเภทน้ี

ó.ñ.ô ÊÔ觢ͧ·èÕÂÖ´äÇŒà¾ÃÒÐËÒ਌Ңͧ·èÕá·Œ¨ÃÔ§äÁ‹ä´Œ ÃÑ°ÃÑ¡ÉҼŻÃÐ⪹äÇŒ
à¾Íè× »‡Í§¡Ñ¹¡ÒÃâμጠŒ§·Ò§á¾‹§¢Í§àÍ¡ª¹

ของกลางประเภทนี้ ไดแ ก ของกลางจาํ พวกศาลมคี าํ สง่ั คนื ของกลางในคดอี าญา
แลวไมมีผูใดมาติดตอขอรับคืน หรือเปนส่ิงของตกหลนและมีผูเก็บไดนํามาสงแกเจาพนักงานตํารวจ
หรือพนักงานสอบสวนจึงจําเปนตองเก็บรักษาไวตามกฎหมายและระเบียบท่ีเกี่ยวของ โดยกรณีนี้มี
กฎหมายและระเบียบทีเ่ กยี่ วขอ งดังน้ี

ประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา
ÁÒμÃÒ ôø เมื่อศาลพิพากษาใหคืนทรพั ยสนิ แตยงั ไมปรากฏตวั เจาของ เม่อื ใด
ปรากฏตวั เจา ของแลว ใหเจาหนา ทซี่ ่ึงรักษาของคืนของน้นั ใหแกเ จา ของไป
ในกรณีที่ปรากฏตัวเจาของ ใหศาลพิพากษาสั่งใหเจาหนาท่ีซึ่งรักษาของคืน
ของนนั้ ใหแกเจาของไป
เมื่อมีการโตแยงกัน ใหบุคคลท่ีอางวาเปนเจาของอันแทจริงในทรัพยสินนั้น
ฟอ งเรียกรองยงั ศาลท่ีมอี ํานาจชําระ

ó.ò ¾ÂÒ¹ËÅ¡Ñ °Ò¹·Õäè ´Œ¨Ò¡¡ÒÃÅ‹Í«é×Í

สําหรับข้ันตอนการสืบสวนพยานหลักฐานในคดีอาญา สามารถแบงออกเพื่อความเขาใจ
ไดเ ปน ๒ กรณี

¡Ã³·Õ Õè ñ ¾ÂÒ¹ËÅ¡Ñ °Ò¹·àèÕ ¡´Ô ¢Ö¹é â´ÂÁԪͺ
¡Ã³·Õ Õè ò ¾ÂÒ¹ËÅÑ¡°Ò¹·Õäè ´ÁŒ Òâ´ÂÁԪͺ
¡Ã³Õ·Õè ñ ¾ÂÒ¹ËÅ¡Ñ °Ò¹·àèÕ ¡Ô´¢Öé¹â´ÂÁԪͺ
สําหรบั พยานหลกั ฐานที่เกิดข้นึ โดยมิชอบ ขออธบิ ายอยา งงายเพื่อความเขา ใจ กลาวคอื
พยานหลกั ฐานในกรณีน้ี เปน กรณพี ยานหลักฐานทไี่ มม ีอยจู ริง หรอื ไมมีอยกู อนหนา นี้ หรือไมไ ดเกิดมาเอง

๔๖

ตามธรรมชาติ แตอาจถูกจัดสรรปนแตงขึ้นมา เชน พยานเท็จ หลักฐานปลอม จึงถือวาการเกิดมา
ของพยานหลักฐานดังกลาวจึงไมชอบดวยหลักนิติธรรม นอกจากนี้ยังรวมถึงพยานหลักฐานท่ีเกิด
โดยการฝา ฝน บทบญั ญตั ขิ องกฎหมาย เชน บนั ทกึ คาํ ใหก ารทเ่ี กดิ จากการจงู ใจ บงั คบั ขเู ขญ็ หรอื ฝา ฝน
บทบัญญัติกฎหมายอื่น เชน คําใหการหรือถอยคําอ่ืนของผูตองหาที่ไมไดแจงสิทธิ์ตามกฎหมาย
ซ่ึงพยานหลักฐานกรณีนี้ เปนบทตัดพยาน กลาวคือ กฎหมายหามมิใหอางเปนพยานหลักฐาน
ในคดอี าญา โดยไมตอ งไปวินิจฉยั หรอื ชัง่ น้ําหนักพยานหลกั ฐานวา รบั ฟง ไดหรอื ไม เพราะถกู ตัดออก
ตง้ั แตก ระบวนการอา งแลว หลักดังกลาวปรากฏอยูตาม ป.ว.ิ อ.มาตรา ๒๒๖

ÁÒμÃÒ òòö พยานวตั ถุ พยานเอกสาร หรอื พยานบคุ คล ซงึ่ นา จะพสิ จู นไ ดว า จาํ เลยมผี ดิ
หรือบริสุทธ์ิ ใหอางเปนพยานหลักฐานได แตตองเปนพยานชนิดที่มิไดเกิดข้ึนจากการจูงใจ มีคํามั่น
สญั ญา ขเู ข็ญ หลอกลวงหรือโดยมชิ อบประการอื่น และใหส ืบตามบทบญั ญัติแหงประมวลกฎหมายนี้
หรือกฎหมายอน่ื อันวาดว ยการสบื พยาน

ป.ว.ิ อ.มาตรา ๒๒๖ เปน บทบญั ญตั วิ า ดว ยพยานหลักฐานท่เี กดิ ข้ึนโดยมชิ อบ รบั ฟง เปน
พยานหลักฐานไมได แบงเปน ๒ กรณี คือ

๑. พยานทเี่ กดิ จากการจูงใจ มคี ํามนั่ สญั ญา ขูเขญ็ หลอกลวง
๒. พยานทเี่ กดิ ข้นึ โดยมิชอบดวยประการอื่น
พยานหลักฐานที่เกิดข้ึนโดยมิชอบดวยกฎหมายน้ี เปนพยานหลักฐานที่ไมเคยมีมากอน
แตเปนพยานหลักฐานท่ีเพ่ิงเกิดจากเหตุท้ังสองประการดังกลาว พยานหลักฐานประเภทน้ีรับฟงเปน
พยานหลักฐานไมไดเลย กรณีตางจากพยานหลักฐานท่ีเกิดขึ้นโดยชอบแตไดมาเน่ืองจากการกระทาํ
โดยมชิ อบตามมาตรา ๒๒๖/๑ วรรคหนง่ึ ซง่ึ มขี อ ยกเวน ใหร บั ฟง พยานหลกั ฐานนน้ั ได ถา เปน ประโยชน
ตอ การอํานวยความยตุ ธิ รรมมากกวา ผลเสยี อนั เกดิ จากผลกระทบตอ มาตรฐานของระบบงานยตุ ธิ รรม
ทางอาญาหรือสทิ ธเิ สรีภาพพนื้ ฐานของประชาชน
พยานท่ีเกดิ จากการจูงใจ มคี ํามั่นสญั ญา เปน พยานหลกั ฐานท่เี กดิ ขนึ้ โดยมชิ อบ
ฎกี าท่ี ๑๘๓๙/๒๕๔๔ ส. ถูกเจาพนักงานตาํ รวจจับกุมในขอ หามีเมทแอมเฟตามีนไวใน
ครอบครอง โดยตรวจคน พบเมทแอมเฟตามีนจาก ส. แลว เจา พนกั งานเสนอวา หาก ส. ไปลอซือ้
เมทแอมเฟตามีนจากผูจําหนายใหก็จะไมดําเนินคดี ส. จึงไปลอซื้อเมทแอมเฟตามีนจากจําเลย
การท่ี ส. มาเบิกความเปนพยานโจทก จึงเปนพยานชนิดที่เกิดจากการจูงใจและใหคํามั่นสัญญา
โดยมิชอบของเจา พนกั งานตาํ รวจ รบั ฟงเปนพยานไมได ตาม ป.ว.ิ อ. มาตรา ๒๒๖
ขอ สงั เกต คดนี ้ี ถอื วา ส. เปน พยานทเี่ กดิ จากการจงู ใจและใหค าํ มนั่ ของเจา พนกั งานตาํ รวจ
เปนพยานหลักฐานท่ีเกิดข้ึนโดยมิชอบ จึงรับฟงคําใหการในชั้นสอบสวนและคําเบิกความในชั้น
พจิ ารณาของ ส. ไมได ตามมาตรา ๒๒๖ แตเมทแอมเฟตามนี ของกลางท่ีเจา พนกั งานตํารวจลอซอื้ มาได
กบั เงนิ ท่ใี ชล อ ซอื้ น้นั เปนพยานหลกั ฐานที่มอี ยแู ลวกอ นการลอ ซือ้ เพ่ือจบั กุม จึงเปนพยานหลักฐานท่ี
เกดิ ขึ้นโดยชอบ แตเปนการไดม าโดยอาศัยขอ มลู ท่เี กิดขน้ึ หรือขอ มลู ท่ไี ดมาโดยไมชอบ พยานหลักฐาน
ในสวนน้ีจึงตองดวยมาตรา ๒๒๖/๑ ศาลอาจรับฟงเปนพยานหลักฐานได หากตองดวยขอยกเวนวา


Click to View FlipBook Version