The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

9_CI22501_การสืบสวนสอบสวน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-07-05 10:03:34

9_CI22501_การสืบสวนสอบสวน

9_CI22501_การสืบสวนสอบสวน

๑๕๐

๑๕๑

ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ
ǰ

๑๕๒

àÍ¡ÊÒûÃСͺคําÃÍŒ §¢ÍËÁÒ¤¹Œ /¨Ñº

ขอบังคับของประธานศาลฎีกา วาดวยหลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการออกคําสั่ง
หรอื หมายอาญา พ.ศ. ๒๕๔๘

¢ÍŒ ù พนกั งานฝา ยปกครอง หรอื ตาํ รวจ หรอื เจา พนกั งานอนื่ ซงึ่ รอ งขอใหศ าลออกหมายจบั
หรอื หมายคน จะตอ งเปน ผูมอี าํ นาจหนาทเี่ กี่ยวขอ งกับการสบื สวนหรือสอบสวนคดที ่รี องขอออกหมายน้นั
และตองพรอ มที่จะมาใหผ พู พิ ากษาสอบถามกอนออกหมายไดทันที

ในกรณีที่พนักงานฝายปกครองหรือเจาพนักงานอ่ืนเปนผูรองขอ ผูน้ันตองดํารงตําแหนง
ตงั้ แตระดับสามขึ้นไป ในกรณีท่เี ปนตํารวจ ผูน้ันตอ งมยี ศตั้งแตชน้ั รอยตํารวจตรีขนึ้ ไป

¢ŒÍ ññ คาํ รอ งขอใหศ าลออกหมายคน ตองมรี ายละเอียดและเอกสารประกอบดังตอ ไปนี้
(๑) ตอ งระบลุ ักษณะสิง่ ของท่ีตอ งการหาและยดึ หรอื ช่ือตัว ชื่อสกลุ รปู พรรณ อายุ
ของบุคคลที่ตองการหา และสถานท่ีท่ีจะคน ระบุบานเลขที่ ชื่อตัว ช่ือสกุลและสถานะของเจาของ
หรอื ผคู รอบครองเทา ทที่ ราบ หากไมส ามารถระบบุ า นเลขทท่ี จี่ ะคน ได ใหท าํ แผนทขี่ องสถานทที่ จ่ี ะคน
และบริเวณใกลเคียงแทน
(๒) ตองระบุเหตุท่ีจะออกหมายคน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๖๙ พรอมสําเนาเอกสารซ่ึงสนับสนนุ เหตแุ หง การออกหมายคน
(๓) แนบแบบพมิ พห มายคน ทกี่ รอกขอ ความครบถว นแลว พรอ มสาํ เนา รวมทงั้ เอกสาร
อน่ื ทีเ่ กี่ยวขอ ง เชน บนั ทึกคํารองทุกข หนงั สอื มอบอํานาจใหรอ งทกุ ข เปน ตน มาทา ยคํารอง
¢ÍŒ ñõ การรองขอใหออกหมายคน ผูรองขอตองเสนอพยานหลักฐานท่ีนาเชื่อวาบุคคล
หรอื สิ่งของท่คี นหาอยใู นสถานท่ีทจ่ี ะคน และ

๑๕.๑ กรณีคน หาสง่ิ ของ
(๑) สิ่งของนั้นจะเปนพยานหลักฐานประกอบการสอบสวน ไตสวน

มลู ฟอ ง หรอื พจิ ารณา
(๒) สิ่งของนั้นมีไวเปนความผิด หรือไดมาโดยผิดกฎหมายหรือมีเหตุ

อันควรสงสัยวาไดใชหรือตง้ั ใจจะใชในการกระทําความผิด หรอื
(๓) เปนสิ่งของซึ่งตองยึดหรือริบตามคําพิพากษาหรือตามคําส่ังศาล

ในกรณีที่จะพบหรือจะยดึ โดยวธิ ีอน่ื ไมไ ดแลว
๑๕.๒ กรณีคน หาบคุ คล
(๑) บคุ คลนนั้ ถูกหนว งเหน่ียวหรอื กกั ขงั โดยมิชอบดวยกฎหมาย หรือ
(๒) มีหมายใหจ บั บคุ คลนน้ั

àÍ¡ÊÒûÃСͺ¡ÒâÍËÁÒ¤Œ¹ Á´Õ §Ñ ¹éÕ
- รายงานการสบื สวน
- แผนท่แี ละภาพถา ยสถานทท่ี ่จี ะเขาทาํ การตรวจคน
- คาํ รองขอออกหมายคน

๑๕๓

(คํารอง) ท่ี................/๒๕...........
ขอออกหมายคน
รับคํารอ ง ศาล....................................................................
เรยี กสอบ วนั ท่.ี .............เดอื น....................................พุทธศักราช ๒๕..............
.............................ผูพิพากษา
ความอาญา

.................................................................ผูร อ ง
ขา พเจา ...........................................................ตาํ แหนง ................................................
อายุ..............ป อาชพี รบั ราชการ สถานท่ที ํางาน.............................................................................
แขวง/ตาํ บล................................เขต/อาํ เภอ.....................................จงั หวดั ....................................
โทรศพั ท. ..................................ขอยน่ื คาํ รอ งขอออกหมายคน ตอ ศาล ดงั มขี อ ความทจ่ี ะกลา วตอ ไปนี้
ขอ ๑ ดว ยปรากฏจากการสบื สวน/สอบสวนของ..........................................................
.........................................................................................................................................ทราบวา
ทบี่ า นเลขท.่ี ...................หมทู .่ี .......................ซอย..............................ถนน......................................
แขวง/ตําบล....................................เขต/อําเภอ..................................จงั หวัด..................................
เจา ของบา นหรอื ผปู กครอง....................................................................อาย.ุ .................................ป
อาชีพ....................................................................ตําแหนง................................................
มพี ฤติการณกระทําความผิดท่เี ก่ียวกับเหตุแหงการออกหมายคน คอื ................................................
........................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
รายละเอียดขอ มลู และพยานหลักฐานพรอ มแผนที่สงั เขป ปรากฏตามเอกสารท่ีแนบมาพรอมนี้

๑๕๔

ขอ ๒ ผูร องประสงคจ ะทําการตรวจคนบานหรือสถานทดี่ งั กลาว เพื่อ
พบและยึดสง่ิ ของซ่ึงจะเปน พยานหลักฐานประกอบการสอบสวน ไตสวนมลู ฟอ งหรอื พิจารณา
พบและยดึ สงิ่ ของซง่ึ มไี วเ ปน ความผดิ หรอื ไดม า โดยผดิ กฎหมาย หรอื ไดใ ชห รอื ตงั้ ใจจะใชใ นการ
กระทําความผิด
พบและยึดส่งิ ของตามคาํ พพิ ากษาหรอื คาํ ส่งั ศาลตามสาํ เนาคาํ พพิ ากษาหรือคาํ สั่งท่ีแนบมาพรอ มนี้
พบบุคคลทถ่ี กู หนว งเหนี่ยวหรือกักขงั โดยมิชอบดว ยกฎหมาย หรือ
พบบุคคลที่ถกู ออกหมายจับตามสาํ เนาหมายจบั ท่แี นบมาพรอมน้ี
จงึ ขอใหศ าลออกหมายคน ใหแ ก. ......................................................................................................
ซง่ึ เปน หวั หนา ชดุ ในการตรวจคน เพอ่ื เขา ตรวจคน ในวนั ท.่ี .....................................................................
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
ต้งั แตเวลา.....................................................นาฬกา ถึง เวลา.......................................นาฬก า
ติดตอกันไปจนกวา จะเสร็จส้ินการตรวจคน

ในการยืน่ คาํ รอ งนี้ ผรู อ งไดมอบหมายให. ......................................................................
........................................................ตาํ แหนง ...............................................ซงึ่ เปน ผใู ตบ งั คบั บญั ชา
เปนผนู ําคาํ รอ งมาย่นื ตอศาล และหากศาลเรยี กสอบถามเมื่อใด ผูรอ งพรอ มจะมาใหศาลสอบในทนั ที

ผูร อ ง เคย ไมเ คย รอ งขอใหศ าล...........................................................................
ออกหมายคน บา นขา งตน โดยอาศยั เหตแุ หง การรอ งขอเดยี วกนั น้ี หรอื เหตอุ น่ื (ระบ)ุ ............................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
และศาลมคี าํ สงั่ ...............................................................................................................................

ควรมิควรแลว แตจะโปรด
ลงช่อื .........................................ผรู อ ง

๑๕๕

หมายคน ท.่ี ................./๒๕...........

ã¹¾ÃлÃÁÒÀÔä¸Â¾ÃÐÁËÒ¡ÉÑμÃÂÔ 

ศาล.......................................................................
วนั ท.ี่ ...................เดอื น...........................พทุ ธศกั ราช ๒๕..........

ความอาญา

..........................................................................................................ผูร อง
หมายถงึ .........................................................................................................................................

ดว ยศาลเหน็ มเี หตสุ มควรใหค น สถานท/่ี บา นเลขท.่ี .........................................................
หมทู .ี่ ........................ตรอก/ซอย.....................................................ถนน........................................
ตาํ บล/แขวง..............................................อาํ เภอ/เขต..............................จงั หวดั .............................
ตามแผนท่สี ังเขปแนบทาย

เพอื่ พบและยดึ สง่ิ ของ....................................................................................................
ซ่งึ จะเปน พยานหลกั ฐานประกอบการสอบสวน ไตส วนมลู ฟองหรือพจิ ารณา
ซง่ึ มีไวเปนความผดิ หรือไดมาโดยผดิ กฎหมาย หรอื ไดใช หรอื ตั้งใจจะใชในการกระทําความผดิ
ตามคาํ พิพากษาหรือคาํ สัง่ ของศาล

เพื่อพบ * .....................................................................................................................
บุคคลท่ถี กู หนว งเหนีย่ วหรือกักขงั โดยมชิ อบดว ยกฎหมาย
บุคคลท่ีถูกออกหมายจับ ตามหมายจับเลขท.ี่ ...............................ลงวันท.่ี .............................
.................................ซง่ึ ออกโดย.....................................................................................................

จงึ ออกหมายคน น้ใี ห....................................................................................................
ตําแหนง......................................................................................................................มอี าํ นาจคน
สถานที่/บา นขางตน ไดในวันที.่ ..................เดือน...................................พุทธศกั ราช.........................
เวลา....................................นาฬก า ถงึ เวลา.............................นาฬก า ตดิ ตอกันไปจนกวา
จะเสรจ็ ส้นิ การตรวจคน

เมอื่ คน ไดต ามหมายนแี้ ลว ใหส ง .....................................................................................
........................................................................................................................................................
พรอ มบญั ชกี ารคน และบญั ชสี ง่ิ ของ (ถา ม)ี ไปยงั .................................................................................
เพ่อื จัดการตามกฎหมายตอ ไป

.................................................................................ผูพพิ ากษา

หมายเหตุ : ใหร ะบุชอ่ื หรือรปู พรรณบุคคลหรอื ลักษณะสง่ิ ของท่ีตอ งการคน

๑๕๖

กรณีมีเหตุอันสมควรที่จะออกหมายคน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๖๙ ( ) อนุญาตใหออกหมายคนตามขอ โดยใหคนวันที่............เดอื น..............................
พุทธศักราช...................... ต้ังแตเวลา..........................นาิกา ถึง เวลา.............................นาิกา
ติดตอกันไปจนกวา จะเสรจ็ สน้ิ การตรวจคน และใหส งบนั ทึกการตรวจคนตอศาลภายใน................วัน

ใหถ า ยสาํ เนา................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
เพ่ือเก็บไวกบั คาํ รอ งและสาํ เนาหมาย

ไดอา นคําสั่งใหผูรอ งฟงโดยชอบแลว /อานแลว
....................................................ผพู ิพากษา
....................................................ผรู อง

๑๕๗

รายงาน คดีหมายเลขดาํ ท่.ี ...................../๒๕..........
กระบวน
พิจารณา คดีหมายเลขแดงที.่ ................../๒๕...........
ศาล.....................................................................
วันท่ี................เดือน...............................พทุ ธศกั ราช ๒๕..........
ความอาญา
...........................................................................................................................ผรู อง
ผูพิพากษาออกนัง่ พิจารณาคดนี ้เี วลา.............................นาฬกา
วนั น.้ี ................................................................ตาํ แหนง ...............................................
............................................................................ใหยน่ื คาํ รองขอใหศ าลออกหมายคน
สอบพยานผูรองซึ่งเบิกความประกอบพยานหลักฐานท่ีแนบมาพรอมคํารอง
จํานวน...........................ปาก
คดีเสร็จส้นิ การไตสวน ใหรอฟง คาํ สัง่ /อานแลว

....................................................ผพู ิพากษา บันทึก/อา น

....................................................ผรู อ ง

คาํ ส่งั

พเิ คราะหพ ยานหลกั ฐานของผรู อ งแลว เหน็ วา ................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

๑๕๘

ö.ò àÍ¡ÊÒÃËÁÒÂÍÒÞÒ

ประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา
ÁÒμÃÒ ùò “หามมิใหคนในที่รโหฐานโดยไมมีหมายคนหรือคําส่ังของศาล เวนแต
พนกั งานฝายปกครองหรือตํารวจเปนผูคน และในกรณีดังตอ ไปน้ี
(๑) เมื่อมีเสียงรองใหชวยมาจากขางในที่รโหฐาน หรือมีเสียงหรือพฤติการณอื่นใด
อันแสดงไดว า มเี หตรุ ายเกิดขนึ้ ในทร่ี โหฐานนนั้
(๒) เม่อื ปรากฏความผิดซ่ึงหนากําลังกระทาํ ลงในท่รี โหฐาน
(๓) เมื่อบุคคลท่ีไดกระทําความผิดซ่ึงหนา ขณะที่ถูกไลจับหนีเขาไปหรือมีเหตุ
อนั แนนแฟนควรสงสยั วา ไดเ ขาไปซกุ ซอ นตวั อยใู นท่รี โหฐานนนั้
(๔) เมอ่ื มพี ยานหลกั ฐานตามสมควรวา สง่ิ ของทม่ี ไี วเ ปน ความผดิ หรอื ไดม าโดยการกระทาํ
ความผิดหรือไดใชหรือมีไวเพื่อจะใชในการกระทําความผิด หรืออาจเปนพยานหลักฐานพิสูจนการกระทํา
ความผิดไดซอนหรืออยูในนั้น ประกอบท้ังตองมีเหตุอันควรเชื่อวาเน่ืองจากการเน่ินชากวาจะเอา
หมายคน มาไดสงิ่ ของนนั้ จะถูกโยกยา ยหรอื ทาํ ลายเสยี กอน
(๕) เมอื่ ทรี่ โหฐานนนั้ ผจู ะตอ งถกู จบั เปน เจา บา น และการจบั นน้ั มหี มายจบั หรอื จบั ตาม
มาตรา ๗๘
การใชอํานาจตาม (๔) ใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจผูคนสงมอบสําเนาบันทึก
การตรวจคนและบัญชีทรัพยที่ไดจากการตรวจคน รวมท้ังจัดทําบันทึกแสดงเหตุผลที่ทําใหสามารถ
เขาคนไดเปนหนังสือใหไวแกผูครอบครองสถานที่ที่ถูกตรวจคน แตถาไมมีผูครอบครองอยู ณ ท่ีนั้น
ใหสงมอบหนังสือดังกลาวแกบุคคลเชนวานั้นในทันทีท่ีกระทําได และรีบรายงานเหตุผลและ
ผลการตรวจคน เปน หนังสอื ตอ ผบู ังคบั บญั ชาเหนือขึ้นไป”
ÁÒμÃÒ ñðó “ใหเ จา พนกั งานผคู น บนั ทกึ รายละเอยี ดแหง การคน และสง่ิ ของทค่ี น ไดน น้ั
ตองมบี ญั ชีรายละเอยี ดไว”
บันทึกการคนและบัญชีสิ่งของน้ันใหอานใหผูครอบครองสถานที่ บุคคลในครอบครัว
ผูตองหา จาํ เลย ผูแทนหรอื พยานฟง แลว แตก รณี แลวใหผนู น้ั ลงลายมือชื่อรับรองไว
ÁÒμÃÒ ñðô เจา พนกั งานทค่ี น โดยมหี มาย ตอ งรบี สง บนั ทกึ และบญั ชดี งั กลา วในมาตรา
กอนพรอมดวยสิ่งของที่ยึดมา ถาพอจะสงได ไปยังผูออกหมายหรือเจาพนักงานอ่ืนตามที่กําหนด
ไวใ นหมาย
ในกรณีท่ีคนโดยไมมีหมายโดยเจาพนักงานอื่น ซ่ึงไมใชพนักงานสอบสวนใหสงบันทึก
บัญชแี ละสง่ิ ของไปยงั พนักงานสอบสวนหรือเจา หนาที่ใดซ่งึ ตอ งการส่งิ เหลา น้นั

๑๕๙

ป.จ.ว.ขอ.................เวลา..................น.
คดีอาญาท.่ี ..........................................
บญั ชขี องกลางลําดบั ที่..........................
º¹Ñ ·Ö¡¡ÒÃμÃǨ¤¹Œ â´ÂäÁÁ‹ ÕËÁÒ¤Œ¹μÒÁ ».ÇÔÍÒÞÒ Á.ùò (ô)
สถานทบี่ นั ทกึ ...................................................................................................................................
วนั /เดอื น/ปท บี่ นั ทกึ ........................................................................................................................
วัน/เดือน/ป ทีต่ รวจคน ...................................................................................................................
สถานทต่ี รวจคน ..............................................................................................................................
นามเจา พนกั งานตาํ รวจทท่ี าํ การตรวจคน ............(.ย..ศ..ช..อ่ื ..น..า..ม..ส..ก.ุล...ต..ํา..แ.ห..น..ง...ส.งั..ก..ดั .)............................................
......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
ไดร ว มกนั ตรวจคน สถานทด่ี งั กลา วขา งตน เนอื่ งจากซงึ่ มพี ยานหลกั ฐานตามสมควรวา ทรพั ยท มี่ ไี วเ ปน
ความผดิ หรือไดม า โดยการกระทาํ ความผดิ หรือไดใ ชห รอื มไี วเพอื่ จะใชใ นการกระทําความผิด หรือ
อาจใชเปนพยานหลักฐานพิสูจนการกระทําความผิดไดซอนอยูหรืออยูในน้ัน และมีเหตุอันควรเช่ือวา
หากเนินชา กวา จะเอาหมายคน มาไดท รพั ยน ั้นจะถูกโยกยา ยหรือทําลายเสยี กอน โดยม.ี ....................
...................................(ร..ะ.บ..ชุ..อ่ื ...น..า..ม..ส.ก..ุล...อ..า..ย.ุ.ท..่อี..ย..ขู ..อ..ง..ผ..คู ..ร.อ..บ..ค..ร..อ..ง.ห..ร.อื..ผ..ูน..ํา..ก.า..ร.ต..ร..ว.จ..ค..น..).............................................
.....................................................................................................................................................
.......................................................................................................................เปน ผนู าํ การตรวจคน
ผลการตรวจคน ปรากฏวา ...........(.พ..บ...ห..ร.ื.อ..ไ..ม..พ...บ..ท..ร..ัพ...ย..ต..า..ม..เ..ห..ต..ุท..ี่.เ.ข..า..ต..ร..ว..จ..ค..น...โ.ด...ย..ไ.ม...ม..ีห..ม...า..ย..ค..น....ถ..า..พ..บ..ใ..ห..ร.ะ..บ..ุว..า.
พ..บ..ท..ร.พั..ย..ต .า..ม.เ.ห..ต..ุท..เี่ ข..า .ต..ร.ว.จ..ค..น ..ซ..งึ่ .ม..ีร.า..ย.ล..ะ.เ.อ..ีย.ด..ต..า.ม..บ..ญั ..ช.ีท..ร..ัพ.ย..ท..แี่ .น..บ..ท..า.ย..บ..ัน.ท..กึ..ก.า..ร.ต..ร.ว.จ..ค.น..น..้ี)..............................................
เสรจ็ ส้นิ การตรวจคน เวลา..........................................น.
อนงึ่ ในการตรวจคน ครงั้ น้ี เจา พนกั งานตาํ รวจผตู รวจคน มไิ ดท าํ ใหท รพั ยส นิ ของผใู ดเสยี หาย
สูญหาย หรือเสื่อมคาแตประการใด และมิไดเอาทรัพยสินของผูหน่ึงผูใดมาเปนประโยชนของตนเอง
แตอ ยางใด
ไดอ า นบนั ทกึ นใ้ี หผ นู าํ การตรวจคน ฟง แลว รบั วา ถกู ตอ ง และไดม อบสาํ เนาบนั ทกึ การตรวจคน
กบั บัญชีทรัพย (ถาม)ี ใหผูนาํ การตรวจคน ไวแ ลว จงึ ใหลงชือ่ ไวเปน หลกั ฐาน
(ลงชอื่ )..................................................เจา บานหรือผูค รอบครอง/ผูน าํ การตรวจคน
(ลงชอื่ )..................................................ผูตรวจคน/บันทึก/อา น
ตําแหนง ................................................
(ลงช่ือ)..................................................ผูตรวจคน ไดรับสําเนาบนั ทกึ การตรวจคน น้ไี วแลว

(ลงชื่อ).(...........................)...เจา บานหรือผูครอบครอง

......../........./........

๑๖๐

ºÑÞªÕ·Ã¾Ñ Â» ÃСͺºÑ¹·Ö¡¡ÒÃμÃǨ¤¹Œ
â´ÂäÁ‹ÁËÕ ÁÒ¤¹Œ μÒÁ ».ÇÍÔ ÒÞÒ Á.ùò(ô)

ลาํ ดับ รายการทรัพยสนิ จํานวน/น้าํ หนกั ราคา สภาพ/ตาํ หนิ จุดท่พี บ หมายเหตุ

ขา ฯ ขอรบั รองวา ทรพั ยต ามรายการดงั กลา วขา งตน เปน ทรพั ยท ผ่ี ตู รวจคน พบและยดึ ไวต าม
บันทกึ การตรวจคนจริง

อานใหฟงแลว รบั วาถกู ตอ ง จงึ ใหลงชอ่ื ไวเ ปนหลักฐาน
(ลงชื่อ)........................................................ผคู รอบครอง/ผนู าํ การตรวจคน
(ลงช่ือ)........................................................ผตู รวจคน/บันทึก/อา น
(ลงชือ่ )........................................................ผตู รวจคน

ไดรบั สาํ เนาบญั ชีนไ้ี วแ ลว
(ลงช่ือ).(....................................).เจาบานหรอื ผคู รอบครองสถานที่

......../........./........

๑๖๑

ป.จ.ว.ขอ ................เวลา................น.
คดอี าญาท่.ี .......................................
บัญชีของกลางลําดบั ท.ี่ ......................
ºÑ¹·¡Ö ¡ÒÃμÃǨ¤Œ¹

สถานทีบ่ ันทึก.........................
วันท่ี..................................................................
บนั ทกึ นที้ ําขนึ้ เมอ่ื เวลา..........................น. เพอ่ื แสดงวา เจา พนกั งานตํารวจประกอบดว ย
(ระบยุ ศ ชอ่ื และตาํ แหนง )...............................................................................................................
......................................................................................................................................................
มหี มายคน ของศาล....................................................ท.่ี ..................../๒๕........................................
ไดท าํ การตรวจคน ...............บา นเลขท.ี่ .............หม.ู ...........ตรอก/ซอย....................ถนน...................
ตาํ บล/แขวง...........................อาํ เภอ/เขต...........................จงั หวดั .......................เพอื่ พบสง่ิ ของทม่ี ไี ว
ไดม า หรอื ไดใ ชใ นการกระทาํ ผดิ โดยม.ี ...........................................เปน ผนู าํ ตรวจคน ผลการตรวจคน
(พบหรอื ไมพ บอยา งไร).....................................................................................................................
.................................................................สถานทพี่ บ....................................................................
ตามบัญชรี ายละเอยี ดสงิ่ ของ (ถาม)ี แนบบันทึกน้ี
จับกมุ ..................................................................ผตู อ งหาหรือจาํ เลย
เรม่ิ ตรวจคน เวลา...............................น. สน้ิ สดุ การตรวจคน เวลา.................................น.
ในการตรวจคน ครง้ั นี้ เจา พนกั งานตํารวจไมไ ดทาํ รายรา งกายผูใ ด และมิไดท ําใหท รัพยสิน
เสียหาย สูญหาย เส่ือมคาหรือไรประโยชน และมิไดยึดทรัพยอื่นมาเปนประโยชนสวนตนหรือผูอ่ืน
แตอยา งใด
อานใหฟ ง แลวรับวาถูกตอ ง จงึ ลงชอื่ ไวเปน หลักฐาน
ลงชือ่ ..........................................ผนู าํ ตรวจคน
(........................................)
ลงช่ือ..........................................ผตู รวจคน
(........................................)
ลงช่ือ..........................................ผตู รวจคน
(........................................)
ลงช่ือ..........................................ผตู รวจคน
(........................................)
ลงชอื่ ..........................................พยาน
(........................................)
ลงชือ่ ..........................................พยาน
(........................................)
ลงช่ือ..........................................บนั ทึก/อาน
(........................................)

ไดร ับสาํ เนาบนั ทกึ การตรวจคนน้ไี วแ ลว
(ลงช่อื ).(...........................)...เจาบานหรือผูครอบครอง

......../........./........

๑๖๒

ºÑÞªÕÃÒÂÅÐàÍÂÕ ´Ê§èÔ ¢Í§á¹ºº¹Ñ ·Ö¡¡ÒÃμÃǨ¤¹Œ
สงิ่ ของดงั รายละเอยี ดขา งทา ยน้ี ตรวจคน พบเมอ่ื วนั ท.่ี .......................................................................
ทบ่ี า นเลขท.่ี .................หม.ู ...............ตรอก/ซอย..................ตาํ บล/แขวง..........อาํ เภอ/เขต...............
จงั หวดั ..............................................โดยม.ี ....................................................................ผนู าํ ตรวจคน

๑๖๓

ป.จ.ว.ขอ...................เวลา...................น.
คดอี าญาท่.ี .............................................
บญั ชีของกลางลําดบั ท่ี.............................
ºÑ¹·Ö¡¡ÒèºÑ
สถานทที่ าํ การบนั ทกึ .........................................................................................................................
วนั /เดอื น/ป/ ทบ่ี นั ทกึ .........................................................................................................................
วนั /เดอื น/ปท จ่ี บั ..............................................................................................................................
สถานทจ่ี บั ท.ี่ ...............................บา นเลขท.ี่ ....................................ตรอก/ซอย................................
แขวง/ตาํ บล.....................................เขต/อาํ เภอ......................................จงั หวดั ................................
นามเจา พนกั งานตาํ รวจทจ่ี บั ......................(ร..ะ.บ..ชุ..ื่อ...ส..ก..ลุ ..ต..าํ..แ.ห..น..ง..แ.ล..ะ..ส..งั .ก..ัด..)...............................................
.........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
ไดร ว มกนั ทําการจบั ตวั ๑. ..ร..ะ.บ..ุช..่ือ...ต..วั ...ช..ื่อ..ร..อ..ง..ช..อ่ื...ส..ก..ุล...ส..ัญ...ช..า..ต..ิ.อ..า..ย..ขุ..อ..ง..ผ..ูถ..กู..จ..บั...ก..ร..ณ...ีม..ีห...ม..า..ย..จ..บั ..ใ.ห...ร.ะ..บ...ุว.า.. ผถู กู จับท่ี ๑
.......ผ.ู.ถ..ูก..จ..ับ..ต..า..ม...ห..ม..า..ย..จ..ับ...ข..อ..ง..ศ..า..ล..ใ.ด..ล...ง.ว..ัน...ท..่ีเ.ท...า.ใ..ด....พ..ร..อ..ม...ก..ับ..แ..ส..ด...ง.ห..ม..า..ย..จ..ับ.
.......ต..อ ..ผ..ถู..ูก..จ..ับ..).....................................................................................
๒. ............................................................................................ ผูถ กู จับที่ ๒
๓. ............................................................................................ ผถู กู จบั ที่ ๓
๔. ............................................................................................ ผูถกู จบั ท่ี ๔
๕. ............................................................................................ ผูถกู จับที่ ๕
พรอ มดว ยของกลางม.ี .....................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
ตาํ แหนง ทพ่ี บของกลาง (ระบใุ หช ดั เจน)..............................................................................................
.........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
โดยกลา วหาวา ...........(.แ..จ..ง.ใ..ห..ท..ร..า..บ..ถ..ึง..ข.อ...เ.ท..็จ..จ..ร.ิง..เ.ก..ี่ย..ว..ก..ับ..ก..า..ร..ก..ร.ะ..ท..าํ..ท..ี่ก..ล..า..ว..ห..า..ว.า..ผ..ูถ..ูก..จ..ับ..ไ..ด..ก..ร.ะ..ท..ํา..ผ..ิด..แ..ล..ว..จ..ึง.แ..จ..ง.
ฐ..า..น..ค..ว.า..ม..ผ..ดิ .ใ..ห..ท ..ร.า..บ..)..............................................................................................................................
........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................

๑๖๔

พรอ มทัง้ แจงใหผูถกู จบั ทราบดว ยวา ผูถูกจับมสี ทิ ธทิ จ่ี ะไมใหก ารหรือใหก ารก็ได และถอยคําของผูถูกจบั นั้น
อาจใชเปนพยานหลักฐานในการพิจารณาคดีได และมีสิทธิที่จะพบและปรึกษาทนายความหรือผูซึ่ง
จะเปนทนายความ ผูถ กู จบั รับทราบขอ กลา วหาและสทิ ธขิ องผูถ ูกจบั ดังกลา วขา งตน แลว ขอใหก าร ....
(.ร..ับ..ส.า..ร.ภ..า..พ..,..ป..ฏ..เิ .ส..ธ.,..ภ..า.ค..เ.ส..ธ..)..................................................................................................................
(ถาถอยคําน้ันเปนคํารับสารภาพของผูถูกจับวาตนไดกระทําความผิด หามมิใหรับฟงเปนพยานหลักฐาน
แตถ า เปนถอยคําอน่ื ใชเ ปนพยานหลกั ฐานในการพิสูจนความผิดของผถู กู จบั ได)
วนั /เดอื น/ป ทเ่ี กดิ เหต.ุ ...................................................เวลา......................................................น.

อนงึ่ ในการจบั ครง้ั นี้ เจา พนกั งานตาํ รวจมไิ ดท าํ ใหท รพั ยส นิ ของผใู ดเสยี หาย สญู หาย หรอื
เสือ่ มคา แตประการใด และมไิ ดทาํ ใหผใู ดไดร ับอันตรายแกก ายหรือจติ ใจแตอยา งใด

ไดอา นบนั ทกึ น้ีใหผ ูถูกจับฟง แลว รบั รองวา ถกู ตอ ง จึงใหล งช่อื ไวเปน หลักฐาน
(ลงช่ือ)...................................................ผถู กู จบั
(ลงช่อื )...................................................ผถู ูกจบั
(ลงช่ือ)...................................................ผถู ูกจับ
(ลงช่อื )...................................................ผถู กู จับ
(ลงช่อื )...................................................ผถู ูกจบั
(ลงชอื่ )...................................................ผูถูกจบั
(ลงชือ่ )...................................................ผจู บั /บนั ทกึ /อา น
ตําแหนง ................................................
(ลงช่ือ)...................................................พยาน
(ลงชื่อ)...................................................พยาน

ไดร บั สําเนาบันทกึ จับน้ีไวแ ลว
(ลงชอ่ื ).(..................................................................................................................ผ) ูตองหา

............/.............../...........

๑๖๕

ºÑ¹·¡Ö ¡ÒèѺâ´ÂÃÒÉ®Ã
สถานท่บี ันทกึ ...............................................

วนั ท.ี่ ..................เดอื น...................................พ.ศ.๒๕............
วันน้ีเวลาประมาณ.....................น. ราษฎรผูจับ ชื่อ.......................................................
อาย.ุ ...................ป อาชพี .............................................ทอี่ ย.ู ...........เลขท.่ี ................หม.ู ................
ถนน....................................................................ตาํ บล/แขวง..........................................................
อาํ เภอ/เขต..........................................................จงั หวดั .................................................................
ไดจ บั .................................................................................................................อาย.ุ ..................ป
ทอ่ี ยเู ลขท.ี่ ...................หม.ู ......................ตาํ บล................................................................................
อาํ เภอ.................................................................จงั หวดั .................................................................
หมายเลขบตั รประจําตวั ประชาชน..................................................................................
.......................................................................................................................................................
พรอ มดว ยของกลาง.......................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
พฤติการณแหงการจบั ...................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
เจาพนักงานผูร ับมอบตัวผถู กู จบั คือ..............................................................................
ตาํ แหนง ..........................................................................................................................................
ไดแ จงขอกลาวหาแกผ ถู ูกจับวา ......................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
และไดแ จง รายละเอยี ดแหง การจบั ใหผ ถู กู จบั ทราบวา ......................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................

๑๖๖

สถานทถี่ กู จบั ...................................................................................................................................
ตาํ บล/แขวง............................................................อาํ เภอ/เขต........................................................
จงั หวดั ....................................................................เมอ่ื วนั ท.ี่ ........................เดอื น.........................
พ.ศ.๒๕.......... เวลาประมาณ.................................................น.
ซง่ึ การกระทําดงั กลาวของผูถ ูกจบั เปนความผดิ ตามกฎหมายท่ีมโี ทษทางอาญา

เจา พนกั งานผรู บั มอบตวั ผถู กู จบั ไดแ จง ใหผ ถู กู จบั ทราบวา ผถู กู จบั มสี ทิ ธทิ จ่ี ะไมใ หก าร หรอื
ใหการก็ได และถอยคาํ ของผถู กู จับอาจใชเ ปน พยานหลักฐานในการพจิ ารณาคดไี ด

ผูถ กู จับทราบแลว ไมยอมใหก าร ขอใหก ารชั้นศาล ใหก าร
รบั สารภาพ ปฏิเสธ
โดยมีรายละเอียดวา.......................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
เจา พนกั งานผรู บั มอบตวั ผถู กู จบั คอื .................................................................................................
ตําแหนง............................................................ไดแจงสทิ ธใิ หผถู ูกจบั ซง่ึ ถูกควบคุมทราบวา ผูถูกจับ

๑. มีสิทธิแจง หรือขอใหเจาพนักงานแจงใหญาติ หรือผูซึ่งผูถูกจับไววางใจทราบถึง
การถูกจับและสถานท่ที ีถ่ กู ควบคุมในโอกาสแรก

๒. มีสิทธพิ บและปรึกษาผูซ ึง่ จะเปน ทนายความเปนการเฉพาะตัว
๓. มสิี ทิ ธใิ หท นายความ หรอื ผซู งึ่ ตนไวว างใจเขา ฟง การสอบปากคาํ ตนไดใ นชน้ั สอบสวน
๔. มสี ิทธไิ ดรบั การเยยี่ ม หรือตดิ ตอ กับญาตไิ ดตามสมควร
๕. มีสิทธไิ ดร ับการรักษาพยาบาลเมือ่ เกดิ การเจบ็ ปวย

อนึ่ง เจา พนกั งานผูร บั มอบตัวผถู กู จบั ไดจดั ใหผ ูถูกจบั สามารถติดตอ กับ
ผูถ ูกจบั ไดร อ งขอใหเจาพนกั งานผรู ับตวั ผถู กู จับเปนผแู จงใหตดิ ตอ กบั
ญาติ คอื ..............................................โทร..........................
ผซู ง่ึ ผถู กู จบั ไวว างใจ คอื ........................โทร..........................

๑๖๗

ซึง่ สามารถตดิ ตอ ได
ไมได และไดด ําเนินการใหกบั ผูถกู จับโดย.....................................................

.......................................................................................เพ่ือแจงใหทราบถึงการจับ และสถานที่
ควบคุมไดในโอกาสแรกเมื่อผูถูกจับมาถึงท่ีทําการของพนักงานสอบสวนโดยเร็ว โดยไมไดเรียก
คา ใชจา ยใดๆ จากผูถูกจบั

เจาพนักงานผรู ับมอบตัวผถู กู จบั มไิ ดท าํ หรอื จัดใหทําการใดๆ ซึง่ เปนการใหค ําม่นั สัญญา
ขูเ ข็ญ หลอกลวง ทรมาน ใชก าํ ลงั บงั คบั หรอื กระทําการโดยมชิ อบดว ยประการใดๆ ไดอา นบันทึกนี้
ใหผ ูถกู จบั ฟงแลว รบั รองวา ถูกตอง จึงใหลงลายมอื ชือ่ ไวเปนหลกั ฐาน

(ลงชื่อ)..............................................ราษฎรผจู ับ
(..............................................)

(ลงชอ่ื )..............................................ผูถ กู จับ/รบั ทราบสิทธิ
(............................................)

(ลงชอื่ )..............................................ผรู บั มอบตวั ผถู กู จบั /บนั ทกึ /อา น

๑๖๙

º··èÕ ÷

á¹Ç·Ò§¡ÒÃÊº× Êǹ¤´áÕ μÅ‹ лÃÐàÀ·

÷.ñ á¹Ç·Ò§¡ÒÃÊº× Êǹ¤´Õ»ÃзØÉÃŒÒÂμ‹ÍªÕÇμÔ Ã‹Ò§¡ÒÂ

ก. การรับแจงเหตุเบื้องตน
๑. รบี ไปทเ่ี กดิ เหตุทันที
๒. บนั ทกึ วนั เวลา การรบั แจง เหตุ และวธิ ีการรบั แจงเหตไุ ว
๓. ระบุผูแจง เหตุ (หากมี) และผูรับแจงเหตุ

ข. สถานทเี่ กดิ เหตุ
๑. กนั บุคคลอ่ืน ออกจากทีเ่ กิดเหตุ จัดแนวกั้นที่เกิดเหตปุ ฏบิ ัติตามวิธีการรักษา

สถานท่เี กิดเหตุ
๒. ใหผบู งั คบั บญั ชาตรวจท่ีเกดิ เหตุ รว มกับวิทยาการ หรือนิติวิทยาศาสตร
๓. จดั ทําแผนท่ีคราว ๆ ของทเี่ กดิ เหตไุ ว พรอมทง้ั ถายภาพเก็บไว
๔. สาํ รวจสภาพศพ เวลาตาย ลกั ษณะบาดแผล ลกั ษณะการเกดิ บาดแผล รอ งรอย

การพนั ธนาการ อาวธุ สง่ิ ของทที่ าํ ใหเ กดิ บาดแผล ลกั ษณะการตอ สขู ดั ขนื รอ งรอยตอ สขู ดั ขนื ลกั ษณะ
เลอื ด ปรมิ าณเลอื ด คราบเลือด การกระจายของเลือด

๕. สบื สวนหาขา วในท่เี กดิ เหตุ เสาะหาพยาน และเจรจาขอใหพ ยานใหความรวมมือ
ใชว ิธีการซักถามปากคํา

๖. สืบสวนรอบบริเวณท่ีเกิดเหตุ ถึงเสนทาง บานใกลเคียง พยานหลักฐานเพ่ิมเติม
ยานพาหนะ

๗. ไมใ หขา วกบั ส่ือมวลชน เปนหนา ทขี่ องผูบังคับบญั ชาหรอื โฆษก
ค. การสบื สวน

๑. กําหนดประเดน็ ของคดี และสืบหาตัวละคร (ผเู กย่ี วของ) ในแตละประเดน็
๒. จดั นกั สืบอยา งนอ ย ๒ นาย ไปรับผิดชอบตามประเด็นท่ีตั้งไว ใหรบั ผดิ ชอบ
สบื สวนหาขา ว
๓. จดั นักสืบตรวจเช็คขอมูลจากฐานขอ มูลที่เกีย่ วของ เชน ทะเบียนราษฎร ปน ,
รถ ขอมูลการสือ่ สาร ฯลฯ ของตวั ละคร (ผูเกีย่ วของ) ในคดี โดยกาํ หนดวนั ใหกลบั มารายงานใหช ัดเจน
๔. สาํ หรบั คดใี หญห รอื อกุ ฉกรรจส าํ คญั จดั ตง้ั ทมี งาน มกี ารนดั หมายระดมสมอง
และสรรพกาํ ลงั เพื่อดาํ เนินการอยางตอ เนือ่ ง
๕. ประสานขอมูลจากหนวยงานท่ีเกี่ยวของ เร่ืองการตรวจพิสูจนหลักฐาน เชน
กองพสิ ูจนหลักฐาน, วิทยาการ, นติ ิเวช ฯลฯ

๑๗๐

๖. สืบสวนความเชื่อมโยงจากขอมูลการสื่อสารของตัวละคร ผูตองสงสัย
กอนเกดิ เหตุ ขณะเกดิ เหตุ และหลงั เกดิ เหตุ เพื่อทราบถึงการเดนิ ทาง และเชอื่ มโยงไปยังตัวละครอ่ืน
หรอื หาตวั คนรายจนพบ

๗. จัดทาํ แผนผงั การเชอ่ื มโยงและความตอ เนอ่ื ง ทั้งระบบเครอื ญาติ การสอื่ สาร
ความสัมพนั ธไ วใ นแฟมคดี

๘. กรณีสืบสวนตัวคนรายหรือกลมุ คนราย ใหสืบสวนถึงจุดออน จุดแข็ง
ปมเดน ปมดอยของคนราย ไวเปนแนวทางและขอมูลในการสืบสวนติดตามจับกุม

- จุดแข็ง ปมเดน คือ สังกัดผูมีอิทธิพล จบกฎหมาย อดีตตํารวจ-ทหาร
ปราดเปรียว มคี วามรู ฐานะทางเศรษฐกิจและสงั คมดี ฯลฯ

- จดุ ออ น ปมดอ ย คอื ชอบมวั่ สมุ การพนนั ชอบเจา ชู หว งครอบครวั มปี ญ หา
ทางการเงิน การศกึ ษาตาํ่ ฯลฯ

๙. ประชมุ สรปุ วเิ คราะห และประเมนิ ผลจากการสบื สวน เพอ่ื วางแผนดาํ เนนิ งาน
ตอ ไป เชน วางแผนตรวจคน วางแผนจบกุม

๑๐. การเขียนรายงานการสืบสวนควรทําเปนระยะๆ จัดทําแฟมคดีเพื่อรวบรวม
ขอ มลู จากการสบื สวน

ง. การวเิ คราะหค ดี
การวเิ คราะหค ดีโดยการใชผ งั แสดงการเชอื่ มโยง Mind map
ผังมโนภาพ หรือ แผนที่ความคิด หรือ ไมดแม็ป (Mind map) คือ ไดอะแกรม

ท่ีแสดงใหเห็นถึงความเชื่อมโยงของมโนภาพท่ีสัมพันธกันรูปแบบหนึ่ง โดยปกติจะใชรูปวงกลมแทน
มโนภาพหรือความคิด และเสนลูกศรแทนลักษณะและทิศทางของความสัมพันธนั้น มีคํากาํ กับไววา
วงกลมแทนมโนภาพของอะไร เสนลูกศรแทนความสัมพันธในลักษณะและทิศทางใด ในบางครั้ง
มีการใชก ารเนน และแจกแจงเนือ้ ความดวยสีและการวาดรูปประกอบ เปนวิธีหน่ึงทีช่ ว ยบนั ทึกความคดิ
เพ่ือใหเห็นภาพความคิดที่หลากหลายมุมมองที่กวาง และชัดเจนกวาการบันทึกที่โดยยังไมจัด
ระบบระเบยี บความคดิ ใดๆ อกี ทงั้ เปน วธิ กี ารทส่ี อดคลอ งกบั โครงสรา งทางการคดิ ของมนษุ ยท บี่ างชว ง
มนษุ ยจ ะสญู เสยี สมาธิ และความจดจอ ไปโดยอตั โนมตั ขิ ณะทก่ี าํ ลงั คดิ เรอื่ งใดเรอื่ งหนง่ึ การทาํ ใหส มอง
ไดคิดไดทํางานตามธรรมชาตินั้น มีลักษณะเหมือนตนไมที่แตกก่ิงกานออกไปเรื่อยๆ สามารถ
ทาํ การระดมความคิด Brain Storm ได

ตัวอยางของผังมโนภาพ

๑๗๑

การเขียนผงั มโนภาพ
๑. เปาหมายสามารถใชผังเชอ่ื มโยงเปนตวั ชว ยในการวิเคราะหค ดอี าชญากรรม หรือ
ใชใ นการสืบสวน
๒. จุดประสงค

๒.๑ สามารถอธิบายประโยชนของการใชผังเชื่อมโยงในการวิเคราะห
คดีอาชญากรรม

๒.๒ สามารถใชผ งั เชอื่ มโยงวเิ คราะหค ดอี าชญากรรม (กรณศี กึ ษา) ไดอ ยา งเขา ใจ
๓. คาํ จํากัดความของการวเิ คราะหค ดอี าชญากรรม

๓.๑ การดาํ เนนิ การอยา งมขี น้ั ตอนตอ ขอ มลู ดบิ ซง่ึ ไดม าจากการจดั เกบ็ และรวบรวม
จากเทคนิคและวธิ ีการสบื สวน

๓.๒ ใชหลักการวิเคราะหจากความมีเหตุผลที่เหมาะสม ประสบการณ และ
จินตนาการ

๓.๓ เพอื่ กําหนดแนวทางการดําเนินการสบื สวน
๓.๔ ใหไดมาซึ่งคาํ ตอบสุดทายคือ ใครคือคนราย มันอยูท่ีไหน และจะใช
หลกั ฐานอะไรยนื ยนั การกระทาํ ผิดของคนรา ย

๑๗๒

๔. คาํ จาํ กดั ความของผังแสดงการเช่อื มโยง
๔.๑ เปนเครอื่ งมือสาํ หรับจัดเตรยี มขอ มลู ใหก บั การวเิ คราะหคดี
๔.๒ เปนการวาดภาพขอมลู ที่แสดงความสมั พันธ ทางตรงและทางออม ระหวา ง

ส่ิงตา งๆ ในคดี
๔.๓ ใชแ สดงความเขมขน ของความสมั พนั ธ
๔.๔ ใชแ สดงขอ มลู จาํ นวนทมี่ มี าก ซบั ซอ น ใหเ หน็ ภาพทชี่ ดั เจนในรปู แบบทตี่ คี วาม

ออกมาไดงายยง่ิ ขึน้
๕. การวเิ คราะหคดอี าชญากรรมโดยใชผ งั แสดงเชื่อมโยง
ผูเสียหาย ผูตองสงสัย สถานที่เกิดเหตุอาชญากรรม การขาวทางการสืบสวน

และพยานหลักฐานอ่ืนๆ ในคดี คือ พื้นฐานสาํ คัญท่ีสุดในการสืบสวนและดาํ เนินคดีที่จะประสบ
ความสาํ เร็จหากไมมีการจัดการความเชื่อมโยงสิ่งตาง ๆ ขางตน นักสืบอาจมองภาพคดีไมออก
และไมอ าจตง้ั รปู การสบื สวนได

ñšêĎ Ăš ÜÿÜÿĆ÷ ÿëćîìĊđę ÖĉéđĀêč

ÖćøÿČïÿüîÙéĊ

ñĎšđÿ÷Ċ Āć÷ ó÷ćîĀúÖĆ åćî

๖. ประโยชนของการใชผ งั เช่ือมโยง ในการวเิ คราะหคดี
๖.๑ เชอ่ื มโยง คน สถานท่ี ส่ิงของ วนั ที่ เวลา เหตุการณ
๖.๒ ลดการทาํ งานซํา้ ซอน โดยหน่ึงคดีอาจมีผูสืบสวนหลายคนแบงหนาท่ีกัน

ออกไปทาํ งาน เม่ือใชผ งั เชอ่ื มโยงจะทําใหส ามารถตอ ยอดการสบื สวนทีด่ ําเนินการไปแลวไดท ันที

๑๗๓

๖.๓ ทําใหผูสืบสวนทํารายงานสรุปไดชัดเจน กะทัดรัด เนนภาพรวมของคดีได
งา ยกวา

๖.๔ ชี้ใหเห็นถึงสิ่งท่ีขาดหายไปในการดําเนินการสืบสวน ซึ่งอาจเปนชองทาง
ในการคนหาความจริงทางคดี

๖.๕ เพิม่ ความนาเช่อื ถือ แสดงถึงความเปนมืออาชีพใหก บั ผสู ืบสวน
๖.๖ มองภาพรวมทางคดีไดอยางชัดเจน แมขอมูลที่ไดจากการสืบสวนจะมี
ปริมาณมาก
๗. การสรา งผงั แสดงความเช่อื มโยง
๗.๑ รวบรวมขอ มูลดบิ ทั้งหมด
๗.๒ แยกขอ มลู ท่มี อี อกเปนชน้ิ ๆ
๗.๓ เลือกจุดศูนยกลางการเชื่อมโยง อาจเปนบุคคล องคกร หรือเหตุการณที่มี
ความเชื่อมโยงมากทสี่ ดุ เปน จุดศนู ยกลาง
๗.๔ นาํ ขอมูลดบิ ท่ีถกู แยกเปน ช้ินมาใสไวในผังพรอมกําหนดความสมั พนั ธ
๗.๕ การวาดผงั เบือ้ งตน
สัญลักษณตา งๆ ในการเขียนผังความสมั พนั ธ

แทน บคุ คล

แทน สถานท่ี หรือองคกร

แทน ความเช่อื มโยงแบบไมยนื ยนั
แทน ความเชือ่ มโยงแบบยืนยนั
แทน เร่ืองราว / เหตกุ ารณ / การขา ว

๑๗๔

๗.๖ มองภาพรวมของผังเราจะพบสิ่งท่ีเราตองการรูในการสืบสวนอีกมากมาย
ใหน าํ สิง่ ท่เี ราตอ งการรูเ หลานน้ั ไปกาํ หนดเปน แนวทางการสืบสวน

๗.๗ กลบั ไปทําขอ ๑ ลงมาอีก ทาํ ซ้ําแลวซํา้ เลา จนกวาจะไดคําตอบหรอื สง่ิ บง ชี้
ยืนยนั วา ใครคอื คนรา ย

๗.๘ ผงั ท่ดี ีตอ งมคี าํ อธิบายท่มี มุ ลา งขวาของผัง ประกอบดวย
๗.๘.๑ ชื่อผงั เชน การสบื สวนเหตุมือปน สุโขทยั
๗.๘.๒ วนั เดอื นป ทีด่ ําเนินการแกไขคร้งั ลาสดุ
๗.๘.๓ ชื่อผจู ดั ทาํ

÷.ò á¹Ç·Ò§¡ÒÃÊº× Êǹ¤´Õ»ÃзÉØ ÃÒŒ ÂμÍ‹ ·Ã¾Ñ 

ก. การรบั แจงเหตุเบ้ืองตน
๑. รีบไปท่ีเกิดเหตุ ปฏิบัติตามหลักการตรวจท่ีเกิดเหตุ รวมกับวิทยาการพิสูจน

หลกั ฐาน
๒. แจงตําหนิรูปพรรณคนราย ยานพาหนะ ทรัพยถูกประทุษราย หรือให

รายละเอยี ดแกส ายตรวจในการตรวจ และประสานงานหนว ยทเ่ี กย่ี วขอ งในการสกดั กนั้ คนรา ยหลบหนี
ข. สถานทเี่ กิดเหตุ
๑. รวมตรวจท่ีเกิดเหตุกับพนักงานสอบสวน เจาหนาท่ีวิทยาการ เก็บและตรวจ

หลกั ฐานท่พี บ
๒. ศกึ ษาตําหนิรูปพรรณทรัพย และแผนประทษุ กรรมคนราย
๓. จดั ทําแผนทท่ี ีเ่ กดิ เหตุ และถายรูปไวประกอบการสืบสวน
๔. หาพยานหลกั ฐานในทเี่ กดิ เหตุ รอบ ๆ ทเ่ี กดิ เหตทุ กุ ประเภท เชน มกี ลอ งวดิ โี อ

วงจรปด ในบริเวณใกลเ คียงหรอื ไม มใี ครเห็นบาง
๕. แจงขอมูลเพิ่มเติมเก่ียวกับทรัพยและตําหนิรูปพรรณคนราย ใหผูเก่ียวของ

ในการสกัดกน้ั ตดิ ตามจบั กุม
ค. การสบื สวน
๑. ประสานหนวยงานท่ีเกี่ยวของในเร่ืองการหาขาว เชน ศูนยปราบปราม

การโจรกรรมรถ ทางหลวง เจา หนา ทชี่ ายแดน แหลงรับซ้อื ขาย โรงรับจํานํา ตลาดมดื
๒. ตรวจสอบพฤตกิ รรมคนรา ย, ทเี่ กดิ เหตุ มเี หตแุ อบแฝงนอกเหนอื จากประสงค

ตอ ทรพั ยอยา งอ่ืนหรือไม
๓. การสบื สวนแบงเปน ๒ แนวทาง
- เร่ิมจากตนทาง คือ ผูตองสงสัย ผูเก่ียวของ ผูใกลชิดทรัพย ผูมีประวัติ

นา ตรวจสอบ แกงคนราย บคุ คลพน โทษคดเี กี่ยวกบั ทรัพย แผนประทุษกรรมของคนราย
- เริ่มจากปลายทาง คือ สืบสวนจากแหลงรับซื้อ อูซอมรถ เต็นทขายรถ

ผูซอื้ ขายตลาดมดื แหลงใชเงนิ บอ นการพนนั สถานบันเทงิ แหลงม่วั สุม

๑๗๕

๔. มอบหมายนกั สบื ตรวจเชค็ ขอ มลู ทเ่ี กยี่ วขอ ง เชน ทะเบยี นตา งๆ ประกนั สงั คม
ประกันภัย การเงิน การสื่อสาร ฯลฯ ของผูตองสงสัย หรือผูเกี่ยวของ โดยกาํ หนดเวลาใหนักสืบ
กลับมารายงานผล

๕. ระหวางสบื สวน ตอ งประสานขอมูลเพ่มิ เติมกบั เจา หนา ที่วทิ ยาการ ตลอดถงึ
ความคืบหนา การตรวจพิสจู นต าง ๆ เพ่อื แจงเปน ขอมลู ท่ีทันสมัยเพมิ่ เตมิ แกนักสืบในการปฏบิ ตั ิ

๖. สบื สวนพฤติกรรมบคุ คลตองสงสัย แหลงตอ งสงสยั ขยายไปเรอ่ื ย ๆ โดยเช็ค
จากขอ มลู พยานหลกั ฐานทม่ี ี ประวตั อิ าชญากร แผนประทษุ กรรม การขา ว จากทกุ แหลง หากประเมนิ
ผลดี ผลเสยี และหลกั ฐาน ใหต รวจคน จดุ ตองสงสัยหาของกลาง

๗. มีการประชุมประเมินผลการดําเนินการอยางตอเนื่อง เมื่อพนกําหนด
ระยะเวลาของการสอบสวนคดี ใหม อบหมายเรื่องใหนกั สบื รับผิดชอบโดยตรง

๘. เขียนรายงานการสืบสวนเปนระยะๆ และตงั้ แฟมคดีสืบสวน

÷.ó á¹Ç·Ò§¡ÒÃÊ׺Êǹ¤´àÕ ¡ÕèÂÇ¡ºÑ ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ·Ò§¤ÍÁ¾ÔÇàμÍÏ

สามารถจาํ แนกออกเปน ๒ ประเภท
๖.๓.๑ การกระทาํ ใดๆ กต็ าม ทเ่ี กยี่ วกบั การใชค อมพวิ เตอร อนั ทาํ ใหเ หยอื่

ไดร ับความเสียหาย และทําใหผ ูกระทาํ ไดรับผลตอบแทน (Computer Related Crime)
ขอสังเกต : สวนใหญจะเปนการใชคอมพิวเตอรเปนเคร่ืองมือในการกระทําความผิด

ในคดีอาชญากรรมท่วั ไป
๖.๓.๒ การกระทําผิดกฎหมายใด ๆ ซ่ึงจะตองใชความรูเกี่ยวของกับ

คอมพิวเตอรม าประกอบการกระทาํ ผิด ซงึ่ ยากแกก ารสบื สวน ตดิ ตาม จบั กุม (Computer Crime)
ขอสังเกต : สวนใหญจะมีการบุกรุก หรือเจาะเขาสูระบบคอมพิวเตอร Server

(Intrusion)
ลักษณะการกระทําความผิดรปู แบบเดมิ
( ผา นทาง เวบ็ ไซต, เว็บบอรด, หอ งสนทนา, ICQ, MSN E-mail, SMS )
- หมิ่นประมาท
- กอ ความเดอื ดรอนราํ คาญใหผ อู นื่ , ขูวางระเบดิ
- ฉอโกงโดยการหลอกวาจะขายสินคาราคาถูก หรือสินคาผิดกฎหมาย เชน

CD, ยาสลบ
- เผยแพรภาพลามกอนาจาร, ภาพลามกเด็ก, ภาพตดั ตอ , ภาพแอบถา ย
- ใชเปนชองทางในการเลนการพนัน เชน พนนั ฟตุ บอล, ขายบริการทางเพศ
- ขโมยขอ มูลสาํ คัญ, บตั รเครดติ , รหัสผานตา งๆ
- แอบอา งเปน บคุ คลอน่ื
- การละเมดิ ลขิ สิทธิ์

๑๗๖

ลกั ษณะการกระทาํ ความผดิ รปู แบบใหม
- การดักจับขอ มูล หรอื การเจาะระบบเพอื่ ขโมยขอมูลสําคัญ
- เปลีย่ นหนาเวบ็ เพจหรอื เวบ็ ปลอม (Web defacing)
- การโจมตเี ครือ่ งคอมพวิ เตอรเ ปาหมาย
- Virus, Worm, Trojan, Backdoor บตั รเครดิต, รหัสผา นตา งๆ
- การใหบรกิ ารโทรทางไกลระหวา งประเทศผา นทางเครือขา ยอินเทอรเ น็ต
- การซุกซอ นแอบแฝงขอมูล หรอื โปรแกรมไวในไฟลรูปภาพ Steganography

ข้ันตอนการปฏิบัติของเจาหนาท่ีตํารวจกรณีมีผูแจงความเบ้ืองตน เร่ืองการกระทําผิด
เกีย่ วกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร

๑. เมื่อไดรับแจงเหตุเก่ียวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอรใหรีบติดตอใหผูเสียหาย
แจงความรองทุกขตอพนักงานสอบสวน เชนเดียวกันกับคดีอาญาปกติ เพราะตองดําเนินการตาม
กระบวนการสอบสวน ไมวาจะเปนการรองทุกข กลาวโทษ ขออนุญาตออกหมายคน หมายจับ
สง ของกลางตรวจพสิ จู นย ังหนว ยงานท่ีเก่ียวของ

๒. กรณเี ปนเหตุปจ จุบันดวน เชน มีภาพลามกอนาจารปรากฏบนอนิ เทอรเ น็ต ใหรีบ
จดั เกบ็ (save) หนา จอ หรอื ถา ยรปู หนา จอไวเปนหลักฐาน โดยใหปรากฏ วนั เวลาบนจอคอมพิวเตอร
ซ่งึ มักปรากฏอยูทม่ี ุมลางดา นขวามือ และปรากฏ URL ท่ีอยขู องเว็บที่ปรากฏการกระทําผดิ

๓. การเก็บหลักฐานเครื่องอุปกรณคอมพิวเตอร ใหเหมือนกับการเก็บหลักฐาน
ทางกายภาพปกติ เชน อาจมีรอยน้ิวมือแฝง อยูท่ีอุปกรณคอมพิวเตอร หรือรหัสลับ (password)
ซุกซอ นอยูใ นบรเิ วณโตะ หรอื ใตเกาอ้ี หรือกระดาษในกระเปา สตางค เปน ตน

๔. หากพบเว็บไซตที่ผิดกฎหมาย สามารถแจงตรงไดท่ีเว็บไซตของ สํานักงานตํารวจ
แหง ชาติ www.police.go.th หัวขอ แจง เว็บไซตท ผี่ ิดกฎหมาย

๕. หากตอ งการรายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ สามารถตดิ ตอ ไดท ี่ ศนู ยต รวจสอบและวเิ คราะห
การกระทําผิดทางเทคโนโลยี กองบัญชาการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานตํารวจ
แหงชาติ หมายเลขโทรศัพท ๐-๒๒๐๕-๒๖๒๗-๘

ÊÃ»Ø ¡ÒÃดาํ à¹¹Ô ¡ÒÃ
- คนหา/ขอ หมายเลข IP และวัน เวลา (แปลง TimeZone) จาก website หรือ
Email header
- ตรวจสอบวา IP เปนของ ISP ใด จากเวบ็ ไซตท่ใี หข อมลู ไดแ ก www.checkdo-
main.com, www.geektools.com แลวทําหนงั สอื ไปสอบถาม ISP นัน้ ๆ
- ISP แจงผลการตรวจสอบ จะทราบหมายเลขโทรศัพทในการเช่ือมตออินเทอรเน็ต
ตามวันและเวลาท่ีเกิดเหตุ ตรวจสอบชื่อและท่ีอยูของเจาของโทรศัพท เพื่อออกหมายเรียก
มาสอบสวนตอ ไป

๑๗๗

¡ÒÃÊº× ¤¹Œ ¢ÍŒ ÁÅÙ ·Ò§ Internet / Website

ñ. àÇçºä«μ (Website)
URL (Uniform Resource Locator) หมายถงึ ทอี่ ยู (Address) ของขอ มลู ตา งๆ

ในอินเทอรเ น็ตโดยมรี ูปแบบ http://www.address.com เปนตน
DNS (Domain Name System) เปนฐานขอมูลและระบบการจัดการชื่อ

ในเครอื ขายใหเปน ระบบ เพื่อการเช่อื มโยงขอมูลขา วสารไดอ ยางถกู ตอง โดยมีกลไกเปน ระบบจดั การ
แปลงขอมูลชอื่ และหมายเลข IP address เพอ่ื ใหม ีการเรยี กคน ไดอยา งรวดเร็ว

¡ÒÃÊ׺¤Œ¹¢ŒÍÁÙÅ·Ò§ Internet / Website แบง ไดเปน ๒ ประเภท
๑. โดเมน ๒ ระดับ ชอ่ื โดเมน. ประเภทของโดเมน
๒. โดเมน ๓ ระดับ ช่อื โดเมน. ประเภทของโดเมน . ประเทศ
โดเมนเนม ๒ ระดับ จะประกอบดวย www. ช่ือโดเมน.ประเภทของโดเมน ประเภทของโดเมน
คือ คํายอ ขององคก ร โดยประเภทขององคก รทพี่ บบอย มดี งั ตอไปน้ี
.com คือ บรษิ ทั หรอื องคก รพาณิชย
.org คือ องคกรเอกชนทไี่ มแสวงผลกาํ ไร
.net คอื องคกรทเ่ี ปนเกตเวย หรือจุดเชอื่ มตอเครือขา ย
.edu คอื สถาบันการศึกษา
.gov คอื องคก รของรัฐบาล
.mil คือ องคก รทางทหาร
â´àÁ¹à¹Á ó ÃдºÑ จะประกอบดว ย www. ชอ่ื โดเมน. ประเภทของโดเมน. ประเทศ
เชน www.ru.ac.th, www.nectec.or.th, www.google.co.th
»ÃÐàÀ·¢Í§Í§¤¡ ÷¾èÕ ººÍ‹ ¤×Í
.co คือ บรษิ ทั หรอื องคก รพาณชิ ย
.go คอื องคก รของรฐั บาล
.or คอื องคก รเอกชนทีไ่ มแสวงผลกําไร
.ac คือ สถาบนั การศกึ ษา
.net คือ องคก รทใ่ี หบริการเครือขา ย
μÑÇÂÍ‹ ¢Í§»ÃÐà·È·Õèμ§Ñé ¢Í§Í§¤¡ Ã
.th คอื ประเทศไทย
.uk คือ ประเทศอังกฤษ
.au คือ ประเทศออสเตรเลยี
.cn คือ ประเทศจีน
.jp คือ ประเทศญีป่ นุ
IP /DNS เปรียบเทียบ
Internet Protocol Address (IP) --> เปรยี บไดกับบา นเลขท่ี
๕๘.๙๗.๔๓.๑๗๑ คอมพิวเตอรเ ขาใจ
Domain Name System (DNS) --> เปรยี บไดกับ ชื่อรานคา จํางา ยกวา ตวั เลข
www.police.go.th

๑๗๘

IPAddress คอื หมายเลขประจาํ เครอ่ื งคอมพวิ เตอร ทใี่ ชใ นการอา งองิ ทอี่ ยขู องเครอื่ ง
คอมพิวเตอรในระบบเครือขาย ซึ่งประกอบดวยตัวเลข ๔ ชุด โดยมีเครื่องหมายจุดคั่นระหวางชุด
เชน ๑๙๒.๑๖๘.๑๐๐.๑ หรอื ๑๒๕.๒๕.๑๐๐.๓๔ เปนตน

การเรียกชมหนาเวบ็ ไซต

÷.ô á¹Ç·Ò§¡ÒÃÊ׺Êǹ¤´ÂÕ Òàʾμ´Ô

การสืบสวนที่เกี่ยวกับยาเสพติดใหโทษ นับเปนการสืบสวนในคดีท่ีมีความยุงยาก
ซับซอนอยางย่ิง และเปนการสืบสวนที่จําเปนตองอาศัยเทคนิคและวิธีการสมัยใหมเขามาใชสูง
เนอื่ งจากเปน อาชญากรรมประเภททม่ี อี ทิ ธพิ ล มลี กั ษณะทเ่ี ปน ขบวนการแกง อาชญากรรม กลมุ คนรา ย

๑๗๙

กม็ กั จะจัดอยูในประเภท white shirt มีขอบขา ยดําเนนิ งานอยา งกวางขวาง มกี ารวางแผนปฏิบตั ไิ ว
ลว งหนา เปน อยา งดี เพอ่ื หลกี เลยี่ งการสบื สวนตดิ ตามจบั กมุ ของเจา หนา ท่ี ทาํ นองเดยี วกบั การประกอบ
อาชญากรรมขององคก ารอาชญากร (Organized Crime) เปน อาชญากรรมทไี่ มม เี อกชนเปน ผเู สยี หาย
แตเ ปน อาชญากรรมทรี่ ฐั เปน ผเู สยี หาย เปน การรว มกนั ประกอบอาชญากรรมแบบสมรรู ว มคดิ ระหวา ง
ผูผลิต ผูจําหนายและผูเสพ ที่มีแผนดําเนินการอยางรอบคอบ ท้ังยังไดรับความชวยเหลือรวมมือ
จากผูมีอิทธิพลหลายฝายพยายามพัฒนาการดําเนินการใหมีความกาวหนาเหนือความสามารถ
ของเจา หนา ทรี่ ฐั อยตู ลอดเวลาและเมอ่ื เจา หนา ทจ่ี บั บคุ คลดงั กลา วได กไ็ มย อมซดั ทอด หรอื เลา ความจรงิ
ถงึ วธิ ีการลกั ลอบแหลง ผลติ หรอื จําหนายแกเจาหนา ท่ี จงึ จําเปนที่เจา หนาท่จี ะตอ งหม่ันศึกษาวธิ กี าร
ของคนรายอยางตอเน่ืองตลอดเวลา รวมทั้งจะตองมีความสามารถในการรูจักใชเทคนิคสมัยใหมเขามา
ทําการสืบสวนอยางเปนระบบ ทั้งเปนเร่ืองที่ทุกฝายที่เกี่ยวของตองใหความรวมมือกันอยางจริงใจ
เปน เรอื่ งทจี่ ะตอ งสง เสรมิ อบรมเจา หนา ทใ่ี หม คี วามไหวพรบิ ศกึ ษาถงึ วธิ กี าร เลห เ หลยี่ มลกั ลอบจาํ หนา ย
ยาเสพตดิ และสาํ นกึ ในความรบั ผดิ ชอบทจ่ี ะตอ งปอ งกนั ปราบปราม ภยั อนั ตรายชวั่ รา ยของยาเสพตดิ
ทม่ี ตี อ มนษุ ยช าติ รวมทงั้ ใหร างวลั แกส ายสบื และปอ งกนั ความปลอดภยั แกผ ใู หข า วแกเ จา หนา ทท่ี กุ กรณี
การลักลอบจําหนายรายยอยใหแกผูเสพน้ันสวนใหญมักเปนยาเสพติดประเภท ยาบา ยาไอซ ยาอี
และกัญชา และมีขอบขายดําเนินงานในเขตเมืองยานอุตสาหกรรม บริเวณชุมชนแออัด แหลงสลัม
หัวเมอื งชายทะเล และกลมุ บุคคลที่ใชแรงงาน รวมถงึ ผทู ่เี ปนเด็กนักเรยี น และบคุ คลวยั รุน ท่ีมปี ญ หา
ทางครอบครวั หรอื บคุ คลจาํ พวกประสาทออ น งา ยตอ การชกั จงู หรอื ความรไู มถ งึ การณ หรอื อยากลอง
เปนตน

á¹Ç·Ò§¡ÒÃÊº× Êǹ¤´ÂÕ Òàʾμ´Ô ÁÕËÅѡ㹡Òû¯ºÔ ÑμμÔ ÒÁ¢é¹Ñ μ͹´Ñ§μÍ‹ 仹Õé
การเรม่ิ ตน สบื สวนคดยี าเสพตดิ ควรเรม่ิ จากการหาขา วในชมุ ชน คน หาผเู สพ ผจู าํ หนา ย
รายยอย วางแผนเขาตรวจคน จับกุม นําตัวมาสอบสวนขยายผลเครือขายท่ีเก่ียวของ เพราะผูเสพ
มีพยานหลักฐานความผิดอยูในรางกาย งายตอการจับกุมมากที่สุด จากน้ันจึงสืบสวนรวบรวมขอมูล
ไปยงั รายใหญต อไป
๑. จัดทําแฟมการสืบสวนคดีเครือขายการผลิต, การลําเลียง, การจําหนายโดยแยก
แตล ะแฟม
๒. ตรวจสอบทะเบยี นราษฎร, ภาพถายของบคุ คลในเครือขา ย
๓. ตรวจสอบเบอรโทรศัพทบา น มอื ถือของบคุ คลในเครือขา ย
๔. ตรวจสอบการใชโทรศัพทต ามขอ ๓
๕. แผนผังการใชโ ทรศพั ทจากขอ ๔
๖. จดั ทาํ ความถก่ี ารใชโ ทรศพั ทจ ากขอ ๔
๗. ตรวจสอบความเกีย่ วของเก่ยี วพนั ของบคุ คลตามขอ ๖

๑๘๐

๘. ทาํ แผนผงั ความเกย่ี วของเก่ียวพนั ตามขอ ๒
๙. ถา ยรปู สถานที่สําคญั ตามการตรวจสอบขอมลู ตามขอ ๒ และขอ ๗
๑๐. ตรวจสอบภาพถายบุคคลจากทะเบียนราษฎรต ามขอ ๗ ตรวจสอบการใชบ ตั รใน
โครงการสวสั ดิการของรัฐ และตรวจสอบทะเบยี นรถจักรยานยนต, รถยนต, อาวธุ ปน
๑๑. จดั ทําแผนผังเครือขายใหปรากฏรายละเอียดท้งั หมด
๑๒. วิเคราะหวาบุคคลใดมีหนาท่ีความรับผิดชอบใดในองคการตามแผนผังเครือขาย
ของการผลิต, การลําเลียง, การจาํ หนา ย
๑๓. จัดทาํ รายงานการหาขอ มลู ทกุ ครัง้ ที่ปฏบิ ัติงานในคดี
๑๔. ตรวจสอบทรัพยสินของผูเก่ียวของในองคการเครือขายเพื่อใชมาตรการยึดทรัพย
ของ ปปง. และ ป.ป.ส. ตรวจสอบบัญชกี ารเงินขยายเครือขายทีเ่ กยี่ วขอ ง
๑๕. ประสานพนกั งานสอบสวนเพอ่ื ขอออกหมายจบั ในกรณจี บั กมุ บคุ คลใดบคุ คลหนงึ่
ในเครอื ขา ยได โดยการใชวิธีการสะกดรอยติดตามความเคลื่อนไหว
๑๖. เมอ่ื จบั กมุ ผตู อ งหารายใดได ใหเ ขยี นบนั ทกึ คาํ รบั สารภาพดว ยลายมอื ของผตู อ งหาเอง
โดยใหป รากฏถึงหนาที่และประโยชนทไ่ี ดร บั จากการคา ยาเสพติด
๑๗. กาํ หนดหนา ท่บี คุ คลในชดุ จบั กมุ วา ผูใดจะเปน พยานในคดี
๑๘. ซักซอ มความเขาใจรายละเอียดในคดีกอ นการเปน พยาน
๑๙. เม่ือผลการตรวจพสิ ูจนข องกลางออกมา ใหทําเรอ่ื งขอเบกิ เงนิ รางวัลครงึ่ แรก
๒๐. เมอ่ื อัยการสั่งฟอ งผูตอ งหา ใหท าํ เร่ืองขอเบกิ เงินรางวลั ครึ่งหลัง
๒๑. ติดตามจับกุมผูตองหาท่ีเหลือในเครือขายประสานพนักงานสอบสวน
ออกหมายจับ ผทู เี่ กย่ี วของท่เี หลือ
๒๒. สงรายงานบุคคลที่เกี่ยวของ เพ่ือข้ึนบัญชีเปนบุคคลท่ีมีพฤติการณคายาเสพติด
ให ป.ป.ส.ทราบ
๒๓. จดั ทาํ บัญชีผจู าํ หนายยาเสพติดในเขตรบั ผิดชอบ รวมทั้งผูเสพ ผูลําเลยี ง ผผู ลิต
ผูส นบั สนนุ นายทุนหรือผอู ยเู บือ้ งหลัง
๒๔. ดาํ เนนิ การสืบสวนถงึ เครอื ขายของผูจาํ หนา ย ญาตพิ นี่ องและคนใกลชิด
๒๕. ตองหม่ันบันทึกคําใหการของผูถูกจับกุมในคดียาเสพติด ท่ีใหการซัดทอด
ถึงผูจําหนายไวใ นฐานะพยาน เพ่ือเปน พยานหลักฐานในการจับกุมผูจาํ หนายตอไปในอนาคต

๑๘๑

μÇÑ Í‹ҧ¼§Ñ à¤ÃÍ× ¢Ò‹ ¤¹ÃŒÒ¤´ÂÕ Òàʾμ´Ô

ทมี ผูผ ลติ ระดบั แสน
ทมี การลําเลียง ระดับหม่นื
- รบั -สงยา ผูจําหนาย ระดบั พัน
- รับจางเปดบัญชี รายใหญ
- รบั -โอนเงิน

ทีม

ผูจําหนาย ระดบั เมด็ (แถว)
รายยอย ระดับ ๑๐
ระดบั ๑๐๐ (ถุง)

ผูเ สพ ผเู สพ ผเู สพ

๑๘๓

º··Õè ø

ÃÐàºÂÕ º·èÕà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡ºÑ ¡ÒÃÊº× Êǹ

การสืบสวน ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามิไดระบุเขตอํานาจของ
เจาพนักงานในการสืบสวนไวแตอยางใด แตอยางไรก็ดีไดมีคาํ พิพากษาฎีกาท่ี ๑๔๐/๒๔๙๐
วางแนวทางไววาตาํ รวจมีอาํ นาจสืบสวนคดีอาญาไดท่ัวราชอาณาจักร สวนพนักงานฝายปกครอง
มีอาํ นาจสืบสวนจํากดั เฉพาะในเขตที่ตนประจําอยู

การสืบสวนคดีอาญา แมความมุงหมายในการดาํ เนนิ การก็เพ่ือประโยชนข องสว นรวม
ซ่ึงเปนการกระทาํ ของเจาพนักงานฝายปกครองหรือตาํ รวจ อันเปนการรักษาความสงบเรียบรอยของ
สังคมก็ตาม การท่ีประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามิไดกาํ หนดหลักเกณฑวิธีการเกี่ยวกับ
การสืบสวนคดีอาญาเอาไว จึงทาํ ใหบางครั้งการปฏิบัติหนาที่กอนท่ีจะมีการกระทาํ ความผิดเกิดข้ึน
หรือเปนการกระทําภายหลังทเ่ี กิดเหตุ การสบื สวนกเ็ ปนการใชดลุ พินจิ ของเจา พนักงานแตล ะบคุ คลวา
จะใชวิธีการอยางไรเพ่ือใหไดมาซ่ึงพยานหลักฐานตางๆ เพ่ือทราบถึงรายละเอียดของการ
กระทาํ ความผดิ ดงั นน้ั ขอบเขตหรอื เงอื่ นไขของการใชอ าํ นาจของเจา พนกั งานในการสบื สวนคดอี าญานนั้
ควรจะตอ งมคี วามชัดเจนเพ่ือมิใหไ ปกระทบสทิ ธเิ สรีภาพของประชาชนเกนิ สมควร

ดังน้ัน สํานักงานตํารวจแหงชาติจึงไดวางกรอบแนวทางการปฏิบัติในการสืบสวน
คดีอาญาไวเ พ่ือเปน แนวทางในการปฏิบตั ขิ องเจาพนกั งานตาํ รวจ ดงั นี้

ø.ñ ÃÐàºÕºà¡èÂÕ Ç¡Ñº¡ÒÃÊ׺Êǹ

¡ÒÃÊ׺Êǹ (»ÃÐÁÇÅÃÐàºÕº¡ÒÃตาํ ÃǨà¡ÕèÂǡѺ¤´Õ Å¡Ñ É³Ð ò º··Õè ñ)
ขอ ๕ การสบื สวนนน้ั หมายความถงึ การแสวงหาขอ เทจ็ จรงิ และหลกั ฐานซง่ึ พนกั งาน
ฝายปกครองหรือตํารวจไดปฏิบัติไปตามอํานาจหนาท่ี เพื่อรักษาความสงบเรียบรอยของประชาชน
และเพื่อที่จะทราบรายละเอียดแหงความผิดดังท่ีกลาวไวในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
การสบื สวนนจ้ี ะทาํ บนั ทกึ ไวเ ปน การเตอื นความทรงจาํ กไ็ ด หากเปน ประเดน็ สาํ คญั ใหบ นั ทกึ การสบื สวน
ไวเ สมอ
การบันทึกนี้ หมายความเฉพาะ บันทึกฝายเดียวของผูสืบสวน ซ่ึงบางกรณีท่ีเห็นวา
เปนประโยชน ในการประกอบสํานวนการสอบสวนใหติดรวมไวในสํานวนการสอบสวนหรือนําสง
พนกั งานสอบสวน ในกรณที ผ่ี สู อบสวนมไิ ดท าํ หนา ทเ่ี ปน พนกั งานสอบสวนเพอ่ื รวมไวใ นสาํ นวนบนั ทกึ น้ี
ใหร ะบุ สถานท่ี วนั เดอื น ป ทที่ าํ นามและตาํ แหนง ของเจา พนกั งานผทู าํ บนั ทกึ โดยอนโุ ลมเชน เดยี วกบั
การทําบนั ทึกในการสอบสวน แตใ หพ ึงระลกึ วา ผูทาํ บนั ทึกนี้หาจาํ กัดวา ตองเปน ผูมีอาํ นาจสอบสวน
ไมแมจ ะเปน นายสบิ พลตาํ รวจกต็ อ งกระทําเชนเดียวกัน

๑๘๔

ขอ ๖ เมื่อกฎหมายใหอํานาจพนักงานฝายปกครองและตํารวจมีหนาที่รักษา
ความสงบเรยี บรอ ยของประชาชนเชน นี้ ตํารวจจงึ มอี ํานาจและหนา ท่สี ืบสวนคดีอาญา และเหตกุ ารณ
ทง้ั หลายทีเ่ ก่ียวแกความสงบเรียบรอ ยไดท่วั ราชอาณาจกั ร

ขอ ๑๐ ขา ราชการตํารวจซงึ่ ไมใ ชเ จา ของทอ งทท่ี มี่ อี าํ นาจทาํ การสอบสวน หากมคี วาม
ประสงคจะสืบสวนคดีอาญาที่ไดรองทุกขไวตอพนักงานทองท่ีใด ใหเจาหนาท่ีตาํ รวจผูน้ันขอหนังสือ
จากผูบังคับบัญชาต้ังแตหัวหนาสถานท่ี หรือเทียบเทาข้ึนไปเปนหลักฐานถึงเจาของทองที่แหงคดีน้ัน
เพ่ือใหความรูและความสะดวก ซึ่งเจาของทองที่ไดรับหนังสือมอบหมายแนะนาํ เชนวาน้ีก็ใหความ
รวมมือเพ่ือประโยชนเกิดผลแกคดีน้ัน ๆ เวนแตผูดํารงตําแหนงดังกลาวแลว หรือผูรักษาการแทน
ขึ้นไปจะไปติดตอ ดว ยตนเองกไ็ มตอ งใชหนังสือ

ø.ò ÃÐàºÂÕ ºà¡ÂèÕ Ç¡Ñº¡ÒèѺ/¤¹Œ /¤Çº¤ÁØ

¡ÒèѺ¡ØÁ¾ÃÐÀÔ¡ÉØÊÒÁà³Ã (»ÃÐÁÇÅÃÐàºÕº¡ÒÃตําÃǨà¡èÕÂǡѺ¤´Õ ÅѡɳРó
º··èÕ õ)

ขอ ๓๙ ในกรณีที่พระภิกษุสามเณรในพระพุทธศาสนากระทําความผิดอาญาน้ัน
ไมมีกฎหมายในท่ีใดบัญญัติหามมิใหทําการจับกุมแตประการใด เจาพนักงานคงทําการจับกุมได
เชนเดียวกับบุคคลท่ัวไป แตใหพึงระลึกไววาพระภิกษุสามเณรน้ันเปนที่เคารพกราบไหวของ
พุทธศาสนิกชน การกระทําใดๆ ตอพระภิกษุสามเณรนั้นจะตองกระทําดวยความเคารพ สุภาพและ
ออนโยนในทุกกรณี แตถาทําการจับกุมตัวมาไดแลวถาจําเปนจะตองควบคุม ใหปฏิบัติตามระเบียบ
ที่วาดวยการควบคมุ ตอไป

¡ÒèѺ¡ØÁ¢ŒÒÃÒª¡ÒêéѹÊÑÞÞÒºÑμÃáÅЪéѹμÃÕ¢Öé¹ä» (»ÃÐÁÇÅÃÐàºÕº¡ÒÃตําÃǨ
à¡ÂèÕ Ç¡Ñº¤´Õ ÅÑ¡É³Ð ó º··èÕ ö)

ขอ ๔๒ เมอื่ ขา ราชการชน้ั สญั ญาบตั รและชน้ั ตรี หรอื เทยี บเทา ขน้ึ ไป ตอ งหาคดอี าญา
ใหปฏบิ ัตดิ งั น้ี

๑. การจับหรือออกหมายจับขาราชการประจําการต้ังแตชั้นสัญญาบัตรช้ันตรี
หรอื เทยี บเทา ขนึ้ ไป ซง่ึ ตอ งหาวา กระทาํ ผดิ อาญานนั้ กอ นทจี่ ะทาํ การจบั กมุ หรอื ออกหมายจบั ใหข อรบั
ความเหน็ ชอบจากผบู ังคบั บญั ชากอ น คอื

ก. ในกรงุ เทพมหานคร ใหขอรับความเหน็ ชอบจากผูบังคบั การ หรือผูรกั ษาการแทน
ข้ึนไป

ข. ในจังหวัดอื่นนอกจากกรุงเทพมหานคร ใหขอรับความเห็นชอบจากผูวาราชการ
จังหวัด หากผูวาราชการจังหวัดไมเห็นชอบดวยใหรายงานขออนุมัติไปยังผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ
หรอื รองผบู ญั ชาการตาํ รวจแหงชาติ

๑๘๕

ค. การจับกุมขาราชการช้ันพิเศษหรือเทียบเทาขึ้นไป ทั้งในกรุงเทพมหานคร
และในตางจังหวัด ใหขอรับความเห็นชอบจากปลัดกระทรวงมหาดไทยเวนแตเปนกรณีสําคัญ
ซง่ึ ถา ไมท ําการจบั กมุ ทนั ที อาจกอ ใหเ กดิ ความเสยี หายหรอื ผลรา ยอยา งอน่ื ขนึ้ ได เชน กรณที ขี่ า ราชการ
ผนู นั้ กาํ ลงั อาละวาดหรอื จะกอ การรา ย หรอื กาํ ลงั จะหลบหนหี รอื เปน กรณที ผ่ี บู งั คบั บญั ชาของผนู นั้ เอง
ขอใหจ บั หรือกาํ ลังกระทาํ ความผดิ ซ่ึงหนา หรือจับตามหมายศาล เปนตน กใ็ หท ําการจบั กมุ ไดทันที

๒. ถา นายตํารวจช้ันผบู ังคบั การ หรอื ผูรักษาการแทนข้นึ ไปในกรงุ เทพมหานคร หรอื
ผูวาราชการจังหวัด หรือผูรักษาการแทนขึ้นไปในจังหวัดอ่ืนนอกจากกรุงเทพมหานครเปนผูจับเอง
หรือส่ังใหจับไมตองขอรับความเห็นชอบจากผูใด เวนแตกรณีการจับตาม ๑. (ค) เม่ือไดมีการจับกุม
ขา ราชการดงั กลา วนแี้ ลว ในกรงุ เทพมหานคร ใหร ายงานสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตทิ ราบและใหพ นกั งาน
สอบสวนเจาของคดีแจงผูบังคับบัญชาของผูถูกจับไดทราบดวย สวนในจังหวัดอ่ืนใหรายงาน
ผวู า ราชการจงั หวดั หรอื ผรู กั ษาการแทนทราบ แลว ใหเ ปน หนา ทข่ี องผวู า ราชการจงั หวดั หรอื ผรู กั ษาการแทน
ทจี่ ะแจง ผบู งั คบั บญั ชาของผถู กู จบั ทราบดว ย สาํ หรบั กรณกี ารจบั ตามขอ ๑. (ค) นอกจากจะตอ งปฏบิ ตั ิ
การรายงานดังกลาวขางตนแลว ใหรายงานปลัดกระทรวงมหาดไทยทราบ และใหพนักงานสอบสวน
รายงานสํานักงานตาํ รวจแหงชาติทราบ อกี ทางหนง่ึ ดว ย

¡ÒÃᨌ§¢ŒÍ¡Å‹ÒÇËÒ ¡ÒèѺ ¡ÒäØÁ¢Ñ§ ËÃ×Í¡ÒÃÍÍ¡ËÁÒÂàÃÕ¡μÑÇÊÁÒªÔ¡
ÊÀÒ¼áŒÙ ·¹ÃÒÉ®ÃËÃÍ× ÊÁÒª¡Ô Ç²Ø ÊÔ ÀÒ (»ÃÐÁÇÅÃÐàºÂÕ º¡ÒÃตาํ ÃǨà¡ÂÕè Ç¡ºÑ ¤´Õ Å¡Ñ É³Ð ó º··Õè ÷)

ขอ ๔๓ เน่อื งจากรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา ๖ บัญญตั ิ
ใหรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ หรือขอบังคับ
ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ บทบัญญตั ินั้นเปน อนั ใชบังคับมิได และตามมาตรา ๑๓๑ ไดบญั ญัติถงึ ขอ หา ม
และขอพึงปฏิบัติสําหรับตํารวจและพนักงานสอบสวนเก่ียวกับการจับการคุมขังหรือการออกหมายเรียกตัว
สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรหรอื สมาชกิ วฒุ สิ ภาไวห ลายประการอนั เปน การบญั ญตั ถิ งึ การปฏบิ ตั ทิ แ่ี ตกตา ง
ไปจากการปฏบิ ตั ติ อ บคุ คลทวั่ ไปทมี่ ไิ ดเ ปน สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรหรอื สมาชกิ วฒุ สิ ภาซงึ่ สามารถสรปุ
หลกั การปฏิบตั ขิ องตาํ รวจและพนกั งานสอบสวนไดดังนี้

(๑) ในระหวางสมยั ประชุม
๑.๑ ในระหวางสมัยประชุม หามมิใหจับ คุมขัง หรือหมายเรียกตัวสมาชิก

สภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา ไปทําการสอบสวนในฐานะที่สมาชิกผูนั้นเปนผูตองหาในคดีอาญา
เวนแตในกรณีท่ีไดรับอนุญาตจากสภาที่ผูน้ันเปนสมาชิก หรือในกรณีท่ีจับในขณะกระทําความผิด
ขอ หา มดงั กลา วขา งตน ไมใ ชเ อกสทิ ธเิ์ ฉพาะตวั ของผทู เ่ี ปน สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรหรอื สมาชกิ วฒุ สิ ภา
ท่ีจะสละไดดวยตนเอง เพราะเปนขอหามท่ีมีวัตถุประสงคเพื่อประโยชนสวนรวมของประเทศชาติ
การปฏิบัติของตํารวจหรือพนักงานสอบสวนในเรื่องน้ีจะตองพิจารณาโดยละเอียดรอบคอบวามี
หลักฐานการไดรับอนุญาตจากสภาท่ีผูนั้นเปนสมาชิกอยูหรือไม การไดรับอนุญาตจากสภา
หมายความถงึ การไดร บั อนุญาตโดยมตขิ องสภาที่ผูนน้ั เปน สมาชิกเทา น้ัน กาํ หนดใหผดู าํ รงตําแหนง ระดับ

๑๘๖

ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ หรือรองผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ เปนผูพิจารณาลงนามในหนังสือ
ขออนุญาตหมายเรียกตัวสมาชิกสภาผูแทนราษฎรตอประธานสภาผูแทนราษฎร หรือสมาชิกวุฒิสภา
ตอประธานวฒุ สิ ภา

๑.๒ ในระหวา งสมยั ประชมุ เมอ่ื มกี ารจบั ตวั สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรหรอื สมาชกิ
วุฒิสภาในขณะกระทําความผิด ใหหัวหนาหนวยงานช้ันตนของผูที่จับสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือ
สมาชกิ วฒุ สิ ภา รายงานไปยงั ประธานแหง สภาทผี่ นู นั้ เปน สมาชกิ และผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาตทิ ราบ
โดยพลันเมื่อไดรายงานใหประธานสภาที่ผูนั้นเปนสมาชิกทราบดังกลาวแลวและประธานสภาที่ผูน้ัน
เปนสมาชิกสั่งใหปลอยผูถูกจับ ใหจัดการปลอยผูถูกจับไปโดยพลันแลวใหรายงานผูบัญชาการตํารวจ
แหง ชาติทราบ

๑.๓ ในระหวางสมัยประชุมหากสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา
ซง่ึ เปน ผตู อ งหา และสภาทผ่ี นู น้ั เปน สมาชกิ อยไู มอ นญุ าตใหจ บั หรอื หมายเรยี กตวั สมาชกิ ผนู น้ั มาทาํ การ
สอบสวนในฐานะผูตองหาหรือยังอยูในระหวางการพิจารณาของสภาแตสมาชิกผูนั้นเขาหาพนักงาน
สอบสวนเองใหพ นกั งานสอบสวนเพยี งแจง ขอ หากลา วหาใหท ราบ และทาํ การสอบสวนไวเ ปน ผตู อ งหา
แตหามมิใหจับสมาชิกผูน้ัน เม่ือพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบในการสอบสวน เห็นวาการสอบสวน
เสร็จส้ินแลวและเห็นควรส่ังฟองผูตองหา ใหทําความเห็นวาควรส่ังฟองสงไปพรอมกับสํานวนยัง
พนักงานอัยการเชนเดียวกับสํานวนที่รูตัวผูกระทําความผิดแตจับตัวยังไมได โดยไมตองสงสํานวน
พรอ มกบั ผูต องหาไปยังพนักงานอยั การ

(๒) นอกสมัยประชุม
นอกสมัยประชุม การแจงขอกลาวหา การจับ การคุมขัง การปลอยตัวช่ัวคราว
หรอื การออกหมายเรยี กตวั สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรหรอื สมาชกิ วฒุ สิ ภาสามารถดาํ เนนิ การไดต ามปกติ
เชน เดียวกนั กบั บุคคลท่มี ิไดเ ปน สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรหรอื สมาชิกวุฒสิ ภา
ขอ ๔๔ ในกรณีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาถูกควบคุมอยูในระหวาง
สอบสวนกอนสมัยประชุม เมื่อถึงสมัยประชุม พนักงานสอบสวนสามารถควบคุมผูถูกจับตอไปได
แตตองปลอยตัวไปทันทีเม่ือประธานแหงสภาที่ผูนั้นเปนสมาชิกรองขอการปลอยตัวดังกลาว
ใหม ผี ลบงั คบั ตง้ั แตว นั สงั่ ปลอ ยถงึ วนั สดุ ทา ยแหง สมยั ประชมุ ดงั นนั้ เมอ่ื สน้ิ สดุ วนั สดุ ทา ยแหง สมยั ประชมุ
พนกั งานสอบสวนตอ งจดั การนําตวั ผูถูกปลอ ยมาควบคมุ ตวั ไวต ามกฎหมายตอ ไป
¡ÒèѺ¡ØÁ·ÙμҹطÙμáÅС§ÊØÅμ‹Ò§»ÃÐà·È (»ÃÐÁÇÅÃÐàºÕº¡ÒÃตําÃǨà¡ÕèÂǡѺ¤´Õ
Å¡Ñ É³Ð ó º··èÕ ø)
ขอ ๔๕ บรรดาบุคคลซ่ึงมีตําแหนงในทางทูตานุทูตน้ัน อยูในความคุมกันเด็ดขาด
จากการจบั กมุ หรอื การพจิ ารณาทกุ อยา ง บคุ คลเชน วา นคี้ อื อคั รราชทตู อปุ ทตู และเลขานกุ ารกบั ผชู ว ย
ประจําสถานทูตตามลักษณะของเอกสิทธ์ิอันนี้ถึงแมวาบุคคลซึ่งมีตําแหนงในทางทูตานุทูตดังกลาวแลวน้ัน
จะยอมตนเปนจําเลยใหพิจารณาก็พิจารณาไมได ขอความดังกลาวแลวในขอนี้ตํารวจตองใชความ

๑๘๗

ระมัดระวังอยางเปนนิตย เพราะวาการจับกุมบุคคลในตําแหนงทูตานุทูตยอมถือกันวา เปนการดูถูก
ดูหม่ินตอประเทศซึ่งเปนตําแหนงทูตานุทูตของบุคคลเหลานั้น ถาหากวาบังเอิญมีบุคคลเชนน้ีคนใด
ถกู จับกมุ ตาํ รวจตอ งปลอ ยตัวโดยพลนั

ขอ ๔๖ ความคุมกัน อยางเดียวกับที่กลาวมาน้ี พึงไดแก ภริยาและบุตรของบุคคล
ในตําแหนงทูตานุทูต และคําวาบุคคลในตําแหนงทูตานุทูตนั้น ไมหมายความเฉพาะแตอัครราชทูต
หรืออปุ ทตู หมายความตลอดถงึ เลขานกุ ารและผูช วยประจาํ สถานทูตดว ย

ขอ ๔๗ ตามประเพณรี ะหวางประเทศทใ่ี ชก นั อยทู ัว่ ไป ความคุมกันจากอาํ นาจตํารวจ
ซ่ึงเปนสิทธิแกอัครราชทูตหรืออุปทูตน้ัน ยอมแผไปถึงลูกจางทุกช้ันของเขาดวยจะเปนเสมียน
หรือนักการ หรือคนเฝา หรือคนใชก็ตาม สิทธิอันนี้ไดใหแกอัครราชทูตและอุปทูต โดยความที่เห็น
แกท างอธั ยาศยั ไมตรแี ละเขาจะยอมสละสทิ ธนิ นั้ เสยี หรอื ไมต ามแตเ ขาจะเหน็ สมควรกไ็ ด เพราะฉะนนั้
ลูกจา งเชน วาน้เี ปนอนั ที่จะถูกจับกุม หรือเอาตัวไปชําระไมได นอกจากอคั รราชทตู หรืออุปทตู ซึ่งเปน
นายจางยินยอมใหทําได ดังน้ันกอนความยินยอมนี้จะใหโดยนายจางสงตัวลูกจางใหแกตํารวจ
หรอื ศาลหรอื โดยไลล กู จา งนน้ั ออกจากงานของตนกไ็ ด ลกู จา งคนใดซง่ึ ไดถ กู ไลอ อกจากการเปน ลกู จา ง
เชนนี้ พึงถูกจับกุมและชําระสําหรับความผิดใดๆ ที่ไดกระทําในเวลาที่ตนเปนลูกจางของอัครราชทูต
หรอื อปุ ทตู นนั้ ได ถา ผใู ดทต่ี าํ รวจจบั กมุ อา งตนวา เปน ลกู จา งของสถานทตู หรอื อคั รราชทตู หรอื อปุ ทตู
ใดๆ ใหต ํารวจปลอ ยตวั ทันที หรอื ตํารวจสงสยั วาความท่ีอางน้ันไมจริง ก็ใหทาํ การสอบถามสถานทตู
ทีเ่ กย่ี วของโดยพลัน

ขอ ๔๘ บรรดาสถานที่และบริเวณ ซงึ่ เปน สาํ นักของทูต หรอื สถานทูตใดๆ นั้น อยใู น
ความคุมกันจากอํานาจตํารวจแหงทองถ่ินท้ังส้ิน ตํารวจจะเขาไปในสถานท่ีหรือบริเวณเหลาน้ัน
เพ่ือกระทําการจับกุมหรือทอดบัตรหมายหรือกระทําการตรวจคนหรือการยึดอยางใดๆ ไมไดเปนอันขาด
นอกจากย่ืนคําขอรองตอบุคคลในตําแหนงทูตานุทูต และไดรับความยินยอมของผูนั้นเสียกอนแลว
จึงจะเขา ไปกระทาํ การดังกลา วแลวนนั้ ได

ขอ ๔๙ กงสุล รองกงสุล และผูรับมอบหมายในกิจการกงสุลน้ันไมมีสิทธิที่จะไดรับ
ความคุมกันจากอํานาจตํารวจ เวนไวแกบุคคลน้ันๆ มีตําแหนงในทางทูตเพิ่มอยูดวย เฉพาะใน
ประเทศไทย เจาพนกั งานฝา ยการกงสลุ นี้มีตําแหนงทูตานุทูตเพิ่มอยดู ว ยโดยมาก ดวยเหตุนใ้ี นข้นั ตน
ตํารวจพึงสันนิษฐานไวกอนในทุกกรณีวา บุคคลเหลานั้นมีฐานะในทางทูตานุทูตอยูดวยและใหปฏิบัติการ
แกเขาตามสมควรแกฐานะนั้น ถาและปรากฏข้ึนภายหลังวาผูใดไมไดมีตําแหนงในทางทูตานุทูต
จะฟองรองผูนั้นก็ไมยาก บรรดาหนังสือราชการหรือที่เก็บหนังสือราชการของตําแหนงกงสุลอยูใน
ความคมุ กนั จากการตรวจคน และยึดทง้ั สิ้น

ขอ ๕๐ ปญหาท้ังปวงในเร่ืองความคุมกันของบุคคลในตําแหนงทูตานุทูตหรือ
ในเร่อื งยอมสละสิทธิ์แหงความคมุ กันนัน้ ถามีข้นึ บอกมาโดยทางราชการตา งประเทศ ก็คงจะระงบั ได
โดยไมล าํ บาก เพราะฉะนนั้ ตาํ รวจจงึ พงึ หลกี เลย่ี งการทจี่ ะยกปญ หาเชน นนั้ ขน้ึ วา กลา วโดยตรงกบั บคุ คล

๑๘๘

ในตาํ แหนงทูตานุทูตหรือสถานทูตและใหนาํ เร่ืองซ่ึงอยูในประเภทเชนนี้ทุกๆ เร่ืองใหกระทรวง
การตางประเทศทราบโดยพลัน ในการที่จะตองเจรจากับสถานทูตหรือบุคคลในตําแหนงทูตานุทูต
ยอ มเปน ธรุ ะของกระทรวงการตา งประเทศทงั้ สน้ิ วธิ ดี าํ เนนิ การดงั กลา วขา งตน นี้ มขี อ ยกเวน อยขู อ เดยี ว
คือ ถาตํารวจไดพบเห็นบุคคลผูใดซึ่งรับความคุมกันจากอํานาจตํารวจโดยอัธยาศัยไมตรีทางทูต
เชนกลาวมาน้ัน ในขณะท่ีกระทําความผิดทางอาญาอยางรายแรงอันอาจเปนเหตุใหเกิดอันตราย
แกชีวิต หรือทรัพยภายนอกบริเวณของสถานทูตแลว ใหตํารวจจับกุมและกักตัวบุคคลผูน้ันได แตใน
กรณเี ชน นตี้ าํ รวจตอ งรบี บอกกลา วใหส ถานทตู ทเี่ กยี่ วขอ งและกระทรวงการตา งประเทศทราบเหตทุ นั ที
และถา ทตู หรอื สถานทตู ทเ่ี กย่ี วขอ งขอใหส ง ตวั บคุ คลผนู นั้ ตาํ รวจกต็ อ งปฏบิ ตั ติ ามคาํ ขอนด้ี ว ยนอกจาก
ขอยกเวนท่ีวาน้ีแลว การท้ังปวงท่ีเกี่ยวกับการจับกุมหรือการพิจารณาบุคคลผูมีสิทธิรับความคุมกัน
ทางทตู นน้ั ตอ งจดั การกับทางกระทรวงการตางประเทศทงั้ สน้ิ

ขอ ๕๑ กระทรวงมหาดไทยกับกระทรวงการตางประเทศไดทําความตกลงกัน
ใหสํานักงานตํารวจแหงชาติออกบัตรประจําตัวใหแกบุคคลในคณะทูตซ่ึงประจําอยูในราชอาณาจักรไทย
คนละ ๑ ฉบับ เพื่อแสดงแกเจาพนักงานในขณะมีกรณีเกี่ยวของเกิดข้ึน จักไดปฏิบัติการใหเปนไป
โดยสมควรแกอัธยาศัยไมตรี บัตรน้ีมีลักษณะเปนเลมสมุดปกแข็งพับสองมีตราครุฑและอักษรไทย
ท่ีหนา ปกวา บตั รประจาํ ตวั บุคคลในคณะทตู ฯลฯ กระทรวงมหาดไทย ภายในเลมดา นในของหนา ปก
มีที่ปดรูปของผูถือบัตร คือ ผูถือบัตรจะตองปดรูปถายและลงลายมือช่ือของตนกํากับไวดวย
และมกี ระดาษเปน แบบพมิ พ ๑ แผน บอกนามและตาํ แหนง แหง ทอี่ ยขู องผถู อื บตั รกบั แจง วธิ ปี ฏบิ ตั ขิ อง
เจาหนาท่ีปรากฏอยูดานหน่ึงเปนภาษาไทย อีกดานหน่ึงเปนภาษาอังกฤษและมีลายมือชื่อของ
ผูบัญชาการตาํ รวจแหง ชาตลิ งนามกาํ กบั บัตรนม้ี ีขนาดกวาง ๘.๕ เซนตเิ มตร ยาว ๑๑.๘ เซนตเิ มตร
เม่ือเจาพนักงานตํารวจและอําเภอท่ีเก่ียวของไดพบเห็นบุคคลท่ีมีบัตรประจําตัวแสดงวาเปนบุคคลใน
คณะทูตน้ีแลวใหใชมรรยาทอันสุภาพและผอนผันหรือยกเวนใชอํานาจซ่ึงจะตองกระทําอันเกี่ยวดวย
เอกสิทธ์ิ และความคุมครองของคณะทูตใหการเปนไปในทางสมควรแกอัธยาศัยไมตรีและกฎหมาย
ระหวางประเทศทุกประการ

¡ÒèѺ¡ØÁºØ¤¤Åã¹Í§¤¡ÒÃÊË»ÃЪҪÒμÔ (»ÃÐÁÇÅÃÐàºÕº¡ÒÃตําÃǨà¡ÕèÂǡѺ¤´Õ
ÅÑ¡É³Ð ó º··èÕ ù)

ขอ ๕๒ กระทรวงการตา งประเทศแจง วา สมชั ชาใหญแ หง สหประชาชาตไิ ดม มี ตริ บั รอง
อนุสัญญาทั่วไปวาดวยเอกสิทธิ์และความคุมกันแหงสหประชาชาติ และใหเชิญประเทศสมาชิกแหง
องคการสหประชาชาติเขาเปนภาคี อนุสัญญาน้ีเปนผลสืบเน่ืองมาจากความจําเปนท่ีจะใหงานของ
องคก ารสหประชาชาตบิ รรลผุ ลสาํ เรจ็ สมความมงุ หมายเปน การสมควรทอ่ี งคก ารสหประชาชาตติ ลอดจน
บรรดาพนักงานเจาหนาที่ขององคการจะไดรับฐานะและผลปฏิบัติเปนพิเศษบางประการจากประเทศ
ที่เปน สมาชิก ซ่งึ ในสาระสาํ คัญ ไดแ ก

๑๘๙

(๑) การกําหนดใหสหประชาชาตมิ สี ภาพเปนนิตบิ คุ คล
(๒) การละเมดิ มไิ ดแ หง สหประชาชาติ
(๓) สิทธิในการใชรหสั ทําการสือ่ ขาวสารโดยผสู อ่ื สารเฉพาะ
(๔) การใชหนังสือเดินทางของสหประชาชาติซึ่งยังผลใหผูถือไดรับความสะดวกในการ
เดินทางเปนพเิ ศษ
(๕) ความคุมกนั จากการดําเนนิ ตามกระบวนกฎหมายตอ การกระทาํ ใด ๆ ในหนา ที่
(๖) ความยกเวน จากกฎหมายทีเ่ กยี่ วดวยการเงนิ การภาษี การเขาเมือง การทะเบยี น
คนตางดา ว และการรบั ใชช าติ
(๗) ความสะดวกอนื่ ๆ บรรดาทอ่ี าํ นวยแกบ คุ คลในคณะทตู เทยี บตามตาํ แหนง กระทรวง
การตางประเทศไดแจงดวยวาประเทศไทยในฐานะท่ีเปนสมาชิกแหงองคการสหประชาชาติมีความ
ผูกพันตามกฎบัตรสหประชาชาติในอันที่จะตองใหเอกสิทธ์ิและความคุมกันแกสหประชาชาติ ผูแทน
ประเทศสมาชิก ตลอดจนพนักงานเจาหนาที่ขององคการดวย จึงไดเสนอใหคณะรัฐมนตรีพิจารณา
ซ่ึงคณะรัฐมนตรีเห็นชอบและใหดําเนินการตามขอเสนอของกระทรวงการตางประเทศไดแลว ฉะน้ัน
ระหวางเวลาท่ีองคการตาง ๆ ของสหประชาชาติ หรือสาขาขององคการเหลานี้มาต้ังทําการอยูใน
ประเทศไทย บรรดาสถานท่ีและบริเวณซึ่งเปนสํานักงานหรือสํานักสาขาขององคการสหประชาชาติ
จงึ ถอื เสมอื นเปน สถานทตู และคณะเจา หนา ทท่ี เี่ กยี่ วขอ งกบั องคก ารสหประชาชาตทิ กุ คนมฐี านะเสมอื น
เปนคณะทูตานุทูต ตํารวจจึงตองปฏิบัติการอยางเดียวกับสถานทูตและคณะทูตานุทูตดังกลาวแลว
ในบทกอ น แตเ อกสิทธิ์ทีใ่ หแ กบคุ คลในองคก ารสหประชาชาติน้ี ใหเ ฉพาะในเวลาปฏิบัติหนา ท่เี ทานนั้
เม่ือผูน้ันพนจากหนาท่ีที่เก่ียวกับองคการสหประชาชาติแลว ก็ยอมทําการจับกุมและตรวจคน
ไดอ ยา งเดยี วกับบคุ คลสามญั อนื่ ๆ
¡ÒèѺ¡ØÁ¼ÙŒ¡ÃÐทํา¼Ô´ã¹àÃ×Íμ‹Ò§»ÃÐà·È (»ÃÐÁÇÅÃÐàºÕº¡ÒÃตําÃǨà¡ÕèÂǡѺ¤´Õ
ÅÑ¡É³Ð ó º··Õè ñð)
ขอ ๕๓ การจบั กมุ ผกู ระทาํ ความผดิ ในเรอื คา ขายตา งประเทศ ทมี่ สี นธสิ ญั ญาทางไมตรี
กับประเทศไทยและเขามาในนานน้าํ ไทย ใหป ฏบิ ัตดิ ังตอไปนี้
(๑) ถา เกดิ การกระทาํ ผดิ ขน้ึ ในเรอื คา ขายตา งประเทศทม่ี สี ญั ญาทางพระราชไมตรี และ
เปนความผิดเล็กนอยผูกระทําผิดเปนเจาพนักงานเรือลําน้ันเองหรือมิใชก็ตาม ควรจะหามปราม
ใหงดเวนการกระทําหรือวากลาวระงับเสีย ถายังขัดขืนจงทําการจับกุม แตกอนจะจับกุมควรแจงให
นายเรือทราบกอน เวนแตกรณีที่ไมอาจแจงกอนได แตในกรณีท่ีนายเรือขอรองใหจับก็ใหจับไดทันที
โดยไมตองวากลาวหา มปรามการทจี่ ะถือวา อยางไรเปนเร่ืองเล็กนอย ใหพ งึ ถอื ปฏบิ ัติเปนคตนิ ยิ มของ
ประเทศของเจาของทาตางๆ เชน เร่ืองลักเลนการพนันที่ไมสําคัญ หรือพนักงานเรือดวยกันกอการวิวาท
ทํารายกันเองบาดเจ็บเล็กนอย หรือทําผิดตอกันเองเปนเรื่องเล็กนอยภายในวงการบังคับบัญชาของ
นายเรอื ทจ่ี ะวา กลา วกนั ได หรอื ความผดิ เลก็ นอ ยอนื่ ใดอนั บคุ คลภายนอกมไิ ดเ กย่ี วขอ งดว ย หรอื บคุ คล
ภายนอกเกี่ยวของแตมิไดขอใหดําเนินการฟองรองจะไกลเกลี่ยใหระงับกันเสียไดโดยอาศัยคตินิยม
ระหวางประเทศ

๑๙๐

(๒) ถาความผิดท่ีเกิดข้ึนเปนเรื่องสําคัญจะเปนความผิดที่เกิดขึ้นระหวางคนเรือกับคน
ภายนอกหรือไมก็ตาม ใหจบั กุมไดตามระเบียบ

(๓) ถาจะตองจับกุมในความผิดเล็กนอย ใหเจาพนักงานตํารวจชั้นสัญญาบัตรหรือ
เทยี บเทา ชน้ั สญั ญาบตั รเปน ผจู บั กมุ ถา เปน คดสี าํ คญั หรอื รา ยแรงและจะตอ งทาํ การจบั กมุ โดยรบี ดว น
หรอื เปน กรณที ี่นายเรือขอรอ งใหจ ับจึงใหต ํารวจทัว่ ไปทําการจบั กมุ ได

(๔) การจับกุมพยายามอยาใหเปนไปในทางท่ีจะนํามาซึ่งความเสื่อมเสียตออัธยาศัย
ไมตรอี นั ดตี อประเทศเจาของเรือ ใหก ระทาํ โดยสุภาพ เมือ่ จับกมุ แลวก็ใหแจงใหนายเรือทราบและรีบ
แจง ใหกงสลุ ของประเทศเจา ของเรือทราบโดยเร็วทีส่ ดุ ทจี่ ะทําได

(๕) การแจงตอ นายเรอื ใหต าํ รวจผจู บั เปนผแู จง สวนการแจง ตอกงสลุ ใหส ารวัตรหรือ
ผูแทนของสถานีตํารวจทเ่ี ปนเจาของทองถน่ิ แจงและใหรบี รายงานตามลําดบั จนถึงผบู ัญชาการตํารวจ
แหง ชาติทราบโดยเรว็ ดว ย

ขอ ๔๕ เมอ่ื มพี นกั งานเรอื หรอื ลกู เรอื หรอื บคุ คลใดๆ อนั อยใู นฐานะเปน คนประจาํ เรอื
ตา งประเทศท่ีมสี ัญญาทางไมตรกี บั ประเทศไทย หลบหนีไปจากเรือ ณ เมืองทาใดๆ ของประเทศไทย
หากเจา พนกั งานกงสลุ แหง รฐั เจา ของเรอื นน้ั ไดท าํ คาํ ขอรอ งเปน ลายลกั ษณอ กั ษร แสดงหลกั ฐานขอให
ชว ยเหลอื จบั กมุ คนประจาํ เรอื ทห่ี ลบหนี หรอื ขอใหค วบคมุ ตวั ไวเ มอ่ื จบั ไดแ ลว โดยออกเงนิ คา ใชจ า ยให
จนกวาเจาหนาที่กงสุลจะไดมีโอกาสสงตัวคนที่หลบหนีกลับไปยังบานเมืองของเขาก็ดี ใหเจาหนาที่
ตาํ รวจจับกมุ สงใหและปฏิบัติตามคําขอรอ งของเจาพนกั งานกงสลุ แตถ า ผทู ่หี ลบหนีนน้ั ไดกระทําความผิด
อาญาอยางใดในประเทศไทยดวย ใหจับกุมตัวมาดําเนินคดีและปฏิบัติตามคําพิพากษาจนเสร็จส้ิน
คดเี สียกอ นแลว จึงสงตวั ผูน ั้นใหก งสลุ จัดการตอไป

¡ÒèѺ¡ØÁ¾¹Ñ¡§Ò¹Ã¶ä¿ (»ÃÐÁÇÅÃÐàºÕº¡ÒÃตําÃǨà¡ÕèÂǡѺ¤´Õ ÅѡɳРó
º··èÕ ññ)

ขอ ๕๕ พนักงานรถไฟนั้น บางจําพวกมีหนาที่ตองปฏิบัติเก่ียวกับการเดินรถโดยตรง
บางจําพวกมีหนาที่ปองกันภยันตรายในเวลาที่รถไฟแลนผานซ่ึงตองประจําทําหนาที่ตลอดเวลา
ถา ตาํ รวจทาํ การจบั กมุ และควบคมุ ตวั พนกั งานรถไฟทตี่ อ งหาคดอี าญา โดยยงั มทิ นั ไดจ ดั ใหผ ใู ดปฏบิ ตั ิ
หนาที่แทนผูที่ถูกจับกุมแลว อาจเกิดภยันตรายแกประชาชนหรือเกิดอุบัติเหตุขบวนรถไฟชนบุคคล
หรือยานพาหนะไดจึงวางระเบียบเกี่ยวกับการจับและกักตัวพนักงานรถไฟผูตองหาวากระทําความผิด
ในคดีอาญาไววา การจับและการกักตัวพนักงานรถไฟน้ันตํารวจผูจับจะตองแจงแกผูบังคับบัญชาของ
ผูตองหาทราบเพื่อจัดคนอ่ืนทําหนาที่แทนตามเง่ือนไขในหัวขอสําคัญดังตอไปน้ี พนักงานรถไฟ
ซ่ึงตองหาวากระทําความผิดอาญา ซ่ึงจะถูกจับและจะตองแจงแกผูบังคับบัญชาเพื่อใหจัดหาผูอ่ืน
ทําหนา ทแ่ี ทนนนั้ แบงออกเปน ๒ ประเภท คอื

(๑) ประเภทอยกู บั ท่ี ไดแ ก พนกั งานผมู หี นา ทป่ี ระจาํ การอยตู ามสถานรี ถไฟ คอื สารวตั ร
เดนิ รถ สารวตั รรถจกั ร นายสถานี พนกั งานโทรเลข พนกั งานหอกญุ แจ พนกั งานกลบั กญุ แจ (พนกั งาน
หอกญุ แจ กบั พนกั งานกลับกุญแจ ๒ ตําแหนง นี้ ไมห มายความถึงคนกลบั กญุ แจตามสถานีรถไฟยอยๆ)
พนักงานตรวจรถ พนักงานสูบนา้ํ นายตรวจเอก นายตรวจทาง พนักงานเปดปดประตูกั้นถนนผาน
ทางรถไฟ ท้งั ชนิดทีใ่ ชเ ครอ่ื งกลไกและชนดิ ทีเ่ ปนแผงไสเลอ่ื น

๑๙๑

(๒) ประเภทประจาํ รถ ไดแ ก พนกั งานผมู หี นา ทป่ี ระจาํ อยบู นขบวนรถไฟ คอื พนกั งาน
ขบั รถ ชางเครือ่ ง ชางไฟ พนกั งานรักษารถ พนักงานหา มลอ เม่อื พนกั งานรถไฟ ๒ ประเภทดงั กลาว
ขา งตนตอ งหาคดีอาญา ในการจบั กุมใหเ จาหนา ท่ีปฏิบตั ิดงั นี้

(ก) ใหแจงแกผูบังคับบัญชาของผูตองหาทราบวา ผูตองหาน้ันถูกจับในคดีเร่ืองอะไร
จะขอรบั ตัวไปจดั การเม่ือใด เพ่อื เขาจะไดจดั หาคนแทนกนั เมอ่ื ไดร บั อนุญาตแลว จงึ นาํ ตัวผูตอ งหาไป
จัดการตามหนาท่ี การขออนุญาตในขอนี้ การรถไฟแหงประเทศไทยรับรองจะจัดการใหโดยเร็วท่ีสุด
เทา ทีจ่ ะกระทําได

(ข) เมื่อสอบสวนแลวถามีความจําเปนจะตองกกั ตัวผูตองหาไวตอไปดวยความจําเปน
ประการใดใหแ จง แกผ ูบังคบั บญั ชาของผูตอ งหานั้นใหทราบอกี คร้ังหนง่ึ

(ค) การแจง ตาม (ก) และ (ข) แกผ บู งั คบั บญั ชาของพนกั งานของทงั้ ๒ ประเภท ดงั กลา ว
มาแลวน้นั ใหแจง ตามตําแหนงท่ีระบุไวในบัญชซี ง่ึ แนบอยทู ายขอความในบทน้ี

(ฆ) หนาที่การแจง ถาแจงในขณะจับกุมตาม (ก) เม่ือผูบังคับบัญชาของผูตองหานั้น
อยใู กล เชน พนกั งานโทรเลขทอ่ี ยรู ว มกบั นายสถานใี หผ จู บั เปน ผแู จง และแจง ดว ยวาจา ถา ผบู งั คบั บญั ชา
อยูหางไกลใหแจงทางโทรเลขโดยใหผูถูกจับนั้นเองติดตอกับนายสถานีรถไฟใชโทรเลขของการรถไฟแจงไป
แตถานายสถานีถูกจับเอง ผูชวยนายสถานีอยูก็ใหผูชวยนายสถานีเปนผูโทรเลข ถาไมมีผูชวย
นายสถานีก็ใหนายสถานีผูที่จะตองถูกจับเปนผูโทรเลขเอง และใหถือเอาโทรเลขท่ีผูบังคับบัญชาของ
ผูตองหาตอบมาน้ันเปนหลักฐาน สวนการแจงตาม (ข) เม่ือสอบแลวใหผูสอบสวนเปนผูแจง
และแจง ทางหนงั สอื

(ง) ถาพนักงานทําการตามหนาที่บนขบวนรถตําแหนงใด ตามท่ีระบุไวในประเภท ๑
ซงึ่ ไปกบั ขบวนรถจะตอ งถกู จบั กมุ ในระหวา งทางทไ่ี ปถงึ ยงั ไมถ งึ สถานที พี่ กั หากไมม เี จา หนา ทอี่ น่ื ทาํ การ
แทนได ก็ใหคุมตัวผูกระทําผิดนั้นไวใหทําการตามหนาท่ีตลอดไปจนถึงสถานีรถไฟแหงใดแหงหนึ่ง
ซ่ึงมีผูจะทําการแทนไดเสียกอนจึงคอยนําตัวผูตองหาไปแจงขอรับตัวจากผูบังคับบัญชาของผูตองหา
เม่ือไดรับอนุญาตแลว จึงใหนําตัวไปจัดการ เวนแตพนักงานรถไฟน้ันไดแสดงใหเห็นเดนชัดวาจะหลบหนี
และไดละทง้ิ หนาทท่ี ่ตี นประจาํ แลวจงึ ใหจ ับกมุ ไดโดยไมตอ งรอใหถ งึ สถานีหรอื มีคนแทน

(จ) เมอื่ มกี ารจบั กมุ พนกั งานรถไฟดงั กลา วแลว ขา งตน ใหแ จง เหตผุ ลตลอดจนการทไ่ี ด
จบั ไปแลว ใหกระทรวงมหาดไทยไดทราบดวย

ขอ ๕๖ การจบั กมุ พนกั งานรถไฟดงั กลา วแลว ถา เปน คดไี มส าํ คญั รา ยแรงหากเจา หนา ท่ี
ผูทําการจับกุมหรือผูอํานวยคดีเห็นวาไมจําเปนตองทําการจับกุมในทันทีจะแจงใหผูบังคับบัญชาของ
ผูตองหาทราบเสียกอน แลวจึงทําการจับกุม หรือนําตัวมาจัดการสอบสวนในภายหลังก็ทําได
ใหพ จิ ารณาตามเหตกุ ารณเ ปน เรอื่ ง ๆ ไป และใหพ งึ เขา ใจวา การจบั กมุ พนกั งานรถไฟทตี่ อ งปฏบิ ตั ติ าม
ระเบียบดังกลาวแลวน้ี หมายความเฉพาะพนักงานเหลาน้ันท่ีจะตองถูกจับในขณะกําลังกระทําการ
ตามหนาท่ีอันเกี่ยวกับการเดินรถไฟโดยตรงซ่ึงถาจับไปไมมีผูทําการแทนจะเปนเหตุใหเกิดภยันตราย

๑๙๒

แกป ระชาชนน้นั และมไิ ดหมายความถงึ พนักงานท่มี ไี วส ํารอง หรอื ท่ีประจําตามโรงงานของการรถไฟ
ทวั่ ไป ซง่ึ ในขณะนน้ั มิไดท าํ การแทนในตาํ แหนง อันเก่ยี วดว ยการเดนิ รถโดยตรง โดยพนักงานเหลา นนั้
เม่ือถกู จบั ไปแมไ มม คี นแทน กไ็ มทําใหเกดิ ภยนั ตรายแกประชาชนอยา งใด

¡ÒèѺ¡ØÁä»ÃɳՏºØÃØÉáÅФ¹¢ÑºÃ¶ºÒ§»ÃÐàÀ· (»ÃÐÁÇÅÃÐàºÕº¡ÒÃตําÃǨ
à¡ÂèÕ Ç¡Ñº¤´Õ Å¡Ñ É³Ð ó º··Õè ñò)

ขอ ๕๗ ไปรษณียบุรุษ คนขับรถรับสงไปรษณียภัณฑ คนขับรถราง คนขับรถของ
การไฟฟากรุงเทพฯ และคนขับรถของกองไฟฟานครหลวงสามเสนมีความจําเปนท่ีจะตองปฏิบัติงาน
ในหนาทเ่ี พอ่ื รบั ใชประชาชนโดยรบี ดว นอยูเ สมอ หากบุคคลเหลา นี้ถกู จบั กุมตวั ไปดําเนนิ คดโี ดยทันที
ในเหตุเล็กนอยในขณะปฏิบัติหนาท่ีแลว อาจเกิดความเสียหายแกหนาท่ีการงานท่ีผูนั้นปฏิบัติอยูได
จงึ ใหการปฏิบัติในการจบั กมุ บุคคลดังกลาวไวแลวเปนพิเศษ ดังตอไปนี้

(๑) ถาเปนคดีลหุโทษหรือเทียบเทาลหุโทษ เชน ผิดพระราชบัญญัติจราจรทางบก
เปน ตน ใหจ ดชอื่ นามสกลุ และภมู ลิ าํ เนาทอี่ ยอู าศยั หรอื สถานทที่ าํ การงานของผนู นั้ ไว เพอ่ื ใหส ามารถ
ตามตัวไดสะดวกเม่ือตองการตัว แลวใหผอนผันปลอยตัวผูตองหาน้ันไป เพื่อใหปฏิบัติหนาท่ี
ใหเสร็จสิน้ กอน แลว จึงใหมาแกคดี

(๒) ถาเปน คดีนอกจากที่กลาวมาแลว ใน (๑) และพนักงานสอบสวนมคี วามจาํ เปนท่จี ะ
ตอ งกกั ตวั ผตู อ งหาไว เพอื่ ดําเนนิ คดตี อ ไป ใหพ นกั งานสอบสวนรบี แจง ไปยงั ผบู งั คบั บญั ชาทผ่ี ตู อ งหานนั้
อยใู นสงั กัดทราบโดยเรว็ ที่สุด เพ่ือใหจัดคนอืน่ ทําหนาทีแ่ ทนผูทถ่ี กู จับ

(๓) ขอ ผอ นผนั ดงั กลา วมาแลว ใหใ ชเ ฉพาะแกผ ตู อ งหาซงึ่ กระทําความผดิ อาญาในขณะ
ปฏิบตั ิหนาท่เี ทา นน้ั อนึ่ง คนขับรถนาํ ผบู าดเจ็บหรือปว ยเจบ็ สงสถานพยาบาลโดยรีบดว นก็ใหอนุโลม
ผอนผันการจับกุมตามความในขอ น้ดี ว ย

¡ÒèºÑ ¡ÁØ ¤¹¢Í·Ò¹ ¤¹à»¹š âäàÃÍé× ¹áÅФ¹·¾Ø ¾ÅÀÒ¾ (»ÃÐÁÇÅÃÐàºÂÕ º¡ÒÃตาํ ÃǨ
à¡ÕÂè ǡѺ¤´Õ ÅÑ¡É³Ð ó º··èÕ ñó)

ขอ ๕๘ เน่ืองจากทางราชการตองการควบคุมคนขอทาน และคนเปนโรคเร้ือน มิให
เทย่ี วเรร อ น และทาํ การขอทานอนั เปน การกอ ความเดอื ดรอ นและเปน ทนี่ า รงั เกยี จแกส าธารณชน จงึ ได
ประกาศใชพ ระราชบญั ญตั คิ วบคมุ การขอทาน พ.ศ.๒๔๘๔ และพระราชบญั ญตั โิ รคตดิ ตอ พ.ศ.๒๕๒๓
ทง้ั กระทรวงมหาดไทย กไ็ ดก าํ หนดใหม สี ถานสงเคราะหเ พอ่ื ทาํ หนา ทสี่ งเคราะหค นขอทานและคนเปน
โรคเรอ้ื นขึน้ ไวด วยคือ

(๑) ใหก รมประชาสงเคราะหม หี นา ทคี่ วบคมุ ดาํ เนนิ การปฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั สถานสงเคราะห
สาํ หรับคนชราภาพ

(๒) ใหก ระทรวงสาธารณสขุ มหี นา ทค่ี วบคมุ ดําเนนิ การปฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั สถานสงเคราะห
สําหรบั คนวิกลจริต คนพิการ และคนมีโรค

(๓) ใหสถานอาชีพสงเคราะห อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ในความควบคุมของ
กรมประชาสงเคราะหเ ปน สถานสงเคราะหสําหรับคนชราภาพ

๑๙๓

(๔) ใหบรรดาโรงพยาบาลโรคจิตในความควบคุมของกระทรวงสาธารณสุขเปนสถาน
สงเคราะหส าํ หรบั คนวิกลจริต

(๕) ใหส ถานสงเคราะหท พุ พลภาพ อาํ เภอพระประแดง จงั หวดั สมทุ รปราการ ในความ
ควบคุมของกรมประชาสงเคราะห เปนสถานสงเคราะหสําหรับคนพิการ และคนมีโรคอื่นนอกจาก
โรคเรอื้ น

(๖) ใหโ รงพยาบาลโรคเรอื้ น อาํ เภอพระประแดง จงั หวดั สมทุ รปราการ ในความควบคมุ
ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ เปน สถานสงเคราะหส ําหรับคนมีโรคเรือ้ น

ขอ ๕๙ การควบคุมคนขอทาน คนเปนโรคเร้ือนและคนทุพพลภาพนี้เปนหนาที่ของ
กรมประชาสงเคราะหและสํานักงานตํารวจแหงชาติปฏิบัติรวมกันโดยสํานักงานตํารวจแหงชาติเปน
ผูดําเนินการจับกุม และกรมประชาสงเคราะหเปนผูควบคุมอบรมและดําเนินการอ่ืนๆ ทั้งนี้ตาม
พระราชกฤษฎกี าใหใชพระราชบัญญัตคิ วบคุมการขอทาน พ.ศ.๒๔๘๔ กําหนดใหใ ชเ ฉพาะภายในเขต
กรุงเทพมหานครเทานน้ั ตอ มาเม่อื ๑๐ พฤศจกิ ายน ๒๔๙๖ นี้ ไดมีพระราชกฤษฎีกาใหใชพ ระราช
บัญญตั คิ วบคุมการขอทาน พ.ศ.๒๔๘๔ ท่วั ราชอาณาจกั รแลว

ขอ ๖๐ อาศัยอํานาจตามความในพระราชบัญญัติควบคุมการขอทานและพระราช
บัญญัติโรคติดตอ ตํารวจจึงมีอํานาจทําการจับกุมคนขอทานและคนเปนโรคเรื้อนได แตเมื่อทําการ
จับกุมขอทาน คนเปนโรคเร้ือนและคนทุพพลภาพไดแลว ตองจัดสงตัวไปยังสถานสงเคราะหตางๆ
ของกรมประชาสงเคราะห และกรมอนามัย ตามท่ีไดท าํ ความตกลงไวแลว ดงั ตอไปนี้ คือ

(๑) คนขอทานที่มีรางกายแข็งแรงสามารถประกอบการงานได ไมเจ็บปวยและไม
ทุพพลภาพ ใหนาํ สง ยังสถานสงเคราะหคนชรา อาํ เภอปากเกรด็ จงั หวัดนนทบุรี

(๒) คนขอทานท่ีปวยเจ็บดวยโรคอ่ืนๆ นอกจากโรคเร้ือนและคนทุพพลภาพใหนําสง
สถานสงเคราะหคนทุพพลภาพ อาํ เภอพระประแดง จงั หวดั สมุทรปราการ

(๓) คนขอทานท่ีเปนโรคเรื้อน ใหนําสงยังโรงพยาบาลโรคเรื้อน อําเภอพระประแดง
จังหวัดสมุทรปราการ สวนเด็กอนาถาซึ่งเปนคนขอทานใหปฏิบัติตามระเบียบท่ีวาดวยการปฏิบัติ
เกี่ยวกบั เด็กนักเรยี นและเด็กอนาถาโดยเฉพาะเพ่อื ความสะดวกในการจัดสง ใหดําเนินการดงั ตอ ไปน้ี

ก. ใหสถานีตํารวจนครบาลตางๆ ที่จับกุมคนขอทานไดนําตัวบุคคลเหลาน้ัน
สง ยงั สถานตี าํ รวจนครบาลพลบั พลาไชยเฉพาะในกรณที ผ่ี ถู กู จบั อยใู นเกณฑท จี่ ะตอ งสง ตวั ไปยงั โรงเรยี น
ประชาสงเคราะห และสถานสงเคราะหคนชรา อาํ เภอปากเกรด็ จงั หวดั นนทบรุ ี แตถาผถู กู จับกมุ อยู
ในเกณฑท่ีจะตองถูกสงตัวไปยังสถานสงเคราะห คนทุพพลภาพหรือโรงพยาบาลโรคเร้ือน อําเภอ
พระประแดง จังหวดั สมทุ รปราการ ใหน ําตวั สงยังสถานตี ํารวจนครบาลปากคลองสาน

ข. เมอื่ สถานตี าํ รวจนครบาลพลบั พลาไชยหรอื ปากคลองสานแลว แตก รณรี วบรวม
ตวั บุคคลทจี่ ะนาํ สง สถานสงเคราะหด ังกลา วแลว ไดจ ํานวนพอสมควร เชน ประมาณ ๑๐-๒๐ คน แลว
ใหติดตอขอยานพาหนะรับสงจากกรมประชาสงเคราะหควรติดตอไปในวันและเวลาทําการของทาง
ราชการ แตทั้งน้ใี หร ะมัดระวงั ในเรือ่ งอาํ นาจการควบคมุ ตวั บคุ คลท่ถี กู จับกุมดวย

๑๙๔

ค. หากสถานีตํารวจใดมียานพาหนะพอท่ีจะนาํ ตัวบุคคลเหลานี้ สงยังสถาน
สงเคราะหตางๆ ไดเองโดยไมตองติดตอขอยานพาหนะจากกรมประชาสงเคราะหก็ใหจัดการนําสง
ไปยังสถานสงเคราะหนัน้ ๆ ไดโดยตรง

ง. ในจังหวดั อนื่ นอกจากกรงุ เทพมหานคร ใหส ถานตี าํ รวจท่ีจับกมุ คนขอทานได
สง สถานสงเคราะห หรอื โรงพยาบาลทท่ี างราชการตง้ั ขนึ้ เพอ่ื สงเคราะหบ คุ คลเหลา นี้ ซง่ึ ตงั้ อยใู กลเ คยี ง
ตามทท่ี างราชการกาํ หนด

ขอ ๖๑ บุคคลท่ีมีสภาพเปนคนจรจัดและไรอาชีพ ซึ่งมีนิสัยอันธพาลมิใชคนขอทาน
โดยแทจ รงิ ไมอ ยใู นความหมายของคนขอทานทจ่ี กั ตอ งสง ไปยงั สถานสงเคราะห อนงึ่ ผทู าํ การขอทาน
ท่จี ะสง ไปยังสถานสงเคราะหและโรงเรียนประชาสงเคราะหน น้ั ใหสอบสวนใหไ ดความแนช ดั เสยี กอ น
วาเปนผูทําการขอทานตามความหมายแหงพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน และพระราชบัญญัติ
โรคตดิ ตอ มฉิ ะนน้ั กไ็ มอ ยใู นความตอ งการของทางราชการ ทจี่ ะใหจ บั กมุ มาใหค วามสงเคราะหด งั กลา ว
ขา งตน

ขอ ๖๒ การนาํ ตวั คนขอทาน คนเปน โรคเรอื้ น และคนทพุ พลภาพสง ยงั สถานสงเคราะห
ตามความในขอ กอ นนนั้ ใหแ ยกประเภทสง ใหเ ปน การถกู ตอ ง มฉิ ะนน้ั ยอ มจะเปน เหตกุ อ ความลาํ บาก
แกสถานสงเคราะหท่ีรับตัวบุคคลเหลาน้ันไวในอันที่จะตองดําเนินการจัดสงไปยังสถานสงเคราะห
ท่ีถกู ตองอีกช้นั หนึ่ง

ขอ ๖๓ สถานสงเคราะหตางๆ ของกรมประชาสงเคราะห อาจมีเปล่ียนแปลงและ
เพม่ิ เตมิ มากขน้ึ อกี ในโอกาสตอ ไป การจับกมุ บคุ คลประเภทตางๆ ซงึ่ อยูใ นขายทีท่ างราชการตองการ
สงเคราะหจ ึงตอ งปฏบิ ัตติ ามความเหมาะสมของทองถิ่นและกาลสมัยดว ย

¡ÒèѺ¡ØÁºØ¤¤Å·èÕ໚¹ÂÒÁཇҷÃѾËÃ×Íʶҹ·Õè (»ÃÐÁÇÅÃÐàºÕº¡ÒÃตําÃǨ
à¡èÕÂÇ¡ºÑ ¤´Õ ÅÑ¡É³Ð ó º··Õè ñõ)

ขอ ๖๖ เมอื่ มผี กู ลา วหาบคุ คลทเ่ี ปน ยามเฝา ทรพั ย หรอื สถานทก่ี ระทาํ ความผดิ อาญา
ซึง่ จาํ เปน ตองทาํ การจับกมุ ใหป ฏบิ ตั ใิ นการจบั กมุ ดังตอ ไปน้ี

(๑) ถา คนยามท่ีกาํ ลังเฝา รกั ษาทรพั ยห รอื สถานที่ ตอ งหาวากระทําความผิด
ทางอาญา เจาพนักงานจําเปนตองจับตัวไปดําเนินคดีทันทีแลว เม่ือจะจับกุมตัวคนยามนั้นไป
ใหบอกกลาวตอเจาของทรัพยหรือเจาของสถานท่ีใหเขามีเวลาจัดการในเร่ืองการเฝารักษาทรัพย
หรือสถานทเี่ สียกอ น

(๒) ถา ผเู ปน เจา ของทรพั ยห รอื สถานทยี่ งั จดั หาคนเฝา แทนตวั คนยามผจู ะถกู
จับกุมนน้ั ยงั ไมทันทว งที ใหจ ดั ตาํ รวจเฝาทรพั ยหรือสถานท่นี ัน้ แทนใหเ ปน การชั่วคราวและบอกกลาว
ใหผูเปนเจาของทรัพยหรือเจาของสถานที่รับจัดการรักษาโดยเร็ว อยาจับเอาตัวคนยามไปโดยมิไดมี
ผูใดเฝารักษาทรัพยหรือสถานท่ีแทนเปนอันขาด การรักษาทรัพยหรือสถานท่ีของตํารวจแทนบุคคล
ผูเปนยามดังกลาวน้ีใหจัดการใหเจาของทรัพยหรือสถานที่ใสกุญแจอาคาร หรือสถานท่ีเก็บทรัพยนั้น
เสียใหเรียบรอยกอน แลวใหจัดการประทับตราประจําคร้ังหรือส่ิงอื่นใดไวเพื่อปองกันการเปดหรือ
ทําลายเขาไปยังสถานท่ีหรือทรัพยนั้น ใหตํารวจมีหนาท่ีเพียงรักษากุญแจและดวงตราหรือส่ิงอื่นใด
ดงั กลา วนี้มใิ หถ ูกทาํ ลายเทา นัน้

๑๙๕

¡ÒÃμÃǨ¨Ñº¼ÙŒ¡ÃÐทํา¼Ô´¡®ËÁÒ«Öè§ÍÂÙ‹ã¹Ë¹ŒÒ·èբͧ¡ÃÁÊÃþÊÒÁÔμ (»ÃÐÁÇÅ
ÃÐàºÕº¡ÒÃตําÃǨà¡ÕèÂÇ¡ºÑ ¤´Õ ÅÑ¡É³Ð ó º··èÕ ñö)

ขอ ๖๗ การตรวจจับผูกระทําผิดกฎหมายเก่ียวกับยาเสพติดใหโทษฝน กัญชา
พืชกระทอม และการตรวจจับผูกระทําผิดกฎหมายซึง่ อยใู นหนาทขี่ องกรมสรรพสามิต เชน สุรา ยาสบู
ยานตั ถุ ไพ ภาษไี มข ดี ไฟ ภาษเี ครอื่ งขดี ไฟ ภาษเี ครอ่ื งดม่ื และภาษซี เี มนต เฉพาะในเขตกรงุ เทพมหานคร
ไมวา คดีน้ันจะมีขอ หาอ่ืนใดปะปนอยหู รอื ไมกต็ าม ใหเจาพนักงานตาํ รวจผูจบั ปฏิบัตดิ งั ตอ ไปน้ี

(๑) ถาผูจับไมใ ชเจาหนา ทต่ี ํารวจนครบาลทองท่ที เ่ี กดิ เหตุ ใหนําตวั ผูตองหา
และของกลางไปแจง ลงรายงานประจาํ วนั ทส่ี ถานตี าํ รวจนครบาลทอ งทท่ี เี่ กดิ เหตกุ อ น เวน แต ตาํ รวจนาํ้
ตาํ รวจรถไฟเฉพาะหนว ยทม่ี เี ขตอาํ นาจการรบั ผดิ ชอบในการสอบสวน ใหแ จง ใหส ถานตี าํ รวจนครบาล
ทองท่ีทราบ สําหรับของกลางถามีจํานวนมากหรือเปนของใหญโตไมสะดวกในการนําไปยังสถานี
ตํารวจนครบาลทองท่ที ีเ่ กดิ เหตุ จะนาํ แตบญั ชไี ปแสดงกไ็ ดถา

(ก) ในกรณีตรวจจับผูกระทําผิดกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดใหโทษฝน
กญั ชา พชื กระทอ ม ใหต าํ รวจผจู บั นาํ สง ยงั แผนก ๒ กองกาํ กบั การ ๗ กองปราบปราม จดั การสอบสวน
ดําเนินคดี

(ข) ในกรณีตรวจจับผูกระทําผิดกฎหมายซึ่งอยูในหนาท่ีของกรม
สรรพสามติ เชน สรุ า ยาสบู ยานตั ถุ ไพ ภาษไี มข ดี ไฟ ภาษเี ครอื่ งขดี ไฟ ภาษเี ครอ่ื งดมื่ และภาษซี เี มนต
ใหต าํ รวจผูจับนาํ สงยังแผนก ๕ กองกาํ กบั การ ๑ กองปราบปราม จัดการสอบสวนดําเนนิ คดี

(๒) ในกรณที เี่ จา พนกั งานตาํ รวจประจาํ สถานตี าํ รวจนครบาลทอ งทท่ี เ่ี กดิ เหตุ
เปนผูจับกุมเอง หรือมีเจาหนาที่หนวยอื่นรวมกันจับกุมดวยและจะมีตัวผูตองหาหรือไมก็ตาม
เมื่อไดจัดการลงประจําวันแลว ใหรีบนําผูตองหาและของกลางสงใหแผนก ๒ กองกํากับการ ๗
กองปราบปราม หรือแผนก ๕ กองกํากับการ ๑ กองปราบปราม ตามท่ีกลาวไวใน (๑) (ก.) (ข.)
แลวแตกรณีโดยไมชักชา แลวใหพนักงานสอบสวนกองปราบปรามจัดการสอบสวนดําเนินคดีทันที
เพราะกองปราบปรามเปนผูรับผิดชอบในเรื่องน้ี เฉพาะของกลางถามีเปนจํานวนมากหรือเปน
ของใหญโ ต ไมสามารถนําสงไดท ันภายในกําหนดดงั กลา วขางตน หรือเปนของทอ่ี ยใู นสภาพท่ีไมอ าจ
นําเคล่ือนที่ไปไดงาย จะเก็บรักษาไวยังสถานีตํารวจนครบาลทองที่หรืออายัดไวตามควรแกกรณี
โดยนาํ สงแตบ ญั ชีไปกอนก็ได

(๓) เมื่อแผนก ๒ กองกํากับการ ๗ กองปราบปราม หรือแผนก ๕
กองกาํ กับการ ๑ กองปราบปราม ไดรับตัวผูตองหาและของไวตามความในขอหานี้แลวใหพิจารณา
จัดใหพนักงานสอบสวนจัดการสอบสวนดําเนินคดีไปตามระเบียบ เมื่อคดีถึงที่สุดแลวใหแจงผลคดี
ใหสถานตี าํ รวจเจา ของทองทีท่ ่เี กดิ เหตทุ ราบดว ยโดยเร็ว

(๔) การตรวจจับผูกระทําผิดกฎหมายดังกลาวในบทนี้ในจังหวัดอ่ืนนอกจาก
กรงุ เทพมหานคร ใหด าํ เนนิ การอยา งเดยี วกบั การตรวจจบั ผกู ระทาํ ผดิ ทางอาญาอ่ืน

๑๙๖

¡ÒÃμÃǨ¤¹Œ Ã¶ä¿ (»ÃÐÁÇÅÃÐàºÂÕ º¡ÒÃตาํ ÃǨà¡èÂÕ Ç¡Ñº¤´Õ ÅѡɳРô º··èÕ õ)
ขอ ๘๗ การตรวจคนรถไฟ ใหป ฏิบตั ดิ ังน้ี

(๑) ตามปกตติ อ งแจงใหน ายสถานี พนักงานรักษารถ หรอื เจา พนกั งานประจาํ
ขบวนรถไฟทราบกอน แตถาขบวนรถน้ันมีเจาหนาท่ีตํารวจหรือเจาพนักงานของกระทรวง ทบวง
กรมในรัฐบาลควบคุมมาทั้งขบวนหรือเฉพาะหลังโดยเฉพาะเปนพิเศษ ซ่ึงจะตรวจคนแลวแจงให
เจา พนกั งานผคู วบคมุ รถคนั นนั้ ทราบ แทนการแจง เจา พนกั งานรถไฟดงั กลา วแลว เวน แตเ มอื่ มเี หตกุ ารณ
อันควรเชื่อไดวาเจาพนักงานรถไฟ หรือเจาพนักงานของกระทรวง ทบวง กรมในรัฐบาลที่ควบคุม
รถมาน้ัน จะมีสวนเก่ียวของกับการกระทําผิดอยูดวยจะทําการตรวจคนทันทีโดยไมตองแจงกอนก็ได
แตเมื่อทาํ การตรวจคน แลว ตองรบี แจงใหทราบโดยเรว็

(๒) ตาํ รวจทจี่ ะทาํ การตรวจคน ตอ งแตง เครอ่ื งแบบใหเ รยี บรอ ยเวน แตใ นกรณี
จําเปนจึงไมตองแตง แตตองแสดงถึงความเปนเจาพนักงานตํารวจ และอํานาจในการตรวจคน
ใหผูเกี่ยวขอ งทราบในโอกาสแรกท่ีสามารถจะแสดงได เชน แสดงบตั รประจําตวั เปนตน

ขอ ๘๘ การตรวจคน รถบนรถจา ยเงนิ เดอื นของการรถไฟแหง ประเทศไทย ควรจะกระทาํ
ตอ เม่ือไมม ีทางอน่ื ทจ่ี ะกระทําไดดกี วา เทานั้น ไมควรกระทาํ ใหเ ปนการพรํ่าเพรือ่

ขอ ๘๙ การตรวจคนรถตูองคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑท่ีบรรจุใบยาของ
โรงงานยาสบู กรมสรรพสามติ ชนดิ มปี ระกนั พเิ ศษ ซงึ่ มวี ธิ กี ารบรรทกุ เปน พเิ ศษเพอื่ กนั นาํ้ มใิ หร ว่ั เขา ไป
ทําใหใบยาเปยก เสียหายไดน้ันใหพนักงานฝายปกครอง หรือตํารวจอายัดและควบคุมรถบรรทุก
ใบยาน้ันไปทาํ การตรวจคน ณ สถานีรถไฟกรงุ เทพฯ

ขอ ๙๐ พนักงานสรรพสามิตมีอํานาจท่ีจะทําการตรวจคนของตองหามตามพระราช
บัญญตั ติ างๆ ทเี่ ปนอาํ นาจและหนาท่ขี องกรมสรรพสามิต เชน สรุ า ยาสูบ และยาฝน เปนตนไดไ มว า
ผูท่ีจะถูกคนจะเปนราษฎรสามัญทหาร หรือตํารวจก็ตามและถาเจาพนักงานสรรพสามิตตองการ
ความชว ยเหลอื จากทหาร หรอื ตาํ รวจใหช ว ยปฏบิ ตั กิ ารตามอาํ นาจและหนา ทแี่ ลว กใ็ หร ว มมอื ชว ยเหลอื
โดยเต็มกําลัง

¡Ò䌹¢Í§¼Ô´¡®ËÁÒÂã¹àÃ×ͤŒÒ¢ÒÂμ‹Ò§»ÃÐà·ÈáÅÐàÃ×ͤŒÒ¢ÒªÒ½˜›§
(»ÃÐÁÇÅÃÐàºÂÕ º¡ÒÃตําÃǨà¡ÕèÂÇ¡ºÑ ¤´Õ Å¡Ñ É³Ð ô º··Õè ÷)

ขอ ๙๒ การตรวจคนของตองหามในเรือคาขายตางประเทศ และเรือคาขายชายฝง
ซ่ึงเกี่ยวกับหนาท่ีของกรมศุลกากรน้ันตามปกติเปนหนาที่ของเจาหนาท่ีกรมศุลกากรดําเนินการ
โดยเฉพาะเวน แตจ ะไดม กี ารกระทาํ ผดิ กฎหมายอาญาเกดิ ขนึ้ เฉพาะหนา หรอื มผี รู อ งขอความชว ยเหลอื
จึงใหเจาหนาท่ีตํารวจขึ้นไปดําเนินการจับกุมหรือระงับเหตุรายบนเรือได เจาหนาท่ีตํารวจอาจทําการ
ตรวจคนเรอื ตา งประเทศเพ่ือจบั ของหนภี าษีศลุ กากร หรอื ของตองหา ม ตองจาํ กดั โดยทาํ การรวมกับ
เจาหนาท่ีศุลกากร ฉะนั้นกอนลงเรือตางประเทศเพ่ือตรวจคนใหเจาหนาที่ตํารวจติดตอแจงเหตุ
เจาหนาทศ่ี ุลกากรกอ นดงั น้ี

๑๙๗

ก. ทา กรงุ เทพฯ ใหแ จง แกส ารวตั รเวรทกี่ รมศลุ กากร แตใ นกรณที จี่ าํ เปน จะตอ งปฏบิ ตั ิ
โดยดว น จะรอแจง ตอ สารวตั รเวรไมทนั ก็ใหแจง ตอ เจาหนา ทศี่ ุลกากรประจาํ เรอื ทจี่ ะตรวจคน แลวให
รวมกันทําการตรวจคนไดแตในเชาวันรุงขึ้นเจาหนาที่ตํารวจผูเปนหัวหนาทําการตรวจคนน้ันจะตอง
แจงเหตทุ ่ีทาํ การตรวจคน ใหก รมศลุ กากรไดทราบ

ข. ทา ภมู ภิ าค ใหแ จง แกน ายดา นหรอื ผรู กั ษาการแทน แตใ นกรณที จ่ี าํ เปน จาํ ตอ งปฏบิ ตั ิ
โดยดว น จะรอแจง แกน ายดา นหรอื ผรู กั ษาการแทนไมท นั กใ็ หแ จง ตอ เจา หนา ทศ่ี ลุ กากรประจาํ เรอื ทจี่ ะ
ตรวจคน แลวใหรวมกันทําการตรวจคนได แตในเชาวันรุงข้ึนเจาหนาท่ีตํารวจผูเปนหัวหนาทําการ
ตรวจคนจะตองแจงเหตุผลที่ทาํ การตรวจคนใหนายดาน หรือผูรักษาการแทนทราบ อยางไรก็ดี
ขณะเมื่อเรืออยูนอกเขตทาศุลกากร หรือกําลังเดินทางอยูในทะเล เจาหนาท่ีตาํ รวจยอมทําการตรวจคน
ไดต ามปกติ ทงั้ น้ีไมเปน การตัดอาํ นาจของตาํ รวจนาํ้ ซึ่งไดกําหนดอาํ นาจและหนาที่ไวเปนพเิ ศษ

¡ÒÃμÃǨ¤Œ¹¢Í§ตาํ ÃǨ˹‹ÇÂÍ×è¹·èÕäÁ‹ãª‹ตาํ ÃǨ਌Ңͧ·ŒÍ§·Õè (»ÃÐÁÇÅÃÐàºÕº¡ÒÃ
ตาํ ÃǨà¡ÕÂè Ç¡ºÑ ¤´Õ Å¡Ñ É³Ð ô º··èÕ ø)

ขอ ๙๓ ถาตํารวจหนวยอ่ืนนอกจากตํารวจเจาของทองที่ หรือตํารวจซ่ึงปฏิบัติหนาที่
โดยเฉพาะจะทําการตรวจคนบุคคลหรือสถานท่ีในทองท่ีของสถานีตํารวจใดหรือในเขตอํานาจของ
ตาํ รวจซ่ึงปฏบิ ตั ิหนาท่เี ฉพาะกจิ การอันใดอันหนง่ึ เชน ตํารวจรถไฟ และตํารวจนํ้า เปนตน ตอ งแจง
ใหตํารวจเจาของทองที่ที่จะทําการตรวจคนหรือตํารวจซ่ึงมีเขตอํานาจและเขตพ้ืนที่นั้นทราบลวงหนากอน
ถาไมสามารถจะแจงใหทราบลวงหนาได ก็ใหรีบแจงในขณะเขาทําการตรวจคน ถาไมสามารถแจง
ในขณะทําการตรวจคนไดก็ใหรีบแจงโดยเร็วท่ีสุดภายหลังท่ีไดทําการตรวจคนแลว ท้ังนี้ เพื่อปองกัน
มใิ หเ กดิ ความเขา ใจผดิ อนั อาจเกดิ ผลรา ยขนึ้ ได แตก ารตรวจคน จบั กมุ ผกู ระทาํ ผดิ ซง่ึ หนา นน้ั ใหต าํ รวจ
ทุกหนวยที่ประสบเหตุเขาทําการตรวจคนจับกุมไดทันที โดยไมตองแจงใหตํารวจทองที่หรือตํารวจ
ท่ีมีเขตอํานาจและเขตพื้นท่นี ้ันทราบกอน เมื่อตรวจคน และจับกุมผกู ระทาํ ความผดิ ไดแ ลว ใหร ีบนาํ ตัว
พรอมดวยพยานหลักฐานสงสถานีตํารวจเจาของทองท่ี หรือพนักงานสอบสวนท่ีมีอํานาจและหนาที่
ดําเนินคดตี อไป

ขอ ๙๓/๑ การปฏิบัติการตรวจคนของเจาหนาท่ีตํารวจในการปราบปรามผูหลีกเลี่ยง
ภาษีอากร ฝา ยศุลกากรในเคหสถานหรอื สถานการคาในกรุงเทพมหานคร

๑. ทุกคร้ังท่ีเจาหนาที่ตํารวจจะทําการคนเคหสถาน บริษัท หางรานหรือ
สถานการคาใดๆ เพื่อใหไดมาซ่ึงสินคาท่ีหลบหนีภาษีฝายศุลกากรและบัญชี หรือเอกสารอันอาจใช
เปนหลักฐานอางอิงการกระทาํ ผิดเกี่ยวกับสินคาหนีภาษี หรือเกี่ยวกับการสําแดงเท็จหลีกเล่ียงภาษี
อากร ฝายศุลกากรจะตองเสนอหลักฐานท่ีสืบสวนพรอมดวยเหตุผลในการตรวจคนใหผูบังคับการ
หรือผูรักษาการแทนพจิ ารณาสัง่ การ เมื่อไดร ับอนมุ ตั แิ ลว จึงจะทาํ การตรวจคน ได

๒. การสืบสวนสอบสวนและการตรวจคนตามขอ ๑. น้ัน ใหกองทะเบียน
คนตางดาวและภาษีอากรมีอํานาจหนาท่ีโดยเฉพาะ แตถาเจาหนาท่ีตํารวจในหนวยอ่ืนสืบสวนได
ขอเท็จจริงมาก็ใหมีอํานาจหนาที่ตรวจคนได ในการนี้อาจขอใหเจาหนาท่ีกองทะเบียนคนตางดาว

๑๙๘

และภาษอี ากรไปรว มปฏบิ ตั ดิ ว ยกไ็ ด และภายหลงั ไดต รวจคน ยดึ ของกลางหรอื อายดั ของไวแ ลว ใหม อบ
ของกลางพรอ มทงั้ บนั ทกึ การตรวจคน และบนั ทกึ การอายดั สง มอบใหก บั พนกั งานสอบสวนกองทะเบยี น
คนตา งดา วและภาษอี ากรสอบสวนดาํ เนนิ การตอ ไปสาํ หรบั ของกลางทยี่ ดึ ไดใ หก องทะเบยี นคนตา งดา ว
และภาษอี ากรนาํ สง ไปเกบ็ รกั ษาไว ณ กรมศลุ กากร แตถ า เปน กรณมี ตี วั ผตู อ งหา ใหน าํ ของกลางพรอ ม
ผูตองหาและบันทึกการตรวจคนจับกุมใหพนักงานสอบสวนกองทะเบียนคนตางดาวและภาษีอากร
ภายใน ๒๔ ชั่วโมง

๓. ในการตรวจคน ตามขอ ๑. ไมว า การตรวจคนนั้นจะมีหมายหรอื ไมก ็ตาม
จกั ตอ งมเี จา หนา ทต่ี าํ รวจทอ งทตี่ าํ แหนง สารวตั รหรอื ผรู กั ษาการแทนหรอื เจา หนา ทตี่ าํ รวจชนั้ สญั ญาบตั ร
ท่ีมียศตั้งแตชั้นรอยตํารวจตรีขึ้นไปที่ไดรับมอบหมายจากสารวัตรหรือผูรักษาการแทนซ่ึงสถานท่ี
ถูกตรวจคนน้ันต้ังอยูไปรวมทําการตรวจคนดวยทุกคร้ัง และจะตองบันทึกผลการจับกุมตรวจคนไวใน
สมดุ เบด็ เสรจ็ ประจาํ วนั เปน หลักฐานทัง้ ไปและกลับ

๔. เมื่อไดดําเนินการตรวจคนไดผลหรือไมประการใดตองรีบรายงานให
ผบู งั คบั บญั ชาตามลาํ ดบั ชน้ั จนถงึ ผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาตหิ รอื ผรู กั ษาการแทนทราบ ในรายงานนนั้
ใหบ รรยายโดยยอ ถงึ พฤตกิ ารณต า งๆ ในการไปดาํ เนนิ การตรวจคน ตลอดจนของกลาง เชน สมดุ บญั ชี
เอกสารและหลักฐานอ่ืนใด หรือสินคาตางๆ ที่เจาหนาที่ตํารวจไดอายัดหรือยึดไว ท้ังน้ี ใหรายงาน
โดยดวน (คําสง่ั ตร. ท่ี ๗๑๐/๒๕๒๓ ลงวนั ท่ี ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๒๓)

ขอ ๙๓/๒ การตรวจคน ในสถานท่ีราชการ รฐั สภา ไมว าจะมหี มายคนหรือไมก ต็ าม
กอนทําการตรวจคนเจาหนาที่ตํารวจจะตองดําเนินการสืบสวนรวบรวมพยานหลักฐานตามประมวล
กฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญาใหไ ดค วามแนชัด โดยอาศัยเหตุแหงการทจี่ ะตรวจคน ไดต าม ป.ว.ิ อ.
เมอื่ จะเขา ทาํ การตรวจคน ใหส ารวตั รหรอื ผรู กั ษาการในตาํ แหนง หรอื ผรู กั ษาราชการแทน หรอื ผปู ฏบิ ตั ิ
ราชการแทน แจงใหเลขาธิการรัฐสภาโดยทางวาจาหรือลายลักษณอักษรทราบกอน จึงจะเขาทําการ
ตรวจคนได สวนหัวหนาในการตรวจคนจะตองมีนายตํารวจช้ันสัญญาบัตรที่มียศต้ังแตนายรอยตํารวจตรี
ขนึ้ ไปเปน ผคู วบคมุ ทาํ การตรวจคน และจะตอ งบนั ทกึ ผลการตรวจคน จบั กมุ ไวใ นสมดุ เบด็ เสรจ็ ประจาํ วนั
เปนหลักฐานท้ังกอนและภายหลังการตรวจคนเม่ือตรวจคน และจับกุมผูกระทําผิดไดแลวใหรีบนําตัว
พรอมดวยพยานหลักฐานสงพนักงานสอบสวนที่มีอํานาจและหนาที่ดําเนินการตอไป การตรวจคน
ในสถานทรี่ าชการอ่นื ๆ ไมว า จะมหี มายคน หรือไมกต็ ามกอ นทําการตรวจคนเจา หนา ทตี่ ํารวจจะตอ ง
ดําเนินการสืบสวนรวบรวมพยานหลักฐานตาม ป.วิ.อ.ใหไดความแนชัด โดยอาศัยเหตุแหงการที่จะ
ตรวจคนไดตาม ป.วิ.อ.ดังกลาว เม่ือสืบสวนไดความอยางไรใหสารวัตรหรือผูรักษาการในตําแหนง
หรือผูรักษาราชการแทน หรือผูปฏิบัติราชการแทนแจงขอความรวมมือไปยังหัวหนาสวนราชการน้ัน
เพ่ือขอเขาทาํ การตรวจคน นอกจากกรณีที่มคี วามจาํ เปน ไมสามารถแจง กอนทาํ การตรวจคน ได กใ็ หร ีบแจง
โดยเร็วท่สี ุดภายหลังท่ีไดท าํ การตรวจคนแลว ทั้งน้ี เพอื่ ปอ งกนั มิใหเกดิ ความเขา ใจผิด อนั อาจเกดิ ผล
เสียหายขึ้นได สวนหัวหนาในการตรวจคนนั้นจะตองมีนายตํารวจชั้นสัญญาบัตรท่ีมียศตั้งแต

๑๙๙

นายรอยตาํ รวจตรีข้ึนไปเปนผูควบคุมทําการตรวจคนและจะตองบันทึกผลการตรวจคนจับกุม
ไวในสมุดเบ็ดเสร็จประจําวันเปนหลักฐานท้ังกอนและภายหลังการตรวจคน เม่ือตรวจคน
และจบั กมุ ผกู ระทาํ ผดิ ไดแ ลว ใหร บี นาํ ตวั พรอ มดว ยพยานหลกั ฐานสง พนกั งานสอบสวนผมู อี าํ นาจและ
หนา ทด่ี ําเนนิ การตอ ไป

¡ÒÃ㪌à¤Ã×èͧ¾Ñ¹¸¹Ò¡Òà (»ÃÐÁÇÅÃÐàºÕº¡ÒÃตําÃǨà¡èÕÂǡѺ¤´Õ ÅѡɳРö
º··èÕ ô)

ขอ ๑๔๖ การจะใชเครื่องพันธนาการ คือ กุญแจมือกับโซรอยในการควบคุมผูตองหาน้ัน
เจาพนักงานตํารวจหาจําเปนตองใชพร่ําเพรื่อทุกกรณีไมเพราะเคร่ืองพันธนาการใชสําหรับปองกัน
แกผูทอี่ าจจะหลบหนีที่ควบคุมเปนสว นใหญ กอนที่จะใชเคร่อื งพันธนาการ จงึ ควรพเิ คราะหต ามหลกั
ดงั ตอไปนี้

(๑) การกระทําผิด จะตองพิเคราะหวาการกระทําผิดของผูนั้นตองเปน
อกุ ฉกรรจม หนั ตโทษหรอื วา มคี วามผดิ เพยี งเลก็ นอ ย ถา ความผดิ นน้ั เปน ความผดิ ทจ่ี ะตอ งมโี ทษจาํ คกุ
มกี าํ หนดนานปแ ลว การทจี่ ะพยายามหลบหนกี ม็ มี ากกวา เหตเุ ลก็ ๆ นอ ยๆ ถา ไมใ ชบ คุ คลทม่ี หี ลกั ฐาน
อนั สมควรหรอื ไมแ นใจวาจะไมห ลบหนแี ลว กค็ วรใชกญุ แจมือได

(๒) บุคคล มบี ุคคลบางจาํ พวกที่ควรจะใหเกียรติ เชน
ก. ขา ราชการท่ีรบั ราชการมหี ลักฐานมนั่ คง
ข. พระภิกษุสามเณร นักพรตตาง ๆ
ค. ทหารสวมเครือ่ งแบบ
ฆ. ชาวตา งประเทศช้ันผดู ี
ง. หญิง คนชรา เด็ก คนพกิ าร และคนปวยเจ็บซงึ่ ไมส ามารถจะหลบหนี

ไดด ว ยกาํ ลงั ตนเอง
จ. พอคาคฤหบดี ซึ่งมีช่ือเสียงและมีหลักฐานการทํามาหากินโดยสุจริต

บุคคลดังกลาวแลวน้ี ถาไมไดกระทําความผิดเปนอุกฉกรรจมหันตโทษหรือไมไดแสดงกิริยาจะขัดขืน
หรือหลบหนอี ยางไรแลว ไมควรใชกญุ แจมอื โดยเฉพาะเด็กอายุตา่ํ กวา ๑๔ ป ถาไมไดกระทําความผดิ
ทมี่ อี ตั ราโทษจาํ คกุ เกนิ กวา ๑๐ ป และเฉพาะหญงิ คนชรา เดก็ คนพกิ าร และคนปว ยเจบ็ ซงึ่ ไมส ามารถ
จะหลบหนีไดด ว ยกําลงั ตนเอง หา มใชเ ครื่องพนั ธนาการเปน อนั ขาด

(๓) สถานท่ี ใหพิเคราะหถึงสถานท่ีท่ีจะควบคุมไป หากเปนทางเปล่ียวไมมี
ละแวกบานผูคนหรือมีบางก็เล็กนอย เชน ทางในปา ในทุง เปนตน มีโอกาสที่ผูตองหาจะหลบหนี
หรือทาํ อนั ตรายแกผ ูควบคุมไดง า ย เชนนแี้ มจะใสกญุ แจมือก็ควร

(๔) เวลา หากเปนเวลาค่ําคืนหรือจําเปนตองพักคางคืน ณ ที่ใดท่ีหน่ึง
ในระหวา งทางซง่ึ ไมม ที ค่ี วบคมุ เพอื่ ปอ งกนั การหลบหนแี ละการตอ สู เจา พนกั งานจะใชก ญุ แจมอื กค็ วร

๒๐๐

(๕) กิริยาความประพฤติเจาพนักงานจะตองสังเกตดูวาความประพฤติ
เปนอยางไร บุคคลท่ีเปนพาลมาแตเดิมก็ดี เคยตองอาญาในการทุจริตมาแลวก็ดี หรือเคยหลบหนี
การควบคุมของเจาพนักงานก็ดี มีอาการกิริยาแสดงออกทําใหสงสัยวาจะมีหรือจะคิดกระทํารายตอ
เจาพนักงานผคู วบคุมกด็ ี เจา พนกั งานจะใสกญุ แจมือบคุ คลเหลา นีก้ ็ควร

ขอ ๑๔๗ การใสกุญแจมือผูตองหานั้น ผูใสจะตองตรวจดูใหกุญแจมือพอดีกับขอมือ
ผูตองหา คือ ตองไมใหหลวมหรือคับเกินไป เพราะถาหลวมมากก็จะหลุดจากขอมือไดงาย ถาคับมากไป
กจ็ ะเปน การทรมานผตู อ งหา เมอ่ื ใสก ญุ แจมอื แลว ในกรณที ม่ี คี วามจาํ เปน จะมโี ซร อ ยสาํ หรบั ถอื ควบคมุ
ไปก็ได ใหผตู อ งหาเดินหนาผูควบคุมถือชายโซเ ดินตามหลงั หรอื เดินไปขา งๆ

¡ÒÃนาํ ¼ÙŒ¶Ù¡¤Çº¤ØÁà´Ô¹·Ò§ (»ÃÐÁÇÅÃÐàºÕº¡ÒÃตาํ ÃǨà¡ÕèÂǡѺ¤´Õ ÅѡɳРö
º··èÕ õ)

ขอ ๑๔๘ วธิ กี ารควบคมุ ระหวางเดนิ ทาง ใหป ฏิบัตดิ ังน้ี
(๑) ในกรุงเทพมหานคร หรือในจังหวัดอื่นในตําบลที่มีประชาชน

อยหู นาแนน โดยปกติจะพาผูต องหา จําเลย หรือผตู องขัง ซึ่งตอ งจองจาํ ดวยเครื่องพันธนาการเดินไปตาม
ถนนหนทาง หรือโดยสารยานพาหนะสาธารณะที่มีผูโดยสารอ่ืนปะปนอยูดวยน้ันไมควรกระทํา
เพราะเปนการประจานและนาอับอายแกผูถูกควบคุมจะควบคุมเดินทางก็ใหหายานพาหนะเฉพาะ
ซึ่งไมเ กยี่ วแกป ระชาชนทีจ่ ะรวมไปดว ยได เวน แตบ างกรณที ่ีไมม ที างหลีกเลยี่ งตามเหตุผลทีก่ ลา วนไี้ ด
แตก็ตองเปนหนาท่ีของผูท่ีจัดใหควบคุมไปบันทึกเหตุผลแหงความจําเปนท่ีไมมีทางหลีกเล่ียง เชน
ทางที่จะไปน้ันคบั แคบจาํ ตองพาเดนิ ไป เปน ตน

(๒) ถาจะควบคุมพาผูตองหาหรือผูตองขังไปยังสถานที่หน่ึงท่ีใดใหใช
ยานพาหนะตามแตก รณดี งั ตอ ไปน้ี

ก. ในกรุงเทพมหานคร การควบคุมพาผูตองหาก็ดี หรือจําเลยหรือ
ผูต องขัง กด็ ใี หไปมาในหนาท่ีทก่ี จิ ราชการของตํารวจโดยตรง ใหใชยานพาหนะของตํารวจแตละหนวย
ทเี่ ปนผูควบคุม

ข. ถา การควบคมุ ผตู อ งขงั หรอื จําเลยนน้ั เปน หนา ทข่ี องกรมราชทณั ฑ
หรือกรมประชาสงเคราะห ทางการตํารวจเปนแตมีหนาท่ีดําเนินการควบคุม ใหใชยานพาหนะของ
กรมราชทณั ฑห รือกรมประชาสงเคราะหต ามควรแกก รณี

ค. ถาตํารวจภูธรควบคุมผูตองหาหรือจาํ เลยหรือผูตองขังจากตาง
จังหวัดสงยังตาํ รวจนครบาลหรือตาํ รวจสอบสวนกลาง ใหเปนหนาท่ีของผูบัญชาการตาํ รวจนครบาล
หรือผบู ัญชาการตํารวจสอบสวนกลางแลวแตกรณเี ปน ผูจ ดั รถรบั และสง

ฆ. ถาตาํ รวจภูธรควบคมุ ผตู อ งหา หรือจาํ เลย หรอื ผตู องขัง เพยี งแต
ผานทองท่ขี องตํารวจนครบาล ใหผ บู ญั ชาการตาํ รวจนครบาลจัดรถรับสงตามที่ผูควบคุมรอ งขอตกลง

(๓) การขอยานพาหนะในการควบคมุ น้ใี ห
ก. บอกกลา วขอทําความตกลงกันลว งหนาโดยกาํ หนดวนั เวลา ตาํ บล

สถานทที่ ีจ่ ะใหจ ดั รถไปรบั ตรงไปยังทผี่ ูม หี นา ทีจ่ ัดรถรับสง

๒๐๑

ข. ถา เกดิ การจาํ เปน ทไ่ี มม โี อกาสบอกตกลง ใหไ ปรบั ไดล ว งหนา ใหห วั หนา
ผคู วบคมุ หาทางติดตอ เมอื่ ถงึ ปลายทาง

ค. ถา ไมส ามารถจะตดิ ตอ ขอรถดงั กลา วใน ก. และ ข. ใหห วั หนา ผคู วบคมุ
นาํ ตวั ผูถูกควบคมุ ฝากยังสถานตี าํ รวจท่ใี กลท ่สี ดุ แลวจดั การติดตอกันไป

ฆ. ถาหากวันเวลาคลาดเคล่ือน ซึ่งอาจจะเกิดข้ึนในระหวางเดินทาง
เปน หนา ทีข่ องผจู ัดรถรับสง ติดตามวนั กําหนดระยะเวลาไปแลวคอ ยรบั สง ตอ ไป

ง. การติดตอขอยานพาหนะเพ่ือรับผูถูกควบคุมน้ีถาไดพยายามดําเนินการ
ทุกทางแลวแตไมสําเร็จก็ใหหาเชารถโดยเฉพาะเทาท่ีจําเปนได เวนแตการควบคุมผูวิกลจริตนั้น
จําเปน ตองหายานพาหนะเปน พิเศษทุกคราวไป

ขอ ๑๔๙ การจดั กาํ ลงั ตาํ รวจและอาวธุ ทจี่ ะใชใ นการควบคมุ ผตู อ งหา หรอื จาํ เลย หรอื
ผูต องขงั

(๑) ใหเ ปน หนา ทขี่ องผจู ดั พจิ ารณาพเิ คราะหจ ดั การควบคมุ อยา ใหห ลบหนี
ไดเทานั้น อยาใชตํารวจฟุมเฟอยจนเกินกวาความจําเปน แตอยางไรก็ดี หลักการพิจารณาใหอาศัย
แนวทางดงั ตอไปนีป้ ระกอบดว ย คือ

ก. ขอหาหรอื โทษของผจู ะถูกควบคมุ หนกั เบาประการใด
ข. ลกั ษณะความประพฤตขิ องผูถูกควบคมุ
ค. กาลเวลาและระยะทางทีจ่ ะควบคมุ
ฆ. สถานทท่ี ่จี ะควบคมุ ผา นไป
ง. ยานพาหนะทใี่ ชโ ดยสารในการควบคมุ
จ. จาํ นวนตาํ รวจทจี่ ะจดั นน้ั พอทจี่ ะผลดั เปลยี่ นระมดั ระวงั ตามสมควร
หรอื ไม
(๒) อาวธุ ปน ทจี่ า ยแกผ คู วบคมุ ใหจ า ยพอเหมาะแกเ หตกุ ารณแ ละโดยปกติ
ไมค วรจา ยกระสนุ เกนิ กวา ปน กระบอกละ ๑๐ นดั ถา ถงึ ตอ งใชป น กลจงึ จา ยตามอตั ราของปน กล ๑ ตบั
เวนแตการควบคุมน้ีผิดปกติธรรมดา จึงตองใชอาวุธและกระสุนเปนพิเศษกวาที่กําหนดน้ีก็ตองไดรับ
อนุญาตจากผบู งั คับบัญชาสงู สุด ณ ทน่ี นั้ กอน
(๓) หามมิใหผูมีหนาที่ควบคุมพาผูถูกควบคุมแวะเวียนไปในท่ีใดๆ สวน
ผูตองขังหรือจําเลยคนใดถึงกับจะตองใชตรวนหรือไมนั้น ใหเปนหนาที่ของผูบัญชาการหรือพัศดี
เรอื นจาํ กบั นายตาํ รวจชน้ั หวั หนา สถานหี รอื ผรู กั ษาการแทนในตาํ แหนง นน้ั ๆ รว มกนั พจิ ารณาเปน รายๆ
วา รายใดสมควรใชต รวนจองจําไดก ็ใหใ ช
ขอ ๑๕๐ การควบคุมผูตอ งขงั จําเลย หรือผตู อ งหาท่ใี ชเครือ่ งพนั ธนาการ เดินทางกด็ ี
หรือถูกควบคุมอยูในสถานท่ีก็ดี เปนหนาที่ของเจาพนักงานผูรับผิดชอบจะตองระมัดระวังใหความ
ปลอดภัยแกผูถูกคุกคามโดยเต็มความสามารถ เชน ผูถูกควบคุมถูกใสกุญแจมือจะพาขามน้ํา


Click to View FlipBook Version